a day BULLETIN 515

Page 1

516 515 514

TODAY EXPRESS PRESENTS

04 DEC 2017

s p a c e s spaces w i t h i n

s p a c e


02 มุมมองต่อ ‘สเปซ’ และแนวคิดการอยู่ร่วมกัน (Co-Living) ของบริษัท เอพี (ไทยแลนด์) จ�ากัด (มหาชน) และ Fabrica

ConneCTing The DoTs จากผ้าใบคลุมรถบรรทุกเก่าๆ สูแ่ บรนด์กระเป๋าสุดเท่ FREITAG

LiFe ส�ารวจวิถชี วี ต ิ เรียบง่ายของชุมชนตลาดเก่าหัวตะเข้ เสน่หแ์ ห่งวันวานทีย ่ งั มีลมหายใจ

BEHIND THE COVER

CONTENTS

The ConversaTion

516 515 514

TODAY EXPRESS PRESENTS

04 DEC 2017

S SP PA AC CE ES S W I T H I N

S P A C E

spaCe anD Time Husband & Wife ร้านขายกล้องฟิล์มมือสอง กล้องโพลารอยด์ และฟิล์มต่างๆ ย่านปากเกร็ด

BreaThe in การที่เราไม่ให้อภัยใครคนหนึ่ง ท�าให้เรารักใครคนอื่น อย่างเต็มหัวใจไม่ได้

BreaThe ouT ‘รักตัวเองให้ได้กอ ่ นจะไปรักคนอืน ่ ’ ค�ากล่าวนีเ้ ป็นเรือ ่ งจริงหรือไม่

eDiTor’s noTe

I S S U E 515 04 DEC 2017

เราถ่ า ยปกนี้ ที่ นิ ท รรศการ Spaces within Space : A Vision of Co-Living Generation ของบริ ษั ท เอพี (ไทยแลนด์ ) จ� า กั ด (มหาชน) ‘คุ ณ เป๋ า ’ - สรรพสิ ท ธิ์ ฟุ้ ง เฟื่ อ งเชวง มาในสู ท สีส้มสด ส่วนคุณ Sam Baron มาในสูทสีน�้าเงิน นอกจากจะท�าโปรเจ็กต์นร ี้ ว่ มกันแล้ว เราสังเกตได้เลย ว่าทั้งคู่เป็นเพื่อนกันด้วย เพราะบรรยากาศถ่ายภาพ เป็นไปอย่างเป็นกันเอง จนทีมงาน a day BULLETIN ก็ รู้ สึ ก สนุ ก ไปด้ ว ย จึ ง เป็ น การผสมผสานระหว่ า ง ลุ ก ส์ ผู้ บ ริ ห ารของคุ ณ เป๋ า เข้ า กั บ ความขี้ เ ล่ น แบบ ดีไซเนอร์ของคุณแซมได้อย่างลงตัว

บทบรรณาธิการ ทัศนะต่อชีวิตและสังคม ผ่านสายตา วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ

ที่ปรึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการที่ปรึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล กองบรรณาธิการ ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ พัทธมน วงษ์รัตนะ นักเขียน/ประสานงาน ตนุภัทร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ คเชนทร์ วงศ์แหลมทอง หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรม ชยุตม์ คชโกศัย สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ มิ่งขวัญ รัตนคช กองบรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ จักริน อินต๊ะวงค์ ผู้ จั ด การฝ่ า ยดิ จิ ต อลมี เ ดี ย ธนาคาร จั น ทิ ม า ผู้ ป ระสานงานฝ่ า ยดิ จิ ต อลมี เ ดี ย สิ ริ น ารถ อิ น ทะพั น ธุ์ ผู้ ช� า นาญการฝ่ า ยดิ จิ ต อลมี เ ดี ย กะรั ต เพชร บุ ญ ลั ก ษณ์ ศิ ริ ที่ ป รึ ก ษาฝ่ า ยโฆษณา ศรวณี ย์ ศิ ริ จ รรยากุ ล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ชินวัฒน์ เฟื้องฟู 09-4353-9639 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม นักศึกษาฝึกงาน ภาณุทัช โสภณอภิกุล ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อี เ มล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com, www.godaypoets.com

W T F


WHERE TO FIND TODAY EXPRESS PRESENTS

21 AUG 2017

501 500 499

p l a y i n g

t o u g h M e d i a ,

S p o r t a n d

politicS

Bar Storia del Caffe : 8 Thonglor Building The Lounge Hair Salon : K Village ซ.อาร�ย อาคารอับดุลราฮีม : เคาน เตอร ลานจอดรถ ชั้น 1 อาคาร Tipco พระราม 6 รานคลื่นนําเง�น : สุข�มว�ท 93 รานอาหารประพักตร : ประชาชื่น Sweet Pista : สุข�มว�ท 93

True Coffee • เดอะมอลล บางกะป ชั้น 4 • อาคารเมืองไทยภัทร • ทรู ทาวเวอร รัชดา • อาคารฟอร จ�น ชั้น 3 • True Life ทองหล อ • สยามพารากอน ชั้น 3 • สีลมลอฟท • อาคารอื้อจ�อเหลียง

B B B B

Coffee World • ตึกจามจ�ร�สแควร ชั้น 2 • เซ็นทรัลลาดพร าว ชั้น 3

โรงภาพยนตร • I-House RCA • สยาม สยามสแควร • ลิโด สยามสแควร

iberry • เมเจอร รัชโยธิน ชั้น 1 • เอสพลานาด ชั้น M • ป ยรมย เพลส • พารากอน ชั้น G • ทองหล อ มาร เก็ตเพลส

a day bulletin

499 498 497

TODAY EXPRESS

1

PRESENTS

07 AUG 2017

Executive Supercars : เอกมัย HONDA • สุข�มว�ท 66/1

issue 498 07 aug 2017

R I S E

A G A I N S T

M Y S E L F

สถานีรถไฟฟา BTS ทุกวันจันทร เร��มแจก เวลา 17.30 น. • สยาม • ชิดลม • เพลินจ�ต • อโศก • พร อมพงษ • อ อนนุช • อนุสาวร�ย ชัยสมรภูมิ • อาร�ย • หมอชิต • ศาลาแดง • ช องนนทร� • สะพานตากสิน

502 501 500

TODAY EXPRESS PRESENTS

28 AUG 2017

เชียงใหม… เสนริมแมนํ้าปง • สํานักงานโรงแรม B2 • Love at First Bite • Im Eco • dusit D2 • โรงแรมอนันตรา • โรงแรม Mo Rooms เชียงใหม… Central Airport Plaza • ร านกาแฟ Starbucks • ร านหนังสือ B2S

IN MEMORIAM

1949 — 1990

a r

e

503 502 501

s

r

t w E N T Y

e

t

F U c k i n g

Y

f

04 SEP 2017

One Ounce for Onion : เอกมัย 12 INK & LION cafe : เอกมัย 2 Counting Sheep Corner : สุข�มว�ท 61 Gastro 1/6 : สุข�มว�ท 22 Casa Lapin X26 : สุขม� ว�ท 26 Brooklyn Baker : ซ.โปโล 3 Flow : พหลโยธิน ซ.9 Treat cafe & Hang Out : เสนานิคม 1 KBank Siam Pic-Ganesha : ชั้น 7 สยามสแควร วัน Candide Books & Cafe คลองสาน EST.33 : CDC Joint Cafe & Workspace : โรงแรมเอเชีย Yin-Dee-Cub : อาคาร สิร�นรัตน A big Seat : อาคาร พรรคประชาธิป ตย

เชียงใหม…นิมมานเหมินทศิร�มังคลาจารย • Kantary Hills Chiang Mai Hotel • โรงแรม Yesterday • บ านเส-ลา • ร านรออยู ตรงนี้ • ร าน Cafe Kantary • ร านกาแฟวาว� ซอย 4 • ร านเล า • ร านหอมปากหอมคอ • ร านกาแฟ Starbucks • ร านกาแฟวาว� ซอย 9 • ร าน Salad Concept • ร าน Minimal • ร าน Cafe de Nimman TODAY EXPRESS

A&W • สยามสแควร • พันธ ทิพย พลาซ า • สุขาภิบาล 3 • ศร�เจร�ญภัณฑ พลาซ า • บางนา กม. 6 • ว�ภาวดี • รัชดา • เดอะสตร�ท • บางจาก เอกมัย • แฟชั่น ไอส แลนด • ไบเทค บางนา • Terminal 21

เขาใหญ-ปากชอง • KIRI MAYA • MUTHI MAYA • Palio • Toscana Valley Country Club • HOTEL des ARTISTS • หอมหมื่นลี้

กับขาว กับปลา • ทองหล อ มาร เก็ตเพลส Zaab Eli : ทองหล อ 10 หองอาหารสีฟา Kanom Secret Recipe Casa Lapin : ซ.อาร�ย ไล-บรา-ร�่ : พระรามเก า 41 Coffee Gallery : CDC Lord of Cup : รามคําแหง ซ.112 Roast Coffee & Eatery : ทองหล อ 13

PRESENTS

• เอ็มไพร ทาวเวอร ชั้น G • ออล ซีซัน เพลส • อาคารอื้อจ�อเหลียง ชั้น G • หลังสวน • สีลมคอมเพล็กซ • ไทมส สแควร ซ.สุข�มว�ท 12 • ไทยพาณิชย ปาร กพลาซ า ชั้น 1 • จามจ�ร�สแควร • The 19th. ชิดลม • อาคารเมืองไทยภัทร คอมเพล็กซ • IDEO พญาไท

สถานออกกําลังกาย • Yoga Space Thgether : All Seasons Place

A

Air Asia : ดอนเมือง ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย : ห องสมุด มารวย ศูนยฯ สิร�กิติ์ : เคาน เตอร ประชาสัมพันธ CDC (Crystal Design Center) The Lake Condo Modernform : CDC Index Living Mall : เอกมัย SB Design Square : เซ็นทรัลเว�ลด ชั้น 5 BMW Millennium Auto • พระราม 4 • สยามพารากอน ชั้น 2 • ลาดพร าว ซ.112 MINI GARAGE By Millennium Auto Ekamai

Starbucks • เซ็นทรัล ลาดพร าว ชั้น 2 • เซ็นทรัล พระราม 9 ชั้น 1 • สยามพารากอน ชั้น 1 • สยามพารากอน ชั้น 3 • สยามเซ็นเตอร ชั้น 3 • เซ็นทรัลเว�ลด ชั้น 3 โซน A • Big C เอกมัย • เอ็มโพเร�ยม ทาวเวอร • เอ็มโพเร�ยม มอลล ชั้น 5 • จ�เอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส • ทองหล อ (ระหว างทองหล อ ซ.11 และ 13) • มาร เก็ตเพลส ทองหล อ ซ.4

• โรงพยาบาลสมิติเวช ซอย สุข�มว�ท 49 • โรงพยาบาลกรุงเทพ ชั้น 1 • โรงพยาบาลรามาธิบดี • โรงพยาบาลพระราม 9 • The Crystal Park • RCA • นวมินทร ซิตี้อเวนิว • นวมินทร ทาวน เซ็นเตอร • The Nine Center • Terminal 21 • The Walk เกษตรนวมินทร • The Promenade • The Scene ทาวน อินทาวน • SOHO Thailand ถนนบํารุงเมือง • Vanilla Moon ถนนจันทน • Siam Square 1 • I’m Park สามย าน • Plearnary Mall วัชรพล • The JAS วังหิน • ท ามหาราช • อาคารซันทาวเวอร • อาคารอับดุลราฮิมเพลส • อาคารสินธรทาวเวอร • โรงพยาบาลพญาไท 2 • EmQuartier • อาคารสาธรซิตี้ทาวเวอร • Yodpiman River Walk • U-Place พระราม 9 • The Offices at Central World

E E E E

B K H P

504 503 502

TODAY EXPRESS PRESENTS

11 SEP 2017

O L D I N D U M B L R O U D

E

B B B B

E E E E

B K H P

O L D I N D U M B L R O U D

B B B B

E

E E E E

B K H P

O L D I N D U M B R O U D

• ร าน iberry • Gallery Seescape • SS1254372 Cafe • ร าน Slope Motion • ร าน The Barn : Eatery Design • ร าน Dude Cafe • ร าน Subway • ร าน 8 Days a Week • ร าน Hug a Cup • ร าน Dom Cafe • ร าน Cotton Tree • ร าน Cheun Juice Bar • ร าน Nimmanian Club • ร าน Roxpersso • ร านหนังสือ Book Smith • โรงแรม Hallo Dormtel 505 504 503

TODAY EXPRESS PRESENTS

18 SEP 2017

良い会社 T O

B E

A

G O O D

C O M PA N Y

หัวหิน • วรบุระ หัวหิน ร�สอร ท แอนด สปา • The Sea-cret Hua Hin • Hua Hin Mantra Resort • Let’s Sea • Dune hua-hin • Starbucks : Market Village • Starbucks : หอนาิกา • True Coffee • บ านใกล วัง • บ านถั่วเย็น • ชุบชีวา • ว�กหัวหิน • Eighteen Below • กาแฟดร�ปหัวหิน • ร านว� ไลวรรณ เพชรบุร� • JM Cuisine : ถนน หน าเขาวัง • JM Cuisine : ถนน รางไฟฟ า

adaybulletin

www.adaybulletin.com


a day bulletin

Database

04

เรื่อง : กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ภำพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

ที่มำ : www.data.go.th, www.money.cnn.com, www.thaipublica.org

กรุงเทพฯ... ชีวต ิ ดีๆ ทีล ่ งตัว

คุณเคยท�ำอะไรบนรถระหว่ำงรถติดบ้ำง? กินข้ำว ดูหนัง ตะโกนร้องเพลงดังๆ รอไฟเขียว บำงคนอำจปัน ่ งำน แต่งหน้ำ แอบหลับ หรืออำจร้ำยแรง ถึงขัน ้ ขับถ่ำยเลยด้วย ทีเ่ ป็นอย่ำงนีเ้ พรำะกรุงเทพฯ มีจำ� นวนรถยนต์มำกเกินกว่ำพืน ้ ทีจ ่ ะรองรับได้อย่ำงเหมำะสม ท�ำให้คนเมืองต้องใช้เวลำ เดินทำงบนท้องถนนนำนขึน ้ จนเสียโอกำสและต้นทุนทรัพยำกรอืน ่ ๆ ในจ�ำนวนทีม ่ ำกอย่ำงน่ำตกใจ

จากสถิ ติ ข องบริ ษั ท ผลิ ต จี พี เ อส TomTom ปี 2017 กรุงเทพฯ ยังคง ครองแชมป์อน ั ดับ 1 เมืองรถติดทีส ่ ด ุ ในโลก ตามด้ ว ยอั น ดั บ ถั ด มา คื อ เม็ ก ซิ โ กซิ ตี (เม็ ก ซิ โ ก) บู ค าเรส (โรมาเนีย) และจาการ์ตา (อินโดนีเซีย) ค น ก รุ ง เ ท พ ฯ เ สี ย เ ว ล า กั บ รถติดและการหา ทีจ่ อดรถโดยเฉลีย ่ 24 วันต่อปี หรือ เกื อ บ 1 เดื อ น เต็มๆ

่วน

ด เร่ง

ลา

เว

่วง ในช

าก นม ึง น ีถ นถ ยู่บ ี่ควรม อ ท ีรถ จะม ริมาณ ฯ ทพ เกินป รุงเ

1 ก

co

2 co

co

23,000

2

2 co

co

160 %

ปริ ม าณก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ที่ ถู ก ปล่ อ ยสู่ อ ากาศจากรถยนต์ ในกรุงเทพฯ ใน 1 ปี มีมากจนสามารถ เติ ม พื้ น ที่ เ ที ย บเท่ า กั บ ตึ ก มหานคร 23,000 ตึก

2

C

2

M

Y

co

CM

2

24

MY

CY

CMY

K

ปั จ จุ บั น ก รุ ง เ ท พ ฯ มีรถยนต์จดทะเบียน สะสมกว่ า 9.1 ล้ า น คัน (สถิติ ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2559)

9.1

ถ้าจะต้องสร้างที่จอดรถที่จะพอรองรับรถทั้งหมดในเมือง พื้นที่นั้นจะต้องมีขนาดเท่ากับ 8 สนามบินสุวรรณภูมิ

ร ถ ส่ ว น บุ ค ค ล ใ น ก รุ ง เ ท พ ฯ โดยเฉลีย ่ มีคนนัง ่ 2 . 1 ค น ต่ อ คั น จากที่นั่งส�าหรับ 4-6 คน

issue 514 17 aug 2017



a day bulletin

AGENDA

06

เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ

MILLENNIAL RELATIONSHIP: ARE WE REALLY COMMITMENT-PHOBES? หากเทียบกับคนรุน ่ Baby Boomers หรือ Gen Xers คนรุน ่ มิลเลนเนียล (บุคคลทีเ่ กิดช่วงปี ค.ศ. 1981-1996) เป็นกลุ่มคนที่แต่งงานหรือมีลูกช้ากว่าคนกลุ่มอื่นอย่างเห็นได้ชัด จนนักวิชาการบางคนตั้งข้อสังเกตว่า คนกลุ่มนี้เป็นพวกกลัวการผูกมัด หรือ Commitment-Phobes มาส�ารวจกันดีกว่าว่า คนมิลเลนเนียล เป็นแบบนั้นจริงหรือไม่ และเพราะอะไรถึงท�าให้เกิดปรากฏการณ์นี้ขึ้น

“ทุกวันนี้ คนรุ่น มิลเลนเนียลกลัว การหย่าร้างมากเสียจน พวกเขาต้องแน่ใจ อย่างถึงที่สุด เมื่อ ตัดสินใจใช้ชีวิต ร่วมกับใครสักคน”

C

M

เฮเลน ฟิชเชอร์

เมื่อไม่นานมานี้ ส�านักวิจัยพิว (Pew Research Center) เผยว่า สถิติการแต่งงาน ของคนมิลเลนเนียลลดลงเหลือเพียงร้อยละ 70 เท่านัน้ ซึง่ ถือว่าเป็นจ�านวนน้อยลงมาก เมื่อเทียบกับ Baby Boomers (ร้อยละ 91), Late Boomers (ร้อยละ 87) และ Gen Xers (ร้อยละ 82) นอกจากนี้ คนกลุม่ มิลเลนเนียล กว่าร้อยละ 25 ยังคาดว่าตัวเองคงไม่มีวัน แต่งงานอีกด้วย จากผลส�ารวจดังกล่าว เกินครึ่งของ ผู ้ ท� า แบบทดสอบยื น ยั น ว่ า เป็ น คนที่ ใ ห้ ความส�าคัญกับตัวเอง โดย Jean Twenge นักจิตวิทยาจากมหาวิทยาลัยรัฐซานดิเอโก กล่าวว่า “คนรุน่ นีเ้ ติบโตขึน้ ในสภาพแวดล้อม ทีเ่ ป็นปัจเจกนิยมและเอาความต้องการของ ตัวเองเป็นที่ตั้ง ท�าให้เป็นเรื่องยากเมื่อต้อง มีความสัมพันธ์แบบผูกมัดกับผู้อื่น” อี ก หนึ่ ง สาเหตุ ส� า คั ญ คื อ พ่ อ แม่ ส่วนใหญ่ของคนรุ่นมิลเลนเนียล คือกลุ่ม Baby Boomers ซึ่ ง เป็ น กลุ ่ ม ที่ มี อั ต รา การหย่าร้างสูงทีส่ ดุ ในทุกเจเนอเรชัน คนรุน่

RANKING

มิลเลนเนียลกว่าร้อยละ 35 จึงเติบโตขึ้น ในครอบครัวทีม่ กี ารหย่าร้างหรือแยกกันอยู่ ซึ่งส่งผลให้พวกเขามองการแต่งงานเป็น เรื่องน่าหวาดวิตก และต้องพยายามอย่าง หนั ก เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งการมี ชี วิ ต คู ่ ที่ ข มขื่ น อย่างพ่อแม่ของพวกเขา นอกจากนี้ การมี เ ว็ บ ไซต์ ห รื อ แอพพลิ เ คชั น หาคู ่ ยั ง ท� า ให้ ค นกลุ ่ ม นี้ ต้ อ งเจอกั บ อาการ ‘Choice Overload’ หรื อ มี ตั ว เลื อ กมากเกิ น ไป ซึ่ ง มองเผิ น ๆ อาจเป็ น ข้ อ ดี แต่ แ ท้ จ ริ ง แล้ ว กลั บ ท�า ให้ การเลือกคูเ่ ป็นเรือ่ งยากกว่าเดิม เพราะจาก การทดลองด้านจิตวิทยาจากสถาบันธุรกิจ โคลัมเบีย เผยว่า เมื่อเราเข้าร้านสะดวกซื้อ โดยในร้านนั้นมีแยมให้เลือก 6 ชนิด เรามี แนวโน้ ม ที่ จ ะซื้ อ แยมกลั บ บ้ า นมากกว่ า ในร้านที่มีแยมให้เลือก 24 ชนิด ซึ่งสรุป ได้วา่ เมือ่ มีตวั เลือกมาก เรากลับมีแนวโน้ม ที่จะเลือกจริงๆ น้อยลง ไม่ต่างอะไรกับ การเลื อ กคู ่ ใ นเว็ บ ไซต์ ห รื อ แอพพลิ เ คชั น ต่างๆ ในปัจจุบัน

อย่างไรก็ตาม หากจะบอกว่าชาว มิลเลนเนียลเป็นมนุษย์ทกี่ ลัวความสัมพันธ์ หรือรังเกียจความรักก็อาจจะเป็นการสรุปที่ รวดเร็ ว เกิ น ไป เพราะถึ ง แม้ ว ่ า คนรุ ่ น นี้ จะแต่ ง งานช้ า และแต่ ง งานน้ อ ยกว่ า คน รุ ่ น อื่ น ที่ สุ ด แต่ ก็ เ ป็ น กลุ ่ ม ที่ มี อั ต รา การหย่าร้างต�่าที่สุดตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 นักวิชาการอีกกลุม่ จึงตัง้ ข้อสังเกตว่า แท้ ที่ สุ ด แล้ ว ชาวมิ ล เลนเนี ย ลอาจไม่ ใ ช่ พวกกลัวการผูกมัดอย่างที่หลายคนเข้าใจ แต่ ด ้ ว ยสภาพสั ง คมและบทเรี ย นจาก คนรุ่นพ่อแม่ จึงท�าให้พวกเขาเลือกที่จะ สานสั ม พั น ธ์ อ ย่ า งค่ อ ยเป็ น ค่ อ ยไป และตั ด สิ น ใจเริ่ ม ต้ น ชี วิ ต คู ่ ใ นช่ ว งเวลา ที่เหมาะสมที่สุดก็เป็นได้

MARRIAGE AMONG THE YOUNG

issue 515

อัตราของผู้คนที่แต่งงานในวัย 18-32 ปี โดยแบ่งตามเจเนอเรชัน

04 DEC 2017

18

ผูเ้ ชีย ่ วชาญด้าน วิทยาศาสตร์ของความรัก และศาสตราจารย์ดา้ น มานุษยวิทยาแห่ง มหาวิทยาลัยรัตเจอรส์, สหรัฐอเมริกา

65% Silent

48% Boomers

36% Gen Xers

26% Millennial

32

Y

CM

MY

CY

CMY

K



IN CASE YOU MISSEd IT!

