02 ความหมายแห่งการเรียนรูข้ อง ผศ. ศิวะ วสุนธราภิวฒ ั ก์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
เมืองน่านในมุมมองของ ‘หนึง ่ ’ - วรพจน์ พันธุพ ์ งศ์ และ ‘ซ�าเหมา’ - ยุทธศักดิ์ นิมมาน
รวม 7 สิง ่ ห้ามพลาดของจังหวัดน่าน
BEHIND THE COVER
CONTENTS
เรือ ่ งราวชีวต ิ การกลับบ้าน การแสวงหาตัวตนของ มนุษย์เมืองน่านทัง ้ 6 คน
ภูกะลัน โฮมสเตย์ บ้านไม้แสนอบอุน ่ ใจกลางเมืองน่าน
ความหมายค�าว่า ‘บ้าน’ ของ วรพจน์ พันธุพ ์ งศ์
บทบรรณาธิการ ทัศนะต่อชีวต ิ และสังคม ผ่านสายตา วุฒช ิ ย ั กฤษณะประกรกิจ
ตอนที่ช่างภาพของเราถ่ายรูปนี้ เขาบอกว่าตั้งใจ จะออกไปถ่ายภาพพระอาทิตย์ทก ี่ า� ลังจะขึน ้ ในจังหวัด น่าน แต่เขากลับสังเกตเห็นคนน่านกับบรรยากาศ ตอนเช้า ทีพ ่ วกเขาใช้ชวี ต ิ กันอย่างสบายๆ ไม่เร่ง ไม่รบ ี เขาจึงเปลี่ยนใจมาถ่ายภาพวิถีชีวิตของคนน่านแทน พร้อมกับบอกว่าบางทีกร ็ ส ู้ ก ึ เสียดายว่า ท�าไมเราต้อง ใช้ ชี วิ ต แบบคนเมื อ งที่ เ ร่ ง รี บ อย่ า งในทุ ก วั น นี้ ด้ ว ย และรูปนี้ก็เข้ากันดีกับค�าว่า The Way Home อย่าง พอดิบพอดี
ที่ปรึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการที่ปรึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล กองบรรณาธิการ ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ พัทธมน วงษ์รัตนะ นักเขียน/ประสานงาน ตนุภัทร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ คเชนทร์ วงศ์แหลมทอง หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรม ชยุตม์ คชโกศัย สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ มิ่งขวัญ รัตนคช กองบรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ จักริน อินต๊ะวงค์ ผู้ จั ด การฝ่ า ยดิ จิ ต อลมี เ ดี ย ธนาคาร จั น ทิ ม า ผู้ ป ระสานงานฝ่ า ยดิ จิ ต อลมี เ ดี ย สิ ริ น ารถ อิ น ทะพั น ธุ์ ผู้ ช� า นาญการฝ่ า ยดิ จิ ต อลมี เ ดี ย กะรั ต เพชร บุ ญ ลั ก ษณ์ ศิ ริ ที่ ป รึ ก ษาฝ่ า ยโฆษณา ศรวณี ย์ ศิ ริ จ รรยากุ ล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ชินวัฒน์ เฟื้องฟู 09-4353-9639 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม นักศึกษาฝึกงาน ภาณุทัช โสภณอภิกุล ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อี เ มล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com, www.godaypoets.com
a day BULLETIN
DATABASE
เรื่อง : ตนุภัทร โลหะพงศธร ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ
04
ที่มา : www.parliament.go.th
(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 ประกาศใช้ 22 กรกฎาคม 2557
เ ป็ น วั น รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ เพือ ่ ระลึกถึงวันทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห ่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานรัฐธรรมนูญ ถาวรฉบั บ แรกของไทย ในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 โดยมีพระราชด�ารัส ดังนี้ “ข้ า พเจ้ า มี ค วามเต็ ม ใจ ที่จะสละอ�านาจอันเปนของ ข้ า พเจ้ า อยู่ แ ต่ เ ดิ ม ให้ แ ก่ ราษฎรโดยทัว่ ไป แต่ขา้ พเจ้า ไม่ยน ิ ยอมยกอ�านาจทัง้ หลาย ข อ ง ข้ า พ เ จ้ า ใ ห้ แ ก่ ผู้ ใ ด คณะใดโดยฉะเพาะ เพื่อใช้ อ�านาจนัน ้ โดยสิทธิขาด และ โดยไม่ ฟั ง เสี ย งอั น แท้ จ ริ ง ของประชาราษฎร”
ฉบับที่
5 เดือน 13 วัน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ โดยประกาศใช้ครัง้ แรกในปี พ.ศ. 2475 เนือ ่ งมาจากการเปลีย ่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข จวบจนปัจจุบันประเทศไทยได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญมาแล้วทั้งสิ้น 20 ฉบับ ซึง่ แสดงให้เห็นถึงความขาดเสถียรภาพทางการเมืองของประเทศ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย รวม ฉบับที่ ฉบับที่
ฉบับ
พ.ศ. 2560 ประกาศใช้ 6 เมษายน 2560
ฉบับที่
(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2475 ประกาศใช้ 27 มิถุนายน 2475
ฉบับที่
ฉบับที่
พ.ศ. 2489 ประกาศใช้ 10 พฤษภาคม 2489
พ.ศ. 2475 ประกาศใช้ 10 ธันวาคม 2475
ฉบับที่
ฉบับที่
(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2490 ประกาศใช้ 9 พฤศจิกายน 2490
ฉบับที่
ฉบับที่
พ.ศ. 2492 ประกาศใช้ 23 มกราคม 2492
ฉบับที่
พ.ศ. 2534 ประกาศใช้ 9 ธันวาคม 2534
ฉบับที่
ฉบับที่
พ.ศ. 2521 ประกาศใช้ 22 ธันวาคม 2521
พ.ศ. 2475 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495) ประกาศใช้ 8 มีนาคม 2495
ฉบับที่
ฉบับที่
พ.ศ. 2511 ประกาศใช้ 20 มิถุนายน 2511
พ.ศ. 2515 ประกาศใช้ 15 ธันวาคม 2515
ฉบับที่
ฉบับที่
พ.ศ. 2517 ประกาศใช้ 7 ตุลาคม 2517
ฉบับที่
ฉบับที่
พ.ศ. 2540 ประกาศใช้ 11 ตุลาคม 2540
พ.ศ. 2534 ประกาศใช้ 1 มีนาคม 2534
ฉบับที่
พ.ศ. 2502 ประกาศใช้ 28 มกราคม 2502
พ.ศ. 2550 ประกาศใช้ 24 สิงหาคม 2550
(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549 ประกาศใช้ 1 ตุลาคม 2549
พ.ศ. 2520 ประกาศใช้ 9 พฤศจิกายน 2520
พ.ศ. 2519 ประกาศใช้ 22 ตุลาคม 2519
5
เดือ
ัน ัน ัน ัน ัน ัน ัน 9ว วัน 8ว 3ว 8ว 2ว 2ว 4ว น2 น2 น6 น1 น2 น1 น2 น2 อ ื อ ื อ ื อ ื อ ื อ ื อ ื ดือ เ ด ด ด ด ด ด ด เ เ เ เ เ เ เ ี ี4 ี8 ี7 ี4 ี4 ี5 ี9 ปี 4 1ป 2ป 1ป 3ป 2ป 13 6ป 9ป 1ป
วัน
ือ 1 เด
8 น2
1
วัน 1
ปี 1
น เดือ
13 12
วัน ปี
วัน
น1
ดือ 2เ
8
ัน
เดือ
ว น8
5
ัน ัน วัน วัน 5ว 4ว น9 น2 วัน น1 น1 5 อ ื อ ื ดือ เ ด ด น เ เ ี 10 ี9 ี8 เดือ 8ป 6ป 2ป 11
ดือ 0เ
ปี 1
ร ะ ย ะ เ ว ล า ที่ สั้ น ที่ สุ ด ใ น การบังคับใช้รัฐธรรมนูญ คือ ฉบับที่ 1 พระราชบัญญัติ ธรรมนู ญ การปกครอง แ ผ่ น ดิ น ส ย า ม ชั่ ว ค ร า ว พุทธศักราช 2475 ประกาศ ใช้วันที่ 27 มิถุนายน 2475 ถึงวันที่ 10 ธันวาคม 2475
13 ปี 4 เดือน 29 วัน ระยะเวลาทีย ่ าวนานทีส ่ ด ุ ใน การบังคับใช้รัฐธรรมนูญ คือ ฉบับที่ 2 รัฐธรรมนูญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รสยาม พุทธศักราช 2475 ประกาศ ใช้วันที่ 10 ธันวาคม 2475 ถึ ง วั น ที่ 9 พฤษภาคม 2489
4 ปี 3 เดือน
ระยะเวลาบังคับใช้รัฐธรรมนูญ 3 น1
10 ธันวาคม
ระยะเวลาเฉลี่ ย ต่ อ การบังคับใช้ รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจักรไทย 1 ฉบับ
issue 514 17 aug 2017
a day BULLETIN
06
เรื่อง : ปริญญา ก้อนรัมย์
Superman เป็น ซูเปอร์ฮโี ร่ตวั แรกของโลก ถูกสร้างในปี 1938 โดย นักเขียน เจอร์รี ชีเกล และวาดโดย โจ ชูสเตอร์ ที่ได้รับแรงบันดาลใจ การออกแบบตัวละคร จากเทพนิยายอย่าง แซมชัน และ เฮอร์คิวลิส ซึง่ สาเหตุหลักในการเกิด ซูเปอร์แมนนั้นได้รับ อิทธิพลมาจากสภาพ ของภาวะเศรษฐกิจ ตกต�่าครั้งใหญ่ของ สังคมอเมริกา ผู้สร้าง ตั้งใจให้ซูเปอร์แมนเป็น เสมือนตัวแทนของผู้คน ในสังคมที่ต้องเผชิญกับ พวกนักธุรกิจและ นักการเมือง ที่จ้องจะเอาเปรียบ ประชาชนด้วยวิธีต่างๆ
หลายคนคงได้ดเู ทรลเลอร์ Avengers : Infififi nity War มหากาพย์ซเู ปอร์ฮโี ร่ฟอร์มยักษ์ จากค่ายมาร์เวลกันไปแล้ว ซึง่ เชือ่ ว่าแฟนบอย หลายคนคงรูส้ กึ ไฮป์รอดูภาพยนตร์แบบเต็มๆ กันแทบไม่ไหว กลั บ กั น ภาพยนตร์ ร วมซู เ ปอร์ ฮี โ ร่ อีกค่ายอย่าง Justice League ที่เปิดตัวใน อเมริกาไปได้แค่ 93.8 ล้านดอลลาร์ฯ ต�า่ ทีส่ ดุ ในบรรดาหนังในจักรวาลภาพยนตร์ของดีซี ในขณะที่ Thor : Ragnarok ทีเ่ ข้าฉายก่อนหน้า ไม่นานท�ารายได้ไปถึง 759 ล้านดอลลาร์ฯ (อัพเดตล่าสุด วันที่ 30 พฤศจิกายน 2560) เป็นค�าถามของแฟนๆ ดีซี ว่าอะไรที่ ท�าให้ภาพยนตร์จากค่ายตัวเองแป้กกว่า อีกค่ายรุนแรงขนาดนี้ ทั้งๆ ที่ย้อนไปใน ช่ ว งต้ น ปี 2000 ภาพยนตร์ ซู เ ปอร์ ฮี โ ร่ ไตรภาคของค่ายดีซีอย่าง Batman Trilogy (ที่ได้เสด็จพ่อโนแลนมาเนรมิต) ได้รับเสียง วิจารณ์และรายได้มหาศาล ขณะทีม่ าร์เวล เร่ขายลิขสิทธิ์ตัวละครหลักให้กับสตูดิโอ อื่นๆ อย่างเช่น สไปเดอร์แมน ซึ่งกระโดด ไปมาระหว่ า งค่ า ยโคลั ม เบี ย พิ ค เจอร์ ส และโซนี่พิคเจอร์ส แต่มาร์เวลได้ส่วนแบ่ง จากเค้กไปเพียงน้อยนิด จุดเปลี่ยนของค่ายมาร์เวลมาจาก โปรเจ็ ก ต์ อ ภิ ม หายั ก ษ์ ใ หญ่ ใ นการเชื่ อ ม จักรวาลฮีโร่ในค่ายตัวเอง ในชื่อ Marvel
RANKING
Cinematic Universe (MCU) และปูรากฐาน จักรวาลจากตัวละครทั้งเกรดเอและเกรดบี หลายเรื่อง Ironman (2008) The Incredible Hulk (2008), Thor (2011), Captain America : The First Avengers (2011) รวมทั้งการดึง ลิขสิทธิต์ วั ละครของตัวเองกลับมา จนสามารถ สร้างรูปแบบการรับรูใ้ ห้ตดิ ตาม เช่นการวาง อี ส เตอร์ เ อกต่ า งๆ ไว้ ใ นเรื่ อ ง ให้ แ ฟนๆ เฝ้ารอติดตามคาดเดา พร้อมกับมีเซอร์ไพรส์ ที่ ส ร้ า งวั ฒ นธรรมการนั่ ง ดู เ อนด์ เ ครดิ ต ให้ เ กิ ด ขึ้ น ก่ อ นพี ก สุ ด ๆ กั บ ภาพยนตร์ รวมฮีโร่อย่าง The Avengers (2012) ทีท่ า� สถิติ เป็นภาพยนตร์ซูเปอร์ฮีโร่ที่ท�าเงินสูงที่สุด ในโลกกว่า 1.5 พันล้านดอลลาร์ฯ จุดแตกต่างที่ชี้วัดความส�าเร็จของ ทั้งสองค่ายมาจาก 2 ประเด็นหลัก 1. ความละเอี ย ดในการเชื่ อ มโยง จักรวาล ทีผ่ า่ นมาค่ายดีซไี ม่เคยมองการรวม จักรวาลซูเปอร์ฮโี ร่ของตัวเอง และเฉลิมฉลอง ความส�าเร็จกับซูเปอร์ฮโี ร่เป็นเรือ่ งๆ เท่านัน้ (แถมจริงๆ ใช้งานได้เต็มเม็ดเต็มหน่วยแค่ Batman กับ Superman) การสตาร์ทจักรวาล ของตัวเองแบบปุบปับ ที่ใช้เวลาเพียง 4 ปี หลังเปิดจักรวาลเรื่อง Man of Steel (2013) และกระโดดสู ่ ห นั ง ใหญ่ ข องตั ว เองแบบ Justice League กลายเป็นการวิ่งหาสูตร ส�าเร็จแบบตีหัวเข้าบ้านในเวลาที่สั้นเกินไป
อั น ดั บ ภาพยนตร์ ซู เ ปอร์ ฮี โ ร่ ท� า เงิ น สู ง สุ ด ในโลก
Captain America : Civil War
The Dark Knight Rises
$890,900,000
$1,004.600,000
Iron Man 3
$1,084.900,000
Avengers : Age of Ultron
$1,153.300,000
$1,214.800,000
$1,405.400,000
11 DEC 2017
$1,518,800,000
issue 516
Marvel’s The Avengers
ท� า ให้ ภ าพยนตร์ ข องดี ซี ท� า ออกมาแบบ ประดักประเดิดมากๆ 2. ค่ายดีซีทิ้งจุดเด่นตัวเอง ในโลก ของคอมิก ข้อแตกต่างส�าคัญที่เห็นได้ชัด ของตัวละครสองจักรวาลคือมู้ดแอนด์โทน และความซับซ้อนของเนื้อเรื่อง ค่ายดีซีนั้น เป็ น ที่ ย อมรั บ ในเวอร์ ชั น คอมิ ก ว่ า ความเข้มข้นเป็นจุดเด่นหลัก ท�าให้แฟนบอยของ สองค่ายมีลักษณะความชอบแตกต่างกัน ชัดเจน ค่ายหนึ่งเอนจอยกับความเกรียน ตลกโปกฮาของ Deadpool ส่วนอีกค่าย หลงรักการด�า่ ดิง่ ไปในความดาร์กของตัวละคร อย่าง Batman แฟนๆ ดีซคี งจ�าความเจ็บปวด จากมุกตลกแบบฝืนๆ ใน Batman v Superman : Dawn of Justice (2016) อย่างไรก็ตามในธุรกิจเอนเตอร์เทนเมนต์ ทัง้ คอมิก ภาพยนตร์ หรือแม้แต่กฬี า การมี คู่แข่งที่พอฟัดพอเหวี่ยงให้เปรียบเทียบนั้น ส� า คั ญ มากๆ การนั่ ง ดู ที ม ฟุ ต บอลที่ เ ก่ ง อยู่ทีมเดียวในลีก เชื่อเถอะว่าไม่นานคนดู ก็เบื่อ การแข่งขันที่สูสีเป็นปัจจัยส�าคัญ ทีส่ ร้างสีสนั ให้วงการ หวังว่าค่ายดีซจี ะกลับ ไปหาจุดเด่น และสร้างมาตรฐานในการแข่งขัน ในแบบของตัวเองได้อีกครั้ง
www.pbs.org
ดีซีแป้ก มาร์เวลปัง เกิดอะไรขึน ้ ?
AGENDA
The Dark Knight
Spider-Man 3
TECHNOLOGY
httpsͧͿͿtechcrunch.comͿ
a day BULLETIN
08 ข่าวรอบโลกปลายสัปดาห์ ที่คุณอาจพลาดไป! HUMAN RIGHTS www.theguardian.com
SOCIETY
BUSINESS httpͧͿͿmashable.comͿ POLITICS httpsͧͿͿuk.reuters.com
www.independent.co.uk
PUBLIC HEALTH www.bmj.com
Who : มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา What : มหาวิทยาลัยชือ ่ ดังถูกกระทรวงยุตธ ิ รรมเข้าสืบสวนในข้อกล่าวหาเรือ ่ งการเลือกปฏิบต ั ิ ด้านเชื้อชาติ และไม่ปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐบาลว่าด้วยการคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษา หลังได้รบ ั ร้องเรียนจากสมาคมคนอเมริกน ั เชือ ้ สายเอเชีย 64 แห่ง ทัง ้ นีม ้ หาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ได้ ยื่ น เอกสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ตรวจสอบเมื่ อ วั น ที่ 1 ธั น วาคมที่ ผ่ า นมา เพื่ อ ใช้ ป ระกอบ การพิจารณาข้อกล่าวหาดังกล่าว
issue 516 11 DEC 2017
TECHNOLOGY
SOCIETY
BUSINESS
PUBLIC HEALTH
POLITICS
Who : Facebook What : เฟซบุ๊กเตรียมปล่อย ซอฟต์แวร์ AI มาช่วยตรวจจับ โพสต์หรือวิดโี อทีม่ เี นือ้ หาน่าสงสัย จากผู ้ โ พสต์ ที่ มี ค วามเสี่ ย งใน การฆ่าตัวตายให้ทันท่วงที โดย เมื่อสแกนพบเนื้อหาที่สุ่มเสี่ยง ระบบจะส่งช่องทางติดต่อขอรับ ความช่วยเหลือจากแหล่งต่างๆ ไปยั ง ผู ้ โ พสต์ และแจ้ ง เตื อ น ไปที่เพื่อนบางคนของเขา หรือ ในกรณี ร ้ า ยแรงก็ อ าจแจ้ ง ขอ ความช่วยเหลือจากหน่วยงาน ในท้องถิ่นทันที
Who : Dictionary.com What : เว็บไซต์พจนานุกรมออนไลน์ ประกาศให้ ‘complicit’ เป็นค�า แห่งปี 2017 ซึง่ มีสถิตกิ ารสืบค้น สูงขึน้ ถึง 300% โดยค�านีม้ คี วามหมายว่า สมรูร้ ว่ มคิด หรือมีสว่ นร่วม ในการท�าความผิด มักน�ามาใช้กบั เหตุการณ์สา� คัญๆ อย่างที่ โดนัลด์ ทรัมป์ ถูกกล่าวหาว่าสมรูร้ ว่ มคิด กับรัสเซียในการเลือกตัง้ ไปจนถึง กรณีทผี่ สู้ ร้างหนัง ฮาร์วยี ์ ไวน์สไตน์ ถูกเปิดโปงการล่วงละเมิดทางเพศ ทีค่ นในวงการเพิกเฉยจนเรือ่ งราว ล่วงเลยมาหลายสิบปี
Who : Budweiser What : บัดไวเซอร์ บริษัทเบียร์ ยั ก ษ์ ใ หญ่ ข องอเมริ ก าตั้ ง เป้ า ผลิตเบียร์บนดาวอังคาร! หลัง จั บ มื อ กั บ ศู น ย์ พั ฒ นาความก้าวหน้าวิทยาศาสตร์ในอวกาศ CASIS เพื่อน�าเมล็ดข้าวบาร์เลย์ 20 เมล็ด ขึ้นยาน SpaceX ไปส่ง ที่สถานีอวกาศนานาชาติ โดย การทดลองครัง้ นีจ้ ะทดสอบการอยู่รอดของเมล็ดพันธุ์ในสภาวะ ไร้แรงโน้มถ่วง หากส�าเร็จด้วยดี ก็จะเริ่มทดสอบอัตราการเจริญ เติบโตของบาร์เลย์ต่อไปทันที
Who : คณะวิจยั ด้านสาธารณสุข สหราชอาณาจักร What : จากการวิเคราะห์ผล การวิจัยทั่วโลกมากกว่า 218 ชิ้น พบว่า การดื่มกาแฟเป็นประจ�า มีความสัมพันธ์กับการลดระดับ ความเสีย่ งของโรคหัวใจ เบาหวาน เกาต์ ตั บ แข็ ง นิ่ ว ในถุ ง น�้ า ดี ความจ�าเสื่อม และโรคมะเร็ง บางชนิด ทัง้ นีป้ ริมาณการบริโภค กาแฟต่อวันที่ดีต่อสุขภาพมาก ที่สุดคือ 3-4 แก้ว ยกเว้นสตรี มี ค รรภ์ แ ละผู ้ ป ่ ว ยโรคกระดู ก ไม่ควรดื่ม
Who : สี จิ้นผิง ประธานาธิบดี สาธารณรัฐประชาชนจีน What : ประธานาธิบดีจีนแถลง ย�้ า ความส� า คั ญ ของโครงการ ปฏิวัติห้องน�้า โดยเริ่มตั้งแต่ปี 2015 เพื่อแก้ไขภาพลักษณ์และ พัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว รวมทั้งยกระดับคุณภาพความเป็นอยูข่ องประชาชน โดยเฉพาะ พื้นที่ชนบท ซึ่งส�านักงานการท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ชาติ ข องจี น ได้ วางแผนการสร้างและปรับปรุง ห้ อ งน�้ า สาธารณะเพิ่ ม เติ่ ม อี ก 64,000 แห่ง ภายในปี 2018-2020
ปลายยุค 50 MINI ไดสรางชื่อไววาเปนรถยนต ครอบครัวขนาดเล็กทีข่ บั ข�ง่ าย คลองตัว และเปนขวัญใจ ของใครตอใคร แตความทะเยอทะยานของ MINI ก็ ไ มไดหยุ ด อยู แคนั้ น ประกอบกั บ คํ า ทาทายจาก บางคนวา MINI ก็ ค งเปนไดแครถใชงานทั่ ว ไป ไมมีทางเปนแชมปในการแขงขันรถแขงไดหรอก แต สําหรับ John Cooper นักสร างสรรค รถแข งระดับตํานาน กลับมองว ารถ MINI นอกจากจะขับสนุกแล ว ยังสามารถอัพเกรด ความแรงของมันได อกี หลายเท าตัว เขาจึงจับมือร วมกับผู ให กาํ เนิดรถ MINI อย าง Sir Alec Issigonis และช วยกันสร างรถ MINI Cooper เพื่อลงแข งในรายการ Monte Carlo ขึ้น โดยในป 1964 รถ MINI Cooper หมายเลข 37 ก็สามารถคว าแชมป รายการนี้ ได สําเร็จ แถม MINI ยั ง ชนะการแข ง ขั น ติ ด ต อ กั น ถึ ง 4 ป ซ อนอีกด วย นั่นแสดงให เห็นถึงประสิทธิภาพและดีไซน ที่อยู คู กันเหมือนที่ MINI ก็ต องมี Cooper ต อท าย ล าสุด มินิ ประเทศไทย ก็พร อมให คุณได สัมผัสกับ The New MINI John Cooper Works Countryman ตํานานที่ถูกปลุก ให ตื่นขึ้นอีกครั้งด วยรูปลักษณ และสมรรถนะใหม ที่ยังคงความเป น MINI ไว เหมือนเดิม แต บูตความแรงด วยเครื่องยนต ทรงพลังจาก เทคโนโลยี MINI Twin Power Turbo ทีใ่ ห คณ ุ เร งความเร็วจาก 0 ถึง 100 กิโลเมตรต อชั่วโมง ได ในเวลาแค 6.5 วินาที (ทําความเร็ว ได สูงสุด 234 กิโลเมตรต อชั่วโมง) โดยการเป ดตัวครั้งนี้จัดขึ้นที่ เดอะ ลิงค อโศก-มักกะสัน โดยภายในงานนอกจากจะมีรถ MINI JCW ให แขกที่มาชมได ทดลองนั่งและสัมผัสอย างใกล ชิดแล ว ภายในงาน ยังจัดปาร ตแี้ บบมินทิ อี่ บอุน ต อนรับทุกคนด วยอาหารเครือ่ งดืม่ และ กิจกรรมต างๆ จนถึงเพลงเพราะๆ จากวงดนตรีที่สร างความสนุก ให กับผู ร วมงานอย างสมบูรณ แบบ พร อมกับขนกองทัพรถ MINI รุ นต างๆ ที่หาดูได ยากมาโชว ภายในงานด วย
ห า ก คุ ณ ส น ใ จ อ ย า ก สัมผัสกับ The New MINI John Cooper Works Countryman แบบใกลชิด เจารถคันนี้รอคุณอยู แลว ทีง่ านมอเตอร เอ็กซโป 2017 ข อมู ล เพิ่ ม เติ ม ที่ เ ฟซบุ ก หรื อ ทาง เว็ บ ไซต http://mini-th .com/jcw
a day BULLETIN
URBAN AGENDA
เรื่อง : พิมพ์อร นทกุล
10 THE VOICES คุ ณ คิ ด ว่ า จะสามารถ พัฒนาพื้นที่ริมแม่น�้า เจ้าพระยาในเชิงศิลปวัฒนธรรมได้อย่างไร
www.archdaily.com
www.wlpapers.com
“พืน้ ทีร่ มิ น�า้ เจ้าพระยามีเสน่ห์ ในตัวของมันเอง เรามีสถานที่ ที่เป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยว ทัง้ ในแง่การค้า เช่น เอเชียทีค, ล้ ง 1919 และในแง่ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมอย่ า งวั ด อรุ ณ ฯ ส่วนชุมชนริมน�า้ ถึงแม้จะท�าให้ ภูมทิ ศั น์รมิ แม่น�้าดูไม่สะอาดตาบ้าง แต่กท็ า� ให้เห็นวิถชี วี ติ ความเป็นอยู่ของชาวบ้านที่ สามารถดึ ง ดู ด ความสนใจ ของนักท่องเที่ยวได้” 01
อริสรา ฟุ้งกุศลมงคล 27 ปี, ผู้สอบบัญชี
“ท� า อะไรก็ ไ ด้ ที่ ส วยๆ แล้ ว ไม่ทา� ให้นา�้ เน่าไปกว่านี้” 02
www.cnn.com
THE PROJECT
คุณอาจจะคุน ้ เคยกับการพัฒนาพืน ้ ทีร ่ ม ิ แม่นา�้ ในประเทศแถบเอเชียอย่าง Marina Bay Sand ทีส ่ งิ คโปร์ โรงแรมขนาดยักษ์ทเี่ ต็มไปด้วยร้านอาหาร กาสิโน และทิวทัศน์เมืองที่สวยที่สุด หรือ Shanghai International Cruise สถาปัตยกรรมสุดล�า้ ริมแม่นา�้ ฮวงปูในเมืองเซีย ่ งไฮ้ แต่เราจะพาข้ามน�า้ ข้ามทะเล ไปดูการพัฒนาพืน ้ ทีร่ ม ิ แม่นา�้ ในทวีปยุโรปทีล ่ ย ี ง เมืองทางตะวันออกของประเทศ ฝรั่งเศส กับโครงการ The Orange Cube ที่ริเริ่มโดยนักออกแบบจาก Jakob+MacFarlane Architects ผูน ้ า� เอาความรูท ้ างด้านสถาปัตยกรรมและ ศิลปะมาปรับปรุงพืน ้ ทีจ่ นกลายเป็นศูนย์กลางของประชาชนในเมือง อีกทัง้ ยัง เป็นแหล่งท่องเทีย ่ วทีด ่ งึ ดูดนักเดินทางผูช้ น ื่ ชอบสถาปัตยกรรมจากทัว่ โลก
