a day BULLETIN 525

Page 1

526 525 524

TODAY EXPRESS PRESENTS

12 FEB 2018

DISRUPT

YO U RSEL F O R B E D I SRUPT ED


02 การกระโจนเข้าสู่ ‘โลกใหม่’ ของ สาระ ล�า่ ซ�า กรรมการผูจ้ ด ั การและประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร บริษท ั เมืองไทยประกันชีวต ิ จ�ากัด (มหาชน)

CONNECTING THE DOTS FULLCOUNT แบรนด์ที่ได้รับการยกย่องว่า ท�ากางเกงยีนส์ได้ดีที่สุดของประเทศญี่ปุ่น

SELECTED เครื่องเขียนดีไซน์สนุกที่ช่วยเสริมไอเดียสร้างสรรค์

HE SAID

BEHIND THE COVER

CONTENTS

THE CONVERSATION

526 525 524

TODAY EXPRESS PRESENTS

12 FEB 2018

DI S R U P T

YOU R S E L F O R BE D I S R U PT E D

มอร์แกน เพอร์กินส์ เจ้าของยิม Bangkok Fight Lab และโค้ชบราซิเลียนยิวยิตสู

I S S U E 525 12 FEB 2018

LIFE เรือ ่ งราว 40 นาที ในสุสาน Highgate Cemetery บริเวณตอนเหนือของลอนดอน

BREATHE IN 1 ‘มากกว่าเพื่อน แต่ไม่ใช่แฟน’ : ดีร้ายอย่างไร? กับความสัมพันธ์ที่ไม่ชัดเจน

BREATHE IN 2

ทุกครัง ้ ทีใ่ ครเห็น a day BULLETIN พูดคุยกับนักธุรกิจ หรือผูบ ้ ริหาร มักจะติดภาพถ่ายชุดสูทอันแสนเป็นทางการ แต่กอ่ นหน้าทีเ่ รานัดสัมภาษณ์กบ ั สาระ ล�า่ ซ�า กรรมการผูจ้ ด ั การ และประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร บริษท ั เมืองไทยประกันชีวต ิ จ�ากัด (มหาชน) เขาพูดกับเราว่า “ขอไม่ใส่สูทได้ไหม?” แวบแรกเราแปลกใจ แต่เขาให้เหตุผลส�าคัญซึง ่ สอดรับ กับเรือ ่ งราวทีเ่ ราพูดคุยวันนัน ้ ว่าการท�างานใน ‘โลกใหม่’ (New World) ทุกคนที่เป็นฟันเฟืองขององค์กร ต้อง ‘ถอดหมวก’ หรืออคติเดิมๆ ที่เคยมีในบทบาทของตัวเอง ออกไป และเปิดรับไอเดียเข้ามาผสมผสานเพือ ่ ให้เกิดสิง ่ ใหม่ เสมอ ภาพถ่ายที่ดูสบายๆ ขัดกับลุกส์ผู้บริหารแบบเดิมๆ และวิธค ี ด ิ ทีพ ่ ร้อมทีจ่ ะเปิดรับสิง่ ใหม่ จึงเป็นสะท้อนแนวทาง การบริหารองค์กรของผู้ชายคนนี้ในวันนี้ได้ดีที่สุด

ผังเมืองทรงวาฟเฟิล คุณภาพชีวิตของคน และสังคมแห่งความเท่าเทียม

ที่ปรึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการที่ปรึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล กองบรรณาธิการ ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ พัทธมน วงษ์รัตนะ นักเขียน/ประสานงาน ตนุภัทร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ คเชนทร์ วงศ์แหลมทอง หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรม ชยุตม์ คชโกศัย สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ มิ่งขวัญ รัตนคช กองบรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ จักริน อินต๊ะวงค์ ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง ผู้จัดการฝ่ายดิจิตอลมีเดีย ธนาคาร จันทิมา ผู้ประสานงานฝ่ายดิจิตอลมีเดีย สิรินารถ อินทะพันธุ์ ผู้ช�านาญการฝ่ายดิจิตอลมีเดีย กะรัตเพชร บุญลักษณ์ศิริ ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ชินวัฒน์ เฟื้องฟู 09-4353-9639, ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม นักศึกษาฝึกงาน ภาณุทัช โสภณอภิกุล ณัชชา พาทพุทธิพงศ์ รชัสกมล สมบูรณ์ วิชิตา คะแนนสิน ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อี เ มล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com, www.godaypoets.com



2010

a day BULLETIN

DATABASE

04

2011

เรื่อง-ภาพ : วิชิตา คะแนนสิน, สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

ITCOIN 2012

2013

ที่มา : www.ccn.com, www.statista.com, www.buybitcoinworldwide.com, www.blognone.com

2014

2015

THE FUTURE OF WORLD CURRENCY? จากบิตคอยนหมื่นเหรียญที่ใชจาย คาพิซซาไดเพียงสองถาดในป 2009 กลาย เปนบิตคอยนทม ี่ ม ี ล ู คาเหรียญละสองแสนกวาบาท แซงหนาราคาทองคํา ไปแลวในป 2017 ดวยมูลคาทีส ่ งู ขึน ้ มากในเวลาเพียงสิบป และไมตอ งซือ้ ขาย ผานธนาคาร ทําใหบต ิ คอยนกลายเปนสกุลเงินออนไลนทเี่ นือ ้ หอมทีส ่ ด ุ ในวงการนักลงทุนในขณะนี้ แมจะเปนดาวรุง มาแรง แตในแวดวงนักวิชาการ ก็ยงั ถกเถียงกันถึงความมัน ่ คงของคาเงินดิจต ิ อลนีอ ้ ยูต  ลอดเวลา

2016

2017

2018

21,000,000 หนวยเงินยอยของบิตคอยน ซาโตชิ นากาโมโตะ ผู้สร้าง บิตคอยน์ วางระบบไว้ให้สามารถ มีมูลค่าได้ถึง 21 ล้านหน่วย ปัจจุบันมูลค่าของบิตคอยน์ มีอยูใ่ นระบบประมาณ 16 ล้าน หน่วยแล้ว

MILLIBITCOIN

TIMELINE : ป มูลคาของ บิตคอยน สูงสุด – ตํา สุด (ดอลลารสหรัฐฯ)

0.001 บิตคอยน SATOSHI

0.00000001 บิตคอยน

อายุของผูใชบิตคอยนแบงตามชวงวัย (2015) 0-18 ป

: 3.76%

19-24 ป

: 16.53%

25-34 ป

: 39.4%

35-44 ป

: 21.99%

45-54 ป

: 11.21%

55-64 ป

: 4.86%

65 ปขึ้นไป : 2.25%

0.05 0.32 4.21 12.86 309.24 192.35 372.93 779.67 10,785.55

0.35 29.24 13.67 11,03.90 956.52 461.74 972.11 19,173.79 17,088.69

ประเทศที่บิตคอยน ยังไมถูกกฎหมาย

6 7 1 5

2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018

2

บังกลาเทศ / ไอซแลนด :

กฎหมายห้ามซื้อขายเงินตราต่างประเทศโดยไม่ได้รับอนุญาต จีน : ห้ามท�าธุรกิจบิตคอยน์ผ่านธนาคาร อินเดีย : รัฐบาลมองว่าค่าเงินดิจิตอลผิดกฎหมาย

โบลิเวีย / เอกวาดอร / สวีเดน :

4

ปกป้องสกุลเงินของตนเองจากบิตคอยน์ที่จะมีอ�านาจเหนือกว่า

ไทย / รัสเซีย : 3

ยังไม่มีกฎหมายรองรับจึงยังไม่ได้เปิดใช้อย่างเป็นทางการ เวียดนาม : ป้องกันการเลี่ยงภาษีและการจ่ายเงินแบบผิดกฎหมาย



a day BULLETIN

AGENDA

06

IN CASE YOU MISSED IT! ข่าวรอบโลกปลายสัปดาห์ ที่คุณอาจพลาดไป!

issue 525 12 FEB 2018

หลายคนคงจะยังพอจ�านักการเมืองหญิง ลูกครึ่งไทย-อเมริกัน สมาชิกวุฒิสมาชิก รั ฐ อิ ล ลิ น อยส์ สั ง กั ด พรรคเดโมแครต หญิงสาวผู้สูญเสียขาทั้งสองเมื่อปี 2004 ค รั้ ง ที่ เ ธ อ อ า ส า ไ ป ร บ ใ น ฐ า น ะ นั ก บิ น เฮลิคอปเตอร์ชว่ งสงครามอิรก ั ขณะนัน ้ เธอ มียศร้อยเอก แต่ถงึ จะสูญเสียขาแต่ไม่สญ ู เสีย พลังชีวต ิ เมือ่ เธอลงสมัครสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรรัฐอิลลินอยส์ เธอก็ได้รบ ั เลือกให้เข้ารับ ต�าแหน่งในปี 2012 และท�าหน้าทีต ่ อ ่ มาจนถึง ปี 2016 ล่าสุดเธอเป็นทีจ่ บ ั ตามองในฐานะ ว่าทีผ ่ ชู้ งิ ต�าแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา จากการปะทะคารมกับประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรั ม ป์ เมื่ อ ช่ ว งเดื อ นมกราคมที่ ผ่ า นมา โดยเธอกล่าวว่า “ฉันจะไม่ยอมรับฟังค�าเทศนา สัง ่ สอนเรือ ่ งกองทัพจากคนทีห ่ นีทหารถึง 5 ครั้ง” และนั่นท�าให้คะแนนความนิยม ของเธอเพิ่มสูงอย่างต่อเนื่องทันที

www.tonythetraveller.com

ลัดดา แทมมี ดักเวิร์ธ ว่าที่ ผูช ้ ง ิ ต�าแหน่ง ปธน. สหรัฐฯ คนใหม่จริงหรือ

www.hypebeast.com

www.biography.com

POLITICS

LIFESTYLE

PEOPLE

โรงแรมแคปซู ล ญี่ ปุ่ น มาพร้อมสโลแกน Sauna +Sleep

Tony Giles ชายตาบอด ที่ เ ดิ น ทางมาแล้ ว เกื อ บ รอบโลก

แม้วา่ โรงแรมแคปซูลในญีป่ นุ่ จะมีมานาน แล้ว แต่โรงแรม Do-C Ebisu ในย่านชิบยุ ะ แห่งนี้กลับพิเศษและแตกต่างออกไป โดยเริ่มจากการแปลงโฉมใหม่ ที่แต่เดิม เป็นโรงแรมแคปซูลแบบเก่าให้กลายมาเป็น โรงแรมแคปซูลที่เรียบหรู แต่ดูไฮเอนด์ ตกแต่ ง พื้ น ที่ ทั้ ง หมดด้ ว ยไม้ เ นื้ อ อ่ อ น ให้ความรูส้ กึ เป็นธรรมชาติ แต่สงิ่ ทีย่ งั คง เดิมก็คือ ห้องนอนแคปซูลซึ่งท�าจาก ไฟเบอร์กลาส เพิ่มเติมห้องอาบน�า้ อุ่นน�้าเย็น และห้องซาวน่าสไตล์ฟินแลนด์ ที่เรียกว่า Löyly ซึ่งส่งตรงมาจากประเทศ ฟินแลนด์โดยเฉพาะ และยังมีห้องแบบ แคปซูลแต่เฟิสต์คลาสไว้ให้บริการ เพื่อ เปิดประสบการณ์การนอนอีกระดับให้กบั นักเดินทาง Do-C Ebisu มีทั้งหมด 8 ชั้น 162 ห้อง เมือ่ ค�านวณค่าใช้จา่ ยในการพัก คร่าวๆ แล้วก็ตกคืนละประมาณ 500800 บาทต่อคน

โทนี ไจล์ส ชายอังกฤษผูพ้ กิ ารทางสายตา และมีความบกพร่องทางการได้ยนิ แม้ตา จะมองไม่เห็น หูได้ยนิ เพียง 20% แต่เขา ก็ไม่ได้ปล่อยให้ชวี ติ ไหลไปตามโชคชะตา โทนีเรียนโรงเรียนประจ�ามาตั้งแต่อายุ สิบขวบ และการย้ายโรงเรียนไปทีใ่ หม่ก็ เปลีย่ นความคิดของเด็กคนนีอ้ ย่างสิน้ เชิง โดยเขาเล่าย้อนถึงเรือ่ งครัง้ ก่อนนัน้ ว่า “ผม รูส้ กึ ว่าการทีต่ าบอดและหูหนวกบางส่วน ไม่ได้เป็นความพิการทีเ่ ลวร้ายทีส่ ดุ ในชีวติ อีกอย่างตอนนัน้ ผมก็รส้ ู กึ ว่าการไปโรงเรียน ก็คอื การผจญภัย” เมือ่ เข้าเรียนมหาวิทยาลัย เขาก็เริ่มต้นออกเดินทาง ปัจจุบันโทนี เดินทางท่องโลกมากว่า 120 ประเทศ พร้อมเขียนหนังสือชายตาบอดกับการเดินทางอีกหลายเล่ม “ผมมีแฟนนะ และเธอคนนีแ้ หละจะมาเป็นคูช่ วี ติ ทีจ่ ะ เดินทางไปด้วยกันรอบโลก” เขาทิง้ ท้ายไว้ ในเฟซบุก๊ ทีใ่ ช้ชอื่ ว่า theblindbackpacker



www.theverge.com

www.fastcompany.com

www.theguardian.com

a day BULLETIN

08

ENVIRONMENT

INNOVATION

EDUCATION

อุณหภูมข ิ องมหาสมุทรร้อนขึน ้ มากทีส ่ ด ุ ในประวัตศ ิ าสตร์

เด็กสาววัย 14 ปี สร้างแอพฯ ที่ ช่ ว ยให้ ผู้ ป่ ว ยอั ล ไซเมอร์ จดจ�าผู้ใกล้ชิดได้

ภาพยนตร์เรือ ่ ง Get Out สร้าง แรงบั น ดาลใจให้ เ กิ ด วิ ช าใหม่ ในมหาวิทยาลัย UCLA

หลังจากที่ เอ็มมา หยาง เฝ้าดูคุณยายของเธอ ต่ อ สู ้ กั บ โรคอั ล ไซเมอร์ ม าเป็ น เวลาหลายปี เธอก็ตดั สินใจใช้ความรูด้ า้ นการเขียนโปรแกรมทีม่ ี สร้างแอพพลิเคชันในชื่อ Timeless ที่ช่วยให้ ผู้ป่วยอั ล ไซเมอร์ จ ดจ� า ผู ้ ที่ ใ กล้ ชิ ด ได้ โดยมี หลักการใช้คอื เมือ่ ผูป้ ว่ ยเลือ่ นดูภาพของเพือ่ น และสมาชิกในครอบครัว ระบบจะอธิบายว่า คนเหล่านั้นคือใครและมีความสัมพันธ์อย่างไร กับผู้ป่วย หรือหากผู้ป่วยจ�าคนที่อยู่ตรงหน้า ไม่ได้ ก็สามารถถ่ายรูปเพือ่ ให้ระบบจดจ�าใบหน้า ช่ ว ยอธิ บ ายรายละเอี ย ดของบุ ค คลนั้ น ๆ นอกจากนี้ เพื่อ ป้ อ งกัน ไม่ ให้ ผู้ ป่ ว ยโทร.หา คนเดิมซ�้าๆ ระบบก็ยงั แจ้งเตือนด้วยค�าถามว่า ‘คุณแน่ใจใช่ไหมว่าต้องการโทร. เพราะคุณเพิง่ โทร.หาเขา/เธอไปเมื่อ 5 นาทีที่ผ่านมา’

The Sunken Place คือสาขาวิชาใหม่ในมหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนีย ลอสแองเจลิส ว่าด้วยเรื่องเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ของการเหยียดสีผิว การเอาตัวรอด ของชาวแอฟริกัน-อเมริกัน รวมถึงสุนทรียศาสตร์ ในการเสพภาพยนตร์สยองขวัญของคนผิวสี ซึง่ ได้ รับแรงบันดาลใจมาจากภาพยนตร์เรือ่ งเยีย่ มอย่าง Get Out โดยในภาคเรียนที่ผ่านมามีนักศึกษา จ�านวน 30 คน ลงทะเบียนเรียนในวิชาดังกล่าว และมีผลตอบรับทีด่ มี ากจนต้องขยายเป็นคลาสเรียน ทีใ่ หญ่ขนึ้ ในเทอมต่อมา ด้วยความสนใจทีล่ น้ หลามนี้ ศาสตราจารย์ Tananarive Due และ Steven Barnes จึงตัดสินใจเปิดคอร์สวิชานี้บนโลกออนไลน์ใน รูปแบบ Webinar เพื่อให้นักศึกษาจากทั่วโลก สามารถศึกษาเรื่องราวเหล่านี้ได้

นอกจากอุ ณ หภู มิ ข องชั้ น บรรยากาศที่ เ ป็ น ปัจจัยหลักของภาวะโลกร้อนแล้ว อุณหภูมิ น�้ า ทะเลในมหาสมุ ท รก็ เ ป็ น ตั ว แปรที่ ส�า คั ญ เช่นกันทีน่ า� มาวัดได้วา่ โลกเราร้อนระอุขนึ้ ขนาด ไหน ล่าสุด ทีมนักวิจยั จากประเทศจีนได้คน้ พบ ว่าอุณหภูมิของน�้าในมหาสมุทรของปี 2017 พุ่งขึ้นสูงอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน โดยวัดได้ ความร้อนได้มากกว่าปีที่ผ่านมาราว 1.51 x 1022 จูล จุดวิกฤตที่สุดอยู่บริเวณมหาสมุทร แอตแลนติกและแอนตาร์กติก รังสีความร้อนนี้ ส่งผลกระทบให้ระดับออกซิเจนในมหาสมุทร ลดต�า่ ลง เกิดภาวะปะการังฟอกขาว รวมทัง้ สร้าง สภาวะความเป็นกรดในมหาสมุทร ซึง่ กัดกร่อน กระดองและเปลือกสัตว์นา�้ จ�าพวกหอย กุง้ และ เต่าทะเล ท�าให้พวกมันมีจ�านวนลดลงด้วย

www.wellbeingofwomen.org.uk

www.reuters.com

PUBLIC HEALTH

นักวิจัยทดลองยาลดออกซิเจน ในมดลูก ช่วยรักษาอาการปวด ประจ�าเดือนรุนแรง

TECHNOLOGY issue 525

การเก็บรองเท้าแบบอัตโนมัติสไตล์ญี่ปุ่น

12 FEB 2018

เพื่อความสะดวกสบายของการจัดเก็บสลิปเปอร์ (รองเท้าใส่เดินในอาคาร) ในโรงแรมให้เป็นระเบียบและพร้อมใช้งาน ทางนิสสันจึงส่งเทคโนโลยีเจ๋งๆ ติดไปกับสลิปเปอร์ เพื่อการจัดเก็บได้ด้วยตัวเอง โดยเปลี่ยนพื้นสลิปเปอร์ให้เป็นไม้ ติดล้อ เล็กๆ สองล้อ พร้อมติดตั้งอุปกรณ์ชื่อ Nissan’s ProPilot Park เซนเซอร์และกล้องไฮเทค ซึ่งช่วยให้รองเท้าค้นหาและวิ่งกลับ เข้าช่องเก็บได้เอง โดยได้เริ่มติดตั้งเทคโนโลยีนี้แล้วที่เรียวกังแห่งหนึ่งในเมืองฮาโกเน่ และพร้อมให้ผู้เข้าพักได้ใช้จริงภายใน เดือนมีนาคมนี้ ด้านโฆษกประจ�านิสสัน นิก แมกซ์ฟิลด์ ได้กล่าวทิง้ ท้ายว่า “เราตัง้ ใจและพิสจู น์ให้ทกุ คนได้เห็นถึงศักยภาพ ของการใช้งาน และการใช้เทคโนโลยีการขับขี่แบบอัตโนมัติ แม้สลิปเปอร์ก็ยังจอดเองได้เลย”

นับเป็นข่าวดีที่สุดส�าหรับผู้หญิง เมื่อนักวิจัยจาก มหาวิทยาลัยเอดินบะระของสหราชอาณาจักร ได้ ค ้ น พบวิ ธีท� า ให้ ป วดน้ อ ยลงและเสี ย เลื อ ด น้อยลงจากการเป็นประจ�าเดือน ด้วยการทดสอบ ยาควบคุมระดับออกซิเจนในมดลูก ซึ่ง ดอกเตอร์ แจ็กกี้ เมย์บนิ ผูน้ า� ทีมวิจยั ได้อธิบายว่า “หลังจาก การใช้ยาในหนูทดลอง พบว่าร่างกายผลิตโปรตีน HIF-1 เพิ่มขึ้น ซึ่งโปรตีนดังกล่าวท�าหน้าที่กระตุ้น การซ่อมแซมเยือ่ บุโพรงมดลูกและท�าให้เลือดหยุดไหล ได้ในทีส่ ดุ ” ในขณะที่ ทีนา วีเวอร์ แห่งองค์กรการกุศล เพื่ อ สุ ข ภาพและความเป็ น อยู ่ ที่ ดี ข องผู ้ ห ญิ ง (Wellbeing for Women) ได้ให้การสนับสนุนพร้อม กล่าวว่า “ทางองค์กรพร้อมสนับสนุนงานวิจัย ชิ้นนี้ โดยหวังว่าผู้หญิงและเด็กหญิงหลายพันคน ทีป่ วดประจ�าเดือนและเลือดออกมาก มีทางเลือกใหม่ ที่ปลอดภัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น”



a day BULLETIN

THE CONVERSATION

เรื่อง : ปริญญา ก้อนรัมย์ ภาพ : ภาสกร ธวัชชาตรี

10

DISR

YOUR OR issue 525 12 FEB 2018

DISRU


11

RUPT

RSELF BE

UPTED


ในวั น ที่ เ ทคโนโลยี เ ข้ า มา มีอท ิ ธิพลต่อการท�าธุรกิจตัง ้ แต่ ระดับรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ ไปจนถึงการออกแบบภาพใหญ่ ทุกอุตสาหกรรมต้องรับมือกับ การถูก Disruption อยู่ตลอด เวลา ความส�าเร็จในยุคนีว ้ ด ั กัน เป็นรายนาที และความล้มเหลว เกิ ด ขึ้ น เป็ น รายวิ น าที คลื่ น ความเปลีย ่ นแปลงทีโ่ หมกระหน�า่ พร้อมคิดค้นท�าธุรกิจที่ยึดติด กับความคิดความเคยชินแบบ เดิมๆ ออกไปจากการแข่งขัน มี ป ระโยคหนึ่ ง ที่ อ ธิ บ าย จุ ด ยื น ของคนท� า ธุ ร กิ จ ยุ ค นี้ ไ ด้ ชั ด เจน คื อ ค� า ว่ า ‘Disrupt Yourself’ แปลความหมายง่ายๆ ว่ า จะเปลี่ ย นแปลงตั ว เองก่ อ น หรือจะถูกท�าให้เปลีย ่ นแปลง แต่ ความง่ายในการเข้าใจสวนทาง กั บ ความยากในการท� า ให้ เ กิ ด ขึ้นจริง สาระ ล�่าซ�า กรรมการผูจ้ ด ั การและประธานเจ้าหน้าที-่ บ ริ ห า ร บ ริ ษั ท เ มื อ ง ไ ท ย ประกั น ชี วิ ต จ� า กั ด (มหาชน) เข้ า ใจจุ ด ยื น ที่ ว่ า เป็ น อย่ า งดี ย้อนไปหลายปีที่แล้วเขาลงมือ ผ่ า ตั ด อ ง ค์ ก ร ข น า น ใ ห ญ่ เพือ ่ เตรียมพร้อมรับมือกับสิง ่ ที่ เกิดขึ้นในวันนี้ และพร้อมที่จะ กระโจนเข้าสู่อนาคตที่เขาเรียก ว่า ‘โลกใหม่’ (New World) แม้ ใ ครหลายคนจะรู้ สึ ก หวาดกลัวกับก้าวเดินสูโ่ ลกใหม่ ที่ต้องเจอกับหลากหลายปัจจัย ที่ ไ ม่ อ าจควบคุ ม คาดเดาได้ แต่ผู้ชายคนนี้ยิ้มและกล่าวกับ เราอย่างอารมณ์ดีว่า เขารู้สึก ‘ตืน ่ เต้น’ กับโจทย์ใหม่ๆ ทีท ่ า้ ทาย เขาในทุกย่างก้าว ความรู้สึกที่ว่านี่เองที่เขา ยืนยันกับเราว่าเป็นหัวใจส�าคัญ ในการท�างาน และเป็นแพสชัน ส� า คั ญ ที่ ท� า ให้ ม นุ ษ ย์ ค นหนึ่ ง เข้ า ใจความหมายของค� า ว่ า ‘ชีวิต’