SOCIETY

http://metro.co.uk

a day bulletin

08

ข่าวรอบโลกปลายสัปดาห์ ที่คุณอาจพลาดไป! ANImAL INNOVATION

www.sci-techunivers.com

LIfESTYLE www.nlbeardandmoustacheclub. com BuSINESS www.theverge.com

C

M

Y

ENVIrONmENT www.ecowatch.com

www.dezeen.com

CM

MY

CY

CMY

K

Who : FixNation / Los Angeles What : มหานครลอสแองเจลิสคือ 1 ใน 3 เมืองใหญ่ทม ี่ แี มวจรจัดมากทีส ่ ด ุ ในสหรัฐฯ ผูเ้ ชีย ่ วชาญ งานออกแบบส�าหรับสัตว์เลี้ยงจึงรวมตัวกันออกแบบบ้านแมวเพื่อลดปริมาณแมวจรจัด ด้วยรูปแบบการดีไซน์ทเี่ ท่จนคนอย่างเรายังอิจฉา ซึง ่ แบบบ้านของน้องแมวมีทง ั้ หมด 13 แบบ อย่างทีม Standard Architecture ก็ออกแบบเป็นบ้านปูนเปลือยทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส เปิดปิดได้ด้วยหน้าต่างไม้เนื้ออ่อน และพวกเขาได้ร่วมกับ FixNation มูลนิธิช่วยเหลือแมว และสัตว์เลีย ้ งทีถ ่ ก ู ทอดทิง้ หรือสัตว์จรจัด (องค์กรไม่แสวงหาผลก�าไร) จัดนิทรรศการบ้านแมว ดังกล่าว และเปิดจ�าหน่ายบ้านแมวนีเ้ พือ ่ ระดมทุนเข้ามูลนิธฯิ อีกทาง

issue 515 04 DEC 2017

SOCIETY

INNOVATION

LIfESTYLE

BuSINESS

ENVIRONmENT

Who : June’s HIV+ Eatery / Toronto, Canada What : ร้านอาหารเพื่อเปลี่ยน ทัศนคติตอ่ ผูต้ ดิ เชือ้ HIV ซึง่ เกิดขึน้ โดย Casey House โรงพยาบาล ส�าหรับผู้ติดเชื้อ HIV ในประเทศ แคนาดา ร่วมกับเชฟและทีมงาน ทั้งหมด 14 คนในนาม June’s HIV+ Eatery โดยตั้ ง ใจสื่ อ ว่ า อาหารทีป่ รุงโดยผูต้ ดิ เชือ้ HIV นัน้ ไม่ได้ท�าให้คนกินอาหารติดเชื้อ ไปด้ ว ย ภายในสองวั น ก็ มี ค น จองคอร์ ส อาหารมื้ อ ค�่ า นี้ ก ว่ า 200 คนแล้ว

Who : Harbin Medical University / Heilongjiang, China What : นวัตกรรมทางการแพทย์ รุดหน้าอย่างรวดเร็ว เมือ่ Sergio Canavero ศัลยแพทย์ชาวอิตาลี ร่วมมือกับทีมแพทย์จากมหาวิทยาลัยการแพทย์ฮาร์บนิ ประเทศจีน ได้ ย ้ า ยศี ร ษะของศพหนึ่ ง ไป เชื่อมต่อกับอีกร่างหนึ่งได้ส�าเร็จ แต่ถงึ อย่างนัน้ ทางสมาคมแพทย์ สหรัฐฯ และยุโรปก็ยงั คงคัดค้าน ในขณะทีป่ ระเทศจีนออกมาระบุวา่ การด�าเนินผ่าตัดต้องเป็นชาวจีน และอยูภ่ ายในประเทศจีนเท่านัน้

Who : Newfoundland and Labrador Moustache and Beard Club What : ชมรมคนไว้เครากว่า 70 คนในหมู่บ้าน Newfoundland and Labrador ประเทศแคนาดา หาเงินบริจาคให้กับ Spirit Horse NL องค์กรที่ไม่แสวงหาผลก�าไร ทีค่ อยช่วยเหลือม้า และผูท้ มี่ อี าการ ป่วยทางจิต โดยพวกเขาได้ออก ปฏิทนิ ทีม่ เี หล่านายแบบเป็นหนุม่ เคราเข้มแต่งตัวเป็น Mermen หรื อ นายเงื อ กแห่ ง ท้ อ งทะเล ซึ่ ง ปฏิ ทิ น ชุ ด นี้ ไ ด้ เ สี ย งตอบรั บ อย่างล้นหลาม

Who : Skype What : โปรแกรมสนทนาผ่าน อินเทอร์เน็ตที่ได้รับความนิยม กลับต้อ งมีป ั ญหาเมื่อทางการ ของประเทศจีนสั่งระงับ และให้ ถอดแอพพลิเคชันนีอ้ อกจากสโตร์ บนมือถือทัง้ iOS และแอนดรอยด์ โดยทางการจีนบอกเพียงแค่ว่า ระบบของ Skype ไม่สอดคล้องกับ กฎหมายท้องถิน่ ของประเทศจีน แต่ ที่ น ่ า สั ง เกตคื อ บริ ก ารอื่ น ๆ เช่ น Gmail, Facebook และ Twitter ทั้ ง หมดนี้ ก็ ถู ก บล็ อ ก จากรัฐบาลจีนด้วยเช่นกัน

Who : คอสตาริกา What : รั ฐ บาลของประเทศ คอสตาริกาออกมาประกาศว่า จะหั น มาใช้ พ ลั ง งานทดแทน ทั้ ง หมด 100% ใน 300 วั น ซึ่ ง ปั จ จุ บั น พลั ง งานหมุ น เวี ย น ของทีน่ รี่ อ้ ยละ 78.26 เป็นการผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานน�า้ ส่วน 10.29% มาจากพลั ง งานลม 10.23% มาจากความร้อนใต้พื้นดิน และ 0.84% มาจากพลังงานชีวภาพ กับพลังงานแสงอาทิตย์



a day bulletin

THE CONVERSATION

เรื่อง : พิมพ์อร นทกุล, กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร, รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล สไตลิสต์ : Hotcake

12

s p a spa sam Baron

w i t h i n

issue 515 04 DEC 2017


13

c e s ces s p a c e

sappasit FoongFaungc haveng


a day bulletin

14

sappasit Foon gFaun gc haven g ถ้าให้แปลความหมายของ Spaces within Space คงจะเป็น ‘พืน ้ ทีท ่ ส ี่ าม’ ทีอ ่ าจเกิดจากสอง พืน ้ ทีท ่ ท ี่ บ ั ซ้อนกันอยู่ และยังเป็นคอนเซ็ปต์โปรเจ็กต์ ใหม่ของบริษท ั เอพี (ไทยแลนด์) จ�ากัด (มหาชน) ที่ จั บ มื อ กั บ Fabrica ดี ไ ซน์ ส ตู ดิ โ อระดั บ โลก จากประเทศอิตาลี สรรค์สร้างพื้นที่ที่ซ่อนอยู่ใน พื้นที่ เกิดเป็นทุนการศึกษารูปแบบตารางเมตร ในโครงการเพือ ่ สังคมทีช่ อ ื่ ว่า Space Scholarship ซึง ่ มอบทีอ ่ ยูอ ่ าศัยให้กบ ั เด็กนักเรียนทีเ่ ข้ามาศึกษา ต่อระดับมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ เราได้คย ุ กับ ‘เป๋า’ - สรรพสิทธิ์ ฟุง้ เฟือ ่ งเชวง ผู้ อ� า นวยการคอร์ ป อเรตมาร์ เ กตติ้ ง และเอพี ดี ไ ซน์ แล็ บ และ Sam Baron ผู้ อ� า นวยการ ฝ่ า ยออกแบบของ Fabrica ในงานเปิ ด ตั ว นิทรรศการ Spaces Within Space : A Vision of Co-Living Generation ทีผ ่ า่ นมา ทัง้ คูพ ่ ด ู ถึง การท�างานร่วมกันในครั้ ง นี้ ความคิ ด เห็ น ที่มีต่อ ‘สเปซ’ ในปัจจุบน ั และอนาคต ไปจนถึงวิธค ี ด ิ ส่วนตัว ต่ อ การท� า งานและการใช้ ชี วิ ต จนออกมาเป็ น บทสัมภาษณ์ 2 ชุด ที่มีความคิดทับซ้อนกันอยู่ ทั้งคู่เชื่อว่าในอนาคตค�าว่า co-living จะกลาย มาเป็นส่วนหนึง ่ ของชีวต ิ มนุษย์ และเราต่างก็ตอ ้ ง เรี ย นรู้ วิ ธี ที่ จ ะอยู่ ร่ ว มกั น โดยมี ฟั ง ก์ ชั น และ การดี ไ ซน์ ข องพื้ น ที่ เ ป็ น ตั ว ช่ ว ยให้ ค วามสั ม พั น ธ์ ในนัน ้ ด�าเนินไปอย่างราบรืน ่ ทีส ่ ด ุ

Curating as a Brand Building แบรนดิง้ กลายมาเป็นส่วนหนึง่ ของชีวต ิ คุณตัง้ แต่ เมือ ่ ไหร่

เริ่มจากงานแรกในชีวิต ผมเป็น brand manager ของ บริษัทนาฬิกา Pendulum นั่นเป็นวิชาแบรนดิ้งครั้งแรกที่เคย เรียน สมัยตอนเด็ก กลับมาจากเรียนต่างประเทศจะต้อง ฝึกงาน ซึ่งผมก็ฝึกงานเขียนให้กับนิตยสาร Thailand Tatler แล้วพบว่า ‘การสื่อสาร’ เป็นเรื่องส�าคัญข้อแรกส�าหรับ แบรนดิ้ง ประโยคแรกต้องคว้าใจคนอ่าน สมมติคุณเดิน เข้ามาในนิทรรศการนี้ ประโยคแรกที่เห็นมันไม่ชกหน้า ก็แปลว่ามันไม่สามารถดึงดูดคุณได้แล้ว แบรนดิง้ ส�าหรับเรา จึงต้องเชื่อมต่อกับคน เราต้องเข้าใจว่าพูดอะไรถึงจะเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายได้ งานที่ส องคือ การเป็ น ภัณ ฑารัก ษ์ หรื อ คิ ว เรเตอร์ งานนี้เป็นเหมือนวิชาแบรนดิ้งระดับปริญญาเอกเลยก็ว่าได้ ความท้าทายของมันคือจะพูดเรื่องที่น่าเบื่อยังไงให้สนุก ให้คนหมู่มากที่มาจากหลากหลายพื้นเพเข้าใจ น�าเสนอ เรื่องเล็กๆ ให้ใหญ่ให้ได้ ความสนใจเรื่องแบรนดิ้งของผม จึงมีมาเรื่อยๆ ผ่านงานที่ท�าและการศึกษาด้วยตัวเอง

issue 515

พอคุณพูดถึงการเป็นคิวเรเตอร์ เรานึกถึงแค่เรือ ่ ง ศิลปะ ไม่คอ ่ ยได้คด ิ ถึงมันในเชิงธุรกิจและแบรนดิง้

04 DEC 2017

ทุกอย่างในโลกเป็นแบรนดิง้ อย่างวัฒนธรรมการดืม่ ไวน์ ของฝรัง่ เศส จริงๆ ประเทศฝรัง่ เศสไม่มอี ะไรเลย แต่เขาสร้าง สิง่ ทีเ่ รียกว่า ‘ไวน์’ ขึน้ มา สร้างรสชาติตา่ งๆ สร้างแบรนด์ขึ้นมา ว่าไวน์นตี้ อ้ งดืม่ คูก่ บั อะไรถึงจะได้รสชาติดที สี่ ดุ จนก่อให้เกิด เป็นวัฒนธรรมการดืม่ ไวน์ของคนทัง้ โลก ทัง้ ทีจ่ ริงๆ แล้วไม่ได้ เกีย่ วกับชาติเขาเลย นีเ่ รียกว่า natural branding เป็นกระบวนการ ทางธรรมชาติ


15 “ค�าว่า สเปซ ในค�าจ�ากัดความของเราไม่ได้เป็นแค่หนึ่งมิติ หรือแค่พื้นที่ที่เรานั่งอยู่แล้วนะ มันอาจจะอยู่ในพื้นที่ไหนก็ได้ และอาจจะไม่ใช่รูปธรรมอย่างเดียวก็ได้” - สรรพสิทธิ์ ฟุ้งเฟื่องเชวง

g

เช่ น เดี ย วกั บ แบรนดิ้ ง ของเอพี พวกเราที่ นี่ มีดีเอ็นเอ ชัดเจนมาก วันที่มาท�างานวันแรกก็สังเกตเห็นครึ่งหนึ่งของ พนักงานเป็นสถาปนิกและวิศวกร เราเลยหยิบตรงนั้นขึ้นมาว่า เราเก่งเรื่องสเปซที่สุด ถ้าดูวิธีการใช้สเปซของเอพีจะรู้เลยว่า ละเอียดมาก เราเข้าใจคนรุน่ ใหม่วา่ โต๊ะกินข้าวไม่ได้มไี ว้กนิ ข้าว อย่างเดียวแล้ว แต่เอาไว้นั่งท�างานคอมพิวเตอร์ เล่นไอแพด และดูทีวีด้วย เพราะฉะนั้น โต๊ะกินข้าวต้องมีปลั๊ก อาจจะต้อง มีสายแลนด้วยซ�้า ซึ่งความเข้าใจในคนแบบนี้คือแบรนด์เอพี เราจึงสือ่ สารเรือ่ งสเปซมาโดยตลอด จนถึงวันนีเ้ ราคิดว่าตัวเอง สื่อสารเรื่องนี้มามากพอแล้ว คนส่วนใหญ่เข้าใจแล้วว่า AP Space แตกต่างจากสเปซอืน่ ๆ อย่างไร เราเลยอยากก้าวไปอีกขัน้ ด้วยการโชว์วสิ ยั ทัศน์วา่ สเปซในอนาคตจะเป็นยังไง ซึง่ เราก�าลัง จะก้าวเข้าไปสู่ co-living generation คือเราเชือ่ ว่าในอนาคตพืน้ ที่ มันจะเล็กลงเรื่อยๆ การอยู่อาศัยก็อาจจะเปลี่ยนไป คนอาจจะ ต้องแชร์พื้นที่กันมากขึ้น ได้ยน ิ ว่าสิง่ แรกทีท ่ า� ตอนเข้ามาท�างานทีน ่ ค ี่ อ ื ตกแต่ง สเปซทีท ่ า� งานใหม่หมด

ใช่ครับ คุณพ่อผมพูดเสมอว่า ‘You are as good as your employees.’ ถ้าอยากได้บริษัทแบบไหน ต้องจ้างคนแบบนั้น คุณไม่มที างจ้างคนแบบอืน่ แล้วหวังว่าจะมาปรับเปลีย่ นองค์กรได้ หน้าทีแ่ รกของผมจึงเป็นการเปลีย่ นทัศนคติของคนทัง้ องค์กรให้ รู้สึกว่า เราเป็นองค์กรที่มุ่งพัฒนานวัตกรรมใหม่ มุ่งพัฒนา นวัตกรรมความสงบ นวัตกรรมความสุข นวัตกรรมการใช้พื้นที่ ในบ้านแบบใหม่ รู้ไหมว่า philosophy ของเราคืออะไร ไม่ใช่ หินอ่อนที่แพงที่สุดหรือเสาโรมันที่ใหญ่ที่สุด แต่คือบ้านที่ให้ ความสงบภายในใจ รู้ว่าลูกออกไปวิ่งหน้าบ้านแล้วปลอดภัย ไม่ใช่เตียงที่นุ่มที่สุด แต่เป็นความสงบในการนอนหลับ เพราะ เราอุน่ ใจทีค่ นในครอบครัวอยูใ่ นสภาพแวดล้อมทีด่ ี และทีส่ า� คัญ ทีส่ ดุ คือต้องเป็นบ้านที่ functional ถามว่าเป็นยังไง ไม่ใช่แค่เป็น บ้านที่เปิดปิดไฟได้เอง แต่ต้องเป็นบ้านที่เข้าใจทุกคนในบ้าน ลูกสาวเรียนบัลเลต์ต้องมีที่ซ้อม ขณะเดียวกันลูกชายเรียน เชลโล ต้องซ้อมตรงไหนถึงจะไม่หนวกหู เราจะมีประโยคทีพ่ ดู กัน ในองค์กรเสมอคือ ‘Functional is beautiful.’

Consumer - Customer - user การท�าแบรนดิง้ ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์แตกต่างจาก ธุรกิจอืน ่ ๆ อย่างไร

ที่เอพี เราไม่เรียกลูกค้าว่า consumer (ผู้บริโภค) เพราะ เขาไม่ ไ ด้ บ ริ โ ภคบ้ า นเราแล้ ว หมดไป และก็ ไ ม่ ไ ด้ เ รี ย กว่ า customer (ลูกค้า) ด้วย เพราะเราไม่ได้ตงั้ ใจจะขายของให้เขา แล้วจบลง แต่เราเรียกว่า user (ผู้ใช้งาน) เพราะเราออกแบบ ทุกอย่างให้เขาใช้งาน กระบวนการคิดของเราจะให้ผู้ใช้งาน เป็นศูนย์กลาง ท�ายังไงถึงจะเข้าใจว่าคนเมืองในยุคนี้มีวิถีชีวิต แบบไหน เราจะตอบโจทย์ชีวิตเขาในสเปซที่มียังไงล่ะ? และ ค�าจ�ากัดความของ ‘สเปซ’ มันโตไปถึงไหนแล้ว? อยูใ่ นโทรศัพท์ ได้หรือเปล่า อยู่ในทีวีได้หรือเปล่า อยู่บนหน้าจอคอมได้ หรือเปล่า ทุกครั้งที่เราจะสร้างสรรค์สิ่งใหม่ มันจะต้องมี นวัตกรรมเกีย่ วข้องอยู่ ไม่วา่ จะเป็นโครงการนี้ สนามฟุตบอลเอพี หรือการออกแบบห้องร่วมกับ นาโอโตะ ฟุคาซาวา

ส� า หรั บ คุ ณ และเอพี ค� า จ� า กั ด ความของ ‘สเปซ’ ในตอนนี้โตไปถึงไหนแล้ว

ตอนนีค้ า� ว่า สเปซ ในค�าจ�ากัดความของเราไม่ได้เป็นแค่ หนึง่ มิติ หรือแค่พนื้ ทีท่ เี่ รานัง่ อยูแ่ ล้วนะ มันอาจจะอยูใ่ นพืน้ ทีไ่ หน ก็ได้ และอาจจะไม่ใช่รูปธรรมอย่างเดียวก็ได้ AP Space ก็มี วิวัฒนาการมาเรื่อยๆ สนามฟุตบอลเอพีของปีที่แล้วถือเป็น ความส�าเร็จมาก ใครๆ ก็พูดถึง ปีนี้ วันนีเ้ ลย เมือ่ เช้าเฟซบุก๊ เพิง่ เตือนว่า เมือ่ ปีกอ่ นเราเปิดตัวสนามฟุตบอลไป เราเองก็เพิง่ รูว้ ่า ทัง้ สองโครงการเปิดตัววันเดียวกันเลยเหรอเนีย่ แล้ววันนีจ้ ะเป็น ยังไงนะ ซึ่งตอนที่คิดโครงการนี้กับทีม ทุกคนอยากเอาชนะ สิ่งที่ท�าในปีที่แล้ว แต่หนึ่งเดือนผ่านไป โจทย์มันผิด เราไม่ควร ตั้งต้นด้วยความอยากได้รางวัลด้วยซ�้า เลยกลับมาถามตัวเอง ว่าเราเก่งอะไร และเราอยากจะมอบอะไรให้กับใครที่ต้องการ มากกว่า

เมื่ อ เรารู ้ ว ่ า เรามี ค อนโดฯ ยู นิ ต ไหนเหลื อ บ้ า ง ใกล้ มหาวิทยาลัยไหนบ้าง ท�าให้เกิดโครงการ Space Scholarship ขึน้ โดยการให้ทนุ การศึกษาเป็นตารางเมตรกับนักเรียนทีจ่ ะเข้ามา ต่อมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ แต่ไม่มกี า� ลังทรัพย์สา� หรับค่าทีพ่ กั และบังเอิญว่าตอนนัน้ เราเริม่ เป็นเพือ่ นกับ Fabrica แล้ว เรารูว้ า่ เขาโดดเด่นทางด้านความหลากหลายของวัฒนธรรม ถ้าไปดูทมี เขา จะเหมือนอยูใ่ นองค์กรสหประชาชาติ มีครบทุกชาติ เขาจึงเข้าใจ เรื่องความแตกต่าง เข้าใจถึงการใส่ฟังก์ชันบวกกับวัฒนธรรม เข้าไปในงานออกแบบ เกิดเป็นพืน้ ทีท่ เี่ หมาะกับคนจากหลาก หลายแบ็กกราวนด์มาอยู่ด้วยกัน เป็น co-living อย่างแท้จริง life’s Passion and Career You love ในการท�าโครงการ Space Scholarship ได้คลุกคลีกบ ั น้องๆ นักศึกษา คุณคิดว่าชีวต ิ และการงานในอุดมคติ ของเด็กรุน ่ ใหม่คอ ื อะไร

ผมนึกย้อนไปตอนหนุม่ ๆ สมัยเข้าวัยเลข 30 และทุกคนใน ยุคนั้นอยากเป็นเจ้าของธุรกิจสักอย่าง ขอเรียกว่าเป็นยุคแรกๆ ของสตาร์ทอัพแล้วกัน ถ้าเรียกว่า SMEs มันจะฟังดูไม่เซ็กซี่ เท่าไหร่ (ยิม้ ) ประกอบกับ New Year’s resolution ของเราในปีนนั้ คือ ต้องเป็นเจ้าของธุรกิจให้ได้ ก็คดิ ว่าคงจะไม่ตา่ งจากทุกวันนี้ เท่าไหร่นกั ประกอบกับทุกวันนี้ โอกาสและช่องทางในการท�างาน ของกลุม่ คนรุน่ ใหม่นนั้ มีมากและหลากหลาย ด้วยความก้าวหน้า ของเทคโนโลยี ท�าให้คนสามารถท�างานจากที่ไหนก็ได้บนโลก ใบนี้ หรือแม้แต่การเป็นฟรีแลนซ์ทสี่ ามารถให้อสิ ระในการท�างาน กับพวกเขา คนรุ่นใหม่เริ่มมีความสนใจอยากท�างานในบริษัท สตาร์ทอัพใหม่ๆ มากกว่าท�างานในองค์กรเก่าแก่ ในขณะเดียวกัน องค์กรก็ต้องปรับวิธีการบริหารงานเพื่อดึงดูดให้คนรุ่นใหม่ อยู่กับองค์กรได้นานขึ้น เนื่องจากคนรุ่นใหม่ไม่ได้มาออฟฟิศ และคิดถึงแต่โหมดงาน แต่ที่ทา� งานยังเปิดโอกาสให้ได้ใช้ชีวิต ในมุมอื่นๆ ร่วมกับเพื่อนร่วมงานที่คุ้นเคยสนิทสนม ซึ่งจะน�า ไปสู่การท�างานเป็นทีม การแชร์ไอเดีย และมีหัวสมองที่เปิดรับ สิง่ ใหม่และแอ็กทีฟมากขึน้ มิตทิ ไี่ ม่ใช่งานโดยตรงจะไปสนับสนุน การท�างานในที่สุด

แล้ว New Year’s resolution ปีนี้ของ ‘เป๋า’ สรรพสิทธิ์ ฟุ้งเฟื่องเชวง คืออะไร

เดินทางให้นอ้ ยลง ใช้เวลากับครอบครัวมากขึน้ และใช้เวลา กับตัวเองมากขึ้น สิ่งที่ส�าคัญที่สุดคือ ตื่นเช้ามาจิบกาแฟก่อน หลายคนตืน่ มา ลุกจากเตียง และรีบออกจากบ้านเลย แบบนัน้ ท�าให้เรายังไม่แน่ใจว่าจะท�าอะไรกับชีวติ ในวันนัน้ ปีนี้เราเพิ่ง เปลี่ ย นเป็ น ตื่ น เช้ า มาดื่ ม กาแฟในห้ อ งที่ ช อบที่ สุ ด ในบ้ า น แล้วก็นั่งเงียบๆ สักครู่ก่อนจะเริ่มท�างานหรือรีเสิร์ชเรื่องใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในโลก

เรื่ อ งที่ ใ หม่ ล่ า สุ ด ที่ คุ ณ รู้ ม าคื อ อะไร (วั น พุ ธ ที่ 22 พฤศจิกายน 2560)

เรื่องแรกคือ อาซ์เซอดีน อาลาญา (ดีไซเนอร์แห่งวงการ แฟชั่นชั้นสูง และผู้ออกแบบน�้าหอม Azzedine Alaïia) เสียชีวิต เราอยากรู้ว่าใครมีคอลเล็กชันของเขามากที่สุด และแบรนด์ ของเขายังจะท�าต่อไปหรือเปล่า เรื่องที่สอง Eataly เพิ่งเปิดตัว สิ่งที่เรียกว่า Eataly World ในสหรัฐอเมริกา เราอยากรูว้ า่ มันคือ อะไร และมันจะท�าอะไรต่อไป อีกอันหนึง่ คือ IkEA ร่วมมือกับ developer ในสหรัฐฯ เราอยากรู้ว่ามันจะมาเขย่าอะไรโลกบ้าง อาจจะดูไกลตัวก็จริงนะ แต่ใครจะรู้ อีกสามปีข้างหน้ามันอาจ จะส่งผลกระทบมาถึงเราก็ได้ สมมติถ้าสิง่ ทีเ่ ขาก�าลังจะท�าเป็น IkEA Home ขึ้นมา ถูกไหมล่ะ (หัวเราะ)


sam Baron deCoding Culture คุณมีวธ ิ ส ี ร้างแรงบันดาลใจ และสร้างผลงานทีแ ่ ตกต่าง อย่างไรบ้าง