INFO
issue 516 11 DEC 2017
ผู้ออกแบบ : Jakob+MacFarlane Architects จุดเริ่มต้น : เมืองลียงนับว่าเป็นเมืองท่าส�าคัญแห่งหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส เป็นการบรรจบกันของแม่นา�้ โรนและแม่น�้า ซาโอน หลังจากที่เขตอุตสาหกรรมของเมืองซบเซามาหลายปี จนในที่สุด โดมินิค จาคอบ และ เบรนแดน แม็กฟาร์เลน เจ้าของ Jakob+MacFarlane Architects บริษทั ออกแบบจากกรุงปารีส ได้ตดั สินใจน�าเสนอโครงการพัฒนาบริเวณท่าเรือดังกล่าว เพือ่ เพิม่ ศักยภาพของพืน้ ทีท่ งั้ ในด้านธุรกิจและวัฒนธรรม ซึง่ The Orange Cube ก็เป็นหนึง่ ในนัน้ พวกเขาตัง้ ใจให้สถาปัตยกรรม แห่งนี้เป็นเหมือนสัญลักษณ์ของการปรับเปลี่ยนครั้งใหญ่ จึงเลือกใช้สีส้มซึ่งเป็นสีประจ�าของอุตสาหกรรมต่อเรือ รูปแบบ : The Orange Cube เป็นอาคาร 5 ชัน้ ประกอบไปด้วยพืน้ ทีท่ า� งานและพืน้ ทีพ่ กั ผ่อน ซึง่ แตกต่างจากอาคารรอบด้าน อย่างเห็นได้ชัดทั้งสีสันหรือลักษณะภายนอก ถ้ามองเผินๆ คงเป็นเหมือนชีสสีส้มก้อนยักษ์ แต่แท้จริงแล้วช่องและรูต่างๆ รอบตัวอาคารได้รบั การออกแบบมาโดยค�านึงถึงการรับแสง รับลม และวิวทิวทัศน์ภายนอกทีม่ องจากในอาคารมาแล้วอย่าง พิถีพิถัน ส่งผลให้เมืองลียงมีชื่อเสียงด้านสถาปัตยกรรมมากขึ้น ทั้งยังเป็นต้นแบบที่สร้างแรงบันดาลใจให้กับโครงการ สถาปัตยกรรมใหม่ๆ อีกด้วย
ปรัชญา ศักดิ์สิริสกุล 27 ปี, นักวิเคราะห์การเงิน
“ครู ป ระวั ติ ศ าสตร์ เ คยพู ด ให้ฟังว่าสิ่งใหม่ๆ มักจะได้รับ การเผยแพร่ผ่านแม่น�้า เช่น อารยธรรมและวั ฒ นธรรม เราว่าเปิดทัวร์ล่องเรือไปเลย จัดดีๆ ว้าวๆ พานักท่องเที่ยว ไปดูสถานทีใ่ หม่ๆ เพือ่ ให้เห็น อีกมุมหนึง่ ของแม่นา�้ เจ้าพระยา เห็นวิถชี วี ติ ของชุมชนริมแม่นา�้ เขาอาจจะเห็ น คุ ณ ค่ า และ ร่วมกันพัฒนาให้มันดีขึ้น” 03
ศุภกาญจน์ มหาธนกุล 27 ปี, IT Auditor
a day BULLETIN
THE CONVERSATION
What I’ve Learne เรื่อง : ปริญญา ก้อนรัมย์ ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี
issue 516 11 DEC 2017
หลายคนอาจไม่เคยฉุกคิดหรือถามตัวเองว่าความหมายของการเรียนรูค ้ อ ื อะไร เพราะทันทีที่เราพอจ�าความได้ ชีวิตก็ถูกเหวี่ยงเข้าไปอยู่ในระบบการศึกษา และไหลเวียน ไปตามขัน ้ ตอนทีบ ่ อ ่ ยครัง ้ ถูกจ�ากัดความเป็นไปได้อยูแ่ ค่ในห้องสีเ่ หลีย ่ มแคบๆ ความหมายของการเรียนรูล ้ ก ึ ซึง ้ กว่านัน ้ ผศ. ศิวะ วสุนธราภิวฒ ั ก์ อธิการบดี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ชวนเราตัง ้ ค�าถามถึงจุดนีอ ้ ยูต ่ ลอดเวลาในการสัมภาษณ์ คุณอยากเป็นอะไร? เป้าหมายในชีวต ิ มีหน้าตาแบบไหน? เคยจินตนาการถึงภาพชีวต ิ ในบัน ้ ปลาย ของตัวเองไหม? สิง่ เหล่านีค ้ อ ื ค�าถามทีท ่ า่ นอธิการบดีชวนเราฉุกคิด ก่อนทีจ่ ะบอกว่าตัวเองจะเรียนอะไร เพราะความหมายของการเรียนรูค ้ อ ื กระบวนการพัฒนาเราสูก ่ ารเป็นมนุษย์ทส ี่ มบูรณ์ และเป็นขัน ้ ตอน ทีพ ่ าเราสูเ่ ป้าหมายทีแ่ ท้จริงของตัวเอง เราหวังว่าหลังอ่านบทสัมภาษณ์ชิ้นนี้จบแล้ว คุณอาจจะกลับมาฉุกคิดและสนใจจุดเริ่มต้นที่ เรียกว่า ‘เป้าหมาย’ ของตัวเองอีกครัง ้
12
13
d
โจทย์ แ ละความท้ า ทายในการท� า งานที่ ผ่ า นมา ของคุณเป็นอย่างไรบ้าง
ตลอดการท�างาน 4 ปีที่รับต�าแหน่งอธิการบดีมา ผมเปรียบเหมือนการขับรถที่ถึงเป้าหมายที่เราตั้งไว้ครั้งแรก แล้วแหละ แต่มาถึงวันนี้ก่อนเริ่มการรับต�าแหน่งรอบที่ 2 ผมก็กลับมาทบทวน แก้ไข ปรับปรุงบางอย่างให้มีรากฐาน ทีม่ นั่ คงมากขึน้ เพราะว่าทีผ่ า่ นมาบางอย่างเราเดินมาถูกทาง แล้ว แต่บางอย่างก็ยังมีความจ�าเป็นที่ต้องเปลี่ยนแปลง เนื่องจากสถานการณ์แวดล้อมของโลกเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา เราต้องมาโฟกัสในเรื่องของโครงสร้าง ข้อบังคับ กฎระเบียบ ที่ต้องยืดหยุ่นปรับตัวได้ง่ายขึ้น ปฏิเสธไม่ได้ว่า การท�างานในยุคนีต้ อ้ งการความคล่องตัวในการท�างาน รวมทัง้ เรื่องของบุคลากรที่ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พูดรวมๆ คือ การปรับปรุงพืน้ ฐาน ในปีทผี่ า่ นมาผมทบทวนทุกวันว่าพวกเรา ท�าอะไรกันไปบ้าง และทัง้ หมดนัน้ ส�าเร็จผลไหม เพราะการท�างาน ทุกๆ เรือ่ งต้องมีกรอบของเวลา ไม่ใช่วา่ ท�าไปเรือ่ ยๆ แต่ตอ้ ง รู้ว่างานชิ้นนี้อีกกี่เดือนเสร็จ หรือว่าใช้เวลานานเท่าไหร่ การติดตามและประเมินผลเป็นขั้นตอนส�าคัญที่เกี่ยวเนื่อง กับการวางโครงสร้างการท�างาน และการสร้างแรงจูงใจ ให้ทุกคนในองค์กรเดินไปในเป้าหมายเดียวกัน
เป้าหมายตัง้ แต่วน ั แรกจนถึงวันนีม ้ ส ี งิ่ ไหนเปลีย ่ นไป บ้างไหม
4 ปีที่ผ่านมา เราเปลี่ยนไปหลายอย่าง ตั้งแต่เรื่อง กายภาพ และเรื่องระบบภายใน คือต้องเข้าใจก่อนว่า คนท�างานด้านการศึกษาต้องมีความเข้าใจสิง่ แวดล้อมรอบข้าง และอีกอย่างคือต้องมีอดุ มการณ์ เราต้องทราบถึงบริบทของ ตัวเองว่าเราอยู่ตรงไหน การศึกษา หรือสถาบันการศึกษา เป็นสถานทีผ่ ลิตทรัพยากรมนุษย์ ซึง่ ทรัพยากรมนุษย์เป็นสิง่ ทีม่ ี คุณค่าทีส่ ดุ ส�าหรับอนาคต ผมเลยจะให้ความส�าคัญเรือ่ งคน มากที่สุด งานต่างๆ ไม่ได้ออกมาเพราะว่าผมท�าคนเดียว แต่มาจากทีมงาน มาจากนักศึกษาทุกคน เราต่างคนต่างท�า หน้าที่ สิ่งที่ผมยึดเหนี่ยวมากที่สุดคือท�าอย่างไรให้บัณฑิต ทีจ่ บจากเราไปแล้วจะต้องมีงานท�า ถ้าผมผลิตบัณฑิตออกไป แล้วไม่มีงานท�า ถือว่าล้มเหลวในการท�างานด้านการศึกษา ซึ่ง เงื่ อ นไขที่ จ ะท� า ให้ ไ ปถึง จุ ด นั้น คือ การให้ เ ขาได้ เ รีย นรู ้ ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
หมายความว่าอย่างไร ‘มนุษย์ทส ี่ มบูรณ์’
issue 516 11 DEC 2017
ในความคิ ด ผม มนุ ษ ย์ จ ะสมบู ร ณ์ ไ ด้ ต ้ อ งพั ฒ นา 4 ด้าน ข้อ 1 พัฒนาทางกาย เรื่องสุขภาพ ความแข็งแรง สิง่ เหล่านีเ้ กีย่ วเนือ่ งไปถึงเรือ่ งการกิน การใช้ชวี ติ ความเป็นอยู่ ซึ่งทั้งหมดจะสะท้อนออกมาที่บุคลิกภาพของแต่ละคน ข้อ 2 พัฒนาทางด้านจิตใจ เราต้องช่วยให้นักศึกษา พัฒนาตัวตนจากภายใน ท�าอย่างไรให้เขามีสิ่งที่เรียกว่า Empathy มีความเอือ้ อาทร อ่อนน้อมถ่อมตน มีระเบียบวินยั ความเสียสละ ข้อ 3 พัฒนาทางด้านสังคม คือการท�าอย่างไรให้เขา สามารถใช้ชวี ติ กับคนอืน่ ในสังคมได้อย่างมีคณ ุ ภาพ ไม่เกีย่ วกับ เกรด ความเก่ง จากข้อ 1-3 บางคนอาจมองไม่ออกว่าส�าคัญ อย่างไร แต่ทกั ษะพวกนีม้ คี วามจ�าเป็นต่อการออกไปใช้ชวี ติ ในสังคมภายนอกอย่างมาก นีเ่ ป็นทักษะทีจ่ ะท�าให้เขาอยูใ่ น อนาคตได้ ส่วนข้อ 4 คือการพัฒนาทางด้านสติปัญญา แน่นอน เราท�าสิ่งนี้อย่างเต็มที่ในหลักสูตรการเรียนของเราอยู่แล้ว ลองสังเกตดูว่า 3 ข้อแรกเป็นสิง่ ทีเ่ กีย่ วกับ EQ ซึง่ เป็น ทักษะด้านอารมณ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่สังคมไทยขาดอย่างมาก เรามั ว แต่ ไ ปพั ฒ นาเรื่ อ ง IQ เป้ า หมายของผมคื อ เน้ น การพัฒนา 3 ข้อแรกให้มากขึ้น โดยผ่านการท�าในหลายมิติ ทั้งกิจกรรม อบรมสัมมนา แต่หลักๆ คือการเปิดโอกาส ให้เขาลงมือท�านอกห้องเรียนจริงๆ ซึ่งการศึกษาและพัฒนา ไปสูก่ ารเป็นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์นนั้ ต้องท�าทัง้ 4 ข้อนีไ้ ปพร้อมๆ กัน
“คุณต้องศึกษาว่าธรรมชาติของสิ่งต่างๆ เป็นอย่างไร คน แมว หมา ทุกอย่างสัมพันธ์กับเราอย่างไร เพราะว่าเมื่อไหร่ ที่คุณฝืนธรรมชาติ คุณจะทุกข์”
a day BULLETIN
14
15 ความหมายของการพัฒนาเราท�าในเชิงกายภาพ อย่างเดียวพอไหม สร้างตึกสูงๆ ซือ ้ อุปกรณ์ดๆ ี
ไม่พอ คนเรามีสองส่วนคือ จิตกับกาย เราจะโฟกัส การพัฒนาแค่ด้านใดด้านหนึ่งไม่ได้ จะท�าอย่างไรให้คน จิตใจดีและมีรา่ งกายแข็งแรง การพัฒนาในเชิงกายภาพ เป็นแค่องค์ประกอบหนึ่งเท่านั้นเอง เพราะไม่มีอะไร เหนือไปกว่าค�าว่า คนทีส่ มบูรณ์ เราต้องพัฒนาในทุกๆ ด้าน และสิง่ ใหม่ๆ ในเชิงกายภาพก็เกิดได้เพราะคน เทคโนโลยี เกิดได้ก็เพราะคน จริงไหม เพราะฉะนั้น ส� าหรับผม มนุ ษ ย์ ส� า คั ญ ที่ สุ ด และคนมี ทั้ ง จิ ต และกาย เราห้ า ม ความคิด ห้ามความรู้สึกเขาไม่ได้ แต่เราช่วยให้เขา ค่อยๆ พัฒนาได้ เราจะท�าอย่างไรให้เขาเข้าใจและเป็น คนดี อันนี้เราต้องช่วยกันคิด และผมก็ไม่เชื่อในค�าว่า The Best แต่สิ่งที่ผมเชื่อ คือค�าว่า The Better หน้าที่ของเราคือช่วยให้นักศึกษา พัฒนาตัวเองให้ดขี นึ้ ยกตัวอย่างการตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาภายใน ปีทแี่ ล้วมหาวิทยาลัยอาจจะอยูอ่ นั ดับ ที่ 4 แต่ปีนี้เราขึ้นมาเป็นอันดับ 2 คือดีขึ้นแต่ไม่ต้อง ดีทสี่ ดุ นะ ไม่ได้แปลว่าเราต้องเป็นอันดับหนึง่ เพราะเมือ่ คุณ The Better ไปเรื่อยๆ สุดท้ายคุณก็จะ The Best เอง เราแค่ต้องเข้าใจตรงนี้
การท�างานทีย ่ ากทีส ่ ด ุ ด้านการศึกษาคืออะไร
การเปลีย่ นแอตติจดู ของคน ยกตัวอย่างแค่เปลีย่ น ให้คนเกลียดภาษาอังกฤษอยากจะเริ่มเรียนก็ยากแล้ว แต่นั่นเป็นหน้าที่ของเราที่ต้องกระตุ้น จูงใจ และค่อยๆ สร้างความเปลี่ยนแปลงต่อการมองเรื่องการศึกษาของ พวกเขา รวมทัง้ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆ ให้พร้อม เช่น ระบบ Self-learning ที่เรามีเทคโนโลยีที่จัดเอาไว้ ให้ ห มดส� า หรั บ การเรี ย นรู ้ ด ้ ว ยตั ว เอง เพราะเดี๋ ย วนี้ รู ป แบบของการเรี ย นการสอนหรื อ การเป็ น อาจารย์ ไม่ได้หมายความว่าต้องมาในรูปแบบการบรรยายตลอด เราสามารถมีวธิ กี ารเรียนรูใ้ หม่ๆ อย่างการมอบหมายงาน หรื อ การโค้ ช ชิ ง ให้ นั ก ศึ ก ษารู ้ จั ก วิ ธี เ รี ย นด้ ว ยตนเอง มันเป็นไปไม่ได้เลยที่เรียนในมหาวิทยาลัย 4 ปี แล้ว จะให้เขาได้รู้ทุกอย่าง แต่เราจะท�าอย่างไรให้นักศึกษา เข้าใจความหมายของการเรียนรู้ สามารถค้นหาแหล่ง ข้อมูล สามารถใช้เทคโนโลยีเป็น และให้เขาค้นคว้า เรียนรู้ด้วยตัวเองได้
อย่างนัน ้ หน้าทีข่ องมหาวิทยาลัยทุกวันนีค ้ อ ื อะไร
คือพืน้ ทีท่ เี่ ปิดโอกาสให้คนทีอ่ ยากเรียนรู้ ได้พฒ ั นา ตัวเอง และออกไปใช้ชวี ติ ในโลกภายนอกได้ อย่างทีส่ อง มหาวิทยาลัยต้องช่วยสังคม เราไม่ได้พูดถึงเฉพาะคนที่ เข้ามาเรียนในมหาวิทยาลัย แต่ส� าหรับคนภายนอก เราก็พร้อมทีจ่ ะช่วยเหลือผ่านโครงการต่างๆ ซึง่ เราท�าอยู่ สม�า่ เสมอ มหาวิทยาลัยนัน้ ต้องเกีย่ วโยงกับสังคมภายนอก อยู่แล้ว นี่เป็นสิ่งที่เรามองข้ามไม่ได้ และควรพัฒนา ผมอยากอธิบายถึงความหมายของการเรียนรู้ หน่อย การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ท�าให้เราพัฒนา และพร้อมในการออกไปอยู่ในสังคม ขั้นตอนการใช้ชีวิต ในแต่ละก้าวเกิดมาจากการเรียนรู้ แต่การเรียนรู้ไม่ได้ จ�าเป็นต้องมาจากการเข้าเรียนในสถาบันการศึกษา อย่างเดียวเท่านั้น แต่เราเรียนจากการอ่าน การฟัง การสนทนา การเห็น การคิดก็ได้ และเราเรียนรู้ได้ ตลอดชีวิต แต่สิ่งที่ส�าคัญที่สุดก่อนกระบวนการเรียน คืออะไรรู้ไหม สิ่งส�าคัญที่สุดคือคุณต้องมีเป้าหมาย พอคุ ณ มี เ ป้ า หมายแล้ ว ถึ ง จะเกิ ด การวางแผน เกิ ด กระบวนการลงมือท�า มหาวิทยาลัยเองก็ตอ้ งมีวสิ ยั ทัศน์ ก่อน แล้วถึงจะมีพันธกิจ เพราะถ้าเรามีพันธกิจก่อน แต่ไม่ได้วางแผนว่าสิ่งที่ท�าจะไปเสริมเป้าหมายของเรา อย่างไร ก็คงไม่ได้ หรือยกตัวอย่างใกล้ๆ ถ้านักศึกษา บอกว่าอยากเรียนจบภายใน 4 ปี แต่วา่ ไปเขียนพันธกิจ ของตัวเองว่าต้องเทีย่ วผับทุกคืน เป้าหมายที่วางไว้ก็คง เป็นไปไม่ได้ มนุษย์ต้องมีเป้าหมายและค้นหาป้าย บอกทางที่ถูกต้อง จากนั้นเราต้องเอาชนะตัวเองให้ได้
เราตัง้ ค�าถามว่าเราเรียนไปเพือ่ อะไรอาจจะไม่ถกู เราต้อง ตัง้ ค�าถามว่าเป้าหมายคืออะไร และให้กระบวนการเรียน รู้เป็นขั้นตอนพาไปถึงจุดนั้น เด็ ก รุ่ น ใหม่ ค วรเรี ย นรู้ อ ะไรเพื่ อ ที่ จ ะใช้ ชี วิ ต ในอนาคต
ผมอยากพูดให้ฟังถึงวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย ของเราในการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งสังคมการประกอบการ (SMART Entrepreneur) เราอยากจะเป็นผู้นา� ของสังคม การประกอบการ และอยากพัฒนาเด็กนักศึกษาเพือ่ ออก ไปอยู่ในสังคม มี 2 มิติส�าคัญที่เราตั้งเป้าหมายไว้ มิติที่ 1 คือเราอยากให้เด็กของเราท�าธุรกิจของ ตัวเอง อาจจะเป็นธุรกิจ SME เล็กๆ น้อยๆ ไม่อยากให้ เป็นมนุษย์เงินเดือนหรือลูกจ้างอย่างเดียว เพื่อที่เขาจะ สามารถหาเป้าหมายของตัวเอง และเดินไปในทิศทางนัน้ ได้ และถ้าเขาเป็นนักธุรกิจ เขาควรเป็นนักธุรกิจทีม่ คี ณ ุ ธรรม มีจริยธรรม มีทักษะความสามารถ เราก็พยายามสอน และดีไซน์หลักสูตรให้เขาเข้าใจสิ่งเหล่านี้ มิติที่ 2 ถ้าเขามีข้อจ�ากัด หรือเลือกแล้วว่าจะ ไปเป็นพนักงานหรือเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร เราก็ต้อง พัฒนาให้เขาเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ เป็นที่ พึ ง พอใจของนายจ้ า ง มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ องค์ ก ร ในค�านิยามมิชชันมหาวิทยาลัยของเราเลยมีค�าว่า Smart อยู่ในนั้นด้วย มิติของค�านี้ความหมายคือคนที่สมบูรณ์ อย่างที่ผมพูดไปข้างต้น
อยากรู้ว่ามหาวิทยาลัยจะวิ่งตามโลกอย่างไร ให้ทน ั เพราะปีๆ หนึง่ ผ่านไปก็จะมีเทคโนโลยีใหม่ๆ มาเปลีย ่ นแปลงวิธก ี ารท�าธุรกิจแบบเก่าๆ แล้ว
ผมให้ความส�าคัญกับนักศึกษาและบุคลากรเป็น อันดับแรก ทั้งสองส่วนนี้เราต้องมุ่งพัฒนาให้มากที่สุด และต้องการแข่งขัน โลกเปลีย่ นแปลงไปเร็วมาก เราต้อง ตามให้ทัน เพราะฉะนั้น การท�าทุกอย่างต้องท�าเป็น เชิงรุก ต้องมีการประเมินผล วิเคราะห์ให้ได้ว่าเราจะ เดิ น ไปในรู ป แบบเดิ ม ไหม หรื อ ว่ า ต้ อ งเปลี่ ย นแปลง สิ่งส�าคัญคือต้องเข้าใจบริบทที่ตัวเองอยู่ตลอด คือถ้าให้เปรียบเทียบ มหาวิทยาลัยก็เป็นเหมือน รถยนต์ และผมเป็นคนขับ บริบทรอบข้างที่เราเคลื่อน ผ่านไปเปลี่ยนไปตลอดเวลา แต่ผมเป็นคนขับที่ต้องพา รถคันนี้ไปให้ได้ ถ้าไปได้ไม่มั่นคง มันบ่งชี้ว่าตัวเราเอง บริหารไม่ได้เรือ่ ง แต่ถามว่าถ้ารถยนต์คนั นีจ้ ะพุง่ ไปข้างหน้า ได้ นั่นไม่ได้เป็นผลงานของอธิการอย่างผมคนเดียว แต่มันมาจากฟันเฟืองของทุกคน อย่างหนึ่งที่ผมคิด และท�าอยู่เสมอ คือการเปิดโอกาสเปิดพื้นที่ให้คนเก่งๆ ท�างาน เพราะว่าเราไม่สามารถท�าทุกอย่างด้วยตัวเอง ข้อดีอย่างหนึ่งของผมคือ ผมชอบฟังคนอื่นแล้วก็คิด ดีผมก็ท�า หน้าที่ของเราคือสร้างพื้นที่ที่รวมคนเก่งๆ เอาไว้ และเราก็ต้องพัฒนาตัวเองไปเรื่อยๆ
เมือ ่ กีท ้ เี่ ราคุยกันเล่นๆ คุณพูดว่าคนทีท ่ า� งานด้าน การศึกษา ไม่สามารถใช้วิธีคิดแบบท�าธุรกิจได้ สิง่ นีห ้ มายความว่าอย่างไร
ถ้าคุณคิดว่าการศึกษาเป็นสิ่งที่มีแค่กา� ไรขาดทุน หรือใช้วธิ คี ดิ แบบการท�าธุรกิจมายุง่ กับการบริหารศึกษา มันเป็นไปไม่ได้ เราไม่สามารถคิดว่าเราลงทุนไปเท่านี้ แล้วจะได้กา� ไรคืนมาเท่านี้ โอเค ในแง่ธรุ กิจเราต้องท�าให้ มหาวิทยาลัยเดินต่อไปได้ จะท�าให้ขาดทุนก็คงไม่ไหว ผมเปรี ย บมหาวิ ท ยาลั ย เป็ น เหมื อ นครอบครั ว หนึ่ ง ถ้าครอบครัวของเราจน จะท�าอะไรก็คงล�าบาก ถ้าไม่มี รายได้ก็เจ๊ง เราต้องบาลานซ์จุดนี้ ท�าให้มหาวิทยาลัย เดินหน้าต่อไปได้ แต่การท�าก�าไรสูงสุดนัน่ ไม่ใช่เป้าหมาย เป้าหมายของเราคือการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ คิ ด ว่ า สิ่ ง ที่ ร ะบบการศึ ก ษาไทยต้ อ งการที่ สุ ด เวลานีค ้ อ ื อะไร
เราควรที่จะมี Master Plan ไม่ใช่ต่างคนต่างท�า
เพราะสุ ด ท้ า ยเราต่ อ กั น ไม่ ติ ด ที่ ผ มพู ด นี่ ห มายถึ ง ระบบการศึกษาตั้งแต่อนุบาล ประถม มัธยม มาจนถึง มหาวิทยาลัยเลยนะ แล้วเราก็ตอ้ งกลับมาดูวา่ ประเทศไทย กับตะวันตกมีทุกอย่างเหมือนกันไหม เราเป็นสังคม อุตสาหกรรมเต็มรูปแบบหรือเปล่า หรือว่าเราเป็นสังคม เกษตรกรรม จะได้ ว างแผนพั ฒ นากั น ได้ ถู ก จุ ด แต่ปัจจุบันเราเน้นแต่คุณวุฒิ ต่างคนต่างท�า แล้วจะไป คาดหวั ง ให้ ต ่ อ กั น ติ ด ได้ อ ย่ า งไร อั น นั้ น คื อ การแก้ ในอุดมคติของผมนะ แต่กลับมาวันนี้ สิ่งที่เราท�าได้คือ ท�าสิง่ ทีเ่ ราท�าอยูใ่ ห้ดที สี่ ดุ วางระบบโครงสร้าง เปิดโอกาส ใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นในพื้นที่ของเราก่อน ตลอดเวลาทีผ ่ า่ นมา คุณออกแบบชีวต ิ และวิธค ี ด ิ ในการมองโลกอย่างไร
สิ่งที่ผมยึดเป็นแนวทางในการด�าเนินชีวิตมีอยู่ 3 อย่าง หนึง่ เรือ่ งธรรมชาติ คนต้องอยูด่ ว้ ยธรรมชาติ เช่น เกิด แก่ เจ็บ ตาย ถึงเวลาเราก็ต้องไป คุณต้องศึกษาว่า ธรรมชาติของสิ่งต่างๆ เป็นอย่างไร คน แมว หมา ทุกอย่างสัมพันธ์กับเราอย่างไร เพราะว่าเมื่อไหร่ที่คุณ ฝืนธรรมชาติ คุณจะทุกข์ ถ้าฝนตกคุณไม่กางร่ม ใช้ชีวติ ไปแบบเปียกๆ เดี๋ยวคุณก็ป่วย หิวคุณบอกว่าไม่กินเว้ย คุณจะอยู่ได้ไหม เราต้องเรียนรู้ที่จะอยู่กับมัน สอง ธรรมะ เราก็ต้องศึกษาหลักการใช้ชีวิตบ้าง ความดีความชัว่ เป็นอย่างไร เรียนรูม้ นั แล้วจะรูว้ า่ ธรรมะ จริงๆ ไม่ใช่การตักบาตรท�าบุญ แต่เป็นหลักปฏิบตั ใิ นชีวติ เราแค่ต้องศึกษาหน่อย สาม ความพอเพียง แนวคิดจากในหลวง รัชกาล ที่ 9 นี่ส�าคัญที่สุด ถ้าทุกคนรู้จักความพอเพียง เราก็ ไม่ตอ้ งไปแก่งแย่งกัน แต่เราต้องเข้าใจความพอเพียงก่อน เพราะค�านี้ของแต่ละคนไม่เหมือนกัน คนหนึ่งมีสิบบาท บอกว่าพอ อีกคนบอกมีร้อยบาทบอกพอ แล้วก็ไม่ต้อง ไปเปรียบเทียบกับคนอื่น ไม่ใช่คนอื่นมีพันหนึ่งเราอยาก จะมีพันด้วย
ถ้ า มี เ ด็ ก รุ่ น ใหม่ ที่ ไ ด้ ม าอ่ า นบทสั ม ภาษณ์ นี้ อยากให้เขาเตรียมตัวเรียนรูก ้ บ ั ชีวต ิ อย่างไร
เราพยายามท�าให้เขาเข้าใจแอตติจูดในการเรียน ซึ่งเป็นสิ่งที่ยากสุด ท�าให้เขารู้ก่อนว่าตัวเองอยากเป็น อะไรในบัน้ ปลายชีวติ แล้วถ้าตัง้ เป้าหมายแล้ว อะไรทีจ่ า� เป็น ต้องเรียนรู้ต่อชีวิต คืออยากให้เขาถามตัวเองหน่อย นี่คือสิ่งที่ดีที่สุดที่เราท�าให้เขาได้นะ เพราะเราไม่ได้เป็น คนที่สามารถออกแบบ หรือก�าหนดชีวิตเขาได้ทั้งหมด เราท�าในส่วนที่เราท�าได้
การเรี ย นรู้ เ พื่ อ ที่ จ ะเป็ น มนุ ษ ย์ ที่ ส มบู ร ณ์ ส�าคัญกับเราอย่างไร
จริงๆ ผมว่าเป้าหมายของชีวิตเราแทบทุกคน คือความสุขนั่นแหละ การพัฒนาตัวเองให้เป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ที่ว่าก็คือการมีชีวิตที่ดีทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และอยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคมได้ ทั้งหมดสุดท้ายมันก็ ท�าให้เราเจอกับความสุขนะ อยูแ่ ล้วสบายใจ อยูแ่ ล้วสนุก ชีวิตเราต้องการแค่นี้เอง แต่ทั้งนี้มันก็ขึ้นอยู่กับแนวคิด ของแต่ละคน อาจจะใช้มมุ มองแบบนีต้ อบทุกอย่างไม่ได้ บางคนบอกไม่ใช่ ไม่ผิด เพราะคนเราคิดไม่เหมือนกัน แต่ผมแค่อยากให้ถามตัวเองหน่อยเถอะว่าอยากเป็น อะไร เป้าหมายคืออะไร เท่านั้นเอง เราไม่ควรไปว่าใคร ไม่ควรไปต�าหนิใคร คุณนัน่ แหละทีต่ อ้ งหา สถานะคนเรา ต่างกัน ท�าให้มีเป้าหมายในชีวิตต่างกัน วิธีการวิ่งสู่ เป้าหมายก็ต่างกัน การศึกษามันเป็นแค่เครื่องมือที่เปิด โอกาสให้คุณลองหาค�าตอบเท่านั้นเอง
a day BULLETIN
?