The New World ปีนเี้ ป็นปีทน ี่ า่ ตืน ่ เต้นอย่างไรบ้างส�าหรับคุณ

ปีนนี้ า่ จะเป็นปีทนี่ า่ ตืน่ เต้นมากขึน้ ในแง่ของ การท�างาน เพราะอย่างที่ทราบกันดีว่าเทคโนโลยี หรือเทรนด์ใหม่ๆ เกิดขึน้ และเข้ามามีผลกระทบต่อ ชีวิตและธุรกิจของเรามากขึ้นจริงๆ เทรนด์เหล่านี้ เริม่ ตัง้ หลายปีแล้ว แต่ทจี่ ะเริม่ เห็นผลกระทบต่อธุรกิจ ประกันชีวติ จริงๆ ก็เมือ่ ประมาณปีทแี่ ล้ว จะเห็นว่า เรามีการเตรียมตัวเยอะมากในปีที่แล้ว และเริ่ม เปิดตัวแคมเปญหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เมื่อต้นปี ที่ผ่านมา ถามว่าของใหม่ๆ คืออะไร มาจากไหน ต้องบอกว่าทั้งหมดเป็นสิ่งที่ไม่เคยท�ามาก่อนใน ธุรกิจประกันชีวิต แต่เกิดเพราะการถูก Disruption จากพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นไป โดยเฉพาะ จากความเป็นดิจิทัล ทีน่ า่ สังเกตคือ ทุกวันนีผ้ บู้ ริโภคตอบรับเรือ่ ง ของประกันมากขึน้ แต่ตอบรับในทิศทางทีเ่ ปลีย่ นไป คนรุน่ ใหม่สนใจประกันในรูปแบบทีเ่ ฉพาะเจาะจง มากขึ้น ว่าประกันต้องสอดรับไลฟ์สไตล์ส่วนตัว ของเขา ในขณะที่เมื่อก่อนคนจะมองว่าประกัน ต้องเป็น One for All เป็นอะไรทีค่ รอบคลุมทุกด้าน ของชีวิตมากๆ หรือแบ่งเต็มทีก่ ็เป็นกลุ่ม ว่าลูกค้า กลุ่มนี้ต้องการประกันแบบนี้ กลุ่มที่มีรายได้เท่านี้ ต้องการประกันแบบนี้ แต่เอาเขาจริงวันนี้ไม่ใช่ แบบนัน้ อีกต่อไปแล้ว วิธคี ดิ ในการออกแบบประกัน ต้องเป็น One to One เราต้องพัฒนาสินค้าและ บริการอย่างต่อเนื่องให้สอดรับกับไลฟ์สไตล์ของ พวกเขาทีแ่ ยกย่อยไปเยอะมาก ซึง่ ผมเรียกทัง้ หมด ที่เราก�าลังเผชิญว่า ‘โลกใหม่’ เป็น ‘New World’ ที่เราต้องพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เข้ามา

การ Disruption จากเทคโนโลยีในอุตสาหกรรม อืน ่ ๆ ท�าให้ธรรมชาติของธุรกิจเหล่านัน ้ เปลีย ่ นไป แบบฟ้าถล่มดินทลาย แล้วธุรกิจประกันเป็น แบบนั้นด้วยไหม

ผมว่ากระทบเยอะไม่ตา่ งกัน แต่คา� ว่ากระทบ ทีว่ า่ ไม่ได้แปลว่าไม่ดี เราต้องมีการปรับตัวเปลีย่ นแปลงการท�างาน เพียงแต่วา่ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ใหม่ทา� ให้ เกิดองค์ประกอบอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องและส่งผลกระทบ ที่เราคาดไม่ถึงเยอะขึ้น เช่น รูปแบบการใช้ชีวิต ของผู้คนที่ตอนนี้จะเป็นเหมือนๆ กันทั่วโลก หรือ เรือ่ งของการทีด่ จิ ทิ ลั เข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ในชีวติ ไป แล้ว ท�าให้ความรู้สึกในการใช้งานทุกๆ อย่างของ คนยุคนี้ จะต้องการสิ่งที่เป็น One Stop Service สามารถท�าหลายๆ สิ่งหลายๆ อย่างได้ในเวลา เดียวกันโดยใช้เทคโนโลยีมาช่วย คนรุ่นใหม่เขา เติบโต และเข้ามามีสว่ นร่วมในสังคมเยอะมากขึน้ คนเจนฯ Y หรือเจนฯ Z เขามีพฤติกรรมการบริโภค การใช้ ชี วิ ต ในรู ป แบบใหม่ ประเด็ น เหล่ า นี้ บริษัทประกันต้องตอบรับพฤติกรรมของเขาให้ได้ ความสนใจของคนรุ่นใหม่ต่อประกันดีขึ้น แต่ว่า เราต้องปรับตัว นี่คือสิ่งที่ผมมองว่าก�าลังเกิดขึ้น และเผชิญหน้าอยู่

แล้วอย่างการที่บริษัทยักษ์ใหญ่ หรือ Tech Startup ใหม่ ๆ ที่ ก ระโดดเข้ า สู่ ธุ ร กิ จ ล่ ะ บริษท ั ทีม ่ าก่อนมีผลกระทบไหม issue 525 12 FEB 2018

ผมคิดว่า ณ วันนี้มีประเด็นแน่นอนอยู่แล้ว เอาในมุมของสตาร์ทอัพก่อนนะ บริษัทเราเป็น เพื่อนกับสตาร์ทอัพเยอะ บริษัทใหญ่ของเรามี VC (Venture Capital) และที่ผ่านมาเราได้ร่วมมือกับ สตาร์ทอัพเยอะแยะ เพราะบางทีสตาร์ทอัพเขา ไม่ได้มองเรือ่ งการมองหาเงินทุนอย่างเดียว แต่เขา คิดว่าได้ลองมาหาประสบการณ์จากการท�างานจริง ก็ได้มาท�างานด้วยกัน อันนี้ผมคิดว่าไม่ค่อยเป็น

ประเด็นเท่าไหร่ แต่ว่ากับบริษัทต่างประเทศใหญ่ๆ อันนี้ ผมว่าเราต้องดูให้ดี เพราะในกระบวนการท�างาน หรือบริการด้านประกันเขาอาจจะมีเหมือนเรา แต่ ที่ น ่ า ตกใจคื อ ว่ า ไม่ มี ก ฎหมายในประเทศไทย รองรับ ผมว่าเราต้องดูให้ดี เพราะประกันเป็นธุรกิจ ที่ละเอียดอ่อน และต้องมีการควบคุมตรวจสอบ นีเ่ ป็นเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับชีวติ ของคน เกีย่ วกับเรือ่ ง เงิน เรื่องการประกันความเสี่ยง ผมว่านี่เป็นสิ่งที่ ผู้ที่มีอ�านาจในการตรวจสอบต้องจับตา ผมไม่ คอมเมนต์ในมุมของผู้เล่นหน้าใหม่ที่จะเข้ามา เพราะว่ า ผมยิ น ดี ที่ จ ะเป็ น พาร์ ต เนอร์ ด ้ ว ยกั บ ทุกฝ่ายอยู่แล้ว ในธุ ร กิ จ กี ฬ า ถ้ า เรามี คู่ แ ข่ ง ที่ สู สี ใ นสนาม เดี ย วกั น จะท� า ให้ ธุ ร กิ จ ยกระดั บ ไปข้ า งหน้ า แล้วในอุตสาหกรรมประกันเป็นแบบนั้นไหม

ถู ก ต้ อ ง ผมเชื่ อ ในเรื่ อ งของการแข่ ง ขั น เพราะว่าในการแข่งขันมันท�าให้เกิดการพัฒนา การแข่งขันเป็นแง่ดตี อ่ ผูบ้ ริโภค ทัง้ ในแง่การบริการ เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่จะถูกน�าเข้ามาใช้ ผมเห็นด้วย 100% เลย แต่ว่าประเด็นของการแข่งขันมันต้อง อยูใ่ นพืน้ ฐานเดียวกัน ประเด็นทีผ่ มเป็นห่วงมากๆ เลยคื อ การที่ เ ราต้ อ งมาแข่ ง ขั น กั บ บริ ษั ท คู ่ แ ข่ ง ที่ไ ม่ มีก รอบของกฎหมาย ไม่ ได้ อ ยู่ ในพื้น ฐาน หรือเงือ่ นไขเดียวกัน อันนีก้ น็ า่ เป็นห่วงทีส่ ดุ ถ้าเกิด ปัญหาขึ้นกับผู้บริโภค

Getting To Outcomes พู ด ถึ ง เทรนด์ ใ หม่ ๆ และความเปลี่ ย นแปลง ของพฤติกรรมผูบ ้ ริโภคบ้าง มีอะไรทีน ่ า่ สังเกต

ที่ชัดมากที่สุดคือแนวคิดเรื่อง One for All ทีถ่ งึ วันนีม้ นั เปลีย่ นเป็น One to One หรือหนึง่ ต่อหนึง่ แล้ว การออกแบบประกันสักตัวหนึง่ เราต้องไม่มอง แค่เรื่องกลุ่มรายได้ มองเรื่องอายุ หรือว่าสถานะ ของลูกค้าแล้ว แต่เราต้องมองเข้าไปให้ถงึ ไลฟ์สไตล์ ทีเ่ ขามี วันนีเ้ ป็นเรือ่ งของไลฟ์สไตล์ คนอายุเท่ากัน เพศเดียวกัน มีฐานรายได้ใกล้เคียงกัน แต่ว่า อาจจะมีไลฟ์สไตล์ไม่เหมือนกันโดยสิน้ เชิงเลยก็ได้ อันนี้เราต้องยอมรับ ในขณะที่เรายอมรับเรื่ององค์ประกอบและ ความต้องการทีเ่ ปลีย่ นไปของผูบ้ ริโภค อีกมุมหนึง่ การพัฒนาของเทคโนโลยีหลายๆ ด้านก็เกิดขึน้ มา พร้อมๆ กัน อย่างเทคโนโลยีด้านสุขภาพที่เดี๋ยวนี้ ท�าให้โรคบางโรคสามารถเยียวยาได้ดีขึ้น ท�าให้มี แบบประกั น ที่ ร องรั บ โรคพวกนี้ ม ากขึ้ น ผิ ด กั บ สมัยก่อนที่บริษัทประกันจะไม่แตะเลย เพราะว่า ถ้ า เราสามารถรั ก ษาเยี ย วยา หรื อ แม้ ก ระทั่ ง ท�าให้เขาหายขาดได้ ท�าไมเราถึงจะไม่ท�า ซึ่ง ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ส่งผลกระทบกับผู้คน โดยตรง สิ่งที่เราท�าออกมาจึงจะสังเกตได้ว่าเริ่ม ขีดฆ่าพวกข้อยกเว้นต่างๆ ทิ้ง และปรับรูปแบบ บริการต่างๆ ให้ตรงกับไลฟ์สไตล์ของเขา

ยุคนี้คนมองการท�าประกันชีวิตว่าเกี่ยวข้อง กับเขาอย่างไร

เขาไม่ได้มองว่ากรมธรรม์ประกันชีวิตเป็น ผลิตภัณฑ์อย่างเดียวอีกต่อไปแล้ว แต่เขามองว่า มันเป็นสิ่งที่จับต้องได้ และเข้ามาเติมเต็มชีวิตเขา มากขึน้ แต่เดิมบริษทั ประกันคิดว่าผลิตภัณฑ์ของเรา คือกรมธรรม์ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ลูกค้าเลือกซื้อและ พอใจก็จบ แต่จริงๆ วันนี้ไม่ใช่ มุมของผู้บริโภค ที่มองเข้ ามา เขามองว่ าผลิตภัณฑ์ ข องเราคือ บริการทุกอย่างที่จับต้องได้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ให้การแนะน�า ให้ค�าปรึกษา เขาอาจจะยังไม่ได้

“เราต้อ งรู้สิว่ าในชีวิ ตจะได้อะไรกลับ มา อย่ างตัวผมยังสนุกกับ ทุก งานที่ ท� า อยู่ สนุ กว่ าจะสร้างธุร กิจและผลัก ดัน ให้เดินหน้าไปอย่างไรในโลกใหม่ที่ก�าลังเจอ”

a day BULLETIN

12


13

เป็นลูกค้าเราเลยนะ แต่บริการทุกอย่างที่เขาสัมผัสได้ ตัง้ แต่วนิ าทีแรกก็คอื ผลิตภัณฑ์ในความรูส้ กึ ของเขาแล้ว เพราะฉะนัน้ บริษทั ประกันมองแค่การออกกรมธรรม์ มาให้ลูกค้าเลือกไม่ได้แล้ว แต่ต้องมองไปในส่วนอื่นๆ ของชีวิตเขามากขึ้น มองตั้งแต่ก่อนเขาจะเป็นลูกค้าเรา ไปจนถึงการให้บริการหลังการขาย หรือแม้กระทั่งถึง วันที่ครบก�าหนดสัญญาประกัน แล้วก็อย่าลืมว่าชีวิต ของทุกคนเปลี่ยนไปเรื่อยๆ อายุเปลี่ยนองค์ประกอบ ทีต่ ามมาทันทีคอื เรือ่ งของสุขภาพ ภาระความรับผิดชอบ ต่างๆ ไม่มีทางที่เราออกแบบประกันมาครั้งเดียวจบ และจะตอบโจทย์คนในโลกใหม่อีกต่อไป เราต้องมาคิด ว่าจะท�าอย่างไรที่จะเข้าไปอยู่ข้างๆ และสนับสนุนชีวิต เขาในแต่ละช่วงมากขึ้น คุณมองว่าบริษท ั ประกันทุกวันนีท ้ า� งานเหมือนกับอะไร

เราคือคนที่คอยให้ค�าแนะน�าที่เป็นประโยชน์กับ ไลฟ์สไตล์ของลูกค้า งานของเราจะไม่ได้จบแค่ตอน ขายเสร็จ เราให้ค�าแนะน�าเรื่องการบริหารความเสี่ยง ให้คา� แนะน�าในเรือ่ งการบริหารการออมเพือ่ วัตถุประสงค์ ต่างๆ นานา ออมเพื่อประกันรักษาโรค ออมเพื่อบุตร ไปจนถึงเรื่องการบริหารค่าใช้จ่าย ผมบอกกับพนักงาน ของผมเลยว่า ต่อไปนี้คุณไม่ใช่แค่พนักงานขายประกัน แต่คุณจะต้องท�าหน้าที่ให้ค�าแนะน�า เป็นที่ปรึกษาเขา มากกว่า เราท�าหน้าที่แค่ขายประกันไม่พออีกแล้ว

เทคโนโลยีดจิ ท ิ ล ั เข้ามีอท ิ ธิพลในการท�างานเยอะไหม

ที่ส�าคัญมากๆ คือเรื่องของ Big Data เราต้อง ท�าเรื่องของการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อที่จะตอบโจทย์ ความต้องการของลูกค้าได้อย่างแท้จริง และเปลีย่ นรูปแบบ และหลักการท�างานไม่ให้เป็นการ reactive ที่รอให้คน เข้ามามีปฏิสัมพันธ์กับบริการของเราอย่างเดียวเท่านั้น การท�างานยุคนี้แบบนั้นไม่พอแล้ว เราต้องท�างานในแง่ proactive เป็นกลยุทธ์เชิงรุก ที่เราสามารถเข้าไปให้ ค�าแนะน�าเขาได้ ซึง่ ก่อนทีเ่ ราจะไปแนะน�าเขาได้ เราต้อง มีข้อมูลจาก Big Data เข้ามาสนับสนุนก่อน และล้อ ไปกับเครื่องมือใหม่ๆ ที่หยิบเข้ามาช่วยการน� าเสนอ บริการของเรา ให้ถกู ต้อง รวดเร็ว และได้ลกู ค้ารับบริการ ครบเบ็ดเสร็จ

ในยุ ค ที่ ค วามต้ อ งการของลู ก ค้ า แบ่ ง แยกย่ อ ย เป็ น กลุ่ ม เล็ ก ๆ ยิ่ ง กว่ า บาร์ โ ค้ ด แล้ ว เราจะเข้ า ใจ Customer Centric ของลูกค้าได้อย่างไร รวมทั้ง การพาองค์กรเดินไปในโลกใหม่ทม ่ี ค ี วามเปลีย ่ นแปลง ตลอดเวลาแบบนี้

ประเด็นคือคนพูดแต่เรื่องของ Big Data พูดแต่ การสร้างสิ่งใหม่ๆ แต่ลืมกระบวนการก่อนหน้านั้นไป สิ่งส�าคัญคือเราต้องวางโครงสร้างองค์กรให้ชัด ใส่คน ที่มีทักษะที่เราต้องการเข้าไปให้ครบ เราถึงจะสามารถ ท�างานได้ โครงสร้างต้องมี คนต้องใช่ กระบวนการ ท�างานและพัฒนาต้องถูก และที่ส�าคัญที่สุดต้องรู้ว่า ตัวเองก�าลังท�าอะไร ‘Outcome’ หรือผลลัพธ์จากสิง่ ทีเ่ รา ท�าคืออะไร ผมว่าจริงๆ สตาร์ทอัพหน้าใหม่ๆ หรือ หลายคนมีไอเดียที่ดีแ ละน่ าสนใจมาก แต่ ว่ าไม่ ต่ อ จิ๊กซอว์ทั้งหมดให้เสร็จเป็นภาพเดียว สิ่งนี้ไม่ได้หมายถึงการท�าผลิตภัณฑ์ให้เสร็จแล้ว ส่งออกไปให้ลกู ค้าเท่านัน้ นะ แต่ผมหมายถึงกระบวนการ ท�างานทั้งหมด เพราะถึงคิดไอเดียมาดีแต่ไม่รู้ว่าสิ่งที่จะ ได้กลับมาคืออะไร ธุรกิจก็เดินต่อไปไม่ได้ แล้วในยุคนี้ ผลลัพธ์หรือก�าไรบางอย่างก็ไม่ได้วัดความส�าเร็จกันที่ Financial Ratio หรือสิง่ ทีเ่ ราเห็นเป็นตัวเลขเท่านัน้ เพราะ ผลลัพธ์บางอย่างอาจเป็นเรื่องการสร้างแบรนด์ของเรา ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น หรือเป็นเรื่องสร้างความเชื่อมั่นกับ ลูกค้า และค่อยกลับมานัง่ คิดว่าจะเปลีย่ นสิง่ ทีไ่ ด้เหล่านัน้ กับมาเป็นผลก�าไรอย่างไร คือดิจทิ ลั อาจจะเป็นของใหม่ ที่ ม าสร้ า งปั จ จั ย หรื อ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมผู ้ บ ริ โ ภคไป แต่กระบวนการท�างานของพวกเราไม่ใช่สิ่งใหม่ เราต้อง มองให้ครบกระบวนการเหมือนเดิม แต่นที่ กุ คนมองไปที่


a day BULLETIN

14

จากที่ฟังความเปลี่ยนแปลงหลายๆ อย่าง งานของคุณในฐานะผูน ้ า� คืออะไร เป็นเหมือน หมอที่ก�าลังต้องผ่าตัดองค์กรเพิ่มชิ้นส่วน ใหม่ ๆ เพื่ อ รอรั บ มื อ กั บ โลกที่ เ ปลี่ ย นไป หรือเปล่า

issue 525 12 FEB 2018

วันนี้ก็ยังผ่าอยู่ (หัวเราะ) อันนี้พูดแบบ ตรงๆ เพราะว่าโลกหมุนไปเร็วมาก เรื่องของ เทคโนโลยีเปลี่ยนไปตลอด อย่างแรกเราต้อง มองให้เห็นภาพว่าเทคโนโลยีจะไปได้ไกลขนาด ไหน น�ามาชัง่ น�า้ หนักกับการลงทุน ในองค์กรใหญ่ สิ่ ง ที่ ท ้ า ทายที่ สุ ด คื อ การเผชิ ญ กั บ ระบบเดิ ม ล�าดับชัน้ ความคิดของคน ซึง่ เท่าทีเ่ ห็นส่วนใหญ่ ก็จะมีองค์กรอยู่ 2 แบบ แบบแรกคือองค์กรทีอ่ ยากจะท�าทุกอย่าง มีเทรนด์อะไรใหม่ๆ ออกมาต้องอัพเดตตาม ให้ ไ ด้ แล้ ว ของเดิ ม ที่ ท�า ค้ า งไว้ ก็ ยั ง กองอยู ่ ของใหม่ก็ใส่เข้ามาเรื่อยๆ แล้วก็เป็นแบบนี้ ทุกปี ผลสุดท้ายองค์กรก็ไม่มีทรัพยากรพอ ที่จะท�า ส่วนใหญ่จะจบแบบนี้ แล้วถ้าถามว่า ทรัพยากรที่ส�าคัญที่สุดในวันนี้คืออะไร ก็คือ ‘คน’ อันนี้คือสิ่งที่มีประเด็นมากๆ กับองค์กรแบบที่สอง คือท� าทุกอย่าง เหมือนเดิม อยูก่ บั ระบบแบบเดิมๆ ไม่เปลีย่ นแปลง ปรากฏว่าโลกเปลีย่ นโครงสร้างเปลีย่ น ผลสุดท้าย สิ่งที่ท�าออกมาไม่ทันโลกแล้ว ผมว่านี่คือสิ่งที่ องค์กรใหญ่ๆ ก�าลังเผชิญอยู่ เมืองไทยประกันชีวติ ก็เจอ เพราะฉะนั้น สิ่งที่เราต้องท�าคือการอยู่ ตรงจุดกึง่ กลาง ต้องมาล�าดับกันว่าความส�าคัญ ของผลลั พ ธ์ ใ นแต่ ล ะอย่ า งของเราคื อ อะไร ต้องมานัง่ คุยกันและต่อจิก๊ ซอว์ภาพใหญ่ให้ตดิ แต่ละฝ่ายต้องสร้างสรรค์อะไรใหม่ๆ ออกมา เผือ่ เผชิญกับโลกใหม่ในวันข้างหน้า แต่ละส่วน

