a day BULLETIN 544

Page 1


02

LIFE

545 544 543

ช้อปปิ้งไอเท็มสุดชิลฉบับคนขี้เกียจ

Politics

SELECTED

Self

Photo Essay จำกกำรไปเยือนอินเดียครัง้ ที่ 2.1 ของช่ำงภำพ

TECHNOLOGICAL DETERMINISM :

สมำชิก B5 ที่ท�ำให้พวกเขำกลับมำรวมตัวกันอีกครั้ง

Media

ควำมรักในกำรร้องเพลงและมิตรภำพที่แน่นแฟ้นของ

TODAY EXPRESS

THEY SAID

25 JUN 2018

อัตตนนท์ บรรณำธิกำรข่ำวออนไลน์ เวิรค ์ พอยท์นวิ ส์

PRESENTS

บทเรียนทัง ้ ส�ำเร็จและล้มเหลวของ ‘เอม’ - นภพัฒน์จก ั ษ์

BEHIND THE COVER

CONTENTS

THE CONVERSATION

ชื่อดัง พีรพัฒน์ วิมลรังครัตน์ หรือ ADD Candid

I S S U E 544

SPACE & TIME ส�ำรวจออฟฟิศบริษัท KFC ที่ทลำยก�ำแพงในที่ท�ำงำน ด้วยกำรสร้ำงบรรยำกำศครีเอทีฟ

FOODIE ชิมรสชำติ Babka ขนมปังสัญชำติยวิ ทีป ่ รับสูตรให้เข้ำกับ คนไทยในสไตล์ Forest Bake

25 JUN 2018

เรำต้องกำรสไตล์ภำพปกที่แตกต่ำงไปจำกเดิม ให้สอดคล้อง กั บ บทสั ม ภำษณ์ นภพั ฒ น์ จั ก ษ์ อั ต ตนนท์ เกี่ ย วกั บ ประเด็ น สือ ่ มวลชน กำรเมือง และเทคโนโลยี เรำจึงชวนทีม The MOMENTUM มำท�ำบทสัมภำษณ์ และชวน @addcandid ให้มำช่วยถ่ำยภำพเชิง สำรคดี เพื่อติดตำมทีม Workpoint News ไปร่วมงำนแถลงข่ำว เปิดตัวพรรคอนำคตใหม่ เรำมีโอกำสได้เข้ำไปอยูใ่ นโลกกำรท�ำงำน ของนักข่ำวหนุ่มสำวรุ่นใหม่ ในขณะที่นภพัฒน์จักษ์และทีมข่ำว ของเขำก�ำลังวิ่งวุ่นกับกำรท�ำงำน พวกเรำก็วิ่งวุ่นในกำรติดตำม กำรท�ำงำนของเขำไปเรือ ่ ยๆ จนกระทัง ่ ได้ภำพเบือ ้ งหลังกำรท�ำงำน ที่น่ำสนใจ

EDITOR’S NOTE บทบรรณำธิกำร ทัศนะต่อชีวิตและสังคมผ่ำนสำยตำ วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ

ที่ปรึกษา สุรพงษ์ เตรียมชำญชัย บรรณาธิการที่ปรึกษา นิภำ เผ่ำศรีเจริญ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หำญเรืองเกียรติ ปริญญำ ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญำ อ่ำวสมบัติกุล พัทธมน วงษ์รัตนะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นักเขียน/ผู้ประสานงาน ตนุภัทร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ คเชนทร์ วงศ์แหลมทอง หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ช่างภาพ ภำสกร ธวัชธำตรี รัชต์ภำคย์ แสงมีสินสกุล บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภำหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญำ อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษำ นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยำ ตั้งพิทยำเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�ำดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหำ ฝ่ายผลิต วิทยำ ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ มิ่งขวัญ รัตนคช ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง กวินนำฏ หัวเขำ ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยำกุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ธนำภรณ์ ศรีจุฬำงกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดำ อังศุวัฒนำกุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, พรอำรีย์ ต้นคชสำร 08-8882-1645 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมำ กำญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว นักศึกษาฝึกงาน เจลดำ ภูพนำนุสรณ์ มณิสร สุดประเสริฐ ธนิศร วงษ์สุนทร ณัฐริกำ มุค�ำ ณัฒฐพงษ์ จันทร์หอม ภัทร คงคำ ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบำงกะปิ เขตห้ ว ยขวำง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อี เ มล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com



a day BULLETIN

04

DATABASE เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

ที่มา : www.entrepreneur.com, www.thebossmagazine.com, www.blog.adioma.com

A MAN LIKE MUSK ถือว่าเป็นอีกหนึง่ บุคคลส�าคัญแห่งศตวรรษที่ 21 ส�าหรับ อีลอน มัสก์ ชายผูม ้ าพร้อมความใฝ่ฝน ั ทีจ ่ ะพามนุษยชาติไปอาศัยอยูบ ่ นดาวอังคาร และอัจฉริยะผูอ ้ ยูเ่ บือ ้ งหลังธุรกิจหลายพันล้านมากมาย เช่น PayPal, Tesla, SpaceX และ The Boring Company โดยวันที่ 28 มิถน ุ ายนนี้ มัสก์จะมีอายุครบ 47 ปีพอดี เราจึงขอชวนคุณมาส�ารวจเรือ ่ งราวชีวต ิ ความล้มเหลว และความทะเยอทะยาน ทีล ่ ว้ นอยูเ่ บือ ้ งหลังความส�าเร็จของ ผูช ้ ายคนนีก ้ น ั

TIMELINE

10

ตอนเด็กๆ อีลอน มัสก์ อ่าน หนังสือวันละ 10 ชั่วโมง เขาอ่าน หนังสือครบทุกเล่มในห้องสมุด โรงเรียน แม้แต่สารานุกรม

1984

1986

ในวัย 12 ปี มัสก์เรียนรู้การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ด้วย ตนเอง และเขียน วิดีโอเกมชื่อ Blaster ขายได้ในราคา 500 ดอลลาร์สหรัฐฯ

อ่านหนังสือชื่อ The Hitchhiker’s Guide to the Galaxy ซึ่งจุดประกายให้เขาอยาก รักษาการคงอยู่ของ มวลมนุษยชาติด้วย การไปตั้งอาณานิคม บนดาวอังคาร

2006

2004

ร่วมมือกับ Martin Eberhard และ JB Straubel ก่อตั้ง Tesla Motors ผลิต รถยนต์พลังงาน ไฟฟ้า

SpaceX ปล่อยจรวด ครั้งแรกและล้มเหลว ไม่เป็นท่า

1995

1999

เปิดเว็บไซต์ชื่อ Zip2 กับน้องชาย ให้บริการ ข้อมูลด้านการท่องเทีย่ ว ด้วยเงินทุน 28,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ และ ขายธุรกิจนี้ในอีก 4 ปี ถัดมา ในราคา 341 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

ก่อตั้งบริษัท X.com ธนาคารออนไลน์ เพื่อ ปูทางไปสู่การก่อตั้ง PayPal ระบบจ่ายเงิน ออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุด ในโลก

2007-2008

ปล่อยจรวดครั้งที่ 2-3 และล้มเหลวอีก ทัง้ ยังสร้างความเสียหาย ให้นาซ่าด้วย ขณะ เดียวกัน Tesla ก็เริ่ม ส่อแววจะล้มละลาย

2001

2002

เริ่มมีความคิดจริงจัง เกี่ยวกับโครงการ อวกาศ จนเดินทาง ไปรัสเซียเพื่อขอซื้อ จรวดขีปนาวุธที่ปลดประจำาการ แต่ซื้อไม่ไหวเพราะ ราคาแพงเกินไป

2008

2009

• SEP การทดลองปล่อย จรวดครั้งที่ 4 ประสบความสำาเร็จ แต่ SpaceX แทบไม่เหลือเงินเลย

ระดุมทุนช่วยเหลือ Tesla และ SpaceX จนรอดจากการล้มละลายมาได้ อย่างหวุดหวิด

• JUN เปิดบริษัท SpaceX เพื่อสร้างจรวด เป็นของตัวเอง

• OCT ขาย Paypal ให้ eBay และได้ เงินส่วนแบ่ง 180 ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ

2015

• SEP ส่งมอบรถ Tesla Model X ให้ลูกค้า คนแรก

• DEC SpaceX ทำาให้ จรวดนำากลับมา ใช้ใหม่ 100% ได้ครั้งแรกในโลก 11,758.75

7,000.13

4,046.03 3,198.36 2,013.5

2017

เปิดบริษัท The Boring Company เพื่อขุดอุโมงค์ สำาหรับ Hyperloop รถไฟใต้ดินความเร็วสูง แห่งอนาคต

2018

ทั้ง SpaceX และ Tesla กำาลังไปได้สวย อีลอน มัสก์ กลายเป็นนักธุรกิจที่มี ค่าตัวถึง 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

14.74

111.94

116.74

204.24

413.26

2008

2009

2010

2011

2012

2013

2014

2015

2016

รายได้ต่อปีของบริษัทเทสล่า ตั้งแต่ปี 2008-2017 (ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ)

2017

< 50% มัสก์คาดการณ์ ว่าภายในปี 2027 ยานยนต์ ที่ถูกผลิตใหม่ เกินครึ่งจะเป็น รถพลังงาน ไฟฟ้า และในปี 2037 รถยนต์จะ ไม่ต้องมีพวงมาลัยอีกต่อไป

2025 & 2060 มัสก์เชื่อว่าในปี 2025 มนุษย์ จะเริม ่ ย้ายไปใช้ชว ี ต ิ บนดาวอังคาร ได้จริงๆ และในปี 2060 จะมีมนุษย์ กว่า 1 ล้านคน ย้ายไปอาศัย บนดาวอังคารได้ถาวร

issue 539 21 MAR 2018



ãĊĔîĢéëěĄëü

¤Í·¤¯­Ć£ѭÊÙ¸½ .3./ ¯½Æı½É¬Ê ·¾Ì Öĸº .3./ ÔÂ¼ÌºÕ ¼ĉ¦ÔĹ¼Á¬ ÌĶ¬Ê²¼Ê Å»ĉʦ»Éܦ»Ï²

8+?ý= ? J ?0 H2ýýò 8#?% @ ., =.)< $=ýC,ý$ .;".2 ,6= L"-

H.=H.@- 2î= ýC,ý$"î8 H"@P-2 ²·²³ $2< 2?!@ ,= = $2< "@P6,=-!A $2< .., I0; 2?!@ O B82?!@ýC,ý$ H.=)-=-=,K$0< 4 ;"@P2î= "U=8-î= L.K6ïý=2%ï=$0C AQ$,= 5D ï %< H.= H ?,H.='0< <$K6ïý=2%ï=$L& =-5?$ ï=$8 ýC,ý$ I î ;$@Q!ï=ýC,ý$0C AQ$,=5Dï.î2, <%H.= )< $=5?$ ï= I0; =-5?$ ï=8-Dî"@PýC,ý$ J -"C $,@5î2$.î2,L ï6, î8L& ý=2%ï=$ OL,î ï8 88 ,= = ýC,ý$ H.=)AP $J-%=- 8 .< %=0 ï=$ =."î8 H"@P-2 $U=$< "î8 H"@P-20 L&5DîýC,ý$ L& BQ85?$ ï= = ý=2%ï=$J - . !ï="U=I%%$@QL ï ý=2%ï=$ O,@.=-L ï ýC,ý$ O8-DîL ï H ï,I O I0;-<P -B$L ï