What Is The Purpose Of Education พูดคุยกับ 9 รองอธิการบดี บุ ค คลผู้ อ ยู่ เ บื้ อ งหลั ง การขั บ เคลื่ อ นสถาบั น การศึ ก ษา แห่ ง นี้ ใ ห้ เ ดิ น หน้ า ฝ่ า กระแส ความเปลี่ยนแปลงของสังคม ที่รวดเร็วในทุกวันนี้
16
01
02
“ในโลกปัจจุบน ั เราต้องเตรียมเยาวชนให้พร้อม กับการผันแปรของสภาพเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้เขามีความพร้อมที่สุด การคิดเป็นและ ท� า เป็ น นี่ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ส� า คั ญ ต่ อ การด� า รงชี วิ ต มากทีส ่ ด ุ ”
“การศึกษาคือความเจริญงอกงาม เปรียบเสมือน ต้ น ไม้ กว่ า ต้ น ไม้ จ ะเจริ ญ งอกงามได้ ต้ อ งมี ก ร ะ บ ว น ก า ร ต่ า ง ๆ ที่ จ ะ ท� า ใ ห้ ต้ น ไ ม้ ต้ น นี้ เจริญเติบโต มัง ่ คง แข็งแรง และสวยงาม”
อาจารย์วช ั รี จิวาลักษณ์ รองอธิการบดี
รศ. ดร. อุดมวิทย์ ไชยสกุลเกียรติ รองอธิการบดี
06
07
issue 516 11 DEC 2017
“กระแสโลกาภิวต ั น์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเข้าสูย ่ ค ุ ดิจต ิ อล ท�าให้มหาวิทยาลัย จ�าเป็นต้องปรับระบบการศึกษาให้เหมาะสมกับผูเ้ รียน โดยมุง่ เน้นให้นก ั ศึกษา เรี ย นรู้ ใ นลั ก ษณะของยุ ค ฐานแห่ ง เทคโนโลยี (Technology Based Paradigm) และการส่งเสริมการเรียนรูด ้ ว้ ยตนเอง (Self-Management Skills) เป็นเป้าหมายส�าคัญ”
“เป้ า หมายของการเรี ย นเราต้ อ งพั ฒ นาตนเองให้ มี ค วามรอบรู้ มีปญ ั ญา มีความนึกคิดอย่างมีความสุข เพือ ่ สร้างคุณค่าแก่ตวั เรา เอง ในการน�าความรูท ้ ม ี่ ไี ปพัฒนาสังคมและประเทศชาติ และอยูบ ่ น พืน ้ ฐานของความเป็นคนดี มีจต ิ สาธารณะ เพือ ่ ความเจริญรุง ่ เรือง ของประเทศชาติ”
ผศ. จุฬาลักษณ์ ไพบูลย์ฟงุ้ เฟือ ่ ง รองอธิการบดี
อาจารย์ประพัฒน์ สีใส รองอธิการบดี
17
03
04
05
“ความเปลี่ ย นแปลงของเทคโนโลยี แ ละองค์ ความรูใ้ หม่ รวมถึงสภาพสังคมและโครงสร้าง ประชากร ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ความต้ อ งการ ในการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย”
“การศึกษาเป็นความจ�าเป็นที่ส�าคัญของชีวิต เป็นปัจจัยที่จะช่วยแก้ปัญหาทุกๆ ด้านของชีวิต และเป็ น ปั จ จั ย ที่ ส� า คั ญ ที่ สุ ด ของชี วิ ต ในโลก ทีม ่ ก ี ระแสความเปลีย ่ นแปลงแบบนี”้
“การศึกษาในชีวต ิ จริง หากเราตัง ้ ใจทีจ่ ะเก็บเกีย ่ ว ความรู้เพียงอย่างเดียวนั้นคงจะท�าให้เราขาด ประสบการณ์ เราจึงควรตั้งใจศึกษาหาความรู้ ควบคู่ไปกับการท�ากิจกรรม เพื่อให้เกิดทักษะ ทางด้านความคิด การวางแผน การบูรณาการ องค์ความรูท ้ ม ี่ อ ี ยูม ่ าประยุกต์ใช้กบ ั สถานการณ์ แห่งความเป็นจริง”
ผศ. ดร. กฤชกนก สุทศ ั น์ ณ อยุธยา รองอธิการบดี
อาจารย์ศรินรัตน์ อัครยิง่ ศุภรัฐ รองอธิการบดี
ผศ. นภาพร นาคทิม รองอธิการบดี
09
08
“ในบรรดาทรัพยากรทัง ้ หมด มนุษย์จด ั เป็นทรัพยากรทีม ่ ค ี ณ ุ ค่ามากทีส ่ ด ุ เนือ ่ งจากสามารถสร้างมูลค่าเพิม ่ ได้ดว้ ยตนเอง มนุษย์เป็นผูส ้ ร้าง ผูพ ้ ฒ ั นา และสร้างสรรค์สง ิ่ ต่าง ๆ สูส ่ ง ั คม ความท้าทายคือ เราจะพัฒนาหลักสูตร ให้รองรับการเปลีย ่ นแปลงของโลกเพือ ่ นักศึกษาได้อย่างไร”
“เป้ า หมายสู ง สุ ด ของการศึ ก ษาในมุ ม มองของผมคื อ การสร้ า งคนดี มีคณ ุ ธรรม มีความรูค ้ วามสามารถเพียงพอทีจ่ ะพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าไปในวิถีทางที่เหมาะสม”
ผศ. รุจี พาสุกรี รองอธิการบดี
ผศ. ดร. อาคีรา ราชเวียง รองอธิการบดี
a day BULLETIN
BULLETIN BOARD
18
เวอร์จิ้น แอ็คทีฟเตรียมเปิดคลับใหม่ใจกลาง กรุงเทพฯ เน้นคลาสออกก�าลังกายแบบกลุม ่ เวอร์จิ้น แอ็คทีฟสร้างความสั่นสะเทือนให้วงการฟิตเนส และปฏิวตั ปิ ระสบการณ์ใหม่แห่งการออกก�าลังกาย กับการเปิดตัว คลับสาขาที่ 6 ในกรุงเทพฯ ซึ่งตั้งอยู่บนถนนวิทยุ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคมทีผ่ า่ นมา นับว่าเป็นบูทคี สตูดโิ อของเวอร์จนิ้ แอ็คทีฟ แห่งแรกในไทยที่มีโปรแกรมออกก�าลังกายที่หลากหลายภายใต้ การดูแลของผูฝ้ กึ สอนระดับมืออาชีพ และเพือ่ ตอกย�า้ ความเป็น ผู้นา� ของแบรนด์ด้านโปรแกรมออกก�าลังกายแบบกลุ่มที่จะสร้าง ความสนุกสนานในการเข้าฟิตเนส จึงได้เปิดตัว H.E.A.T (High Energy Athletic Training) ครัง้ แรกในเอเชียแปซิฟกิ ซึง่ เป็นโปรแกรม การออกก�าลังกายแบบ high-performance training ทีจ่ ะมาท้าทาย ความแข็งแกร่งของหัวใจ ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้แก่ สมาชิกเวอร์จนิ้ แอ็คทีฟ ถนนวิทยุ ตัง้ อยูท่ อี่ าคาร 208 ถนนวิทยุ ห่างจากสถานีรถไฟฟ้าเพลินจิตเพียง 10 นาที เปิดให้บริการทุกวัน พิเศษ ฟรีคา่ ธรรมเนียมแรกเข้าเมือ่ สมัครสมาชิกประเภท 12 เดือน และสามารถใช้บริการเวอร์จนิ้ แอ็คทีฟ ได้ทกุ สาขา รายละเอียด เพิ่มเติม www.virginactive.co.th หรือ www.facebook.com/ virginactivethailand
ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี ร า ช ม ง ค ล รั ต น โ ก สิ น ท ร์ จัดพิธีโปรดเกล้าฯ ต�าแหน่ง อธิการบดี
issue 516 11 SEP 2017
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รั ต นโกสิ น ทร์ จั ด พิ ธี รั บ สนองพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตัง้ ผูช้ ว่ ยศาตราจารย์ศวิ ะ วสุนธราภิวฒ ั ก์ ด�ารงต�าแหน่งอธิการบดีอกี วาระ หนึง่ โดยในพิธมี ี พลเอกจรัล กุลละวณิชย์ นายกสภามหาวิทยาลัย เป็นผู้อันเชิญ ประกาศส� า นั ก นายกรั ฐ มนตรี เ รื่ อ ง แต่ ง ตั้ ง อธิ ก ารบดี วางที่ โ ต๊ ะ หมู ่ ห น้ า พระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ภายในงานมีคณะผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา และแขกผู้มีเกียรติ ร่ ว มมอบช่ อ ดอกไม้ แ สดงความยิ น ดี ณ ห้องประชุมคชาธาร
‘Chang Music Connection Presents นั่งเล่น Music Festival 3’
Toys “R” Us the Ultimate Guide to Play ต้ อ นรั บ เทศกาลแห่งการเฉลิมฉลอง
Stylenanda Pink Hotel Bangkok เปิดตัวครั้งแรก ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
กลั บ มาเป็ น ครั้ ง ที่ 3 ในธี ม ‘เกร๋กันใหญ่’ กับเทศกาลดนตรีและ ไลฟ์ ส ไตล์ ส�า หรั บ ทุ ก เพศทุ ก วั ย อย่ า ง Chang Music Connection Presents นั่งเล่น Music Festival 3 ที่จะชวนคุณ ไปรับลมหนาวช่วงต้นปี พร้อมไลน์อัพ ศิลปินที่การันตีความสนุกแบบทวีคูณ จากจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ทีส่ า� คัญเตรียมท้อง ไปอิ่มกับร้านอาหารที่คัดสรรมาอย่างดี จัดเต็มกว่า 40 ร้าน รวมทั้งโซนตลาด ขายของทีใ่ ห้คณ ุ ได้เลือกซือ้ กันอย่างเต็มที่ จั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 20 มกราคม 2561 ณ ดิ โอเชี่ยน เขาใหญ่ จ.นครราชสีมา ซือ้ บัตรได้ทเี่ คาน์เตอร์เซอร์วสิ ออลล์ ทิคเก็ต ณ เซเว่นอีเลฟเว่น ทุกสาขาทั่วประเทศ รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.facebook. com/nanglenfestival
ทอยส์ “อาร์” อัส ทั้ง 24 สาขา ได้ เ ตรี ย มความสุ ข สุ ด สนุ ก ไว้ ต ้ อ นรั บ ทุกท่าน กับ Toys “R” Us the Ultimate Guide to Play ที่อัดแน่นไปด้วยสารพัน ของเล่นและเกมสุดฮิตใหม่ล่าสุด พร้อม กิจกรรมต่างๆ ที่หมุนเวียนกันมาสร้าง ความสุข สนุกสนาน และโปรโมชันพิเศษ สุดเอ็กซ์คลูซีฟมากมาย ตั้งแต่วันนี้ถึง 4 มกราคม 2561 ณ ทอยส์ “อาร์” อัส ทุกสาขา และพบกับกิจกรรมดีๆ Toys Charity ขอเชิ ญ ทุ ก ท่ า นมาร่ ว มสร้ า ง ความสุข สนุกสนาน ในวันคริสต์มาสนี้ ให้กบั น้องๆ ในมูลนิธทิ วั่ ประเทศทัง้ 15 แห่ง โดยสามารถน�าของเล่นมาแบ่งปันได้ที่ กล่องรับบริจาคในร้าน ทอยส์ “อาร์” อัส ทุกสาขา ตัง้ แต่วนั นีถ้ งึ 18 ธันวาคม 2560
หลังจากที่ Stylenanda แบรนด์ แฟชั่ น เสื้ อ ผ้ า และเครื่ อ งส� า อาง 3CE สุดฮิตจากเกาหลี ได้เปิดตัว Stylenanda Pink Hotel ช็ อ ปแรกที่ ย ่ า นเมี ย งดง ประเทศเกาหลี ไ ปเมื่ อ ปี ที่ แ ล้ ว ด้ ว ย กระแสตอบรับที่ดีมาก จนกลายเป็น ทีม่ าของ Stylenanda Pink Hotel Flagship Store แห่งที่ 2 ของโลก ณ สยามสแควร์ ซอย 5 ภายใต้ชอื่ ว่า Pink Hotel Bangkok ร้านแรกในเมืองไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยร้านสีชมพูนา่ รัก พร้อม ให้ความสนุกสนาน สร้างประสบการณ์ การช้อปปิ้ง โดยให้ความรู้สึกเหมือนได้ ท่องเทีย่ วไปใน Pink Wonderland รับรอง ว่าจะเป็นที่แฮงก์เอาต์สุดฮิตของสาวๆ อย่างแน่นอน
19 อัพเดตแวดวง ข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจ ในรอบสัปดาห์ พานาโซนิ ค บิ ว ตี้ คว้ า แต้ ว ณฐพร เป็นพรีเซ็นเตอร์ โชว์ผมสวยไม่แคร์เสีย ด้วยไดร์เป่าผมรุ่นใหม่ 2,500 วัตต์ จัดว่าดังข้ามปีส�าหรับนางเอก ‘แต้ว’ - ณฐพร เตมีรักษ์ ที่ฮอตทั้งงานละครและพรีเซ็นเตอร์ ล่าสุด ยังได้ร่วมงานกับพานาโซนิคบิวตี้ โดยเป็นพรีเซ็นเตอร์ ไดร์เป่าผมรุ่นใหม่ 2,500 วัตต์ ที่มาพร้อมเทคโนโลยี AHP หรือ Advance Heat Protection Sensor สุดล�้า สามารถตรวจจับอุณหภูมิของกระแสลมและควบคุม อุณหภูมิของลมโดยอัตโนมัติ จึงช่วยปกป้องเส้นผม จากความร้อนทีม่ ากเกินไป และเพิม่ การดูแลเป็นพิเศษ ด้วยไอออนปรับสภาพผม ท�าให้ผมนุม่ สลวยและไม่ชฟี้ ู ซึง่ จัดงานเปิดตัวที่ลานอีเดน เซ็นทรัลเวิลด์ โดยได้รับ เกียรติจาก ฮิโรยูกิ คิทาโนะ กรรมการผู้จัดการ บริษัท พานาโซนิค เอ.พี. เซลส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด เป็น ประธานเปิดงาน โดยภายในงานได้ตกแต่งบรรยากาศ ให้เป็นพานาโซนิคบิวตี้ สตูดิโอ เพื่อต้อนรับผู้ที่สนใจ มาร่วมเปิดประสบการณ์ผมสวยทันใจ ไม่แห้งเสีย ด้วยอานุภาพแห่งพลังลม
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
Bee Choo Origin ร้านทรีตเมนต์ผม องค์กรใหญ่ เป็นที่ยอมรับระดับสากล
ลีสซิ่งกสิกรไทยจัดหนัก รับงาน Motor Expo 2017 ดอกเบี้ยต�่า ผ่อนดาวน์ 0%
จากปี 2000 Cheah Bee Choo ได้เปิดห้องพักทีอ่ พาร์ตเมนต์ที่ Pasir Ris เป็นร้านให้บริการทรีตเมนต์ผม โดยใช้ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรสูตรลับของครอบครัว และจากการดูแลธุรกิจด้วยความมุ่งมั่น มีมาตรฐาน และรับผิดชอบต่อสังคม จึงท�าให้แบรนด์ประสบความส�าเร็จและ เกิดการพัฒนารอบด้านทั้งมาตรฐาน และผลประกอบการ จนได้รบั รางวัลแห่ง ความภาคภูมิใจ Singapore Prestige Brand Award ต่อเนื่องถึง 4 ปี ตั้งแต่ปี 2012 และรางวัล Singapore Heartland Enterprise Star Award จนปั จ จุ บั น ร้านทรีตเมนต์ดแู ลเส้นผมและผลิตภัณฑ์ Bee Choo Origin มี ส าขาในหลาย ประเทศทั่วทวีปเอเชีย
ศาศวั ต วี ร ะปรี ย ประธาน กรรมการบริหาร บริษทั ลีสซิง่ กสิกรไทย จ�ากัด เปิดตัวแคมเปญ KLeasing Year End Bonus ต้อนรับมหกรรม Thailand International Motor Expo 2017 เมือ่ สมัคร สินเชื่อเช่าซื้อรถใหม่กับลีสซิ่งกสิกรไทย วันนี้ถึง 11 ธันวาคม 2560 และออกรถ ภายในวันที่ 31 มกราคม 2561 รับสิทธิพเิ ศษ ดอกเบีย้ ต�า่ 1.89% ผ่อนดาวน์ 0% สูงสุด 6 เดือนผ่านบัตรเครดิตกสิกรไทย พร้อม รั บ ฟรี เ ครื่ อ งฟอกอากาศในรถยนต์ มูลค่า 1,790 บาท ที่บูธลีสซิ่งกสิกรไทย ภายในงาน Motor Expo 2017 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี หรือโชว์รมู ผูแ้ ทนจ�าหน่าย รถยนต์ทั่วประเทศ
เมื่ออายและมิว ต้องไปเป็น ศิษย์เชฟขนมหวานระดับโลก เริ่มต้นการเดินทางบนเส้นทาง ขนมหวานของสองสาว อาย กมลเนตร และ มิว ลักษณ์นารา ที่ประเทศญี่ปุ่น ด้วยภารกิจจากเชฟสึจงิ จุ ิ ผูม้ ดี กี รีเป็นถึง แชมป์ในรายการ Award de l’ Excellence ในงาน Salon du Chocolat ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่ ง เศส อายและมิ ว ต้ อ งไป บุกสวนผลไม้ เรียนรู้ขั้นตอนการปลูก การดูแลผลผลิตต่างๆ นอกจากนี้ยังได้ ลงมือท�าขนมกับเชฟที่ร้านขนมชื่อดัง ของแต่ละจังหวัด เพื่อเก็บเกี่ยวความรู้ เทคนิคต่างๆ ก่อนทีจ่ ะมาเจอกับบททดสอบ อันเข้มข้นจากเชฟสึจิงุจิ ติดตามและ เอาใจช่วยสองสาวได้ในรายการ Japan Sweets ภารกิจพิชติ หวาน ได้ทกุ วันเสาร์ เวลา 16.00 น. ทางช่อง 28 (3SD)
a day BULLETIN
SELECTED
เรื่อง : กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์
20 04
01
03
02
05
ต้อนรับต้นปีด้วยการเป็นฉันคนใหม่ให้นานกว่าเดิมอีกนิด ด้วยหลากหลายสินค้าที่จะช่วยคุณรักษาความตั้งใจช่วง ปีใหม่ให้คงอยู่ได้นานกว่าที่ผ่านมา แล้วต่อให้คุณยอมแพ้ และกลับมาเป็นคุณคนเดิมก็ไม่เป็นไร เพราะเหล่าตัวช่วย พวกนี้จะยังใช้งานได้นานเป็นปีๆ อย่างแน่นอน
08
01 Clinique – แปรงท� า ความสะอาดผิ ว หน้ า ไฟฟ้ า ราคา 4,200 บาท 02 Tempur – หมอนรองเพือ ่ สุขภาพ 9,500 บาท 03 Clinique – ชุดผลิตภัณฑ์ บ�ารุงผิว ราคา 3,900 บาท 04 Muji – เครือ ่ ง Aroma Diffuser ราคา 2,780 บาท 05 Starbucks x Pantone – สมุดแพลนเนอร์ ปี 2018 ราคา 1,400 บาท 06 Bando – แก้วน�า้ ราคา 1,090 บาท 07 Nike – รองเท้าออกก�าลัง รุ่น Free RN Flyknit ราคา 6,600 บาท 08 The Sleeveless Garden – กระเป๋าหนัง ราคา 6,152 บาท 09 Thermos – กระติกน�า้ เก็บความร้อน ราคา 1,550 บาท 10 Beats – หูฟัง Wireless รุ่น BeatsX ราคา 5,900 บาท 11 Apple – Apple Watch Series 3 ราคาเริ่มต้น 11,900 บาท 11 09
issue 516
10
06
07
11 DEC 2017
CALENDAR
21
Shawn MendeS IlluMInate world tour 2017
ทัวร์คอนเสิร์ต ‘Illuminate World Tour’ ของ ฌอน เมนเดส นักร้อง นั ก แต่ ง เพลงเจ้ า ของ รางวัลแพลตินัมหลาย รางวั ล ที่ ก� า ลั ง โด่ ง ดั ง ไปทั่วโลก วันนี้ ประตู เปิ ด เวลา 19.00 น. ณ อิ ม แพ็ ก อารี น า เมืองทองธานี จ�าหน่าย บั ต ร ที่ ไ ท ย ทิ ก เ ก็ ต เมเจอร์
the lIghtS of faIth
SoMethIng MISSIng
wonderfruIt
unMaSKed / MaSKed
Pet VarIety
นิทรรศการ ‘แสงแห่ง ศรัทธา’ โดย เอกสิทธิ์ ระยับแสง น�าเสนอภาพ พระบรมสาทิสลักษณ์ ของในหลวง รัชกาลที่ 9 ที่ จ ะเป็ น ตั ว แทนของ ความจงรักภักดี และ จะยึดมั่นตามค�าสอน ของพระองค์ทา่ นทีเ่ ปรียบ ดังแสงส่องน�าทางชีวิต วันนี้ถึง 31 ธันวาคม 2560 ณ นัมเบอร์วัน แกลเลอรี ซ.สีลม 21 (เว้นวันอาทิตย์)