ขององค์กรต้องเชื่อมต่อกันให้หมด ซึ่งสิ่งที่ ตามมาพอเราต่อภาพได้แล้วสิ่งที่ต้องเจอและ เกิดขึ้นแน่ๆ คือทุกทีมจะมีสิ่งใหม่ที่อยากท�า กันหมด เราต้องมาคุยกันว่าอะไรคือล� าดับ ความส�าคัญทีค่ วรท�าก่อนหลัง และผลลัพธ์จาก เป้าหมายระยะใกล้ ระยะกลาง หรือระยะไกล ที่จะได้รับคืออะไร ซึ่งระยะไกลไม่ได้นานนะ มันแค่ 2 ปีเท่านั้นในยุคนี้ ถ้าเรามองออกว่า สิ่งไหนส�าคัญจริง แต่ไม่ได้สา� คัญที่สุดในวันนี้ ก็อาจจะต้องขีดฆ่าทิ้งไป กลับมาทีเ่ มืองไทยประกันชีวต ิ กระบวนการ ผ่าตัดโครงสร้างที่ว่ามีขั้นตอนอย่างไรบ้าง

เราปรับเปลี่ยนโครงสร้าง ปรับเปลี่ยน การจัดล�าดับความส�าคัญ ซึง่ การแก้ไขเรือ่ งล�าดับ ความส�าคัญนีเ่ ป็นเรือ่ งใหญ่มาก มันพ่วงมากับ ระบบเดิม พ่วงมากับความรู้สึกว่าโปรเจ็กต์ ของทีมตัวเองส�าคัญที่สุด เรื่องนี้เราต้องสร้าง การเชื่อมต่อกัน เพื่อให้บางอย่างท� าไปแล้ว ไม่ต้องขีดทิง้ เพราะงานบางอย่างหรือบางส่วน อาจเป็นเรือ่ งเดียวกับอีกงานหนึง่ สามารถต่อยอด ไปสู่อกี เรือ่ งได้ หรือบางทีระยะเวลาการท�างาน ของโปรเจ็กต์หนึง่ อาจจะสัน้ ไป ถ้าเอามาต่อกับ อีกโปรเจ็กต์จะได้ผลลัพธ์ที่ดีและไปได้ไกลขึ้น กลายเป็นผลประโยชน์ร่วมกัน การท�างานที่ผ่านมาของผม เลยเป็น การต้ อ งไปจั ด การบางเรื่ อ งที่ ซ ้ อ นทั บ กั น อยู ่ เพราะบางเรื่องทั้งที่เราไม่ต้องเริ่มจากกระดาษ เปล่า แต่เราไม่เคยรูว้ า่ มีแล้ว หรือบางเรือ่ งทีเ่ รา เห็นว่าเครื่องยนต์มันดับแน่ๆ ถ้าวิ่งไปเหมือน เดิ ม แบบนี้ เราก็ ต ้ อ งหยุ ด ทั น ที เ พราะว่ า มั น ไม่เวิร์กแล้ว ความท้าทายที่สุดส�าหรับผมวันนี้ คือการเปลี่ยนกรอบคิดของคนท�างาน ซึ่งยาก มากๆ

Uncap Yourself การพัฒนาทรัพยากร ‘มนุษย์’ ที่ดีที่สุด ในยุคนี้คืออะไร

สิง่ ทีเ่ ราท�าเยอะมากในวันนีค้ อื การเชือ่ มต่อ กัน ฉายภาพรวมให้เขาเห็น สร้างพื้นที่พูดคุย ผมไม่ อ ยากจะละทิ้ ง ความคิ ด ของใครเลย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ในการประชุ ม ผมจะเปิ ด ให้ เ ขา ถกเถี ย งกั น และบางครั้ ง ก็ ไ ด้ เ ซอร์ ไ พรส์ ว ่ า บางเรื่องพนักงานบางคนรู้ แต่พนักงานอีกคน ไม่รู้ มันแสดงให้เห็นว่าการสื่อสารในองค์กร เป็นเรื่องใหญ่มาก ในทุกจังหวะที่ท�าได้ ผม พยายามจะลงไปสื่อสารกับเขา และแต่ละทีม ต้องมีหวั เรือทีม่ คี วามเข้าใจในภาพใหญ่ของเรา เพื่ อ ที่ เ ขาจะได้ ช ่ ว ยอธิ บ าย เราต้ อ งสร้ า ง ความเข้าใจของเขาให้ตรงกันก่อน สร้างพื้นที่ การพูดคุยรองรับไอเดียของแต่ละทีม และต้อง เลือกคนที่ท�าให้เกิดแรงกระเพื่อมผลักดันทีม ไปข้ า งหน้ า จริ ง ๆ ไม่ ใ ช่ ว ่ า เลื อ กหั ว หน้ า ที ม มาเป็นไม้ประดับ หรือเป็นเมสเซนเจอร์ที่รอ ส่งข้อความจากเรา อันนี้ไม่เวิร์ก ในบริษทั เมืองไทยประกันชีวติ มีพนักงาน ทีเ่ ป็นเด็กเจนฯ Y และ Z กว่า 70% และการท�างาน กับคนรุ่นนี้เราต้องให้เขาได้แสดงออก เขาชอบ ความท้าทายและการได้ลงมือท�า ต้องมีเวที ให้เขา ซึ่งแต่เดิมการประชุมหรือท�าโปรเจ็กต์ ใหญ่ๆ จะเอาแต่ผู้ใหญ่เข้ามานั่งคุยกัน ซึ่ง ถ้าท�าแบบนั้นผลสุดท้ายเด็กเขาก็ไม่กล้าพูด และผู้ใหญ่ก็ไม่มีเวลาเพียงพอลงมาท� างาน ตรงนัน้ ได้ แต่ถา้ เราเปิดให้เด็กทีม่ คี วามสามารถ ให้ เ ขามี ห น้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบที่ ชั ด และมี ส่วนร่วมกับไอเดีย ผมว่าโปรเจ็กต์จะไปได้ไกล

มีตัวอย่างที่เห็นเป็นรูปธรรมไหม

เรามีเวทีที่ชื่อว่า ‘Fuchsia Innovation

“สิ่งที่เราท�าเยอะมากในวันนี้คือการเชื่อมต่อกัน ฉายภาพรวมให้เขาเห็น สร้างพื้นที่พูดคุย ผมไม่อยากจะละทิ้งความคิด ของใครเลยที่เกี่ยวข้อง ในการประชุมผมจะเปิดให้เขาถกเถียงกัน”

การจะสร้างสิ่งใหม่ๆ แต่ลืมไปว่าจะได้อะไร กลับมา แล้วก็ลมื การพัฒนาสิง่ ทีเ่ ราท�าอยูใ่ ห้ไป ต่อได้อย่างยั่งยืน


15 Centre’ เป็นพื้นที่ให้ไม่ว่าจะเป็นพนักงานระดับ ไหน ได้มาถอดหมวก ถอดบทบาทของตัวเอง ออก และมาร่วมสร้างสรรค์ไอเดียใหม่ๆ ไม่วา่ เขา จะอยู่แผนกอะไร เป็นที่ที่ให้พนักงานภายใน หลายๆ ฝ่ายมาระดมความคิด เป็นเวทีให้เขา ถอดระดับชนชัน้ ถอดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของ ตั ว เองออกมาก่ อ น และมาเติ ม ไอเดี ย ใหม่ ๆ เข้าไป ซึ่งผลลัพธ์เห็นผลได้จริงๆ เรามีพนักงาน บางคนที่ เ ข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มในการสร้ า งสรรค์ สิง่ ใหม่ โดยทีเ่ ขาไม่ได้คดิ ว่าตัวเองอยูใ่ นฝ่ายไหน มี น ้ อ งคนหนึ่ ง ที่ ท� า ฝ่ า ยสายงานต่ า งประเทศ แต่เขาไปมีส่วนร่วมในการท�าเรื่อง Cashless เกี่ยวกับระบบประกันสุขภาพในต่างประเทศ โดยที่ถ้าใครไปเจ็บป่วยที่ต่างประเทศไม่ต้องไป จ่ายเงินก่อน และสามารถเข้ารับการรักษาได้เลย เขาเห็นช่องว่างตรงนี้ ทัง้ ทีเ่ ขาไม่มสี ว่ นเกีย่ วข้อง กับเรือ่ งการเงินมาก่อน แต่เขากลับไปมีสว่ นร่วม สร้างบริการออกมาเพื่อมาเติมเต็มตรงนี้ ถ้ า พนั ก งานต้ อ งถอดหมวก แล้ ว หั ว หน้ า อย่างคุณต้องถอดด้วยเหมือนกันหรือเปล่า

ต้องถอด แต่พดู จริงๆ ถอดให้ตายแต่นอ้ งๆ ก็ยังกลัวผมอยู่ดี (หัวเราะ) ในบางการประชุม ผมต้องไม่เข้าร่วม เพื่อให้เขาได้แสดงไอเดียกัน อย่างเต็มที่ แต่ตอ้ งยอมรับว่าคนเจนฯ X จะไม่คอ่ ย กล้าแสดงความเห็น แต่คนเจนฯ Y จะกล้าที่จะ พรีเซนต์ตอ่ หน้า กล้าพูด อยากแสดงออกให้เห็น ซึ่งนั่นเป็นเรื่องที่ดี อีกอย่างหนึ่งที่ผมพยายามน� ามาใช้ใน การบริหาร คือการ Rotation หรือสลับต�าแหน่ง ให้เขาได้เรียนรูท้ กั ษะหลายๆ ด้าน แต่ตอ้ งยอมรับ ว่าคนไทยล� า บากใจมากๆ กั บ การท� า แบบนี้ แค่เราสลับต�าแหน่งเขารู้สึกเหมือนโลกก�าลังจะ แตก ไม่ได้รู้สึกแค่ว่าออกจากคอมฟอร์ตโซน ด้วย แต่รู้สึกว่าตัวเองออกจากบริษัท ก็ต้อง ท� า ความเข้ า ใจกั บ เขาเยอะ ซึ่ ง ผมใช้ วิ ธีก าร สลับสับเปลี่ยนต�าแหน่งมาสักพักแล้ว เริ่มจาก ระดับรองกรรมการก่อน และในวันนีผ้ มจะค่อยๆ ขยั บ น� า วิ ธีคิ ด นี้ ล งมาใช้ ใ นระดั บ ที ม มากขึ้ น เราต้องท�าให้เขาเข้าใจว่านีไ่ ม่ใช่เรือ่ งการย้ายงาน อย่างไม่มเี หตุผล แต่วา่ ในโลกยุคใหม่ คนท�างาน ต้องการทักษะที่หลากหลาย การท�าแบบนี้ดีต่อ ทุกฝ่าย ยกตัวอย่างเช่นนักคณิตศาสตร์ทเี่ ก่งกาจ ในการค�านวณตัวเลข ถ้าเขามองไม่เห็นในมิติ ของลูกค้า มองไม่เห็นมิติของฝ่ายการตลาด ก็ไม่มีทางที่จะท�าผลิตภัณฑ์มาตอบโจทย์คน ยุค ใหม่ ไ ด้ เ ลย เพราะว่ า โลกใหม่ ถู ก ผลั ก ดัน และเปลี่ ย นจากภายนอก ไม่ ไ ด้ เ กิ ด ความเปลี่ยนแปลงจากข้างในอีกต่อไปแล้ว นี่เป็น โลกใหม่จริงๆ

Designing Your Life พู ด ถึ ง ชี วิ ต ส่ ว นตั ว กั น บ้ า ง หลายคนคง อ ย า ก รู้ ว่ า ท� า ไ ม คุ ณ ดู ห นุ่ ม ไ ด้ ข น า ด นี้ มียาวิเศษหรือเปล่า

(หัวเราะ) ที่ผ่านมาผมพยายามบาลานซ์ เรื่องของงาน เรื่องชีวิตส่วนตัว และครอบครัว ผมว่าชีวติ ต้องบาลานซ์ให้ดี ซึง่ คนในยุคนีก้ ด็ แู ล ในเรื่องของสุขภาพกันมากขึ้น ถ้าเทียบกับใน ยุคของผม เห็นได้ชัดเลยว่าคนเดี๋ยวนี้ใส่ใจเรื่อง ของอาหาร เรื่องของการออกก�าลังกายมากขึ้น ในความคิดผมนะ ชีวิตของเรามี 2 เรื่อง หลักๆ ที่ต้องออกแบบและดูแล คือ เรื่องของ ร่างกาย และจิตใจ ยิ่งในคนวัยหนุ่มคนสาว

จะถู ก กลื น กิ น จากงาน เพราะความท้ า ทาย ความตื่นเต้น ความคาดหวังที่อยากจะเดินหน้า ไป เขาจะโหมงาน ทุ่มเทชีวิตกับจุดนี้มาก ไม่ใช่ เรือ่ งผิดนะ อย่างผมแต่กอ่ นก็เป็นแบบนัน้ ตัง้ แต่ หนุ่มๆ ผมท�างานหนักมาก จนมาถึงวันหนึ่ง ที่ ชี วิ ต การงานเริ่ ม เดิ น ไปตามแพลน ธุ ร กิ จ สามารถไปได้ แต่ในขณะเดียวกันสิ่งที่แย่ลงคือ ร่างกายที่เคยแข็งแรงก็ไม่เหมือนเดิม และจุดที่ ผมเริ่มเปลี่ยนตัวเองชัดที่สุด คือผมเริ่มคิดว่า ท�าไมงานหรือสิ่งที่เราท�าแล้วสนุกกลับไม่รู้สึก แบบนัน้ อีกแล้ว ซึง่ เป็นสัญญาณทีไ่ ม่ดี ผมก็เลย เบรกตัวเอง และเริ่มหันกลับมาใช้ชีวิต มาท�า กิจกรรมอื่นๆ ที่ไม่ใช่งานอย่างเดียว บางทีก็ บางเรือ่ งทีเ่ คยชอบ อย่างเรือ่ งของความเอ็กซ์ตรีม กลับเข้ามาใส่ไว้ในชีวิตตัวเอง ไปขี่มอเตอร์ไซค์ ไปออกก�าลังกาย เป็นการรักษาสมดุลชีวติ อีกแง่ หนึ่งที่ผมพยายามท�า อย่างเวลาที่ผมไปเยี่ยม ตามสาขาของบริษัทในต่างจังหวัด ก็ใช้การขี่ มอเตอร์ไซค์ที่ชอบในการเดินทางไป ซึ่งมันคือ การพยายามผสมผสานสิ่งเหล่านี้เข้าในชีวิต พอใจกับชีวิตที่ออกแบบวันนี้ไหม

ทุกวันนีผ้ มมีปจั จัยชีวติ หรือผูค้ นทีเ่ ข้ากับ ไลฟ์สไตล์ของตัวเอง ผมสามารถจะจัดสรรชีวิต และเวลาของตัวเองได้ ยกตัวอย่างอีกนิดหนึ่ง ที่เมืองไทยประกันชีวิต เรามีสปอร์ตคลับและ เฮลท์คลับ ตอนเย็นจะมีพนักงานไปออกก�าลังกาย ซึ่งเป็นสิ่งที่คนเจนฯ Y และ Z ชอบมาก และใน ช่วงเวลาแบบนั้นเขาได้ถอดหมวก ได้พูดคุย แชร์เรื่องงานกันโดยไม่ต้องซีเรียส หรือการไป ปั ่ น จั ก รยานวั น เสาร์ อ าทิ ต ย์ ก็ มี พ นั ก งาน ทุกระดับเลยที่ไปปั่นจักรยานกับผม เวลานั้น ไม่ต้องคุยเรื่องอะไรเกี่ยวกับงานเลย อันนี้ก็คือ การถอดหมวกตัวตนทีผ่ มพูดถึง แต่ตอนปัน่ นีย่ งั ใส่หมวกจักรยานนะ (หัวเราะ)

คุ ณ บอกว่ า ในการท� า ธุ ร กิ จ เราต้ อ งรู้ ว่ า Outcome หรื อ สิ่ ง ที่ เ ราคาดหวั ง คื อ อะไร ในการออกแบบชีวต ิ เป็นเหมือนกันหรือเปล่า สิ่งนี้ส�าคัญกับชีวิตแค่ไหน

เราต้องรู้สิว่าในชีวิตจะได้อะไรกลับมา อย่างตัวผมยังสนุกกับทุกงานที่ท�าอยู่ สนุกว่า จะสร้างธุรกิจและผลักดันให้เดินหน้าไปอย่างไร ในโลกใหม่ ที่ ก� า ลั ง เจอ ผมมองว่ า สนุ ก และ ตื่นเต้นมากๆ และความตื่นเต้นที่ว่ามันไม่ได้ เกิดขึ้นเพราะกลัว แต่เราตื่นเต้นและมองว่าเป็น แพสชัน การท�างานเราต้องมีแพสชัน การใช้ชวี ติ ก็เช่นกัน และต้องมีที่มาที่ไปว่าเราจะมีแพสชัน ไปเพื่ออะไร ในยุคดิจิทัลคนอาจมองว่าการถูก Disruption เป็นสถานการณ์ที่แย่แล้ว แต่ผม กลั บ มองว่ า ท้ า ทายมาก นี่ คื อ ความตื่ น เต้ น ที่ท�าให้เรามีชีวิตต่างหาก


a day BULLETIN

16

A MUST MOVIE

BOOK I, TONYA

ชีวิตดีขึ้นทุกๆ ด้านด้วยการจัดบ้านแค่ครั้งเดียว 2

ถ้าคุณยังไม่เคยอ่าน ชีวิตดีขึ้นทุกๆ ด้านด้วยการจัดบ้านแค่ครั้งเดียว เล่มแรก เราขอแนะน�าให้คุณไปอ่าน เสียก่อน แล้วค่อยมาเรียนรู้ ‘วิธก ี ารครอบครองบ้านในฝันและชีวต ิ ทีม ่ ค ี วามสุขหลังจากทิง ้ ของทีไ่ ม่ปลุกเร้า ความสุขไปแล้ว’ เพราะเนื้อหาในเล่ม 2 นี้ จะเป็นเรื่องของการเก็บของที่ ‘ไม่แน่ใจ’ ว่าควรทิ้งดีหรือไม่ ิ ไม่จา� เป็นต้องซ้ายจัดหรือขวาจัด ถ้าของชิน ้ นัน ้ มีพลังในการปลุกเร้า โดย คนโด มาริเอะ ให้ความเห็นว่าชีวต ความสุขให้เราแต่ไม่รู้ว่าจะเอาไปใช้ประโยชน์อะไรได้ บางทีการทิ้งก็ไม่ใช่ค�าตอบเสมอไป นี่คือเนื้อหาของ บทเรียนในเทอม 2 ที่รอให้คุณเรียนกันต่อ

ปัญหาหลักที่ท�าให้บ้านกลับมารกอีกครั้งส�าหรับเราคือ ความชะล่าใจ หลังจากที่เรียนวิชาจัดบ้านในเทอมก่อน เมื่อเห็นว่าบ้านเริ่มเป็นระเบียบเข้าที่เข้าทางแล้วก็เลิกท�าต่อ หยุดการจัดบ้านไว้เพียงแค่ครึ่งๆ กลางๆ รวมถึงการไม่สามารถ จัดการกับข้าวของในหมวดของ ‘ความทรงจ�า’ ได้ ซึ่งเป็นปัญหายากสุดที่หลายคนเคยเจอ เช่น การไม่อยากทิ้งรูปภาพ ที่ถ่ายคู่กับแฟนเก่าในอดีต ท�าใจไม่ได้ที่จะทิ้งแผ่นซีดีรวมเพลงรักที่เคยมีคนบันทึกมาให้ หรือดูแววตาของตุ๊กตาหมีที่เคย ได้รบั เป็นของขวัญวันรับปริญญาตัวนัน้ สิ มันดูละห้อยเหลือเกินเหมือนรูว้ า่ ฉันจะเอามันไปทิง้ สารพัดข้ออ้างทีท่ า� ให้เรายังเก็บ ของเหล่านั้นไว้อยู่ ซึ่งวิธีการจัดการกับความคิดนี้กร็ อให้คุณเปิดอ่านในหนังสือเล่มนี้แล้ว ‘มาสร้างบ้านที่ปลุกเร้าความสุขกันเถอะ’ มาริเอะบอกว่า ให้คุณเลิกคิดว่าตัวเองไม่ใช่นักออกแบบ ไม่ใช่นักจัดบ้าน เป็นแค่คนธรรมดา แล้วฉันจะไปจัดบ้านให้สวยๆ ได้อย่างไร เพราะแนวคิดของเธอนั้นเธอเชื่อว่า ยิ่งเป็นคนจัดบ้านไม่เก่ง ก็ยิ่งประสบความส�าเร็จในการจัดบ้านมากขึ้นอีกเท่าตัว เพราะเมื่อเรารู้วิธีจัดบ้านที่ถูกต้องแล้ว ก็เหมือนเราปรับความคิด ในสมองของตัวเองให้มีล�าดับอย่างเป็นขั้นเป็นตอนไปในตัว และที่ส�าคัญ ‘เทพแห่งการจัดบ้าน’ จะไม่มีวันทอดทิ้งใคร แม้กระทั่งคนที่คิดว่าตัวเองไม่มีวนั จัดบ้านได้ส�าเร็จชั่วชีวิตก็ตาม (ส�านักพิมพ์วีเลิร์น / ราคา 195 บาท)