ġĔĨþĦĉĨ IJĉĈĨęõİěþþřy ġČĨĎĈĩõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč õėĤċėěûĕğĦĈĴċĖ İėĨĕĸ ĉŖč ġČĨĎĦĖİėīġĸ ûėĦěöġûIJøėûõĦė þĬĕþčċŕġûİċĩĖĸ ě ','( čěĥĉěĨĊyĩ ċĩõĸ ĦĽ ęĥûĊĭõüĥĎĉĦĕġû ġĖŕĦûijõęŖþĨĈüĦõċĬõđŐĦĖ İĒėĦĤčġõüĦõûĎďėĤĕĦćİõīġĎğčĪĸûğĕīĸčęŖĦčĎĦċ ċĩõĸ ėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþčĴĈŖėĎĥ İĒīġĸ ĈĽĦİčĨčIJøėûõĦėčĩıĹ ęŖě čĩİĸ ďŝčġĩõøėĥûĹ ċĩĈĸ İĭ ğĕīġčěŕĦ õĦėöĥĎİøęīġĸ čIJøėûõĦėĐŕĦččIJĖĎĦĖüĦõĔĦøėĥĄ ĕĬûŕ İčŖčĐęďėĤIJĖþčřöġûďėĤþĦþč ĞŕěčijğāŕÿĪĸûİďŝčĄĦčėĦõöġûďėĤİċĜġĖŕĦûİďŝčėĭďČėėĕþĥĈİüč İĕīġĸ öġijğŖ ġČĨĎĈĩġġŗ Ĉy ĞĨûğřĈĽĦėĬčŕ 53 ığŕûėĥěĹ üĦĕüĬė ĩ ċĩİĸ ĒĨûĸ ĴĈŖėĎĥ ėĦûěĥę čĨĞĉĨ İõŕĦ ėĥĄĜĦĞĉėř üĬĠĦģ ĈĩİĈŕč ďėĤüĽĦďō 4783 ĞĦöĦöŖĦėĦþõĦėďėĤüĽĦy ęûėĦĖęĤİġĩĖĈ öġûIJøėûõĦė þĬĕþčċŕġûİċĩĖĸ ě ','( čěĥĉěĨĊyĩ ijğŖēûś õķĴĈŖėĎĥ øĽĦĉġĎıĎĎİøęĩĖėřøċĥ þĥĈİüčěŕĦ čIJĖĎĦĖöġûėĥĄĎĦęċĩĸĞĽĦøĥāıęĤİďŝčİėīĸġûijğāŕĕĦõõķøīġõĦėęĈøěĦĕİğęīĸġĕęĽĹĦ ĞėŖĦûIJġõĦĞİöŖĦĊĪûĎėĨõĦėöġûėĥĄ ıęĤõĦėİĒĨĕĸ ĜĥõĖĔĦĒċĦûİĜėĝĄõĨüöġûďėĤİċĜ ijčĞŕěčöġûõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč ÿĪĸûċĽĦİėīĸġû ','( čĥĹč ċĩĸĐŕĦčĕĦİďėĩĖĎİğĕīġč İğėĩĖāċĩĸĕĩĈŖĦčğĥěõĥĎĈŖĦčõŖġĖ ıĉŕ 38 ďōċĩĸĐŕĦčĕĦİėĦċĽĦİýĒĦĤĈŖĦčğĥě İĒėĦĤ ýĤčĥčĹ ďśāğĦċĩİĸ ėĦİüġõķøġī þĦěĎŖĦčöĦĖıöŕûĞĭİŖ ġõþčĴĕŕĴĈŖ İĒėĦĤþĦěĎŖĦčĴĕŕėİŖĭ ėīġĸ û õĦėĉęĦĈ õĦėĎėĨğĦėüĥĈõĦė İėīĸġûĉŖčċĬč İėīĸġûĞĉŗġõĞĨčøŖĦ čġõüĦõčĩĹİėīĸġûþŕġûċĦûõĦėĉęĦĈ ĉŖġûėġûĦčġĩİěŖčċř ďōğčĪĸûöĦĖġĖĭŕėĦěĞĦĕİĈīġč ıęŖěõķĒõĥ ĊŖĦİďŝčıĎĎčĩõĹ ġķ ĖĭĴŕ ĕŕĴĈŖ İĒėĦĤýĤčĥčĹ öćĤčĩİĹ ėĦõĽĦęĥûĕĦĕġûġĩõĈŖĦčğčĪûĸ ċĩĸİďŝčĈŖĦčõŖġĖ İėĦĕġûİğķčġčĦøĉěŕĦĞĦĕĦėĊčĽĦİėīĸġûõĦėċŕġûİċĩĸĖěĕĦþŕěĖ þĦěĎŖĦčĴĈŖ ğĦõİėĦĞĦĕĦėĊčĽĦčĥõċŕġûİċĩĖĸ ěċĩďĸ üś üĬĎčĥ ĕĩĉĦŕ ûþĦĉĨċİĩĸ öŖĦĕĦċŕġûİċĩĖĸ ě ijčďėĤİċĜĴċĖďōğčĪĸûĊĪû 57 ęŖĦčøč ıęĤĴċĖİċĩĸĖěĴċĖİġûõķĕĩİõĨč 8< ęŖĦčøč ğėīġøėĥĹûĉŕġďō čĩĸøīġõĽĦęĥûÿīĹġĕğĦĜĦęy ıĕŖěŕĦüĤİĒĨĸûĐŕĦčĒŖč ','( % Ñ Ųū 4<3: ĴďİĕīĸġõęĦûİĈīġčĕĨĊĬčĦĖč 4783 IJĈĖõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþčİďŝčıĕŕûĦčijğāŕijčõĦėüĥĈûĦč ıęĤĞėŖĦûďėĤěĥĉĨĜĦĞĉėř ğčŖĦijğĕŕĈěŖ ĖĖġĈöĦĖĞĭûĞĬĈċĤęĬ 3]488 ęŖĦčĎĦċ ĞĭûõěŕĦĞĊĨĉİĨ ĈĨĕ ','( % Ñ Ųū 4<36

YYY HCEGDQQM EQO RTEFF âĆĄâĕĆāĔõüĕëěĄëü ăĜĄėĢéúĘĘħĄĘčŇĊüčüĔýčüěüĢĎňğċĆČòâėéòĕüĆĕâĄĔħüåè ĠĈēëěĄëüāęħèøüğĐèģ÷ň


ÿĪûĸ ĕĩĖġĈėěĕėĦě ;49 ęŖĦčĎĦċ ıęĤûĦčijğāŕďęĦĖďō ','( 4<39 ċĩĐĸ Ħŕ čĕĦ ÿĪĸûĕĩĖġĈöĦĖėĦě 3]439 ęŖĦčĎĦċ ıĉŕġČĨĎĈĩõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč õķġČĨĎĦĖěŕĦ čĥĸčøīġõĦėċĽĦûĦčĈŖĦčğĥě øīġijğŖIJġõĦĞõĥĎĞĨčøŖĦ ','( ċĩĸøĥĈĞėėıęŖěďėĤĕĦć ğčĪĸûğĕīĸčėĦĖõĦė üĦõõěŕĦ : ğĕīĸčėĦĖõĦėċĩĸöĪĹčċĤİĎĩĖč ','( IJĈĖûĦčġĩİěŖčċř İğęŕĦčĩĹõķĖĥûüĤĉŖġûċĽĦġĖĭŕĉŕġĴď ıęĤüĤöĖĦĖijğŖĕĦõöĪĹčĴďĈŖěĖ öćĤİĈĩĖěõĥčõĦėċĽĦûĦčĈŖĦčõŖġĖ ĕĬŕûİďőĦğĕĦĖĴďċĩĸĞĨčøŖĦġĩõõěŕĦ 8 ğĕīĸčėĦĖõĦė ċĩĸüĤĉŖġûĴĈŖėĥĎõĦėĒĥĆčĦıęĤĞėŖĦûõĽĦęĥûÿīĹġİĒīĸġijğŖĉġĎIJüċĖřõĦėĞėŖĦûėĦĖĴĈŖıõŕ ĐĭŖĐęĨĉĞĨčøŖĦ ','( õęĬŕĕčĩĹijğŖĴĈŖ IJĈĖijþŖõęĴõöġûõĦėĈĽĦİčĨčIJøėûõĦė þĬĕþč ċŕġûİċĩĸĖě ','( čěĥĉěĨĊĩy čĥĸčİġû ċĬõěĥččĩĹİėīĸġûėĦěöġûõĦėċŕġûİċĩĸĖěĕĩõĦėĒĭĈĊĪû İĕīġûğęĥõy õĥĎ İĕīġûėġûy ıĉŕ þĬĕþčċŕġûİċĩĸĖě ','( čěĥĉěĨĊĩy øīġ ıġŕûċŕġûİċĩĸĖěİęķõĶ 5]495 ığŕûċĩĸõėĤüĦĖ ġĖĭŕėġĎĶ İĕīġûğęĥõy õĥĎ İĕīġûėġûy ċĥĸěďėĤİċĜ ĈĥûčĥĹčİĕīĸġčĥõċŕġûİċĩĸĖě İĈĨčċĦûĴďĖĥûüĥûğěĥĈĉŕĦûĶ üĤĕĩöŖġĕĭęěŕĦĴďĴğčĉŕġ õĨčġĦğĦėċĩĸĴğčĴĈŖ ĕĩığęŕû ċŕġûİċĩĖĸ ěġĤĴėċĩĞĸ ěĖûĦĕĎŖĦû üĤĕĩõĦėİþīġĸ ĕIJĖûöŖġĕĭęİöŖĦĈŖěĖõĥčċĥûĹ ğĕĈ IJĈĖõĦė ĎĭėćĦõĦėĈŖĦčõĦėċŕġûİċĩĸĖěėŕěĕõĥč İþīĸġĕIJĖûõĥĎıĒęċēġėřĕijğāŕöġûõėĤċėěû õĦėċŕġûİċĩĖĸ ěıęĤõĩĠĦĈŖěĖ ĈĥûčĥčĹ ıċčċĩčĸ õĥ ċŕġûİċĩĖĸ ěüĤõėĤüĬõġĖĭİŕ ĒĩĖû İĕīġûğęĥõy õĥĎ İĕīġûėġûy õķüĤõėĤüĦĖĴďĞĭ ŕ ıġŕûİęķõ İþķøġĨčy ċĩğĸ ĕĦĖĊĪû þĬĕþčċŕġûİċĩĖĸ ě ','( čěĥĉěĨĊĩy ĞĦĕĒĥčõěŕĦığŕûĈŖěĖ İĕīĸġčĥĹčėĦĖĴĈŖüĦõčĥõċŕġûİċĩĸĖěċĩĸüĥĎüŕĦĖ ijþŖĞġĖõķüĤğĕĬčİěĩĖčıęĤõėĤüĦĖĞĭŕþĬĕþčğĕĭŕĎŖĦčċĥĸěďėĤİċĜ ğĦõĊĦĕěŕĦþĦěĎŖĦčijčþĬĕþčüĤĴĈŖġĤĴėĎŖĦû İėĦijğŖûĎďėĤĕĦćöġûIJøėûõĦė þĬĕþčċŕġûİċĩĖĸ ě ','( čěĥĉěĨĊyĩ IJĈĖijğŖıĉŕęĤþĬĕþčċĩõĸ ėĤüĦĖġĖĭċŕ ûĥĹ 98 üĥûğěĥĈ ċĽĦ 6 İėīĸġû İėīĸġûıėõøīġĞėŖĦûþĬĕþčİöŖĕıöķû þĬĕþčĉŖġûęĬõöĪĹčĕĦĞĭŖõĥĎİėĦ İďŝč İüŖĦĎŖĦčċĩĈĸ ĩ ċĽĦijğŖčõĥ ċŕġûİċĩĖĸ ěďėĤċĥĎijüijčõĦėĴĈŖĴďİĖīġč İėīġĸ ûċĩĞĸ ġûøīġĒĖĦĖĦĕ ĈĪûİĞčŕğöř ġûþĬĕþčġġõĕĦijğŖĕĦõċĩĞĸ ĈĬ ċĥûĹ ıĕŕčĦĽĹ ĔĭİöĦ ċĤİę ďŐĦĴĕŖ ğĕĭĎŕ ĦŖ čĞĤġĦĈ ěĥĆčČėėĕďėĤİĒćĩěĨĊĩþĬĕþč İğęŕĦčĩĹİďŝčİĞčŕğřċĥĹûğĕĈ ğĦõİõĨĈøěĦĕďėĤċĥĎijü čĥõċŕġûİċĩĸĖěõķüĤõęĥĎĕĦġĩõ ĞŕěčİėīĸġûċĩĸĞĦĕċĩĸĞĽĦøĥāĕĦõøīġ õĦėĒĥĆčĦĞĨčøŖĦ ','( IJĈĖĒĥĆčĦøěĎøĭŕĴďõĥĎøěĦĕĉŖġûõĦėöġûčĥõċŕġûİċĩĸĖě ġĦüüĤċĽĦİďŝčöġû þĨĹčİęķõĶ ċĩĸĒõĴďĴĈŖİďŝčĞĥāęĥõĝćřöġûþĬĕþč ijþŖċĥõĝĤċĩĸĕĩİýĒĦĤijčğĕĭŕĎŖĦčİėĦ ĞĨĸûİğęŕĦčĩĹİďŝčĞĨčøŖĦõĦėċŕġûİċĩĸĖěĴĈŖċĥĹûğĕĈ İĕīĸġöĦĖöġûĴĈŖĞĨĸûċĩĸĉĦĕĕĦõķøīġ