จากการแลกเปลี่ ย น และสร้างสรรค์ผลงาน ร่วมกันของกลุ่มละคร B-flFflloor ของไทย และ Momggol จากประเทศ เกาหลีใต้ สู่การแสดง ชุด ‘Something Missing’ วันนีถ้ งึ 17 ธันวาคม 2560 ณ หอศิ ล ปวั ฒ นธรรมร่ ว มสมั ย แห่งกรุงเทพมหานคร ติดตามรอบการแสดง และจ� า หน่ า ยบั ต รที่ www.facebook.com/ Bflfflloor.theatre.group
ร่วมสัมผัสประสบการณ์ ทางดนตรี ศิลปะ อาหาร และไอเดีย ใน ‘Wonderfruit’ สนุ ก กั บ หลากหลายแนวดนตรี รั บ แรงบั น ดาลใจดี ๆ จากสถาปั ต ยกรรมที่ น่าตืน่ ตาตืน่ ใจ อิม่ อร่อย กับอาหารสุขภาพระดับ เวิลด์คลาส เปิดมุมมอง ใหม่ๆ กับทอล์กและ เวิรก์ ช็อปมากมาย วันนี้ ถึง 18 ธันวาคม 2560 ณ สยามคั น ทรี ค ลั บ พัทยา จ�าหน่ายบัตรที่ Eventpop.me
นิทรรศการ ‘Unmasked / Masked’ โดย วิชัย ชินาลัย และ ไทวิจิต พึ่งเกษมสมบูรณ์ เมื่อ การท� า งานร่ ว มกั น จ� า เป็ น ที่ จ ะต้ อ งถอด หน้ากากทิ้งไป เพื่อที่ จะสร้างสรรค์งานร่วม กัน โดยงานแต่ละชิ้น ทั้งคู่ใช้สไตล์การวาด และฝีแปรงที่เป็นของ ตัวเอง ผสมผสานกัน ทีละขัน้ ตอน วันนีถ้ งึ 17 ธันวาคม 2560 ณ Yelo House ซ.เกษมสันต์ 1
มหกรรมสารพัดสัตว์เลีย้ งอันดับ 1 ของเมือง ไทย ‘Pet Variety’ รวบรวมสิ น ค้ า และ บริการ รวมถึงกิจกรรม ต่างๆ เพื่อคนรักสัตว์ เลี้ยงโดยเฉพาะ เช่น คาเฟ่สัตว์เลี้ยง การท�า เวิ ร ์ ก ช็ อ ปสิ น ค้ า เพื่ อ สัตว์เลีย้ ง และการตรวจ สุขภาพสัตว์เลี้ยง วันนี้ ถึง 17 ธันวาคม 2560 ณ ฮอลล์ 3-4 อิมแพ็ก เมื อ งทองธานี (บั ต ร เข้างาน 20 บาท)
nonSenSe
นิทรรศการ ‘Nonsense’ โดย อัมรินทร์ บุพศิริ หยิ บ ยื ม ภาพลั ก ษณ์ ข อ ง ผู ้ ค น ใ น สั ง ค ม ออนไลน์มาสื่อแสดง ในมิ ติ ข องการยั่วล้อ พืน้ ทีใ่ นโลกเสมือนจริง ซึ่ ง ผู ้ ค นมากมายให้ ความส�าคัญและใส่ใจ กับการตกแต่งรูปลักษณ์ ภายนอกให้ดงึ ดูดสายตา วันนีถ้ งึ 21 มกราคม 2561 ณ หอศิ ล ป์ ร ่ ว มสมั ย อาร์ เ ดล ถ.บรมราชชนนี (เว้นวันจันทร์)
a day BULLETIN
LIFE
เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ, พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล, ภาณุทัช โสภณอภิกุล
24
issue 516 11 DEC 2017
25
“Lord, I can’t go back home this ole way” หลายคนคงมีประสบการณ์ชวี ต ิ คล้ายๆ กับเพลง Five Hundred ่ ง ั้ ใจแน่วแน่ออกไปแสวงหา Miles ทีต ถิ่ น ฐานแห่ ง ใหม่ ข องตั ว เอง บ้ า งก็ เลือกที่จะมุ่งหน้าเข้ากรุงเทพฯ เพื่อ หวั ง ว่ า จะมี ง านดี ๆ ท� า สร้ า งเนื้ อ สร้างตัว และอาจวางแผนไปไกลว่า เมือ ่ ทุกอย่างอยูต ่ วั ก็จะตัง ้ รกรากใหม่ สร้างครอบครัวของตัวเอง บางคน ก็ เ ป็ น ไปตามที่ ฝั น บางคนก็ ยั ง อยู่ ระหว่างทางที่ยังมองเห็นอนาคตได้ ไม่ชัดเจน และก็มีอีกหลายคนที่ชีวิต ไม่เป็นอย่างที่หวัง ‘ถ้าไม่ได้ดจี ะไม่กลับมา’ กลายเป็น เชื อ กเส้ น ใหญ่ ที่ เ รายอมให้ มั น มา ผูกรั้งตัวเราไว้ ทั้งๆ ที่การกลับบ้าน อาจไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด การเดิน ออกจากความศิวิไลซ์ของเมืองใหญ่ อาจจะเป็นค�าตอบที่เราไม่คิดว่าจะใช่ ‘กลับไปแล้วจะท�าอะไร?’ ‘กลับไปแล้ว จะอยู่ได้เหรอ?’ ‘กลับไปแล้วจะ...?’ ค�าถามต่างๆ มากมายท�าให้ชีวิตของ เราหวาดกลัว และยอมจ�านนอยู่กับ ทางเดินที่อาจจะตัดสินใจผิด เ รื่ อ ง ร า ว ข อ ง ค น ทั้ ง ห ก นี้ แม้ บ างคนจะไม่ ใ ช่ ค นจั ง หวั ด น่ า น โดยก� า เนิ ด บางคนกลั บ มาเพื่ อ พั ฒ นาเมื อ งเกิ ด ของเขาให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น บางคนเลือกทีจ่ ะกลับมาเพราะรูแ้ ล้ว ว่าไม่มท ี ไี่ หนอยูแ่ ล้วมีความสุขเหมือน กับที่นี่ บางคนเลือกที่จะเข้ามาอาศัย อยู่ที่นี่เพราะความผูกพันบางอย่าง ทีเ่ มืองนีม ้ อบให้กบ ั ตัวเขา แต่สด ุ ท้าย สิ่งที่ทุกคนมีร่วมกันคือ ‘ความสุข ทีเ่ กิดจากการได้กลับมาอยูใ่ นสถานที่ ทีใ่ ช่ พืน ้ ทีท ่ พ ี่ อดี จังหวะการเคลือ ่ นตัว ของเมื อ งที่ เ ข้ า กั บ ชี วิ ต ของตั ว เอง และท�าให้พวกเขาเรียกจังหวัดน่านว่า ‘บ้าน’ ได้อย่างเต็มปาก
a day BULLETIN
26
เ สื้ อ ผ้ า สี สั น ส ด ใ ส เ น้ น การปักมือซึ่งเป็นชุดประจ�า ชนเผ่าม้งที่ แก้วตา ทรงสุดใจ บาริ ส ตาชาวม้ ง สวมใส่ อยู่ เ ป็ น ประจ� า เพื่ อ บอกถึ ง อั ต ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ตั ว เ อ ง แ ล ะ ลี ล า ก า ร ด ริ ป ก า แ ฟ อั น อ่ อ นช้ อ ย ที่ ค่ อ ยๆ ริ น น�้าร้อนใส่ลงไปในถุงกรอง ที่มีเมล็ดกาแฟบดอยู่ข้างใน ช่ า งเข้ า กั น ดี เ หลื อ เกิ น กั บ สิ่งที่เธอบอกเรา ว่าการมา เป็นบาริสตาที่ตัวเมืองน่าน ของเธอนัน ้ ก็เหมือนความสุข ทีถ ่ ก ู เติมเข้ามาทีละเล็กละน้อย ในทุกๆ วันของชีวต ิ เหมือนกับ กาแฟดริปแก้วนี้
issue 516 11 DEC 2017
แก้วบอกเราว่า น่านเป็นจังหวัดที่ น่ารัก ทุกคนเป็นกันเอง บรรยากาศโดยรวม เรียบง่าย ผู้คนท�ากับข้าวกินเอง หลายคน ยังปัน่ จักรยานแม่บา้ น แถมยังมีขา้ วเหนียว ห่อใบตองให้กิน แต่เหนือสิ่งอื่นใด ที่นี่ คล้ายกับบ้านของเธอ นั่นท�าให้เธอรู้สึก ราวกับว่าเธอไม่ได้อยู่ต่างถิ่นเสียทีเดียว “น่านเต็มไปด้วยความเงียบจนท�าให้เรา สงบมากขึ้น ได้ใช้ชีวิตช้าลง แต่ไม่เฉื่อยชา เหมือนการชงกาแฟ ช้าแต่ลงตัว หันไป ทางไหนก็รสู้ กึ ดี จนเราอยากจะชวนให้พอ่ แม่ และน้องๆ มาอยู่ด้วยกัน ค่อยๆ เติบโตไป แบบทีละก้าวพร้อมกับเมืองทีน่ ่ารักแห่งนี”้
แก้วเป็นชาวม้งโดยก�าเนิด เติบโต บนดอยขุ น ยวม จั ง หวั ด แม่ ฮ ่ อ งสอน เติบโต เรียนหนังสือ และท�างานในตัวเมือง เชียงราย ส่วนน่านไม่ได้อยู่ในความคิด ตอนนั้นเธอคิดแค่เพียงว่า จะท�าอย่างไร ให้ ค นที่ ร าบยอมรั บ ในศั ก ยภาพของ ชาวม้งอย่างเธอ จนกระทั่งเธอได้รู้จัก กาแฟเดอม้ง และน่าน เมื่อ 9 เดือนก่อน “พ่อแม่บอกคอยบอกเราเสมอว่า ต้องภูมิใจในความเป็นตัวเอง ไม่หลงลืม รากเหง้าและแหล่งก�าเนิดของตน ต้องมี การศึกษาที่ดี มีงานที่มั่นคง พร้อมกับ ท�าให้คนอื่นๆ ยอมรับเราในฐานะคนม้ง” หลังจากที่เธอได้รู้จักกาแฟเดอม้ง
กลุม่ คนทีร่ วมตัวกันเพือ่ สร้างความเข้มแข็ง ด้านกาแฟให้กับชาวม้งบนดอยของน่าน โดยเฉพาะพืน้ ทีห่ มูบ่ า้ นมณีพฤกษ์ อ�าเภอ ทุง่ ช้าง จังหวัดน่าน แก้วเข้ามารับต�าแหน่ง ในฐานะบาริสตา เธอค่อยๆ เรียนรู้ทุก กระบวนการของการชงกาแฟ “กาแฟเดอม้งคือกาแฟของคนม้ง ทุกคนเปิดโอกาสให้ชาวม้ง รวมทัง้ เราทีไ่ ด้ เข้าไปเรียนรูเ้ รือ่ งกาแฟบนดอย เห็นได้ชดั ว่าชาวม้งจ�านวนไม่นอ้ ยเลยทีม่ คี วามตัง้ ใจ ปลู ก กาแฟ และพยายามผลั ก ดั น ให้ กาแฟน่านเป็นกาแฟที่ดีในระดับสากล” เธอเล่าอย่างภูมใิ จ กาแฟเกอิชาที่แก้วตาดริปให้ชิม
ส่งกลิ่นหอมอบอวล เธอบอกให้เรารีบชิม ฝี มื อ การดริ ป และรสชาติ ก าแฟที่ แ พง เป็นอันดับต้นๆ ของโลก ก่อนจะพูดด้วย น�า้ เสียงที่จริงจังว่า “เราตัง้ ใจกับอาชีพนีม้ าก ท�าด้วยใจ และอยากให้ออกมาดีที่สุด เราอยากเป็น บาริสตาม้งไปเรือ่ ยๆ จนแก่ เราอยากเห็น ตัวเองตอนอายุมากๆ แล้วยังยืนรินน�า้ ร้อน ผ่ า นเมล็ด กาแฟอยู ่ ต รงนี้ ให้ ค วามช้ า แต่ ไ ม่ เ ฉื่ อ ยท� า หน้ า ที่ ข องมั น ไปเรื่ อ ยๆ ไม่ต่างจากความเนิบช้าของเมืองน่านที่ ท�าให้เราสบายกายและสบายใจ แม้เรา จะมาอยู่ได้เพียงไม่นาน แต่เราก็เลือกที่นี่ และเลือกเส้นทางนี้แล้ว”
เรื่อง : ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล
YOURSELF
27
ท่ามกลางความอ่อนล้าของ จิตใจ ผสานไปกับความเงียบ จากภายนอก เสียงภายในใจ ของ ‘ครูต้อม’ - ชโลมใจ ชยพั น ธนาการ อดี ต ครู สอนภาษาไทย กลับดังก้อง พร้ อ มเลื อ กท� า ตามสิ่ ง ที่ หั ว ใจเรี ย กร้ อ ง นั่ น ก็ คื อ การกลั บ มาอยู่ เ มื อ งน่ า น และท�าห้องสมุดบ้านๆ น่านๆ ขึ้ น มา โดยผั น ตั ว มาเป็ น ‘บรรณาริสตา’ (บรรณารักษ์ +บาริสตา) ด้วยเหตุผลว่า การกลั บ มาสู่ ที่ ที่ คุ้ น เคย ในวัยเยาว์ ผู้คนอัธยาศัยดี อากาศดี และมีความเนิบช้า อ า จ ดี เ สี ย ก ว่ า ป ล่ อ ย ใ ห้ หมดแรงเข้าสักวัน
“ค�าถามที่ว่าท�าไมจึงเลือกเมืองน่านเป็นที่สุดท้าย เรามองเห็นเรื่องความอยู่รอด อยู่เย็นเป็นสุข มีเงินไม่มากแต่อยู่ได้เป็น สัปดาห์ ที่อยู่อาศัยราคาไม่แพง บรรยากาศเงียบ ไม่พลุกพล่าน อากาศดีกว่าเมืองใหญ่ ต้นไม้เยอะ ผู้คนอัธยาศัยดี ประนีประนอม สิ่งที่เห็นทุกๆ อย่างในที่แห่งนี้เป็นความงามและน่าอยู่ไปหมด เราสัมผัสได้จากความรู้สึก อยากให้คนที่แวะมาน่านเป็นผู้ซึมซับ และสัมผัสความเป็นน่าน นอกเหนือจากค�าบอกเล่าของเราเอง”
“ครูกลับมาที่น่านได้ 12 ปีแล้ว และเราก็ชอบบ้านตัวเองมากๆ” ครูต้อมเอ่ยขึ้น พลางยกอเมริกาโนร้อนขึ้นมาจิบ ก่อนจะ เล่าเรื่องเมืองน่าน ห้องสมุด และชีวิตที่น่านให้ฟังว่า ผู้คนส่วนใหญ่จ�านวนไม่น้อยต่างพากันออกไปแสวงหาบางอย่างในเมืองใหญ่ ครูต้อมเองก็เป็นหนึ่งคนนั้นที่ออกจากน่าน แต่งงาน และย้ายไปอยู่จังหวัดเพชรบูรณ์ตั้งแต่อายุ 19 ปี จนกระทั่ง 23 ปีต่อมา เธอได้กลับมาที่น่านอีกครั้ง ครูต้อมยังคงสอน หนังสือควบคู่ไปกับการเปิดห้องสมุดสาธารณะเฉพาะวันเสาร์อาทิตย์ในบริเวณที่ปรับใหม่ ท�าควบคู่กันไปได้สักระยะ อาชีพครู กลับท�าให้รู้สึกครั่นเนื้อครั่นตัว สอนอย่างไม่เป็นสุข จึงต้องหยุดตัวเอง พร้อมกับการตั้งค�าถามอีกครั้ง “เราก็คิดว่า หากหยุดตรงนี้แล้วจะไปต่อตรงไหน” ครูต้อมยอมรับว่าตอนนั้นคิดหนัก แต่ท้ายที่สุดแล้วความคิดอย่าง เป็นเหตุผลเป็นผล ผสานไปกับความเข้าใจในบริบทของเมืองน่าน ผู้คน และการประเมินค่าครองชีพที่แน่ชัดแล้วว่าค่อนข้างต�่า ห้องสมุดจึงเดินหน้าต่อ พร้อมการเกิดขึ้นของเกสต์เฮาส์หลังน้อยที่ให้คุณแม่เป็นผู้ดูแลหลัก และมีโซนร้านกาแฟอยู่ในห้องสมุด “สิ่งมีชีวิตอย่างคนเราไม่ยอมปล่อยให้ตัวเองเจ็บปวดนานหรือยอมตายหรอก ท้ายสุดแล้วมันจะดิ้นรนให้รอดจนได้” นี่คือสิ่งที่พลังแห่งความเชื่อมั่นที่ท�าให้ชีวิตของครูต้อมและห้องสมุดบ้านๆ น่านๆ ผสานกันได้อย่างลงตัว ทั้งยังได้ท� าในสิ่งที่รัก ได้อยูก่ บั ความเนิบช้าและความเงียบสงบทีแ่ ท้จริงของเมืองน่าน เมือ่ ถึงวันหยุดประจ�าสัปดาห์ของห้องสมุด เธอจะปลีกกายไปซ่อม ร่างกายและเติมพลังให้กับชีวิตในสวนแห่งความลับที่มีภูเขาเป็นก�าแพงกั้น อยู่ห่างจากห้องสมุดไปเพียง 11 กิโลเมตร “ที่สวนลับท�าให้เราได้ใช้ชีวิต ส่วนที่ห้องสมุดท�าให้เราได้ผ่อนคลาย เราก็มีความคิดที่อยากเกษียณตัวเองจากการเป็น บรรณาริสตาในปีหน้าเลย (หัวเราะ) ส่วนค�าถามที่ว่า เราคิดที่จะอยู่ที่นี่ตลอดไปไหม เราเชื่อว่าความคิดเปลี่ยนแปลงได้เสมอ แต่ในเมื่อวันนี้เรายังอยู่เมืองน่าน น่านก็ทา� ให้เรายังอยู่ ไม่ไปไหน” ครูต้อมย�า้
เรื่อง : ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล
REST
a day BULLETIN
28
ถ้าใครมาจังหวัดน่าน หากใช้ รถยนต์ ห รื อ มอเตอร์ ไ ซค์ สิ่ ง ที่ ท� า ใ ห้ ค น น อ ก น่ า น แปลกใจและตกใจ คงหนีไม่พน ้ เรื่องของสี่แยกไฟแดงที่ขึ้น สั ญ ญาณไฟเขี ย วจากทั้ ง สองทางจนไม่รว ู้ า่ ควรไปต่อ หรือหยุดรอรถอีกฝั่งกันแน่ แ ต่ ส� า ห รั บ ค น พื้ น ที่ แ ล้ ว สี่แยกไฟแดงคือจังหวะของ การประนี ป ระนอมที่ ต้ อ ง เฝ้าดูถงึ จะเข้าใจ นีค ่ อ ื สิง่ หนึง่ ที่ท�าให้ ‘แจ๊ค’ - ภีร์นริศร์ ผ่องหทัยกุล เจ้าของร้านกาแฟ น.น่าน ยกให้นา่ นเป็นทีท ่ เี่ ขา อยากจะลงหลักปักฐานและ ทิ้งตัวไว้ตลอดไป
นอกจากเรือ่ งสีแ่ ยกไฟแดงแล้ว สิง่ ที่ ท�าให้แจ๊คหลงเสน่ห์เมืองน่านจริงๆ จังๆ ก็คือความเรียบง่าย อยู่ง่าย ผู้คนเป็นมิตร ไม่รบี ร้อน การเดินทางทีไ่ ม่เร่งรีบ โดยเฉพาะ เวลาไปสนามบิน หากในกรุงเทพฯ ต้องเผือ่ เวลาอย่างน้อย 2 ชั่วโมง แต่เมืองเล็กๆ อย่างน่านใช้เวลาเพียงครึง่ ชัว่ โมงก็เพียงพอ
issue 516 11 DEC 2017
“เราเกิดที่กรุงเทพฯ แต่มาอาศัย อยู่น่านตอน 5 ขวบ อยู่ยาวจนไปเรียน มหาวิทยาลัยที่กรุงเทพฯ แล้วไปท�างาน เป็นครูช่างไฟฟ้าอยู่ที่เชียงใหม่ 1 ปี” ซึง่ ในช่วงนัน้ เขาเองก็ไม่เคยคิดว่า น่านจะ เป็นจังหวัดที่เขาจะได้กลับไป “เราคิดว่าอยูใ่ นเมืองใหญ่ไม่ได้ ทนกับ ความเครียด ปริมาณรถรา ความรีบเร่งไม่ไหว จึ ง กลั บ มาเป็ น ครู ส อนไฟฟ้ า ที่ อ.ปั ว สอนอยูส่ องปี ในระหว่างนัน้ ราวๆ ปี 2553 น่านก�าลังเปิดเมือง และเริ่มมีกาดน่าน เราสนใจที่ จ ะขายของ จึ ง เริ่ ม ต้ น ขาย เสื้อยืดน่านเป็นอันดับแรก ซึ่งตอนนั้น ผลตอบรั บ ดี ม าก จึ ง ตั ด สิ น ใจลาออก และมาลองหาทีท่ างเปิดร้านเล็กๆ ค่อยๆ ขยั บ ขยายกิจการให้ใหญ่ขึ้น เปิดเป็น ร้ า นอาหาร เพื่ อ รองรั บ ปริ ม าณของ
นักท่องเทีย่ วในช่วงแรกที่ไหลบ่าเข้ามา” แม้ว่าน่านจะเป็นสถานที่ที่ท�าให้ เขาเติบโตทัง้ ด้านร่างกายและธุรกิจ แต่นา่ น เป็นเมืองที่มีความเปลี่ยนแปลงไปแบบ ทีละเล็กละน้อยไม่รวดเร็วดังใจคิด เขาจึง กลับมาตั้งสติและเฝ้าดูความเคลื่อนไหว ของน่านอีกครั้ง “เพราะความคิดใหญ่เกินตัว ถึงขัน้ ให้ภรรยาออกจากงานประจ�ามาช่วย จน เรารู้ว่าร้านใหญ่เกินไปท�าให้ยากต่อการควบคุม เราจึงคิดน้อยลงมานิดหนึ่ง” เขาเริ่มจากการสังเกตผู้คนในน่าน อีกครัง้ จนวันหนึง่ ได้พบกับบ้านไม้โบราณ อายุกว่า 50 ปี สองชั้น ติดริมถนนทางไป สนามบิน แถมยังมีพื้นที่ใช้สอยรอบบ้าน เขาชอบทีน่ ี่ จึงตัดสินใจเช่าและเริม่ ต้นรีโนเวต ปรับชั้นล่างให้เป็นร้านกาแฟ ชั้นบนเป็น
ทีพ่ กั ด้านนอกเป็นร้านก๋วยเตีย๋ ว มัดรวม ทุกอย่างเข้าด้วยกัน และกิจการก็ดูว่าจะ ไปได้ด้วยดี “น่านท�าให้เรียนรูว้ า่ การฝืนไม่ดตี อ่ ร่างกายและจิตใจ ควรใช้ชวี ติ แบบทีใ่ ห้เวลา ไปกับอย่างอื่นด้วย อีกอย่างเราเห็นแล้วว่า การเติบโตทางธุรกิจทีเ่ ร็วเกินไปนัน้ ไม่ใช่ จังหวะธุรกิจของน่าน แต่เป็นเพราะความเนิบช้าบวกความใจดีของเมืองมากกว่า ที่ประคองเรามาจนถึงทุกวันนี้” 9 ปีผ ่านไป ที่นี่ท� า ให้ชีวิตเขามี จังหวะแบบน่าน คือตืน่ ตอนเช้า ไปจ่ายตลาด กลับมาเปิดร้าน กินข้าว ชงกาแฟ สลับกับ ท�างานอย่างอื่น ตกเย็นไปออกก�าลังกาย วันหยุดกลับไปหาพ่อแม่ที่บ้าน ที่ส�าคัญ ยั ง ไม่ มี ค วามคิ ด ที่ จ ะไปที่ อื่ น นอกจาก เมืองน่าน และบ้านของตัวเขาเอง
เรื่อง : ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล
RHYTHM
29