EXHIBITION

TOGETHER EXHIBITION BY MONSTERSUP issue 525 12 FEB 2018

คาแร็กเตอร์ลายเส้นตัวการ์ตนู สีนา�้ และสีอะคริลกิ ทีน่ า่ รักของศิลปินทีห่ ลงรักการวาด ภาพเป็นชีวติ จิตใจ อย่าง ทรัพย์มณี ชัยแสนสุข (MonsterSup) จะมาโลดแล่นให้เราได้ชมใน นิทรรศการ Together ทีเ่ ล่าเรือ่ งราวผ่านตัวละคร ‘Alien’ และ ‘Rabbit Sheep’ ทีอ่ ยูด่ ว้ ยกัน เป็นเพื่อนผจญภัย สนุกไปด้วยกันในโลกสมมติที่มีแรงบันดาลใจจากธรรมชาติรอบตัว นิทรรศการนีพ้ ร้อมแล้วทีจ่ ะให้คณ ุ สัมผัสถึงความอบอุน่ และความสุขทีเ่ กิดขึน้ ง่ายๆ เพียงแค่ หมุนรอบตัว จัดขึน้ ระหว่างวันที่ 17 กุมภาพันธ์ - 11 มีนาคม 2561 ณ 10 ml. cafe & gallery ซ.รัชดาภิเษก 19 สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ทาง www.facebook.com/10mlcafegallery

SHOW

เวนิ ส วาณิ ช

About Marie Kondo : คนโด มาริเอะ เป็นนักจัดบ้านหญิงชาวญี่ปุ่น ที่มีแนวคิดในการเก็บบ้านว่า KonMari โดยหลักการคร่าวๆ ของเธอคือ การทิ้งสิ่งของที่ไม่ก่อให้ เกิดความสุขหรือ Spark Joy แล้วค่อยๆ จัดล�าดับวิธีการจัดการกับข้าวของที่เหลืออยู่อย่างเป็นระบบ ซึ่งช่วยปรับความคิดและทัศนคติของเราไปทีละน้อยแบบไม่ทันรู้ตัว

หนังสือของเธอได้รับความนิยมอย่างมากในประเทศญี่ปุ่น และนิตยสาร TIME ก็ให้เธอเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลของโลกประจ�าปี 2558

ภาพยนตร์ ด รามาคอเมดี ที่ได้รับเสียงชื่นชมจากนักวิจารณ์ ทัว่ โลก เล่าเรือ่ งราวอือ้ ฉาวทีเ่ กิดขึน้ จริงในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว เมื่อปี 1994 โดยได้นักแสดงสาว สุดฮอต มาร์โกต์ ร็อบบี้ มารับบท เป็น ทอนย่า ฮาร์ดงิ นักสเกตน�า้ แข็ง หัวร้อนชาวอเมริกันที่พร้อมท�าทุก วิถีทางเพื่อชัยชนะ แต่เมื่อเธอได้ พบกับ เจฟ กิลลูรี ชายหนุม่ ผูเ้ ป็นรัก ครัง้ แรกและครัง้ เดียวทีเ่ ธอแต่งงาน ด้วย เขาก็พลิกชีวิตของเธอจาก หน้ามือเป็นหลังมือ ขณะทีท่ กุ อย่าง ได้ดา� เนินไปถึงการแข่งขันครัง้ สุดท้าย

ละครโรแมนติ ก คอเมดี สุดคลาสิกกับบทพระราชนิพนธ์แปล ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั เรือ่ ง The Merchant of Venice ของ วิลเลียม เช็กสเปียร์ ได้กลับมาโลดแล่นอีกครัง้ ในฐานะ ละครเวที ป ระจ� า ปี 2560 ของ ภาควิชาศิลปการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุ ฬ าฯ จั ด แสดงถึ ง 18 กุมภาพันธ์ 2561 ณ ศูนย์ศิลปการละครสดใส พั น ธุ ม โกมล วันพุธ-ศุกร์ รอบ 19.30 น. วันเสาร์อาทิตย์ รอบ 14.00 น. (วันเสาร์เพิม่ รอบ 19.30 น.) บัตรราคา 700 บาท บุคลากรจุฬาฯ/ผูส้ งู อายุ (60 ปีขนึ้ ไป) 550 บาท นักเรียน 350 บาท


17 WORKSHOP

MACRAME BAG BY LITTLE PINK KNOT ชวนสาวๆ ไปท�าความรูจ้ กั กับศิลปะการผูก การมัดเชือกด้วยสองมือเปล่า เพื่อสร้างลวดลายให้เป็นรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะมัดแล้วออกมาเป็นกระเป๋า สไตล์โบโฮเก๋ๆ ไม่จ�าเป็นต้องมีพื้นฐานมาก่อน ค่อยๆ เรียนรู้วิธีมัดเงื่อนเบสิก และเทคนิคที่ส�าคัญไปด้วยกัน สนุกและได้ฝึกสมาธิ แถมยังต่อยอดเป็นผลงาน ได้อีกหลากหลาย ราคา 2,850 บาท (รวมอุปกรณ์ อาหารกลางวัน และอาหาร ว่าง) ในวันเสาร์ท่ี 24 กุมภาพันธ์ ตั้งแต่เวลา 10.00-17.00 น. ณ Bags Story by Ploypat Studio ซอยยศเส สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ทาง www.facebook. com/littlepinkknot หรืออินสตาแกรม @littlepinkknot

RESTAURANT

UP & ABOVE

วาเลนไทน์ปนี ี้ หากคูร่ กั ทีอ่ ยากจะไปดินเนอร์บนทีส่ งู พร้อม ชิม อาหารนานาชาติมื้อ พิเ ศษ พลาดไม่ ไ ด้ กับ บุฟ เฟต์ อ าหาร นานาชาติ อาทิ อาหารทะเลสดใหม่ หอยนางรมน�าเข้าจากต่างประเทศ พาสต้าโฮมเมดที่สามารถเลือกปรุงรสได้ตามใจชอบ อาหารไทย รสจัดจ้าน และอาหารญี่ปุ่น อย่างปลาดิบสด ๆ ข้าวห่อสาหร่าย ข้าวหน้าปลาดิบ และเมนูอาหารอื่นๆ อีกมากมาย ณ ห้องอาหาร Up & Above ชัน้ 24 โรงแรมดิ โอกุระ เพรสทีจ กรุงเทพฯ สอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมและจองโต๊ะได้ท่ีโทร. 0-2687-9000 หรือ www.okurabangkok.com

COLLECTION

GADGET

PREE BOUTIQUE SPORTSWEAR SPRING/SUMMER COLLECTION

XPERIA XA2 ULTRA

ชวนคุณมาออกก�าลังกายด้วยแอ็กทีฟแวร์คุณภาพ พรีเมียมจาก Pree Boutique Sportswear ที่มาพร้อมกับ คอลเล็กชันใหม่ Spring/Summer 2018 น�าความงดงามของ ดอกไม้นานาชนิดมาถ่ายทอดเป็นลายพิมพ์ซิกเนเจอร์ ประจ�าแบรนด์ ผ่านการเลือกใช้โทนสีพาสเทล ทัง้ สีชมพู สีมว่ ง สีฟา้ สีนา�้ เงิน รวมถึงโทนสีเบสิกอย่างสีขาว สีเทา และสีดา� ทั้งยังใช้ผ้าโพลีเอสเตอร์ผสมสแปนเด็กซ์เป็นวัตถุดิบหลัก ซึ่ ง ช่ ว ยมอบความยื ด หยุ ่ น และกระชั บ ให้ กั บ ผู ้ ส วมใส่ รายละเอียดเพิ่มเติม www.preeboutiquesportswear.com

สมาร์ตโฟนกล้องหลังคู่เราว่าธรรมดาไปแล้ว ต้อง Xperia XA2 Ultra ตัวนี้ต่างหากถึงจะเจ๋งจริง เพราะนอกจากกล้องหลังความละเอียด 23 ล้าน พิกเซล จากเทคโนโลยีของโซนี่แล้ว สมาร์ตโฟนตัวนี้ ยังใส่กล้องหน้าคูท่ ใ่ี ช้เลนส์ 16 ล้านพิกเซล และ 8 ล้าน พิกเซล พร้อมระบบกันสั่นมาให้ ซึ่งนอกจากจะถ่าย เซลฟีได้อย่างมือโปรสุดๆ แล้ว ความกว้างของเลนส์ ยังมากถึง 120 องศา ท�าให้เก็บภาพหมูก่ บั เพือ่ นนับสิบ ได้อย่างครบคนและคมชัด Xperia XA2 Ultra เปิดตัว ในราคา 13,990 บาท มี 3 เฉดสี ได้แก่ เงิน ด�า และ น�้าเงิน ความสามารถเด่นอื่นๆ ดูเพิ่มเติมได้ที่ www. sonymobile.com

PRODUCT

KIDNAP ME. LUGGAGE STRAP เตรียมตัวให้พร้อมกว่าเดิมด้วย สายรัดกระเป๋าเท่ๆ ผลิตจากผ้าไนลอน อย่ า งดี ความยาวสายถึ ง 2 เมตร สามารถปรับสายรัดได้จนถึงกระเป๋า ขนาด 33 นิว้ ตัวล็อกท�าจากพลาสติก แข็ ง ที่ ไ ด้ รั บ มาตรฐาน และป้ อ งกั น การโจรกรรมด้ ว ยแป้ น หมุ น ตั ว เลข ส�าหรับใส่รหัสส่วนตัว เพิม่ ความโดดเด่น ให้กระเป๋าด้วยชื่อของคุณเอง ไม่ต้อง กังวลว่าจะหยิบสลับกับใคร พร้อมลุย ในทุกๆ ทริป สอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมได้ทาง www.facebook.com/ kidnapme.store หรื อ อิ น สตาแกรม @kidnapme.store


a day BULLETIN

18

CONNECTING THE DOTS เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : ร้าน Pronto

1994 Started using cotton of Zimbabwe

2013 First store in Thailand

issue 525

2018 26th Year Anniversary

12 FEB 2018

มิกฮ ิ ารุ สึจต ิ ะ เป็นชาวเมืองฟุกโุ อกะ ซึง ่ อยูท ่ างตอนใต้ของญีป ่ น ุ่ ต่อมาได้ยา้ ยมาเปิดบริษท ั FULLCOUNT Co., Ltd. ทีโ่ อซาก้า ซึง ่ แบรนด์กางเกงยีนส์ดง ั ๆ ของญีป ่ น ุ่ จะอยูท ่ จี่ ง ั หวัดนี้ เขาจึงเป็นหนึง ่ ในกลุม ่ OSAKA 5 หรือผูบ ้ ก ุ เบิกกางเกงยีนส์แห่งโอซาก้า (ต่อมาได้ยา้ ยฐานการผลิตไปทีเ่ มืองโอคายามา) ซึง ่ กางเกงยีนส์แบรนด์อน ื่ ๆ ของญี่ปุ่นนั้นได้รับอิทธิพลมาจากพวกเขานั่นเอง หรือพูดอีกอย่างก็คือ ถ้าไม่มี OSAKA 5 แบรนด์กางเกงยีนส์ของญี่ปุ่นก็คงเกิดขึ้นได้ยาก


19

FULLCOUNT จุดเริม ่ ต้นของกางเกงยีนส์คอ ื เป็นกางเกงทีท ่ า� จากผ้าฝ้าย โดยกางเกงยีนส์สมัยแรกๆ เกิดขึน ้ ทีเ่ มืองเจโนวา ประเทศอิตาลี ออกแบบมาเพือ ่ ให้กะลาสีเรือใส่ เพราะสามารถใช้งาน ได้ดีทั้งในสภาพที่เปียกและแห้งของลูกเรือ ต่อมาก็แพร่หลายไปตามกลุ่มผู้ใช้แรงงาน ชาวอังกฤษเพราะมีความทนทาน และด้วยอิทธิพลของ เจมส์ ดีน นักแสดงชาวอเมริกน ั ทีเ่ ป็นขวัญใจวัยรุน ่ ทัว่ โลก ก็ทา� ให้คนญีป ่ น ุ่ คลัง่ ไคล้กางเกงยีนส์ไม่แพ้ใคร โดยเฉพาะ มิกฮ ิ ารุ สึจต ิ ะ ผูห ้ ลงใหลในเสน่หข์ องผ้าฝ้ายดิบฟอกสีคนนี้ จนถึงขัน ้ ท�าแบรนด์ FULLCOUNT ขึน ้ มา และได้รบ ั การยกย่องว่าเป็นแบรนด์ทท ี่ า� กางเกงยีนส์ได้ดท ี ส ี่ ด ุ ของประเทศญีป ่ น ุ่

1992 Started making Jeans STARTED MAKING JEANS

COTTON OF ZIMBABWE

VINTAGE WEAVING LOOM

ตอนทีย่ งั เป็นวัยรุน่ สึจติ ะ เก็บเงินค่าขนมของตัวเอง จนสามารถซือ้ กางเกงยีนส์ ได้ ส� า เร็ จ และเขาก็ น�า กางเกงตัวนัน้ ไปวางแผ่ลง บนพืน้ ห้องน�า้ แล้วเริม่ ใช้ หินขัดไปที่เนื้อผ้าบริเวณ ส่วนหน้าขาของกางเกง แต่ความผิดพลาดก็เกิดขึน้ เมือ่ ลายกางเกงทีป่ รากฏ ขึ้ น มาเป็ น รู ป ตาราง สี่ เ หลี่ ย มของกระเบื้ อ ง พื้ น ห้ อ งน�้ า เขาเสี ย ใจ อย่างมาก และมุ่งมั่นว่า จะท�ากางเกงยีนส์ฟอกสี ที่ ดี ที่ สุ ด ออกมาให้ ไ ด้ ซึ่งนี่คือจุดเริ่มต้นก่อนที่ เขาจะก่อตัง้ แบรนด์

กางเกงยีนส์วนิ เทจของ อเมริกานัน้ มีราคาสูงมาก สึจติ ะจึงตัดสินใจก่อตัง้ แบรนด์ FULLCOUNT เพื่ อ ผลิ ต กางเกงยี น ส์ ในแบบของตัวเอง โดย คอลเล็กชันในช่วงแรก เป็ น กางเกงยี น ส์ ท รง คลาสสิ ก ของอเมริ ก า ช่วงยุค 50s ซึง่ ต้นแบบ คือกางเกงยีนส์ลีวายส์ รุน่ 501 นัน่ เอง เขาศึกษา เรื่ อ งของการตั ด เย็ บ ต่างๆ ไปจนถึงเทคนิคที่ ท�าให้สขี องกางเกงยีนส์ ซี ด จางเป็ น ธรรมชาติ เหมือนกับว่ากางเกงยีนส์ ตัวนัน้ ผ่านการใส่มาแล้ว หลายปี

ต่อมาสึจิตะก็เลือกใช้ ฝ้ายส�าหรับทอผ้ายีนส์ จากประเทศซิมบับเว ซึ่งตอนนั้นยังไม่เป็นที่ รูจ้ กั แพร่หลาย เหตุผล ทีเ่ ขาเลือกฝ้ายจากทีน่ ี่ เพราะเส้นใยที่ได้จาก ฝ้ายของซิมบับเวจะมี ความยาวกว่าฝ้ายจาก ที่อื่น เมื่อทอออกมา จะได้เนือ้ ผ้าทีม่ คี วามพิเศษเฉพาะตัว เมื่อ รวมกับการเก็บเกีย่ วทีใ่ ช้ แรงงานคนด้ ว ยแล้ ว ฝ้ายที่ได้จะไม่บอบช�้า เมือ่ ทอเป็นผ้ายีนส์กจ็ ะ ให้ความรู้สึกอ่อนนุ่ม ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของ แบรนด์ FULLCOUNT

เมือ่ ได้ฝา้ ยทีด่ กี ต็ อ้ งใช้ เครือ่ งทอผ้าทีด่ คี วบคูก่ นั ผ้ายีนส์ของแบรนด์นจี้ งึ ทอด้ ว ยเครื่ อ งทอผ้ า แบบดั้งเดิมที่ผลิตขึ้น มาในปี 1960 โดยบริษทั Cone Mills ซึง่ ปัจจุบนั ทาง FULLCOUNT ยังใช้ เครื่องนี้ทอผ้าส�าหรับ ตั ด กางเกงยี น ส์ อ ยู ่ แต่ปญ ั หาทีก่ า� ลังก่อตัว อย่างช้าๆ คือ บริษัท Cone Mills ในตอนนี้ ได้ ป ิ ด ตั ว ลงไปแล้ ว และช่ า งซ่ อ มบ� า รุ ง เครือ่ งทอผ้ารุน่ โบราณ ในปั จ จุ บั น ก็ ไ ม่ มี ค น รุ ่ น ใหม่ ที่ ส นใจมา สานต่อหน้าทีน่ อี้ กี แล้ว

COMFORTABLE TO WEAR

FIRST STORE IN THAILAND

WE’LL MEET AGAIN

26 TH YEAR ANNIVERSARY

FULLCOUNT ให้ความส� า คั ญ กั บ ก า ร ผ ลิ ต กางเกงยีนส์แบบคลาสสิก จึงศึกษาเรือ่ งการออกแบบ ตั ด เย็ บ การตอกหมุ ด และกระดุม ใช้ปา้ ยยีห่ อ้ ทีท่ า� มาจากหนังแกะเพือ่ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว แต่นน่ั ก็ยงั ไม่ใช่เป้าหมาย อันดับหนึง่ จุดมุง่ หมาย ที่แท้จริงคือการพัฒนา ผ้ายีนส์ที่น�ามาผลิตเป็น เสื้ อ และกางเกงยี น ส์ ที่สวมใส่ได้ทุกวัน โดย คนใส่ ต ้ อ งรู ้ สึ ก สบาย ทุ ก ครั้ ง ที่ ส วมใส่ และ สร้ า งสรรค์ ท รงของ กางเกงยีนส์ทหี่ ลากหลาย เพื่ อ ก้ า วข้ า มข้ อ จ� า กั ด เดิมๆ

กางเกงยีนส์ FULLCOUNT เข้ามาเปิดตัวอย่างเป็น ทางการในบ้านเรา โดย การน�าเข้ามาจ�าหน่าย ผ่านร้าน Pronto ซึง่ การเปิ ด ตั ว ครั้ ง แรกของ แบรนด์ คื อ เป็ น หนึ่ ง แบรนด์ใหม่ของร้านทีม่ า เข้าร่วมในงาน Pronto Denim Carnival โดยส่ง คอลเล็กชันพิเศษมาให้ แ ฟ น ๆ ไ ด ้ จั บ จ อ ง โดยเฉพาะนัน่ คือ Pronto X FULLCOUNT PROXFC13 กางเกงยีนส์ กระดุม ทรงขากระบอก เล็ก ริมแดง เอวต�า่ ใช้ผา้ ที่ ห นาและสากกว่า รุน่ อืน่ ๆ ทีเ่ คยผลิต เดิน เส้นด้ายสีเหลืองทัง้ ตัว

ในงาน Pronto Denim Carnival 2017 ซึ่งจัด โดยร้าน Pronto ทาง FULLCOUNT ได้ทา� เสือ้ และหมวกคอลเล็กชัน พิเ ศษเพื่อ ร่ ว มเฉลิม ฉลองในวาระที่ ร ้ า น Pronto เปิดมาครบสิบปี ในงานนี้ มี ก ารฉาย ภาพยนตร์ ส ารคดี Weaving Shibusa ให้ กับคนรักยีนส์ได้ดูกัน ทีโ่ รงภาพยนตร์สกาล่า โดย มิ กิ ฮ ารุ สึ จิ ต ะ ก็ ม าพบปะแฟนใน งานนี้ด้วยเช่นกัน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ที่ ผ่านมา เป็นวันครบรอบ 26 ปี ของแบรนด์ FULLCOUNT & Co. ซึ่ ง สึ จิ ต ะก็ ไ ด้ โ พสต์ ลงเฟซบุก๊ ส่วนตัวไว้วา่ “วันนี้เป็นวันครบรอบ 26 ปีของบริษทั ผมจะ ขอออกไปเดิ น เล่ น สั ก หน่ อ ยก่ อ นที่ จ ะ กลับมามุ่งหน้าท�าใน สิ่ ง ที่ ตั ว เองอยากท� า ต่ อ ไป” ก่ อ นหน้ า นี้ เขาให้สัมภาษณ์ไว้ว่า “แม้กระบวนการผลิต กางเกงยีนส์บางครั้ง จะมี สิ น ค้ า ที่ ไ ม่ น ่ า พอใจนัก แต่จะไม่ยอม ให้ มี ก ารลดคุ ณ ภาพ งานเด็ดขาด”

STRIP AD

THE SUCCESSFUL MISTAKE




a day bulletin

SELECTED

22

เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ

03 01

02 04

07 06 05

08

09

10

12 11

13

issue 525

LET’S GET CREATIVE!