ผมพยายามจะให้ความสนใจกับรายละเอียดเล็กๆ ในชีวิต ของคนทัว่ ไป บางทีเราจะสังเกตเห็นพฤติกรรมบางอย่างทีต่ า่ งกันไป ตามพืน้ หลังของวัฒนธรรม ซึง่ ความต่างเล็กๆ นี้ เราเห็นแล้วเอาไป ตี ค วาม ไปปรั บ เปลี่ ย นมั น ลงในงานด้ า นดี ไ ซน์ ไ ด้ เ หมื อ นกั น อีกอย่างคือผมชอบไปดูพิพิธภัณฑ์ศิลปะ ถือเป็นแรงบันดาลใจ ทีด่ เี ลย เพราะงานอาร์ตเป็นอะไรทีอ่ สิ ระมาก ดุเดือดบ้าคลัง่ แค่ไหน ก็ได้ แล้วก็ยังสามารถเดินทางได้ไกลกว่าคนเป็นศิลปิน ในฐานะ ดีไซเนอร์ เรามีหน้าที่หนึ่งคือต้องคิดตอบโจทย์ที่ได้รับ ดังนั้น เวลาคิดจะสร้างอะไร มันต้องมีเซนส์เรื่องความเป็นไปได้อยู่คู่กัน เสมอ มุมหนึ่งมันก็คือข้อจ�ากัดแหละ แต่มันก็ดีตรงที่มันบังคับ ให้เราต้องต่อสู้เพื่อหาค�าตอบมากขึ้น พอจะยกตัวอย่างรายละเอียดเล็กๆ ทีค ่ ณ ุ เลือกมาใช้กบ ั โปรเจ็กต์ Space Scholarship ให้ฟงั หน่อยได้ไหม

ส�าหรับโปรเจ็กต์นี้น่าจะเป็นราวโลหะสีฟ้าที่ติดอยู่ตาม ก�าแพงห้อง ซึง่ มีไอเดียมาจากการวาดเส้นลงบนกระดาษธรรมดาๆ จนพอลองมองแบบสามมิติ เส้นเส้นหนึ่งก็สามารถกลายเป็น เฟอร์นเิ จอร์ในบ้านได้เหมือนกัน เราจึงดีไซน์ราวแขวนนีไ้ ว้ในหอพัก ทั้งสองห้อง คุณสมบัติของมันคือคุณสามารถเปลี่ยนสิ่งของต่างๆ มาแขวนใช้ได้ตามต้องการ เช่น น�าโคมไฟมาแขวนไว้เวลาทีจ่ ะอ่าน หนังสือ หรือน�าบอร์ดมาแขวนเพือ่ ปักหมุดบันทึกสิง่ ต่างๆ หรือปรับ เปลีย่ นเพือ่ ใช้เป็นชัน้ วางของก็ได้ตามทีส่ ะดวก และคุณอาจเปลีย่ น มันหลายครั้งในหนึ่งวันก็ยังได้ เราอยากให้พื้นที่ของห้องสามารถ รองรับการใช้งานทีห่ ลากหลาย เพราะสุดท้ายคุณต้องใช้ชวี ติ อยูท่ นี่ ี่ ทุกวัน มันเลยจ�าเป็นมากส�าหรับเราทีจ่ ะต้องเสนอทางเลือกหลายๆ ทางที่เปิดกว้างให้ผู้อยู่ แล้วให้พวกเขาเป็นคนตัดสินใจเลือกพื้นที่ แบบทีเ่ ขาต้องการ ผมคิดว่างานดีไซน์ทดี่ ไี ม่ควรเลือกค�าตอบสุดท้าย แก่ผู้ใช้ แต่ควรจะเสนอค�าตอบที่เป็นไปได้หลายๆ ทางมากกว่า นอกจากนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างสถาปัตยกรรมกับดีไซน์ ก็น่าสนใจเหมือนกัน เรามักคิดเสมอว่าสถาปัตย์คือกล่องของ การใช้ชีวิต การร่วมมือระหว่าง Fabrica และ AP Thailand ครั้งนี้ ท�าให้มกี ารตีความ และตัง้ เป้าหมายกันใหม่นดิ หน่อย โดยเป้าหมาย ของ AP คือให้พื้นที่ส�าหรับการใช้ชีวิต ส่วนของ Fabrica คือหาวิธี พัฒนางานดีไซน์ให้เป็นหนึง่ เดียวกับสถาปัตยกรรม ผมเชือ่ ว่าดีไซน์ มีอยู่ทุกที่ ไม่ว่าจะเป็นบรรจุภัณฑ์ของนมกล่องที่คุณกิน วิธีที่คุณ สวมเสือ้ ไปจนถึงวิธที คี่ ณ ุ แบ่งห้องต่างๆ ในพืน้ ทีห่ นึง่ โดยธรรมชาติ มันคือสิง่ รอบตัวทีท่ า� ให้ชวี ติ ง่ายขึน้ คล่องตัวขึน้ ไม่ใช่อะไรทีม่ แี ล้ว รูส้ กึ ฝืนหรือคอยจ�ากัดทางเลือก เราต่างหากทีจ่ ะเป็นคนเลือกปรับ ดีไซน์ให้เข้ากับชีวิตของตัวเอง design the life and Career ในการท�างานแต่ละโปรเจ็กต์ คุณต้องตัง้ ค�าถามอะไรบ้าง กว่าจะได้มาซึง่ ดีไซน์ทเี่ ป็นค�าตอบ

issue 515 04 DEC 2017

ที่ผมมักจะท�าคือตั้งค�าถามหรือถกเถียงกับบรีฟที่ได้มาเป็น อย่างแรก ท�าไมลูกค้าถึงมาหาเรา? ท�าไมเขาถึงให้เราตอบค�าถาม พวกนี้? หรือบางทีเราควรมาตัง้ ค�าถามใหม่ไปด้วยกันหรือเปล่านะ? จะได้แน่ใจว่าสื่อสารตรงกัน การท�างานไม่ใช่แค่พอมีคา� ถามแล้วก็ หาค�าตอบมาใส่ แต่ต้องหันมาคุยกันทั้งเราและอีกฝ่าย ค่อยๆ ต่อ จุดเล็กๆ จนมันต่อกันเป็นทิศเป็นทาง เขาก็เข้าใจบรีฟที่เขาให้มา และเราก็ยนิ ดีจะหาทางออกให้ตามนัน้ คือถ้าเข้าใจตรงกันอย่างนี้ ก็นา่ จะได้ผลงานทีด่ ี เพราะต่างฝ่ายต่างต้องแลกเปลีย่ นและรับฟังกัน เพื่ อ หาผลงานที่ ต รงดี เ อ็ น เอของเขาและตอบโจทย์ ผู ้ ใ ช้ ง าน

“ที่ผ่านมาการสื่อสารที่ผิดพลาดนั้นสร้างปัญหามามากแล้ว ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเมือง เรื่องกฎหมาย หรือแค่เรื่อง ผิดใจของคุณกับคนรัก ถ้าเราสามารถสร้างโปรเจ็กต์ผา่ นดีไซน์ทท ี่ า� ให้เกิดการเชือ ่ มต่อสือ ่ สารระหว่างกันทีด ่ ข ี น ึ้ ได้ ก็ถอ ื เป็นเรื่องที่น่ายินดี” - Sam Baron

a day bulletin

16 ซึ่งกระบวนการสือ่ สารนีต้ อ้ งใช้เวลาสักพักเลยแหละ แต่ผมว่ามัน ไม่เคยเสียเปล่านะ นีค ่ อ ื ส่วนทีย ่ ากทีส ่ ด ุ ของอาชีพดีไซเนอร์หรือเปล่า

ผมไม่ได้มองว่ามันยากนะ การได้เจอความคิด ทัศนคติ และผู้คนใหม่ๆ เป็นเรื่องที่ดี เราอาจเคยคิดว่าโลกเป็นแบบนี้ แต่บางทีชวี ติ มันพาเราเลยไปไกลกว่านัน้ อีก นีค่ อื รางวัลอย่างหนึง่ แล้ว ดีจะตายทีท่ กุ วันเราได้ทา้ ทายมุมมองตัวเอง อะไรทีม่ คี ณ ุ ค่า ที่เราคิดว่าจะคงอยู่ตลอดไป วันหนึ่งอาจไม่มีแล้วก็ได้ ผมว่า ดีไซเนอร์มหี น้าทีต่ รงนีแ้ หละ สร้างไอเดียใหม่ น�าเสนอทางเลือก ใหม่ ทั้งหมดนี้มาจากการไม่หยุดสงสัยไปกับสิ่งรอบตัว นี่แหละ คือกุญแจส�าคัญของชีวิต

อะไรคื อ สิ่ ง ที่ น่ า สนใจที่ สุ ด ที่ คุ ณ พบระหว่ า งการท� า โปรเจ็กต์ Space Scholarship

คงจะเป็นวิถีชีวิตที่เราพยายามน�าเสนอ ซึ่งอาจจะใหม่ ส�าหรับเด็กหลายๆ คน โดยปกตินักเรียนนักศึกษามักจะต้อง อาศัยในหอพัก แต่เราอยากให้พวกเขารู้สึกว่านี่คือบ้านจริงๆ ถึงแม้เขาจะมาจากคนละจังหวัด คนละวัฒนธรรม แต่แทนที่ จะเป็นปัญหา มันกลับเป็นสิ่งที่ดี แล้วที่สา� คัญ ช่วงชีวิตที่คุณ เป็นนักศึกษามันเป็นเวลาแรกที่คุณจะได้ค้นหาและเริ่มสร้าง ตั ว ตนของตั ว เอง ไม่ มี พ ่ อ แม่ ค อยบอกหรื อ ห้ า มให้ ท�า อะไร มันเป็นช่วงเวลาแห่งความอิสระและเป็นรากฐานว่าคุณจะเติบโต ขึ้นเป็นผู้ใหญ่แบบไหน ในช่วงเวลานี้ที่อยู่อาศัยจึงมีส่วนส�าคัญ เราอยากสร้าง พื้นที่ที่เคารพตัวตนและความเป็นส่วนตัว แต่ก็เปิดให้เด็กๆ ได้พบกับเพื่อนใหม่ มีความสงบในยามที่เขาอยากอ่านหนังสือ หรืออยู่ตัวเอง และมีพื้นที่สา� หรับการกินข้าวร่วมโต๊ะ พูดคุยกัน หรือท�างานไปด้วยก็ยังได้ ไม่มีข้อจ�ากัดตายตัว นี่คือการเสนอ รูปแบบพฤติกรรมการใช้ชวี ติ แบบใหม่ๆ ทีเ่ ราหวังว่าเด็กๆ ทีม่ าอยู่ ในบ้านหลังนี้จะได้รับประสบการณ์ที่ดีกลับไป ไม่ใช่แค่ในเวลา 12 เดือนในบ้าน แต่เขาจะได้รู้ว่าโอกาสในชีวิตนั้นยังมีอีกมาก และเขาจะไม่ถูกจ�ากัดอยู่กับอุปสรรคทางสังคม เมื่อเราเปิดใจ ให้กว้างและยอมปรับเพื่อคนรอบข้าง เราจะเจอกับทางเลือก อีกมากมาย

CatChing uP the trend คุณได้แรงบันดาลใจจากบรรยากาศและชีวิตของคน ในศูนย์วิจัยของ Fabrica บ้างไหม

ครับ ในแง่ทที่ มี ของผมจะประกอบด้วยผูค้ นจากหลากหลาย ประเทศ หลากหลายวัฒนธรรมเสมอ แน่นอน เรามีวิธีปฏิบัติ ที่ต่างกัน การนั่งกินข้าวของคนญี่ปุ่นย่อมไม่เหมือนคนอเมริกัน มือ้ เทีย่ งวันอาทิตย์ของคนยุโรปก็มคี วามส�าคัญไม่เหมือนกับคน แอฟริกัน การมีทีมที่มีวัฒนธรรม ความคิด และมุมมองดีไซน์ ที่หลากหลายมันท�าให้เจอโจทย์ เราให้ค�าตอบได้รอบด้านกว่า เพราะแค่ในการประชุมกันก็ต้องลดก�าแพงลงมากแล้ว กราฟิกดีไซเนอร์ โปรดักต์ดีไซเนอร์ สถาปนิก ทุกคนต้องมาช่วยกันคิด ไม่ใช่ว่าคนท�ากราฟิกโผล่มาออกแบบโลโก้ตอนจบ ทุกคนต้องมี ส่วนร่วมตั้งแต่ต้น มีอะไรเอาออกมาแชร์กัน มาดูกันว่าสิ่งไหน ส�าคัญบ้าง แล้วก็เริ่มปะติดปะต่อจากสเกตช์จนเป็นรูปเป็นร่าง ท�าแบบนี้มันช่วยลดอีโก้ซึ่งกันและกันไปในตัว เพราะโปรเจ็กต์ ต้องมาก่อน แทนทีจ่ ะมองว่าฉันอยากท�าอย่างนี้ มันจึงกลายเป็น ฉันจะช่วยอะไรทีมได้บา้ ง นอกจากนีย้ งั ช่วยให้เรารับฟังความคิดเห็น ค�าวิจารณ์กันได้ มันคือการมีบทสนทนาร่วมกันจริงๆ ทั้งหมดนี้ คือหลักการของ Fabrica เราไม่สนใจว่าคุณจะมาจากครอบครัว ทีร่ า�่ รวยหรือล�าบากแค่ไหน แต่เราสนใจความคิดสร้างสรรค์ และ ความสามารถในการสื่อสารผ่านดีไซน์ของคุณ

อย่างนั้นคุณคิดว่านี่คือทิศทางที่วงการศิลปะก�าลัง มุง่ ไปใช่หรือไม่

หวังจะว่าจะเป็นเช่นนั้น (ยิ้ม) เพราะมันคือทางที่สังคม ควรจะเดินไปเช่นกัน ทุกวันนี้เรามีความสะดวกสบาย มีความเป็นไปได้มากมายในสังคม และมีดีไซเนอร์จ�านวนมากที่ก�าลัง น�าเสนอเครือ่ งมือต่างๆ ทีช่ ว่ ยให้คนจัดการกับวิถชี วี ติ ของตัวเอง ซึ่งถ้าเราช่วยกันเปิดให้ทุกคนมีอิสระในทางเลือกที่หลากหลาย


17 มากขึ้น คุณอาจเป็นคนโซเชียลฯ ในขณะที่เพื่อนสนิทคุณไม่ หรือคุณอาจเป็นทั้งสองอย่างได้ในวันเดียว ถ้าดีไซน์สามารถ ช่วยสร้างทางเลือกเหล่านีก้ น็ า่ จะส่งผลดีแก่สงั คมเรา ทีผ่ า่ นมา การสือ่ สารทีผ่ ดิ พลาดนัน้ สร้างปัญหามามากแล้ว ไม่วา่ จะเป็น ปัญหาการเมือง เรื่องกฎหมาย หรือแค่เรื่องผิดใจของคุณกับ คนรัก ถ้าเราสามารถสร้างโปรเจ็กต์ผ่านดีไซน์ที่ท�าให้เกิด การเชือ่ มต่อสือ่ สารระหว่างกันทีด่ ขี นึ้ ได้ ก็ถอื เป็นเรือ่ งทีน่ า่ ยินดี อะไรคือเรือ ่ งท้าทายทีส ่ ด ุ ส�าหรับดีไซเนอร์ยค ุ นี้

อย่างหนึง่ คือกระบวนการคิดทีส่ มเหตุสมผล เนือ่ งจาก ที่ผ่ า นมาอาชีพ ดีไ ซเนอร์ ถู ก โยงกับ งานที่เ ป็ น ภาพลัก ษณ์ ซะเยอะ คืออินสตาแกรมก็เป็นอะไรทีด่ งี ามนะ แต่ตอ้ งยอมรับ ว่ามันผลักดันให้คนหันมาโชว์แต่อะไรที่มันดีต่อตา จนบางที ลืมแนวคิดดีๆ ทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหลัง ต้องอย่าลืมว่าหน้าทีข่ องดีไซเนอร์ คือเสนอทางออกให้กับปัญหาของคน ดีไซเนอร์รุ่นใหม่มัก สนใจ power of image มากกว่าจะค�านึงถึงผลลัพธ์ทไี่ ด้ อย่าง เวลามีคนขอให้คณ ุ ออกแบบเก้าอีม้ าตัวหนึง่ กว่าจะได้มาคุณ ต้องมีช่างไม้ มีฝ่ายขาย มีฝ่ายคลังสินค้า มีคนอีกมายมายที่ ช่วยผลักดันงานให้ออกมาได้อยู่ข้างหลังคุณ และพวกเขาก็มี ครอบครัว มีลูก มีค่าบ้านค่ารถที่ต้องจ่าย ดังนั้น การดีไซน์ ของขึ้ น มาสั ก หนึ่ ง สิ่ ง จึ ง ไม่ ใ ช่ แ ค่ อ ะไรที่ ท� า แล้ ว คุ ณ รู ้ สึ ก ดี เติมอีโก้ให้ตัวเอง เราต้องคิดถึงหลายชีวิตที่อยู่เบื้องหลังงาน พอๆ กับการคิดถึงผู้บริโภค เราก�าลังขอให้เขาจ่ายเงินให้เรา ดังนั้น ก็ต้องให้สิ่งที่ เป็นประโยชน์กับเขาตอบแทน ผมไม่ได้บอกว่าเราจะสนุก กับมันไม่ได้นะ คือถ้าคุณเป็นศิลปินคุณจะท�าอะไรก็ได้ตามใจ อยาก แต่ถ้าคุณเป็นดีไซเนอร์ จงอย่าลืมว่าคุณก�าลังท�างาน ครี เ อที ฟ ชิ้ น นี้ ส� า หรั บ ใครบางคนเสมอ มั น คื อ การเคารพ ความสัมพันธ์ระหว่างกัน ถึงแม้ว่าชีวิตนี้คุณจะไม่มีโอกาส ได้รู้จักเขาหรอก เพราะโปรดักต์ของคุณอาจถูกน�าไปขายใน อีกซีกโลกหนึ่ง แต่มันคือเสี้ยวหนึ่งของคุณในบ้านของคนอื่น บนรถบัส หรือบนรถไฟใต้ดิน นี่เป็นความงดงามของอาชีพนี้ ทีเ่ ราได้ชว่ ยขยายความคิดสร้างสรรค์เล็กๆ ออกไปในทีต่ า่ งๆ และเราก็น่าจะท�ามันให้ดีที่สุด ตอนนี้งานแมสกับงานดีไซน์มันใกล้เคียงกันมาก อย่าง IKEA ก็ยงั ไปจับมือกับ Hay Design นีถ ่ อ ื เป็น สัญญาณทีด ่ ใี ช่ไหม

ผมว่ า ดี น ะครั บ แบรนด์ สิ น ค้ า อุ ต สาหกรรมที่ ผ ลิ ต ของจ�านวนมากๆ มันก็ตอบโจทย์ชวี ติ คนอยูเ่ รือ่ งความสะดวก สบาย คุณอยากได้ชนั้ วางของก็ไปซือ้ เอามาประกอบ 5 นาที ก็ได้แล้ว ซึง่ ตอนนีพ้ วกเขาร่วมมือกับดีไซเนอร์เพือ่ สร้างความแตกต่างในตลาด และน�าเสนอเซนส์ของความสวยงามให้คน หมู่มาก ซึ่งสุดท้ายแม้มันจะจางหายไป ก็ยังเป็นการสื่อสาร ความหมายของดีไซน์ที่ดี ช่วยให้คนรู้จักดีไซเนอร์ และรู้จัก ความเคลือ่ นไหวใหม่ๆ อย่างตอนนี้ Hay ก็กลายเป็นแบรนด์ดงั ไปแล้ว ซึ่งจะดังแบบนี้ได้ในตู้มเดียว คนที่ทา� ได้ก็มีแต่แบรนด์ ใหญ่แบบ IkEA นัน่ แหละ เลยถือว่าได้ประโยชน์กนั ทัง้ สองฝ่าย

เคยมีคนพูดว่าท�างานสร้างสรรค์ ต้องเผด็จการ เพราะถ้ามัวแต่ฟังกันงานก็จะติดอยู่ครึ่งๆ กลางๆ ไม่ไปในทิศทางเดียวกัน คุณเห็นว่าอย่างไรบ้าง

จริงเหรอ ใครพูดไว้เนีย่ ? (ยิม้ ) เป็นความจริงทีภ่ ายในทีม จะต้องมีคนตัดสินใจเด็ดขาด แต่ส�าหรับผมกับทีม เราท�างาน กันเหมือนวงออร์เคสตรา หรือไม่ก็เชฟ คือคุณเอาส่วนผสม แต่ละส่วนจากทุกคน จะรสเค็ม เปรีย้ ว หรือเผ็ด ก็เอามารวมกัน ในแบบที่คุณคิดว่าดีที่สุด หรือถ้าเป็นวงซิมโฟนีก็อาจจะเติม ไวโอลิน เติมฟลุต ลดเปียโนออกหน่อย คือค่อยๆ ปรับกันไป ไม่ตอ้ งไปบังคับใครตัดสินใจ แต่เสนอทางเลือกร่วมกันเพือ่ ให้ งานเกิด มันไม่ใช่งานง่าย แต่ถ้าท�าได้ คนดูก็สัมผัสได้เช่นกัน คงไม่ มี แ ค่ ข าวหรื อ ด�า แต่ ช ่ ว ยกั น ผสมสี เ ทาให้ อ อกมาดี ผ่านการพูดคุยและการรับฟัง และเมื่อเมจิกโมเมนต์เกิดขึ้น คุณก็แค่รีบคว้ามันไว้


spaces within space

a vision oF co-Living generation the third sPaCe

นวัตกรรมพื้นที่ที่สาม น�าการทับซ้อน ของดีไซน์มาสร้างเป็นพืน้ ทีใ่ นมิตใิ หม่ทที่ ลาย กรอบทางความคิดในการออกแบบอย่างเดิมๆ โดยอาจเป็นพืน้ ทีท่ างกายภาพ เช่น พืน้ และ ผนั ง เป็ น พื้ น ที่ บ นหน้ า จอโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ หรือพื้นที่สมมติบนโลกออนไลน์ก็ได้เช่นกัน ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั พืน้ ทีใ่ หม่แห่งนี้ ก�าลังเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการอยู่อาศัย ของมนุษย์ และท�าให้เส้นแบ่งชีวติ เรือ่ งส่วนตัว เหลือน้อยลง sPaCe as sCholarshiP

โปรเจ็กต์ AP Space Scholarship นับเป็น ครั้งแรกของการให้ทุนการศึกษาในรูปแบบ ‘ทีพ่ กั อาศัย’ ด้วยห้องชุดในคอนโดฯ เอพี ใน 2 โครงการใกล้สถานศึกษา ได้แก่ โครงการ Aspire รัตนาธิเบศร์ 2 และ Aspire สาทร-ตากสิน ซึง่ ได้รบั การออกแบบจากทีมงาน AP Design Lab x Fabrica เพือ่ เชือ่ มต่อการใช้ชวี ติ ของน้องๆ ที่อาศัยอยู่ในต่างจังหวัดที่มีผลการเรียนดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์สา� หรับการเข้ามาศึกษา ต่อระดับอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานคร issue 515

30-square-metre sCholarshiP

04 DEC 2017

การมอบทุนการศึกษาครัง้ นีม้ จี า� นวน 2 ทุน ได้ แ ก่ ทุ น การศึ ก ษามู ล ค่ า เที ย บเท่ า พื้ น ที่ 30 ตารางเมตรต่อปี (1 ห้องส�าหรับเด็กผูห้ ญิง 3 คน) และทุนการศึกษามูลค่าเทียบเท่าพืน้ ที่ 45 ตารางเมตร (1 ห้องส�าหรับเด็กผูช้ าย 4 คน)

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

sum

Space Scholarship เกิดขึน้ ภายใต้แนวคิด ‘SUM’ (Sum of Small Parts) ซึ่งตั้งค�าถาม กับการสร้างพื้นที่แห่งการแบ่งปันไปพร้อมๆ กับการสร้างความเป็นส่วนตัวให้กับผู้อยู่อาศัย ‘SUM’ จึงน�าเสนอวิธีคิดการจัดวางและใช้พื้นที่ ร่วมกัน เพื่อช่วยส่งเสริมการสื่อสารและสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ โดยผลรวมของ สิ่ ง เล็ ก ๆ น้ อ ยๆ ในห้องชุดทั้งสองจะเท่ากับ การเรียบเรียงองค์ประกอบของพืน้ ที่ เฟอร์นเิ จอร์ อุ ป กรณ์ แ ละวั ส ดุ สิ่ ง ของอั น หลากหลายให้ เติมเต็มคุณค่าแก่กนั และกัน Co-living generation

โจทย์ของเอพีจึงเป็นการออกแบบพื้นที่ พักอาศัยในคอนโดมิเนียมส�าหรับการอยู่อาศัย ร่วมกันของเด็ก 7 คนทีไ่ ม่รจู้ กั กันมาก่อน เดินทาง มาจากคนละจังหวัด มีภูมิหลังและวัฒนธรรม ทีต่ า่ งกัน ดังนัน้ พืน้ ทีต่ รงนีจ้ งึ ต้องส่งเสริมสังคม ใหม่ เป็นทัง้ พืน้ ทีแ่ ห่งการเรียนรู้ การแบ่งปัน และ การอยูร่ ว่ มกันกับความแตกต่างอย่างเกือ้ กูล



a day bulletin

A MUST

20

ConCert

88Rising คือบริษท ั ผลิตสือ ่ อิสระทีก ่ อ ่ ตัง้ โดย ชอน มิยาชิโร หนุม ่ เอเชียน-อเมริกน ั จากซานฟรานซิสโก ผูเ้ คยอธิบายตัวตนของพวกเขาไว้วา่ “We’re Asian as f*ck” ด้วยเหตุนี้ ท�าให้ชอนและทีมงานมีเป้าหมายเป็นการเผยแพร่กระแสวัฒนธรรมของหนุม ่ สาวชาวเอเชียออกสูส ่ ายตาโลก ผ่านสือ ่ ดนตรีและวิดโี อ ทีค ่ ณ ุ เองก็สามารถติดตามความเคลือ ่ นไหวได้ผา่ นโซเชียลมีเดีย อาทิ Facebook, YouTube, Soundcloud ฯลฯ