ėĦĖĴĈŖċĩĸİõĨĈöĪĹčijčþĬĕþččĥĸčİġû IJĈĖIJøėûõĦėĕĩĉĥěþĩĹěĥĈěŕĦıĉŕęĤþĬĕþčüĤĉŖġûĕĩ 3< ĐęĨĉĔĥćąř ĈĥûčĥĹčõķüĤþŕěĖĒĥĆčĦĞĨčøŖĦ ','( ĴĈŖõěŕĦ 5 ğĕīĸčėĦĖõĦė ıęĤ õķİėīġĸ ûĞĬĈċŖĦĖ õĦėİþīġĸ ĕIJĖûİĞŖčċĦûċŕġûİċĩĖĸ ě õķøġī õĦėİþīġĸ ĕIJĖûıĒęċēġėřĕöġû ıġŕûİęķõ İþķøġĨčy õĥĎ İĕīġûğęĥõy ıęĤ İĕīġûėġûy ĉĦĕċĩĸĎġõy IJøėûõĦė þĬĕþčċŕġûİċĩĖĸ ě ','( čěĥĉěĨĊyĩ İėĨĕĸ øĨõġġēõĥčĴďıęŖěİĕīġĸ ĉŖčİĈīġč ĕĨĊčĬ ĦĖčċĩĐĸ Ħŕ čĕĦ ıęĤčŕĦüĤİğķčĔĦĒĐęĞĥĕĘċČĨþļ Ĉĥ İüčėĦěõĥčĖĦĖč 4783 ûĦččĩĹ İğķčċĩěŕĦİġĦijüþŕěĖġĖŕĦûİĈĩĖěøûĴĕŕĴĈŖıęŖě İĒėĦĤİėīĸġûčĩĹďėĤþĦþčċĥĸěċĥĹûďėĤİċĜ ĞĦĕĦėĊĕĩĞŕěčėŕěĕĴĈŖ ċĥĹûijčĄĦčĤİüŖĦĎŖĦčċĩĸĈĩ ċĥĹûijčĄĦčĤčĥõċŕġûİċĩĸĖě ıęĤĖĥû İďŝčĐĭÿŖ ġīĹ ĞĨčøŖĦ ','( öġûþĬĕþčĴĈŖĈěŖ Ė ĈĭıęŖěİďőĦğĕĦĖöġûėĥĄĎĦęċĩüĸ ĤęĈøěĦĕ İğęīĸġĕęĽĹĦ ĞėŖĦûIJġõĦĞ ĞėŖĦûġĦþĩĒ ĞėŖĦûėĦĖĴĈŖ ijčęĥõĝćĤ ďėĤþĦėĥĄy IJĈĖ þĬĕþčİďŝčĉĥěĉĥûĹ İġõþčėŕěĕöĥĎİøęīġĸ č ıęĤėĥĄĞčĥĎĞčĬč õķĈüĭ ĤİďŝčėĭďČėėĕĕĦõöĪčĹ čġõüĦõčĩİĹ ďőĦğĕĦĖĞĽĦøĥāċĩĞĸ ĈĬ öġûõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþčċĩ ĸ ġČĨĎĈĩ Ēþ^y İčŖčĖĽĦĹ ġĖĭŕİĞĕġěŕĦ İĜėĝĄõĨüĄĦčėĦõĕĥĸčøûıęĤþĬĕþčĒĪĸûĉčİġûĴĈŖĔĦĖijčďō 4786y õķİğķčğčċĦûċĩĸøŕġčöŖĦûĞĈijĞėġġĖĭŕĉėûğčŖĦıęŖě İğęīġıĉŕċĬõĔĦøĞŕěčėŕěĕĕīġ ėŕěĕijüċĽĦġĖŕĦûüėĨûüĥû İĒėĦĤċŖĦĖċĩĞĸ ĈĬ ıęŖě İďőĦğĕĦĖċĥûĹ ğĕĈċĩěĸ Ħŕ õķİĒīġĸ ĖõėĤĈĥĎĞĭŕ øěĦĕĕĥĸûĕĩ ĜėĩĞĬöy ijğŖıõŕĒĩĸčŖġûďėĤþĦþčėĤĈĥĎĄĦčėĦõċĥĹûĞĨĹč^^^


08 ENTERTAINMENT

www.japantimes.co.jp

IN CASE YOU

MISSED IT

ข่าวรอบโลกปลายสัปดาห์ที่คุณอาจพลาดไป!

a day BULLETIN

AGENDA

มู ร าคามิ เ ตรี ย มเปลี่ ย น บทบาทใหม่ สู่ ก ารเป็ น ผูจ้ ด ั รายการวิทยุ ใครที่เป็นแฟนหนังสือของลุงมู หรือ ฮารูกิ มูราคามิ โดยเฉพาะคนทีอ่ ยูญ ่ ปี่ นุ่ น่ า จะดี ใ จไม่ น ้ อ ย เมื่ อ รายการวิท ยุ Tokyo FM ประกาศว่านักเขียนนวนิยาย ชื่ อ ดั ง เจ้ า ของผลงานลื อ ลั่ น อย่ า ง Norwegian Wood และอีกหลายเล่ม เตรียมกระโดดเข้าสูบ่ ทบาทใหม่ในการเป็นผูจ้ ดั รายการวิทยุฉายเดีย่ ว โดยเขา จะมาบอกเล่าถึงเรือ่ งราวแรงบันดาลใจ มากมายในชีวติ ซึง่ เชือ่ มโยงกับงานเขียน ทีส่ ร้างชือ่ ต่างๆ ของเขา ทัง้ การวิง่ ดนตรี และวรรณกรรม นอกจากเรือ่ งเล่าต่างๆ แล้ว เขายังตั้งใจที่จะเปิดเพลงจาก คอลเล็กชันส่วนตัวด้วย โดยรายการวิทยุ ของมูราคามิมกี า� หนดการกระจายเสียง วันที่ 5 สิงหาคมนี้ ผ่าน 38 ช่องสถานี ทั่วประเทศญี่ปุ่น

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

www.gofundme.com, www.sunnyskyz.com

www.incrediblenat.com

www.bbc.com

K

issue 544 25 JUN 2018

PUBLIC HEALTH

LIFESTYLE

ANIMAL

นักวิจัยเผย ผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ระยะแรกส่วนใหญ่ไม่จา� เป็นต้อง รับเคมีบา� บัด

คุณยายชาวเช็กเปลี่ยนหมู่บ้าน เล็ ก ๆ ให้ ก ลายเป็ น แกลเลอรี ศิลปะ

พิตบูลใจกล้า! กระโจนเข้าไปช่วย เด็กน้อยในกองเพลิง

ผลการศึกษาดังกล่าวตีพมิ พ์ในวารสาร New England Journal of Medicine โดยจากการติดตามศึกษาผูป้ ว่ ย มะเร็งเต้านมชาวอเมริกนั กลุม่ ใหญ่ทสี่ ดุ เท่าทีเ่ คยมีมา เป็นระยะเวลา 9 ปี พบว่าผู้ป่วยในระยะเริ่มแรก บางกลุ่มที่ไม่ได้รับเคมีบ�าบัด มีอัตราการรอดชีวิต ในระยะยาวไม่ ต ่ า งจากกลุ ่ ม ที่ ไ ด้ รั บ เคมี บ�า บั ด เพือ่ ป้องกันการเกิดมะเร็งซ�า้ ซึง่ เป็นข่าวดีสา� หรับผูป้ ว่ ย มะเร็งเต้านมบางกลุ่มที่ไม่ต้องการรับเคมีบ�าบัด ที่หลายคนทราบว่าอาจส่งผลข้างเคียงในทางลบ ต่อสุขภาพร่างกายของผู้ป่วยมะเร็งเป็นอย่างมาก ปัจจุบันโรงพยาบาลบางแห่งในสหรัฐอเมริกาและ สหราชอาณาจั ก รได้ น� า เกณฑ์ ก ารวิ นิ จ ฉั ย โรค แบบใหม่น้มี าใช้กับคนไข้มะเร็งเต้านมของตนแล้ว

หลังปลดเกษียณจากอาชีพเกษตรกร Anežka Kašprá ková คุณยายชาวเช็กวัย 90 ปี ก็คอ่ ยๆ หันมาเอาจริงเอาจัง กับการวาดภาพเป็นงานอดิเรก โดยเธอไม่เพียงแค่ วาดภาพบนผืนผ้าใบเท่านั้น แต่ยังแต้มพู่กันด้วย สีน�้าเงินสดใส แล้วบรรจงวาดภาพดอกไม้ ใบไม้ และลวดลายประณีตบรรจงในสไตล์โมวาเรีย (ศิลปะ ดั้งเดิมของเช็ก) ลงบนผนังบ้านและอาคารสีขาว ของ Louka เมืองบ้านเกิดเล็กๆ ของเธอ จนท�าให้ บรรยากาศของหมู่บ้านที่เคยเงียบเหงากลับสดชื่น และอบอวลไปด้วยจินตนาการ โดยคุณยายยืนยันว่า เธอไม่ได้หวังอะไรตอบแทน เพียงแค่อยากวาดภาพ ไปเรือ่ ยๆ เพราะมันสนุกก็เท่านัน้

เหตุการณ์นเี้ กิดขึน้ ในเมืองสต็อกตัน รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เมือ่ Nana Chaichanhda ต้องสะดุง้ ตืน่ ขึน้ มากลางดึกเพราะเสียงเห่าของเจ้าซาชา สุนขั พันธุ์ พิตบูลของเธอ ทีแ่ สดงท่าทีกระวนกระวายวิง่ ไปมา หลังจากตัง้ สติได้ไม่นานเธอก็พบว่าบ้านข้างๆ เกิดเพลิง ไหม้ และไฟก�าลังลุกลามมายังบ้านของเธอซึ่งเป็น ตึกแถวทีอ่ ยูต่ ดิ กัน จากนัน้ เธอก็เห็นว่าเจ้าซาชาพยายาม เอาตัวกระแทกประตูเพือ่ ออกไปข้างนอก เมือ่ ประตู ถูกเปิดออกมันก็รีบวิ่งไปที่ห้องนอนของลูกสาววัย 7 เดือนของเธอ และใช้ปากคาบผ้าอ้อมเพือ่ ลากตัวเด็ก ลงมาจากเตียงไปอยูใ่ นมุมทีป่ ลอดภัย “ฉันและลูกสาว เป็ น หนี้ ชี วิ ต เจ้ า ซาชา” เธอกล่ า วขอบคุ ณ มั น หลังจากทีพ่ นักงานดับเพลิงเข้ามาควบคุมสถานการณ์ ได้แล้ว



a day BULLETIN

THE CONVERSATION ภาพ : อรพิณ ยิ่งยงพัฒนา ภาพ : พีรพัฒน์ วิมลรังครัตน์ (@addcandid)

10

TECHNOLOGICAL Media Politics Self

issue 544 25 JUN 2018


11

DETERMINISM

ช่วงสองสามปีมานี้ เราเข้าสู่ยุค ที่ สื่ อ ต่ า งๆ มองเห็ น โลกออนไลน์ เ ป็ น สนามแห่งใหม่ทท ี่ ก ุ เจ้าจะต้องเร่งเข้าไป จับจองพืน ้ ที่ แต่มน ั ก็เป็นยุคเดียวกันกับ ที่โนติฟิเคชันในโซเชียลมีเดียบนฝ่ามือ เรากลั บ ยั่ ว ยวนใจกว่ า เบรกกิ้ ง นิ ว ส์ ที่เคยคุ้นกันในสื่อเดิม เมื่อเนื้อหาข่าวที่เคยสลักส�าคัญ เสียเหลือเกิน ทัง้ ข่าวเศรษฐกิจ การเมือง อาชญากรรม ต่างประเทศ ฯลฯ ได้ละลาย ไหลรวมไปกับเรื่องชวนคลิกทั้งหลาย ไม่ ว่ า จะเป็ น โปรโมชั น บิ น โลว์ ค อสต์ ต่ า งประเทศ แฟชั่ น ลดราคาเซตใหม่ แถมยังมีคลิปแมวขี้วีนให้ต้องดูจนจบ ภายใต้การก�าหนดของเทคโนโลยี โลกเปลี่ยน การรับรู้เปลี่ยน และส่งผล มาท�าให้ตัวเราทุกคนเปลี่ยน ทั้งวงจร ธุรกิจสือ ่ และเทรนด์ขา่ วสารพัดไหลเวียน ไปตามเทคโนโลยีก�าหนด การ ‘ถูกมอง เห็น’ กลายเป็นโจทย์สา� คัญของการท�า สื่อ มันจึงส่งผลสะเทือนไปถึงการท�า ข่ า ว ใ ห้ ต้ อ ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป อ ย่ า ง สิ้นเชิง ครั้ ง หนึ่ ง เคยมี เ นื้ อ หาคลิ ก เบต ท่วมท้น ต่อมา สื่อต่างทุ่มก�าลังมาท�า กราฟิกภาพ ก่อนทีต ่ อนนีจ้ ะหันมาเสริม