หากย้ อ นเวลากลั บ ไปตอน อายุ 15 ปี หลายคนอาจจ�า ไม่ได้หรือนึกไม่ออกว่า ตัวเอง ชอบท�า อะไรเป็ น พิเศษ แต่ ส�าหรับ ‘โบว์’ - บุษยรัตน์ ผั ด ผ ล เ จ้ า ข อ ง แ บ ร น ด์ ร ว ย บุ ญ ผ้ า ธ ร ร ม ช า ติ จ�าได้ดวี า่ ในช่วงนัน ้ เธอเพิง ่ ได้รับต�าแหน่งแกนน�ากลุ่ม เยาวชนในเครื อ ข่ายมูลนิธิ ฮักเมืองน่าน ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มของเด็กในจังหวัด น่าน เพื่อท�ากิจกรรมด้าน สิง ่ แวดล้อมและวัฒนธรรม วันนี้เธอตัดสินใจกลับบ้าน พร้ อ มตั้ ง ใจจะสร้ า งอาชี พ ให้คนในชุมชนให้ดย ี ง ิ่ ขึน ้
“เมืองน่านอาจสร้างภาพฝันหวานให้ใครหลายต่อหลายคน แต่ความจริงแล้วความฝันก็ไม่ได้หวานอย่างทีค่ ดิ ” นีค่ อื อีกด้านของน่าน ทีเ่ ธอมองพร้อมแสดงความคิดเห็นว่า “คนรุน่ ใหม่หรือผูป้ ระกอบการรายใหม่ หอบความหวังใหม่มาทีน่ า่ น เมือ่ ท�าไปได้สกั ระยะจะเริม่ อยูไ่ ม่ไหว อาจเพราะเคยมีรายได้ทสี่ งู กว่า การมาใช้ชวี ติ ทีน่ า่ น รายได้ทเี่ ข้ามาอาจน้อยกว่าเดิม ท้ายสุดจะถอยกลับไปหาเมืองใหญ่ นัน่ ไม่ใช่เรือ่ งทีผ่ ดิ เพราะน่านมาพร้อมกับสโลแกนสโลว์ไลฟ์ แต่จะช้ายังไงก็ตอ้ งมีรายจ่าย หากไม่สามารถยอมรับวิถแี บบนีไ้ ด้ การจะกลับหรือเข้ามาใหม่กค็ งไม่ใช่ เรือ่ งง่าย แต่ในอนาคตหากน่านมีการเปลีย่ นแปลง มีอะไรให้ทา� มากกว่านี้ วันนัน้ ต่างหากทีจ่ ะมีคนรุน่ ใหม่กลับบ้านมากขึน้ และอยูไ่ ด้มากขึน้ ”
“หลังจากเรียนจบและออกไปท�างานยังจังหวัดอื่นได้เพียงปีเดียว เราก็พบว่าที่นั่นไม่ใช่ที่ของเรา” โบว์กล่าวอย่างชัดเจน เธอเล่าต่อว่า เมื่อก่อนตัวเองชอบมองหาสิ่งที่ไกลตัว แต่แท้จริงแล้วสิ่งที่ใกล้ตัวต่างหากคือค�าตอบของชีวิต “สิ่งที่ใกล้ตัวนั้นคือน่านและชุมชนที่เราคุ้นเคย หากตอนนั้นเราตั้งใจกลับบ้าน แล้วคาดหวังว่าจะมาหาความร�่ารวย ได้ใช้ ชีวิตอยู่กับบ้านสบายๆ คงเป็นความคิดที่ไม่เข้าท่า โชคดีที่เราคิดตรงกันข้าม เรารู้ว่าน่านไม่ใช่เมืองอุตสาหกรรม ไม่ได้เป็นเมือง ทีร่ บั อะไรเข้ามาทุกอย่างแต่เลือกบางอย่าง คนน่านไม่ได้เป็นคนหวือหวา ไม่ได้เสพความศิวไิ ลซ์ แต่เป็นการใช้ชวี ติ ช้าๆ ค่อยๆ ก้าวเดิน ส่วนในเชิงการท่องเที่ยว คนน่านจะตื่นตัวเพียง 4 เดือนในช่วงหน้าหนาว ที่เหลือก็ใช้ชีวิตกันตามปกติ” เมื่อเข้าใจบริบทเมืองและผู้คน รวยบุญผ้าธรรมชาติจึงเกิดขึ้น โดยมีจุดประสงค์หลักตามชื่อแบรนด์ว่า ‘รวย’ มาจาก การสร้างรายได้ให้กับชุมชนกลุ่มทอผ้าและย้อมผ้า รวมทั้งตัวเอง ‘บุญ’ มาจากการสร้างบุญสามด้านคือ หนึ่ง ด้านวัฒนธรรม เพื่อสืบสานงานหัตถกรรม สอง ด้านสิ่งแวดล้อม การย้อมผ้าด้วยสีธรรมชาติ และสาม คนกับคน หมายถึงการสร้างความเข้าใจ ระหว่างผู้บริโภคกับผู้ผลิต รวมทั้งการพัฒนางานฝีมือระหว่างผู้ผลิตกับผู้ผลิตด้วยกันเอง ดูเหมือนว่าการได้สร้างแบรนด์ขึ้นมานั้นกลายเป็นจุดเปลี่ยนในชีวิต แต่เธอกลับปฏิเสธ “เรายืนยันเสียงในใจของเราเหมือนเดิม ด้วยความที่เราเป็นคนน่าน อยู่มาทั้งชีวิต ท�าสิ่งเหล่านี้มาตั้งแต่เกิด จึงไม่ได้รู้สึกว่า ต้องปรับเปลีย่ นตัวเอง ไม่เคยรูส้ กึ ว่าการหนีจากเมืองใหญ่แล้วเข้ามาอยูน่ า่ นเป็นจุดเปลีย่ นชีวติ ครัง้ ใหญ่ เรารูแ้ ค่วา่ มีสงิ่ ส�าคัญกว่า รออยู่ คือการคิดหาวิธีการสร้างความยั่งยืนในอาชีพต่อตัวเองและชุมชน โดยเฉพาะในพื้นที่ของตัวเอง อีกอย่างน่านท�าให้เราเห็น ความงามของทุกๆ ฤดูกาล เราชืน่ ชมการเติบโตของต้นไม้ เฝ้ามองคนทีแ่ วะมาน่าน พร้อมทัง้ มีความตัง้ ใจว่าจะเกษียณตัวเองตอน อายุ 50 ปี แล้วคอยสนับสนุนคนรุ่นใหม่ที่จะสานต่อสิ่งนี้ไปเรื่อยๆ”
เรื่อง : ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล
I AM
a day BULLETIN
30
เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ
LANNA ART ด้วยความหลงใหลในศิลปะ เมื อ งน่ า น โดยเฉพาะงาน จิ ต ร ก ร ร ม ส ไ ต ล์ ล้ า น น า ที่ มี เ อกลั ก ษณ์ เ ฉพาะตั ว ‘เก้า’ - สุวรรณรัตน์ เมืองมูล จึงตัดสินใจลาออกจากการเป็นครูสอนภาษาอังกฤษที่ เชียงราย มาเริม ่ ต้นเส้นทาง ศิ ล ปิ น ที่ เ มื อ งเล็ ก ๆ แห่ ง นี้ ซึ่ ง นอกจากเขาจะปลุ ก ปั้ น ‘น่ า นร� า ลึ ก ’ สตู ดิ โ อศิ ล ปะ ในฝันของเขาให้กลายเป็นจริง และยั ง เป็ น ผู้ ก่ อ ตั้ ง ‘น่ า น เต๊อะเนาะ’ กลุม ่ ชมรมคนรัก ศิ ล ป ะ ที่ ช่ ว ย พั ฒ น า แ ล ะ ขั บ เคลื่ อ นศิ ล ปิ น ชาวน่ า น ให้มพ ี น ื้ ทีใ่ นการสร้างสรรค์ ผลงานมากขึ้นอีกด้วย
issue 516 11 DEC 2017
“สมัยเรียนผมไม่เคยคิดอยากอยู่ น่านเลย เพราะมองว่าเป็นเมืองบ้านนอก มากๆ (ลากเสียง) แต่พอมาอยู่จริงๆ แล้ว กลับติดใจ (หัวเราะ) เพราะทุกอย่างมัน สบายไปหมด ทั้งอากาศ ผู้คน และการใช้ ชีวิต แน่นอนว่าช่วงหลังนี้ ความเจริญก็ เข้ามาค่อนข้างเยอะ แต่คนน่านเขาก็ยัง พยายามอนุรักษ์บ้านเมืองและประเพณี เดิ ม ๆ อยู ่ ถ้ า มี ก ารสร้ า งอะไรที่ ขั ด กั บ ความเป็นเมืองเก่าเขาก็พยายามออกมา ประท้วง และเรียกร้อง ถ้าใครจะบอกว่า น่านเป็นเมืองช้าๆ เนิบๆ นี่ก็อาจไม่จริง เสียทีเดียว เพราะผู้คนเขาค่อนข้างตื่นตัว และแอ็กทีฟกับการใช้ชีวิตเหมือนกัน”
“จริงๆ แล้วผมมีเชื้อสายเป็นคน เมืองน่าน แต่ครอบครัวผมอพยพไปอยู่ เชียงรายในสมัยรุ่นตายาย ท�าให้ผมเกิด และโตที่ นั่ น เรี ย นจบมาก็ เ ป็ น ครู ส อน ภาษาอังกฤษที่เชียงราย ช่วง 6 ปีที่แล้ว ผมได้เข้าไปในวิหารวัดภูมินทร์แล้วเกิด ความรู้สึกผูกพันกับที่นี่อย่างประหลาด ยิ่ ง ได้ เ ห็ น จิ ต รกรรมฝาผนั ง ที่ มี ตั้ ง แต่ โบราณก็ยิ่งท�าให้หลงใหลเรื่องราวและ วัฒนธรรมของเมืองนี้ พอกลับไปเชียงราย ก็เลยทบทวนตัวเองอยู่สามเดือน สุดท้าย ตัดสินใจลาออกจากอาชีพครู และย้ายมา เริ่มต้นชีวิตใหม่ที่น่าน” แต่ แ น่ น อนว่ า การนั บ หนึ่ ง ใหม่ ในเมืองที่เราไม่คุ้นเคยย่อมไม่ใช่เรื่องง่าย
ขนาดนัน้ เก้ายืนยันด้วยเสียงหนักแน่นว่า ช่วงที่ย้ายมาอยู่น่านแรกๆ ถือเป็นจุดที่ ตกต�า่ ที่สุดในชีวิตของเขา “ตอนนั้ น ผมไม่ มี อ าชี พ แต่ มี แนวทางชัดเจนแล้วว่า อยากท�างานศิลปะ ผมจึงค่อยๆ เก็บประสบการณ์จากการท�า กรอบรูป เพนต์ภาพและเพนต์เสื้อขาย ตามถนนคนเดิน จนเริม่ มีคนสนใจงานผม มากขึ้นเรื่อยๆ “พอถึงจุดหนึง่ รายได้จากงานศิลปะ ก็เพิ่มขึ้นจนสามารถน�ามาหล่อเลี้ยงชีวิต ได้อย่างไม่ล�าบากจนเกินไป ผมหันมา ทุม่ เทให้กบั ตรงนีอ้ ย่างเต็มที่ รวมทัง้ สร้าง กลุ่ม ‘น่านเต๊อะเนาะ’ เพื่อรวบรวมเหล่า ศิลปินและผู้สนใจศิลปะชาวน่านให้มา
พบปะและสร้ า งสรรค์ ผ ลงานร่ ว มกั น มีการจัดนิทรรศการและกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายศิลปะเมืองน่าน มีความแข็งแรงยิ่งขึ้น” ตลอดระยะเวลา 6 ปี ที่เก้าได้มา ใช้ชีวิตอยู่ที่เมืองกลางขุนเขาแห่งนี้ เขา พูดได้อย่างเต็มปากเต็มค�าว่า น่านคือบ้าน ของเขา และคงจะเป็นบ้านหลังสุดท้าย ในชีวิต “ผมได้ท�างานที่ผมรักที่นี่ มีบ้าน มีครอบครัว มีไร่เกษตรอินทรีย์ และมี สตูดโิ อศิลปะทีใ่ ฝ่ฝนั มาตลอด ก็เลยคิดว่า คงไม่ยา้ ยไปอยูท่ ไี่ หนแล้ว อยูท่ นี่ ไี่ ปตลอด เลยก็แล้วกัน”
31
ในวันทีค ่ นหนุม ่ สาวต่างแสวงหา โอกาสความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ใน เมืองใหญ่ ‘ฝ้าย’ - ลภัสรดา ย ศ ฐ า อ ดี ต นั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ กลับชวน พีช ่ าย ‘เฟม’ - ณัฐดนัย ยศฐา กลั บ มาท� า ฟาร์ ม ออร์ แ กนิ ก ที่ เ มื อ ง น่ า น บ้ า น เ กิ ด ใ น ชื่ อ ‘ฟาร์มเฟมฝ้าย’ ด้วยความเชือ ่ ที่ ว่ า สิ่ ง ที่ ส� า คั ญ ในชี วิ ต อาจ ไ ม่ ไ ด้ เ กิ ด จ า ก ค ว า ม ส� า เ ร็ จ ในหน้าทีก ่ ารงานเพียงอย่างเดียว แต่คือการเฝ้าถามหัวใจตัวเอง อยู่ ต ลอดว่ า สุ ด ท้ า ยแล้ ว เรา อยากมีชีวิตแบบไหน และจะท�า ให้เป็นจริงได้อย่างไร
“เดิ ม ที เ มื อ งน่ า นเป็ น เมื อ งปิ ด เพราะมีภเู ขาล้อมรอบทุกทิศทาง หากใคร จะเดินทางมาก็ตอ้ งตัง้ ใจจริงๆ เพราะไม่ใช่ เมือ งทางผ่ า น สิ่ง นี้เ องท�า ให้ ค นน่ า นมี วิถีชีวิตของเขา ที่ไม่ได้พึ่งพาอะไรจาก คนภายนอกมาก และยังท�าให้เอกลักษณ์ และศิลปะของเมืองโดดเด่นชัดเจนกว่า ที่อื่น ในฐานะที่เราเกิดและโตที่นี่ เราพูด ได้เลยว่าเรารักเมืองนีม้ าก เพราะมันเหมาะ กับการอยู่อาศัย มีบรรยากาศที่เงียบสงบ และผู้คนก็มีชีวิตชีวา ส�าหรับ บางคน เมืองนีอ้ าจจะ เป็นเมืองที่เนิบช้า เกินไปหน่อย เพราะ ไม่ได้มีความเจริญ ทางวัตถุหรือสิง่ อ�านวยความสะดวกมากนั ก แต่เราเชื่อว่าถ้าสามารถ เปิดใจรับตรงนีไ้ ด้ ก็จะมี ความสุขกับการอยู่ที่นี่”
“ความสนใจด้านการท�าฟาร์มเริ่มต้นมาจากการที่เรา เริม่ หันมากินอาหารมังสวิรตั อิ ย่างจริงจัง จนอยากรูว้ า่ ผักทีเ่ รากิน ทุกวันมีทมี่ าอย่างไร แต่พอเห็นกระบวนการจริงๆ แล้วก็คน้ พบว่า เราแทบจะกินสารเคมีมากกว่าผักเสียอีก จึงไปคุยกับพีเ่ ฟมเล่นๆ ว่า อยากกลับบ้านไปปลูกผักกินเองจัง ปรากฏว่าพี่เฟมเขาก็เห็นดี เห็นงามด้วย ก็เลยพากันเก็บกระเป๋ากลับบ้าน... ง่ายๆ แค่นนั้ เลย” ลภัสรดาพูดอย่างอารมณ์ดี พร้อมพาเราเดินชมสวนสมุนไพร ของเธอ “แต่ไอเดียมันไม่ใช่การกลับมาปลูกผักขายนะ เราแค่อยาก กลับบ้าน เพราะเคยคุยกันว่ามันเป็นทีท่ เี่ ราใช้ชวี ติ ได้อย่างมีความสุข ทีส่ ุด มีครอบครัว มีคนที่รัก บรรยากาศก็ดี เรียกง่ายๆ คือลงตัว กับชีวิตเราอยู่แล้ว จะไปหาที่อื่นท�าไม” ภายในฟาร์มเฟมฝ้ายมีทั้งแปลงผักออร์แกนิกนานาชนิด โซนสมุนไพร ไม้เลือ้ ย ไร่ผลไม้ โรงเพาะไส้เดือน บ่อบัวขนาดใหญ่
และลานส�าหรับเลี้ยงสัตว์ เช่น วัว นกกระจอกเทศ ห่าน หรือ แม้แต่จระเข้ เพราะเธอเชือ่ ว่า ฟาร์มทีด่ จี ะต้องมีความหลากหลาย ทางระบบนิเวศ ไม่ใช่แค่การปลูกผักหรือเลีย้ งสัตว์เพียงชนิดเดียว เธอยังแอบเผยให้เราฟังว่า อีกไม่นานครอบครัวของเธอ จะเปิดโฮมสเตย์ขนาดเล็กๆ ในฟาร์มแห่งนี้ เพื่อเป็นสถานที่ พักผ่อนท่ามกลางธรรมชาติ รวมถึงมีเวิร์กช็อปและกิจกรรมให้ ความรู้เกี่ยวกับการท�าฟาร์มส�าหรับผู้ที่สนใจอีกด้วย “ตอนมาอยูท่ นี่ แี่ รกๆ เราเคยคิดว่ามันจะเป็นทีส่ ดุ ท้ายของชีวติ แต่เมือ่ ท�าไปสักพักก็เริม่ รูส้ กึ ว่าเราขอไม่ปดิ กัน้ ตัวเองดีกว่า เพราะ จริงๆ แล้วชีวติ เราเปลีย่ นแปลงได้ตลอด ขึน้ อยูก่ บั ว่า ณ ขณะนัน้ เรามีความสุขกับสิง่ ไหน แต่อย่างน้อยตอนนีเ้ รามีความสุขกับทีน่ ี่ มากๆ และจะพยายามท�าต่อไปให้ดีที่สุด”
เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ
N AT U R E
a day BULLETIN
A MUST
32
CAFE
Secret Recipe : เคล็ดลับความอร่อยของเค้กมัตฉะที่นี่คือ ต้องตีมูสจนนุ่มละมุนลิ้นและผสมผงชาเขียวแท้คุณภาพพรีเมียมลงไป ซึ่งจะท�าให้มีกลิ่นหอมและรสชาติเข้มข้นแบบเค้กมัตฉะสไตล์ญี่ปุ่น ปิดท้ายด้วยการเติมแครกเกอร์บดละเอียด เพื่อสร้างเท็กซ์เจอร์
กรุบกรอบ ตัดกับความนุ่มของมูสอย่างลงตัว
ร้ำนกำแฟเล็กๆ รูปทรงเหมือนกล่องสี่เหลี่ยมผืนผ้ำตั้งอยู่ ในกำดน่ำน (อยูฝ่ ง่ั ตรงข้ำมเทศบำลเมืองน่ำน) โดยภำยในกำดน่ำน จะเป็นร้ำนอำหำร และร้ำนขำยของต่ำงๆ ในพื้นที่ก�ำลังพอดี ต่อกำรแวะเข้ำมำเยี่ยมชม ซึ่งเรำพอจะรู้ข้อมูลมำก่อนหน้ำนี้ว่ำ กำแฟของร้ำนนี้รสชำติดีระดับวำงใจได้ แต่เมื่อเปิดประตูเข้ำไป ในร้ำน ควำมตัง้ ใจทีจ่ ะมำดืม่ กำแฟของเรำก็เปลีย่ นไป เพรำะได้ กลิ่นหอมอ่อนๆ ของชำเขียวมัตฉะลอยมำแตะจมูก ไหนๆ ก็ถูกป้ำยยำด้วยกลิ่นหอมๆ ของชำเขียวมัตฉะ ไปแล้ว เรำจึงเปลี่ยนมำสั่งชำเขียวเฟรปเป้แทน เพื่อลองดูว่ำ รสชำติของชำเขียวปัน่ ร้ำนนีจ้ ะเข้มข้นเหมือนกับกลิน่ หอมทีอ่ บอวล อยู่ในร้ำนหรือเปล่ำ โดยมีเค้กมัตฉะ 1 ชิ้นเป็นของทำนคู่ ซึ่งเมื่อ ได้สมั ผัสกับรสชำติของชำเขียวเฟรปเป้แล้ว บอกเลยว่ำประทับใจ มำกๆ กลิน่ หอมของชำเขียวลอยฟุ้งอยู่เต็มปำก และรสชำติของ ชำเขียวก็เข้มข้นก�ำลังดี มีควำมหวำนทีล่ งตัวในระดับคนทีช่ อบ เครื่องดื่มแบบหวำนน้อยคงถูกใจ ส่วนเค้กมัตฉะที่มีมูสชำเขียว เป็นพระเอกนัน้ อร่อยปล่อยแสงมำกจนเรำตัง้ ใจเลยว่ำวันต่อไป เรำจะขอกลับมำซ�้ำเมนูนี้อีกครั้ง เมื่อกลับมำที่ร้ำนนี้ในวันต่อมำเรำกลับพบว่ำเค้กมัตฉะ ชิ้ น สุ ด ท้ ำ ยถู ก ขำยไปก่ อ นหน้ ำ เรำแบบเส้ น ยำแดงผ่ ำ แปด และสิง่ ทีช่ ว่ ยเยียวยำควำมเสียใจของเรำนัน้ ก็คอื บรำวนีชำเขียว ที่ยังคงควำมเข้มข้นของชำเขียวไว้เหมือนเดิม เมื่อลองกินคู่กับ ปังเย็นชำเขียว ก็ท�ำให้เรำเอ็นจอยกับควำมอร่อยของเครื่องดื่ม และเบเกอรีจำกร้ำนนี้ทันที ส่วนใครที่มีโอกำสก็แนะน�ำว่ำลองไปนั่งชิลที่ร้ำนนี้กันได้ เพรำะอยู่ไม่ไกล เดินทำงสะดวก และถ้ำใครได้ลองชิมกำแฟ ของร้ำนนี้แล้ว ลองส่งข้อควำมมำบอกกันหน่อยว่ำเป็นอย่ำงไร แต่ชำเขียวของที่นี่เรำแนะน�ำจริงๆ
APPLICATION
แอพพลิเคชันทีช่ ว่ ยท�ำให้คณ ุ เที่ยวจังหวัดแพร่และน่ำนได้อย่ำง สะดวกสบำยยิ่งขึ้น มีแหล่งข้อมูล สถำนที่ ท ่ อ งเที่ ย วชื่ อ ดั ง ที่ พั ก ร้ำนอำหำร พร้อมรูปและพิกดั ทีต่ งั้ ซึง่ เชือ่ มต่อกับ Google Maps น�ำทำง ให้คุณไปถึงจุดหมำยปลำยทำงได้ อย่ำงรวดเร็ว แม่นย�ำ ทัง้ ยังคุม้ ค่ำสุดๆ กับกิจกรรมสะสมแต้มตำมจุดเช็กอิน ต่ำงๆ เพื่อน�ำไปแลกเป็นโปรโมชัน ของรำงวัล และส่วนลดมำกมำยจำก ร้ำนค้ำในพื้นที่ ดำวน์โหลดได้ฟรี ทัง้ ระบบปฏิบตั กิ ำร iOS และ Android
MOVIE
BEAUTY issue 516 11 DEC 2017
ผลิตภัณฑ์บ�ำรุงและท�ำควำมสะอำดผิวจำกฝีมือของวิสำหกิจชุมชนชีววิถี ต.น�้ำเกี๋ยน อ.ภูเพียง จ.น่ำน ที่ตั้งใจท�ำผลิตภัณฑ์ที่เรำใช้ในชีวิตประจ�ำวัน และช่วยลดสำรเคมีที่จะปล่อยสู่แหล่งน�้ำ โดยน�ำ สมุนไพรในท้องถิ่นอย่ำงใบหมี่ ดอกอัญชัน มะเฟือง มะกรูด ขมิ้นชัน มำใช้เป็นวัตถุดิบหลักในกำรผลิต แชมพู สบู่ และครีมทำผิว โดยผ่ำนกำรรับรองมำตรฐำนชุมชน (มผช.) ซึ่งสบู่น�้ำซำวข้ำวของแบรนด์นี้ ถูกใจพวกเรำมำก เพรำะทั้งหอมสดชื่นด้วยกลิ่นหอมอ่อนๆ ของข้ำวหอมนิลไรซ์เบอรี แถมบ�ำรุงผิว ให้ชุ่มชื่นด้วยธรรมชำติ สั่งซื้อได้ทำง www.facebook.com/OTOPNamkian หรือทำงไลน์ : @chewaherb
นำนแค่ไหนแล้วที่เรำไม่ได้ เขียนโปสต์กำร์ดส่งถึงใคร ค�ำถำมนี้ ผุดขึน้ หลังจำกทีไ่ ด้ยอ้ นไปดูหนังสัน้ เรือ่ ง Postcard 1 ใน 3 ภำพยนตร์ ส่งเสริมกำรท่องเทีย่ ว จ.น่ำน เมือ่ 3 ปี ทีแ่ ล้ว ก�ำกับโดย ‘สำยป่ำน’ - อภิญญำ สกุลเจริญสุข ซึง่ เป็นเรือ่ งรำวควำมรัก ของหนุ่มสำวที่เกิดขึ้นจำกกำรส่ง โปสต์กำร์ดหำกัน บรรยำกำศของ เมืองน่ำนชวนฝัน ควำมโรแมนติก แสนสัน้ แต่ลกึ ซึง้ และกำรเล่ำเรือ่ งทีด่ ี ท�ำให้เรือ่ งนีน้ ำ่ สนใจไม่นอ้ ย กำรันตี โดยรำงวั ล หนั ง สั้ น ยอดเยี่ ย มใน เทศกำล China ASEAN Short Film Contest 2015 เข้ำไปดูได้ทำงยูทบู โดยใช้คำ� ค้นหำว่ำ ‘Postcard ภำพยนตร์ โดย อภิญญำ สกุลเจริญสุข’