Hive fest x มาลองฟังแร็ปแบบสดๆ จากศิลปินเอเชียน ฮิปฮอปเลือดใหม่จากค่าย 88Rising ทีก่ �าลังโด่งดัง ไปทั่วโลกในชั่วโมงนี้ อย่าง Rich Chigga หรือ ชื่อจริงว่า ไบรอัน อิมานูเอล เด็กหนุ่มวัย 18 ปี จากกรุงจาการ์ตา อินโดนีเซีย ที่หัดร้องแร็ปและ เรียนภาษาอังกฤษโดยพึง่ พาแค่การดูยทู บู ก่อนจะ ปล่อยเพลง Dat $tick ทีด่ เุ ดือดเลือดพล่านทัง้ เนือ้ หา และจังหวะทีเ่ ข้มข้นจนส่งผลให้เขาดังเป็นพลุแตก (นี่ยังไม่นับใบหน้าโคตรนิ่ง กับสไตล์แบบคุณลุง ทัง้ เสือ้ โปโลและกระเป๋าคาดเอวทีใ่ ครๆ ต่างพากัน พูดถึงนะ) ก่อนทีจ่ ะปล่อยอีกหลายเพลงเด็ดให้เรา ได้ฟัง ทั้ง Who that be, Glow like that และ Chaos ถือเป็นการพิสจู น์ฝมี อื ด้านดนตรีของไบรอัน ที่มีอายุเป็นเพียงแค่ตัวเลขเท่านั้นเอง นอกจาก Rich Chigga ยังมีศิลปินร่วมค่าย 88Rising มาท�าการแสดงร่วมกันด้วย น� าโดย Higher Brothers แก๊งสีห่ นุม่ สุดซ่าทีพ่ าดนตรีฮปิ ฮอป โด่งดังไปทั่วจีนแผ่นดินใหญ่ และ Joji หนุ่มญี่ปุ่น ดาวรุ่งอาร์แอนด์บีดีกรีวิชวลอาร์ทิสต์ ร่วมด้วย ศิ ล ปิ น ชั้ น น� า ของไทยที่ จ ะมามอบความมั น ให้ ขาฮิปฮอป ทั้ง FIIXD, YOUNGOHM, YB, DJ NAT และ DJ Cleo P จาก Thai Hop ส�าหรับแฟนเพลงที่สนใจ สามารถติดต่อ ซื้อบัตรได้ที่ Zaapparty.com/hivefest บัตรราคา 2,000 บาท แล้วมาสนุกกันในวันพุธที่ 6 ธันวาคม 2560 ที่ Muang Thai GMM Live House ชั้น 8 เซ็นทรัลเวิลด์ (ผูเ้ ข้างานต้องมีอายุไม่ต�่ากว่า 18 ปี)

Contest

88rising asia tour

ชุ่ยอวอร์ด 2560

แนะน�ากิจกรรมดีๆ ที่จะมา เติมฝันให้กบั คนรุน่ ใหม่ ‘มูลนิธชิ า่ งชุย่ ’ ก�าลังจัดงานประกวด ‘ชุ่ยอวอร์ด 2560’ เวทีประชันไอเดีย ทีผ่ เู้ ข้าร่วม แข่งขันสามารถร่างความฝันของ ตนเองมาน�าเสนอ เพื่อชิงเงินทุน สนับสนุนให้ฝันของตัวเองเป็นจริง โดยงานนี้ไม่จ�ากัดอายุผู้เข้าสมัคร ไม่ จ� า กั ด ว่ า จะเป็ น ฝั น ขนาดเล็ ก หรื อ ใหญ่ ขอเพี ย งคุ ณ มี ไ ฟและ ความมุ่งมั่นในทางของตัวเองก็พอ เปิดรับสมัครตั้งแต่ 16 ธันวาคม 2560-15 มกราคม 2561 ส่งไอเดีย ของคุณมาได้ที่อีเมล chuiawards @changchuibangkok.com ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ www. changchuibangkok.com

exhibition

HiGHer BrotHer

riCH CHiGGa

JoJi

Book issue 515

HORRORSTÖR เฮี้ยนสิงห้าง

04 DEC 2017

จะเกิดอะไรขึน้ ถ้าห้างออสก์ หรือห้างเฟอร์นเิ จอร์ทสี่ ร้างขึน้ เพือ่ เลียนแบบอิเกีย มีกองทัพผีสงิ สูอ่ ยูท่ วั่ อาณาบริเวณ ทีล่ มหายใจของมนุษย์สง่ ไปถึง วรรณกรรมสยองขวัญกับความเฮีย้ นระดับสิบกะโหลกจากจินตนาการของผูเ้ ขียนอย่าง เกรดี เฮนดริกซ์ จะพาคุณไปค้นหาค�าตอบ ผ่านวิธกี ารลงมีดอย่างเบามือ เพือ่ ค่อยๆ ช�าแหละไลฟ์สไตล์วงการค้าปลีก ระดับมหภาคในปัจจุบันจนทะลุปรุโปร่ง และเมื่อคุณรู้ตัวอีกทีก็โดนกระชากวิญญาณอย่างไม่เหลือชิ้นดีเสียแล้ว รับรองว่าการช้อปปิง้ ของแต่งบ้านของคุณจะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป (ส�านักพิมพ์ a book / ราคา 295 บาท)

MuseuM of Kirati ด้ ว ยแรงบั น ดาลใจจาก ข้างหลังภาพ ผลงานวรรณกรรม เรือ่ งส�าคัญของศรีบรู พา สูน่ ทิ รรศการ ศิลปะสื่อผสมโดย จุฬญาณนนท์ ศิรผิ ล ในรูปแบบพิพธิ ภัณฑ์ทจี่ า� ลอง ความรั ก และความทรงจ� า ของ หม่อมราชวงศ์กรี ติ สตรีสงู ศักดิก์ บั นักเรียนไทยที่ไปศึกษายังประเทศ ญี่ปุ่นอย่างนพพร โดยถ่ายทอด ผ่านภาพเคลือ่ นไหว จิตรกรรมสีนา�้ และประติมากรรมได้อย่างน่าสนใจ เปิ ด ให้ เ ข้ า ชมตั้ ง แต่ วั น นี้ ถึ ง 21 มกราคม 2561 เวลา 13.00-19.00 น. ณ บางกอก ซิตซี้ ติ ี้ แกลเลอรี


21 01

02

03

04

05

1. Movie

2. MUsiC

3. GADGet

4. ACCessorY

5. beAUtY

dries “ผมไม่ชอบค� าว่าแฟชั่น เพราะแฟชั่นคืออะไรที่พร้อมจะ ตายไปในเวลา 6 เดือน ผมต้องการ ค�าที่ยืนยงไร้กาลเวลากว่านั้น” รูจ้ กั ชายหนุม่ เจ้าของค�าพูดข้างต้น ผ่ า นสารคดี ที่ จ ะพาเราค้ น ลึ ก ไปถึงบนโต๊ะท�างาน ยันหลังเวที แคตวอล์ก ไปจนถึงสวนดอกไม้ หลังบ้าน เพือ่ เรียนรูก้ ระบวนการคิด การออกแบบ และการสร้างแบรนด์ อย่ า งอาจหาญไม่ แ คร์ ก ระแส การตลาดของ ดรีส แวน โนเทน แฟชัน่ ดีไซเนอร์ผโู้ ด่งดัง ในแบบ ทีห่ นังว่าด้วย ‘สุนทรียะ ความคิด สร้ า งสรรค์ แ ละการออกแบบ’ ฉายแล้ววันนีท้ โี่ รงภาพยนตร์เครือ เอสเอฟ รายละเอียดเพิ่มเติม www.sfcinemacity.com

HaLf-LigHt สตูดิโออัลบั้มเต็มรูปแบบ ครัง้ แรกของ โรสแทม แบตแมงลีจ์ อดีตโปรดิวเซอร์วงอินดี้ร็อกจาก นิวยอร์กอย่าง Vampire Weekend โดย 15 แทร็กในอัลบั้มนี้สะท้อน ความซุกซนที่ผสมผสานรสนิยม อันหลากหลายของเขาไว้ได้อย่าง ลงตัว ทัง้ สไตล์พอ็ พ อิเล็กทรอนิก ไปจนถึงการใส่เสียงเครือ่ งดนตรี พืน้ เมืองของอินเดียเข้ามา แนะน�า เพลงอย่าง Bike Dream ที่ผสม เสียงร้องสุดเซ็กซีก่ บั ดนตรีซนิ ธ์ฯ ให้ทา� นองชวนฝัน ต่อด้วย Wood ทีเ่ ต็มเติมเครือ่ งดนตรีพนื้ บ้านของ อินเดีย ปิดท้ายกับเพลง Half-Light ชือ่ เดียวกับอัลบัม้ ดนตรีพอ็ พลึกๆ ทีโ่ ดดเด่นทัง้ เนือ้ หาและท่วงท�านอง

nokē ตั ด ปั ญ หาลู ก กุ ญ แจหาย ชวนกังวลใจ ด้วยตัวล็อกระบบ ดิ จิ ต อลโดยใช้ ก ารเชื่ อ มต่ อ กั บ สมาร์ตโฟนผ่านบลูทธู เพือ่ สัง่ การ ล็ อ กและปลดล็ อ กได้ โ ดยตรง และเพิม่ ความสะดวกในการใช้งาน ได้หลายรูปแบบ ทั้งสามารถตั้ง รหัสผ่านส�าหรับการใช้ครั้งเดียว หรื อ ตั้ ง เวลาล็ อ กและปลดล็ อ ก อัตโนมัตแิ ทนได้ พร้อมระบบรักษา ความปลอดภัยสูงสุด เพราะระบบ จะส่งการแจ้งเตือนไปยังสมาร์ตโฟน ทั น ที เ มื่ อ กุ ญ แจถู ก ปลดล็ อ ก เหมาะกั บ ไลฟ์ ส ไตล์ ค นเมื อ ง โดยเฉพาะ รายละเอียดเพิ่มเติม www.noke.com

adidas uLtraboost atr ช่วงปลายฝนต้นหนาวแบบนี้ หลายคนออกไปวิง่ ไม่รวู้ า่ จะเจอกับ สภาพอากาศแบบไหน เราขอแนะน�า adidas Ultraboost ATR รองเท้า ทีพ่ ฒ ั นาเพิม่ เติมเทคโนโลยีใหม่ๆ พร้อมกับดีไซน์ทยี่ งั คงเอกลักษณ์ เอาไว้ ตัวรองเท้าใช้ผนื ผ้า Primeknit มีคณ ุ สมบัตริ ะบายอากาศดีเยีย่ ม ประกอบกับ Sock-lining ทีห่ มุ้ ข้อเท้า และพื้ น รองเท้ า ใช้ เ ทคโนโลยี Boost บวกกับพืน้ ยาง Continental เพิ่ ม สมรรถนะยึ ด เกาะ ท� า ให้ สามารถใช้งานได้ในทุกสภาพอากาศ ราคา 7,990 บาท หาซื้ อ ได้ ที่ ซูเปอร์สปอร์ต และช็อปอาดิดาส ทุกสาขา

Y bY Yves saint Laurent น�้าหอมส�าหรับผู้ชายกลิ่น ใหม่ลา่ สุดจาก Yves Saint Laurent ที่ น อกจากจะมอบความหอม ดึงดูดน่าค้นหา ยังเป็นตัวแทน หนุม่ ๆ ในการตัง้ ค�าถามว่า ‘ท�าไม’ กับวิถที างเดิมๆ รอบตัว Y จึงพูดถึง เรือ่ งราวของชายหนุ่มทีเ่ ต็มเปี่ยม ไปด้วยความคิดสร้างสรรค์ และความกล้าเดินตามฝันอย่างมุง่ มัน่ ตัง้ ใจ โดยถ่ายทอดเป็นวิดโี อสัน้ ทีเ่ ล่าถึง การท�างานของ เดวิด เอ. ฟลินน์ ประติมากรชาวนิวยอร์ก, ลอยล์ คาร์เนอร์ แร็ปเปอร์จากเซาท์ลอนดอน และ อเล็กซานเดร โรบิเกต์ นักวิทยาศาสตร์ ทีต่ า่ งพิสจู น์ให้เห็น ว่าทุกความฝันนั้นเป็นจริงได้


y r a n o i t Sta

เมืองแห งอ�ปกรณ การเร�ยนและอ�ปกรณ สาํ นักงาน ทีจ่ ะช วยเพิม� สีสนั สดใสและความร�น่ รมย ให กบั การเร�ยนและการทํางาน เกิดเป นความสนุกพร อมความคิดสร างสรรค และมุมมองใหม แห งการเร�ยนรูจ ากเคร�อ่ งเข�ยนคูใ จทีค่ ณ ุ เลือกใช 2

1

JUSTICE LEAGUE ดินสอไม /เทปลบคําผิด JUSTICE LEAGUE 29 บาท 1

4

BASIc GEAR 1. สมุดโน ต MANAGERIAL NOTE A5 S 220 บาท 2. สมุดโน ต MANAGERIAL NOTE A4 S 300 บาท

IDEA WORK กระดาษ A4 80 แกรม 500 แผ น 114 บาท

2

Book

เมืองแห งหนอนหนังสือ สําหรับผูท ช่ี น่� ชอบ และหลงรักเสน หข องการท องโลกกว างไปกับ หนังสือเล มพิเศษ พร อมจ�ดประกายความคิด จ�นตนาการ เติมเต็มความรู และต อยอดไอเดียใหม ๆ เพือ่ การเร�ม� ต นป หน าอย างเต็มภาคภูมิ

3

ตราม า

1. แฟ มคลิปบอร ด 74 บาท 2. ทีถ่ อนลวดพร อมคัตเตอร 62 บาท 3. มีดคัตเตอร 26 บาท 4. กรรไกรประดิษฐ 42 บาท

XSTAMPRE ตรายาง 102 บาท

IT’s MY LIFE

345 บาท

อินะกะ เจแปน เที่ยวบ านนอกญี่ปุ น 385 บาท

บทเร�ยนวาดภาพ อย างง ายกับคุณคาโมะ วาดสบายได ทง�ั 365 วัน 425 บาท


Gifts

เมืองแห งตุก ตาและของขวัญแสนน ารัก ที่คัดสรรไอเทมช��นพิเศษเพื่อคนสําคัญโดยเฉพาะ พร อมสร างมวลความสุขให กับทุกคนท ามกลาง บรรยากาศของเทศกาลและช วงเวลาเฉลิมฉลอง ส งท ายป เก า ต อนรับป ใหม ทพ ่ี เิ ศษกว าป ไหนๆ 1

1

2 2

HALLMARK การ ด CHRISTMAS 1. 585 บาท 2. 315 บาท

MOOMIN 1. ตุก ตา MYMBLE 7 990 บาท 2. ตุก ตา MOOMINMAMA 14 490 บาท

pusheen PUSHEEN SUSHI 9.5” PLUSH 790 บาท (ONLY AT EMPORIUM, PARAGON)

(ONLY AT EMPORIUM, PARAGON)

CRAFTHOLIC ตุก ตา 80’S RAB SIZE L 1,450 บาท (ONLY AT THE MALL THAPRA, BANGKAE, NAKHONRATCHASIMA, EMPORIUM, PARAGON)

RILAKKUMA RILAKKUMA, KORILAKKUMA 990 บาท (ONLY AT EMPORIUM, PARAGON)

Gadget

เมืองแห งแกดเจ�ตสุดคูล รวบรวมไอเทมล้าํ นําเทรนด โดดเด น ด วยดีไซน ทไ่ี ม เหมือนใคร พกพาไปได ทกุ ที่ พร อมใช งานได ทกุ เวลา ทีต่ อ งการ รับรองว าสามารถบ งบอกตัวตนและสไตล ทใ่ี ช คณ ุ และตอบโจทย การใช ชว� ต� ในยุคดิจต� อลได ตลอดป

SONY หูฟง รุน SRS-XB3 4,990 บาท

GARMIN SMART WATCH รุ น FENIX 5X 27,900 บาท

NOKIA SMART WATCH รุน GO 2,110 บาท

(ONLY AT THE mall NGAMWONGWAN, bangkapi, EMPORIUM, PARAGON)

(ONLY AT THE mall THAPRA, NGAMWONGWAN, EMPORIUM, PARAGON)

wooderful life กล องดนตร� LOVER DATE 2,550 บาท

SPHERO รุน R2-D2 6,990 บาท (ONLY AT THE mall THAPRA, NGAMWONGWAN, EMPORIUM, PARAGON)

HARMAN KARDON SPEAKER รุน AURA STUDIO 2 11,900 บาท (ONLY AT THE mall NGAMWONGWAN, bangkapi, EMPORIUM, PARAGON)

SKULLCANDY หูฟง รุน CRUSHER WIRELESS 7,900 บาท (not available at the mall ramkhamhaeng)

SPHERO รุน BB-9E 5,990 บาท SOUL หูฟง รุน RUN FREE PRO 5,490 บาท

B&O SPEAKER รุน A1 10,500 บาท

nokia รุน BODY CARDIO 7,590 บาท

(ONLY AT THE mall bangkapi, EMPORIUM, PARAGON, SKYPORT @Donmuang)

(ONLY AT PARAGON)

(ONLY AT THE mall THAPRA, NGAMWONGWAN, EMPORIUM, PARAGON)

NATIVE UNION รุ น KEY CABLE KEVLER LIGHTING 1,090 บาท (ONLY AT THE mall THAPRA, NGAMWONGWAN, EMPORIUM, PARAGON)

(ONLY AT THE mall THAPRA, NGAMWONGWAN, EMPORIUM, PARAGON)


a day bulletin

ConneCting the Dots

เรื่อง : ปริญญา ก้อนรัมย์ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร

24

issue 515 04 DEC 2017


25

FROM TRUCK

TILL BAG

ใครจะคิดว่าผ้าใบคลุมรถบรรทุกเก่าๆ จะกลายมาเป็นส่วนส�าคัญ ที่ผลักดันให้แบรนด์กระเป๋าแฟชั่นอย่าง FREITAG ครองใจคนรุ่นใหม่ในทุกวันนี้ เรื่องราวทั้งหมดเริ่มต้นมาจากไอเดียบนอานจักรยานของสองพี่น้อง มาคัส และ ดาเนียล ฟรายทาก ที่คว้าจับความคิดที่อยู่ในอากาศมาผสมผสานกับความเป็นไปได้ และหัวใจที่รักโลกใบนี้เอาไว้ด้วยกัน

จุดเริ่มต้น บนอานจักรยาน

ผ้าใบรถบรรทุก และวิวจากหน้าต่างห้องพัก

ชุบชีวิตสิ่งไร้ค่า ด้วยดีไซน์

FREITAG ออกเสียงว่า...

FREITAG ถือก�ำเนิดขึน้ ในปี 1993 จำกควำมคิดของสองพีน่ อ้ งดีไซเนอร์ มำคัส และ ดำเนียล ฟรำยทำก โดยพวกเขำทัง้ สองเกิดในครอบครัว แถบชนบท ส่งอิทธิพลให้ทั้งสอง ใส่ใจสิ่งแวดล้อมและรักธรรมชำติ จุดเริ่มต้นของไอเดียจริงๆ เกิดใน ช่วงเริ่มท�ำงำนแรกๆ มำคัสเป็น นักออกแบบดิสเพลย์หน้ำร้ำน ส่วน คนน้องท�ำงำนเป็นกรำฟิกดีไซเนอร์ สิ่ ง ที่ ป ระสบร่ ว มกั น คื อ พวกเขำ ทัง้ สองปัน่ จักรยำนไปท�ำงำนทุกวัน และต้องทนกับฝนทีต่ กเป็นประจ�ำ ในนครซูรกิ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กระเป๋ำ Messenger Bag ทีม่ ขี ำย ในตลำดไม่ตอบโจทย์กำรใช้งำน ทั้ ง ควำมทนทำนและกำรกั น ฝน ให้กบั พวกเขำ

พวกเขำเริม่ มองหำกระเป๋ำทีส่ ะดวก ส�ำหรับกำรปั่นจักรยำน โจทย์คือ ต้องทนทำน กันน�ำ้ และมีดไี ซน์สวย สุ ด ท้ ำ ยเขำจึ ง ลงมื อ ท� ำ กระเป๋ ำ ในจิน ตนำกำรขึ้น เอง ซึ่ง ไอเดีย มำหยุดตรงที่ผ้ำใบคลุมรถบรรทุก ที่ พ วกเขำเห็ น ทุ ก ๆ วั น จำกวิ ว หน้ำต่ำงห้องพัก ผ้ำใบถูกน�ำมำ ท�ำควำมสะอำด ตัดเย็บในห้องพัก ของพวกเขำ มำคัสเล่ำว่ำ “เรำ ต้องกำรกระเป๋ำทีแ่ ข็งแรงและกันน�ำ้ ในปี 1993 เรำยังไม่มอี นิ เทอร์เน็ตทีจ่ ะ ใช้สบื ค้นวัสดุทตี่ อ้ งกำรได้ บังเอิญ ทีว่ วิ จำกห้องครัวของเรำท�ำให้เห็น รถบรรทุกและผ้ำใบทีห่ มดอำยุกำรใช้งำนแต่สภำพยังดี แล้วหลังจำกนัน้ ก็ อ ย่ ำ งที่ ทุ ก คนคงรู ้ กั น อยู ่ แ ล้ ว ” (จำกบทสั ม ภำษณ์ ใ นนิ ต ยสำร a day BULLETIN ฉบับที่ 431)

กระเป๋ำ FREITAG ขึ้นชื่อว่ำเป็น กระเป๋ำรักษ์โลก สองพีน่ อ้ งเคยให้ สัมภำษณ์ยอ้ นควำมหลังว่ำ ตอนปี 1989 พวกเขำเริม่ รูจ้ กั และให้ควำมสนใจธุรกิจสีเขียวที่มีไอเดียหลัก จำกกำรรีไซเคิลสิง่ ต่ำงๆ ผ่ำนแคมเปญ คื น ขวดของแบรนด์ โ ยเกิ ร ์ ต ใน ประเทศของตัวเอง ซึง่ สอดคล้องกับ ไอเดียที่เขำน�ำมำปรับใช้ในธุรกิจ กระเป๋ำทุกใบของ FREITAG เป็น ผลผลิตจำกผ้ำใบรถบรรทุกทีใ่ ช้งำน มำแล้วไม่ตำ�่ กว่ำ 3 ปี และน�ำมำ ผสมผสำนไอเดียกับวัสดุเหลือทิ้ง อืน่ ๆ ทัง้ สำยเข็มขัดนิรภัย ขอบยำงใน รถจักรยำน เกิดเป็นกระเป๋ำที่มี เอกลักษณ์สดุ โดดเด่น

ค�ำว่ำ FREITAG นัน้ มีรำกศัพท์มำจำก ภำษำเยอรมัน ดำเนียลเล่ำอธิบำย กำรออกเสียงของแบรนด์ให้ฟังว่ำ “ถ้ำพูดด้วยส�ำเนียงเยอรมันหรือ สวิส จะออกเสียงว่ำ ‘ไฟร-ทำก’ แต่ จริงๆ แล้วจะอ่ำนว่ำอะไรก็ได้ไม่วำ่ กัน (หัวเรำะ) ‘Freitag’ เป็นภำษำ เยอรมันแปลว่ำ วันศุกร์ ซึ่งเป็น วันท�ำงำนวันสุดท้ำยก่อนที่จะเริ่ม วันหยุดสุดสัปดำห์ คนเรำมีควำมรูส้ กึ ดีๆ กับวันศุกร์อยูแ่ ล้ว ยิง่ ไปกว่ำนัน้ นีเ่ ป็นนำมสกุลของผม ย้อนกลับไป ตอนทีผ่ มกับพีช่ ำยพยำยำมหำชือ่ เจ๋งๆ ให้กบั แบรนด์ เรำพยำยำมคิด ชื่อใหม่ๆ ขึ้น จนมีเพื่อนของเรำ คนหนึง่ บอกว่ำ ‘พวกนำยมีชอื่ ทีด่ ี อยูแ่ ล้ว ท�ำไมไม่ใช้เสียเลย’ เรำก็เลย เรียกผลิตภัณฑ์ของเรำว่ำ FREITAG ตัง้ แต่นนั้ เป็นต้นมำ”