ด้ ว ยคลิ ป วิ ดี โ อสั้ น ลี ล าการเล่ า เรื่ อ ง จึงเปลี่ยนแปลงไปเสมอ จนถือเป็นกฎ ข้อหนึง ่ ว่า ไม่ใช่แค่มเี นือ ้ หาดีแล้วจบ แต่ อยูท ่ ต ี่ อ ้ งรูว้ ธ ิ ป ี รุงแต่งไปตามอัลกอริทม ึ ซึง่ เราไม่ใช่ผก ู้ า� หนดอีกต่อไป แต่เทคโนโลยี ก�าหนด เพราะสถานการณ์ ด� า เนิ น ไป แบบนี้ ยอดไลก์และยอดแชร์คือตัวชี้วัด คนเสพข่าวก็เลยเล่าลือกันไปว่าเนื้อหา ดีๆ จะไม่มท ี ท ี่ างเหลืออยูอ ่ ก ี ต่อไป ค�าตอบ อาจมีได้หลากหลายทฤษฎี แต่ส�าหรับ ส�านักข่าว ‘เวิรค ์ พอยท์นวิ ส์’ คนหนุม ่ สาว รุ่นใหม่ไฟแรงกลุ่มหนึ่งก�าลังกระโจน เข้าไปในสมรภูมข ิ า่ วสาร พวกเขาอยาก พิสูจน์ตัวเอง และอยากจะยืนยันว่าวลี Content is King ยังใช้งานได้ เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ทีวีช่องดังที่ไม่เป็นสองรองใครในเรื่อง รายการบันเทิงวาไรตี้ ภาพจ�าของสถานี คือเกมโชว์และดาราตลกคับจอ พวกเขา ค่อยๆ เริ่มสร้างทีมข่าวในนามเวิร์คพอยท์นว ิ ส์มาได้ราวสองปีกว่า และเริม ่ สร้ า งที ม ข่ า วออนไลน์ ม าตั้ ง แต่ เดือนเมษายน 2017 ห นึ่ ง ใ น เ บื้ อ ง ห ลั ง คนส�าคัญคือ ‘เอม’ -

นภพั ฒ น์ จั ก ษ์ อั ต ตนนท์ นั ก ข่ า ว ตลอดชี วิ ต ผู้ เ ขี ย นหนั ง สื อ เกิ ด เป็ น นักข่าวต้องใส่รองเท้าที่วิ่งได้ ปัจจุบัน มาสวมหมวกเป็ น บรรณาธิ ก ารข่ า ว ออนไลน์ เวิ ร์ ค พอยท์ นิ ว ส์ หลั ง จาก เรียนจบปริญญาโทด้านสื่อที่สหราชอาณาจั ก ร ก็ ก ลั บ มาเมื อ งไทยและ ปวดหัวกั บ งานใหม่ ว่ า จะเคาะโจทย์ ออนไลน์ ให้กับที่นี่อย่างไร a day BULLETIN จับตาดูเขา ตลอดหนึ่ ง ปี ที่ ผ่ า นมา เราได้ เ ห็ น ถึ ง ความส�าเร็จ ความผิดพลาด เสียงชืน ่ ชม และค�าประณามด่าทอ เรารูว ้ า่ เขาก�าลัง ดิ้ น รนปรั บ ตั ว เพื่ อ ค้ น หาแนวทาง และความเป็นตัวของตัวเอง บทสัมภาษณ์ชน ิ้ นีเ้ ป็นการจับมือ กั น ของคนหนุ่ ม สาวจากที ม a day BULLETIN x The MOMENTUM x Workpoint News x @addcandid พวกเราร่ ว มกั บ ที ม เวิ ร์ ค พ อ ย ท์ นิ ว ส์ ไ ป ร่ ว ม ง า น เ ปิ ด ตั ว พรรคอนาคตใหม่ เ อ ม ห นี บ ที ม ง า น ไ ป วิ่ ง ต า ม สั ม ภ า ษ ณ์

นภพัฒน์จก ั ษ์ อัตตนนท์

หั ว หน้ า พรรคและเลขาธิ ก ารพรรค ส่วนพวกเราชาว a day BULLETIN พ ร้ อ ม กั บ อ ร พิ ณ ยิ่ ง ย ง พั ฒ น า บรรณาธิการบริหาร The MOMENTUM และ พีรพัฒน์ วิมลรังครัตน์ ช่างภาพ ในนาม @addcandid ก็ ไ ปวิ่ ง ตาม เอมที่ก�าลังวิ่งตามแหล่งข่าว เพื่อท�า บทสัมภาษณ์และภาพถ่ายเชิงสารคดี ชุดนี้มาอีกที ในยุ ค สมั ย ที่ เ ทคโนโลยี ก� า หนด ทุ ก สิ่ ง เมื่ อ สื่ อ เปลี่ ย น ข่ า วเปลี่ ย น สั ง คมเปลี่ ย น เอม นภพั ฒ น์ จั ก ษ์ จะเปลี่ ย นแปลงไปอย่ า งไร บทเรี ย น ทัง ้ ส�าเร็จและล้มเหลวของเขาน่าจะเป็น กรณี ศึ ก ษาให้ กั บ พวกเราในฐานะ คนท�าสื่อยุคนี้ได้เป็นอย่างดี


a day BULLETIN

12

The Impact of Technology on the Media Industr y จากนักข่าวเจนสนามทีเ่ มืองไทย พอไปเรียน International Journalism ที่ City University สหราชอาณาจักร ตอนนั้น พบเจออะไรบ้าง

ก็ถือว่าเราได้เรียนในสิ่งที่อยากเรียนสักที เพราะไม่เคยเรียนด้านสื่อมาก่อน เราเรียนด้าน ธุ ร กิ จ มา เมื่ อ ก่ อ นตอนเป็ น เด็ ก ๆ ทั้ ง ชี วิ ต เป็ น คนไม่ตั้งใจเรียนเลย ไม่เคยเตรียมตัวกับการเรียน แต่พอได้ไปเรียนตรงสายกับสิ่งที่สนใจจริงๆ นั่นก็ เป็นครัง้ แรกทีถ่ า้ มีคลาสเรียนเก้าโมง ก็จะไปนัง่ รอ ตัง้ แต่แปดโมงครึง่ แถมอ่านหนังสือเตรียมตัวก่อน เข้าเรียน แล้วก็สนุกแบบสนุกมากๆ เป็นโลกที่เรา แฮปปี้ โลกที่เราได้เรียนรู้จริงๆ ตอนที่ เ รี ย น ได้ ไ ปฝึ ก งานสื่ อ ดั้ ง เดิ ม ทั้ ง หนังสือพิม พ์ The Independent และ ส ถ า นี โ ท ร ทั ศ น์ B B C ส อ ง สื่ อ นี้ เ ข า ก็ ถู ก Digital Disruption ด้ ว ยใช่ ไ หม และพวกเขาเปลี่ยนวิธีการท�างานอย่างไร

issue 544 25 JUN 2018

มีที่ The Independent นี่แหละที่ชัดมาก เราไปฝึกเดือนธันวาคม แล้วเขาก็ปิดหนังสือพิมพ์ ตอนเดือนมีนาคม อย่างนี้เลยนะ (หัวเราะ) ตอนที่ ไปฝึกงาน สตาฟฟ์ทกุ คนก็บน่ ให้ได้ยนิ ว่าเหนือ่ ยมาก ไม่ไหวแล้ว คือเขาต้องเขียนข่าวจ�านวนชิน้ เยอะมาก ในแต่ละวัน แล้วก็ต้องเยอะขึ้นเรื่อยๆ จนถึงจุดที่ สิ่งพิมพ์มันปิดตัว งานถึงจะเริ่มเบาลง คือทีมงาน ต้ อ งท� า เนื้ อ หาให้ ทั้ ง หนั ง สื อ พิ ม พ์ แ ละเว็ บ ไซต์ ประคองไว้ให้มนั ดูไม่น่าเกลียด นี่ขนาด The Independent ทีเ่ ราดูจากภายนอกว่ามันก็ดดู ี มันก็ทา� ให้ ได้เข้าใจนะ หนังสือพิมพ์อังกฤษที่เราดูแล้วเนื้อ มันแน่นๆ ก็ท�ากันอยู่แค่สิบคนนั่นแหละ บางคน วันหนึ่งเขียนหกข่าว ทั้งหกข่าวนี้คือเขียนใหม่ ขึ้นมาจริงๆ ไม่ใช่รไี รต์แบบในบ้านเรานะ เราเห็น แล้วก็แบบ โอ้โฮ เราก็เข้าใจการท�างานของสื่อ ต่างประเทศมากขึ้น เห็นภาพมากขึ้น

เมื่อกลับมาท�างานที่เมืองไทย คุณย้ายสาย จากงานที วี เ ปลี่ ย นมาเป็ น งานออนไลน์ แ ถ ม เ ป ลี่ ย น บ ท บ า ท จ า ก นั ก ข่ า ว แ ล ะ ผู้ ป ระกาศข่ า วมาเป็ น บรรณาธิ ก ารข่ า ว ออนไลน์ ท�าไมถึงเปลี่ยนแปลงมากมาย

คือพีก่ รณ์ (ชลากรณ์ ปัญญาโฉม, ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารสายงานดิจิตอลทีวี เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์) ชวนมา โจทย์ตอนนัน้ คือพีก่ รณ์ บอกว่าอยากได้ความน่าเชื่อถือ ซึ่งส�าหรับเรา ไอ้ค�าว่า ‘น่าเชื่อถือ’ นี่มัน abstract มาก แวบแรก เลยคิดว่า ไม่เอาอะ ไม่เป็น บก. ตอนสมัยท�าข่าว ก็สงสาร บก. อยู่แต่ออฟฟิศ นั่งปิดข่าว แบบนี้เรา ไม่เอาอะ แต่สุดท้ายก็เลือกมาท�า คิดว่า เอาวะ ลองดู ลองท�าสามเดือน ถ้าไม่ได้กอ็ อก (หัวเราะ) พอมาท� า งานออนไลน์ แ ล้ ว ก็ ยั ง ท� า ไม่ เ ป็ น นะ ไม่ร้หู รอกว่ามันต้องใช้ทมี กีค่ น ตอนแรกๆ เราก็ท�า อย่างทีเ่ จ้านายบอกมา เขาอยากได้บทความใช่ไหม เราก็ไปหาบทความมาลง ปรากฏว่ามันเวิร์กบ้าง ไม่เวิรก์ บ้าง ช่วงแรกเราเขียนข่าวลงเว็บ ท�ากราฟิก งานมันไม่เหมือนข่าวทีวีที่เราท�ามา แล้วที่ส�าคัญ มากๆ คือเมือ่ ก่อนเราท�าข่าววันละชิน้ ก็รบั ผิดชอบ หนึง่ ชิน้ นัน้ ไป แต่ตอนนีม้ นั เยอะไปหมดเลย วันละ ห้าหกเรื่อง สิบเรื่อง แถมมาตลอดเวลา 24 ชั่วโมง ไม่หยุดหย่อน มันมีเหตุการณ์ทนี่ า่ สนใจ มีอยูว่ นั หนึง่ ทีเ่ รา คิดจะลาออก เพราะรู้สกึ ว่าเราท�าไม่ได้แน่ๆ งานนี้ ตอนเช้านัน้ ไปบอกพีก่ รณ์แล้วด้วย แต่แล้วก็ลงั เลว่า ถ้าย้ายไปท�างานทีอ่ นื่ เราจะได้ลองผิดลองถูกกับงาน ของเราเองหรือเปล่า เพราะท�าที่นี่อย่างน้อยที่สุด เราก็ยังได้ท�าทุกอย่างที่อยากท�า ได้เห็นภาพที่เรา อยากเห็น ถ้ามันจะห่วย มันก็หว่ ยกับมือเราเอง อะ ก็ลองดูวะ ก็เลยคิดใหม่ แล้วเย็นวันนัน้ ก็สง่ ข้อความ ไปหาพีก่ รณ์ จ�าได้วา่ ลาออกตอนเก้าโมง แล้วก็นอยด์ อยูท่ งั้ วัน จนทุม่ หนึง่ ก็เมสเสจไปบอกว่า พีก่ รณ์ครับ ผมขอลังเลนิดหนึ่งได้เปล่า (หัวเราะ) คือตอนนั้น รูส้ กึ เป็น loser เหีย้ ๆ เลย พีก่ รณ์กบ็ อกว่า ไม่เป็นไร เอม พี่ไม่ได้รบี ตอนหลังเรามาใช้วิธีการขยายศักยภาพ จากคนที่เ ข้ามาร่วมทีมท� างาน ซึ่ง โชคดีมากๆ ทีมงานสามสีค่ นแรกทีเ่ ข้ามานี่ ไม่รเู้ ราท�าบุญมาด้วย อะไร คือเข้าเป้าทั้งหมดเลย คือวัดกันแล้วเก่งกว่า เราอีก เป็นบุญของเรามากๆ พอเริ่มมีน้องเข้ามา ช่วยงาน มีงานท�าเสร็จออกไปแล้วคนก็ชม แล้วเรา รู้สึกว่า เฮ้ยๆ บางทีแม้ไม่ต้องเป็นงานของเรา