12 FEB 2018

หากคุณเคยขาดแรงบันดาลใจ ไอเดียสร้างสรรค์ไม่แล่นจนคิดงานดีๆ ไม่ออก เราแนะน�าให้ลองเปลีย ่ น มาใช้เครือ ่ งเขียนเก๋ๆ ลายน่ารักๆ เหล่านีด ้ ู เพราะความสดใสขีเ้ ล่น รวมทัง ้ ลวดลายดูสบายตา จะช่วย ท�าให้รส ู้ ก ึ ผ่อนคลายจนอาจปิง ๊ ไอเดียดีๆ ขึน ้ มาก็ได้

01 Ohh Deer - Busy Doing Nothing Sticky Notes ราคา £3.50 02 kikki.K - Everyday Gel Pen Cat ราคา $3.95 03 Ohh Deer - Dancing Pug Tape ราคา £4.50 04 Rifle Paper Co. - 2018 Tapestr y Ever yday 17-Month Planner ราคา $23.80 05 Rifle Paper Co. - Everyday Assorted Writing Pencils - Modernist ราคา $12 06 Paperchase - Puppy Chow Hot Sausage Dog Pencil Case ราคา 409 บาท 07 Rifle Paper Co. - Everyday Assorted File Folders - Shanghai Garden ราคา $14.00 08 kikki.K - 2018 Time Planner Large ราคา $69.95 09 Paperchase Refresh & Reboot Slogan Duo Tapered Eraser ราคา 41 บาท 10 Paperchase - Icons Avocado Pencil Sharpener ราคา 179 บาท 11 Ooh La La! - Aurore and Kitty Block Pouch V2 ราคา 830 บาท 12 Moleskine - Denim Notebook - Don’t Handle with Care ราคา $22.95 13 Idlewild Co. - Lush Greens Deskpad ราคา $12


23

12

CALENDAR

M 13

ANIMA

T 14

N A R R AT I V E O F MONUMENTS

นิทรรศกำร ‘เรื่องเล่ำ อนุสำวรีย์’ โดย คธำ แสงแข ใช้สอื่ ภำพถ่ำยที่ เปิดกว้ำงต่อกำรตีควำม เพือ่ ตัง้ ค�ำถำมต่อบทบำท หน้ำทีแ่ ละกำรด�ำรงอยู่ ของอนุสำวรียใ์ นฐำนะ ควำมทรงจ�ำร่วม สะท้อน ภำพควำมทรงจ�ำอันพร่ำเลือนของประวัตศิ ำสตร์ ในยุคสมัยปัจจุบนั วันนี้ ถึง 24 กุมภำพันธ์ 2561 ณ คั ด มั น ดู โฟโต้ แกลเลอรี (เว้นวันอำทิตย์ และจันทร์) ad K-Village adB525.pdf 1 31-Jan-18 5:43:53 PM

นิทรรศกำร ‘ชีวติ สัมพันธ์’ โดยกลุ่ม 92 ถ่ำยทอด จินตนำกำรแห่งควำมสัมพันธ์ระหว่ำงมนุษย์ กับสัตว์ จำกควำมรูส้ กึ ควำมเชื่อ อุดมคติของ แต่ละคน เสมือนกำรค้นหำสมดุลของควำมสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ ำ งชี วิ ต และจิตวิญญำณ วันนี้ ถึง 1 มีนำคม 2561 ณ หอศิลป์จำมจุรี จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย

W 15

ROMANTIC CONCERT FOR VALENTINE’S DAY

ค�่ำคืนสุดโรแมนติกกับ คอนเสิรต์ เพลงรักฝรัง่ เศส ‘Romantic Concert For Valentine’s Day’ บทเพลง แห่ ง ควำมรั ก จะถู ก ขับขำนเป็นภำษำฝรัง่ เศส ในคืนวันวำเลนไทน์นี้ เสียงกังวำนใสและเปีย่ ม พลังของ Mouron จะ ถ่ำยทอดควำมหมำยของ บทเพลงรักมำสเตอร์พซี วันนี้ เวลำ 19.00 น. ณ สมำคมฝรั่ ง เศส กรุงเทพ จ�ำหน่ำยบัตรที่ http://afthailande.org/th

TH 16

F 17

SA 18

INCUBUS LIVE IN BANGKOK

ONE NIGHT STAND UP

TNT MUSIC FESTIVAL

ก ำ ร ก ลั บ ม ำ เ ยื อ น เมื อ งไทยอี ก ครั้ ง ของ Incubus วงอัลเทอร์เนทีฟร็อกชื่อดังจำกอเมริกำ กำรันตีดว้ ยยอดขำยกว่ำ 23 ล้ำนอัลบั้มทั่วโลก ในคอนเสิร์ต ‘Incubus Live in Bangkok’ วันนี้ เวลำ 20.30 น. ณ บีซีซี ฮอลล์ ชั้น 5 เซ็นทรัล พลำซ่ ำ ลำดพร้ ำ ว จ� ำ หน่ ำ ยบั ต รที่ ไ ทยทิกเก็ตเมเจอร์

งำนสแตนด์อัพคอเมดี้ ที่ จ ะเปลี่ ย นเวที อั น ว่ำงเปล่ำให้กลำยเป็นเวที อันเร่ำร้อน โดยเหล่ำ คอเมเดีย้ น ทีจ่ ะมำเล่ำ เรื่ อ งรำวชี วิ ต อั น แสน ชอกช�ำ้ ระก�ำล�ำไย พบกับ กตัญญู สว่ำงศรี, ครูทอม ค�ำไทย, บีเบ๊นซ์ ฯลฯ ใน ‘One Night Stand Up ตอน Stand Up Tragedy #คืนระทม2018’ วันนีถ้ งึ 18 กุมภำพันธ์ 2561 ณ Live Lounge จ�ำหน่ำย บัตรที่ Ticketmelon.com

กำรระเบิดควำมมันกับ ปรำกฏกำรณ์ใหม่ของ เทศกำลดนตรี ใน ‘TNT Music Festival’ พบกับ ควำมหลำกหลำยของ ดนตรีและทั้งศิลปินดัง ของประเทศไทยและดีเจ ระดับ โลกในแนวอำร์ แอนด์บี ฮิปฮอป แทร็ป อีดเี อ็ม อำทิ Lil Jon, Soda, Wil y Monfret, Thaitanium ฯลฯ วันนี้ เวลำ 18.00 น. ณ ฮอลล์ 106 ไบเทค บำงนำ จ�ำหน่ำยบัตรที่ ไทยทิกเก็ตเมเจอร์

S

FAMILY PORTRAITS

นิ ท รรศกำร ‘Family Portraits’ โดย บรูโน ตองเกอแรล ศิ ล ปิ น ชำวฝรั่งเศส น�ำเสนอ ผลงำนจิ ต กรรมและ ประติมำกรรมทีส่ ะท้อน ให้เห็นกิจกรรมครอบครัว อันหลำกหลำยตลอด ช่วงชีวติ เช่น งำนแต่ง งำนกินเลีย้ งในครอบครัว และพิธกี รรมทำงศำสนำ วันนีถ้ งึ 1 มีนำคม 2561 ณ สมำคมฝรั่ ง เศส กรุงเทพ


a day BULLETIN

BULLETIN BOARD

24

Uniqlo U คอลเล็กชัน Spring/Summer 2018 ยูนิโคล่ประกาศเปิดตัวคอลเล็กชัน Uniqlo U Spring/Summer 2018 โดยเป็น คอลเล็กชันทีเ่ ต็มเปีย่ มด้วยปรัชญาไลฟ์แวร์ (LifeWear) ในการสร้างสรรค์เสือ้ ผ้าคุณภาพสูง ทีม่ คี วามเป็นสากลทัง้ ในด้านการออกแบบ ความสบาย และเข้ า กั น ได้ กั บ ทุ ก คน ทุกหนแห่ง คอลเล็กชันใหม่นา� เสนอความหลากหลายของเสื้อผ้าชิ้นเบสิกในรูปแบบ ใหม่ จ ากที ม ออกแบบของศู น ย์ วิ จั ย และ พัฒนายูนิโคล่ ปารีส โดยการน�าทีมของ คริสตอฟ เลอแมร์ ในฐานะผู้อา� นวยการ ฝ่ายศิลป์ วางจ�าหน่ายตัง้ แต่วนั ที่ 26 มกราคม เป็นต้นไป ทั้งในร้านยูนโิ คล่ที่ร่วมรายการ และผ่านช่องทางออนไลน์ที่ www.uniqlo. com/th

ไทยบริดจสโตนประกาศเป็น ผูส ้ นับสนุนหลักพาราลิมปิก อย่างเป็นทางการ

issue 525 12 FEB 2018

ยาสุฮโิ ระ โมริตะ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไทยบริดจสโตน จ�ากัด พร้อมด้วย จุตินันท์ ภิรมย์ภักดี ประธานมูลนิธิ คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งประเทศไทย ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ในฐานะผู ้ ส นั บ สนุ น หลั ก ของมู ล นิ ธิ คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งประเทศไทย อย่างเป็นทางการ โดยครอบคลุมระยะเวลา 4 ปี (2561-2564) นับเป็นอีกหนึ่งความมุ่งมั่นของไทยบริดจสโตนในการร่วม สานฝั น ทั พ นั ก กี ฬ าพาราลิ ม ปิ ก ไทย พร้ อ มก้ า วสู ่ ก ารแข่ ง ขั น ในเวที ร ะดั บ สากล

The Finest Chinese New Year 2018 เฉลิมฉลองตรุษจีนสุดยิง่ ใหญ่ภายใต้ คอนเซ็ปต์ The Harbor of Wealthness : 9 สิ ริ ม งคลเสริ ม ความมั่ ง คั่ ง ให้ คุ ณ ร่วมกิจกรรมและเลือกซื้อสินค้าต่างๆ ภายใต้คอนเซ็ปต์ของส�าเภาเรือทีพ่ กพา 9 สิริมงคลเสริมความมั่งคั่ง ต้อนรับ เทศกาลแห่ ง การเฉลิ ม ฉลองตรุ ษ จี น ปี 2018 อย่างเต็มรูปแบบ และภายใน Chinese Market ก็คัดสรรสุดยอดเมนู อาหารจี น หาทานยากมาให้ ลิ้ ม ลอง พร้อมแต่งตัวเสริมความเฮงด้วยชุดกีเ่ พ้า และโทนเสื้อผ้าแฟชั่นสีแดงทอง พร้อม เข้าร่วมเวิร์กช็อปชงชาจีนและสอนท�า Paper Drum ฟรี วันนี้ถึง 18 กุมภาพันธ์ 2561 ณ ชั้ น 1 ลานกิ จ กรรมพิ เ ศษ เซ็นทรัลพลาซา บางนา

ช่อง ONE 31 ส่งรายการ พิเศษ ‘ใจบันดาลแรง เบิรด ์ มินิ มาราธอน’ ช่ อ ง ONE 31 ตอบรั บ กระแส ความแรงโปรเจ็กต์ ‘เบิรด์ มินิ มาราธอน’ ของซูเปอร์สตาร์เมืองไทย ‘เบิรด์ ’ - ธงไชย แมคอินไตย์ กับการร่วมงานเพลงกับ 8 ศิลปินไอดอลรุ่นใหม่ อาทิ UrboyTJ, ลาบานูน, โพลีแคท, แสตมป์, อะตอม, Boom Boom Cash, Getsunova และบิก๊ แอส ในรายการพิเศษ ‘ใจบันดาลแรง เบิร์ด มินิ มาราธอน’ กับครัง้ แรกในการเปิดเผย เบือ้ งลึกเบือ้ งหลังการท�างานทีเ่ ต็มไปด้วย ความสนุก พร้อมกับแง่คิดและมุมมอง พิเศษในการท�างานร่วมกัน รวมไปถึง เรือ่ งราวความประทับใจจากแรงบันดาลใจ ทีเ่ บิรด์ ส่งต่อให้กบั ศิลปินทุกคนในโปรเจ็กต์ นี้ ซึง่ ทัง้ เบิรด์ และ 8 ศิลปินไม่เคยเปิดเผย ที่ไหนมาก่อน

4U2 LOVE ME MORE บลัชออนสูตรใหม่ลา่ สุด 4U2 LOVE ME MORE มาในตลับกลมน่ารัก โทนสี หวานราวลูกกวาดทีร่ บั รองว่าใครได้เห็น เป็นต้องอยากไขว่คว้ามาลองเปิดดู และ จะยิง่ โดนใจมากขึน้ เมือ่ ได้สมั ผัสลิม้ ลอง เนื้อแป้งบลัชออนเนียนละเอียดเหมือน ปุยนุน่ ทีค่ ดิ ค้นขึน้ มาไม่ใช่เพียงเพือ่ มอบ ความสดใสให้ใบหน้าเท่านั้น แต่ยังติด ทนยาวนานตลอดวันด้วย มาร่วมมอบ ความสดใสให้พวงแก้มปลายปีนี้ เหมือน จะประกาศว่า ‘ฉันอินเลิฟ’ หรือ ‘ฉันพร้อม แล้วนะ ส�าหรับความรัก’ 4U2 LOVE ME MORE ราคาตลับละ 179 บาท มีจา� หน่าย ที่ Watsons, Eveandboy, Beautrium และ www.4U2Thailand.com


25 อั พ เดตแวดวงข่ า ว สั ง คมที่ น่ า สนใจใน รอบสัปดาห์ ปตท. เปิ ด ตั ว เทคโนโลยี น�้ า มั น สูตรใหม่ PTT UltraForce Diesel นวัตกรรมแห่งความแรง เทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ปตท. จ�ากัด (มหาชน) พร้อมด้วย อรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ ประธานเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารกลุม่ ธุรกิจปิโตรเลียม ขัน้ ปลาย และ จิราพร ขาวสวัสดิ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจน�้ามัน บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) ร่วมแถลงข่าวเปิดตัวผลิตภัณฑ์ น�า้ มันเชือ้ เพลิงสูตรใหม่ PTT UltraForce Diesel ซึ่งเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์น�้ามันเชื้อเพลิง กลุ ่ ม ดี เ ซลของ ปตท. ทั้ ง น�้ า มั น ดี เ ซล และ น�า้ มันดีเซล พรีเมียม เพือ่ ให้ผบู้ ริโภคได้สมั ผัสถึง ความแรง อัตราเร่งดี ตอบสนองทันใจ และ เครือ่ งยนต์สะอาดเหมือนใหม่ ได้ทสี่ ถานีบริการ น�า้ มัน ปตท. ทัว่ ประเทศ ได้แล้ววันนี้

ฉลองวันแห่งความรัก ณ โรงแรมดิ โอกุระ เพรสทีจ กรุงเทพฯ โรงแรมดิ โอกุระ เพรสทีจ กรุงเทพฯ ขอเชิ ญ คู ่ รั ก มาฉลองวั น แห่ ง ความรั ก ในบรรยากาศสุดโรแมนติก พร้อมลิม้ รส อาหารอันหลากหลายกับบุฟเฟต์อาหาร นานาชาติ ห้องอาหาร Up & Above หรือจะชวนคนรักไปรับประทานอาหาร ญีป่ นุ่ รสชาติตน้ ต�ารับทีห่ อ้ งอาหารญีป่ นุ่ Yamazato และที่พลาดไม่ได้ส�าหรับผู้ที่ ชืน่ ชอบอาหารฝรัง่ เศสทีม่ กี ลิน่ อายญีป่ นุ่ กับอาหารชุดพิเศษส�าหรับคู่รักที่ห้องอาหาร Elements ส�ารองโต๊ะเพื่อฉลอง วันวาเลนไทน์ 14 กุมภาพันธ์ 2561 โทร. 0-2687-9000 ทางอี เ มล fb@ okurabangkok.com หรื อ ส� า รองโต๊ ะ ผ่านเว็บไซต์ www.okurabangkok.com

IDE Center by UTCC จัดงาน IDE 2018 เดินหน้า สร้างระบบนิเวศธุรกิจ นวัตกรรม ศู น ย์ ก ารสร้ า งผู ้ ป ระกอบการ ทีข่ บั เคลือ่ นโดยนวัตกรรม โดยมหาวิทยาลัย หอการค้าไทย หรือ IDE Center by UTCC เตรียมจัดงาน IDE 2018 ร่วมกับบริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จ�ากัด กลุ่มมิตรผล ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ ภาคีพนั ธมิตร จัดงาน IDE 2018 เปิดเวที เฟ้นหาที่สุดของธุรกิจนวัตกรรมแห่งปี ของไทยและภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถเข้าร่วมกิจกรรม IDE 2018 ใน ระหว่างวันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ 2561 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมและส�ารองบัตร เข้าร่วมงานได้ท่ี http://go.eventpop.me/ ideutcc

Absolute Cycle : Thailand’s Best Rhythm Cycling Studio เพิ่มจังหวะชีวิตของคุณให้คึกคัก มากยิ่ง ขึ้น กับ การออกก�า ลัง กายแบบ Rhythm Cycling ภายใต้แบรนด์ Absolute Cycle สตูดิโอปั่นจักรยานที่ดีที่สุดใน ประเทศไทย ซึง่ เป็นการออกก�าลังกายบน จักรยานที่มันสุดๆ ด้วยการผสมผสาน จังหวะการเคลื่อนไหวร่างกายพร้อมกับ จังหวะของดนตรี เปีย่ มด้วยพลังและก่อให้ เกิดแรงบันดาลใจ ทีส่ ามารถเผาผลาญได้ ถึง 500 แคลอรี ในเวลาเพียง 45 นาที และ พบกันเร็วๆ นี้ กับ Absolute Cycle สาขา Nanglinchee Studio, Market Place นางลิน้ จี่ Exchange Tower Studio, อาคาร Exchange Tower อโศก และ Absolute You Studio, Peranakan Place, Singapore รายละเอียด เพิม่ เติม www.absolutecyclebangkok.com

OTOP ภูมภ ิ าค 2561 กรมการพัฒนาชุมชน ชวนช้อป ตลอดเดือนแห่งความรัก จัดยิง่ ใหญ่งาน OTOP ภูมภิ าค 2561 ครอบคลุม 5 จังหวัด ทัว่ ไทย พบกับสุดยอดสินค้าภูมปิ ญ ั ญา 4 ภาค สินค้า OTOP แบรนด์เนม และ สินค้าทีบ่ ง่ บอกอัตลักษณ์ในแต่ละท้องถิน่ ในราคาสุดพิเศษ เมือ่ วันที่ 1-7 กุมภาพันธ์ 2561 ณ สนามหน้าศาลากลาง จังหวัด สุราษฎร์ธานี วันที่ 9-15 กุมภาพันธ์ 2561 ณ สนามกีฬากลาง จังหวัดระยอง วันที่ 10-16 กุมภาพันธ์ 2561 ณ สนามหน้า ศาลากลาง จังหวัดขอนแก่น วันที่ 15-21 กุมภาพันธ์ 2561 ณ เวทีกลางสะพานหิน จังหวัดภูเก็ต และวันที่ 23 กุมภาพันธ์1 มีนาคม 2561 ณ สนามหน้าศาลากลาง จังหวัดนครสวรรค์ (ลานเสือป่า) โดยการจัดงานทัง้ 5 ครัง้ ตัง้ เป้ายอดจ�าหน่าย ภายในงาน 190 ล้านบาท


a day BULLETIN

HE SAID

26

เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

BANGKOK FIGHT LAB - ยิมสอนศิลปะการต่อสู้หลากรูปแบบ ทั้งมวยไทย, ยูโด, MMA, บราซิเลียนยิวยิตสู และอีกมากมาย Location : สุขุมวิท 50 / Hours : 07.00-21.00 (ทุกวัน) Website : www.bangkokfightlab.com

B E AT

YOURSELF ‘คุณจะรู้จักตัวเองได้ดีเพียงใด หากคุณไม่เคย ่ ง ต่อสู’้ ค�าพูดของ ไทเลอร์ เดอร์เดน จากภาพยนตร์เรือ Fight Club เข้ามาสะกิดใจเราเต็มๆ ตลอดเวลาที่ได้ พูดคุยกับ มอร์แกน เพอร์กินส์ เจ้าของยิม Bangkok Fight Lab ชาวอเมริกัน วัย 37 ปี ซึ่งเขาถีบตัวเอง จากเด็กที่ไม่เอาไหนด้านกีฬา มาเป็นนักสู้บราซิเลียนยิวยิตสู (Brazilain Jiu-Jitsu - การต่อสูท ้ ผ ี่ สมผสาน ระหว่างยูโดกับมวยปล�า้ ) ทีท ่ า� ให้เราเข้าใจว่า ศิลปะการต่อสู้ ไม่ได้มไี ว้สร้างความแข็งแรงให้รา่ งกายเท่านัน ้ แต่ยง ั เป็น เครื่ อ งมื อ ชั้ น ดี ใ นการฝึ ก จิ ต ใจและการเข้ า ใจตั ว เอง จนกลายเป็นโค้ชอารมณ์ดีที่ลูกศิษย์เทใจให้เขาอย่าง ไม่มีข้อแม้

Bangkok Fight Lab… เราเปิดยิมแห่งนี้มาตั้งแต่ปี 2014 ถึงวันนีก้ ร็ าวๆ 3 ปีครึง่ โดยเริม่ มาจากทีผ่ มอยูก่ รุงเทพฯ มาแล้ว 12 ปี และฝึกบราซิเลียนยิวยิตสูมากว่า 20 ปี ตอนนัน้ ผมและหุน้ ส่วนเห็นว่าศิลปะการต่อสู้ ทัง้ MMA และ บราซิเลียนยิวยิตสูกา� ลังเริม่ ได้รบั ความนิยมในไทย แต่กลับไม่มี สถานทีร่ องรับความต้องการของกีฬาประเภทนีม้ ากขนาดนัน้ เราจึงตัดสินใจท�ายิมนี้ขึ้น โดยเป็นยิมเดียวในกรุงเทพฯ ที่รวมเอาทั้งมวยไทย, ยูโด, MMA และบราซิเลียนยิวยิตสู เข้าด้วยกัน รวมทัง้ มีอดีตนักชกมืออาชีพหลายคนมาเป็นโค้ช บราซิ เ ลี ย นยิ ว ยิ ต สู … เป็ น ศิ ล ปะการต่ อ สู ้ ที่ เ น้ น การจับล็อกบนพื้น คล้ายๆ การน�ายูโดมาผสมกับมวยปล�้า แล้วมีการฝึกท่าจับล็อกบนเพิม่ เข้าไป ถึงแม้ตอนนีค้ นอาจจะ ยังไม่รู้จักในวงกว้างมากเท่าไหร่ แต่ในช่วง 2 ปีท่ีผ่านมา ก็เห็นได้ชัดเจนว่าได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น คนที่มาเรียน ก็หลากหลายขึ้น มีทั้งเด็ก ผู้หญิง รวมทั้งคนอายุ 50-60 ปี Behind My Passion… นอกจากบราซิเลียนยิวยิตสู จะช่วยให้คงรูปร่างดีอยู่ตลอดเวลาแล้ว มันยังเป็นเหมือน กิจกรรมฝึกจิตใจให้สามารถควบคุมร่างกายตัวเองได้อย่าง ถูกต้องด้วย ผมคิดว่าพอถึงจุดหนึง่ ของชีวติ คนเรามักสูญเสีย การควบคุมร่างกายของตัวเอง เพราะพอเราแก่ก็นั่งหง่อม ไม่แอ็กทีฟ ไม่เคลื่อนไหวร่างกาย จนวันหนึ่งเราก็ลืมไปเลย ว่าร่างกายเคยท�าแบบนี้ได้ ซึ่งมันน่าเศร้า ผมจึงเลือกฝึก บราซิเลียนยิวยิตสูอยู่ตลอด เพราะมันท�าให้ผมไม่เคยลืม ความสามารถของร่างกายตัวเอง แถมยังได้เจอมิตรภาพดีๆ จากคนที่ฝึกด้วยกันด้วย

issue 525 12 FEB 2018

A Non-Sporty Boy... โดยทัว่ ไปแล้วเด็กๆ ในโรงเรียน ที่อเมริกาจะเล่นกีฬากันเยอะมากและเล่นกันจริงจัง มีทีม มีการแข่งขัน แล้วเขาก็เลือกคนเก่งๆ เข้าทีม แต่ผมคือ คนสุดท้ายตลอดที่เขาจะเลือกเข้าไป เพราะผมเล่นไม่เก่ง เอาเสียเลย แต่พอผมอายุประมาณ 20 ปี ผมก็เริ่มฝึก บราซิเลียนยิวยิตสู ซึ่งมันเหมือนช่วงเวลาที่ผมได้เปลี่ยน ตัวเองไปเป็นอีกคน ผมเริ่มเสพติดกีฬา ร่างกายแข็งแรงขึ้น แล้วก็มีความสุขกับชีวิตขึน้ ด้วย To Know Yourself… สิง่ ทีย่ ากทีส่ ดุ ในการเป็นนักกีฬา บราซิเลียนยิวยิตสูรวมถึง MMA ก็คืออีโก้ของคุณนั่นแหละ นักกีฬาหลายคนต้องเจ็บตัวเพราะไม่รู้จักร่างกายตัวเอง