กระเป๋าทุกใบ มีเอกลักษณ์ ของตัวเอง

มูลค่าที่แท้จริง

รหัสลับความส�าเร็จ

SImply ThE BEST

มำคั ส พู ด ถึ ง ประเด็ น มู ล ค่ ำ ของ กระเป๋ำแบรนด์นวี้ ำ่ “สินค้ำของเรำ ตั้งรำคำไว้สูงไม่ใช่แค่เพรำะมูลค่ำ ทำงกำรตลำด แต่เพรำะขั้นตอน กำรผลิตของเรำ ซือ้ วัสดุจำกยุโรป ซึง่ ใช้ได้ประมำณครึง่ หนึง่ ของทัง้ หมด ที่ได้มำ ค่ำกระบวนกำรรีไซเคิล ค่ำช่ำงฝีมอื ซึง่ เรำเลือกใช้ช่ำงฝีมอื ชำวยุโรปมำกกว่ำจะส่งไปท�ำใน เอเชียซึง่ ค่ำแรงถูกกว่ำ แต่จะสร้ำง มลภำวะให้ โ ลกเพิ่ ม ขึ้ น อี ก จำก กำรขนส่ง ดังนัน้ จำกรำคำ เรำจึง ไม่ใช่กระเป๋ำที่ซื้อใหม่ได้ทุกเดือน เพรำะเรำให้คนทีซ่ อื้ ไปใช้ผลิตภัณฑ์ ของเรำให้นำนทีส่ ดุ และคุม้ ค่ำทีส่ ดุ ” (จำกบทสั ม ภำษณ์ ใ น a day BULLETIN ฉบับที่ 431)

กลยุทธ์ทำงกำรตลำดของสองพีน่ อ้ ง นั้นสวนทำงกับต�ำรำธุรกิจทั่วไป ทีม่ กั จะมองเป้ำหมำยทีก่ ำ� ไรสูงสุด ลดต้นทุน เพิม่ ยอดขำย แต่พวกเขำ บอกเองว่ำ FREITAG เป็นแบรนด์ ที่ ท� ำ ธุ ร กิ จ แบบ Brand Friends เหมือนท�ำของให้เพื่อนใช้มำกกว่ำ ดำเนียลเผยว่ำ “เรำให้ควำมส�ำคัญ ด้ำนผลิตภัณฑ์มำตลอด โดยแทบ ไม่ได้นกึ ถึงธุรกิจเลย เรำพยำยำม จะพัฒนำผลิตภัณฑ์ให้ดขี นึ้ อยูเ่ สมอ ตอนนี้เรำยังมีควำมตั้งใจเหมือน แต่กอ่ น ไม่วำ่ จะท�ำให้เพือ่ นหรือท�ำ ออกมำจ�ำหน่ำยให้คนอื่นทั่วโลก เรำพยำยำมน�ำตัวเรำเข้ำไปเป็น ศูนย์กลำงของกำรพัฒนำ เรำไม่ได้ ใช้แนวคิดของกำรแบ่งกลุ่มลูกค้ำ เรำพยำยำมจะผลิตเฉพำะสิง่ ทีเ่ รำ เชื่อเท่ำนั้น เรำไม่วิ่งเข้ำหำเทรนด์ แต่เป็นกำรตำมหำคนที่มีควำมสนใจเหมือนเรำมำกกว่ำ” (จำก บทสัมภำษณ์ใน a day BULLETIN ฉบับที่ 324)

Simply คือค�ำหนึ่งที่อธิบำยกำรท� ำ งำนของสองพี่ น ้ อ งคนนี้ ไ ด้ ดี เพรำะไอเดี ย กำรแก้ ป ั ญ หำของ แบรนด์ FREITAG ได้ดี คือกำรตัง้ ต้น จำกควำมง่ำย และแปรรูปควำมแตกต่ำงให้เรำสำมำรถสัมผัสได้งำ่ ย เหมือนเวลำทีเ่ รำเดินเข้ำไปในช็อป จะรู้สึกเข้ำถึงสินค้ำของพวกเขำ ได้ทนั ที ดำเนียลเสริมว่ำ “แนวคิด ของเรำคือ ใช้วธิ ที เี่ รียบง่ำยในกำรแก้ปัญหำที่ซับซ้อน ยกตัวอย่ำง ชั้ น วำงสิ น ค้ ำ ของเรำที่ ป ระกอบ กล่ อ งใส่ ก ระเป๋ำ หลำยๆ อั น ให้ ออกมำเป็นตูใ้ ส่กระเป๋ำ ทีต่ วั ชัน้ จะ สำมำรถสูงแค่ไหนก็ได้ กว้ำงแค่ไหน ก็ได้ และเรำจะมีลิ้นชักประกอบ เข้ำไปกับชัน้ วำงก่อนจะติดรูปกระเป๋ำ ใบนัน้ ๆ ทีฝ่ ำลิน้ ชัก เพือ่ แก้ปญ ั หำ ลูกค้ำหำสินค้ำไม่เจอ เพรำะว่ำ กระเป๋ำเรำไม่เหมือนกันเลย”

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

ST RIP A D

เสน่หส์ ำ� คัญของกระเป๋ำ FREITAG นอกเหนื อ ไปจำกกำรน� ำ วั ส ดุ เหลื อ ใช้ ม ำท� ำ ประโยชน์ สู ง สุ ด กระเป๋ำทุกใบของแบรนด์นี้ยังมี เอกลักษณ์ของตัวเองไม่เหมือนกัน ผ้ำใบจำกรถบรรทุกแต่ละผืนล้วนมี ร่องรอยแตกต่ำง ลวดลำยทีเ่ กิดขึน้ บนกระเป๋ำก็ไม่สำมำรถคำดเดำได้ ท�ำให้ผทู้ คี่ รอบครองรูส้ กึ เหมือนเป็น เจ้ำของของชิ้นนี้คนเดียวในโลก โดยสองพี่น้องเข้ำใจจุดนี้หลังจำก ได้ชมภำพยนตร์ Wild at Heart ของ เดวิด ลินช์ ซึง่ ตัวเอกในเรือ่ งกล่ำว ประมำณว่ำ “เสือ้ แจ็กเก็ตหนังงูคอื สิง่ ทีแ่ สดงควำมเป็นตัวตนของผม” แน่นอนสองพี่น้องน�ำควำมอยำก แตกต่ำงของคนยุคนีม้ ำใช้ จนท�ำให้ บำงคนหลงใหลแบรนด์ นี้ อ ย่ ำ ง ถอนตัวไม่ขนึ้

C


a day bulletin

SELECTED

28

เรื่อง : กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์

01

03

02

04

05

07

06

10

09 08

11

Keep It Green

issue 515

มาเติมพลังในวันท�างานด้วยการเพิม ่ พืน ้ ทีส ่ เี ขียวให้สายตาของเรากันดีกว่า เริม ่ จากจัดระเบียบมุมท�างานมุมเก่า แล้วหยิบข้าวของเครือ ่ งใช้โทนสีธรรมชาติ อย่างสีเขียวหรือสีน�้าตาล มาช่วยสร้างสีสัน สร้างบรรยากาศใหม่ๆ แล้วยัง อาจช่วยสร้างแรงใจให้คุณรักงานขึ้นกว่าเดิมก็ได้นะ! 13

04 DEC 2017

01 Labrador - แฟ้มหนัง ราคา 1,490 บาท 02 HAY - แก้วใส่ดน ิ สอ ราคา €35 03 Moleskine - สมุดโน้ต ราคา 940 บาท 04 IKEA x HAY - กล่องโลหะอเนกประสงค์ ราคา 299 บาท 05 Index Living Mall - ลิ้นชักใส่เอกสาร ราคา 390 บาท 06 Muji - ถาดใส่เครื่องเขียน ราคา $11.30 07 Another Story กล่องใส่เอกสาร จาก Normann ราคา $29.5 08 Another Story - ชุดสายชาร์จและหัวต่อ จาก Native Union ราคา $49.99 09 IKEA - โคมไฟตั้งโต๊ะพร้อมที่ชาร์จโทรศัพท์แบบไร้สาย ราคา 2,490 บาท 10 Another Story - แก้วน�้าลายกราฟิก จาก Design Letters ราคา €16.50 11 Garden Atlas - กระถางเซรามิกตั้งโต๊ะ ราคา 550 บาท 12 IKEA - ตะกร้าสาน ราคา 399 บาท 13 Bang & Olufsen - ล�าโพงบลูทูธรุ่น Beoplay A1 ราคา 10,500 บาท 14 HAY - สมุดโน้ต ราคา €6

12

14


The New Journey Begins ทุกครั้งที่ลมหนาวพัดผ�านมา เป�นช�วงเวลาที่หลายพื้นที่จะได� สัมผัสกับความหนาวเย็น และเป�นช�วงเวลาพิเศษที่หลายคนรอคอย เพราะเป�นช�วงเวลาของเทศกาลแห�งการให� และการส�งมอบความสุข ท�ายป�ให�กับคนที่เรารักและห�วงใย ทําให�จิตใจของผู�คนในช�วงเวลานี้ เต็มไปด�วยความสุขและความสดใสตามไปด�วย แต� รู� ห รื อ ไม� ว� า ในแต� ล ะป� ยั ง มี พี่ น� อ งชาวไทยในหลายๆ พื้ น ที่ โดยเฉพาะในภาคเหนื อ และภาคอี ส าน ต� อ งเผชิ ญ กั บ ภั ย หนาวอั น ยากลํ า บาก ขาดแคลนเสื้ อ ผ� า และเครื่ อ งนุ� ง ห� ม อั น เป� น สิ่ ง สํ า คั ญ ในการปกป�องร�างกายจากลมหนาว การให�ความอุน � จากผ�าห�มไทยเบฟ จึ ง เป� น อี ก ทางหนึ่ ง ที่ จ ะส� ง มอบความสุ ข ในช� ว งที่ อ ากาศหนาวให� แ ก� พี่น�องผู�ที่ขาดแคลนได�เป�นอย�างดี

เมือ่ 18 ปทแี่ ลว โครงการ ‘ไทยเบฟ... รวมใจตานภัยหนาว’ ไดถอื กําเนิดขึน้ โดยมีเปาหมายเพือ่ สงตอนำ้ ใจจากเมืองใหญ ไปยั ง พื้ น ที่ ป ระสบภั ย หนาว ในทุ ก ๆ ป ‘ผ า ห ม ผื น เขี ย ว’ นับแสนผืนจะออกเดินทางไปมอบความอบอุนใหแกผูคน ในชุมชนตางๆ และสรางรอยยิ้มใหมๆ ใหกับพี่นองชาวไทย จนกลายเปนสัญลักษณแหงความสุขที่ทุกคนคุนตา ในวันนี้ ผาหมจํานวน 3,600,000 ผืน ไดกระจายไปสู ผูประสบภัยในกวา 45 จังหวัด 579 อําเภอ 4,622 ตําบล พรอมกับโอกาสในการเขาถึงความชวยเหลือ ทั้งดานการ ศึ ก ษาและด า นสาธารณสุ ข แก พี่ น  อ งในพื้ น ที่ ห  า งไกล และเช น เดี ย วกั บ ทุ ก ป คาราวานผ า ห ม ของป นี้ ที่ บ ริ ษั ท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) รวมกับพันธมิตรจากภาครัฐ และเอกชน ไดเริ่มเดินทางอีกครั้งหนึ่ง พรอมภารกิจแจกจาย ผาหมจํานวน 200,000 ผืน ไปยังพื้นที่กวา 15 จังหวัดของ ประเทศไทย เพือ่ เปนตัวแทนสงมอบรอยยิม้ และความหวงใย ที่เกิดจากพลังความรวมมือรวมใจของทุกคน

The Wind ฤดูหนาวเริ่ม ต.ค. 60 - ก.พ. 61 ผู�ประสบภัยทั่วประเทศ 24,000,000+ ราย 7,600,000+ ครัวเรือน 2 ํc

อุณหภูมิตํ่าสุดบนยอดดอย 0-2 ํc อุณหภูมต ิ าํ่ สุดเฉลีย ่ ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8-15 ํc

The Warmth โครงการทํามาต�อเนื่อง 18 ป� ครอบคลุม 45 จังหวัดทั่วไทย ผ�าห�ม 3,600,000 ผืน ส�งถึงมือผู�ประสบภัยหนาว ป� 2017 ผ�าห�ม 200,000 ผืนครอบคลุมพื้นที่ 15 จังหวัด ได�แก� ชัยภูมิ เลย อุดรธานี ขอนแก�น กาฬสินธุ� บุรีรัมย� สุรินทร� ศรีสะเกษ กําแพงเพชร ตาก ลําปาง ลําพูน เชียงใหม� เชียงราย แม�ฮ�องสอน


a day bulletin

30

Bulletin Board

อัพเดตแวดวงข่าวสังคมที่น่าสนใจในรอบสัปดาห์ แต้ ว ต่ อ กั น ต์ ชวนเผยรอยยิ้ ม สุ ข ภาพดี ด้ ว ยแรงบั น ดาลใจจาก ธรรมชาติ กั บ ยาสี ฟั น คอลเกต เนเชอรัลส์ บริษทั คอลเกต-ปาล์มโอลีฟ (ประเทศไทย) จ�ากัด ผู้น�าตลาดยาสีฟันอันดับหนึ่งของเมืองไทย น�าโดย จตุรพร ธนาพรสังสุทธิ์ ผู้อ�านวยการฝ่าย การตลาด กลุ่มผลิตภัณฑ์ดูแลช่องปาก ชวนคุณ มาร่วมพิสจู น์รอยยิม้ สุขภาพดีดว้ ยแรงบันดาลใจจาก ธรรมชาติ กับคอลเกต เนเชอรัลส์ ยาสีฟนั 3 สูตร ใหม่ ทีผ่ สานคุณประโยชน์ของสารสกัดจากธรรมชาติ โดยมี 3 ดารายิ้มสวยสุขภาพช่องปากดี อย่าง ‘แต้ว’ - ณฐพร เตมีรกั ษ์, ‘ต่อ’ - ธนภพ ลีรตั นขจร และ กันต์ กันตถาวร มาร่วมเปิดประสบการณ์กบั ผลิตภัณฑ์ใหม่จากคอลเกต ณ สวนลอยฟ้า Helix Quartier ศูนย์การค้าดิ เอ็มควอเทียร์

ช้ า ง มิ ว สิ ค คอนเน็ ก ชั น มิ ว สิ ค โทรโพลิ ส มหานคร ดนตรีทเี่ ชือ ่ มทุกมิตรภาพ

issue 515 04 DEC 2017

กลับมาอีกครั้งอย่างยิ่งใหญ่ของ ช้าง มิวสิคคอนเน็กชัน ภายใต้แนวคิด มิวสิคโทรโพลิส มหานครดนตรีที่เชื่อม ทุกมิตรภาพ ช้างขอชวนคุณและเพื่อน มาเปิดประสบการณ์ทสี่ ดุ แห่งงานดนตรี บนเวทีระดับช้าง ด้วยมหานครดนตรี ที่ยิ่ง ใหญ่ ร ะดับ ประเทศ ซึ่งมาพร้อม ความอลังการของเวทีแนวตัง้ แบบจัดเต็ม พบกั บ ที่ สุ ด แห่ ง การรวมตั ว กั น ของ สุดยอดศิลปินระดับแนวหน้าของเมืองไทย อาทิ บอดีส้ แลม, โปเตโต้, ดา เอ็นโดรฟิน, พาราด็อกซ์, บิ๊กแอส, ปาล์มมี่, แทตทู คัลเลอร์, เรโทสเปก, โลโมโซนิค และ เก็ทสึโนวา ลุน้ รับบัตรเข้างานได้ที่ www. facebook.com/Changworld

Dyson Supersonic Hair Science Workshop ไดสัน บริษทั ผูน้ า� ทางด้านเทคโนโลยี จากประเทศอังกฤษ และผูป้ ฏิวตั นิ วัตกรรม ไดร์เป่าผมจัดงานเวิรก์ ช็อปวิทยาศาสตร์ แห่งเส้นผมที่ร้าน Hive Salon สาขา เซ็นทรัล เอ็มบาสซี โดยมี เจมส์ เดอซูซา วิ ศ วกรทางด้ า นพลศาสตร์ ข องไหล มาให้ ค� า บรรยายทางด้ า นเทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์เส้นผม และมี ‘ก้อง’ - กฤษฏิ์ จิ ร ะเกี ย รติ วั ฒ นา Offi f fi i cial Dyson Supersonic Hairstylist ประจ�า ประเทศไทย แนะน�าเทรนด์ทรงผมของ สาวๆ ส�าหรับปาร์ตี้ในช่วงวันหยุดยาว พิเศษสุดส�าหรับผู้มาร่วมงานจะถูกน�า เส้ น ผมไปทดสอบที่ ป ระเทศสิ ง คโปร์ เพื่อวิเคราะห์สภาพและปัญหาเส้นผม ของแต่ละท่าน

BonChon Chick Challenge 2017 เอ็กซ์คลูซฟ ี ปาร์ตี้ ฉลอง ความส� า เร็ จ แคมเปญใหญ่ ประจ�าปี ธั ญ ญา ศรี พั ฒ นาสกุ ล และ พรพิมล วงศ์ศิริกุล กรรมการผู้จัดการ บริษทั มาชิสโสะ จ�ากัด ผูถ้ อื ลิขสิทธิร์ า้ น บอนชอน ชิคเก้น ตอบแทนเหล่าแฟนคลับ ชิกเกนเลิฟเวอร์จดั เอ็กซ์คลูซฟี ปาร์ตฉี้ ลอง ความส�าเร็จแคมเปญแห่งปี ทีท่ า้ ให้เหล่า คนชิคมาระเบิดไอเดียครีเอตภาพถ่าย ไก่ทอดบอนชอนแบบ 360 องศา ชิงรางวัล รวมมูลค่ากว่า 300,000 บาท พร้อมประกาศ ผลผูช้ นะอย่างเป็นทางการ โดยมี ‘หมาก’ - ปริญ สุภารัตน์ และ ‘พิมฐา’ - ฐานิดา มานะเลิศเรืองกุล มาร่วมสร้างสีสันใน การสร้ า งช็ อ ตสุ ด คู ล พร้ อ มเผยทิ ป ส์ การสร้างสรรค์ภาพถ่ายแบบ ณ ซีเคร็ต การ์เดน นายเลิศปาร์ค เฮอริเทจ โฮม

เ มื อ ง ไ ท ย ป ร ะ กั น ชี วิ ต คว้ า รางวั ล สุ ด ยอดบริ ษั ท ประกันชีวต ิ ประจ�าปี 2560 บริ ษั ท เมื อ งไทยประกั น ชี วิ ต จ�ากัด (มหาชน) น�าโดยสาระ ล�่าซ�า กรรมการผูจ้ ดั การและประธานเจ้าหน้าที่ บริ ห าร ขึ้ น รั บ รางวั ล สุ ด ยอดบริ ษั ท ประกันชีวติ ประจ�าปี 2560 (Life Insurance Company of the Year 2017) จาก การประกวด Asia Insurance Industry Awards 2017 ครั้งที่ 21 จัดโดยนิตยสาร Asia Insurance Review ณ ประเทศ สิงคโปร์ สะท้อนถึงความมุง่ มัน่ ยกระดับ มาตรฐานทางธุรกิจให้กา้ วสูร่ ะดับสากล อย่างแท้จริง และตอกย�้าสู่ความเป็น ผูน้ า� ในธุรกิจประกันชีวติ ทีป่ ระสบความส�าเร็จด้านการด�าเนินธุรกิจ ด้วยความมั่ น คงแข็ ง แกร่ ง อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง


CALENDAR

31

04

M 05

#HYHBKK Live witH Japanese BreaKfast

พบกับศิลปินอินดี้ร็อก Michelle Zauner จาก เพนซิลเวเนีย ทีโ่ ดดเด่น ด้ ว ยเสี ย งลอยคว้ า ง แบบ lo-ffi i fi ที่ มี ทั้ ง ความอ่ อ นโยนจาก เมโลดี้และวิธีการร้อง เข้ ม แข็ ง ด้ ว ยพาร์ ต ดนตรี ใน ‘#HYHBKK Live with Japanese Breakfast’ วันนี้ เวลา 19.30 น. ณ Rockacademy ซ.สุขุมวิท 26 จ�าหน่าย บั ต รที่ Ticketmelon. com

T 06

Jim tHompson farm tour 2017

ร่ ว มสั ม ผั ส ความงาม ของธรรมชาติ อ ย่ า ง ใกล้ชดิ พร้อมกิจกรรมที่ คุณจะได้เปิดประสบการณ์ ไ ปกั บ เรื่ อ งราว อั น สุ ด วิ เ ศษของน�้ า ทรั พ ยากรตั้ ง ต้ น ของ ทุก สรรพสิ่ง ใน ‘จิม ทอมป์สัน ฟาร์มทัวร์ 2560’ ทีค่ รัง้ นีม้ าในธีม ‘เต๋อเติน เวินวัง - พลัง แ ห ่ ง น�้ า ’ วั น นี้ ถึ ง 7 มกราคม 2561 ณ จิม ทอมป์สนั ฟาร์ม เขาใหญ่ จ�าหน่ายบัตร หน้าฟาร์ม

W 07

La Joie

นิทรรศการ ‘La Joie’ โดยศิลปินหลากหลาย แขนง 12 คน ที่ร่วมกัน สร้างสรรค์โลกเสมือน ผ่านเทคโนโลยี AR ใน หัว ข้ อ ‘ความรื่ น เริ ง ’ จ า ก ผ ล ง า น ศิ ล ป ะ ทั่วไปในโลกความจริง สู ่ ผ ล ง า น อั น มี ชี วิ ต ในโลกเสมื อ น และ การดื่ ม ด�่ า งานศิ ล ปะ รู ป แบบใหม่ ใ นโลก ดิ จิ ต อ ล วั น นี้ ถึ ง 14 ธั น วาคม 2560 ณ สมาคมฝรั่ ง เศส กรุงเทพ

TH 08

F 09

SA 10

unmasKeD / masKeD

so BeacH fest 2017

sangJan music festivaL 2017

นิทรรศการ ‘Unmasked / Masked’ โดย วิชัย ชินาลัย และ ไทวิจิต พึ่งเกษมสมบูรณ์ เมื่อ การท�างานร่วมกันจ�าเป็น ต้องถอดหน้ากากทิง้ ไป เพื่อสร้างสรรค์ผลงาน ร่วมกัน โดยงานแต่ละชิน้ ทั้งคู่ใช้สไตล์การวาด และฝีแปรงที่เป็นของ ตัวเองผสมผสานงาน ของกันและกันจนเสร็จ วันนี้ถึง 17 ธันวาคม 2560 ณ YELO House ซ. เกษมสันต์ 1 (เว้นวัน อังคาร)

เ พ ลิ ด เ พ ลิ น ไ ป กั บ เทศกาลดนตรี ชื่นชม งานศิ ล ปะ ลิ้ ม ลอง คราฟต์ เ บี ย ร์ ร วมถึ ง บาร์บีคิวอาหารทะเล สดใหม่ ท่ า มกลาง บรรยากาศสบายๆ ริมชายหาด ใน ‘SO Beach Fest 2017’ วันนี้ 10 ธั น วาคม 2560 ณ บริเวณริมชายหาด โรงแรมโซ โซฟิ เ ทล หัวหิน จ�าหน่ายบัตรที่ Eventpop.me

ร่วมสร้างปรากฏการณ์ รุ ้ ง จั น ทราด้ ว ยกั น ใน ‘แสงจั น ทร์ มิ ว สิ ก เฟสติ วั ล ’ เทศกาล ดนตรีแห่งแสงจันทร์ที่ ผสานแนวเพลง R&B และ EDM ได้อย่างลงตัว พบกับศิลปินและดีเจ มากมาย อาทิ บุรนิ ทร์, โมเดิรน์ ด็อก, Make You Freak, V JAXX ฯลฯ วันนี้ถึง 10 ธันวาคม 2560 ณ 8Speed Motor Track เขาใหญ่ จ� า ห น ่ า ย บั ต ร ที่ ไทยทิกเก็ตเมเจอร์

S

maYa music festivaL

ก ลั บ ม า อี ก ค รั้ ง กั บ ‘MAYA Music Festival’ เทศกาลดนตรี ร ะ ดั บ โ ล ก ที่ ผ ส า น ความสวยงามของ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย พบกับ Steve Angello, Deadmau5, Flume, Madeon, R3hab ฯลฯ ภายใต้ แ สงสี เ สี ย ง สุดตระการตา และเวที หนุ ม านเวอร์ ชั น ใหม่ อลังการกว่าเดิม วันนี้ ณ Maya Space พัทยา จ� า ห น ่ า ย บั ต ร ที่ Ticketmelon.com


a day bulletin

LIFE

เรื่อง : ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ, พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ, ภาณุทัช โสภณอภิกุล