แต่เป็นสิ่งที่เรามีส่วนร่วมผลักดัน พอมีฟีดแบ็กมา มันก็นา่ ภาคภูมใิ จเหมือนกันนะ เอาจริงๆ ภูมใิ จกว่า สมัยตัวเองท�าข่าวเองอีก ได้เห็นงานดีๆ ของน้องๆ เนี่ย แล้วก็คิดว่าบางทีเราคิดแบบเด็กไปหน่อย หรือเปล่าที่จะท�าแต่งานเบื้องหน้า แล้วก็ท�าแต่ อะไรที่เข้าตัวเราอย่างเดียว อยากรูว้ า่ พอมาท�าข่าวออนไลน์ เจอความต่าง อะไรไปจากงานข่าวในสื่อเก่าบ้าง

ต่างกันหลายอย่างเลย ทั้งเรื่องเวลา เรื่อง ฟอร์แมต ข่าวออนไลน์มนั ท�าอย่างไรก็ได้อย่างทีใ่ จ เราอยากท�า audience ก็ตา่ งกัน ตอนทีเ่ ราท�าเนชัน่ ทีวี audience คือใครก็ไม่รู้ เพราะเราไม่ได้มีปฏิกิริยา จากคนดู อย่างทุกวันนี้ที่พอเราปล่อยงานไปปั๊บ คนก็ จ ะมาวิ จ ารณ์ ไ ด้ เ ลย เมื่ อ ก่ อ นแบบนี้ จ ะมี ก็นานๆ ที ต้องเป็นชิ้นที่มันเปรี้ยงๆ จริงๆ คนก็จะ ทวีตมาหา หรือเขียนมาหาในบล็อกโอเคเนชั่น จะว่ า ไปเครื อ เนชั่ น และ คุ ณ สุ ท ธิ ชั ย หยุ่ น เป็นเจ้าแรกๆ เลยทีพ ่ ยายามให้นก ั ข่าวปรับตัว สู่ โ ลกออนไลน์ เช่ น ให้ ใ ช้ โ ซเชี ย ลมี เ ดี ย คุ ณ มองว่ า ความพยายามแบบที่ ว่ า นี้ ยั ง ใช้ได้ผลในทุกวันนี้อยู่หรือเปล่า

คุณสุทธิชยั มีวสิ ยั ทัศน์ทดี่ มี าก แต่วา่ ความผิดพลาดก็คอื นอกจากเขาแล้ว ส่วนอืน่ ๆ มันไม่ได้ ขยับตาม บวกกับบรรยากาศของการไม่กล้าท�าอะไร ใหม่ๆ ถ้ามองย้อนไป สมรภูมทิ วิตเตอร์ของเนชั่น นี่เอาชนะได้สบาย แต่ว่าสมรภูมเิ ฟซบุ๊กคือเราแพ้ เนชัน่ ไม่ได้มอี ะไรเปรีย้ งปร้างในเฟซบุก๊ แต่เอาจริงๆ ส�านักข่าวอื่นๆ ก็ปรับตัวช้า ต้องรอโน่น อีจัน มาแจ้งเกิดปีก่อน ทุกที่ถึงขยับกัน ถ้าพูดถึงความเป็นผูน้ า� คุณสุทธิชยั ในฐานะ คนระดับหัวที่สุดขององค์กรเขาก็มีวิชันมากแล้ว ยุคทีค่ นใช้เฟซบุก๊ กันเยอะๆ เขาก็พดู เลยว่า ต้องท�า คลิปสัน้ แต่มนั ก็ไม่มกี ารน�าไปสูว่ า่ ท�าคลิปสัน้ แล้ว แปลว่าอะไร ต้องมีคนตัดต่อ ต้องมีมือกราฟิก มันไม่มคี นทีน่ า� พานโยบายนัน้ ไปต่อ ซึง่ ก็นา่ เสียดาย เราท�างานมากับคุณสุทธิชัย เราเคารพเขามาก เราคิดว่าด้วยอายุและต�าแหน่งระดับนี้ วิสัยทัศน์ ที่มีคือดีมากแล้ว แต่ปัญหาคือคุณสุทธิชัยให้วชิ ัน มาแล้ว แต่เราไม่ทา� กันเอง ท�ามา 1 ปีแล้ว คิดว่าค้นพบสูตรที่ลงตัวว่า ข่าวออนไลน์ควรต้องเป็นอย่างไรแล้วหรือยัง

ยังนะ มันต้องลองท�าไปเรื่อย เดิมเราเคย มีโมเดลทีว่ า่ เพจ ‘เวิรค์ พอยท์ เอ็นเตอร์เทนเมนท์’ ทีม่ ี 12,000,000 ไลก์ ช่วยแชร์งานของเวิรค์ พอยท์นวิ ส์ ให้ทกุ ชิน้ แต่มนั ท�าแบบนีไ้ ด้แค่ชว่ งแรก เพราะทุกฝ่าย ก็ต้องดิ้นรนด้วยตนเอง จะให้เขาแชร์ให้ทุกชิ้น ก็ ไ ม่ ไ ด้ เราก็ ต ้ อ งปรั บ อาจจะคลี เ ช่ ห น่ อ ยนะ แต่สตู รคือ เราต้องปรับตลอด แล้วเราก็ปรับตลอด จริงๆ เช่น เราท�าวิดโี อแปะแคปชัน สักพักวิธกี ารเดิม ยอดเริ่มดรอป ก็ต้องเปลี่ยนแล้ว มี สิ่ ง ที่ ที ม เราคิ ด กั น เอง ซึ่ ง ไม่ รู ้ ว ่ า เกี่ ย ว หรือเปล่า แต่ได้ข้อเท็จจริงมาว่า คนไทยส่วนใหญ่ จ่ายค่าอินเทอร์เน็ตแค่ 200 บาท เท่ากับว่าเวลา เขาจะคลิกดูวิดีโอ มันต้องคิดถึงเรื่องค่าเน็ตด้วย คนส่วนใหญ่อาจไม่ใช่กลุม่ ทีอ่ ยูใ่ นออฟฟิศ มีไว-ไฟ แบบเรา จากช่วงหนึง่ ทีท่ า� วิดโี ออย่างเดียว เราก็เลย เริ่มหันมาท�าอัลบั้มภาพให้คนคลิกดูทีละอันบ้าง เพราะคิดว่าใช้เน็ตน้อยกว่า คนส่วนใหญ่นา่ จะเข้าถึง ได้งา่ ยกว่า มันก็ตอ้ งปรับตลอด แล้วก็แบบก็มเี รือ่ ง ภาพไซซ์สแควร์ มีวิดีโอแนวตั้ง มีงานสัมภาษณ์ ฯลฯ เราก็ลองท�าไปเรื่อย ยิงไปเรื่อยๆ พูดจริงๆ เลยนะ เราว่าที่ผ่านมาแป้กมากกว่าเวิร์ก แล้วมัน ก็จะเป็นแบบนี้ไปอีกนาน เราก็ได้แต่ลองไปเรื่อยๆ


13 How Technology Shapes Us

ตั ว ชี้ วั ด ที่ จ ะ บ อ ก ว่ า เ ร า ใ น ฐ า น ะ บรรณาธิ ก าร มี ค วามส� า เร็ จ หรื อ ล้มเหลวคืออะไร

มันก็เห็นๆ กันอยู่ คือจากยอดแชร์ ยอดวิวนี่แหละ ซึ่งมันก็จะมีนักวิชาการ บางคนทีช่ อบพูดว่า แหม สมัยนีส้ อื่ หิวแต่ ยอดแชร์ยอดวิวนะ เราบอกได้เลยว่างาน ห่วยๆ ทีเ่ ราผลิต มันมักจะไม่มใี ครแชร์หรอก งานมันจึงต้องดีดว้ ย แต่กจ็ ะมีคนชอบอ้าง ว่า งานคุณภาพๆ คนไทยไม่สนใจหรอก ซึง่ พวกเราต้องไม่เชือ่ แบบนัน้ เราบอกน้องๆ ในทีมตลอดว่าอย่าเอาความคิดแบบนั้น มาอยู ่ ใ นหั ว เวลาเราท� า เรื่ อ งส� า คั ญ ๆ อย่างข่าวเกาหลีเหนือ-เกาหลีใต้ แต่ไม่คอ่ ย มีใครอ่าน ถ้าคนไม่รบั ยอดไม่วิ่ง แปลว่า เรายังท�าข่าวนั้นได้ไม่ดีพอ ก็ต้องท�าข่าว ให้ดีกว่านี้ เขียนให้เข้าใจได้มากกว่านี้ มั น มี อ ะไรที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ตั ว คนอ่ า นได้ มากกว่านี้ เราก็ต้องพยายาม ในขณะที่ ห ลายคนอาจจะถอดใจไป แล้วก็ไปท�าข่าวสีสน ั อย่างข่าวตุก ๊ แก ขึ้นบ้านไปเลย

ซึ่งข่าวตุ๊กแกเราก็ท�า (น�้าเสียง มุ่งมั่น) เวิร์คพอยท์นิวส์ก็ท�าข่าวตุ๊กแก เราก็มคี นทีท่ า� ข่าวชาวบ้าน ซึง่ มันเป็นข่าว ทีค่ นเขาสนใจ เขายังอยากดู จะเอาไปตีหวย เอาไปท�าอะไรก็ตามสะดวกเขา เราก็ท�า เราก็ไม่ปฏิเสธ แต่เราก็นา� เสนอเรือ่ งพิษภัย ของการติดหวยไง คือท�าหนึง่ ไม่ได้แปลว่า จะท�าสองไม่ได้ ทุกวันนี้เราก็ยังต้องแก้อะไรอีก หลายอย่ า งในการท�า งาน แต่ เ ราก็ จ ะ อึดอัดเสมอเวลามีคนบอกว่า สื่อเดี๋ยวนี้ มึงชอบหิวยอดแชร์ยอดวิว ซึง่ ผมว่าค�าพูด พวกนี้คือดูถูกคนเสพสื่อมาก คนสมัยนี้ เขาเลือกแชร์เลือกเสพนะโว้ย ถ้าเกิดคนดู แสดงว่ามันต้องเกีย่ วข้องกับเขา การทีเ่ รา ท�างานทีเ่ น้นยอดแชร์เยอะๆ ไม่ได้แปลว่า เราเป็นสื่อเลวโดยอัตโนมัติ แล้วมันก็จริง เรามีชิ้นที่เปรี้ยงๆ อย่างเรื่องยา ทางเดิน เบรลล์บล็อก เรื่องท้องในวัยเรียน เรื่อง บ้านป่าแหว่ง ข่าวต่างประเทศที่อาจจะดู ยาก ซึ่ ง งานของเราคื อ การท�า ให้ ค นดู รู้สึกได้ว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับตัวเขา การที่เคยท�า ข่าวดั้งเดิม มาก่อนใน แวดวงทีวี ซึง ่ ฟีดแบ็กอาจจะไม่ได้เร็ว หรือได้ยินไม่ชัดเท่าไหร่ พอมาเจอ โลกออนไลน์ เราสะเทือนหัวจิตหัวใจ มากน้อยแค่ไหนเวลามีคนมาคอมเมนต์

ก็ยงั มีอยู่ แต่หน้าด้านขึน้ เยอะมาก (หัวเราะ) จิตใจนี่เหี้ยมเกรียมขึ้นเยอะ ทีบ่ อกอย่างนีเ้ พราะเมือ่ ก่อนเป็นคนใจเสาะ มาก ไม่มีจุดยืนเลย คนด่าก็รู้สกึ ไปเยอะ เมือ่ ก่อนมันจะมีบรรยากาศแบบประมาณ ว่า ก็เราอยากท�าข่าวให้เขาชอบเรา ซึ่ง แบบนี้มันก็ไม่ใช่นิสัยที่ดีของนักข่าวนะ แต่ ทุ ก วั น นี้ มั น เป็ น อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ไปแล้ ว อย่ า งเราท� า บทสั ม ภาษณ์ คุ ณ ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ แล้วโดนด่าเยอะๆ เนี่ย โอ๊ย สบายมาก หรือตอนท�าเรื่องโรฮิงญาแล้ว โดนด่ า มี ค อมเมนต์ ม าเหน็ บ แนมว่ า เวิรค์ พอยท์รบั ไปอยูด่ ว้ ยสัก 50 คนไหมล่ะ แบบนี้เราก็โอเค เรามีจุดยืนของเรา ความคิดทีว ่ า่ อยากให้คนมาชอบเรา มีผลต่อการก�าหนดทิศทางการท�างาน หรือเปล่า