33 PLACE
ไม่ใกล้ไม่ไกลตัวเมืองน่ำน มีหมู่บ้ำนเล็กๆ วิวสวย ชื่อว่ำ ซำวหลวง ที่นี่ก่อตั้งเป็นวิสำหกิจชุมชนกลุ่มทอผ้ำ โดดเด่นเรื่อง กำรอนุรกั ษ์ลำยผ้ำบ่อสวด และกำรทอฝ้ำยแบบดั้งเดิม โดยทอผ้ำ เป็นอำชีพกันมำอย่ำงยำวนำน ล่ำสุดทำงกลุม่ พร้อมแล้วทีจ่ ะเปิดให้ นักท่องเทีย่ วได้เข้ำมำเรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ของชำวน่ำนในสไตล์หมูบ่ ำ้ นซำวหลวง และเต็มอิ่มไปกับเรื่องรำวของฝ้ำย และกำรทอผ้ำอย่ำงเต็มอิ่ม กิจกรรมสั้นๆ แต่น่ำสนใจของบ้ำนซำวหลวง แนะน�ำโดย แม่วัลภำ อินผ่อง ประธำนกลุ่มทอผ้ำบ้ำนซำวหลวง เริ่มต้นที่นอน โฮมสเตย์บำ้ นซำวหลวง ตืน่ เช้ำใส่บำตรทีว่ ดั ซำวหลวง และกินมือ้ เช้ำ พร้อมๆ กับเจ้ำบ้ำนด้วยอำหำรท้องถิ่น เดินชมท้องไร่ท้องนำ และ วิวดอยภูสะงืด ถ้ำมำในช่วงเดือนมิถุนำยนจะมีประเพณีขึ้นดอย เดินเข้ำป่ำขึ้นไปไหว้พระธำตุทันใจ จำกนัน้ ก็เข้ำสูโ่ รงทอผ้ำ เริม่ ต้นด้วยกำรชมต้นฝ้ำย ชมวิธกี ำรทอผ้ำ ตัง้ แต่กระบวนกำรเก็บเม็ดฝ้ำย กำรแยกเม็ดออกจำกปุยฝ้ำยด้วย เครือ่ งรีดคล้ำยทีร่ ดี ปลำหมึกปิง้ กำรดีดฝ้ำยด้วยซีไ่ ม้ไผ่ทเี่ หลำให้ปลำย เรียว แล้วเขย่ำๆ ให้ปยุ ฝ้ำยฟู ก่อนจะลองปัน่ ฝ้ำยด้วยเครือ่ งปัน่ ฝ้ำย ท�ำจำกไม้ เห็นแม่อยุ๊ ปัน่ ให้ดงู ำ่ ยแสนง่ำย พอลองท�ำจริงๆ ยำกกว่ำทีค่ ดิ เมือ่ ได้เส้นฝ้ำยแล้ว แม่อยุ๊ จะพำไปชมกำรย้อมฝ้ำยด้วยสีธรรมชำติ จำกเปลือกไม้ แล้วไปชมกีก่ ระตุกหลังใหญ่สำ� หรับทอผ้ำ พร้อมเรียนรู้ กำรทอผ้ำเบือ้ งต้น ก่อนจะลงมือทอผ้ำเช็ดหน้ำหนึง่ ผืนด้วยตัวเอง สุดท้ำยหำกยังพอมีเวลำ สำมำรถเยีย่ มชมสถำนทีบ่ ริเวณใกล้เคียง เช่น พิพธิ ภัณฑ์เฮือนบ้ำนสวกแสนชืน่ เตำเผำโบรำณ ศำลปูฮ่ อ่ ได้ ขอบคุณ โครงกำรพืน้ ทีท่ อ่ งเทีย่ วเชิงสร้ำงสรรค์ (Creative Tourism District) จ.น่ำน จัดโดยกำรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
HOMESTAY
PRODUCT
เมื อ งย่ า ง โฮมสเตย์ ใครทีว่ ำงแผนไปเทีย่ วจ.น่ำน และมีแพลน จะขับรถไปรับลมเย็นถึงอ.ปัว เรำขอแนะน�ำทีพ่ กั วิวสวยอย่ำง เมืองย่าง โฮมสเตย์ บ้ำนไม้สัก หลังใหญ่ในต.ศิลำเพชร ทีล่ อ้ มรอบไปด้วยทุง่ นำ สี เ ขี ย วขจี และภู เ ขำสู ง ใหญ่ สุ ด ลู ก หู ลู ก ตำ เดิน ทำงสะดวกด้ ว ยท� ำ เลที่ใกล้กับตลำดเช้ำ ศิลำเพชร วัดศรีมงคล วัดภูเก็ต และร้ำนกำแฟ ไทลื้ อ มี บ ริ ก ำรอำหำรเช้ ำ เครื่ อ งดื่ ม ร้ อ น และกำรดูแลอย่ำงเป็นกันเองจำกเจ้ำของบ้ำน ที่เป็นชำวน่ำนแท้ๆ ค่ำที่พักรำคำ 800 บำท (ห้องธรรมดำ) และ 1,500 บำท (ห้องครอบครัว) ต่อคืน สนใจจองที่พักติดต่อได้ที่โทร. 08-95549757
ส�ำหรับคนทีห่ ลงใหลรสชำติของกำแฟ ต้องบอกว่ำ พลำดไม่ได้กบั เกอิชา กำแฟสำยพันธุจ์ ำกเอธิโอเปีย โดย กำแฟพันธุเ์ กอิชำนีจ้ ะมีรสชำติหวำนคล้ำยส้ม มีกลิน่ ผลไม้ ชัดเจน ปลูกโดยชำวม้งบนดอยและกลุม่ คนผูร้ กั กำแฟ เกิดเป็น กำรรวมตัวกันเรียกว่ำกำแฟเดอม้ง ทีบ่ ำ้ นมณีพฤกษ์ ต.งอบ อ.ทุ่งช้ำง จ.น่ำน สำมำรถแวะไปชิมได้ที่กำแฟเดอม้ง สำขำริสำสินสี ปำแอนด์รสี อร์ต ข้ำงเทศบำลเมืองน่ำน และ สำขำร้ำนเฮือนรังต่อ ดอยถิ่นน่ำน หรือสั่งซื้อได้ที่ www. facebook.com/coffeedehmong รำคำ 800 บำท/100 กรัม
INFO : โฮมสเตย์พร้อมอาหารเช้า 350 บาทต่อคนต่อคืน กิจกรรมทอผ้าพร้อมอาหารว่าง
110 บาทต่อคน รายละเอียดเพิ่มเติมโทร.08-8454-1005
เวิร์กช็อปทอผ้า ลายโบราณ ณ หมู่บ้านซาวหลวง
a day BULLETIN
THE CONVERSATION
เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ, ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ
34
issue 516 11 DEC 2017
35
หลายคนชอบจังหวัดน่านเพราะเป็นเมือง ที่มีจังหวะของเวลาที่ช้ากว่ากรุงเทพฯ (มาก) บางคนรักในความเงียบ สงบ เป็นกันเองของ ผู้ ค น หรื อ บ้ า งก็ ช อบในวิ ถี ชี วิ ต ของชาวบ้ า น ที่ ผู ก พั น กั บ ศาสนาพุ ท ธ และมี วั ด สวยๆ ตั้ ง กระจายอยู่ ร อบๆ (จนได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น เมื อ ง หลวงพระบาง 2) ส�าหรับเรามองว่าเป็นเมือง ที่ต้องแวะมาท่องเที่ยวในฤดูหนาว (บางราย ถึงขัน ้ จองทีพ ่ ก ั กันล่วงหน้าครึง ่ ปี) แต่นน ั่ ก็เป็น มุ ม มองของคนนอกที่ ไ ด้ เ ข้ า มาสั ม ผั ส กั บ ที่ นี่ แล้วส�าหรับคนนอกทีเ่ ลือกเข้ามาอาศัยอยูท ่ น ี่ ล ี่ ะ่ เขาสนใจอะไรในเมืองนี้ “ท�าไมถึงต้องเป็นจังหวัดน่าน” ค�าถามนี้ เราโยนไปให้กบ ั ‘ซ�าเหมา’ - ยุทธศักดิ์ นิมมาน กราฟิ ก หนุ่ ม จากจั ง หวั ด พะเยา ผู้ ที่ ห ลงรั ก เมื อ งนี้ เ ข้ า อย่ า งเต็ ม ตั ว และตั ด สิ น ใจย้ า ยมา อาศัยอยู่ที่น่านมาแล้วกว่า 8 ปี กับนักเขียน หนุม ่ ใหญ่ ‘หนึง่ ’ - วรพจน์ พันธุพ ์ งศ์ ผูท ้ บ ี่ อกว่า น่านคือบ้านทีใ่ ช่สา� หรับเขาในตอนนี้ เชือ ่ ว่าคุณ ก็คงอยากรูค ้ า� ตอบเหมือนกับเรา
คุณทัง้ คูต ่ า่ งก็ไม่ใช่คนน่าน แต่ทา� ไมถึงเลือก ทีจ ่ ะมาใช้ชว ี ต ิ อยูท ่ น ี่ ี่
ยุทธศักดิ์ : ตอนเรียนจบผมก็มคี วามคิดเข้าข้าง ตัวเองว่า คนต่างจังหวัดจะเข้าใจเรือ่ งการออกแบบได้ สักแค่ไหน ก็ใช้ชีวิตตามแบบแผนของคนทั่วไปที่ เรียนจบคือเข้าไปท�างานในกรุงเทพฯ ท�าอยู่ประมาณ หนึง่ ปีกร็ สู้ กึ ว่าตัวเองปรับตัวให้เข้ากับเมืองหลวงไม่ได้ เลยไปอยูก่ บั เพือ่ นทีเ่ ชียงใหม่ และก็มโี อกาสได้มาช่วย ออกแบบโลโก้ให้กับโรงแรมในจังหวัดน่าน จากนั้นก็ มีงานเข้ามาเรื่อยๆ พอรู้ตัวอีกทีเราอยู่ที่นี่ยาวเลย วรพจน์ : น่ า นเป็ น เมื อ งที่ อ ากาศดี ม ากๆ แต่คนไทยไม่ค่อยพูดเรื่องอากาศและแสงแดดกัน น่านเป็นจังหวัดที่พออยู่ได้ ไม่ได้หนาวจนทนไม่ไหว และก็ไ ม่ ไ ด้ ร ้ อ นจนเป็ น ทะเลทราย พอได้ อ ยู ่ ใ นที่ ทีอ่ ากาศดีแล้วมันดีตอ่ ชีวติ เรามองเห็นแสงแดดสวยๆ เราให้ความส�าคัญกับอากาศ เพราะอากาศคือสิ่งที่ คนใช้ ห ายใจตลอดเวลา ข้ า วเรากิ น กั น แค่ วั น ละ สามครั้ง กรุงเทพฯ เราอาศัยอยู่มากว่า 25 ปีแล้ว ส�าหรับเรา เราพอแล้ว คนหนึง่ อยูม ่ า 8 ปี ส่วนอีกคนมาอยูจ ่ ริงๆ ได้ เกือบปี น่านทีเ่ ป็นทีเ่ จอนัน ้ แตกต่างกับภาพ ทีอ ่ ยูใ่ นหัวบ้างไหม
วรพจน์ : บ้านเหมาเป็นไงบ้าง ร้อนไหม ยุทธศักดิ์ : อยู่ได้นะครับ พัดลมก็ไม่ได้ใช้ วรพจน์ : เหมือนกัน ที่บ้านเราก็ไม่มีพัดลม หน้าร้อนก็หลบอยู่ใต้ต้นไม้ ถ้าไปยืนตากแดดถึงจะ ร้อน (หัวเราะ) ยุทธศักดิ์ : เวลาบอกใครว่าทีบ่ า้ นไม่ใช้พดั ลม เขาจะท�าหน้าเหมือนเห็นผี เราก็ยนื ยันว่าเป็นแบบนัน้ จริงๆ ผมไม่ชอบความคิดที่ว่าถ้าร้อนหรืออากาศไม่ดี ก็ค่อยเข้าห้องแอร์ คิดแบบนี้ไม่ค่อยถูกต้อง วรพจน์ : ไม่ใช่หรอกเหมา เราใช้แอร์กันผิดวิธี เวลาเปิดแอร์เราต้องไม่ปดิ ประตู ปล่อยให้ลมแอร์ไหล ออกไปข้างนอกถึงจะถูก โลกจะได้เย็นลง (หัวเราะ) ยุทธศักดิ์ : พี่หนึ่ง ผมขอกาแฟเพิ่มแล้วกัน (หัวเราะ) วรพจน์ : การเลือกสถานที่อาศัยมันมีปัจจัย เยอะ ไม่ใช่ว่าเรามีเงินร้อยล้านแล้วจะมาชี้เลยว่าเรา
a day BULLETIN
36
issue 516 11 DEC 2017
“เราอยากมีชีวิตที่ดี เราก็ใช้สิทธิ์ในการเลือก ในโลกใบนี้มันมีเรื่องจ�านวนมากที่เลือกไม่ได้ และก็มีเรื่องที่เลือกได้ อะไรที่เลือกได้เราก็เลือกไปสิ”- วรพจน์ พันธุ์พงศ์
จะอยู่ตรงนี้ เงินเป็นค�าตอบที่มีน�้าหนักน้อยที่สุดด้วยซ�้า การเลือกถิ่นฐานมีปัจจัยแวดล้อมทั้งเรื่องเพื่อน สิ่งรอบตัว เราไปๆ มาๆ ที่นี่หลายปีกว่าจะตัดสินใจมาอยู่ ยุทธศักดิ์ : ผมว่าเมืองเองก็เลือกคนมาอยู่ด้วย เหมือนกัน ถ้าพูดตามหลักความจริงคงเป็นเรือ่ งของธรรมชาติ ระหว่างคนกับเมืองว่าจะตรงกันไหม อย่างตอนแรกที่มาที่นี่ เรามากันเป็นกลุม่ ห้าคน ผมเป็นคนทีต่ ดิ สอยห้อยตามเขามา ด้วยซ�้า หลายคนก็บอกว่าอยากมาอยู่ที่น่าน แต่ท้ายที่สุด เขาก็ไม่ได้มาอยู่ เหลือผมกับเพื่อนสองคนที่เหมือนกับเมือง เลือกเราไว้ วรพจน์ : เหมือนกับคนที่เป็นแฟนกัน ท�าไมเราต้อง เป็นแฟนกับคนนี้ ซึ่งก็มากับเหตุผลอะไรก็ไม่รู้ บางทีก็เป็น เหตุผลที่เลอะเทอะ แต่ไม่ใช่เรื่องไสยศาสตร์แน่นอน มันคือ เรื่องของความพอดีกัน ยุทธศักดิ์ : มีหลายคนตัง้ ใจมาท�างานทีน่ ี่ ท�าร้านกาแฟ ร้านขายของ แต่งร้านให้เหมือนที่ปาย แต่สุดท้ายก็อยู่ไม่ได้ เพราะบุ ค ลิ ก เมื อ งไม่ เ หมื อ นกั น ธรรมชาติ ข องคุ ณ กั บ ธรรมชาติของเมืองไม่เข้ากัน ชีวต ิ ในแต่ละวันของพวกคุณเป็นอย่างไร
ยุทธศักดิ์ : บอกแล้วจะหาว่าผมขี้เกียจไหม ที่แน่ๆ นอนตื่นสายแน่นอน (หัวเราะ) ตื่นมาก็เล่นกับหมาที่บ้าน อาบน�า้ แล้วออกไปหาอะไรกิน แล้วก็เลยไปสภากาแฟ บ่ายๆ ก็กลับมานัง่ ท�างานถึงเย็น ถ้าว่างๆ ก็ปน่ั จักรยานหรือไปขีร่ ถ เล่น แล้วก็สังสรรค์กับเพื่อน ถ้าช่วงไหนส่งงานหมดแล้วก็ อาจไปออกทริปขีม่ อเตอร์ไซค์ ชีวติ ดูเรียบง่ายไปไหม (หัวเราะ) วรพจน์ : เราท�างานสองแบบ แบบแรกคือการท�า สัมภาษณ์ ท�างานสารคดี นั่นคือการท�างานร่วมกับผู้อื่น งานแบบที่สองคืองานเขียนของตัวเองที่ไม่ต้องยุ่งกับใคร ถ้าเป็นช่วงทีท่ า� งานของตัวเอง เราก�าหนดชีวติ ได้ หลังสองทุม่ ก็เข้านอนแล้ว พอนอนเร็วก็ตื่นเช้า ใช้ชีวิตตามแสงแดด ซึ่งก็ไม่ได้มีเหตุผลที่สวยงามอะไรหรอก แค่บ้านของเรา อยู่ในป่า เวลาเปิดไฟแล้วแมลงจะมาเยอะ ถ้ามีแสงแดด จะไม่ค่อยมีแมลง ตื่นมาก็ทา� งานช่วงเช้า งานเขียนของเรา เป็นงานทีต่ อ้ งคิด ถ้าคิดไม่ออกก็ไปนัง่ เล่น นอนเล่น พอถามว่า วันๆ เราท�าอะไรบ้าง เราแทบไม่ได้ทา� อะไรเลยด้วยซ�า้ (หัวเราะ) หนังสือเราเขียนสีช่ วั่ โมงก็เสร็จ แต่กระบวนการก่อนหน้านัน้ ต่างหากที่ต้องใช้เวลานั่นคือการคิด ถ้ามาดูตอนที่เราไม่ได้ นั่งเขียนหนังสือ ก็จะบอกว่าวันๆ ไม่เห็นท�า (ห่า) อะไรเลย เออ ก็ใช่ (หัวเราะ) แสดงว่าอยูท ่ ไี่ หนก็ยงั ท�างานได้นน ั้ ท�าได้จริงใช่ไหม
วรพจน์ : แล้วแต่อาชีพครับ ถ้าคุณเป็นทหารเรือ ก็ท�าไม่ได้ หรือคุณเลือกที่จะเป็นหมอผ่าศพก็มาไม่ได้ ต้อง ดูก่อนว่าความปรารถนาของคุณคืออะไร ความสามารถล่ะ แล้วต้องการอะไร คุณต้องการสิ่งนั้นแต่สิ่งนั้นอยู่ที่สาทร คุณจะมาบอกว่าอยากท�าตามใจตัวเองแล้วอยากได้เงินเดือน เจ็ดหมื่นด้วย จะเป็นไปได้ยังไง ยุทธศักดิ์ : ถ้าเป็นงานด้านการออกแบบ ผมว่า
37 “เมืองเองก็เลือกคนมาอยู่ด้วยเหมือนกัน ถ้าพูดตามหลักความจริงคงเป็นเรื่องของธรรมชาติ ระหว่างคนกับเมืองว่าจะตรงกันไหม”- ยุทธศักดิ์ นิมมาน
ทุกที่ต้องการหมด เพราะการออกแบบคือการแก้ ปัญหาเบื้องต้นให้กับคน บางคนที่บอกว่าอยาก กลับมาอยู่บ้าน แล้วถ้าเขามีพ่อแม่อยู่ทนี่ ี่ การย้าย กลับมาท�างานต่างจังหวัดก็ไม่ได้น่ากลัวมากนัก วรพจน์ : อย่าลืมว่าบางวันเหมาไม่ได้ทา� งาน ให้คนน่าน เขาท�างานให้คนทีบ่ รุ รี มั ย์ แต่เขานัง่ ท�างาน อยู่ที่น่านเท่านั้น ผมเองอยู่ที่นี่ก็ไม่ได้เขียนแต่เรื่อง น่าน ผมอาจจะก�าลังเขียนเรื่องของปารีสอยู่ก็ได้ การเป็นนักคิด นักสร้างสรรค์ แล้วมาอยู่ ในเมื อ งที่ เ งี ย บสงบ สิ่ ง เหล่ า นี้ ส่ ง ผลต่ อ ความคิดสร้างสรรค์ของตัวเองกันบ้างไหม
วรพจน์ : แรงขับเคลื่อนทางความคิดที่คุณ ว่าเราเจอมาตลอด 25 ปีที่อยู่กรุงเทพฯ ส�าหรับเรา ค�าว่า ‘แรงบันดาลใจ’ ที่หลายๆ คนพูดถึงกัน เราไม่ตอ้ งการแล้ว เพราะสิง่ นีเ้ ข้าไปอยูใ่ นเลือดเนือ้ ของเราแล้ว เราท�างานของตัวเองโดยไม่ต้องพึ่ง ปัจจัยภายนอก ก็เหมือนกับเวลาที่อยากกินข้าว เราก็ไม่ต้องไปดูว่าคนอื่นกินข้าวไหม ถ้าอยากกิน เราก็กิน ยุทธศักดิ์ : ที่มาที่นี่ถ้าจะมามองหาความตื่นเต้นอยู่ไม่ได้หรอก การอยู่ที่น่านเหมือนกับ การอยูก่ บั ความธรรมดา และเราชอบความธรรมดานี้ ผมไม่เคยคิดถึงความตื่นเต้นเลย วรพจน์ : แต่ก็ต้องตีความอีกความตื่นเต้น ของเรากับตืน่ เต้นของคนอืน่ เป็นอย่างไร ความตืน่ เต้น ของเราอาจจะเป็นทีแ่ สงแดดแบบนี้ ลมเย็นๆ อย่าง ตอนนี้ นี่คือความตื่นเต้นของเรา ซึ่งไม่เหมือนกับ ความตื่นเต้นของคนอื่น ยุทธศักดิ์ : สมัยเรียนจบใหม่ๆ ผมก็เสียดายนะ ถ้าบางครัง้ เราไม่ได้ดหู นังบางเรือ่ งหรือไปคอนเสิรต์ บางงาน สิ่งเหล่านี้เป็นแรงขับเคลื่อนให้ตัวเราใน ช่วงนั้น แต่วันนี้ผมมองว่างานของตัวเองควรจะ ออกมาจากแก่นกลางของตัวเรา หลังๆ ผมจึงไม่ลง ไปกรุงเทพฯ แล้ว เพราะไม่อยากไปเจอกับรถติด ความปวดหัว วุ่นวาย ผมรู้สึกว่าตัวเองเดินตาม จังหวะการก้าวเท้าของคน กทม. ไม่ทันเลย
ถ้ า เรื่ อ งรถติ ด คื อ ตั ว ชี้ วั ด การเติ บ โตของ เมือง ได้ขา่ วว่าจังหวัดน่านรถก็เริม ่ ติดแล้ว
วรพจน์ : โอ๊ย ติดนิดเดียวเอง ค�าว่ารถติด ของคนน่านกับรถติดทีอ่ โศกนีค่ นละเรือ่ งเลย ทีน่ มี่ ี รถจอดติดไฟแดงอยูส่ คี่ นั เขาก็พดู ละว่ารถติด แต่รถ ก็เยอะขึ้นจริงๆ นั่นแหละ เยอะขึ้นมาก แต่ก็ไม่ได้ ติดขนาดนัน้ อย่างมากก็ตดิ ไฟแดงอยูส่ ามนาที พอ มีรถติดจ�านวนหนึ่ง คนก็จะพูดว่ารถเยอะจังเลย วันนี้ (หัวเราะ) ต้องดูว่าใครพูด และความหมาย จริงๆ คืออะไร เพราะมันต่างกันมาก ค�าพูดของ คนท้ อ งถิ่ น กั บ คนเมื อ งเป็ น เรื่ อ งเฉพาะมาก ต้องถามให้ดวี า่ ทีเ่ ขาบอกนัน้ หมายความว่าอย่างไร
รถเยอะขึน ้ ความเป็นเสน่หข์ องเมืองจักรยาน จะหายไปไหม
วรพจน์ : นั่นเป็นข้อสังเกตของคุณ แต่ถ้า เป็นผมจะให้ขจี่ กั รยานจากบ้านมาร้านกาแฟก็ไม่ไหว ขอขี่มอเตอร์ไซค์ดีกว่า เพราะบ้านผมอยู่ห่างจาก ตัวเมืองไปสิบกว่ากิโล ฝนจะตกหรือเปล่าก็ไม่รู้ ไหนจะต้องแบกคอมพิวเตอร์มาใช้อินเทอร์เน็ต ที่ร้านกาแฟอีก เพราะบ้านเราไม่มีอินเทอร์เน็ต ทางเข้าบ้านก็เป็นทางลูกรัง และตอนนี้ที่เห็นว่า ในเมื อ งไม่ ค ่ อ ยมี ใ ครขี่ จั ก รยานเพราะเป็ น ช่ ว ง เคลื่อนจากหน้าฝนมาหน้าหนาว บางวันฝนก็ตก แล้วใครจะขี่จักรยานไหว
ยุทธศักดิ์ : คนน่านจะใช้จักรยานในการออกก� า ลั ง กายมากกว่ า ถ้ า ไม่ ต อนเช้ า ตรู ่ เ ลย ก็ตอนเย็น ถ้าในชีวิตประจ�าวันอาจไม่ค่อยได้ใช้ หรอก เพราะเมื่อสี่ปีก่อนเขามีการเริ่มโครงการ เลนจักรยานก็จริง แต่ใช้งานจริงไม่ได้ มอเตอร์ไซค์ ก็มาจอด รถยนต์ก็มาจอด ผมเคยลองขี่จักรยาน อยู่พักหนึ่ง เหงื่อซ่กเต็มตัวเลย (หัวเราะ) วรพจน์ : จะปั่นไปกินกาแฟ ไปนั่งรื่นรมย์ ใช้ความคิดในการออกแบบ ไปถึงเหงื่อเต็มตัว มันคงจะคิดออกแหละ (หัวเราะ) หลายคนชอบที่ นี่ เ พราะความเนิ บ ช้ า ซึ่งตอนนี้นา่ นยังเป็นอย่างนัน ้ อยูไ่ หม