32

issue 515 04 DEC 2017


33

HOPE CAN HELP YO U HEAL เมือ ่ จินตนาการถึงบ้านไม้รม ิ คลอง ส่วนใหญ่ เรามักจะนึกถึงวิถีชีวิตของชาวบ้านต่างจังหวัด หรือตลาดน�้าฮิตๆ ที่คนเมืองชอบขับรถไปเที่ยว ในวันหยุด โดยไม่ทันนึกถึงชุมชนริมคลองที่อยู่ ใกล้ตัว อย่าง ชุมชนตลาดเก่าหัวตะเข้ ที่อยู่ไม่ไกล จากสถานี ร ถไฟลาดกระบั ง โดยการเดิ น ทาง มาก็ ง่ า ย ไม่ ต้ อ งขั บ รถมาหาที่ จ อดให้ ห งุ ด หงิ ด ด้ ว ยแอร์ พ อร์ ต เรลลิ ง ก์ ลงสถานี ล าดกระบั ง แล้วต่อสองแถวเพียง 7 บาท มาลงตลาดหัวตะเข้ เดินเข้าซอยลาดกระบัง 17 ผ่านโรงเจเก่าจนสุดทาง เลีย ้ วขวา ข้ามสะพานทีเ่ ป็นเหมือนเส้นแบ่งของโลก ที่วุ่นวายกับความสงบของวิถีชีวิตริมน�้า ภาพสายน�้ า ไหลเอื่ อ ยๆ บ้ า นไม้ เ ก่ า แก่ ติ ด ริมคลอง โดดเด่นด้วยตัวบ้านยกสูง ด้านล่างเป็น ลานพร้อมท่าน�้าให้นั่งเล่น ด้านบนท�าเป็นชั้นลอย ในอดีตเป็นทีส ่ า� หรับเก็บของเพือ ่ การค้าขาย มีชอ ่ ง รั บ ลมไว้ ส� า หรั บ สอดส่ อ งพวกโจรที่ ใ นอดี ต มักเดินทางด้วยเรือ ซึ่งการคมนาคมด้วยเรือนั้น ปัจจุบันก็ยังเป็นพาหนะของคนที่นี่เป็นครั้งคราว โดยเราจะได้ยินเสียงเรือหางยาววิ่งแทนรถยนต์ เป็นระยะ บางคนใช้การพายเรือข้ามคลองไปตลาด ฝัง่ ตรงข้าม ซึง่ จะสะดวกกว่าการเดินอ้อมข้ามสะพาน ระหว่ า งทางทั้ ง ซ้ า ยขวา จะพบว่ า บางบ้ า น เปิ ด เป็ น ร้ า นขายอาหาร ท� า ขนม ขายอุ ป กรณ์ เครื่องเขียนและอุปกรณ์จับปลา มีบ้านที่เคยเปิด เป็ น โรงเรี ย นสอนภาษาจี น ก่ อ นจะปิ ด ไปในยุ ค จอมพล ป. พิ บู ล สงคราม แล้ ว เปลี่ ย นมาขาย อุปกรณ์เครือ ่ งเขียนจีนต่างๆ จนปัจจุบน ั หันมาท�า ขนมขายแทน หรื อ ถั ด เข้ า ไปอี ก นิ ด ก็ จ ะพบกั บ โรงเรียนศึกษาพัฒนา ทีค ่ งอาคารไม้ดงั้ เดิมขนาดย่อม และอีกหลากหลายเรือ ่ งราวทัง้ เรือ ่ งอดีต และอนาคต ที่ก�าลังจะเกิดขึ้นภายในชุมชนแห่งนี้


a day bulletin

34 WHEN IT ALL BEGAN “สมัยรัชกาลที่ 5 ชุมชนหัวตะเข้ถือเป็นศูนย์กลาง ของชานเมืองกรุงเทพฯ ฝั่งตะวันออก” ‘ป้าอ้อย’ - อ�าภา บุณยเกตุ ผู้ประสานงานกลุ่มคนรักหัวตะเข้ เริ่มเล่าถึง วันวานที่แสนคึกคักของชุมชนแห่งนี้ ซึ่งขณะนั้นมีการขุด คลองประเวศบุรีรมย์จากพระโขนงถึงฉะเชิงเทรา ท�าให้มี ความเจริญเกิดขึ้นทั้งสองริมฝั่งคลอง มีตลาดสด ร้านรวง และชุมชนริมน�า้ ทีเ่ ต็มไปด้วยผูค้ นมากมาย โดยชุมชนหัวตะเข้ เป็นจุดทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ เพราะเป็นจุดตัดของคลอง 3 คลอง ได้แก่ คลองจระเข้ คลองปลาทิว และคลองประเวศบุรีรมย์ ด้วยจุดตัดของคลองสามคลองนีเ้ อง ท�าให้เกิดสีแ่ ยก คลองขนาดย่อม ทีค่ นดัง้ เดิมพูดกันติดปากเวลาจะเดินทางมา ย่านนีว้ า่ ‘ไปสีแ่ ยก’ แต่ทมี่ าของชือ่ ชุมชนนีจ้ ริงๆ แล้วเกิดจาก การที่เจ้าหน้าที่ขุดคลองบริเวณนี้บังเอิญขุดไปเจอกะโหลก จระเข้ตวั เล็กๆ ตัวหนึง่ มีแค่สว่ นหัว แต่ไม่มตี วั จึงกลายเป็น ชือ่ ชุมชน ‘หัวตะเข้’ ซึง่ กะโหลกนีก้ ย็ งั อยูท่ ศี่ าลเจ้าปึงเถ้ากง จนถึงปัจจุบนั “เมือ่ ก่อนพืน้ ทีบ่ ริเวณนีเ้ จริญรุง่ เรืองมาก ฝัง่ ทิศเหนือ จะเป็นตลาดไม้ยาวเหยียดกว่า 150 ห้อง และอีกฝัง่ หนึง่ ราว 58 ห้อง ผูค้ นค้าขายกันครึกครืน้ มีโรงเจ ศาลเจ้า ร้านทอง ร้านหมอ มีขายทุกอย่างทั้งยาจีนและยาไทย เรียกได้ว่า เป็นเหมือนศูนย์การค้าชานเมืองเลยก็วา่ ได้ ไม่เชิงเป็นตลาดน�้า แต่เป็นตลาดเก่าแบบตลาดไม้มากกว่า” ป้าอ้อยเล่าย้อนอดีต อย่างออกรสออกชาติ “ทีน่ ยี่ งั เป็นสถานทีจ่ อดเรือขายสินค้า และต่อเรือ มีโรงไม้และช่างไม้ฝมี อื ดีอยูห่ ลายแขนง จนกระทัง่ เริม่ มีถนน มีสนามบินเข้ามา กลิน่ อายเก่าๆ ก็เริม่ หายไป” ป้าอ้อยเล่าพร้อมกับถอนหายใจอย่างช้าๆ

‘เปา’ - ชวลิต สัทธรรมสกุล เจ้าของแยกหัวตะเข้ คาเฟ่ แอนด์ เกสต์เฮาส์ และ ‘ป้าอ้อย’ - อ�าภา บุณยเกตุ ผู้ประสานงานกลุ่มคนรักหัวตะเข้

issue 515

พ.ศ. 2421

04 DEC 2017

รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองประเวศบุรีรมย์ จากปลายคลองพระโขนง ยาวตรงไป แม่น�้าบางปะกง ยาวประมาณ 46 กิโลเมตร แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2423 ก่อให้เกิดตลาดสี่แยก หัวตะเข้ เป็นศูนย์กลางการค้าที่ส�าคัญย่านตะวันออก ตลาดหัวตะเข้ทั้งฝั่งเหนือและฝั่งใต้ ล้วนมีชีวิตชีวา โรงเจมีผู้คนหลั่งไหลมาสักการะองค์เซียนมากมาย

พ.ศ. 2537 ไฟไหม้ ต ลาดฝั่ ง ใต้ ความเจริ ญ เริ่ ม ขยายตั ว ตามแนวถนนแทนคลอง ตลาดไม้ ซ บเซา การค้าขายลดลง


35

IN THE FADED LIGHT “ชุมชนนี้ยังมีอะไรดีๆ อีกเยอะ ทั้ง งานศิลปะ ของโบราณ รวมถึงท�าเล ที่ใกล้สนามบิน แต่เรายังขาดพลัง ของหน่ ว ยงานใหญ่ ๆ เข้ า มาช่ ว ย พัฒนา ซึง ่ คงเป็นแรงส่งให้ชาวบ้าน ปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ ต รงนี้ ไ ด้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ” วีระ ผลงาม, เจ้าของร้านยศ บาร์เบอร์

เนื่องจากความเจริญของเมืองที่แทรกเข้ามา ท�าให้ผู้คน เริม่ หันไปใช้รถใช้ถนนมากขึน้ จนการเดินทางทางเรือไม่เป็นทีน่ ยิ ม อีกต่อไป ตลาดไม้รมิ ฝัง่ คลองทีเ่ คยคึกคักก็กลับเงียบเหงา ไม่มี ผู้คนเข้ามาจับจ่ายซื้อของ จนพ่อค้าแม่ค้าเริ่มทยอยปิดกิจการ กันไปทีละคนสองคน “ในอดีต ภูมิปัญญาส�าคัญของที่นี่คือช่างไม้ ท�าให้เรา มีโรงไม้เยอะมาก แค่ในตลาดอย่างเดียวก็ 7-8 โรงแล้ว เอาไว้ ท�าเรือ ซ่อมเรือ แต่เมือ่ ชาวบ้านใช้เรือน้อยลงเรือ่ ยๆ โรงไม้กค็ อ่ ยๆ ปิดตัวลง จนกระทั่งเหลือโรงสุดท้าย เป็นโรงไม้ส�าหรับสร้าง ระหัดวิดน�้านาข้าว ซึ่งไม่นานก็ปิดกิจการตามไปด้วย อาชีพ ดัง้ เดิมอย่างช่างไม้ ช่างตีมดี ตีเคียว ก็หายไป เหลือเพียงอาชีพ ค้าขายที่ยังพออยู่ได้ เพราะมีโรงก๋วยเตี๋ยวและโรงโม่แป้งที่ยัง พอประคองกิจการไปได้บา้ ง” ป้าอ้อยพูดด้วยน�้าเสียงราบเรียบ แต่แฝงไปด้วยความจริงจัง นอกจากอาชีพดั้งเดิมที่สูญหายไปแล้ว ขนบธรรมเนียม ประเพณีเก่าๆ ก็ถูกลบเลือนไปตามกาลเวลาด้วย “เมื่อก่อน เรามีประเพณีโกนจุก เพราะคนมอญเข้ามาอาศัยค่อนข้างมาก รวมถึงมีการแข่งเรือกันทุกปี เด็กๆ เขาก็จะสนุกสนานกันเป็น พิเศษ” วีระ ผลงาม เจ้าของร้านยศ บาร์เบอร์ หวนเล่าความหลัง ให้เราฟัง สภาพชุมชนที่เปลี่ยนไป ไม่ต่างอะไรจากร้านตัดผม อายุกว่าร้อยปีของคุณพ่อของเขา ที่ตอนนี้เปลี่ยนกิจการเป็น

พ.ศ. 2550 ตลาดทั้งสองฝั่งเกือบตายสนิท ไม่มีคนเดิน ผู้คนเริ่มย้ายออก ห้องแถวไม้กลายเป็นห้อง แบ่งเช่าราคาถูก แต่ขณะเดียวกันก็มีกลุ่มคนที่ยังมีความหวังที่จะพลิกฟื้นชุมชน ท�าให้เกิด กลุ่มชุมชนคนรักหัวตะเข้ขึ้น

ร้านโชว์ของเก่าส�าหรับนักท่องเที่ยว ป้าอ้อยเล่าต่อว่า “เรารู้สึกว่าชุมชนของเรามาถึงจุดที่ เสือ่ มโทรมทีส่ ดุ ตอนปี 2551 เพราะมันถึงขัน้ ทีว่ า่ เราเดินออกมา จากบ้านแล้วเจอหมาอยูแ่ ค่ตวั เดียว มองไปทางไหนก็แทบไม่มี คนอาศัยอยู่เลย คนค้าขายไม่ได้ เขาก็เซ้งกิจการและย้ายออก บ้านก็พัง ตลาดก็ตาย แถมมีคนเข้ามาค้ายา บ้านที่ยังสภาพ ดีหน่อยก็กลายเป็นบ้านเช่าของคนต่างด้าว พูดง่ายๆ คือมันเน่า แล้ว “แต่ตอนนัน้ ก็บงั เอิญว่ามีนกั ศึกษาเข้ามาท�าวิจยั ท้องถิน่ โดยการส�ารวจว่าชาวบ้านคิดอย่างไรกับชุมชนนี้ ผลคือทุกคน ตอบเป็นเสียงเดียวกันว่า ไม่มใี ครอยากเห็นบ้านเราเน่า ทุกคน อยากให้ที่นี่กลับไปมีชีวิตชีวาเหมือนเดิม เราจึงคิดว่าต้องท�า อะไรสักอย่ าง จึงรวมตัว กลุ่มคนรักหัว ตะเข้ขึ้นมาหลวมๆ เพื่ออย่างน้อยก็จะได้เป็นแรงกระตุ้นให้ชาวบ้านอยากปกป้อง รักษาบ้านของเขา” เธอพูดพลางมองไปที่บ้านหลังเก่าริมฝั่ง คลอง “แน่นอนว่าทุกคนโหยหาอดีต แต่เราคงกลับไปหาอดีต ไม่ได้ แค่อยากท�าให้ปัจจุบันของเราไม่เน่า ไม่เสื่อมโทรม และ ร่วมกันฟื้นฟูให้เป็นชุมชนที่เข้มแข็งขึ้นก็น่าจะดี”

พ.ศ. 2551 เริ่ ม ต้ น ท� า งานวิ จั ย ชุ ม ชนค้ น หาค� า ตอบการจั ด การท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชนโดยคนในชุ ม ชนเอง ภายใน 3 ปี เริ่มจากสร้างกิจกรรมอย่างตลาดนัดศิลปะ ร่วมกับสถาบันการศึกษาใกล้เคียง ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนในชุมชน วิทยาลัยช่างศิลป สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ เพื่อสร้าง แรงกระเพื่อมให้คนภายในเริ่มเห็นคุณค่าของชุมชน


a day bulletin

36

OUR FAITH REMAINS “เราใช้การท่องเทีย่ วเป็นเครือ่ งมือในการฟืน้ ฟูชมุ ชนเป็น เรือ่ งหลัก ส่วนเรือ่ งเศรษฐกิจในชุมชน เรามองว่าเป็นเรือ่ งรอง” ป้าอ้อยบอกเช่นนัน้ สิง่ ทีป่ า้ อ้อยและทุกคนในกลุม่ ตัง้ ใจท�า ทัง้ หมดก็เพือ่ หาวิธกี ารทีจ่ ะกระตุน้ ให้คนในชุมชนได้เห็นคุณค่า ของถิน่ อาศัยตัวเอง ก่อนทีจ่ ะลุกขึน้ มาช่วยกันดูแลและช่วย พัฒนากันคนละไม้คนมือ การพลิกฟื้นให้ที่นี่กลับมามีชีวิต อีกครัง้ ก็ไม่ใช่เรือ่ งยาก แต่การเริม่ ต้นนัน้ เป็นสิง่ ทีย่ ากเสมอ “แรกๆ ทุกคนก็ถามป้าว่า สิง่ ทีเ่ ราพยายามท�าอยูน่ นั้ เราต้องการอะไร จะลงสมัครอะไรเหรอ” ป้าอ้อยยอมรับว่า ช่วงแรกๆ ต้องคอยตอบค�าถามนีอ้ ย่างเลีย่ งไม่ได้ แต่ดว้ ยความสัตย์จริง ป้าอ้อยเป็นผูส้ งู วัยทีต่ อ้ งการใช้ชวี ติ บัน้ ปลายให้เกิด คุณค่าและมีประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมเท่านัน้ แม้เธอจะไม่ได้เกิด ในชุมชนนี้ แต่ก็ได้ย้ายเข้ามาอยู่ที่นี่เป็นเวลากว่า 50 ปีแล้ว ช่วงวัยสาวแรกรุน่ เธอก็ปฏิเสธชุมชนแห่งนีเ้ หมือนกับคนอืน่ ๆ แต่พอ่ แม่ของป้าอ้อยกลับเห็นความคึกคักและความสุขของคน ทีน่ ี่ ก่อนทีจ่ ะมาเห็นความงดงามทีซ่ อ่ นอยูใ่ นชุมชนตลาดเก่า หัวตะเข้กย็ า่ งเข้าสูว่ ยั ชรา ภาพวันเก่าต่างๆ ได้ยอ้ นคืน ท�าให้ เธอมีความหวังว่าทีน่ จี่ ะกลับมามีชวี ติ อีกครัง้ เหมือนในอดีต “โชคดีที่มีคนคิดแบบเรา” ป้าอ้อยยิ้มและพยักพเยิด ไปทาง ‘เปา’ - ชวลิต สัทธรรมสกุล เจ้าของแยกหัวตะเข้ คาเฟ่ แอนด์ เกสต์เฮาส์ และหนึ่งในผู้ขับเคลื่อนชุมชน โดยเขา เล่าว่า แม้ตัวเองจะไม่ใช่เด็กถิ่นหัวตะเข้ แต่ก็อยู่ไม่ไกล สมัยทีเ่ รียนช่างศิลป์ลาดกระบังก็มกั จะแวะเวียนมาสเกตช์รปู อยูบ่ อ่ ยๆ ความชินตาของย่านนีท้ า� ให้เขารูส้ กึ เฉยๆ จนวันหนึง่ ได้มีโอกาสกลับมาตอนที่ป้าอ้อยเริ่มมาท�าตลาดนัดศิลปะ เขาจึงเริ่มมีไอเดียบางอย่างกับที่นี่ “เราคิดว่าแค่กจิ กรรมไม่นา่ จะท�าให้ทนี่ ยี่ งั่ ยืนได้ อาจ จะต้องมีจดุ เช็กอินบางอย่าง” เปาเริม่ ต้นเห็นด้วยกับป้าอ้อย จากนั้นไม่นานเขาก็พบว่า บริเวณสี่แยกหัวตะเข้มีบ้านไม้ ปิดทึบอยูห่ นึง่ หลัง เป็นบ้านหลังมุมทีด่ ี เขาจึงเริม่ เจรจาต่อรอง เพื่อขอเช่าและเริ่มต้นรีโนเวต โดยพยายามคงเอกลักษณ์ ของบ้านไม้รมิ คลองไว้ ปรับจากบ้านอาศัยให้เป็นร้านกาแฟ ก่อนจะเพิม่ เกสต์เฮาส์ตามล�าดับ เขาปรับให้ประตูและหน้าต่าง เปิดโล่งรับลมและแสงทุกทาง กัน้ ห้องให้กว้างขึน้ เพิม่ ต้นไม้ ในกระถางเล็กๆ ตามจุดต่างๆ และปรับให้มที า่ น�า้ เป็นแนวยาว รอบตัวบ้าน ท�าให้บรรยากาศที่นี่เปลี่ยนไป “หลังจากทีเ่ ปิดมาได้เกือบสามปี เราเห็นความเปลีย่ นแปลงของที่นี่ ผู้คนกลับมาเปิดร้านขายของกันมากขึ้น ท�าให้วันเสาร์อาทิตย์คึกคัก ส่วนวันธรรมดาจะค่อนข้าง เงียบสงบ แต่กน็ แี่ หละ บรรยากาศของชุมชนเรา” เปายืนยัน ชีวิตชีวาของที่นี่ค่อยๆ กลับมาทีละนิด กลุ่มคนรัก หัวตะเข้จงึ มีแรงใจจัดกิจกรรมต่างๆ ให้คนในและนอกอยูเ่ สมอ ทีส่ า� คัญยังได้รบั ความร่วมมืออย่างดีจากคนรุน่ ใหม่ ไม่วา่ จะเป็น กลุม่ คนช่างศิลป์เดิม หรือเด็กช่างศิลป์ทกี่ า� ลังเรียนอยู่ รวมทัง้ ชาวบ้านทีก่ ลับมายิม้ และมีความสุขแบบพอดีๆ อีกครัง้ issue 515

1

พ.ศ. 2556

04 DEC 2017

เกิดไฟไหม้ตลาดฝั่งเหนืออีกถึง 2 ครั้ง

2

พ.ศ. 2557 รีโนเวตบ้านไม้รม ิ คลองอีกครัง ้ จนเกิดแลนด์มาร์กอย่างสีแ่ ยกหัวตะเข้ คาเฟ่ แอนด์ เกสต์เฮาส์ พร้อมบ้านหลังอื่นๆ เริ่มปรับปรุง ผู้คนเริ่มเห็นโอกาสกลับมาค้าขาย คนภายนอกเองสนใจ และเข้ามาเยือนชุมชนอย่างต่อเนื่อง


37

WITH STRENGTH AND SOUL เท่าที่ป้าอ้อยและทีมได้ร่วมท�าวิจัยจากการส�ารวจ ความคิดเห็นของคนในชุมชน พบว่าทุกคนรักบ้านตัวเอง รักความเรียบง่าย และความสงบเงียบ ชอบเวลาช้าๆ ทีไ่ ม่ตา่ ง จากสายน�า้ ในล�าคลอง หากมองข้ามเรือ่ งเศรษฐกิจในชุมชน ไป ที่นี่คือลมหายใจที่สานต่อชีวิตให้กับผู้คนได้มากมาย เช่นเดียวกับ ป้านาจากบ้านเก้าพีน่ อ้ ง บ้านไม้สามห้อง ทีเ่ ป็นทัง้ ร้านอาหาร ขนม และทีอ่ ยูอ่ าศัย ซึง่ ตัง้ แต่มกี ารฟืน้ ฟู ชุมชนตลาดเก่าหัวตะเข้ขนึ้ บ้านหลังนีก้ ไ็ ม่เคยปิดตายอีกเลย “ป้าคิดถึงที่นี่ คิดถึงบรรยากาศเก่าๆ ที่นี่ทา� ให้ป้าได้อยู่กัน อย่างพร้อมหน้าพี่น้องและลูกๆ หลานๆ ที่นี่อากาศดี สงบ ไม่วุ่นวายมาก ไม่เหมือนตอนย้ายออกไปข้างนอก ที่นั่น วุน่ วาย เสียงดัง ป้าคิดว่าทีน่ แี่ หละดีแล้ว” ไม่ตา่ งจากความรูส้ กึ ของป้าสาหร่าย ช่างเย็บผ้าบ้านข้างๆ ทีไ่ ม่ยอมย้ายออกไปไหน เพราะเหตุผลเดียวกัน ทั้งๆ ที่เมื่อสมัยก่อนบ้านหลังนี้มี อาชีพเป็นช่างตีมดี ตีเคียว ซึง่ อยูต่ งั้ แต่ยคุ เฟือ่ งฟู ล่มสลาย จนกระทั่งกลับมาคึกคักอีกครั้ง หรือแม้กระทัง่ คนทีย่ า้ ยมาอยูใ่ หม่อย่าง ‘เอ’ - จ�านงค์ ยังรักษ์โรจน์กลุ เจ้าของร้านเอเฟรม หนึง่ ในโต้โผกลุม่ คนรัก

หัวตะเข้ ที่วันนี้สามารถพูดได้อย่างเต็มปากเต็มค�าว่าเขา คือคนที่นี่ “เราอยู่ที่นี่มา 17 ปีแล้ว หลังจากยุคฟองสบู่แตก เมื่อปี 2540 เราออกจากวงการหนังสือ ผันตัวเป็นช่างท�า กรอบรูป” เขามองหาที่เพื่อเริ่มต้นชีวิตใหม่ จนมาเจอที่ ที่ท�าให้รู้สึกว่าได้ชีวิตคืนกลับมาอีกครั้ง ได้ท�างานอย่าง ไม่มีกรอบ แต่กอ็ ยูใ่ นกรอบของความรับผิดชอบต่อตัวเอง เช้าๆ ออกจากบ้านย่านสวนหลวง มาเปิดสตูดโิ อ เย็นหน่อย ก็คอ่ ยกลับบ้าน “เราอยู่อย่างสบายกาย ใจสงบ แต่กลับ ไม่เคยเงียบเหงา เพราะได้นักเรียนช่างศิลป์แวะเวียนมา หาซือ้ เฟรมไปวาดรูป เพือ่ นๆ ก็แวะมาหาอยูเ่ นืองๆ นีแ่ หละ คือชีวติ ทีเ่ ราเลือก ชีวติ ที่นี่” เขายิ้มอย่างมีความสุข “ต่อจากนี้ที่นี่คงคึกคักน่าดู” ซึ่งบ้านไม้หลายหลัง ก�าลังรื้อและปรับใหม่ ก่อนเปลี่ยนให้เป็นอาร์ตแกลเลอรี สตูดิโอ และโฮสเทล ที่คงกลิ่นอายสถาปัตยกรรมดั้งเดิม อารมณ์เดิมๆ “เพิ่มเติมคือความติสต์” ป้าอ้อยปิดท้าย อย่างอารมณ์ดี