ก็มนี ะ คือเราเป็นคนชอบฟีดแบ็ก ถ้าไม่มฟี ดี แบ็ก มันก็จะแบบ... ท�าไปท�าไม วะ? เวลาจะเลือกประเด็นข่าว มันก็มเี รือ่ ง ที่อยู่ในกระแส เรื่องแบบที่รู้ว่าถ้าท�าแล้ว คนต้องพูดถึงแน่นอน อย่างช่วงนีม้ นั มีชอ่ ง ที่ชอบสัมภาษณ์คนที่รู้ๆ กันว่าคนเกลียด แล้วก็เอาเขามาขยี้ๆ ในรายการ ซึ่งอะไร แบบนี้ เ ป็ น น่ า นน�้ า ที่ เ รายั ง ไปไม่ ถึ ง เหมือนกันนะ คือเราอยากให้คนมาชอบ เราก็ เ ลื อ กประเด็ น ที่ ส� า คั ญ หน่ อ ย บางเรือ่ งคนจะเกลียดก็เกลียดไป ไม่เป็นไร คือถ้าคนชม เราก็แฮปปี้ แต่บางเรื่อง

เวลาคนมาด่า ถ้าเรามีหลักเกณฑ์ของเรา อยู่แล้ว เราก็ไม่ได้มองว่าเสียหายอะไร อย่างตอนท�าเรือ่ งผูล้ ภี้ ยั โรฮิงญา เราน�าเสนอ ไปรวด 7-8 ชิน้ แล้วคนด่าว่าท�าไมเข้าข้าง จังเลยวะ เราก็โอเค ไม่เป็นไร ด่าก็ด่าไป อั น นี้ เ รามี จุ ด ยื น อยู ่ แ ล้ ว ว่ า เราจะให้ ความรู ้ ว่ า จะบอกเล่ า สิ่ ง นี้ การที่ เ รา บอกว่ า เขาน่ า เห็ น ใจไม่ ไ ด้ แ ปลว่ า เรา สนับสนุนรัฐให้รบั พวกเขาเข้ามาเต็มบ้าน เต็มเมืองไง มันมีเลเวลของมัน เวลาที่คุณทุ่มเทกับงานดีๆ แต่คน อาจจะไม่ ไ ด้ ส นใจมากเท่ า ที่ ค าด คุณจัดการกับความรู้สึกอย่างไร

เราบอกกั บ น้ อ งในที ม เสมอว่ า พวกเรามันก็แค่หนึ่งในล้านสิ่งที่เขาจะ ได้เห็นในแต่ละวันๆ เวิร์คพอยท์ไม่ได้แข่ง แต่กับสื่อด้วยกันอย่างเดียว สิ่งที่เขาเห็น ในแต่ละวันคืออะไร เขาก็จะไปเห็นโต๊ะ สวยๆ เห็นเสื้อผ้าสวยๆ อะไรด้วย ซึ่งเขา อาจจะไม่ ส นใจพวกเราเลย วั น หนึ่ ง เขาอาจจะเปิ ด เน็ ต เพื่ อ ดู แ ต่ ค ลิ ป ตลก อย่างเดียวเลยก็ได้ เพราะฉะนั้น ข้อแรก คือท�าให้คนสนใจก่อน โดยหลักทีเ่ ราสอน น้องก็คอื เรือ่ งทีอ่ ยากจะเล่า คอนเทนต์หนึง่ ที่อยากจะท�า มันก็เหมือนดาบอันหนึ่ง แต่ มั น ต้ อ งมี ป ลายดาบที่ แ หลมที่ สุ ด ที่ ท�าให้ดึงคนเข้าไปดูให้ได้ มันต้องมีเทคนิค ต้องมีคา� พูดอะไร ที่แบบ ปึ้ง! แล้วดึงคนเข้าไปดู อย่างเช่น เราเล่ น ค� า พู ด ซึ่ ง อั น นี้ เ ป็ น ค� า พู ด พี่ ติ่ ง (สมภพ รัตนวลี, ผู้อ�านวยการฝ่ายข่าว เวิร์คพอยท์ทีวี) คือ ‘ศาลอยู่กับป่าได้ แต่คนอยู่กับป่าไม่ได้’ เราพูดเรื่องความไม่เท่าเทียม เรื่องสองมาตรฐาน ซึ่งเป็น เรื่องใหญ่ แต่ถ้าเราแพ็กเกจมันแบบเดิม แบบเขียนบทความแล้วพาดหัวว่า ‘ปัญหา สองมาตรฐานในเมืองไทย ในกระบวนการ ยุติธรรมที่ยังไม่มีวันสิ้นสุด’ แล้วก็เขียน บทความ สัมภาษณ์ มันก็เป็นดาบทื่อๆ เล่มหนึ่ง คนก็เงี่ยหูมาฟังเราน้อย แต่เรา ขอแค่ว่าเปรี้ยงเดียว แต่คนเก็ตแล้วเก็บ ไปคิด ไปต่อยอดกันเอง คือสุดท้ายเราคือ สื่อ ไม่ใช่ส�านักวิชาการ แต่ถา้ อย่างนัน ้ มันก็ชน ี้ า� คนอ่านไหม

ใช่ แต่เรา base on fact นะ เราก็ ท�างานหนักในการหาข้อมูลมา และสอง คือ this is the way it works in online มันก็คอื อะไรทีบ่ อกคนไปเลย บอกไปเลย ว่าคิดแบบนี้ มันมักจะเวิร์กเสมอ นี่ เ ป็ น คาแร็ ก เตอร์ ข องคุ ณ เอง หรือเป็นคาแร็กเตอร์ของออนไลน์

เป็นคาแร็กเตอร์ใหม่ท่ีเป็นกรอบ คิด ใหม่ ใ นโลกออนไลน์ ไม่ ใ ช่ แ ค่ เ รื่อ ง การเมื อ งอย่ า งเดี ย ว อย่ า งเรื่ อ งยาชุ ด เราก็บอกไปเลยว่าให้คณ ุ หยุดกิน คือถ้าเป็น จริตเดิมที่ต้องมานั่งกังวลว่าเดี๋ยวกลุ่ม เภสัชกรเขาจะไม่พอใจ มันก็จะกัก๊ ไปกัก๊ มา แต่เรื่องแบบนี้ชัดเจนแล้วว่าต้องหยุดกิน อย่างเรือ่ งการสร้างบ้านพักตุลาการในป่า พอพูดไปจะสะดุ้งว่าเป็นการพิพากษา หรือเปล่า แต่ว่านี่เป็นเรื่องสองมาตรฐาน คือเราไม่ได้บอกว่าไปสร้างบ้านในป่าแล้ว มันไม่ผิดกฎหมาย แต่เราสื่อว่า ขอให้ใช้ กฎเดียวกันกับทุกคนในประเทศ ซึง่ นีเ่ ป็น คุณที่สังคมควรมี เรื่องบังคับใช้กฎหมาย อย่างเท่าเทียมกัน เรือ่ งลดความเหลือ่ มล�า้ ในสังคม พวกนี้เป็นสิ่งที่เราคิดว่ามันเป็น สิง่ ทีส่ งั คมควรมี เรือ่ งแบบนีเ้ ราก็ตอ้ งกล้า ที่จะเลือกข้าง


a day BULLETIN

14

The Role of Technology in Politics

แล้ ว ก็ จ บไปเลย ขณะที่ อ อนไลน์ มั น ยิ ง คอนเทนต์แบบเหลาะแหละ

คุ ณ ว่ า การเข้ า มาของเทคโนโลยี ส่ ง ผล ต่อความคิดความเห็นของผู้คนอย่างไร

การเข้ามาของเทคโนโลยีให้ผลดีมากๆ คนเข้าถึงข้อมูล มองในมุมคนท�าสื่อนะ สมมติ อย่างเรือ่ ง LGBT ถ้าเราอยู่ในยุคทีวี ถ้าเราไม่รู้ว่า คนอื่นๆ คิดอย่างไร คนอื่นๆ คอมเมนต์อย่างไร เราก็ไม่กล้าดันประเด็นนีไ้ ปให้มนั สุด คือเทคโนโลยี ก็ช่วยให้คนออกมาสื่อสารกันได้ ช่วยขยับสังคม ไปได้เยอะมาก ถ้ายังอยู่ในยุคที่ไม่มีเทคโนโลยี เราก็ไม่กล้าทักท้วงว่าเรือ่ งบ้านพักศาล ศาลท�าผิด นะ งานบางชิ้นเราก็น�าเสนอไป เพื่อแค่เปิดพื้นที่ ให้คนเข้ามาแสดงความเห็น ซึ่งหลายคนอาจจะ มองข้ามไปว่านี่คือคุณูปการของเทคโนโลยี เคยรูส ้ ก ึ หรือเปล่าว่า เสรีภาพบวกเทคโนโลยี มันออกมาเป็นพลังลบ

ไม่เลย เราแฮปปี้กับโลกที่เละๆ แบบนี้ เรางงกับคนที่มองว่ายุคก่อนดีกว่า ยุคที่มีแค่ทีวี 6 ช่อง แล้วไม่มอี ินเทอร์เน็ตเลยเนี่ย ไม่รู้ว่าเขา โหยหาอะไร มั น ดี ก ว่ า ตอนนี้ ม ากมายเหรอ สมมติคณ ุ บอกสือ่ ออนไลน์ยคุ นีแ้ ม่-แย่ ซึง่ เราไม่รู้ ไง เราก็ไม่ทันได้ท�างานในยุคที่มีทีวี 6 ช่อง แต่ว่าเราไม่ค่อยซื้อเวลาคนพูดว่าสื่อยุค นี้แย่ มันง่ายไป ถ้าจะเถียงกันก็ขอเหตุผลอะไรแบบที่ จับต้องให้ชดั ๆ หน่อยว่าสือ่ ยุคก่อนมันดีกว่าตรงไหน ก็ทา� ไมมีเสรีภาพในการสือ ่ สารมากขนาดนี้ แต่ว่าเผด็จการก็ยังอยู่ได้ล่ะ

คุณตัง้ ค�าถามผิดหรือเปล่า อืม... เราไม่รวู้ า่ มนุษย์เราไม่ได้เกิดมาเพือ่ จะต้องการประชาธิปไตย อยูแ่ ล้วหรือเปล่า คนเราเกิดมาก็ตอ้ งการปัจจัย 4 ก่อนหรือเปล่า ซึ่งประชาธิปไตยไม่ใช่ปัจจัย 4 เดี๋ ย วเราจะเอาประโยคนี้ ไ ปท� า quote โพสต์ลอยในเฟซบุ๊ก

issue 544

(หัวเราะ) แล้วคนก็จะอ่านแค่ 2 บรรทัดนัน้ แล้วก็เข้าใจเราผิดในทันทีใช่ไหม ขออธิบายเสริม ว่ามันอาจจะเป็นแบบนั้น แต่มันก็พิสูจน์แล้วว่า ประชาธิ ป ไตยช่ ว ยให้ ก ารท� า มาค้ า ขายดี ขึ้ น พอผู้คนกินอยู่ดขี ึ้น มันก็กลับมาที่เรื่องความคิด ความอ่ า นเรื่ อ งประชาธิ ป ไตย และอี ก อย่ า ง คุณต้องไม่ลืมว่าฝั่งเผด็จการเขาก็ใช้เสรีภาพ ตรงนี้เป็นเครื่องมือของเขาเหมือนกัน เสรีภาพ เทคโนโลยี และโลกออนไลน์มันไม่ใช่อาวุธแค่ ฝั่งประชาธิปไตย มันเป็นอาวุธกลางที่ทุกคน ก็เอามาใช้ได้หมด อยู่ที่ว่าใครจะใช้ได้อย่าง มีประสิทธิภาพกว่า

25 JUN 2018

การทีเ่ ผด็จการยังอยูไ่ ด้ยาวนานถึงขนาดนี้ มันเป็นเพราะว่าสื่อออนไลน์เอาข่าวมาท�า ให้กลายเป็นเรือ ่ งตลก ท�าให้คนจะเข้าถึงง่าย เรียกยอดไลก์ยอดแชร์ได้ง่าย แต่มันเป็น ดีกรีทไี่ ม่ได้นา� ไปสูก ่ ารเปลีย ่ นแปลง เมือ ่ ก่อน แม้ทีวีจะมีอยู่แค่ 6 ช่อง แต่มันหมัดหนัก