วรพจน์ : คุณว่าคนน่านเป็นคนช้าเหรอ งั้นลองดูตลาดตอนเช้า คนที่นี่ตั้งแผงขายของกัน ตอนตีห้า พอเจ็ดโมงเช้าก็เก็บของกลับหมดแล้ว มาถึงตลาดตอนสักแปดโมงนีค่ อื ไม่เหลืออะไรแล้ว แล้วตลาดตอนเย็นของเขาคือบ่ายสามโมง คุณว่า เขาช้าไหม ส�าหรับผม คนที่นี่แอ็กทีฟกันจะตาย ยุทธศักดิ์ : จริงครับ คนน่านท�าอะไรกันเร็ว กว่าทีเ่ ราเห็นด้วยซ�า้ แต่บางเรือ่ งทีช่ า้ เพราะมีเหตุผล อย่ า งสมั ย ก่ อ นที่ ผ มมาอยู ่ ใ หม่ ๆ ผมเป็ น คน เกรี้ยวกราดนะ ต้องท�าให้ได้ดั่งใจ แต่คนน่าน เป็นคนทีป่ ระนีประนอมกันมากกว่า ผมเคยท�างาน กับช่างปั้นปูนซึ่งเขาเป็นคนที่ฝีมือดีมาก แต่พอ ท�างานกันสักพักเขาก็หายไปเลย พอไปตามก็พบว่า เขาไปช่วยทีบ่ า้ นปลูกถัว่ เลยหยุดงานปัน้ ปูนไว้กอ่ น ซึ่งเจ้าของโครงการก็บอกว่า ไม่เป็นไร รอได้ ผมก็ อึง้ เพราะเขาบอกว่างานหลักของเขาคือช่วยทีบ่ า้ น ปลูกถั่ว ปลูกข้าว งานปั้นปูนคืองานอดิเรก คนที่นี่ เขาให้ ค วามส� า คั ญ กั บ การเกษตรก่ อ นเรื่ อ งอื่ น วิถีชีวิตของคนที่นี่เป็นอย่างนี้จริงๆ ในเรือ ่ งของการเปลีย ่ นแปลง คุณอยากให้ เมืองเติบโตขึน ้ หรือคงสภาพไว้แบบนี้
ยุทธศักดิ์ : ผมไม่ฟูมฟายนะถ้าน่านจะ เปลี่ยนไป บางคนอาจจะบอกว่าท�าไมไม่เก็บบ้าน หลังนั้นไว้ ท�าไมไม่ท�าอย่างนั้นอย่างนี้ แต่ลองนึก ภาพคนสูงอายุทอี่ ยูก่ บั บ้านไม้มาทัง้ ชีวติ เจอทัง้ ปลวก เจอทัง้ ฝุน่ วันหนึง่ มีคนมาขอซือ้ ทีไ่ ปท�าอาคารพาณิชย์ และให้อาคารพาณิชย์กบั เขาหนึง่ ห้อง เขาก็บอกว่า บั้นปลายชีวิตก็อยากอยู่อย่างสบาย เราไปห้าม ความเปลี่ยนแปลงนี้ไม่ได้ วรพจน์ : เรื่องคน เราไม่ค่อยรู้หรอก เพราะ เพิ่งมาอยู่แบบเต็มตัว แต่คนที่เรารู้จักเขาก็โอเค ทุกคน เราสนุกกับเมืองนี้ น่านเปลี่ยนไปเยอะมาก แต่ช่างมัน จะเป็นอะไรก็เป็น เราไม่มีอา� นาจอะไร เราท�าในส่วนของเรา และก็ชอบมัน เราไม่มีสิทธิ์ ไปห้ามเขาไม่ให้เปลีย่ นแปลง หน้าทีข่ องเราคือเป็น นักสือ่ สารมวลชน เกิดอะไรขึน้ เราเล่า มีอะไรก็บอก ไปตามที่มันเป็น
ถามตรงๆ เลย ลึ ก ๆ ในใจ อยากให้ ที่ นี่ เป็นเมืองที่ป๊อปปูลาร์แบบเมืองท่องเที่ยว อืน ่ ๆ ไหม
วรพจน์ : เราไม่มคี วามคาดหวัง ไม่มคี วามอยากในเรื่องนี้ เมืองจะป๊อปไม่ป๊อปก็ช่าง ยุทธศักดิ์ : พีก่ ลัวอกหักเหรอครับ (หัวเราะ) วรพจน์ : โลกจะเป็นอย่างไรก็เรื่องของโลก มัน out of control ส�าหรับเรา ยุ ท ธศั ก ดิ์ : เราขอแค่ อ ย่ า รื้ อ ๆ สร้ า งๆ วัดบ่อยๆ ก็พอ (หัวเราะ) แต่เราเป็นคนที่คลุกคลี อยู่กับคน เลยรู้สึกว่าน่านยังไม่เปลี่ยนไปมาก
อาจจะมีความเจริญเกิดขึน้ อย่างทีห่ น้าวัดภูมนิ ทร์ เรือนไม้เก่าที่เราชอบก็หายไป เป็นความเปลี่ยนแปลงที่เรามองเห็นแต่ก็ไม่ได้รู้สึกเสียดายอะไร วรพจน์ : เรือนไม้เก่าที่คุณว่าตอนนี้ไปเป็น บ้านผมไง (หัวเราะ) อันนี้พูดเล่นนะ แต่มันก็เป็น ไปได้ เพราะเมื่อ บ้านนี้ถู กรื้อ ออกไปแล้วสร้าง เป็นตึก เขาก็เอาไม้เก่าไปขาย เราชอบไม้เก่า ก็ไปซื้อมาท�าบ้าน ทุกอย่างก็เคลื่อนไป เป็นสมบัติ ผลัดกันชม อี ก เรื่ อ งที่ เ ราได้ ยิ น มาคื อ ปั ญ หาของ เขาหัวโล้น อยากถามพวกคุณว่าคิดอย่างไร กับประเด็นนี้
ยุทธศักดิ์ : เราไปห้ามเขาหยุดท�ามาหากิน ไม่ได้หรอก ถ้าไม่ให้เขาท�าแล้วจะให้เขาไปท�าอะไร วรพจน์ : เป็นนักออกแบบไง (หัวเราะ) ยุทธศักดิ์ : มา มาเป็นนักออกแบบโลโก้กนั (หัวเราะ) วรพจน์ : แล้วใครจะท�าก๋วยเตี๋ยวให้เรากิน ใครจะสร้างบ้าน ใครจะปลูกข้าวโพดให้เรากินล่ะ ยุทธศักดิ์ : เรื่องข้าวโพดท�าให้ผมนึกขึ้นได้ คือจริงๆ ปีนั้นเป็นปีที่ร้อนจัดทั่วประเทศ แล้วเขา ไม่รู้จะโยนเรื่องนี้ให้ใคร พอนั่งเครื่องบินมาลง สนามบินน่าน เห็นเขาหัวโล้น ก็อา้ ว เพราะคนน่าน นี่ไง ซึ่งความเป็นจริงป่าทางภาคอีสานเหลือน้อย กว่าทางภาคเหนือด้วยซ�า้ แล้วมีเรือ่ งตลกอีกอย่าง คือ พอช่วงหน้าฝนเข้าหน้าหนาว พวกคุณก็มาถ่าย รูปกับความเขียว ซึง่ เขียวๆ ทีเ่ ห็นนัน่ คือต้นข้าวโพดไง แต่ไปบอกว่าป่าเขียว สดชื่น ยืนถ่ายรูปฮิปสเตอร์ กัน ซึ่งจริงๆ คือต้นข้าวโพดที่พวกคุณด่ากันไปเมื่อ ต้นปีนนั่ แหละ (หัวเราะ) ในความรูส้ กึ ของผม คนทีน่ ี่ เขาก็ไม่ได้ท� าลายธรรมชาติอย่างที่คนเมืองคิด ขนาดนั้น
คุณคิดว่าในอนาคตจะลงหลักปักฐานอยูท ่ ี่ น่านตลอดไปไหม
ยุทธศักดิ์ : ผมอยากอยู่ที่นี่ ถ้าเป็นไปได้ ก็จะอยู่ที่นี่แหละ ยกเว้นแต่ว่ามีปัจจัยทางบ้าน หรืออาจจะต้องแต่งงานแล้วทางบ้านของฝ่ายหญิง ไม่สามารถย้ายมาได้ ซึ่งก็เป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน แต่ตอนนี้ก็ฝันว่ายังไงก็คงใช้ชีวิตอยู่ที่นี่ วรพจน์ : ผมไม่มีอนาคต แต่ที่นี่ตอนนี้ คือบ้าน แต่วิธีคิดของผมคือบ้านเป็นเรื่องชั่วคราว โอเค บ้านเป็นสิ่งปลูกสร้าง เป็นถาวรวัตถุ แต่ ส�าหรับผม ทุกอย่างไม่ถาวรหรอก ตอนนี้มันสนุก มันพอดี มันชอบ เราก็อยู่ ถ้ามันไม่สนุก มันไม่พอดี เราก็เลิก ซึ่งไม่รู้ว่าอาจจะเป็นหนึ่งปีหรือสิบปีก็ได้ ไม่มคี า� ว่าสุดท้ายอยูแ่ ล้ว ถ้าไม่ชอบก็เปลีย่ น ไปอยู่ ที่ที่ตัวเองชอบ ท�าไมต้องทนอยู่กับสิ่งที่ไม่ชอบ เราอยากมี ชี วิ ต ที่ ดี เราก็ ใ ช้ สิ ท ธิ์ ใ นการเลื อ ก ในโลกใบนี้มันมีเรื่องจ�านวนมากที่เลือกไม่ได้ และ ก็มีเรื่องที่เลือกได้ อะไรที่เลือกได้เราก็เลือกไปสิ ยุทธศักดิ์ : ถ้าพี่หนึ่งจะไม่อยู่แล้ว ยกบ้าน ให้ผมก็แล้วกันนะครับ (หัวเราะ)
a day BULLETIN
SPACE & TIME
เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ, รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล
38
“เราไม่รู้ว่าเราผูกพันอะไรกับทีนี่ แต่รู้สึกว่ามันสงบและร่มเย็นกว่าบ้านเราที่กรุงเทพฯ เสียอีก” ‘ชมพู่’ - ภูรัฎฐ์ กัญจนพรพงศ์
โฮมสเตย์บ้านไม้ แสนอบอุน ่ ใจกลางเมืองน่าน
issue 516
11 DEC 2017
ไม่รวู้ า่ เป็นเพราะลมหนาวทีพ ่ ด ั เอือ ่ ยๆ ผ่านประตูไม้บานใหญ่ เสียงนกร้อง หรือกาแฟแก้วอุน ่ รสกลมกล่อมกันแน่ ทีท ่ า� ให้เช้าวันแรก ของเราที่ ภู ก ะลั น โฮมสเตย์ จั ง หวั ด น่ า น สดใสขนาดนี้ แต่ สิ่ ง ที่ ท� า ให้ เ ราประทั บ ใจยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น คื อ เรื่ อ งราวความรั ก ของ ‘ชมพู่’ - ภูรัฎฐ์ กัญจนพรพงศ์ ที่มีต่อสถานที่แห่งนี้ตั้งแต่แรกเห็น จนตัดสินใจปรับปรุงบ้านไม้เก่าแก่ให้เป็นที่พักแสนอบอุ่น ส�าหรับนักเดินทาง และยังเป็นดัง ่ บ้านหลังทีส ่ องของเธอ
ก ง น
39 “เราเป็นคนกรุงเทพฯ ที่ใฝ่ฝันมาตลอดว่าอยากมี บ้านอยู่ต่างจังหวัด” เธอค่อยๆ เริ่มบทสนทนา พลางมอง รถจักรยานทีป่ น่ั ผ่านหน้าบ้านไปช้าๆ “ก็เลยเสาะหา และ ท่องเที่ยวไปเรื่อยๆ จนมาเจอบ้านหลังนี้ที่จังหวัดน่าน ยอมรับว่าแค่เห็นครั้งแรกก็ชอบเลย” แต่ แ น่ น อนว่ า การเริ่ ม ต้ น ย่ อ มไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งง่ า ย โดยเฉพาะการท�าโฮมสเตย์ในจังหวัดที่ห่างไกลจากบ้าน ของเธอหลายร้อยกิโลเมตร “ตอนแรกๆ ก็ปรับตัวยาก เหมือนกัน เพราะเราไม่เคยท�าธุรกิจโฮมสเตย์มาก่อน แถม ยังมีงานที่กรุงเทพฯ ให้ท�าตลอด ท�าให้ต้องบินไปกลับ กรุงเทพ-น่าน อยู่บ่อยๆ” เธอเล่า ภูรัฎฐ์ค่อยๆ ปรับปรุงบ้านไม้หลังเก่าจากที่เคย มีบรรยากาศขรึมๆ ด้วยเฟอร์นเิ จอร์ไม้ทงั้ หลัง ให้กลายเป็น บ้านที่สดใสขึ้นด้วยโซฟาสีเหลืองสด โต๊ะกลางสีแดง และของตกแต่งสไตล์โมเดิร์นต่างๆ ที่ช่วยดึงความขี้เล่น และสนุก สนานของพื้น ที่อ อกมา โดยเธอเล่ า เสริม ว่ า เฟอร์ นิ เ จอร์ ส ่ ว นใหญ่ ก็ ข นมาจากบ้ า นที่ ก รุ ง เทพฯ เพื่อท�าให้รู้สึกเหมือนอยู่บ้านตัวเอง แต่ก็ไม่อยากตกแต่ง ให้มากเกินไป เพราะต้องการให้มีพื้นที่โล่งๆ ไม่อึดอัด และดูสบายตา “เราตกแต่งตามสไตล์ที่ตัวเองชอบ ซึ่งมันอาจจะ แตกต่างจากบ้านหลังอื่นๆ ในน่าน ที่มักจะใช้ไม้สัก หรือหวายมาเป็นเฟอร์นิเจอร์” เธอเล่าพลางมองกรอบรูป สีสันสดใสที่แขวนอยู่บนก�าแพง “ส่วนชื่อ ‘ภูกะลัน’ นั้น มาจากชือ่ ของลูกทัง้ 2 คนของเราเอง... ภูฟา้ กับ อลัน” (ยิม้ ) บ้านไม้ขนาดกะทัดรัดหลังนีม้ ี 2 ชัน้ ชัน้ บนประกอบด้วย ห้องนอน 4 ห้อง รองรับได้ทงั้ หมด 8 คน มีพนื้ ทีส่ ว่ นรวม เป็นห้องนั่งเล่นด้านล่าง และบริเวณสวนข้างบ้านส�าหรับ ทานอาหาร โดยภูรฎั ฐ์พดู ถึงทีม่ าของการจัดสรรพืน้ ทีเ่ ช่นนี้ ว่า “เราอยากให้ผู้มาพักได้ทา� กิจกรรมร่วมกัน อย่างโต๊ะ กินข้าวเราก็มีโต๊ะใหญ่ให้นั่งกินด้วยกัน ในห้องนั่งเล่น ก็สามารถนั่งคุยและดูทีวีด้วยกันได้ ซึ่งเปิดโอกาสให้ คนแปลกหน้าได้ท�าความรูจ้ กั กัน และบางคนก็อาจคุยกัน ถูกคอจนได้เพื่อนกลับไป” เธอเล่าต่อถึงเหตุการณ์สดุ โรแมนติกทีเ่ คยเกิดขึน้ ทีน่ ี่ ว่า “ครั้งหนึ่งมีลูกค้าสองคนมานอนที่พักเรา ตอนแรก ไม่รู้จักกัน แต่ก็ได้มาพูดคุย นั่งกินข้าวร่วมกัน ปรากฏว่า ตอนกลับกรุงเทพฯ ไปก็เริม่ คบหากัน จนสุดท้ายก็กลับมา แต่ ง งานที่ บ ้ า นเรา” เธอเล่ า ไปยิ้ ม ไปอย่ า งอารมณ์ ดี “ทัง้ ๆ ทีเ่ ขาทัง้ สองคนไม่ใช่คนน่านเลย แต่กเ็ ลือกมาจัดงาน ทีน่ ี่ เพราะบ้านหลังนีเ้ ป็นจุดเริม่ ต้นความรักของพวกเขา” ตลอดระยะเวลาเกือบ 3 ปี ทีภ่ รู ฎั ฐ์เปิดโฮมสเตย์ แห่งนี้ที่จังหวัดน่าน เธอได้เรียนรู้และสะสมประสบการณ์ ชีวิตมากมาย โดยเธอเล่าว่า “การมาอยู่ที่นี่ท�าให้เรามี ความอดทนมากขึน้ รวมถึงได้รจู้ กั วิถชี วี ติ และความเป็นอยู่ ของคนทีแ่ ตกต่างกันออกไป เพราะเราเปิดประตูให้ใครก็ไม่รู้ เข้ามาอยู่ในบ้านเราไม่ซา�้ หน้าแต่ละวัน แต่ละคนกินข้าว คนละเวลา แขวนผ้าเช็ดตัวกันต่างที่ มันท�าให้รเู้ ลยว่าโลกนี้ มีคนมากมายหลายประเภทจริงๆ “จนถึงวันนีเ้ ราก็ยงั ตอบตัวเองไม่ได้เลย ว่าท�าไมเรา ถึงรัก ผูกพัน และมีความสุขกับการอยูท่ นี่ ขี่ นาดนี้ ทัง้ ๆ ทีม่ นั ไม่ใช่บา้ นเกิดเรา ครอบครัวเราก็ไม่ได้อยูท่ นี่ ี่ แต่อย่างน้อย ก็เป็นสถานทีท่ ที่ �าให้เราได้เรียนรู้ชวี ติ คน และได้พบเพือ่ น ใหม่ๆ ทีเ่ ราไม่สามารถหาได้จากกรุงเทพฯ เลย” เธอกล่าว ปิดท้าย พลางกวาดตามองไปรอบบ้าน คงคล้ายกับทีใ่ คร เคยบอกว่า สถานที่บางแห่งมีแรงดึงดูด เหมือนกับบ้าน หลังนี้ที่ดึงดูดเธอ และคงดึงดูดให้เรากลับมาเช่นกัน
a day BULLETIN
BREATHE IN
เรื่องและภาพ : วรพจน์ พันธุ์พงศ์
42
BREATHE IN : วรพจน์ พันธุ์พงศ์ นักเขียน และสื่อมวลชนอิสระ ทุกวันนี้ใช้ชีวิตอยู่ที่จังหวัดน่าน พรุ่งนี้ไม่รู้
บ้านหลังสุดท้าย ...ไม่มี เกือบๆ ตีสอง พระจันทร์หลังวันลอยกระทงยังสุกสว่างอยูก ่ ลางหุบเขาไร้ชอ ื่ ยกสองมือมองดูลายมือ มันไม่ชด ั เท่าแสงแดดหรือนีออน แต่เห็นรูปทรง ตื้นลึก เล็กใหญ่ ไล่สายตามองลวดลายสีสันบนกางเกง ทุกอย่างแจ่มกระจ่างแทบไม่ต่างจากมองตอนกลางวัน ลายไม้บนระเบียง ต้นล�าไย ต้นกล้วย ต้นพิกุล ต้นพะยอม ลั่นทม กอไผ่ กองไฟที่มอดไปตั้งแต่หัวค�่า มองไปทางไหนก็สัมผัสรู้เห็น ทั้งที่ไฟฉายในมือไม่ได้เปิด
เสียงแมลงกลางคืนเบาบาง คืนนีเ้ ท่านัน้ หรอก บางคืน--นานแล้วล่ะ เล่นเอาต้องตืน่ มาดูนาฬิกา เปิดไฟ จดบันทึก เพราะกลัน้ ใจหลับไม่ลง มันคล้ายมีวงดนตรีวงใหญ่มาบรรเลง รอบเรือน ทีร่ า้ ยคือ ฝีมอื แย่และไม่ได้รบั เชิญ กลางคืนกลางป่าส่วนใหญ่ไม่เงียบ สัตว์ผลัดกันกรีดเสียง ผลัดก็ยงั ดี บางทีรอ้ งดังๆ พร้อมกัน แต่โดยรวมแล้วฟังเพลิน เป็นเสียงทีไ่ ม่ทา� ร้าย เป็นเสียงทีช่ ว่ ยผ่อนคลายอารมณ์ ผมนอนสองสามทุม่ เป็นปกติ แต่คนื นีต้ นื่ มาหาน�า้ ดืม่ เห็นแสงจันทร์ราวกับแสงแดด เลยโอ้เอ้ เดินออกมายืนมองฟ้าราตรี อีกสองเดือนจะครบหนึ่งปีแล้วที่ผมมาอยู่ที่นี่ อยู่โดยล�าพัง อยู่ท่ามกลางหุบเขา เปล่าเปลีย่ ว ผ่านฤดูหนาว ร้อน และฤดูฝนทีเ่ พิง่ ล่วงพ้นไปหมาดๆ นีเ่ ป็นสัปดาห์ทอี่ ากาศดีทสี่ ดุ ตัง้ แต่อยูม่ า โปร่งเย็นในระดับก�าลังหายใจสบาย รุง่ เช้าและพลบค�า่ เกือบๆ จะหนาว แต่กไ็ ม่ ความเปียกชืน้ จางไปด้วยแสงแดดอ่อนอุน่ ไม่มยี งุ ไม่มแี มลง เหมือนรางวัลแห่งฤดูกาล--ผมพูดกับเพือ่ น และช่วยกันลุน้ ว่าฟ้าแบบนี้ แดดแบบนี้ อากาศแบบนีจ้ ะอ้อยอิง่ ทอดเวลาให้เราชืน่ ชมชีวติ เนิน่ นาน เพราะมันใช่เลยจริงๆ มันเหมาะมาก กับการท�างานสร้างสรรค์ เหมาะกับการเดินเล่น นัง่ เล่น เหมาะกับการปักหลักปักฐาน ลุน้ ทัง้ ทีร่ วู้ า่ เดีย๋ วมันก็ผา่ นไป
issue 516 11 DEC 2017
ทุกครัง้ ทีเ่ จอเพือ่ นพ้อง ผมต้องตอบค�าถามบ่อยๆ ว่า--ท�าไมต้อง ‘ทีน่ า่ น’? ภูมลิ า� เนาผมอยูโ่ คราช บรรพบุรษุ ทางแม่เป็นคนทีน่ นั่ เคยไปอยูร่ าชบุรสี ามสีป่ ี เพราะ ญาติโยมทางพ่ออยู่สวนผึง้ ตามความน่าจะเป็น เมือ่ เติบโตพอทีจ่ ะมีสทิ ธิเ์ ลือก ชีวติ ผม น่าจะวางเป้ามองไปในสองทางเลือกนี้ ระหว่างโคราชกับราชบุรี เพราะเงื่อนไขต่างๆ อาจง่ายขึน้ ด้วยราก ด้วยเครือข่ายความสัมพันธ์ ผมปฏิเสธทัง้ สองทาง โคราช พิกดั ทีผ่ มเกิดร้อนเกินไป ทีจ่ ริง ร้อนผมไม่กลัว เกิดมากับแสงแดดจะกลัวท�าไม แต่การงานที่ต้องนั่งหน้าคอมพิวเตอร์ ความร้อนมันท�าร้าย ความร้อนคือมีดที่จิ้มจ่ออยู่ รอบกาย ถามว่าวิธแี ก้มไี หม มีสิ ติดแอร์กจ็ บ ผมไม่อยากมีชวี ติ อยูใ่ นห้องแอร์ อยูม่ ามากแล้ว อยูม่ านานพอแล้ว เงินน้อยก็มีส่วน แอร์เหมาะกับคนมีเงิน เหมาะกับคนเมือง ผมไม่ใช่คนเมือง และไม่อยากเปล่าเปลืองในเรือ่ งนี้ ฉะนัน้ โคราชบ้านเกิดไม่ใช่บา้ นทีผ่ มอยากอยู่ ราชบุรยี งิ่ แล้วใหญ่ พ่อจากไปหลายปีแล้ว (ด้วยโรคชัน้ ต�า่ อย่างมาลาเรีย) แม่เคยไปอยู่ และย้ายกลับโคราช ปู่ และบรรดาอาๆ ยังอยูส่ วนผึง้ อืม ไม่สิ ปูย่ า้ ยไปย้ายมาระหว่างสวนผึง้ กับกระทุม่ แบน รายนีเ้ ขาแนวศิลป์ๆ เอาแน่เอานอนไม่ได้ อายุรอ้ ยกว่าปีแล้ว แต่หวั ใจวัยรุน่ ล่องไหล ไม่พอใจก็หวิ้ กระเป๋าหลบเร้นเดินทาง สรุปไม่ได้หรอกว่าห้องหอเรือนตายยึดเหนีย่ ว