มั่ น ใจในตั ว เองมากไป และมี อี โ ก้ สู ง มากจนไม่ ย อม แท็ปพื้นยอมแพ้ เพราะถ้าคุณโดนล็อกจนสู้ไม่ไหวแล้ว คุณก็ควรแท็ปพืน้ ยอมแพ้ซะ อย่าปล่อยให้อโี ก้ครอบง�าคุณ จนเกินไป Pain and Strength… ผมเคยกระดูกหัก ท�าให้ ฝึกซ้อมไม่ได้เป็นปี และต้องนอนอยู่บนเตียงประมาณ 1 เดือน ตอนนัน้ ทัง้ หัวเข่าหัก ตาช�า้ เรียกว่าเจอมาเยอะมาก แต่ผมก็รสู้ กึ ว่าตัวเองกล้าหาญขึน้ แข็งแรงขึน้ มันเจ็บก็จริง แต่ผมคิดว่าตัวเองคงเล่นกีฬาไปเรือ่ ยๆ จนร่างกายไม่ไหว นั่นแหละ ช่วยไม่ได้ มันสนุกจนห้ามตัวเองไม่ไหวจริงๆ (หัวเราะ) Being a Coach… ตั้งแต่เป็นครูฝึก ผมต้อง ระมัดระวังมากกว่าเดิม เพราะถ้าเจ็บหนักผมก็มาสอน ไม่ได้ มันไม่ใช่เรือ่ งร่างกายของผมคนเดียวอีกต่อไป และ ทุกๆ ครัง้ ผมจะให้ก�าลังใจนักเรียนด้วยการบอกว่า ถ้าผม

ท�าได้ ใครๆ ก็ทา� ได้ เพราะผมเคยห่วยมาก่อน (หัวเราะ) โดยเฉพาะการสอนคนทีช่ กไม่เป็นเลย ผมก็จะให้กา� ลังใจ เขาตลอด และเมื่อได้เห็นเขาเริ่มมีทักษะ ได้เห็นว่า ร่างกายเขาเปลี่ยนแปลง จิตใจก็เข้มแข็งขึ้น มันจึงเป็น เรื่องที่น่าทึ่งมาก Anyone can be a Fighter… ผมไม่ได้มองว่า เราต้องเอากีฬาต่อสูไ้ ปผูกกับเพศ ขนาดร่างกาย หรืออายุ คนส่วนใหญ่อาจคิดว่า ตามธรรมชาติแล้วเพศหญิง อ่อนโยนและไม่ได้ถูกสร้างมาให้ต่อยกับคนอื่นในกรง แต่ผมอยากให้ผคู้ นเข้าใจว่า MMA หรือบราซิเลียนยิวยิตสู มันเป็นกีฬา ไม่ใช่การต่อสูก้ นั อย่างเอาเป็นเอาตายขนาดนัน้ เพราะเมือ่ เรามองว่ามันเป็นกีฬาชนิดหนึง่ นักกีฬาทีม่ าเล่น ก็จะเป็นใครก็ได้ ผู้หญิง ผู้ชาย เด็ก คนสูงวัย ได้หมด แล้วก็ไม่เกี่ยวด้วยว่าจะตัวเล็กหรือตัวใหญ่ แค่ต้องฝึก ให้ชา� นาญ ทุกคนก็ท�าได้เหมือนกัน


WHERE TO FIND TODAY EXPRESS PRESENTS

21 AUG 2017

501 500 499

p l a y i n g t o u g h

M e d i a ,

S p o r t a n d

politicS

Bar Storia del Caffe : 8 Thonglor Building The Lounge Hair Salon : K Village ซ.อาร�ย อาคารอับดุลราฮีม : เคาน เตอร ลานจอดรถ ชั้น 1 อาคาร Tipco พระราม 6 รานคลื่นนําเง�น : สุข�มว�ท 93 รานอาหารประพักตร : ประชาชื่น Sweet Pista : สุข�มว�ท 93

True Coffee • เดอะมอลล บางกะป ชั้น 4 • อาคารเมืองไทยภัทร • ทรู ทาวเวอร รัชดา • อาคารฟอร จ�น ชั้น 3 • True Life ทองหล อ • สยามพารากอน ชั้น 3 • สีลมลอฟท • อาคารอื้อจ�อเหลียง

B B B B

Coffee World • ตึกจามจ�ร�สแควร ชั้น 2 • เซ็นทรัลลาดพร าว ชั้น 3

โรงภาพยนตร • I-House RCA • สยาม สยามสแควร • ลิโด สยามสแควร

iberry • เมเจอร รัชโยธิน ชั้น 1 • เอสพลานาด ชั้น M • ป ยรมย เพลส • พารากอน ชั้น G • ทองหล อ มาร เก็ตเพลส

a day bulletin

499 498 497

TODAY EXPRESS

1

PRESENTS

07 AUG 2017

Executive Supercars : เอกมัย HONDA • สุข�มว�ท 66/1

issue 498 07 aug 2017

R I S E

A G A I N S T

M Y S E L F

สถานีรถไฟฟา BTS ทุกวันจันทร เร��มแจก เวลา 17.30 น. • สยาม • ชิดลม • เพลินจ�ต • อโศก • พร อมพงษ • อ อนนุช • อนุสาวร�ย ชัยสมรภูมิ • อาร�ย • หมอชิต • ศาลาแดง • ช องนนทร� • สะพานตากสิน

502 501 500

TODAY EXPRESS PRESENTS

28 AUG 2017

เชียงใหม… เสนริมแมนํ้าปง • สํานักงานโรงแรม B2 • Love at First Bite • Im Eco • dusit D2 • โรงแรมอนันตรา • โรงแรม Mo Rooms เชียงใหม… Central Airport Plaza • ร านกาแฟ Starbucks • ร านหนังสือ B2S

IN MEMORIAM

1949 — 1990

a r

e

503 502 501

s

r

t w E N T Y

e

t

F U c k i n g

Y

f

04 SEP 2017

One Ounce for Onion : เอกมัย 12 INK & LION cafe : เอกมัย 2 Counting Sheep Corner : สุข�มว�ท 61 Gastro 1/6 : สุข�มว�ท 22 Casa Lapin X26 : สุขม� ว�ท 26 Brooklyn Baker : ซ.โปโล 3 Flow : พหลโยธิน ซ.9 Treat cafe & Hang Out : เสนานิคม 1 KBank Siam Pic-Ganesha : ชั้น 7 สยามสแควร วัน Candide Books & Cafe คลองสาน EST.33 : CDC Joint Cafe & Workspace : โรงแรมเอเชีย Yin-Dee-Cub : อาคาร สิร�นรัตน A big Seat : อาคาร พรรคประชาธิป ตย

เชียงใหม…นิมมานเหมินทศิร�มังคลาจารย • Kantary Hills Chiang Mai Hotel • โรงแรม Yesterday • บ านเส-ลา • ร านรออยู ตรงนี้ • ร าน Cafe Kantary • ร านกาแฟวาว� ซอย 4 • ร านเล า • ร านหอมปากหอมคอ • ร านกาแฟ Starbucks • ร านกาแฟวาว� ซอย 9 • ร าน Salad Concept • ร าน Minimal • ร าน Cafe de Nimman TODAY EXPRESS

A&W • สยามสแควร • พันธ ทิพย พลาซ า • สุขาภิบาล 3 • ศร�เจร�ญภัณฑ พลาซ า • บางนา กม. 6 • ว�ภาวดี • รัชดา • เดอะสตร�ท • บางจาก เอกมัย • แฟชั่น ไอส แลนด • ไบเทค บางนา • Terminal 21

เขาใหญ-ปากชอง • KIRI MAYA • MUTHI MAYA • Palio • Toscana Valley Country Club • HOTEL des ARTISTS • หอมหมื่นลี้

กับขาว กับปลา • ทองหล อ มาร เก็ตเพลส Zaab Eli : ทองหล อ 10 หองอาหารสีฟา Kanom Secret Recipe Casa Lapin : ซ.อาร�ย ไล-บรา-ร�่ : พระรามเก า 41 Coffee Gallery : CDC Lord of Cup : รามคําแหง ซ.112 Roast Coffee & Eatery : ทองหล อ 13

PRESENTS

• เอ็มไพร ทาวเวอร ชั้น G • ออล ซีซัน เพลส • อาคารอื้อจ�อเหลียง ชั้น G • หลังสวน • สีลมคอมเพล็กซ • ไทมส สแควร ซ.สุข�มว�ท 12 • ไทยพาณิชย ปาร กพลาซ า ชั้น 1 • จามจ�ร�สแควร • The 19th. ชิดลม • อาคารเมืองไทยภัทร คอมเพล็กซ • IDEO พญาไท

สถานออกกําลังกาย • Yoga Space Thgether : All Seasons Place

A

Air Asia : ดอนเมือง ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย : ห องสมุด มารวย ศูนยฯ สิร�กิติ์ : เคาน เตอร ประชาสัมพันธ CDC (Crystal Design Center) The Lake Condo Modernform : CDC Index Living Mall : เอกมัย SB Design Square : เซ็นทรัลเว�ลด ชั้น 5 BMW Millennium Auto • พระราม 4 • สยามพารากอน ชั้น 2 • ลาดพร าว ซ.112 MINI GARAGE By Millennium Auto Ekamai

Starbucks • เซ็นทรัล ลาดพร าว ชั้น 2 • เซ็นทรัล พระราม 9 ชั้น 1 • สยามพารากอน ชั้น 1 • สยามพารากอน ชั้น 3 • สยามเซ็นเตอร ชั้น 3 • เซ็นทรัลเว�ลด ชั้น 3 โซน A • Big C เอกมัย • เอ็มโพเร�ยม ทาวเวอร • เอ็มโพเร�ยม มอลล ชั้น 5 • จ�เอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส • ทองหล อ (ระหว างทองหล อ ซ.11 และ 13) • มาร เก็ตเพลส ทองหล อ ซ.4

• โรงพยาบาลสมิติเวช ซอย สุข�มว�ท 49 • โรงพยาบาลกรุงเทพ ชั้น 1 • โรงพยาบาลรามาธิบดี • โรงพยาบาลพระราม 9 • The Crystal Park • RCA • นวมินทร ซิตี้อเวนิว • นวมินทร ทาวน เซ็นเตอร • The Nine Center • Terminal 21 • The Walk เกษตรนวมินทร • The Promenade • The Scene ทาวน อินทาวน • SOHO Thailand ถนนบํารุงเมือง • Vanilla Moon ถนนจันทน • Siam Square 1 • I’m Park สามย าน • Plearnary Mall วัชรพล • The JAS วังหิน • ท ามหาราช • อาคารซันทาวเวอร • อาคารอับดุลราฮิมเพลส • อาคารสินธรทาวเวอร • โรงพยาบาลพญาไท 2 • EmQuartier • อาคารสาธรซิตี้ทาวเวอร • Yodpiman River Walk • U-Place พระราม 9 • The Offices at Central World

E E E E

B K H P

504 503 502

TODAY EXPRESS PRESENTS

11 SEP 2017

O L D I N D U M B L R O U D

E

B B B B

E E E E

B K H P

O L D I N D U M B L R O U D

B B B B

E

E E E E

B K H P

O L D I N D U M B L R O U D

• ร าน iberry • Gallery Seescape • SS1254372 Cafe • ร าน Slope Motion • ร าน The Barn : Eatery Design • ร าน Dude Cafe • ร าน Subway • ร าน 8 Days a Week • ร าน Hug a Cup • ร าน Dom Cafe • ร าน Cotton Tree • ร าน Cheun Juice Bar • ร าน Nimmanian Club • ร าน Roxpersso • ร านหนังสือ Book Smith • โรงแรม Hallo Dormtel 505 504 503

TODAY EXPRESS PRESENTS

18 SEP 2017

良い会社 T O

B E

A

G O O D

C O M PA N Y

หัวหิน • วรบุระ หัวหิน ร�สอร ท แอนด สปา • The Sea-cret Hua Hin • Hua Hin Mantra Resort • Let’s Sea • Dune hua-hin • Starbucks : Market Village • Starbucks : หอนาิกา • True Coffee • บ านใกล วัง • บ านถั่วเย็น • ชุบชีวา • ว�กหัวหิน • Eighteen Below • กาแฟดร�ปหัวหิน • ร านว� ไลวรรณ เพชรบุร� • JM Cuisine : ถนน หน าเขาวัง • JM Cuisine : ถนน รางไฟฟ า

adaybulletin

www.adaybulletin.com

E


a day BULLETIN

FEATURE เรื่อง-ภาพ : พิมพ์อร นทกุล

28

issue 525 12 FEB 2018


29

PA R T E D TO MEET AGAIN H I G H G AT E C E M E T E RY,

LONDON บ่ายวันสุดท้ายของทริปช่วงปีใหม่ในลอนดอน เราตัดสินใจไป Highgate Cemetery ตามค�าแนะน�า ของเพือ ่ นชาวอังกฤษเมือ ่ 5 ปีกอ ่ น นาฬิกาบนหน้าจอ โทรศัพท์มือถือบอกเวลา 15 นาฬิกา 12 นาที พร้อม กับเสียงของเพือ ่ นสนิท ‘คาเล่’ เตือนให้เร่งฝีเท้าฝ่า อากาศหนาวไปยังทางเข้าสุสาน เรากึ่งเดินกึ่งวิ่ง มาถึงประตูเหล็กขนาดใหญ่ทห ี่ า่ งจากสถานีรถไฟใต้ดน ิ Archway ประมาณสิบนาที จ่ายแบงก์สิบส�าหรับ ค่าเข้าชมคนละ 4 ปอนด์ ให้กบ ั ลุงคนขายตัว ๋ หน้าตา ใจดี ค นหนึ่ ง เขาบอกว่ า สุ ส านก� า ลั ง จะปิ ด ในอี ก 45 นาทีขา้ งหน้า ถ้ารีบเดินหน่อยก็นา่ จะได้ดท ู ง ั้ หมด “ของ Casio ใช่ไหมเนีย ่ ?” เขาชีน ้ าฬิกาบนข้อมือ คาเล่พลางนับเงินทอนไปด้วย “เหมือนใช่ไหม แต่ไม่ใช่ (หัวเราะ) นีซ่ อ ื้ จาก eBay 2 ปอนด์ เ องครั บ มาจากเมื อ งจี น ” คาเล่ ต อบ อย่ า งภู มิ ใ จที่ น าฬิ ก าสวยจนมี ค นทั ก แถมราคา ยังถูกกว่าตั๋วเข้าสุสานตั้งครึ่งหนึ่ง “จริงอะ ลุงก็ชอบนาฬิกามากๆ เคยอยากได้ Casio เหมือนกัน อยากรู้ไหมลุงใส่อะไร” ว่าแล้ว ลุงแกก็ถกแขนเสือ ้ ข้างซ้ายขึน ้ อย่างใจเย็น อวดนาฬิกา Rolex เรือนสีเงินวาววับ... โอเค เวลาเดินสุสานเราเหลือ 40 นาทีแล้วนะ


a day BULLETIN

30 PA RT E D

WITH CHRIST WHICH S FA R B E TTER

TO ME E T

AGAI N

PA R T E D นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่เรามาสุสานในต่างประเทศ ก่อนหน้านี้เราเคยไป Père Lachaise Cemetery ในปารีส ที่มีหลุมศพของคนดังๆ อย่าง เฟรเดริก ชอแป็ง นักดนตรีชาวโปลิช, ออสการ์ ไวลด์ นักเขียน ชาวไอร์แลนด์ และ จิม มอร์ริสสัน ศิลปินชาวอเมริกัน แล้วยังเคยตามรอยเจสซีกับซีลีนจากหนังเรื่อง Before Sunrise ของผู้ก�ากับ ริชาร์ด ลิงก์เลเตอร์ ไปสุสานไร้ญาติ Friedhof der Namenlosen (Cemetery of the Nameless) ในกรุงเวียนนามาแล้ว แต่คาเล่ยง ั เป็นเวอร์จน ้ิ ด้านสุสานอยู่ การเอ่ยปาก ชวนเขามาเที่ยวสุสานจึงมีความกระอักกระอ่วนพอควร เพราะรีแอ็กชันที่ตอบกลับมาคือสีหน้าเหยเก แม้สุดท้ายจะยอมตกลงไปเป็นเพื่อนด้วย

สุสานแห่งนี้เคยเป็นของบริษัทเอกชนชื่อ London Cemetery Highgate Cemetery อยู่บริเวณลอนดอนตอนเหนือ ได้รับ การขนานนามว่าเป็นหนึ่งในขุมทรัพย์ที่มีค่ามากที่สุดของประเทศ Company ผูอ้ อกตัวว่าท�าธุรกิจนีเ้ พือ่ ค้าก�าไรโดยเฉพาะมาตัง้ แต่แรก อังกฤษ ทุกอย่างเริ่มจากช่วงตอนต้นของศตวรรษที่ 19 ตอนนั้น เดิมทีมีแค่ฝั่งตะวันตกอย่างเดียว จนกระทั่งช่วง 1850s ที่รัฐบาล อัตราการเสียชีวติ ของคนในลอนดอนพุง่ ขึน้ สูงมาก ในขณะเดียวกัน ออกกฎหมายห้ามให้มพี ธิ ฝี งั ศพใจกลางกรุงลอนดอน ธุรกิจนีจ้ งึ เติบโต กลับไม่มีพื้นที่ส�าหรับสุสานที่เพียงพอ เกิดเป็นสุสานตามที่ต่างๆ แบบก้าวกระโดดและได้รบั ความนิยมอย่างมาก จนมีการขยายพืน้ ที่ ที่ไม่ควรมี ไม่ว่าจะเป็นบริเวณที่อยู่อาศัย ใกล้ๆ ร้านค้าหรือผับ สุสานออกไปอีกราวๆ 19 เอเคอร์ เป็นสุสานฝั่งตะวันออกที่เรามา เพียงเพราะแค่มีพื้นที่ว่างเท่านั้น สัปเหร่อรับประกอบพิธีกรรม ในวันนี้ (ส่วนสุสานฝั่งตะวันตกคนทั่วไปสามารถเข้าชมได้ต่อเมื่อ ทางศาสนาโดยแต่งตัวเป็นบาทหลวงโดยไม่ได้รบั อนุญาต ศพหลายศพ จองทัวร์เท่านั้น) ธุรกิจสุสานบูมอยู่พักใหญ่ก็เริ่มถดถอยเมื่อที่ว่าง ถูกฝังท่ามกลางคนแปลกหน้าที่อยู่ถัดกันไม่กี่ฟุต ซ�้ายังมีการใช้ ที่มีเริ่มลดน้อยลง ในขณะที่อัตราค่าบ�ารุงรักษากลับเพิ่มขึ้นทุกวัน ปูนขาวช่วยให้ศพย่อยสลายได้เร็วขึ้น เพราะอีกไม่กี่เดือนข้างหน้า สุสานเอกชนหลายแห่งถูกปล่อยรกร้างไม่มีคนดูแล ท�าให้ภาครัฐ ท้องถิน่ ต้องยืน่ มือเข้าไปช่วย แต่ไม่ใช่ส�าหรับ จะมีศพใหม่มาฝังแทนที่ ลอนดอนในยุคนั้น ที่นี่ เพราะสุสานแห่งนี้ไม่ได้รับเงินสนับสนุน จึ ง เป็ น ฝั น ร้ า ยของทั้ ง คนตายและคนอยู ่ WITH CHRIST จากรัฐบาล แต่อยูไ่ ด้ดว้ ยเงินบริจาคของผูค้ น รัฐบาลจึงต้องหาวิธีการแก้ไขอย่างเร็วเพื่อ W H I C H I S FA R ก�าไรจึงไม่ใช่เป้าหมายของ Highgate Cemetery สาธารณสุขของชุมชน เกิดเป็นสุสานเอกชน B E T T E R อีกต่อไปแล้ว เหมือนทีพ่ วกเขาบอกว่า “We run ขึน้ ทัง้ หมด 7 แห่ง ได้แก่ Kensal Green (1833), for the public benefit, not for proffiifit.” West Norwood (1836), Highgate (1839), อยู่กับพระเจ้าในที่ที่ดีกว่า Abney Park (1840), Brompton (1840), Nunhead (1840) และ Tower Hamlets (1841)

issue 525

A V E RY L O V I N G S O U L M AT E A N D FAT H E R

12 FEB 2018

เนื้อคู่และพ่ออันเป็นที่รัก


31


a day BULLETIN

32

issue 525

12 FEB 2018


33 PA RT E D

TO M E E T

AGA I N

TO MEET เรารับโบรชัวร์สุสานมาจากคุณลุงนาฬิกา Rolex เปิดดูรายชื่อคนดังที่มีหลุมศพอยู่ที่นี่ ส่วนใหญ่ จะเป็นนักคิดนักเขียนชาวอังกฤษ ทัง้ วิลเลียม ฟอยล์ (1885-1921) ผูก ้ อ ่ ตัง้ ร้านหนังสือ Foyles ทีโ่ ด่งดังมาก ในอังกฤษ, แพทริก คอลฟิลด์ (1936-2005) ศิลปินป๊อปอาร์ต หรือ ทอม มาร์เจอริสัน นักวิทยาศาสตร์ ผู้ริเริ่มนิตยสาร New Scientist แต่เราตั้งใจมาดูหลุมศพของ คาร์ล มาร์กซ์ (1818-1883) ผู้เป็นทั้ง นักปรัชญา นักประวัติศาสตร์ นักเศรษฐศาสตร์การเมือง นักสังคมนิยม และนักปฏิวัติชาวเยอรมัน เขาเคยสรุปแนวคิดของตัวเองไว้ในหนังสือชือ ่ แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ (Manifesto of the Communist Party หรือ The Communist Manifesto) ที่ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี 1848 ว่า “ประวัติศาสตร์ ของสังคมทั้งหมดที่ผ่านมา ล้วนแต่เป็นประวัติศาสตร์ของการต่อสู้ระหว่างชนชั้น”