มันไม่เกี่ยวกับสื่อ มันเกี่ยวกับตัวบุคคล มากกว่า ถ้าคุณจะหมายถึงกรณีเรื่องนาฬิกาหรู ถ้าเป็นนักการเมืองปกติคนอื่นๆ ผมว่าเขาต้อง ลาออกไปแล้ว คือมันไม่ได้เกี่ยวกับว่าเป็นยุคทีวี หรือเป็นยุคออนไลน์ แล้วเอาเขามาท�าตัวตลก หรืออะไรอย่างที่คุณว่า แต่นี่คือเคสพิเศษจริงๆ ที่คนคนนี้เขาเชื่อว่าเขาอยู่ต่อไปได้ แล้วส�าหรับ คนไทยเรา นี่ก็อาจจะไม่ได้เป็นสิ่งที่ท�าให้ไม่พอใจ ถึงขนาดลุกฮือ แล้วตอนนี้มันก็อยู่ในบรรยากาศ ทีก่ ช็ มุ นุมเกิน 5 คนก็ไม่ได้ มันก็เป็นสิง่ ทีต่ อ้ งอาศัย ความอาจหาญมากๆ อย่างกรณีอาหรับสปริง ผูค ้ นใช้โซเชียลมีเดีย สื่อสารกันจนรวมพลังประท้วง แต่ต่อมา เผด็จการทหารก็วนเวียนกลับมา เป็นตัวพิสจู น์ ว่าล�าพังเทคโนโลยี โซเชียลมีเดีย และการแสดงความเห็ น ออนไลน์ ไม่ ช่ ว ยให้ เ กิ ด ประชาธิปไตยได้จริง

เราว่านั่นมันโจทย์ใหญ่มากนะ มันเป็น เรื่องของการเปลี่ยนระบอบการปกครอง เปลี่ยน ผูน้ า� ของระบบเลย มันเป็นโจทย์ใหญ่ ไม่ใช่แค่เรือ่ ง เทคโนโลยี อ ย่ า งเดี ย วแล้ ว มั น เป็ น เรื่ อ งสั ง คม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมที่เขามีกันมานาน แต่ เราว่าถ้าพูดถึงเรื่องเล็กๆ ที่เราพอจะขับเคลื่อนไป กันได้ เทคโนโลยีมนั ช่วยได้แน่นอน ค่อยๆ ช่วยขับ ไปได้ เรื่องเล็กๆ อย่างเช่น ขึ้นรถไฟฟ้าไม่ควรยืน พิงเสา คนเห็นก็โพสต์แล้วด่ากัน อันนีค้ อื เล็กมากๆ แต่มนั เป็นเรือ่ งเล็กในโครงสร้างใหญ่ เช่น เราเดาว่า อีกไม่เกิน 5 ปี เด็กนักเรียนอาจจะไว้ผมยาวได้ อะไรอย่างนี้ ซึ่งไม่น้อยที่มันมาจากเทคโนโลยีอะ คลิปหนึ่งใน TED Talks ของ วาเอล โกนิม ที่ พู ด เรื่ อ งสถานการณ์ ก ารเมื อ งที่ อี ยิ ป ต์ มันพอเป็นบทเรียนให้ไทยได้ไหม ว่าการเสพ ข่าวการเมืองในโซเชียลมีเดียเยอะๆ นอกจาก จะเกิดผลข้างเคียงทีท ่ า� ให้คนแบ่งฝักแบ่งฝ่าย แล้ว ยังไม่ชว่ ยป้องกันอ�านาจจากเผด็จการได้ คุณมองเรื่องนี้ว่าอย่างไร

มันมีมมุ ทีน่ า่ กลัวว่าจะเป็นแบบอียปิ ต์ และ มีมมุ ทีต่ า่ ง มุมทีน่ า่ กลัวคือ คนไทยคุน้ ชินกับการบูชา บุคคล พึง่ พาวีรบุรษุ หวังว่าจะมีใครคนหนึง่ ขีม่ า้ ขาว ช่ ว ยเหลื อ แก้ ไ ขปั ญ หาร้ อ ยแปดที่ มี ใ นสั ง คม มากกว่าที่จะเชื่อมั่นในตนเอง มากกว่าเชื่อมั่น ในระบบที่โปร่งใสตรวจสอบได้และเท่าเทียมกัน ไอ้ภาวะบูชาบุคคลนี้น่ากลัวเสมอ ถ้าดันมีผู้น�า ที่จะพาเราไปสู่ความแตกแยก ก็จะฉิบหายได้ ส่วนมุมที่ต่างและน่าจะท�าให้เราเบาใจได้ ลงว่าไทยจะไม่เกิดสงครามกลางเมือง คือสังคมไทย ยังยึดโยงกันด้วยความถ้อยทีถ้อยอาศัยอยู่มาก แถมความแตกต่างทางความคิดไม่น้อยก็เกิดจาก คนเจเนอเรชันทีต่ า่ งกัน ซึง่ ภาพนีท้ า� ให้การปะทะกัน เกิดได้ยากขึ้น แต่ถ้าว่ากันด้วยเรื่องโซเชียลมีเดียล้วนๆ มันมีภาวะ Tunnel Vision (ทัศนวิสัยอุโมงค์) จริงๆ แต่ในฐานะผูผ้ ลิตสือ่ เราเคยน�าเสนองานทีส่ มุ่ เสีย่ ง ต่อการท�าให้เกิดความแตกแยก และสุดท้ายเราก็ถกู วิพากษ์วจิ ารณ์ เพราะอย่างทีบ่ อก คนเสพเขาฉลาด นะ เขามองออก ส่วนเรือ่ ง Tunnel Vision มันออกแนว ต่างเสพ ต่างแยกย้ายกันไปสบายใจมากกว่า ถึงเวลา ก็ไม่คอ่ ยจะปะทะกันจริงๆ เท่าไหร่ เอาจริงๆ

โดยพื้นฐานสังคมไทยแล้วเราแลกเปลี่ยน กั น ทางความคิ ด และข้ อ มู ล กั น น้ อ ยไปด้ ว ยซ�้ า โซเชียลมีเดียอาจจะเข้ามาเติมพอดี แต่ถ้าวันหนึง่ มันเริม่ ถึงจุดทีเ่ ลยเถิด ก็คงต้องกลับมาคุยกันใหม่ ตอนทีไ่ ปเรียนต่อแล้วคิดว่าจะกลับมาท�าทีวี แต่วา่ พอกลับมาเมืองไทยแล้ว รายการข่าวทีวี มันค่อยๆ หายไป รูส ้ ก ึ เหมือนนัง ่ ไทม์แมชชีน ไปอนาคตอีกร้อยปีเลยไหม

ตรงข้ามกันเลย คือเราไปอยูใ่ นโลกทีเ่ หมือน 100 ปีข้างหน้ามากกว่า พอกลับมานี่ก็เหมือนยัง อยู่ใต้บาดาล แปลกใจว่า อ้าว เฮ้ย มึงเหมือนเดิม เลยเหรอ แบบว่านี่ก็เบื่อเหมือนกัน มันจะเหมือน ลืมสิ่งที่เรา appreciate คือพอไปอยู่นู่น เราก็จะ appreciate สิ่งที่เขามี ซึ่งพอกลับมาใหม่ๆ เราจะ ลืมไปว่าเราเคย appreciate อะไร ส�าหรับเรา มิ ต รภาพ เราเคยสนุ ก กั บ เพื่ อ น เรานั่ ง รถไฟ อ่านหนังสือ ดูวิวทิวทัศน์ข้างทาง แล้วมันสวยไง แต่อยู่ที่นี่ มีแต่รถ มีแต่ตึกเก่าๆ อะไรอย่างนี้ สิ่งเหล่านี้เราค่อยๆ ลืม แต่ว่าพอเรียนจบกลับมา เราก็เบื่อมาก กับการท�างานอ่านข่าว แล้วก็ตอ้ งอ่านแต่ขา่ วทีเ่ รา ไม่เชื่อ ต้องตื่นเช้ามาอ่านข่าวนกแปดหัว ตอนเรา กลับมา เรากลัวว่าต้องกลับไปท�าอย่างนั้นอีก ก็พยายามเลี่ยงอยู่ ถ้าเกิดตอนนั้นเลือกที่จะอ่าน ข่าว ก็คงต้องเสียเวลาชีวิตนี้ไปสามเดือนกับข่าว หวยสามสิบล้าน ซึ่งก็ไม่ใช่สิ่งที่เราจะเอนจอยได้ สามเดือนแน่ๆ ในฐานะบรรณาธิการข่าว งานที่ท�าตอนนี้ คื อ จุ ด สู ง สุ ด ในสายงานข่ า วในเมื อ งไทย แล้วหรือยัง

ถ้าอยู่เมืองไทย ก็คือเวิร์คพอยท์เท่านั้น สิง่ ทีท่ า� ให้ไปทีอ่ นื่ ก็ตอ้ งไประดับต่างประเทศ เราคิดว่า เราอยู่ในจุดที่เหมาะสมที่สุดแล้ว ด้วยดีเอ็นเอ ขององค์กร กับโอกาสที่เรามีตอนนี้


15

Behind the scenes

ในการประชุมจัดตัง้ พรรคอนาคตใหม่ เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคมที่ผ่านมา ณ อาคารยิมเนเซียม 5 มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ธนาธร จึ ง รุ่ ง เ รื อ ง กิ จ หั ว ห น้ า พ ร ร ค ตอบค�าถามสื่อมวลชนและผู้สนใจ นี่ คื อ ส่ ว น ห นึ่ ง ที่ เ ข า ต อ บ โ ต้ กั บ นภพัฒน์จก ั ษ์ อัตตนนท์ และทีมข่าว ออนไลน์เวิร์คพอยท์นิวส์

คุณเคยพูดว่าอยากจะชวนสือ ่ มวลชนเข้ามา มีบทบาทร่วมกันมากกว่านี้ อยากรูค ้ วามเห็น ของคุณว่าที่ผ่านมามีอะไรที่คิดว่าสื่อยังท�า หน้าที่อย่างไม่เหมาะสม

พูดชัดๆ นะครับ วิชาชีพสื่อมีความส�าคัญ ใหญ่หลวงต่อประชาธิปไตย ไม่ว่าจะสังคมไหนๆ ในโลก ถ้าสื่อมวลชนไม่กล้ายืนยันในสิทธิและ ศักดิศ์ รีแห่งวิชาชีพของตัวเอง ประชาธิปไตยก็จะพัง พังมาจนถึงทุกวันนี้ ดังนั้น เราจึงอยากเชิญชวน คนท�างานสื่อมวลชนให้หันกลับมาดูรากเหง้าของ ความเป็นสื่อว่ามันส�าคัญอย่างไร มันต้องมีหน้าที่ อะไรต่อการสร้างประชาธิปไตยในสังคม


a day BULLETIN

16

A MUST CONCERT

MOVIE

The Purge ภาพยนตร์ ระทึกขวัญกับเรือ่ งราวของคืนล้าง บาป และเป็นค�่าคืนที่ผู้คนออก ไล่ลา่ ฆ่ากันได้โดยไร้ซงึ่ ความผิด ทางกฎหมายและศีลธรรมใดๆ ทีก่ ระหน�า่ ความโหดร้ายไปแล้วถึง 3 ภาค คื น ล้ า งบาปจะกลั บ มา หลอกหลอนคุณอีกครัง้ ใน The First Purge ซึ่ ง ในภาค 4 นี้ จ ะย้ อ น กลั บ มาเฉลยจุ ด ตั้ ง ต้ น ของคื น ล้างบาป ซึง่ คิดค้นขึน้ โดยองค์กร บิดาผู้ก่อตั้งอเมริกาใหม่ ซึ่งเป็น การเฉลยถึงที่มาของเหตุการณ์ คื น ระทึ ก ขวั ญ ที่ ใ ครก็ ส ามารถ ฆ่าคนได้อย่างไม่ผดิ กฎหมายนี้

(THANK GOD IS RHINO DAY)

เทศกำลคอนเสิ ร์ ต ดั บ ร้ อ นประจ� ำ ปี ที่ หลำยคนรอคอยกลับมำอีกครั้งใน LAZERFACE Presents Wet&Wild Festival 2018 #TGIR (Thank God is Rhino Day) กำรรวมตัว ของเหล่ำศิลปินสุดแสบ ผสำนเข้ำกับบรรยำกำศ ของกำรเล่นคอนเสิร์ตในสวนน�้ำระดับโลก ที่ Cartoon Network Amazone พั ท ยำ ให้คุณสนุกกับกำรเล่นน�้ำ และเต้นไปด้วยกัน ในสระว่ำยน�ำ้ ขนำดใหญ่ทค ี่ วำมรูส ้ ก ึ นีห ้ ำไม่ได้ จำกคอนเสิร์ตทั่วไป

Wet&Wild Festival 2018 ครั้งนี้ ถือเป็นครั้งที่ 4 แล้ว โดยแต่ละครัง้ ก็ได้เสียงตอบรับทีเ่ พิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ และงานนี้ ก็ได้ ศิลปิ น มาสร้ า งความมัน ให้ คุณอย่างล้นหลาม เช่น Thaitanium, Slot Machine, Paradox, แจ๊ส สปุ๊กนิค ปาปิยอง กุก๊ กุก๊ , Lipta, Polycat บนเวที MegaWave Stage ส่วนด้านเวที Surf Arena Stage ก็จะเป็นศิลปินสายฮิปฮอปอย่าง UrboyTJ, ไทยฮอป (Youngohm, ฟลิกซ์, วายบี) เป็นต้น และอีกหนึ่ง ไฮไลต์เด็ดที่สนุกไม่แพ้เวทีใหญ่คือ Paradise Pool Party ที่ให้คุณสนุกอยู่ในสระว่ายน�้าขนาดเล็กไปกับดนตรีแนว