อยูท่ ไี่ หน ผมชอบราชบุรมี ากๆ โดยเฉพาะห้วยน�า้ ใส หมูบ่ า้ นชายแดนไทย-พม่า ทีเ่ คยอยูใ่ นวัยเยาว์ โคราชมีแต่ฝนุ่ สีแดง และไร่มนั ส�าปะหลังสุดลูกหูลกู ตา ห้วยน�า้ ใส หมูบ่ า้ นสุดท้ายของ สวนผึง้ อยูก่ ลางป่า รายล้อมด้วยขุนเขา มีลา� ธารใสเห็นเม็ดทรายใต้นา�้ พ่อกับแม่เคยไป หักร้างถางพง เปิดร้านของช�าอยูร่ าวช่วงปี 2522-2527 ชวนน้าๆ จากโคราชไปช่วยกันท�าไร่ ท�าเหมืองแร่ แต่เกิดอุบตั เิ หตุใดไม่ทราบ น้าชายทุกคนทยอยจากลากลับโคราช แม่ขายที่ ขายบ้าน ด้วยราคาเหมือนให้เปล่า ย้ายมาเช่าห้องแถวอยูใ่ นตัวเมืองราชบุรี ตัง้ แต่ฤดูรอ้ นปี 2528 ผมก็แทบไม่ได้ไปห้วยน�า้ ใสอีกเลย เคยพาลูกสาวกลับไปเทีย่ ว ตอนเธออายุราวสักหกเจ็ดขวบ ทุกอย่างเปลี่ยนไปจนแทบจ�าไม่ได้ สายน�้ายังเอื่อยไหล เพือ่ นบ้านหลายหลังยังอยู่ แต่เกือบร้อยเปอร์เซ็นต์กลายเป็นทีพ่ กั รีสอร์ต ผมไม่ได้มีปัญหาหรืออาลัยอาวรณ์กับการเปลี่ยนแปลง โลกมันเป็นเช่นนี้ ต่อให้ ปรารถนา หลายเรือ่ งเราควบคุมก�าหนดมันไม่ได้ เพียงแต่ยงั คาใจเล็กๆ น้อยๆ กับสิง่ ทีพ่ บ และผ่านในชีวติ พ่อแม่ เกิดอะไรขึน้ บ้าง ผมไม่เคยซักถามโดยละเอียด พ่อตอบอะไรผมไม่ได้ แล้ว และแม่ก็ดูเหมือนไม่อยู่ในอารมณ์ที่อยากจะรื้อฟื้นวันเวลาช่วงนั้น ไม่ว่าจะอย่างไร ไม่วา่ จะผ่านไปนานเท่าใด ห้วยน�า้ ใสคล้ายเป็นหมูบ่ า้ นในความฝัน ผมผูกพันกับล�าธารเล็กๆ ใสๆ แห่งนัน้ เราใช้ไผ่ผา่ ซีกวางเป็นท่อ ต่อน�า้ มาจากต้นธารดวงตาของขุนเขา และบ่อยหน ต้องคอยหมั่นเดินส�ารวจ หยิบยกใบไม้แห้งออกจากรางไม้ไผ่ เพื่อให้น�้าเดินทางสะดวก จากป่าสูห่ มูบ่ า้ น ผมชอบผืนป่าทีน่ นั่ ชอบสายฝน ชอบก้อนหิน ชอบนกนานาชนิดทีส่ ะท้อน ความอุดมสมบูรณ์ซงึ่ หาไม่ได้ทโี่ คราช บ้านไม้ทที่ า� กันเองในหมูพ่ นี่ อ้ ง พืน้ ห้องทีป่ ดู ว้ ยฟากไม้ไผ่ หญ้าคา ฯลฯ ไม่วา่ จะชอบ หรือไม่ สิง่ เหล่านีค้ อื ชีวติ คือความหลังทีม่ กั เวียนว่ายขึน้ มาในใจเสมอ ดึกดืน่ บางคืนขณะสองมือเกาะเกีย่ วโหนราวรถเมล์อยูใ่ นเมืองหลวง ผมคิดถึงภาพ เพือ่ นๆ วัยซนวิง่ ไล่จบั กันริมล�าห้วย บางคนล้มตัวกลิง้ เกลือกผืนทราย วักน�า้ ล้างหน้า กระโดด จากหินก้อนหนึง่ ไปอีกก้อน บางคนคะนอง ใช้เข่งปลาทูรองก้น เปล่งเสียงกูต่ ะโกนก่อนลืน่ ไถลตัวลงมาจากหินยักษ์สทู่ อ้ งล�าธาร มากบ้างน้อยบ้าง ฉากชีวิตเหล่านั้นมันฉุดลากให้ผมตั้งค�าถาม ว่าจะโหนรถเมล์ มองไฟแดงครัง้ ทีส่ องทีส่ ามทีส่ ี่ คล้ายโลกนีม้ เี พียงไฟแดงในสีแ่ ยกเดิมเท่านัน้ หรือ ครึง่ ชัว่ โมง ผ่านไปแล้วนะ ใกล้จะครบชั่วโมงแล้วนะ ไหนล่ะไฟเขียว ไหนล่ะที่นอนและห้องน�้ า ในห้องเช่าซอมซ่อชานเมืองกรุง เลือดเนือ้ ของผูช้ ายบ้านนอก กระดูกของลูกผูช้ ายทีเ่ ติบโตมากลางแสงแดด ให้ทนอยู่ ต่อไปนานปีก็อดทนได้ ใช้ชีวิตอยู่ในเมืองหลวงได้ เพราะเข้าใจเกม รู้จังหวะหายใจ แต่--แต่ถามว่าท�าไมต้องอยู่ ในเมือ่ กรุงเทพฯ ไม่ใช่บา้ น และการงานเวลานีอ้ ยูท่ ไี่ หนก็ได้ ท�าไมต้องทนอยู่กับสิ่งแวดล้อมแออัด รถติด ค่าครองชีพสูง อากาศแย่
43
ทีแ่ ทบเป็นศูนย์ ผมถึงเริม่ ต้นด้วยการท�าบ้านขนาดสองจุดห้าคูณสามเมตร ไม่มใี ครเขาบ้าแบบผมหรอก--ช่างมัน นกน้อยท�ารังแต่พอตัวคือหลักคิดหนึง่ และสอง, ดังทีก่ ล่าวแล้วว่ายังไงก็มขี อ้ ผิดพลาด ฉะนัน้ เริม่ ให้เล็กไว้ เผือ่ เวลาแก้ไข ขยาย ปรับเปลีย่ น จะได้ไม่ยงุ่ ยาก เล็ก เงินก็ไม่จม เล็ก แล้วพอรูค้ อ่ ยลุย อยูม่ าจวนจะครบปี ถามว่าไอเดียในการออกแบบก่อสร้างผิดไหม บกพร่องไหม ผมว่า พอไหวนะ อยู่สบายตามฐานานุรูป แม้ยังมีบางสิ่งขาดหาย ไม่ครบความต้องการใช้งาน ไว้ค่อยสร้างเสริมต่อเติมไปตามก�าลังและจังหวะ ผมชอบชีวิตวันนี้ของตัวเอง ชอบที่จะมีชีวิตอยู่ในบ้านเล็กกะทัดรัดกลางหุบเขา ชอบท้องฟ้าและแสงแดดเมืองน่าน ที่ชอบที่สุด ชอบการตัดสินใจทิ้งกรุงเทพฯ 25 ปี นานพอแล้ว อิม่ สมบูรณ์แล้ว มันเป็นจังหวะการเปลีย่ นย้ายทีพ่ อเหมาะพอควร ก่อนตัดใจจากลา ยอมรับว่าใจหาย ไหวสั่น เหมือนคนรักอยู่ร่วมกันมานานแล้ว ต้องพราก ทัง้ ทีไ่ ม่มใี ครผิด มันเจ็บ แต่กจ็ า� ต้องจาก เพียงใช้เงินซือ้ กรุงเทพฯ แทบจะมีทกุ อย่างให้จริงๆ ยังไม่นบั ว่าเป็นเมืองศูนย์กลาง ข่าวสาร เศรษฐกิจ ศิลปวัฒนธรรม เทคโนโลยี ไม่นับความสัมพันธ์ที่เพาะสร้างสัมผัส กันมาครึ่งค่อนชีวิต ขณะที่น่านคือโลกใหม่ เงินใช้ได้ เงินบาทมีค่าเทียบเท่ากรุงเทพฯ แต่กลางหุบเขา หลายเรื่องเราต้องพึ่งหยาดเหงื่อแรงงานของตัวเอง หนักหนาสาหัสเป็นบางที แต่วา่ ไปก็สนุกดีเหมือนกัน ไม่มใี ครเอาปืนจ่อหัวให้ผมมาอยู่ ทีน่ ี่ ผมเลือกเอง เลือกและพร้อมจะรับผลของมัน ทัง้ ลบและบวก ทัง้ ดอกไม้ สายรุง้ งู ปลวก มด และแมลง ผมรักที่นี่ อยากใช้ชีวิตที่นี่ไปให้นาน เนิ่นนาน นานที่สุด ‘บ้านหลังสุดท้ายทีป่ ลายฟ้า’ มันหวานนะ มันควรเป็นเช่นนัน้ แต่ผมก็เป็นพวกทีม่ ี วิธีคิดคู่ขนานมาด้วยกัน คือความชั่วคราว ไม่มอี ะไรยัง่ ยืนหรอก บ้านเป็นถาวรวัตถุ--ถูกต้อง แต่ชวี ติ ไม่ถาวร ชีวติ แปรเปลีย่ น เคลือ่ นย้าย ความพอดีวนั นีก้ บั วันพรุง่ ต่างกัน ยิง่ กับสังคมและประเทศทีอ่ ยูภ่ ายใต้กระบอกปืน วันคืนยิง่ เดินทางไปโดยไร้หลักการเหตุผล อย่างทีเ่ ราเห็นๆ กันมานับสิบปี มีคนจ�านวนหนึง่ พยายามขับไล่คนจ�านวนหนึง่ ออกจากแผ่นดินตลอดเวลา ใช้สทิ ธิใ์ ดขับไล่ ท�าไมจึงมองคน ไม่เท่ากัน เรื่องง่ายๆ แค่นี้เราเองก็จนปัญญาว่าท�าไมพวกเขาไม่เข้าใจ ท�าไมพวกเขาจึง สนุกกับการยืนอยู่บนไหล่บ่าผู้อื่น สนุกกับการออกค�าสั่งซ้ายหัน ขวาหัน ผมมีอาชีพเขียนหนังสือ เป็นสือ่ มวลชนอิสระ ผมไม่มอี �านาจวิเศษให้คนในประเทศ ของเราคิดในหลักคิด ‘คนเท่ากัน’ ผมอยากบอกคุณว่าผมท�างานอยู่ ออกแรงพยายามอยู่ และล้มเหลวเสมอมา ถ้ายังล้มเหลวซ�า้ แล้วซ�า้ เล่า ถ้าคนส่วนใหญ่เอากับระบอบปืน ถ้าคนส่วนใหญ่ยนื ยัน นานมาแล้ว ผมเคยมีบ้าน ดีทีเดียวแหละ สุขสบายทีเดียวแหละ แต่คนอื่นสร้าง และยินดี ว่าจะอยู่ในสังคมที่มองผู้คนเป็นผงฝุ่นตราบจนนิรันดร์ ถึงวันนั้น แม้ไม่ต้องมีใคร มาขับไล่ ผมก็จะไป เดินทางออกไปหาบ้านหลังใหม่ ในแผ่นดินใหม่ และเงินคนอืน่ เหนืออืน่ ใด มันผ่านไปแล้ว แม้ความทรงจ�ายังท�าหน้าทีด่ ี จะจากไป ทัง้ ทีร่ กั นับตามความรูส้ กึ ตอนนี้ ผมเห็นว่าบ้านทีน่ า่ น บ้านสวนไผ่รา� เพยคือบ้านหลังแรก ในทางกายภาพ ผมตระหนักแต่แรกว่ายังไงก็ต้องมีเรื่องผิดพลาด ยังไงก็บกพร่อง ไม่ลงตัว ลงมือท�ากันเองสามคนพีน่ อ้ ง ในระยะเวลาเท่านี้ ในงบเท่านี้ และด้วยประสบการณ์ เมือ่ คิดถึงห้วยน�า้ ใสขึน้ มา ผมเริม่ มองหาทางออก แม้ไม่ใช่นกั วางแผน และเงินน้อย ข้อดีของการเป็นคนมีอายุคอื เราไม่โรมานซ์จนโอเวอร์ ไม่เชื่อค�าโฆษณาดาษดื่น และไม่เอาแต่เดินตามคนอื่นจนลืมนิสัย สันดาน และศักยภาพ ตัวเอง ท�าไมต้อง ‘ที่น่าน’? ต้องถามกลับว่า ไปอยู่ปัตตานีไหมล่ะ ชอบนะไม่ใช่ไม่ชอบ แต่เมล็ดพันธุช์ นิดหนึง่ ย่อมงอกงามได้ในแผ่นดินหนึง่ มีเหตุผลสารพัดทีพ่ น้ ไปจากเรือ่ งเงิน (แน่นอนว่าเงินส�าคัญแน่ๆ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องเดียว และว่ากันอย่างถึงที่สุดก็ไม่ใช่เรื่องหลัก) เหตุผลทีเ่ ป็นดัชนีชขี้ าดให้เราควรวาดฝันแบบไหน เลือกแบบไหน กับตัวเอง ผมคิดว่าเพือ่ น คือเหตุผลหลักที่ท�าให้เรากล้าเลือก อยู่คอนโดฯ เมืองกรุง เพื่อนเป็นปัจจัยที่ลืมไปเลยก็ได้ แต่ต่างจังหวัด (เมืองไทย) ไม่มเี พือ่ นแล้วอยูย่ าก คนละความหมายกับการมีคนคุย คนกินข้าวด้วยกัน เพือ่ นคล้ายๆ บ้านหลังแรกน่ะ เพราะเป็นเจ้าถิน่ รูด้ นิ รูฟ้ า้ ยังไม่ตอ้ งนับเรือ่ งเป็นคนให้ขอ้ มูล เป็นคนเชือ่ มความสัมพันธ์ จากหนึง่ ไปสอง สาม สี่ เป็นคนทีส่ ร้างความรูส้ กึ ว่าอบอุน่ ปลอดภัย ถ้ามีเงินเยอะ เพือ่ นอาจไม่จา� เป็น แต่กว็ า้ เหว่และทุกอย่างต้องเริม่ ต้นใหม่ เริม่ และรัน ไปด้วยอ�านาจเงิน แต่มเี พือ่ น ทุกสิง่ ทุกอย่างคือการต่อยอด ภูเขา ทีว่ า่ ง และอากาศทีน่ า่ นผ่อนคลาย และเพือ่ นคล้ายต้นไม้ใหญ่ทสี่ ง่ เสริมให้เรา หายใจสบายขึน้ ผมพอมีเพือ่ นอยูบ่ า้ งในหลายๆ จังหวัด เช่น ภูเก็ต แต่เพียงเอ่ยนาม ก็ตอ้ งหยุดคิด อย่าว่าแต่การไปหาซือ้ ทีป่ ลูกบ้านเลย แค่จะไปนอนบังกะโลธรรมดาๆ ความสวยระดับพืน้ ๆ สักคืนสองคืน ทะเล พ.ศ. นี้มีค่าตัวที่ต้องจ่ายสูง ทะเลคือความฝันราคาแพงเกินไปส�าหรับ นักเขียน ใช่ว่าเมืองภูเขาอย่างน่านไม่แพง แต่มีเพื่อน บางทีสิ่งมหัศจรรย์ก็เกิดขึ้นได้ ถ้ามีค�าถามอีกว่า จะหาเพื่อนดีๆ ได้ยังไง ค�าถามนี้ตอบง่ายมาก--ค�าตอบอยู่ที่คุณเป็นคนแบบไหน รสนิยมและทัศนะต่อ การมีชีวิตอยู่ของคุณคืออะไร เพื่อนไม่ได้ลอยมาจากฟ้า เพื่อนมาจากใจที่คุณส่งมอบ ให้กับความเป็นเพื่อน เพราะมีเพือ่ น ผมถึงได้มาเมืองน่าน ภูเขาและแม่นา�้ ส�าคัญไหม ส�าคัญสิ ส�าคัญมากๆ เลยด้วย แต่เพราะมีเพือ่ น ผมถึงเลือกน่านเป็นบ้าน บ้านหลังสุดท้ายทีป่ ลายฟ้าหรือเปล่า--บางเสียงพูดอย่างนัน้ ได้ยนิ แล้วผมยิม้
a day BULLETIN
,
EDITOR S NOTE
44
วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness
บ้านหลังสุดท้ายที่ปลายฟ้า
issue 516 11 DEC 2017
หลายเดือนมานี้ มีแมวจรจัดตัวหนึ่งมาขอข้าวกิน ทีห่ น้าบ้านเราทุกวัน มันจะมาวันละสองครัง้ เช้ามืดและตอนดึกๆ คือตอน ทีเ่ ราก�าลังจะออกไปท�างานและตอนเลิกงานกลับมาถึงบ้าน ตั้งแต่ตีห้าฟ้ายังไม่สาง นาฬิกาปลุกให้เราตื่นมา รีบอาบน�า้ แต่งตัว มันอยูข่ า้ งนอกพอเห็นไฟในบ้านเริม่ เปิด สว่าง ก็จะมายืนส่งเสียงร้องเรียกอยู่หน้าประตู จิ๋วหลิว-แมวของเรา จะออกอาการหงุดหงิด เดินไปเดินมารอบบ้าน คอยชะเง้อชะแง้มองออกไปหา และส่งเสียงร้องเหมียวๆ แข่งกับมัน พอเราแต่งตัวเสร็จ หยิบกระเป๋าสัมภาระจะออก จากบ้านไปท�างาน จิ๋วหลิวจะพยายามหาทางมุดประตู เล็ดลอดออกไป ในขณะทีม่ นั อยูข่ า้ งนอก ก็พยายามจะมุด ประตูเข้ามา กว่าจะออกจากบ้านได้แต่ละเช้า เราต้องคอย ระมัดระวังและมีสภาพทุลกั ทุเลพอสมควร มันเป็นแมวตัวเมียลายสลิดน�้าตาล และน่าจะโดน ท�าหมันแล้ว เพราะเท่าทีผ่ า่ นมาหลายเดือนก็ไม่เคยเห็นมัน ตั้งท้อง ทั้งที่ในหมู่บ้านเรามีทั้งแมวบ้านและแมวจรเดิน เพ่นพ่านกันอยูไ่ ม่นอ้ ย พอลมหนาวเริม่ มาเยือน ตัวผูก้ ร็ อ้ ง หง่าวๆ แล้วตามมาด้วยเสียงแมวฟัดกันเป็นประจ�า มื ด ค�่ า หลั ง เลิ ก งาน เราขั บ รถกลั บ มาจอดเที ย บ หน้าบ้าน ยังไม่ทนั ได้ทอดถอนหายใจจากความเหนือ่ ยล้า มันจะรีบวิ่งปรู๊ดออกมาจากความมืด ส่งเสียงร้องทักทาย พอเราก้าวลงจากรถมา สองแขนหอบสัมภาระมากมาย แฟ้มเอกสารและเครือ่ งโน้ตบุก๊ สองมือพยายามเปิดกุญแจรัว้ มันจะเข้ามาคลอเคลียแข้งขา ไม่รวู้ า่ เพราะดีใจหรือเพราะหิว พอมองเข้ า ไปในบ้ า น เห็ น จิ๋ ว หลิ ว โผล่ ห น้ า มา ชะเง้อชะแง้อยูต่ รงช่องหน้าต่าง ส่งเสียงร้องเรียกแข่งกับมัน ไม่รวู้ า่ เพราะดีใจทีเ่ ห็นเรากลับบ้านมา หรือเพราะก�าลังโกรธ และอิจฉากับภาพทีเ่ ห็นตรงหน้า แมวสองตั ว ก� า ลั ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ทวิ ลั ก ษณ์ ข อง สรรพสิ่ง ผมกระอักกระอ่วนที่เมื่อต้องมายืนอยู่ระหว่าง สองขัว้ ตรงข้าม กึง่ กลางของสองโลกทีถ่ กู ตัดขาดออกจากกัน สองชีวติ ทีแ่ ตกต่างกันราวฟ้ากับดิน สองแนวคิดทีข่ ดั แย้งกัน
อย่างสิน้ เชิง ความเป็นแมวบ้านและแมวจร การอยูภ่ ายใน กับการออกไปภายนอก ความสงบสุขกับความอิสระเสรี ความสะดวกสบายกับความแร้นแค้น ความปลอดภัย กับการผจญภัย ฯลฯ ผมนึกถึงตัวเองเมื่อปีที่แล้ว ที่ลาออกจากงานและ เริม่ ต้นเขียนนิยายเรือ่ งแรกในชีวติ อยูภ่ ายในบ้านอันแสนสงบ เปิดเพลงบรรเลงคลอๆ ขับเคีย่ วตัวเองกับหน้าจอตรงหน้า ถ้ า หิ ว ก็ กิ น อาหารส� า เร็ จ รู ป อุ ่ น ด้ ว ยเตาอบไมโครเวฟ แล้วถ่ายทอดจินตนาการและความรูส้ กึ ภายในตัวเองออกมา ในขณะทีร่ วู้ า่ อีกไม่นานจะต้องออกจากบ้านมาเริม่ ต้นท�างาน ในทีแ่ ห่งใหม่ ร่วมงานกับผูค้ นมากมาย เพือ่ ถ่ายทอดเรือ่ งราว ของโลกรอบตัวออกไป หลายคนชอบพูดว่าชีวติ คือการเดินทาง... ส�าหรับผม มันไม่ใช่แค่การเดินทางแบบกายภาพทีเ่ ราเก็บกระเป๋าแล้ว ออกจากบ้าน แต่หมายถึงการเดินทางแบบนามธรรมภายใน เราออกเดิ น ทางจากด้ า นหนึ่ ง ของตั ว เรา ไปสู ่ อีกด้านหนึ่งซึ่งก็เป็นตัวเราเช่นกัน สลับเปลี่ยนบทบาท ไปมาระหว่างสองขั้วตรงข้ามซึ่งด�ารงอยู่คู่ขนานภายในใจ เราอยูบ่ า้ นทุกวัน และพร้อมกันนัน้ เราก็ออกไปท�างานทุกวัน ธาตุแท้ภายในของแต่ละคนมีแนวโน้มที่จะเอนเอียงไปบน หนทางด้านใดด้านหนึ่ง แต่เราไม่สามารถเดินทางไปบน ด้านนัน้ ได้ตลอด ยิง่ สองหนทางนีอ้ ยูห่ า่ งกันมากเท่าไร เรายิง่ ต้องเดินทางไกลมากขึน้ และเรือ่ งเล่าชีวติ ของเราก็จะขยาย มากขึน้ แล้วสุดท้ายเราจะพบบ้านทีไ่ หนสักแห่งทีไ่ ม่ใช่อฐิ ปูน แต่เป็นบ้านภายในทีอ่ ยูก่ งึ่ กลางของการเดินทาง ถ้าเราให้จวิ๋ หลิวออกมาเล่นกับมันบ้างดีไหม - ผมถาม ภรรยา อย่าเลย มันมีเห็บมีหมัดเต็มตัวเลยนะ - ภรรยาผม บอกระหว่างทีก่ า� ลังลูบเนือ้ ตัวมันเล่น แล้วเจอปุม่ ปมตาม เนือ้ ตัว จิว๋ หลิวส่งเสียงร้องดังขึน้ เคาะช่องกระจกกระชัน้ ถีข่ นึ้ เมือ่ เห็นมันล้มตัวลงนอนหงายพุงเพือ่ เย้ายวนเชิญชวนให้เรา
เข้าไปเล่นด้วย ถ้าเราพามันไปอาบน�า้ และตัดเล็บให้สนั้ ๆ จะดีไหม ผมถาม มันอยู่ข้างนอก ถ้าไม่มีเขี้ยวเล็บแล้วจะสู้กับตัวอื่น ได้ยงั ไง - เธอพูดขณะทีเ่ ดินไปเทข้าวเทน�า้ ใส่ชาม ใบหน้าเต็มไปด้วยริว้ รอยการต่อสู้ ใบหูขาดแหว่งวิน่ แมวจรพวกนี้เป็นพาหะของโรคภัยมากมายที่ติดต่อถึงกัน ได้งา่ ยๆ ทางเลือดและน�า้ ลาย ถ้าเราพามันไปหาหมอฉีดยาล่ะ - ผมถาม เธอไม่ตอบ เดินไปล้างมือทีก่ อ๊ กสนาม หันมาก�าชับ ให้ผมล้างมือล้างไม้ ปัดเสือ้ ผ้าและขากางเกงให้สะอาดก่อน เข้าบ้าน จิ๋วหลิวรออยู่ในบ้าน เราเข้าไปอุ้มมันเพื่อปลอบใจ แต่มนั กระโจนออกจากอ้อมกอด แล้วพยายามตะกายประตู และกระจกให้เปิด มันพยายามจะหนีออกไปให้ได้ เช้าวันเสาร์ตอ่ มา เธอเอากล่องพัสดุไปรษณียท์ ไี่ ด้มา จากการสั่งซื้อหนังสือออนไลน์ มาดัดแปลงให้เป็นบ้าน โดยแง้มฝากล่องเปิดไว้แคบๆ ใช้เทปกาวพันให้รอบ แล้ววาง ทิง้ ไว้ทหี่ น้าบ้าน ณ ที่ตรงนี้อาจจะเป็นบ้านของมัน แมวจรสภาพ ยับเยินทีอ่ าจจะอยากมีบา้ นให้หยุดพักจากการต่อสู้ แมวทุกตัวนั้นล้วนพ่ายแพ้อยู่แค่สองสิ่ง สิ่งหนึ่ง คือปลายเชือกแกว่งไกวล่อหลอกให้มนั วิง่ ไล่ กระโดดโลดโผน โจนทะยานเพือ่ ไขว่คว้า อีกสิง่ หนึง่ คือกล่องเล็กๆ แคบๆ ทีพ่ อ จะให้มนั ย่างเข้าไป หมุนตัวแล้วเหยียบย�า่ ส�ารวจ ก่อนจะ ตัดสินใจแทรกตัวลงไปนอนหวด หาวหวอดๆ หลับตาพริม้ ให้เรา ก่อนทีอ่ กี ไม่กอี่ ดึ ใจ มันก็จะวิ่งพรวดกระโดดข้ามรั้วบ้านเราไป ทิ้งบ้านกล่อง ไปรษณีย์นั้นไว้เบือ้ งหลัง เราทุกคนก็ไม่ตา่ งกัน