ในฤดูหนาวตกตอนประมาณ 4 โมงกว่า บรรยากาศในสุสานวันนัน้ จึงเป็นแสงสุดท้ายสีส้มอุ่นก่อนจะค่อยๆ ลับตาไป เราเดินไปตาม เส้นทางหลักของสุสาน เมื่อเดินจนครบรอบก็จะกลับมาที่ประตู ทางเข้าอีกครั้ง ระหว่างทางมีหลุมศพหลายรูปแบบ ทั้งแบบทั่วไป แบบโมเดิร์น แบบมินิมอล แบบแมกซิมอล แบบที่อุดมไปด้วย ไม้ดอก แบบทีโ่ หรงเหรงๆ จนมาถึงหลุมศพ คาร์ล มาร์กซ์ ทีใ่ หญ่โต สมค�าเล่าลือ มีรูปปั้นศีรษะของเขาขนาดยักษ์อยู่ด้านบนมองเห็น ได้แต่ไกล บนหลุมศพมีคา� อุทิศเขียนว่า Workers of all lands unite ทั้ ง ภรรยาและหลานชายของเขา ก็ถูกฝังไว้ทนี่ เ่ี ช่นเดียวกัน มีดอกไม้ B E T T E R A S P E C TAC U L A R สองสามช่อวางอยู่บริเวณด้านล่าง FA I L U R E , T H A N ของหลุ ม ศพ ที่ ไ ม่ รู ้ ว ่ า เป็ น ของ ลู ก หลานหรื อ เป็ น ของคนทั่ ว ไป A BENIGN SUCCESS ที่ชื่นชอบแนวคิดอันบ้าบิ่นของเขา

ขณะกวาดไล่สายตาผ่านรายชื่อเจ้าของหลุมศพบนโบรชัวร์ มาเรื่อยๆ คาเล่สะดุดตากับนามสกุลของผู้ชายคนหนึ่ง พิมพ์ด้วย ตัวพิมพ์ใหญ่อา่ นว่า Truelove เรามองหน้ากันเป็นนัยๆ ว่าคนบ้าอะไร จะชือ่ โรแมนติกได้ขนาดนัน้ เป้าหมายวันนีจ้ งึ ไม่ใช่การไปหา คาร์ล มาร์กซ์ อย่างเดียว แต่เป็นการตามหา เอดเวิร์ด ทรูเลิฟ ที่เรารู้จกั จากค�านิยามในโบรชัวร์แค่วา่ ‘คนท�าหนังสือหัวรุนแรง’ ไปพร้อมกัน ด้วย อากาศในลอนดอนตอน ต้นเดือนมกราคมไม่เอือ้ กับการเดินเล่นในสุสานเท่าไหร่ แอพพลิเคชัน อากาศบนไอโฟนบอกอุ ณ หภู มิ 5 องศาเซลเซียส แต่เรากลับรู้สึก หนาวกว่านัน้ และเพราะพระอาทิตย์

การล้มเหลวที่ยิ่งใหญ่ดีกว่า ชัยชนะที่เรียบง่าย

B E TTER SPEC TA C U LAR FA I L URE, THAN A BE NIGN SUCCESS


a day BULLETIN

HIGHG AT E CEMETERY

EAST

34 PA RT E D

TO M E E T

AGA I N

AGAIN หลุมศพแต่ละยุคก็มีคุณค่าทางศิลปะไม่เหมือนกัน แต่สิ่งที่มีค่ากว่าความสวยงามของหลุมศพคือ ค�าอุทศ ิ ทีส ่ ลักไว้บนนัน ้ ถ้อยค�าทีเ่ ลือนหายบ้าง ไม่หายบ้าง คือความรูส ้ ก ึ ทีค ่ นอยูม ่ ต ี อ ่ ผูต ้ าย บางอันซาบซึง ้ จับใจ บางอันก็เรียกรอยยิ้มได้อย่างไม่น่าเชื่อ

issue 525 12 FEB 2018

เราอาจจะไม่ รู ้ จั ก ชื่ อ ใครบนหลุ ม ศพเหล่ า นั้ น เลยสั ก ชื่ อ วันคริสต์มาส มีไฟสวยงามให้เข้ากับช่วงเวลารื่นรมย์แห่งปี นาฬิกาบอกเวลา 15 นาฬิกา 50 นาที เจ้าหน้าทีเ่ ดินสัน่ กระดิง่ แต่ค�าอุทิศที่สลักไว้ท�าให้เรารู้ว่าพวกเขาเป็นที่รักของใครบางคน ตอนที่มีชีวิตอยู่ ตัวอักษรเหล่านี้ท�าให้การมาเดินสุสานไม่หดหู่ วนสองรอบเพื่อให้สัญญาณว่าสุสานก�าลังจะปิด เราและคนอื่นๆ เหมือนทีห่ ลายคนคิด และท�าให้คาเล่ผทู้ ไี่ ม่เคยมาสุสานเลยมาก่อน เร่งฝีเท้าแข่งกับความมืดที่ก�าลังจะมาถึง พอออกจากประตูเหล็ก อมยิ้มอยู่หลายครั้ง แม้ที่แห่งนี้จะเต็มไปด้วยค�าบอกลาและความ- บานเดิม เราเดินย้อนกลับไปทางสถานีรถไฟใต้ดิน แวะเข้าผับ โศกเศร้า แต่ตอ้ งอย่าลืมว่าทัง้ หมดนีส้ ร้างขึน้ มาเพราะความรักทีค่ นอยู่ ท้องถิ่นระหว่างทางเพื่อหลบหนาว สั่งเบียร์หนึ่งไพน์ ค็อกเทล มีต่อคนที่จากไป เราเดินผ่านหลุมศพแปลกๆ หลายหลุมอย่างของ หนึ่งแก้ว และปีกไก่ทอดชุดใหญ่ ถือเป็นออเดิร์ฟเลี้ยงส่งเรา ดักลาส อดัมส์ นักเขียนเจ้าของผลงานเรื่อง Hitchhiker’s Guide to กลับกรุงเทพฯ และส่งคาเล่ไปอเมริกาในอีกไม่กี่วนั ข้างหน้า the Galaxy ทีม่ ถี ว้ ยกระเบือ้ งใส่ปากกาลูกลืน่ หลายด้ามเพือ่ คุณอดัมส์ “ไว้ไปนิวยอร์ก จะลองไปสุสานที่นั่นบ้าง” คาเล่พูดขึ้นมา จะได้เขียนหนังสืออีกเล่มบนฟ้า หรือหลุมศพที่สร้างเป็นรูปหนังสือ จากส�านักพิมพ์ Penguin ของ จิม สแตนฟอร์ด ฮอร์น ตรงสันหนังสือ ขณะยกแก้วเบียร์ขึ้นดื่ม เขียนว่า the fiffiinal chapter บนหน้าปก ดีใจทีเ่ พือ่ นชอบ... ว่าแต่มสิ เตอร์ เขียนว่า partner พร้อมกับรูปนกเพนกวิน S O Y O U N G . S O F A I R . Truelove อยู่ตรงไหนกันแน่วะเนี่ย สองตัว ไปจนถึงหลุมศพสไตล์โมเดิร์น เพิ่งนึกได้ว่าสุดท้ายก็หาไม่เจอ ที่ ไ ม่ มี ค� า อุ ทิ ศ อะไรเลยนอกจากฉลุ S O B R AV E ตัวอักษร D.E.A.D และเนือ่ งจากเทศกาล คริสต์มาสเพิ่งผ่านไปไม่นาน หลุมศพ ยังเยาว์, ยุติธรรม และกล้าหาญ ของหลายคนมีการตกแต่งด้วยเครือ่ งประดับ


35

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

HIGHG AT E CEMETERY EAST *หมายเหตุ : หากใคร สนใจไป Highgate Cemetery West ด้วย สามารถจองทัวร์ลว่ งหน้า ได้บนเว็บไซต์

ที่อยู่ : Swain’s Ln, Highgate, London N66PJ, United Kingdom

เว็บไซต์ : www.highgatecemetery.org

เวลาท�าการ : ทุกวัน 10.00 - 16.00 น. (รอบสุดท้าย 15.30 น.)

สถานีรถไฟใต้ดิน : Archway Station (ไม่ใช่ Highgate Station ชื่อเดียวกันก็จริง แต่เดินไกลกว่ามาก)

ค่าเข้าชม : 4 ปอนด์ (ประมาณ 200 บาท)


a day BULLETIN

BREATHE IN

36

เรื่อง : สีตลา ชาญวิเศษ, พชร สูงเด่น ภาพ : getty images

‘มากกว่าเพื่อน แต่ไม่ใช่แฟน’ : ดีร้ายอย่างไร? กับความสัมพันธ์ที่ไม่ชัดเจน เรามีคนรูจ้ ก ั อยูส ่ องสามคนทีเ่ คยมีความสัมพันธ์แบบ friends with benefits หรือแบบ ‘มากกว่าเพือ ่ น แต่ไม่ใช่แฟน’ ซึง ่ รวมไปถึงการมีความสัมพันธ์ ที่ลึกซึ้งร่วมกัน แต่ว่าแทบทุกคนที่เรารู้จักไม่สามารถรักษาสถานะแบบเบลอๆ นี้ได้ยาวเลย

BREATHE IN : สีตลา ชาญวิเศษ นักเขียน และคนท�างานด้านคอนเทนต์ ที่ผ่านมาท�าวิทยานิพนธ์ปริญญาโทในหัวข้อ ‘การจีบกันบนสื่อออนไลน์’ และเป็นเจ้าของแฟนเพจ ‘ธีสิสมุ้งมิ้ง’ ส่วนเรื่อง ่ งความรักเหมือนเดิม ่ ในเรือ ั เชือ ็ ง ้ ย ึ แม้จะเจ็บมามากแค่ไหน ทุกวันนีก ่ ย่าท�าเยอะมาก แต่ถง ่ งทีอ ความรัก เป็นคนอกหักเก่ง แห้วเก่ง เลยมีประสบการณ์มาบอกเล่าเรือ

เหตุผลเพราะมักจะเกิดปัญหาที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเริ่ม อยากเป็นเจ้าข้าวเจ้าของหรือคบหาจริงจังกับอีกฝ่าย แต่ว่า อีกฝ่ายกลับไม่ต้องการคบแบบนั้น ผลที่ตามมาคือไปต่อกับ สถานะเบลอๆ นี้ไม่ได้ และจบลงด้วยการที่ต่างฝ่ายต่างหยุด และแยกย้ายกันไปเอง อย่างในงานวิจัยชื่อ Friendship After a Friends with Beneffiifits Relationship: Deception, Psychological Functioning, and Social Connectedness (2013) โดย Jesse Owen และคณะ พบว่ามีเพียง 20% ของคนที่มีความสัมพันธ์แบบ friends with beneffiitfi s ทีพ่ ฒ ั นาเป็นแฟนกันได้ตอ่ และพบว่ากว่า 85% ไม่ยอม พูดให้เคลียร์กนั ถึงสถานะของทั้งคู่ ซึ่งสุดท้ายก็ไปต่อไม่ได้ ฉะนั้น มันเลย ค่ อ นข้ า งชั ด เจนว่ า ความสั ม พั น ธ์ ห รื อ สถานะแบบเบลอๆ ทีไ่ ม่ตกลงให้ชดั เจนว่า เป็ น อะไรกั น แน่ นั้ น ไม่ใช่พื้นฐานที่ดีที่น�า ไปสู่ความสัมพันธ์ที่มี ความสุข เข้าท�านอง ที่ ค นชอบพู ด กั น ว่ า ความสัมพันธ์ทแี่ ข็งแรง เกิ ด จากการสื่ อ สาร และการตกลงกั น ให้ ชัดเจน

พูดอีกอย่างคือ สถานะ some เป็นเหมือนจุดพักสั้นๆ ก่อน กระโดดไปเป็นแฟน แต่ถ้าบังเอิญฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายไม่เปิดใจ ให้ใครง่ายๆ หรืออยากใช้เวลาดูใจใครนานๆ หรือกลัวการผูกมัด สถานะ some ก็อาจลากยาวนานกว่าคู่รกั ทัว่ ไป หรือไม่มนั อาจ เป็นสถานะสุดท้ายของคนสองคนก็ได้เช่นกัน อย่างตัวเราก็เคยอยู่ในภาวะแบบนี้เช่นกัน ตอนแรก เราไม่เข้าใจคนรักว่า เมื่อถึงจุดที่ต่างฝ่ายต่างชอบกันแล้ว ท�าไมถึงไม่ยอมเปิดใจมาลองคบกัน ท�าไมถึงพอใจจะให้สถานะ มันเบลอๆ อย่างนี้อยู่อีก แต่ว่าพอคุยกันเรื่องนี้ทีไร กลายเป็น ว่าแย่กว่าเดิม เพราะกลายเป็นการกดดันอีกฝ่ายไปอีก

…… ถ้าถามเรา เราก็ เ คยคิ ด แบบนี้ เหมื อ นกั น นะ ว่ า ค ว า ม สั ม พั น ธ ์ ที่ ดี มันต้องชัดเจนสิ! ยิ่ง ปล่อยให้งงๆ เบลอๆ นานเข้า ไม่น่าจะเป็น ผลดีต่อใครเลย แต่ว่า ไม่ น านมานี้ เ ราเพิ่ ง เข้าใจเรื่องนี้ในมุมที่กว้างขึ้น โดยได้เห็นว่าไม่ใช่ทุกสถานะ เบลอๆ จะแย่ไปเสียหมด เพราะมันยังมีอีกรูปแบบที่ไม่ได้แย่ และอาจเป็นผลดีกับคู่รักบางคู่ด้วย สถานะที่ว่านี้คือสถานะแบบ ‘มากกว่าเพื่อน แต่ไม่ใช่ แฟน แต่กอ็ ยากจะเป็นแฟน’ ที่เราขอเรียกมันสั้นๆ ว่า ‘some’ ยืมมาจากค�าฮิตในหมู่วัยรุ่นเกาหลีซึ่งเกิดจากชื่อเพลงดังเมื่อ 3-4 ปีก่อน นั่นคือเพลง Some ร้องโดย SoYou วง Sista กับ JunggiGo

issue 525 12 FEB 2018

เนือ้ หาของเพลง Some พูดถึงสถานะเบลอๆ ของชายหญิง คู่หนึ่งที่ชอบกัน แต่ก็ยังไม่แน่ใจชัดเจนว่า อีกฝ่ายคิดยังไงแน่ หรือพร้อมจะตกลงเป็นแฟนกันไหม มันเลยกลายเป็นค�าว่า Some หรือท�านองว่า ‘เป็นอะไรสักอย่าง’ ซึ่งถ้าถามว่ามัน อารมณ์ไหน มันก็อารมณ์ช่วงคนใกล้จะเป็นแฟนกันนี่แหละ ถ้าว่ากันตามตรง สถานะ some เป็นเหมือนช่วงรอยต่อ (Transition) หลังจากคนสองคนได้ศึกษาดูใจและสนิทสนมกัน ถึงจุดที่ชอบกันแล้ว แต่ก็ยังไม่สนิทใจหรือมั่นใจมากจนถึงขั้น ตกลงคบกัน แน่นอนว่าช่วงนี้เป็นช่วงที่หลายคนบอกว่ามัน แฮปปี้ที่สุด อาจจะแฮปปี้กว่าตอนเป็นแฟนด้วยซ�้า เพราะมัน ได้ลนุ้ ซึง่ โดยปกติแล้ว คูร่ กั หลายคูจ่ ะไม่คา้ งอยูใ่ นสถานะ some นานนัก อาจจะแค่เดือนหรือสองเดือนก็ตกลงเป็นแฟนกันแล้ว

สิ่งที่ตามมาคือ คนรักเราก็ไม่แฮปปี้ เพราะลึกๆ เขาก็ ไม่พร้อมที่จะพูดเรื่องนี้ แต่ถามว่าเขาอยากให้เราหายไปจาก ชีวติ เขาหรือลดระดับมาเป็นเพือ่ นเลยไหม? ก็ไม่ใช่ เพราะดูแล้ว เขาเองก็ไม่ได้ต้องการแบบนั้น เนื่องจากทุกครั้งที่เราถอดใจว่า พอแล้ว เขาก็เศร้าและไม่มีความสุข ซึ่งคนอาจมองว่าแบบนี้ เข้าข่ายเรียกว่า ‘กั๊ก’ หรือเปล่า? เราคิดว่าสามารถมองแบบนั้นได้เหมือนกันนะ แต่ต้อง ดูกันในรายละเอียดด้วยว่า กั๊กเพราะเห็นแก่ตัว? กั๊กเพราะยัง ไม่เข้าใจความต้องการตัวเองดีพอ? หรือกั๊กเพราะกลัวการถูก ผูกมัดด้วยนิยามค�าว่าแฟน? ถ้าเป็นเราแต่ก่อน เราคงจับทุกอย่างที่เข้าข่ายว่ากั๊ก เข้าไปในกล่อง ‘เพราะเห็นแก่ตวั ’ แต่หลังจากผ่านการใช้ชวี ิต และพูดคุยกับผู้คนมาถึงจุดหนึ่ง เราได้เรียนรู้ว่าคนแต่ละคน ไม่เหมือนกัน ระยะเวลาและการเข้าใจตัวเองของแต่ละคน ก็ไม่เท่ากัน แถมแต่ละคนก็มีเงื่อนไขแตกต่างกันไปอีก ดังนั้น การจะใช้เกณฑ์เพียงเกณฑ์เดียวตัดสินใจว่าการขอคงสถานะ เบลอๆ นั้นเท่ากับความเห็นแก่ตัว มันคงเป็นการด่วนตัดสิน มากไปหน่อย นอกจากนีเ้ รายังเคยคุยกับคนหลายคนทีม่ ปี มกลัวการถูก ผูกมัด หลายคนพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ไม่ชอบการถูกกดดัน หรือการตกลงอะไรที่ชัดเจน เพราะรู้สึกเปราะบางกับการถูก

ผูกมัด โดยเฉพาะนิยามแฟน แต่ถามในแง่ของพฤติกรรมหรือ การกระท�า พวกเขายินดีและมีความสุขทีจ่ ะเอาใจคนรักในแบบ ทีค่ นเป็นแฟนเขาท�ากัน และหลายคนยังบอกอีกด้วยว่า “เอาจริงๆ มันก็เรียกว่า ‘แฟน’ แล้วแหละ! เพียงแต่ไม่ชอบให้เรียกว่า ‘แฟน’ เท่านัน้ เอง” ซึง่ ไม่ได้เกีย่ วกับว่าพวกเขาอยากจะไปคบซ้อน หรือใช้ประโยชน์จากการไม่ถกู เรียกว่าเป็นแฟนกับใคร เพือ่ ไว้ใช้ จีบคนอื่น เปล่าเลย มันเป็นแค่เรื่องความเปราะบางภายในใจ เท่านั้นเอง ส่วนตัวเรา เราคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่ เพราะเดาว่า คงมีครู่ กั หลายคูท่ เี่ ดินทางมาถึงสถานะ some แล้วก็ตอ้ งเซย์กดู๊ บาย กันไป เพราะพบว่าอีกฝ่ายไม่ยอมตกลงทีจ่ ะเรียกว่าแฟน ก็เลย เข้าใจว่าคงพัฒนาต่อไม่ได้ แล้ว ก็เหมือนกับตัวเราที่ เกือบจะถอดใจอยู่หลาย รอบ แต่โชคดีวา่ เราพยายาม เข้าใจคนรักและมีโอกาส ได้คุยกับคนกลัวการถูก ผู ก มั ด เราเลยค่ อ ยๆ เข้ า ใจและยอมรั บ ว่ า คนแต่ละคนไม่เหมือนกัน มี ค วามเปราะบางและ เหตุผลแตกต่างกันไป ฉะนั้ น ถ้ า เรา เสียสละความพอใจตัวเอง ด้วยการไม่ถือสากับเรื่อง นิยามทีช่ ดั เจนได้ เราก็ควร จะท�าเพือ่ ให้ความสัมพันธ์ ไปต่อ เพราะอย่างไรเสีย คนรักเราก็ดีและแคร์เรา มาก และสุ ด ท้ า ยแล้ ว ความสุขของเราคือการที่ เราและเขาต่ า งแฮปปี ้ ที่จะได้เป็นตัวของตัวเอง ทั้งคู่ และนี่คือความรัก ที่เราอยากมอบให้ …… หากใครก็ตามที่ก�าลังเผชิญกับสถานะเบลอๆ คุณอาจ ต้องทบทวนมันให้ดกี อ่ นว่าความสัมพันธ์ของคุณมีเนือ้ ในทีเ่ ป็นไป เพือ่ อะไร? เพือ่ เซ็กซ์แบบ friends with beneffiitfi s หรือเปล่า? หรือ เป็นเพราะจริงๆ แล้วอีกฝ่ายอยากกัก๊ คุณไว้กบั เขา แต่กย็ งั อยากคุย กับคนอื่นอีกหรือเปล่า? หรือเพราะอีกฝ่ายเขาแค่มเี งื่อนไขหรือ ความกลัวการถูกผูกมัด แต่ลกึ ๆ เขาก็รักและอยากดูแลคุณ? สถานะเบลอๆ จึงไม่ควรจะเป็นสิ่งเบลอๆ ต่อตัวคุณเอง มันอาจจะเบลอระหว่างคุณกับเขาได้ แต่ส�าคัญคือคุณต้อง ไม่เบลอเอง เพราะถ้าคุณรูต้ วั ว่าอยูใ่ นสถานะเบลอๆ นีไ้ ปเพือ่ อะไร อย่างเช่น ถ้าคุณชัดเจนว่าคุณอยากเป็น friends with beneffiifits กับคนคนนั้น และคุณก็ชัดเจนกับการเป็นแบบนั้น สถานะนี้ ก็ยังด�าเนินไปได้ต่อ หรือถ้าสถานะเบลอๆ นี้ด�าเนินไปเพราะ คุณแค่ไม่อยากกดดันคนรักคุณ มันก็ไปได้ต่อ และดีไม่ดี เขาอาจเอ่ยปากยอมเป็นแฟนคุยกันได้เมือ่ ถึงวันหนึง่ ทีเ่ ขาพร้อม ฉะนัน้ อย่ารังเกียจทุกสถานะทีม่ นั เบลอๆ เลย มันอาจมี รายละเอียดที่ซ่อนอยู่ ขอเพียงคุณเข้าใจมันและเข้าใจตัวเอง คุณก็จะชัดเจนเองว่าเอาไงกับมันดี