พ.ศ. 2559 สีแ่ ยกหัวตะเข้ คาเฟ่ แอนด์ เกสต์เฮาส์ ได้รบ ั รางวัลอาคารอนุรก ั ษ์ศล ิ ปะสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจ�าปี 2559 ด้านอาคารพาณิชย์

วีระ ผลงาม เจ้าของร้านยศ บาร์เบอร์ วัย 55 ปี ก�าลังตัง้ เข็มนาฬิกาโบราณทีแ่ ขวน อยูบ ่ นฝาผนัง พร้อมกับเล่าให้เราฟังว่า อีกไม่นานร้านยศ บาร์เบอร์นก ี้ จ็ ะปิดตัวลง เพราะทุ ก วั น นี้ เ ขาก็ ไ ม่ ไ ด้ มี ร ายได้ อ ะไร จากร้าน เพราะเขาหยุดให้บริการตัดผม มานานแล้ว ส่วนเด็กรุ่นใหม่เองก็ไม่ได้ สนใจร้า นนี้กันสักเท่า ไหร่ เพราะมีแต่ ของเก่าโบราณ ส่วนคนอืน ่ ๆ ก็ไปนัง่ ตัดผม ในห้องแอร์กน ั หมด ส่วนตัวเขาเองก็ตง ั้ ใจ ว่าจะไปบวชภายในสิ้นปีนี้

พ.ศ. 2560 จาก พ.ศ. 2551 ถึงทุกวันนี้ เป็นเวลา 9 ปีแล้ว ที่ชุมชนเล็กๆ แห่งนี้ก้าวเดินด้วยตัวเอง ฟื้นฟู พัฒนา จากต้นทุนเท่าทีม ่ อ ี ย่างต่อเนือ ่ ง ไม่หยุดยัง้ จากชือ ่ ‘หัวตะเข้’ ทีค ่ น ้ หาในกูเกิลยังไม่รจู้ ก ั ไม่มีฐานข้อมูล ถึงวันนี้ชื่อ ‘หัวตะเข้’ เริ่มเป็นที่รู้จัก มีผู้คนมาเยี่ยมเยือนเสมอ


a day bulletin

Space & Time

เรื่อง : ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

38

“เราตั้งชื่อร้านว่า Husband & Wife เราว่าตรงตัวดีนะ เป็นร้านทีส ่ ามีและภรรยาช่วยกันท�า” ซัน - อาทิตย์ เลิศรักษ์มงคล “ตอนทีเ่ ขาตัง้ ชือ ่ นี้ เราก็ชอบนะ แต่กย ็ งั คงรูส ้ ก ึ เขินๆ อยูด ่ ี (ยิม ้ น้อยๆ)” นุ่น - มาริสา เลิศรักษ์มงคล

HUSBAND & WIFE Film Photography & Bookstore Shop

SOI CHAENG WATTANA-PAKKRED 29 HOURS : TUE - SUN 11.00 AM - 08.00 PM

เพราะหลงรักความเป็น Analog Photography จึงท�าให้ ‘ซัน’ - อาทิตย์ เลิศรักษ์มงคล เลือกท�าตามสิง ่ ทีร ่ ก ั ด้วยการเปิดร้านขาย ฟิลม ์ กล้อง และเสือ ้ ผ้าเด็ก พร้อมคูช ่ ว ี ต ิ ‘นุน ่ ’ - มาริสา เลิศรักษ์มงคล เกิดเป็นร้านเล็กๆ ภายใต้ชอ ื่ ทีแ่ สนอบอุน ่ Husband & Wife

issue 515 04 DEC 2017

“เดิมทีตรงนี้เป็นพื้นที่รกร้างของเราเอง ตอนนั้นเราไม่ได้คิดเลยว่าจะท�าอะไรกับพื้นที่นี้ แถมยังคิดว่ามันเป็นปัญหาด้วยซ�า้ ” ซันเล่าย้อนถึงจุดเริ่มต้นของร้าน “จนวันหนึง่ เราได้เข้าร่วมโครงการคนกล้าคืนถิน่ เป็นโครงการทีม่ แี นวคิดเกีย่ วกับเรือ่ งการใช้พนื้ ทีท่ มี่ ใี ห้เกิดประโยชน์ในการท�าการเกษตรมากทีส่ ดุ คอนเซ็ปต์คอื คุณต้องดูแลพืน้ ทีข่ องตัวเอง ตามก�าลังทีม่ ี โดยใช้เงินให้นอ้ ยทีส่ ดุ หลังจบโครงการเราเลยคุยคอนเซ็ปต์นกี้ บั นุน่ แล้วน�ามาปรับใช้กบั พืน้ ทีข่ องตัวเองด้วยการท�าร้านแห่งนีข้ นึ้ ซึง่ ก็เพิง่ เปิดให้บริการเมือ่ กันยายนทีผ่ า่ นมา” ร้านเล็กๆ แห่งนีป้ ระกอบด้วยอาคารชัน้ เดียวจ�านวนสามหลัง สร้างเป็นรูปตัวยูแยกส่วน ด้านซ้ายคือร้านกาแฟ ขวาสุดเป็นแกลเลอรีทจี่ ะเปิดเร็วๆ นี้ พืน้ ทีท่ เี่ หลือคือสนามหญ้าและทีจ่ อดรถ โดยตัวร้านขายฟิล์มและกล้องฟิล์มของซัน จะมีร้านขายเสื้อผ้าเด็กของนุ่นอยู่ในบริเวณเดียวกัน เป็นอาคารชั้นเดียวสีขาวตรงกลาง โดดเด่นด้วยประตูไม้หน้าร้านสีเขียวพาสเทล พร้อมกรอบหน้าต่างขนาดใหญ่ ซอยย่อยให้เป็นหน้าต่างเล็กๆ ด้วยไม้ ท�าให้ร้านดูน้อยแต่มาก ด้านในตกแต่งด้วยงานไม้เนือ้ อ่อน เฟอร์นเิ จอร์ และของตกแต่งแนววินเทจ ทุกอย่างสีสนั น้อยนิด แต่ดเู ท่ดว้ ยกล้องโพลารอยด์ รวมทัง้ บรรยากาศทีเ่ งียบสบาย ทีเ่ ขาทัง้ คูต่ งั้ ใจให้เป็นแบบนัน้ “นุ่นเป็นอินทีเรียร์ดีไซเนอร์ เขาออกแบบด้านในตามนิสัยของเราสองคน คือ เรียบ คลีน และเงียบ” ซันหัวเราะ แน่นอนว่า หากคนสองคนไม่ได้ชอบเหมือนกัน ไม่คิดแบบเดียวกัน ไม่มั่นใจในกันและกัน ร้านแห่งนี้คงไม่เกิดขึ้น และความชอบที่อยู่ภายในของพวกเขาคงไม่ได้ขับเคลื่อน จนเห็นเป็นรูปร่างอย่างทุกวันนี้


39

เรื่อง : ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ ภาพ : getty images

FRENCH PEASANTS ราวปี ค.ศ. 1788 เป็นช่วงที่ ป ร ะ เ ท ศ ฝ รั่ ง เ ศ ส เ กิ ด ก า ร กั ก ตุ น ธั ญ พื ช อ ย่ า ง ข้าวสาลี ข้าวไรย์ หรือบักวีต เป็นผลให้เกิดการขาดแคลน ขนมปัง ซึ่งตอนนั้นขนมปัง ยังท�าเป็นก้อนกลมๆ ทีเ่ รียก ว่า บูล (Boule) กันอยู่ และ ขนมปังทีท ่ า� ขายให้กบ ั คนจน และชาวนานัน ้ ยังมีสว่ นผสม ของขี้เลื่อย ฟาง หญ้าแห้ง หรื อ เศษดิ น ในขณะที่ ช น ชั้ น สู ง จะได้ กิ น ขนมปั ง ที่ มี ส่วนผสมจากธัญพืช 100% และนี่คือต้นตอของการก่ อ จลาจลครั้งใหญ่

FOODIE

REVOLUTION

NAPOLEON

MODERN TIMES

ความอดอยากที่ ก่ อ ตั ว ขึ้ น เป็ น ตั ว กระตุ้ น ให้ เ กิ ด การปฏิวต ั ฝ ิ รัง ่ เศส เหล่ามวลชน ชั้ น แรงงานบุ ก ทลายคุ ก บัสตียใ์ จกลางกรุงปารีสในปี ค.ศ. 1789 เพื่ อ ต่ อ ต้ า น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ก่อนทีช ่ าวนาจะเดินประท้วง ไปตามถนน เรือ ่ งการกักตุน ธัญพืชส่งผลให้ราคาขนมปัง ยิ่ ง พุ่ ง สู ง ขึ้ น จนรั ฐ บาล สมัยนัน ้ กังวล กระทัง่ สภาร่าง รั ฐ ธรรมนู ญ เรื่ อ งสั ด ส่ ว น ธัญพืชในขนมปังให้ท�าจาก ข้าวสาลีเป็นสัดส่วน ¾ และ ข้าวเรย์ที่สัดส่วน ¼ ส่วน แป้ ง ขาวนั้ น ห้ า มใช้ ท� า ให้ ขนมปังมีคุณภาพและราคา ถูกลง ซึง ่ ต่อมาเรียกขนมปัง แบบนีว้ า่ Pain d’Egalite

ห ลั ง จ า ก ที่ จั ก ร พ ร ร ดิ นโปเลียนที่ 1 เข้ายึดอ�านาจ ในปี ค.ศ. 1800 ก็ อ อก กฤษฎีกาเรื่องการก�าหนด มาตรฐานส� า หรั บ การท� า ขนมปั ง ฝรั่ ง เศส ควบคุ ม คุ ณ ภาพ ทั้ ง การโม่ แ ป้ ง ส่ ว นผสม วิ ธี น วด ขนาด และรูปร่าง พร้อมปิดฉาก การเก็งก�าไรธัญพืชส�าหรับ ท�าขนมปังไปอย่างสิ้นเชิง

ปี ค.ศ. 1920 ฝรั่ ง เศสได้ ออกกฎว่า ห้ามตื่นท�างาน ก่ อ นตี สี่ ส่ ง ผลให้ อ บบู ล ไม่ทน ั เปิดร้าน เพราะขนมปัง ชนิ ด นี้ สุ ก ช้ า ท� า ให้ ค นท� า ขนมปังคิดรูปทรงขนมปัง ให้ยาวชึ้นและบางลงเพื่อให้ สุกเร็วขึน ้ แต่เปลือกขนมปัง ยั ง ค ง ก ร อ บ เ ช่ น เ ดิ ม เพื่อให้ท�าขายตอนเช้าได้ทัน ซึง ่ แรกๆ ยังไม่ได้ถก ู เรียกว่า baguettes แต่ออกเสียง ด้วยภาษาละตินว่า baccheto ซึ่งแปลว่า แท่งไม้ ก่อนจะ แผลงมาเป็ น บาแก็ ต อย่ า ง ทุกวันนี้

FRENCH BREAD จากประวัติศาสตร์และเรื่องราวเล่าขานที่บอกต่อๆ กันมา พบว่าขนมปังบาแก็ตแท่งยาว ด้านนอกกรอบแข็ง เหนียว และเป็นชั้นโพรง อยู่ด้านในนั้น เกิดขึ้นมาแล้วกว่า 400 ปี แต่กว่าจะมาเป็นขนมปังแท่งจากฝรั่งเศสที่เรารู้จักกัน ขนมปังชนิดนี้มีการปรับเปลี่ยนมาหลายแบบ แถมยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทลายคุกบัสตีย์ที่ปารีสด้วย ซึ่งเรื่องราวโกลาหลต่อไปนี้อาจเป็นส่วนหนึ่งที่ท�าให้บาแก็ตเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก

Perfect french Baguette at home By chef John mitzewich

ingreDientS ขนมปังบาแก็ตขนาด 4 ก้อนเล็ก, ยีสต์แห้ง ¼ ช้อนชา, น�้าอุ่น 1 ½ ถ้วย (325 กรัม), เกลือ 1 ¾ ช้อนชา, แป้งขนมปัง 500 กรัม หรือประมาณ 4 ถ้วยตวง

DirectionS : 1. ผสมยีสต์ น�า้ อุน ่ แป้งและเกลือ ให้เข้ากันโดยไม่ตอ้ งนวด ตลบเป็นก้อน ใช้พลาสติก คลุม ตามด้วยผ้าอีกชัน ้ 2. ตัง้ ไว้ในอุณหภูมห ิ อ ้ ง 12-14 ชม. หรือจนกว่าจะฟูเป็นสองเท่า 3. ตัดแบ่ง ให้เท่าๆ กัน แล้วม้วนแป้งเป็นแท่งยาว น�าพลาสติก ทีโ่ รยแป้งบางๆ ไปคลุมโดว์เพือ่ พักอีก 1-1.30 ชม. 4. อบด้วยความร้อน 280 �C นาน 15 นาที

tiPS : หลังจากอบไปแล้ว 5 นาที ให้นา� ขนมปัง ออกมาพรมน�้าบางๆ และอบต่อราว 10 นาที น�าออกมาพรมน�า้ บางๆ อีกครัง ้ จะได้บาแก็ตที่ เปอร์เฟ็กต์ ยิง ่ ตอนอบใหม่ๆ แล้วหัน ่ จะได้ยน ิ เสียงแห่งความกรอบทีเ่ ปลือกด้านนอกด้วย


a day bulletin

BREATHE IN

40

เรื่อง : สีตลา ชาญวิเศษ ภาพ : getty images

BREATHE IN : สีตลา ชาญวิเศษ นักเขียน และคนท�างานด้านคอนเทนต์ ที่ผ่านมาท�าวิทยานิพนธ์ปริญญาโทในหัวข้อ ‘การจีบกันบนสื่อออนไลน์’ และเป็นเจ้าของแฟนเพจ ‘ธีสิสมุ้งมิ้ง’ ส่วนเรื่อง ่ งความรักเหมือนเดิม ่ ในเรือ ั เชือ ็ ง ้ ย ึ แม้จะเจ็บมามากแค่ไหน ทุกวันนีก ่ ย่าท�าเยอะมาก แต่ถง ่ งทีอ ความรัก เป็นคนอกหักเก่ง แห้วเก่ง เลยมีประสบการณ์มาบอกเล่าเรือ

การที่เราไม่ให้อภัยใครคนหนึ่ง ท�าให้เรารักใครคนอื่นอย่างเต็มหัวใจไม่ได้ เราเคยอ่านหนังสือของ ริก วอร์เรน เขียนไว้ประโยคหนึ่งที่เราจ�าได้ขึ้นใจว่า “การที่เราไม่ให้อภัยใคร ท�าให้เรารักใครคนอื่นอย่างเต็มหัวใจไม่ได้” ซึ่งประโยคนี้ท�าให้เรานึกถึงหนังญี่ปุ่นเรื่อง Departures ที่พระเอกเป็นนักดนตรีอยู่ในเมืองใหญ่ แต่เมื่อล้มเหลวจากอาชีพ เขาเลยย้ายกลับไปท�างาน ที่บ้านเกิดโดยเป็นสัปเหร่อคอยตกแต่งศพ ส่วนปมใหญ่ในชีวิตของพระเอกคือการที่เขาเข้าใจมาตลอดว่าพ่อไม่รัก และนั่นท� าให้ชีวิตของเขาเต็มไปด้วย ความเศร้าหมองและการจมปลักอยู่กับปมภายในใจ

issue 515 04 DEC 2017

จนกระทัง่ วันหนึง่ โชคชะตาก็ทา� ให้เขาต้องมารับหน้าทีต่ กแต่งศพให้พอ่ ทีไ่ ม่ได้เจอกัน มาหลายสิบปี และวันนั้นเองที่ทุกอย่างได้เฉลยว่า ตลอดเวลาที่ผ่านมาพ่อรักและรอคอย ทีจ่ ะเจอเขา ซึง่ ในวันนัน้ เช่นกัน ปมทีอ่ ยูใ่ นใจมาตลอดหลายสิบปีของพระเอกก็ถกู คลายออก เขาเหมือนได้ชีวิตใหม่ หลังจากนั้นเขาถึงได้มีครอบครัวและเริ่มต้นบทบาทพ่อของลูกชาย ทีส่ ามารถมอบความรักให้ลกู ได้อย่างเต็มที่ พูดอีกอย่างคือ ถ้าสมมติพระเอกไม่ได้รบั การคลายปมเรื่องพ่อไม่รักเขา ก็เป็นไปได้ที่พระเอกจะรักลูกชายไม่ได้เต็มหัวใจ หรืออีกเรือ่ งหนึง่ เป็นเรือ่ งน่าหดหูท่ เี่ กิดขึน้ จริงของแม่ทไี่ ม่ชอบลูกสาวตัวเอง แม้เจ้าตัว จะไม่เคยยอมรับว่าคิดแบบนั้น แต่ดูจากอาการและสิ่งที่แสดงออกก็บ่งบอกได้ชัดเจนว่า เธอคนนีไ้ ม่ได้รกั ลูกสาวอย่างเต็มหัวใจ เหตุผลคงเพราะตลอดทีผ่ า่ นมา เธอมีปมฝังใจเรือ่ ง สามีเคยแอบไปมีกกิ๊ ซึง่ ปัจจุบนั สามีเธอเลิกนิสยั นีแ้ ละกลับตัวกลับใจใหม่นานแล้ว แต่ดา้ น ภรรยายังไม่ยอมปล่อยปมในใจนีส้ กั ที สิง่ ทีต่ ามมาคือเธอเลยมีนสิ ยั ระแวงผูห้ ญิงรอบตัวสามี ทุกคน แม้กระทัง่ ลูกสาวตัวเองเธอก็ยงั กลัวว่าลูกจะแย่งความรักจากสามีไป เธอเลยมักดุดา่ และเกรี้ยวกราดกับลูกสาวอยู่เป็นประจ�า บางครั้งยังต่อว่าเวลาเห็นสามีสนิทกับลูก เคสนี้เป็นเคสหนึ่งที่ท�าให้เราค่อนข้างเชื่อว่า ความรักที่เรามีต่อคนหนึ่งมีผลต่อ ความรักอีกคนได้ด้วย พูดอีกอย่างก็คือ เพราะผู้หญิงคนนี้ไม่เคยให้อภัยสามี เธอเลย ไม่สามารถมอบความรักให้คนที่เธอควรจะรักที่สุดในชีวิตอย่างลูกของเธอได้ เพราะลึกๆ เธอมีแต่ความเคียดแค้น ความกลัว ความระแวง หัวใจของเธอมีจุดสีด� าที่ความรัก ไม่สามารถเข้าไปครอบครองพื้นที่นั้นได้ เมื่อเธอมอบหัวใจให้ลูก มันเลยเป็นหัวใจที่มี ความเคียดแค้นและความเจ็บปวดเจือปนอยู่ในนั้น ซึง่ ตัวเราแทบไม่อยากจะคิดเลยว่า ลูกสาวของเธอต่อจากนีจ้ ะเป็นอย่างไร หากลูกสาว ไม่สามารถเอาชนะปมทีแ่ ม่กอ่ ขึน้ มาได้ ปมนีค้ งอยูต่ อ่ ไปเรือ่ ยๆ จนกว่าวันหนึง่ ทีล่ กู จะยอม ให้อภัยแม่ถึงจะหลุดจากปมนี้ได้ส�าเร็จ แต่อย่างไรก็ตาม ไม่ได้มีเพียงแค่การไม่รักคนอื่น เท่านั้นที่สร้างปัญหา การไม่รักตัวเองหรือไม่ยอมให้อภัยตัวเองก็มีผลต่อความสัมพันธ์ ได้ด้วยเหมือนกัน อย่างแต่กอ่ นเราเป็นคนหนึง่ ทีไ่ ม่คอ่ ยรักตัวเอง ลึกๆ เราเป็นคนโหยหาความรักตลอดเวลา พอมีแฟน เราก็จะทุม่ เทให้แฟนจนหมด ซึง่ ในตอนแรกก็ดดู อี ยูห่ รอก เพราะเราจะดูเหมือน แฟนทีโ่ รแมนติกและคอยเอาใจใส่ แต่ปญ ั หาคือเมือ่ คบกันไปสักพัก เราจะกลายเป็นคนติดแฟน มาก กลายเป็นคนเรียกร้อง คอยวิง่ ไล่ และพร้อมจะปรับตัวเองทุกอย่างให้แฟนโดยไม่ได้สนใจ เลยว่าเราก�าลังสูญเสียความเป็นตัวเองไป ซึ่งนั่นท�าให้เราทรมานไปเรื่อยๆ โดยไม่รู้ตัว และแน่นอนว่าพอเลิกกันแล้ว เราก็เป็นฝ่ายเสียใจแบบจะเป็นจะตาย เพราะเหมือนเรา ยกตัวตนของเราไปไว้ทเี่ ขา พอเขาตัดทิง้ ก็เหมือนตัวตนเราพังพินาศตามไปด้วย เราโทษ ตัวเอง เรามองตัวเองไร้คา่ เราไม่แคร์เรือ่ งศักดิศ์ รี และมักจบด้วยการอ้อนวอนขอโอกาสเขา

ทั้งๆ ที่รู้ว่าเขาไม่ต้องการเราอีกแล้ว ซึ่งความสัมพันธ์ที่ผ่านมาของเราจบแบบไม่เป็นท่า แทบทุกครัง้ จนวันหนึง่ ทีเ่ ราถามตัวเองว่า เรือ่ งทัง้ หมดนีม้ นั เกิดจากอะไร? และเราก็พบว่า ปัญหาใหญ่เลยคือเรารักตัวเองไม่มากพอ มันเลยท�าให้เราตัดสินใจรักใครโดยไม่ได้ดูให้ถี่ถ้วนว่า เขาเข้ากับเราได้จริงหรือไม่ เพราะเราชอบคิดเองว่า เฮ้ย ไม่เป็นไรหรอก ถ้าเขาไม่ปรับ เดี๋ยวเราปรับเองก็ได้ ซึ่งความเป็นจริงมันไม่ควรเป็นอย่างนั้นไง! มันควรจะเป็นต่างคนต่างช่วยกันปรับ และถ้าเกิด อีกฝ่ายยืนยันว่าจะไม่ปรับหรือจะไม่ทา� ให้เราสบายใจ ก็ควรจะคิดได้แล้วว่าไปต่อกันไม่ได้ แต่เนือ่ งจากเราคิดว่าเรายอมได้ เราเลยเลือกทีจ่ ะทนกับความสัมพันธ์ทเี่ จ็บปวดไปเรือ่ ยๆ และรอให้ทุกอย่างพังลงเอง นอกจากนี้ บางครั้งการไม่รักตัวเองก็ยังอยู่ในรูปแบบการไม่ให้อภัยตัวเองได้ด้วย เหมือนกัน ยกตัวอย่างหลายคนที่เรารู้จักที่ทนอยู่กับความสัมพันธ์ที่เจ็บปวดไปเรื่อยๆ เพราะรับไม่ได้กบั การทีต่ วั เองต้องเป็นฝ่ายบอกเลิกก่อน เลยยือ้ ความสัมพันธ์และรอให้อกี ฝ่าย เป็นคนบอกเลิก ซึ่งความซวยของคนกลุ่มนี้เท่าที่เจอคือมักได้แฟนที่ไม่กล้าเลิกแบบตรงๆ หรือว่าง่ายๆ คือเป็นพวกที่ไม่ชอบเผชิญปัญหา เลยใช้วิธีนิ่งเงียบหรือหนีหน้าหายไป ปัญหาทีต่ ามมาคือฝ่ายทีต่ อ้ งทนก็รอและเจ็บปวดไปเรือ่ ยๆ ส่วนอีกฝ่ายนอกจากจะไม่บอกเลิก แล้ว ก็ใช้วิธีเย็นชาหรือหนีหน้าหายไป ซึ่งท�าให้ฝ่ายที่ทนอยู่นั้นเจ็บซ�า้ สองเข้าไปอีก ซึ่งถ้าถามว่าจะแก้เรื่องนี้ยังไง? ค�าตอบง่ายๆ แต่ท�ายากคือ ต้องกล้าบอกเลิกหรือ ออกมาจากความสัมพันธ์นั้นซะ โดยไม่ต้องรอให้อีกฝ่ายบอก แต่ปัญหาคือ หลายคน ไม่กล้าท�าอย่างนั้นเพราะกลัวว่าจะให้อภัยตัวเองไม่ได้ ที่จะยอมรับว่าตัวเองเป็นคน ตัดความสัมพันธ์นั้นทิ้งเอง ฉะนั้น ถ้าว่ากันตามตรง การไม่รักตัวเองเป็นสาเหตุที่ท�าให้คนเราท�าร้ายตัวเอง ต่อไปเรื่อยๆ ขณะเดียวกันมันก็ทา� ให้คนเราไม่สามารถรักใครได้อย่างเต็มที่ ยกตัวอย่าง ตัวเราเองก็ได้ เมือ่ ลองย้อนมองความสัมพันธ์ทผี่ า่ นมา ก็ทา� ให้นกึ ได้วา่ เหตุผลทีย่ อมทุม่ เท คอยวิ่งไล่ เรียกร้องจากแฟน อาจไม่ใช่เพราะเรารักเขาจริงๆ แต่เพราะต้องการใช้เขา เติมเต็มตัวตนทีไ่ ม่เราเคยคิดจะเติมให้ตวั เอง ดังนัน้ ถ้าจะว่ากันตรงๆ ความสัมพันธ์เหล่านัน้ ไม่ได้เกิดจากความรัก แต่ไม่มีความรักต่างหาก ถ้าให้สรุป ไม่ว่าจะเป็นความรักที่มีต่อตัวเราหรือคนอื่น มันเกี่ยวพันและเชื่อมโยง กับความรักความสัมพันธ์อื่นๆ ต่อไปอีก ดังนั้น มันเลยน่าคิดว่า ถ้าวันหนึ่งเราอยากจะรัก ใครคนหนึง่ อย่างเต็มหัวใจ บางทีอาจไม่ใช่แค่การลงทัง้ หัวใจรักใครคนนัน้ แต่อาจต้องเริม่ จากรักใครบางคนก่อนหน้านั้นให้ได้อีกด้วย ว่าแต่... คุณคิดว่าไง?


41

เรื่อง : ตนุภัทร โลหะพงศธร ภาพ : getty images

BREATHE OUT

‘รักตัวเองให้ได้กอ ่ นจะไปรักคนอืน ่ ’

เชื่ อ ว่ า หลายคนต้ อ งเคยได้ ยิ น ประโยคอั น แสน คลาสสิ ก นี้ เมื่ อ เรากั บ เพื่ อ นถกเถี ย งกั น เรื่ อ งความรั ก ไปถึงจุดหนึง่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในยามทีต่ อ้ งการจะมอบ ความรักให้ใครสักคน หรือไม่กเ็ พิง่ ประสบกับความล้มเหลว ในเรื่องความรักมาหมาดๆ ประเด็นที่น่าสนใจนั้นอยู่เบื้องลึกภายในประโยคนี้ ว่ามันเป็นเช่นนั้นจริงๆ ใช่ไหม ที่เราจะรักคนอื่นเป็น ก็ต่อเมื่อรักตัวเองได้เสียก่อน ประโยคเงื่อนไขท�านองนี้มักจะใช้สอนใจหรือใช้ ท�าใจส�าหรับคนทีไ่ ม่เคยเชือ่ ในความรัก แต่สา� หรับคนทีเ่ คย ผ่านประสบการณ์หนักๆ ในเรือ่ งความรักมาแล้ว ประโยคนี้ ได้กลายเป็นบทเรียนทีผ่ กู มัดความคิดและทัศนคติในเรือ่ ง ความรักและความสัมพันธ์จนแทบจะดิ้นไม่หลุด พร้อม ยอมจ�านนให้อย่างเต็มหัวใจ ว่าต่อจากนีไ้ ปเราจะต้องเป็น เช่นนี้เสมอ ทั้งๆ ที่ในความเป็นจริงแล้ว ความรักเป็นความรู้สึก พิเศษที่แสนจะเรียบง่าย เวลาที่เรามองความรักเป็นเรื่อง ซับซ้อน นัน่ ก็เพราะตัวเราเองปรุงแต่งความรักให้เต็มไปด้วย ส่วนผสมที่รกรุงรังเกินไป ท�าให้มันมีรสชาติหวานจับใจ หรือไม่ก็ขมจนฝาดลิ้นไปเลย ความรักเลยไม่ได้เป็นเพียง ความรู้สึกอย่างที่มันควรจะเป็นอีกต่อไป ด้วยเหตุผลนี้ เมื่ อ เราจะหาทฤษฎี ใ ดๆ หรื อ ค� า สอนใดๆ มาอธิ บ าย ความรักก็กลับแปรเปลีย่ นไปตามปัจจัยอืน่ ๆ เหล่านัน้ ด้วย เสมอ ความรักของแต่ละคนจึงไม่เหมือนกัน แล้วเราจะ หาความเที่ยงแท้ของประโยคที่ว่า ‘รักตัวเองให้ได้ก่อนจะ ไปรักคนอืน่ ’ ได้มากน้อยแค่ไหน แน่นอนว่าการศึกษาเรือ่ ง บุคลิกภาพและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ จะช่วยไขความสงสัยในเรื่องความรักนี้ได้ ข้อบ่งชี้แรก ถ้าเราตีความค�าว่ารักตัวเองเป็นเรื่อง เดียวกับ ‘ความภูมิใจในตัวเอง’ (self-esteem) คนที่มีความภาคภูมิใจในตัวเองต�่า โดยส่วนใหญ่ มักจะขาดความมัน่ ใจ ลามไปถึงความไม่ไว้วางใจในคนอืน่ ไม่สามารถเชื่อใจใครได้ และไม่กล้าตัดสินใจอะไรจริงจัง เพราะกลัวความล้มเหลว คนแบบนีม้ มี มุ มองต่อโลกในเชิงลบ จนกลายเป็นพฤติกรรมที่บ่อนท�าลายความรักให้พังลง ในที่สุด ในทางตรงกันข้าม คนที่มีความภาคภูมิใจในตน สูงเกินไป จะมีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง บางครั้งอาจสูง

เกินความเหมาะสม จนเกิดเป็นความรู้สึกว่าตนเองดีพอ พร้อมทีจ่ ะเป็นผูก้ า� หนดรวมทัง้ ยุตคิ วามสัมพันธ์และความรัก ของตนได้ทกุ เมือ่ ทีต่ อ้ งการ สรุปได้วา่ ทัง้ คนทีร่ กั ตัวเองและ ไม่รักตัวเอง ในความหมายเดียวกับ self-esteem จึงล้วน สามารถล้มเหลวในความรักได้ทงั้ สิน้ เพียงแต่มรี ายละเอียด ของเหตุผลที่แตกต่างกันเท่านั้น ข้อบ่งชีท้ สี่ อง รักตัวเองในความหมายว่า ‘หลงตัวเอง’ (narcissism) ความหลงตั ว เองคื อ ความรั ก ตั ว เองอย่ า งมาก มากกว่าคนอื่นใด ซึ่งจะท�าให้เกิดความเห็นแก่ตัวตามมา เพราะมองเห็นแต่ตัวเองเป็นอันดับแรกก่อนเสมอ และมัก จะพยายามเอาเปรียบผู้อื่น หวังเอาชนะในทุกๆ เรื่อง โดยเฉพาะความสัมพันธ์ เพือ่ ท�าให้ตนเองเป็นคนทีป่ ระสบ ความส�าเร็จมากที่สุด ในท้ายที่สุดแล้วคนที่หลงตัวเอง มากๆ ก็จะไม่มคี วามรู้สกึ อยากหรือต้องการมีความผูกพัน แน่นแฟ้นกับใครได้อย่างแท้จริง และจบลงด้วยความสัมพันธ์ ที่ล้มเหลวได้เช่นเดียวกัน โดยลักษณะบุคลิกภาพเช่นนี้ สามารถพบได้บ่อยในคนที่มีความภาคภูมิใจในตนเองสูง ข้ อ บ่ ง ชี้ ที่ ส าม จ� า กั ด ความค� า ว่ า รั ก ตั ว เองเป็ น ‘การยอมรับตนเอง’ (self-acceptance) การยอมรับตัวเองในที่นี้คือการยอมรับว่าตัวเอง ดีพอสมควร ไม่น้อยจนจับต้องไม่ได้ และไม่มากจนเกิน ความพอดี การยอมรับในสิง่ ทีต่ นเป็นท�าให้เกิดความเข้าใจ ตัวเองตามความเป็นจริง น�าไปสูค่ วามสามารถในการเข้าใจ เห็นใจ และมีเมตตาต่อตนเอง (self-compassion) ได้ ข้อดี คือท�าให้สามารถยอมรับข้อผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ ในทุกๆ เรือ่ ง รวมถึ ง เรื่ อ งความรั ก และที่ ส� า คั ญ คื อ พร้ อ มให้ โ อกาส ตัวเองได้แก้ไขและปรับปรุงข้อผิดพลาดเหล่านั้นอีกด้วย การยอมรับตนเองจึงท�าให้มคี วามสุขมากกว่า มีความวิตก กังวลและซึมเศร้าน้อยกว่า รวมทั้งเป็นการปรับทัศนคติ ให้ตัวเองเดินไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ ซึ่งในความหมายนี้คือ การมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อคนอื่นนั้นเอง จากข้อบ่งชี้ทั้งสามยืนยันได้ว่า การที่เรารักตัวเอง ไม่สามารถการันตีหรือรับรองว่าเราจะรักคนอื่นได้ ดังนั้น ประโยคเงื่ อ นไขที่ แ ฝงค� า สอนสั่ ง ว่ า ถ้ า รั ก ตั ว เองเป็ น ก็จะท�าให้รักคนอื่นเป็นและน�าไปสู่ความสัมพันธ์ที่มั่นคง ยัง่ ยืนอย่าง ‘รักตัวเองให้ได้กอ่ นทีจ่ ะไปรักคนอืน่ ’ จึงไม่ถกู ต้อง ทุกกรณีเสมอไป

ในความเป็นปัจเจกบุคคล ทุกคนมีความแตกต่าง เป็นพืน้ ฐาน เราจึงไม่สามารถน�าชุดความคิดใดความคิดหนึง่ มาสร้างกรอบให้เกิดการเหมารวมในเรื่องความรักได้ เมื่อเราทราบแล้วว่าการรักตัวเอง ไม่ได้ท�าให้เรารัก คนอืน่ ได้ (ดี) อีกข้อสงสัยทีเ่ กิดขึน้ ตามมาคือ แล้วจะมีอะไร ที่ท�าให้เราสามารถรักคนอื่นได้ดี เป็นความรักที่ประสบ ผลส�าเร็จ ดูเหมือนว่า คาริล รัสบัลต์ ศาสตราจารย์ด้าน จิตวิทยาสังคม มีคา� ตอบให้เราจากการศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล จนสามารถสรุปผลการศึกษาและพัฒนา เป็นทฤษฎีตน้ แบบเกีย่ วกับความสัมพันธ์ ทีเ่ รียกว่า Investment Model of Commitment Processes ซึ่งได้รับความสนใจ และมีอิทธิพลอย่างมากในวงการจิตวิทยา ทฤษฎีนี้ประกอบด้วย 3 ปัจจัยส�าคัญ ได้แก่ ความพึงพอใจ (satisfaction) การมีความพึงพอใจใน พฤติกรรมและการกระท�าที่เกิดขึ้นในความสัมพันธ์ ท�าให้ มีความสุข และมีโอกาสทีค่ วามรักจะยัง่ ยืนมากขึน้ ตามไป ทางเลือก (alternatives) ทางเลือกในทีน่ คี้ อื ทางเลือก ในความสัมพันธ์ การมีอิสระในการเลือกอย่างเต็มที่ เช่น การตัดสินใจคบหาดูใจกับใครสักคน จะท�าให้มีความรัก ที่ดี ซึ่งดีกว่าความสัมพันธ์ที่ไม่มีทางเลือกใดเลย ต้องทน คบกันด้วยใจทีเ่ ป็นทุกข์ รอเพียงวันเลิกราทีห่ วังเป็นกุญแจ ไขประตูที่อยู่สุดปลายอุโมงค์ การลงทุน (investment) การลงทุนในความสัมพันธ์ ทัง้ การทุม่ เททัง้ กายและใจ การใช้เวลาร่วมกัน เป็นการลงทุน ที่ไม่สามารถถอนทุนคืนได้ ย่อมท�าให้เกิดความผูกพัน ทางอารมณ์ ลดโอกาสที่เลิกรักกันได้ ถึงแม้วา่ ในทางทฤษฎี องค์ประกอบทัง้ สามทีค่ รบถ้วน สมบูรณ์นจี้ ะน�าไปสูค่ วามรักทีป่ ระสบผลส�าเร็จ แต่ในความเป็นจริงเราต่างรู้ดีว่าทุกคนล้วนแตกต่างกัน จึงท�าให้ไม่มี สูตรส�าเร็จความรักใดที่จริงแท้แน่นอนเสมอไป อย่างน้อย ที่สุดก็พึงระลึกไว้ว่าประโยค ‘รักตัวเองให้ได้ก่อนที่จะไป รักคนอื่น’ ถือเป็นเพียงหนึ่งในนั้น

BREATHE OUT : ตนุภัทร โลหะพงศธร อาชีพ : นักเขียนประจ�านิตยสาร a day BULLETIN อดีตนักเรียนจิตวิทยา ผู้หลงใหลการสังเกตตั้งแต่พฤติกรรมระดับบุคคลไปจนถึงปรากฏการณ์ทางสังคม พร้อมค้นหาค�าอธิบายในประเด็นที่เกี่ยวข้องด้วยมุมมอง องค์ความรู้ และทฤษฎีจิตวิทยา โดยมีแนวความคิดส�าคัญที่ว่า ‘ทุกพฤติกรรมมีสาเหตุและเปลี่ยนแปลงได้’

To Love Someone, Do You ReaLLY neeD To Love YouRSeLf fiRST?


a day bulletin

,

Editor s NotE

42

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

Defining a Meaningful Space

issue 515 04 DEC 2017

การกลับไปนัง่ อยูใ่ นห้องเรียน ท�าให้ผมนึกย้อนไปถึง ตัวเองในสมัยวัยรุ่น ตลอดเดือนทีผ่ า่ นมา พวกเราไปร่วมมือกับ Freeform Festival จั ด งานอี เ วนต์ ขึ้ น ในโรงเรี ย นร้ า งแห่ ง หนึ่ ง ย่านเอกมัย เราขอใช้พื้นที่ในห้องเรียนขนาด 6x8 เมตร สภาพห้องเปิดโล่งโจ้ง และเก่าทรุดโทรมจนดูเหมือน ไม่น่าจะมาจัดงานอะไรได้เลย มีทมี เราคนหนึง่ เสนอไอเดียให้พมิ พ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่ หลายแผ่นมาวางไว้ทมี่ มุ รอบๆ ห้อง และซือ้ พรมสีดา� ผืนใหญ่ มาปูพื้น “เพื่อเป็นการ Defiffiining Space” - เขาบอก พอเราปรั บ เปลี่ ย นสถานที่ ต ามแผนงาน มั น ก็ กลายสภาพไปเป็นสิง่ ใหม่ได้จริงๆ เมือ่ ไปนัง่ อยูบ่ นผืนพรม กลางห้องเรียนเก่า ผมมองไปรอบๆ เห็นหน้าต่างกระจก บานเกล็ดแตกหัก แผ่นกระเบื้องหลุดล่อน บนกระดานด�า หน้าห้องยังมีร่องรอยของตารางสอบไล่วันสุดท้าย ตอนนี้ มันถูกนิยามใหม่ ให้กลายเป็นพื้นที่ส�าหรับการเรียนรู้ ในรูปแบบที่แตกต่างออกไปจากเดิม ตอนเด็กๆ เราเคยนั่งเรียนอยู่ในห้องเรียนแบบนี้ ตั้งแต่แปดโมงเช้าถึงสี่โมงเย็น พอข้ามผ่านช่วงวัยไปแล้ว เราต้องการพื้นที่แบบใหม่ตามประสาวัยรุ่นที่จะได้ใช้เวลา อยู่ร่วมกับกลุ่มเพื่อนวัยเดียวกัน ผมนึกย้อนไปสมัยทีย่ งั เป็นนักศึกษา เมือ่ ยีส่ บิ กว่าปีกอ่ น ผมไม่ค่อยเข้าเรียน มันไม่เชิงเป็นการหนีโรงเรียน เพราะ ผมออกจากบ้านทุกเช้าเพือ่ ไปมหาวิทยาลัย เพียงแต่ไม่ได้ ไปเข้าห้องเรียนอย่างที่คนรุ่นพ่อแม่ของเราจินตนาการ แต่มันคือการไปอยู่ในพื้นที่ของมหาวิทยาลัยที่มีเพื่อนฝูง รายรอบ และสภาพแวดล้อมบางอย่างที่เราชอบ แต่ละเทอมๆ พวกเราลงทะเบียนเรียนกันห้าหรือ หกวิชา สมัยนั้นค่าหน่วยกิตยังไม่แพงนัก บางทีก็เลือก เข้าเรียนแค่วิชาที่สอนเซกชันบ่าย และมีเพื่อนยกโขยง ไปเรียนพร้อมกันด้วย ส่วนวิชาที่ลงเซกชันเช้าๆ แล้วแถม ไม่มเี พือ่ นไปเข้าเรียนด้วย เราก็โดด เวลาส่วนใหญ่ในแต่ละวัน คือการใช้พื้นที่โต๊ะกลุ่ม เมื่ อ เด็ ก วั ย รุ ่ น มารวมตั ว กั น เราจะนิ ย ามพื้ น ที่ ของเราเอง พื้นที่โต๊ะกลุ่มที่มีไว้ให้นั่งพักผ่อนระหว่างรอ เรียนแต่ละคลาส พวกเราใช้มันสร้างเป็นโรงเรียนชีวิต อีกรูปแบบ หัดเล่นบอร์ดเกม หัดกีตาร์โปร่ง ประชุมเชียร์ รับน้อง ท�ากิจกรรมต่างๆ รวมถึงการเรียนรู้ทักษะสังคม

ในการพูดคุยกับเพื่อนต่างเพศ นอกจากนี้ จ�าได้วา่ มีรา้ นส้มต�าเล็กๆ โกโรโกโสตัง้ อยู่ ติดกับรั้วของมหาวิทยาลัย สมัยยี่สิบกว่าปีก่อนนั้นยังไม่มี กฎหมายห้ามไว้ และเราก็แอบลักลอบไปนั่งกินเหล้ากัน ประจ�าทุกเย็นวันศุกร์ เพื่อนรุ่นพี่รุ่นน้องจากหลากหลาย ชัน้ ปีมานัง่ ล้อมขวดเหล้าไทยราคาถูกๆ และพูดคุยกันแบบ Deep Conversation ไม่น่าเชื่อว่าวงเหล้าจะกลายเป็นห้องเรียน เราได้ เรียนรู้เรื่องราวที่จ�าเป็นต่อการเติบโตจากที่นั่น อุปนิสัย บุคลิก รสนิยม อุดมการณ์ ความฝัน และเส้นทางชีวิต ในอนาคต ก่อร่างสร้างขึน้ มาจากสถานทีอ่ บายมุขแบบนัน้ ณ ที่แห่งนั้น เราคุยกันเรื่องคุณธรรมน�้ามิตรจาก นิยายก�าลังภายใน การกดขี่ชนชั้นจากนิยายเรื่อง ร้อยหิว และ คนขี่ เ สื อ จิ ต วิ ญ ญาณคนหนุ ่ ม สาวจากหนั ง สื อ กฤษณมูรติ เรือ่ ยไปจนถึงปรัชญาความรักจากเพลงจิก๊ โก๋อกหัก ที่ดังมาจากตู้เพลงหยอดเหรียญเพลงละห้าบาท ในขณะที่ห้องเรียนจริงๆ เราแทบจะไม่ได้เข้า และ เราสามารถเอาชีวิตรอด เรียนจบออกมาแบบพอผ่านได้ ด้วยสมุดเลกเชอร์ของเพื่อนผู้หญิงที่เรียนเก่งๆ น�ามา ถ่ายเอกสารแจกกัน เอาไปนั่งอ่านนั่งติวกันในห้องสมุด เพียงแค่สองสามอาทิตย์สุดท้ายก่อนถึงวันสอบ ตึกหอสมุดกลางถูกพวกเรานิยามใหม่ ให้มนั กลายเป็น พืน้ ทีน่ งั่ ติวนัง่ อ่านหนังสือ พอตกเย็นก็รวบรวมกลุม่ แก๊งกัน ห้าหกคน เดินข้ามถนนไปจับจองโต๊ะกลางใหญ่ๆ มานั่ง ล้อมวงติวกัน ใครเรียนวิชาอะไรเก่งๆ ก็สอนเพื่อนคนอื่น เสียงดังโขมงโฉงเฉงจนบรรณารักษ์ต้องคอยเดินมาเตือน นั่นคือโคเวิร์กกิ้งสเปซที่เกิดขึ้นมาก่อนกาล ตั้งแต่ ยีส่ บิ กว่าปีกอ่ น ก่อนทีค่ า� ว่าสตาร์ทอัพ หรือดิจติ อลโนแมด หรืออะไรพวกนี้จะฮิต เรานั่งกันจนสามสี่ทุ่ม จนถึงเวลา ห้องสมุดปิดและบรรณารักษ์เดินมาไล่ เสียดายที่สมัยนั้น ยังไม่มคี าเฟ่เปิดทัง้ วันทัง้ คืนอยู่รอบมหาวิทยาลัย ให้เด็กๆ ไปนั่งสุมหัวกันแบบทุกวันนี้ พอเรียนจบออกมา ทุกคนก็แยกย้ายออกไปท�างาน ตามเส้นทางชีวิตและความฝันของตัวเอง เมื่อมองย้อน กลับไป ผมรู้สึกว่าพื้นที่ที่ก่อร่างสร้างตัวเราขึ้นมาทุกวันนี้ ไม่ใช่ห้องเรียน หลายปีทผี่ า่ นมา ผมได้รบั เชิญไปเป็นอาจารย์พเิ ศษ ในมหาวิทยาลัยหลายแห่ง ก็สังเกตว่าน้องๆ นักศึกษา

เข้าเรียนในคลาสน้อยลง อาจจะเพราะผมไม่ใช่คนที่มี ชื่ อ เสี ย งดึ ง ดู ด ให้ เ ขามานั่ ง ฟั ง และอี ก เหตุ ผ ลหนึ่ ง คื อ ในแต่ละช่วงวัย เรานิยามและใช้งานพื้นที่แตกต่างกันไป มี ก ารไปบรรยายครั้ ง หนึ่ ง นั ก ศึ ก ษามานั่ ง เรี ย น บางตาไม่ถึงครึ่งห้อง อาจารย์เสียใจและบอกว่าเห็นเด็กๆ ซ้อมละครคณะกันดึกดื่นเที่ยงคืน เพราะก�าหนดวันแสดง ใกล้เข้ามาทุกที เขากังวลอยู่แล้วว่าวันนี้จะไม่มีใครตื่นมา เรียนได้ทัน ผมบอกว่า ไม่เป็นไร สมัยเด็กๆ ผมก็ชอบโดดเรียน แบบนี้เหมือนกัน และเชื่อว่ายิ่งเวลาผ่านมายี่สิบกว่าปี คนหนุ่มสาวรุ่นนี้ยิ่งจะต้องมีนิยามพื้นที่ของตัวเองที่สลับ ซับซ้อนกว่านัน้ พวกเขาก�าลังเตรียมการแสดงละครประจ�าปี และนัน่ คือการเรียนรูท้ สี่ า� คัญ อาจจะมากกว่าบทเรียนของผม วันนี้เสียอีก พวกเขาต้ อ งการพื้ น ที่ ส� า หรั บ การเติ บ โตไปตาม วิถที างของตัวเอง มันไม่ใช่ในห้องสีเ่ หลีย่ มแบบทีท่ กุ คนนัง่ หันหน้าไปทางเดียวกันทางกระดานด�าหรือจอโปรเจกเตอร์ ผมคิดว่าเราต้องการวงกลมนัง่ ล้อมอะไรสักอย่างทีจ่ ะดึงดูด ทุกคนให้มาใช้เวลาอยูด่ ว้ ยกัน ก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ ร่วมกัน สิ่งนั้นขึ้นอยู่กับการนิยามพื้นที่ เมือ่ เราจัดวงสนทนาแบบไดอะล็อก ตีกรอบมุมห้อง ด้วยแผ่นภาพโปสเตอร์ชื่องาน ปูพื้นกลางห้องด้วยพรม ขนาดใหญ่ หาเบาะหรือหมอนสิบกว่าใบมาวางล้อมเป็น วงกลม ห้องเรียนเก่าๆ ก็ถูกนิยามใหม่ น่าแปลกใจที่ในวงสนทนาของเรา มีน้องๆ ในวัย นิสติ นักศึกษามาร่วมไม่นอ้ ย มีคนหนึง่ เรียนจิตวิทยา มากับ เพือ่ นทีเ่ รียนดุรยิ างคศิลป์ อีกคนเรียนปริญญาโทอาชญวิทยา อีกคนเพิ่งเรียนและและออกมาท�างานเอ็นจีโอได้ไม่นาน พวกเขาอยากเล่า อยากฟัง และอยากอยู่ในวงกลมของ บทสนทนา ทีค่ าดหวังว่าจะให้การเรียนรูอ้ ะไรบางอย่างแก่ ตัวเอง ผมนึกถึงโต๊ะกลุ่มในมหาวิทยาลัย นึกถึงวงเหล้า ในร้ า นส้ ม ต� า นึ ก ถึ ง หอสมุ ด กลาง และนึ ก ถึ ง พื้ น ที่ อีกมากมายหลายแห่งที่เราเคยให้นิยามกับมัน และท�าให้ มันกลายเป็นสถานที่สา� คัญและน่าจดจ�าในชีวิต


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.