37

คุณภาพชีวิตของคน และสังคมแห่งความเท่าเทียม แอนเดรส เจ้าของบ้านคนใหม่ เปิดบทสนทนาในวันที่พบกันว่า หนึ่ง) เขาเป็นชาวคาตาลัน และสอง) เราเลือกอยู่ถูกที่และจะต้องชอบแถวนี้แน่ๆ เพราะย่าน Poblenou นั้นไม่เหมือนที่ไหนๆ ในบาร์เซโลนา พร้อมกับแนะน�าจุดต่างๆ ให้ออกไปเดินส�ารวจจะได้รู้ว่าค�ากล่าวของเขานั้นไม่เกินจริง

ไม่ตอ้ งรอยืนยันจากแอนเดรสก็พอจะรับรูไ้ ด้ถงึ ข้อเท็จจริงนัน้ ตัง้ แต่เห็นธงคาดสีเหลืองแดง มีดาวขาวบนพื้นฟ้าประจ�าชาติคาตาลุญญา (Catalanya) ปักอยู่หน้าบ้าน และชื่อเสียงของย่าน Poblenou ที่แปลตรงตัวได้ว่า ‘หมู่บ้านใหม่’ ในใจความว่าย่านนี้เคยเป็นพื้นที่อยู่อาศัยของชนชั้น แรงงานในศตวรรษที่ 19 ช่วงยุคอุตสาหกรรมเฟือ่ งฟู, เป็นหมูบ่ า้ นส�าหรับนักกีฬาในงานโอลิมปิกเกมส์ ปี 1992, และก�าลังพัฒนาให้กลายเป็นย่านนวัตกรรมของบาร์เซโลนาในศตวรรษที่ 21 ทั้งนี้ท้ังนั้น การได้ฟังจากผู้อยู่อาศัยโดยตรงก็สะท้อนเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของความเป็น บาร์เซโลนา รวมถึงเป็นหนึ่งในหลายปัจจัยที่ทา� ให้ Barcelona Model ประสบความส�าเร็จ ซึ่งก็คือ การกระจายศูนย์กลางของเมืองไปตามย่านต่างๆ พัฒนาและรักษาเอกลักษณ์ของแต่ละย่านไว้ จนความสัมพันธ์ของคนกับทีอ่ ยู่อาศัยนัน้ กลายเป็นอัตลักษณ์เดียวกัน เกิดความรู้สกึ เป็นเจ้าของ ที่ต้องดูแลย่านของตน มากกว่าเป็นเพียงผู้อยู่อาศัย แอนเดรสยิม้ เมือ่ เราพูดถึง Barcelona Model แล้วถามต่อว่ามีอะไรทีท่ า� ให้เรานึกถึงบาร์เซโลนา อีก สิง่ แรกและค�าแรกทีต่ อบไปก็คอื อันตอนี เกาดี - แน่นอนสิ สถาปนิกชือ่ ดังของเมือง งานสถาปัตยกรรม ส�าคัญๆ ที่กล่าวได้ว่าเป็นสัญลักษณ์บาร์เซโลนาก็ล้วนเป็นการออกแบบของเขาทั้งนั้น แอนเดรส บอกว่า ไม่แปลกใจเลย ใครๆ ก็รจู้ กั เกาดีทงั้ นัน้ แต่มสี ถาปนิกคนหนึง่ ทีอ่ ทุ ศิ ทัง้ ชีวติ ท�างานให้กบั เมือง เมืองนี้ หากตายไปโดยที่ไม่รู้ว่างานของเขาได้รับการยอมรับและมีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตผู้คน ในเมืองนี้มากขนาดไหน และเริ่มเล่าเรื่องราวของ ‘แซร์ดา’ (Ildefons Cerdàa) สถาปนิกผู้ออกแบบ ผังเมืองบาร์เซโลนาอันส่งผลต่อคุณภาพชีวติ ผู้คนจนเป็นอย่างทุกวันนี้ให้ฟัง ชีวติ ของแซร์ดานัน้ ไม่ปรากฏหลักฐานบันทึกแน่ชดั เท่าไหร่นกั นอกจากประวัตถิ นิ่ ฐานและ การท�างานทีส่ ะท้อนในผลงานการออกแบบของเขา ตัง้ แต่การเกิดในพืน้ ทีช่ นบทแห่งแคว้นคาตาลุญญา ย้ายเข้ามาในเมืองเพือ่ ศึกษาต่อทัง้ ในบาร์เซโลนาและมาดริดจนท�าให้เขาเห็นข้อดีของทัง้ ความเป็น ชนบทและความเป็นเมือง เห็นความควบคุมของรัฐจนปรารถนาอิสระในการปกครองตนเอง แซร์ดาเริม่ ชีวติ การงานเป็นวิศวกรโยธา และผันตัวกลายมาเป็นสมาชิกรัฐสภา ซึง่ เป็นช่วงเวลาส�าคัญ ทีไ่ ม่เพียงท�าให้เขาได้คลุกคลีกบั ผูค้ นทีม่ สี ว่ นช่วยผลักดันผังเมืองของเขาให้ถกู น�าไปใช้ในเวลาต่อมา หากรวมถึงได้รบั แนวคิด อุดมการณ์ดา้ นสังคมนิยมต่างๆทีส่ ง่ ผลอย่างมากต่องานออกแบบผังเมือง ของเขา “My plan is boring just like justice.” (แผนของผมนัน้ น่าเบือ่ พอกับความยุตธิ รรมนัน่ แหละ)

แอนเดรสยกค�าของแซร์ดา และอธิบายเสริมความน่าเบือ่ นัน้ ในความหมายว่า ความเสมอภาค ความเท่าเทียม ของผู้คนไม่ว่าจะเป็นชาติ ชนชัน้ ใดๆ จะเป็นสิง่ ทีค่ าดการณ์ได้ เป็นวิถปี ฏิบตั หิ าก แผนของเขาและความยุติธรรมนั้นถูกปฏิบัติใช้ ซึ่งสะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนในรายละเอียด ผังเมืองของเขาที่มีลักษณะเมื่อมองจากมุมสูงคล้ายพิมพ์วาฟเฟิลแปดเหลี่ยม เรียงตัวสัดส่วน เท่ากันขยายไปทั่วทั้งเมือง เส้นทแยงแนวตั้งและแนวนอนที่เชื่อมเมืองทั้งหมดเข้าไว้ด้วยกัน ทัง้ หมดทัง้ มวลนีไ้ ม่ได้เป็นเพียงหลักการทางสถาปัตยกรรม หากมีทมี่ าทีไ่ ปจากอุดมการณ์ของเขา ทีใ่ ฝ่ฝนั ถึงสังคมยูโทเปียทีเ่ ห็นภาพมนุษย์อยูร่ ว่ มกันได้ไม่แบ่งแยกโดยชนชัน้ ใดๆ รวมไปถึงความเชือ่ เรือ่ งความสัมพันธ์ระหว่างเมืองและคุณภาพชีวติ ของคน เหลีย่ มมุมของแต่ละบล็อกทีต่ ดั ทอนพืน้ ที่ ส่วนตัวออกไปเพียง 45 องศา เพือ่ ให้ได้มาซึง่ พืน้ ทีส่ าธารณะ และปริมาณอากาศถ่ายเททีเ่ หมาะสม ต่อการใช้ชวี ติ ทีด่ ที ถี่ กู ค�านวณมาอย่างถีถ่ ว้ นแล้ว, เส้นทแยงทีถ่ กู จัดวางองศาอย่างแม่นย�าให้เหมาะสม กับทิศทางทีแ่ สงจะสาดส่องได้ทวั่ เมือง อีกทัง้ ยังช่วยเชือ่ มเมืองทัง้ หมดเข้าด้วยกัน ท�าให้ผคู้ นไม่วา่ จะอยู่ย่านไหนก็สามารถสัญจรเข้าถึงพื้นที่อื่นๆ ของเมืองได้อย่างเท่าเทียม เราบอกแอนเดรสว่า ดีจงั นะทีไ่ ด้อยูใ่ นเมืองทีใ่ ห้ความส�าคัญกับคุณภาพชีวติ และความเสมอภาค ของผูค้ นแบบนี้ แอนเดรสมองหน้าแล้วเหมือนจะเข้าใจการตัดพ้อบางอย่าง จึงกล่าวต่อในเชิงให้ขอ้ มูล และให้กา� ลังใจว่า ผังเมืองของแซร์ดาเองแม้จะได้รบั การชืน่ ชมมากมายในวันนี้ ก็ไม่ได้รบั การยอมรับ แต่แรก และก็ยงั มีการปรับเปลีย่ นอยูเ่ รือ่ ยๆ จวบจนวันนี้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับการใช้ชวี ติ ของผูค้ น ที่เปลี่ยนไปตามเวลา ทุกๆ การเปลี่ยนแปลงนั้นมีการขัดแย้ง คัดค้านอยู่เสมอ แต่ความเห็นต่าง นั่นแหละเป็นเครื่องมือส�าคัญที่จะท�าให้แผนนั้นเกิดขึ้นและเอื้อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีของคน ในระยะยาว หากเสียงแห่งความต่างนั้นถูกรับฟัง และผู้คนเชื่อมั่นว่าการเปลี่ยนแปลงที่ดีนั้น เกิดขึ้นได้จริง ฉันเคยบ่นที่สเปนใช้เวลายาวนานไปกับการพักกลางวัน แต่เอาเข้าจริงแล้ว เมื่อมีพื้นที่ สาธารณะกว้างๆ อากาศถ่ายเทโล่งโปร่งสบาย คาดการณ์เวลาการเดินทางได้ ก็แล้วท�าไมจะ ไม่ใช้เวลาซึมซับบทสนทนาดีๆ และมิตรภาพใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นจากบทสนทนานั้นให้นานขึ้น สักหน่อยละ

BREATHE IN : พชร สูงเด่น อาชีพ : นักศึกษาทุน Erasmus Mundus ด้านการศึกษาเพื่อการพัฒนา ก�าลังอยู่ในช่วงชีวิตที่ต้องวุ่นๆ สลับไปมา ระหว่างนั่งเขียนรายงานในห้องสมุด อบขนมในห้องครัว เรียนรู้ นอกห้องเรียนด้วยการเดินทางไปยังเมืองต่างๆ ในยุโรป และการนั่งเขียนบันทึกเรื่องราวทั้งหมดส่งมาให้ a day BULLETIN ที่ก�าลังจะน�ามาทยอยลงเป็นตอนๆ ทางออนไลน์ของเรา

ผังเมืองทรงวาฟเฟิล


a day BULLETIN

,

EDITOR S NOTE

38

โอนิกิริ โอนิกิริ...

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

issue 525 12 FEB 2018

เพียงแค่อินโทรของเพลงดังขึ้นมาครึ่งท่อน เหล่า แฟนเพลงนับพันหมืน่ โห่รอ้ งดีใจ ทุกคนตะโกนส่งเสียงเป็น ค�าศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่หมายถึงข้าวปั้น ถือเป็นรหัสสื่อสาร ระหว่างพวกเขากับเด็กสาวหลายสิบคนบนเวที ที่ก�าลัง เคลื่อนไหวร่างกายอย่างทะมัดทะแมงและพร้อมเพรียง ทุกคนทั้งบนเวทีและข้างล่างต่างก็เข้าใจตรงกันในทันทีว่า เพลงโปรดของพวกเขาก�าลังจะบรรเลงแล้วในอีกสามสีน่ าที ต่อจากนี้ ทุกคนจะต้องร�่าร้องว่าอะไร และร่ายร�าด้วย ท่วงท่าอย่างไร... ปรากฏการณ์ธรรมดาๆ ที่ เห็ น กั น คุ ้ น ตาในชี วิ ต ประจ�า วั น เหล่ า นี้ ถ้ า พิ จ ารณาให้ ดี ก็ จ ะ เห็นถึงรูปแบบทีน่ ่าสนใจของการก�าเนิดขึน้ และด�าเนินไปของสังคม ไม่ เ ฉพาะแค่ เ รื่ อ งดนตรี แต่ ยั ง รวมถึ ง วั ฒ นธรรมร่ ว มสมั ย และ ความเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คม ทุกอย่าง ตั้งแต่เมื่อกลางปีที่แล้ว คลิปวิดีโอทีเซอร์สั้นๆ ในโซเชียลมีเดียได้เปิดเผยให้เห็นภาพแวบแรก ของพวกเธอแค่ ส ามสิ บ วิ น าที พร้ อ มค� า โปรยชวนให้ ทุ ก คน มาร่วมกันจับตาดูการก�าเนิดขึ้น ของสิง่ ใหม่ ในขณะทีผ่ มคิดว่านีค่ อื รูปแบบที่เป็นพื้นฐานที่สุด และมี ความดั้งเดิมที่สุดของสังคมเรา เหมือนไม่กี่ปีก่อน พวกวง นั ก ร้ อ งเกาหลี ก็ มั ก จะให้ เ หล่ า สมาชิกมายืนเรียงอยู่หน้ากระจก บานใหญ่ แล้วเคลือ่ นไหวร่างกาย ตามจังหวะเสียงเพลงโดยพร้อมเพรียง ย้อนไปไกลกว่านัน้ เหมือน ตอนสมัยผมยังเป็นวัยรุ่น นักร้อง หนุ่มสาวชาวไทยคนแล้วคนเล่า เรี ย งแถวกั น ออกมาประสบ ความส� า เร็จ ในรู ป แบบเดีย วกัน คือร้องและร�าในท่วงท่าที่พวกเขา ตั้ ง ชื่ อ เรี ย กต่ า งๆ ท่ า หมาเกาหู ท่าเกรงใจ ท่าชักกระดุ๊กกระดิ๊ก ฯลฯ โดยมี แ ดนเซอร์ ก ลุ ่ ม ใหญ่ ค อยเต้ น สนั บ สนุ น อยู ่ ข้างหลัง แล้วหลังจากนั้นไม่นาน ทั้งสังคมก็ร่วมกันร้อง และเต้นตามพวกเขาและเธอไป สั ง คมก่ อ ตั ว ขึ้ น แบบนี้ และมั น เคลื่ อ นไหวไปใน รูปแบบที่คาดการณ์ได้ เริ่มต้นจากหนึ่ง กลายเป็นสอง สาม สี่... แล้วหลังจากนั้นก็กลายเป็นมวลชน มี TED Talks คลิปหนึ่งซึ่งผมชอบมากๆ โดย ดีเรก ซิเวอร์ส ชือ่ ทอล์กว่า How to start a movement เขาอธิบาย ว่าเทรนด์ กระแส หรือความเคลื่อนไหวทางสังคมใดๆ เกิ ด ขึ้ น มาและด� า เนิ น ไปอย่ า งไร โดยท� า การทดลอง ทางสังคมในงานแสดงดนตรีครัง้ หนึง่ แล้วก็ถา่ ยคลิปวิดโี อ เริ่มต้นจากผู้ชมนั่งฟังดนตรีไปเรื่อยๆ โดยไม่มีอะไรเกิดขึ้น เป็นพิเศษ แล้วสักพักหนึ่งก็มีผู้ชมคนแรกลุกขึ้นเต้น ผมนึ ก ถึ ง สถานการณ์ ใ นที่ ป ระชุ ม งานของทุ ก ๆ ออฟฟิศ สมมติวา่ เป็นในกองบรรณาธิการของเราเอง ก�าลัง ลังเลสงสัยว่าจะท�าต้นฉบับเรือ่ งอะไรส�าหรับเล่มหน้า มีใคร สักคนโพล่งขึ้นมาว่าเราท�าสัมภาษณ์นักร้องสาวกลุ่มนี้กัน เถอะ หรือถ้าเป็นองค์กรธุรกิจอื่นๆ เมื่อมีใครเสนอสิ่งใหม่ ทีแ่ ปลก แตกต่าง ไม่คนุ้ เคย ผิดไปจากธรรมเนียมนิยมเดิม

ของกลุ ่ ม ชน ความเงี ย บก็ จ ะเข้ า มาปกคลุ ม ที่ ป ระชุ ม บางคนก้มหน้าหลบตาเพื่อจะไม่ต้องตัดสินใจ บางคน หันซ้ายหันขวาแอบดูแววตาของคนอื่น สถานการณ์แบบนีเ้ กิดขึน้ เสมอเวลาเราไปท่ามกลาง ฝู ง ชน ในงานคอนเสิ ร ์ ต หรื อ ในผั บ เมื่ อ กลุ ่ ม คนก� า ลั ง หยุดนิง่ อยูใ่ นสภาวะหนึง่ แล้วมีใครสักคนเบีย่ งเบนออกไป ในการทดลองของ ดีเรก ซิเวอร์ส ก็เช่นเดียวกัน ผู้คนใน งานแสดงดนตรีนั้นรู้สึกอึดอัดกับใครสักคนที่ลุกขึ้นเต้น เป็นคนแรก บางทีอาจจะถึงขั้นรู้สึกอายแทน

ความเงี ย บปกคลุ ม ที่ ป ระชุ ม นานจนน่ า อึ ด อั ด จนกระทัง่ มีใครสักคนในทีป่ ระชุมพูดขึน้ มาว่า ก็ดนี ะ ถึงแม้ เราไม่เคยท�าแบบนี้มาก่อน แต่ผู้อ่านของเราจะต้องชอบ แน่ๆ กองบรรณาธิการคนอื่นเริ่มเงยหน้าขึ้นมาสบตากัน แล้วพยักหน้าทีละคน จากสองเป็นสาม จากสามเป็นสี่ แล้วหลังจากนัน้ ก็นา� ไปสูค่ วามเคลือ่ นไหว การลงมือปฏิบตั ิ จริง เกิดเป็นความเปลี่ยนแปลงขึ้นมา ดีเรก ซิเวอร์ส บอกว่า ผูน้ า� เป็นเพียงคนบ้าทีโ่ ดดเดีย่ ว แท้ที่จริงแล้วคนที่สร้างความเคลื่อนไหวตัวจริงคือผู้ตาม คนแรก เพราะเขาช่วยเปลี่ยนความโดดเดี่ยวของคนบ้า ให้กลายเป็นกระแส จากสองเป็นสาม จากสามเป็นสี่ หลังจากนั้นมันกลายเป็นกลุ่มคน เป็นฝูงชน กลายเป็น ข่าวใหญ่แพร่สะพัดออกไป ในการทดลอง เมื่อมีคนลุกขึ้นเต้นเป็นคนที่สอง ไม่นานนักคนที่สามและสี่จึงค่อยกล้าลุกขึ้นมา แล้วหลัง จากนั้นมันกลายเป็นเรื่องง่ายมากที่ผู้คนในบริเวณนั้น ทั้งหมดจะลุกขึ้นเต้นตาม ไม่มีความเขินอายอีกต่อไป เพราะมันกลายเป็นว่าถ้าฉันไม่เต้นนี่สิ ฉันจะแปลกกว่า คนอื่น นี่คือรูปแบบของสังคม ไม่ว่าจะเป็นแฟชั่น เทรนด์

กระแส ไวรัล ธุรกิจ การตลาด การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ฯลฯ ทุกสิ่งทุกอย่างในวัฒนธรรมร่วมสมัยของเรา จึงไม่น่าแปลกใจที่วงดนตรีแนวนี้ได้ถูกออกแบบมา ให้มีรูปแบบนี้อย่างจงใจ คือต้องมีสมาชิกหลายๆ คน ทุกคนต้องร้องและเต้นไปพร้อมๆ กัน มีคนหนึ่งน�า มีอีก สิบคนตาม เพือ่ ท�าให้แฟนเพลงข้างล่างเวที และแฟนเพลง ที่รอดู รอตามข่าวสารในระยะห่างออกไป จะได้รู้สึกว่า มันง่ายส�าหรับพวกเขาที่จะท�าตาม การร้องการเต้นกัน พร้อมๆ กัน มีพลังทางจิตวิทยา หนุนส่งให้กระแสขยาย วงกว้างออกไป พร้อมกับดึงดูดผูค้ น ที่ห่างไกลให้วิ่งเข้ามาสู่ศูนย์กลาง จากแฟนเพลงกลุ ่ ม เล็ ก ๆ ขยายออกไปเป็นปรากฏการณ์ทั้ง สังคม และทุกครั้งที่ท่อนอินโทร ของเพลงนี้ดังขึ้น เราก็จะตะโกน ถ้อยค�าที่เป็นรหัสสื่อสารระหว่าง กัน ว่าพวกเราพร้อมแล้วที่จะให้ เขาหรือเธอน�าพาไป สิ่ ง ที่ เ ห็ น กั น อยู ่ นี้ คื อ แบบจ�าลองของทัง้ สังคมทีก่ า� ลังด�าเนิน ไป โดยเฉพาะสังคมตะวันออก ที่เน้นให้ความส�าคัญกับส่วนรวม ความสอดคล้อง กลมกลืน ของ ตัวเองกับคนอื่น ผมนึ ก ย้ อ นกลั บ ไปเมื่ อ กลางปีทแี่ ล้ว ตอนทีพ่ วกเราก�าลัง ปรับโฉมนิตยสารของเรา และน�า นักร้องเด็กสาวกลุม่ นีม้ าสัมภาษณ์ เป็ น หน้ า ปกตั้ ง แต่ ที่ พ วกเธอ เพิ่งเปิดตัวใหม่ๆ ยังไม่มีกระแส ร้อนแรงขนาดนี้ ตอนนั้นพวกเรา ลังเลสงสัย วิตกกังวล ว่าการเคลื่ อ นไหวและเปลี่ ย นแปลง ของเราจะน�าไปสู่อะไร เราทุกคน ได้ผ่านการต่อสู้ขับเคี่ยวภายใน ใจมาอย่างหนักหน่วงจริงๆ กว่า ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งจะด� า เนิ น มาได้ อย่างราบรื่นจนถึงวันนี้ ความส�าเร็จใดๆ ไม่ได้ขึ้น กับผู้น�า แต่มันขึ้นกับพลังใจของผู้ตามมากกว่า ว่าเรามี ความกล้าหาญแค่ไหน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ตามคนแรก ในอึดใจที่ห้องประชุมเงียบงันจนน่าอึดอัด หรือใน งานคอนเสิร์ต ในผับที่เราก�าลังนั่งเขินอาย หลุบตาลงมอง สองมือก�าแน่นวางนิ่งอยู่บนตัก อึดใจนั้นเราก�าลังต่อสู้กับ ความหวาดกลัวภายใน ความวิตกกังวลต่ออนาคต ลังเล สงสัยต่ออดีต หวาดระแวงคนที่นั่งข้างๆ ตื่นตระหนก กับสภาวการณ์รอบด้าน ใครคือคนที่โพล่งขึ้นมาก่อน โอนิกิริ... โอนิกิริ... โดยไม่ต้องลังเลรีรอดูลาดเลาของคนอื่น บทเพลงแห่ง ความเปลี่ยนแปลงจะด�าเนินไปได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับตัวเรา ว่ากล้าแค่ไหนที่จะลุกขึ้นมาเต้นตาม


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.