EDM จากดีเจดังๆ อย่าง DJ CLEOP, DJ Roxy June และ เหล่าดีเจหนุม่ สุดฮอต BOTCASH, Make You Freak, MACHINA, OGSMITH, HENRI, DAZETER และ BAMBOO ระเบิดความมันกันในวันเสาร์ที่ 7 กรกฎาคม 2561 ณ Cartoon Network Amazone พัทยา จองบัตรล่วงหน้าตอนนี้ เพียง 990 บาท (ซื้อหน้างาน 1,500 บาท) เข้าไปซื้อ บัต ร กันได้ที่ www.werticket.com สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ทาง www.facebook.com/wetandwildfestival

BOOK

YOUR MONEY OR YOUR LIFE เงินหรือชีวิต issue 544 25 JUN 2018

คุณเคยถามตัวเองไหมว่า ถ้าหยุดงานได้ 1 ปีโดยยังมีคา่ จ้าง คุณจะใช้เวลาอย่างไร หากถามต่อไป อีกว่า แล้วคุณได้ใช้เวลากับเพือ่ นและครอบครัวได้มากอย่างทีค่ วรหรือยัง แล้วหากคุณถูกปลดจากงาน คุณจะเห็นว่าเป็นโอกาสอันดีหรือไม่ จริงๆ แล้วคุณไม่ได้มปี ญ ั หาทางการเงินใช่ไหมล่ะ ส่วนงานทีค่ ณ ุ ท�าอยู่ สะท้อนถึงสิง่ ทีค่ ณ ุ ให้คณ ุ ค่าหรือเปล่า และสุดท้ายคุณคิดว่าชีวติ ของคุณบริบรู ณ์พร้อมแล้วหรือยัง ทุกสิง่ ทุกอย่างในชีวติ รวมกันได้อย่างลงตัวแล้วหรือยัง หากยังตอบไม่ได้ โจ โดมิงเกซ และ วิกกี โรบิน ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ จะพาคุณไปสู่คา� ตอบต่างๆ ให้เอง (ส�านักพิมพ์ openbooks / ราคา 535 บาท)

MAGAZINE LONELY PLANET THAILAND

Cartoon Network Amazone สวนน�้ำขนำดใหญ่ ตั้งอยู่บนถนนสุขุมวิท ต�ำบลนำจอมเทียน อ�ำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ภำยในประกอบไปด้วยสระว่ำยน�้ำขนำดยักษ์ และเครื่องเล่นกว่ำ 150 ชนิด ซึ่งมีระดับควำมหวำดเสียวตั้งแต่เล็กๆ เด็กเล่นได้ ไปจนถึงเลเวลที่ผู้ใหญ่หลำยๆ คนกรีดร้องออกมำดังๆ

WET&WILD FESTIVAL 2018 #TGIR

THE FIRST PURGEU

LAZERFACE PRESENTS

นิ ต ยสารส� า หรั บ คนรั ก การท่องเทีย่ วฉบับเดือนมิถนุ ายนกรกฎาคม 2561 ที่ ม าในธี ม ท่องเทีย่ วนิวยอร์ก ทีจ่ ดั เต็มทัง้ กิน ดื่ ม เที่ ย ว ท� า กิ จ กรรมต่ า งๆ ในมหานครนิวยอร์กแบบถึงแก่น ตัง้ แต่ยอดตึกบนฟ้าสูร่ ถไฟใต้ดนิ เรือ่ งราวของ 10 เมืองรองของยุโรป ในสไตล์ City Break ท่องเมือง ระบื อ นามแห่ ง โมร็ อ กโก ผ่ า น สายตาและมุมมองอันลึกซึ้งของ นักประพันธ์ชาวอังกฤษ ส�ารวจ วัฒนธรรมแดนมังกรของฮ่องกง ที่มีความโบราณและทันสมัยใน เกาะเดียวกัน ส่วนอีกไฮไลต์ในเล่ม ทีพ่ ลาดไม่ได้คอื เรือ่ งราวในเมือง เล็กๆ อย่างจังหวัดล�าพูนที่ก�าลัง เผยเสน่ห์ให้โลกภายนอกได้เห็น


17 PRODUCT

GUMSHOE บ ริษัท Gumdrop มีไอเดียเจ๋งๆ ในการก�าจัดซากหมากฝรั่งในกรุง อัมสเตอร์ดมั ประเทศเนเธอร์แลนด์ ด้วยการจับมือกับ Explicit Wear แบรนด์ รองเท้า และองค์กรการตลาด I amsterdam พลิกขยะทีไ่ ม่มคี า่ นีใ้ ห้เป็นโอกาส ด้วยการน�าเอาเศษหมากฝรั่งที่พบในเมืองราว 20% มาเป็นหนึ่งในวัสดุ ผ ลิตรองเท้า ส่วนพื้นรองเท้าจะใช้เศษหมากฝรั่งประมาณ 1 กิโลกรัมต่อ รองเท้า 4 คู่ แล้วเอามาประกอบเป็นรองเท้าหมากฝรั่งที่ใช้งานได้จริง โดยมี ให้เลือก 2 สีคอื ชมพู และด�า-แดง ราคา 49.95 ยูโร หรือประมาณ 1,900 บาท สั่งซื้อได้ท่ี www.gumshoe.amsterdam/?ref=producthunt

COLLECTION

TUMI : MARIELLA ชวนคุณมาเสริมลุกส์สาวอ่อนโยน แต่แฝงด้วยความมั่นใจ ด้วย Mariella คอลเล็กชันกระเป๋าใหม่ประจ�าฤดูใบไม้ผลิปี 2018 จาก Tumi แบรนด์กระเป๋าและ แอ็กเซสซอรีระดับพรีเมียมจากอเมริกา ซึ่งได้แรงบันดาลใจมาจากความงดงาม ของภูมิทศั น์ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประกอบไปด้วยกระเป๋าถือ, กระเป๋าเป้สะพายหลัง และกระเป๋าสะพายข้าง ในสี Black และ Blush ผลิตจากวัสดุหนังชั้นเยี่ยม พร้อม ตัดเย็บและประกอบด้วยมือเพือ่ เก็บรายละเอียดเล็กน้อยได้ดที สี่ ดุ เป็นเจ้าของได้แล้ว วันนี้ ที่ร้าน Tumi ทุกสาขา หรือ www.tumi.co.th

C

M

Y

CM

EXHIBITION

MY

CY

LIFE ALONG THE RIVER

CMY

K

จริงๆ แล้ววิถีชีวิตของคนไทยในอดีตจะคุ้นเคยกับสายน�า้ แต่เมื่อกาลเวลาและ วิถีเปลี่ยนไป ท�าให้ผู้คนถอยห่างจากความคุ้นชินนั้นๆ วันนี้ วรสันต์ สุภาพ ศิลปินที่ มากด้วยทักษะและผีมือ ผ่านการแสดงงานกลุ่มและเดี่ยวมากมาย ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ได้นา� เรื่องราวนั้นกลับมาสู่สายตาคนไทยอีกครั้ง อาทิ ภาพเรือเอี้ยมจุ๊น ทีล่ อ่ งลอยบนผิวแม่นา�้ เจ้าพระยา ภาพหญิงสาวอาบน�า้ บนเรือริมแม่นา�้ ผ่านภาพจิตรกรรม อันเป็นเอกลักษณ์ของเขามากว่า 30 ปี นิทรรศการจะจัดขึน้ ตัง้ แต่วนั นีถ้ งึ 28 กรกฎาคม 2561 ทีน่ มั เบอร์วนั แกลเลอรี ซ.สีลม 21 รายละเอียดเพิม่ เติมโทร. 08-3445-8333, 0-26302523

EVENT

SERIES

A DAY ZINE'S E XHIBITION ‘MAKE A ZINE’ กลับมาอีกครั้งกับงานหนังสือท�ามือ หรือ Zine ดีๆ จาก ชาว a day โดยความพิเศษของปีนคี้ อื ไม่มโี ซนเวิรก์ ช็อปสอนท�ามือ อีกต่อไป แต่จะเปิดทุกพืน้ ทีใ่ ห้กลายเป็นนิทรรศการจัดแสดงซีน ภายใต้ธมี ExtraOrdinary ชวนทุกคนมาร่วมกันแบ่งปันเรือ่ งราวพิเศษ ในความธรรมดาที่ พ บเจอจากสิ่ ง รอบตั ว และการเดิ น ทาง หากใครไม่ถนัดท�าซีนแต่ชอบสะสมก็มตี ลาดนัดขายซีนให้เดินช้อป แล้วมาเจอกันวันที่ 28 กรกฎาคม 2561 เวลา 14.00-20.00 น. ที่ The Jam Factory สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www. facebook.com/adaymagazine

ORANGE IS THE NEW BLACK SS6 Orange is the New Black ซีรสี ท์ เี่ ล่าเรือ่ งเกีย่ วกับชีวติ ในคุก ของ ไพเพอร์ แชปแมน ที่ถูกจับข้อหาสมรู้ร่วมคิดกับ อเล็กซ์ วอส แฟนสาวลักลอบขนเงินค้ายา หลังจากนัน้ อเล็กซ์โดนจับข้อหา ค้ายาข้ามชาติ และมีชอื่ ไพเพอร์อยูใ่ นรายชือ่ ของผูร้ ว่ มขบวนการ ด้วย ท�าให้จากชีวิตที่เคยสงบสุขต้องมาเผชิญกับชะตากรรม ในเรือนจ�าที่แสนวุ่นวายมาแล้วถึง 5 ซีซัน หากใครชอบซีรีส์ ทีส่ นุก ครบรส มีเรือ่ งราวใหม่ๆ มาให้ตนื่ เต้นตลอดเวลา Orange is the New Black ออกอากาศซีซนั ล่าสุดนีใ้ นวันที่ 27 กรกฎาคม 2561 ทาง Netffllflix


a day BULLETIN

THEY SAID เรื่อง : ชยพล ทองสวัสดิ์, มณิสร สุดประเสริฐ ภาพ : ธนิศร วงษ์สุนทร

B5 NOW 15 วันที่ 8 กันยายน 2561 ณ อิมแพ็ค อารีน่า เมืองทองธานี บัตรราคา 1,500 / 2,000 / 2,500 / 2,800 / 3,200 และ 3,500 บาท ซื้อบัตรที่ไทยทิคเก็ตเมเจอร์ทุกสาขา โทร. 0-2262-3838

FRIENDS WILL BE

FRIE 18

ย้อนกลับไปเมื่อ 15 ปีก่อน เรารู้จักกับ B5 ซึ่งเป็นโปรเจ็กต์พิเศษที่ก่อตั้งขึ้นโดยเจ้าพ่อ เพลงรักอย่าง บอย โกสิยพงษ์ เพื่อแนะน�าศิลปินหน้าใหม่ของค่ายเบเกอรี่มิวสิคในขณะนั้น อย่าง ‘คิว’ - สุวีระ บุญรอด, ‘เบน’ - ชลาทิศ ตันติวุฒิ, มาเรียม เกรย์, ‘โต๋’ - ศักดิ์สิทธิ์ เวชสุภาพร และ ‘เค้ก’ - อุทัย ปุญญมันต์ ก่อนที่ B5 จะมีผลงานอัลบั้ม Event และประสบ ความส�าเร็จในหมูค ่ นฟังเพลงอย่างมาก อีกทัง ้ ยังสร้างชือ ่ ให้กบ ั สมาชิกทัง ้ 5 คน ให้กลายเป็น ศิลปินและคนบันเทิงที่มีความสามารถประดับวงการภายหลัง แม้ B5 จะเป็นเพียงโปรเจ็กต์ ชั่วคราว แต่ดูเหมือนว่าความรักในการร้องเพลงและมิตรภาพที่แน่นแฟ้นของสมาชิกทุกคน จะท�าให้พวกเขาคิดถึงการกลับมาอยู่เสมอ พร้อมกับเสียงเรียกร้องจากแฟนเพลงที่อยาก เห็นพวกเขากลับมารวมตัวกันอีกครั้ง

​Event​แรก... เมื่อ 15 ปีก่อน ในขณะที่สมาชิก B5 แต่ละคนยังคงอยูใ่ นวัยเรียนช่วงมหาวิทยาลัย เบนและเค้ก เป็นเพือ่ นร่วมวงโมโนโทน โดยเบนได้เริม่ เข้ามามีผลงานเพลง ในฐานะศิลปินเดี่ยวของเบเกอรี่แล้ว ส่วนคิวก็ก�าลังเริ่มต้น วงฟลัวร์ มาเรียม ผูห้ ญิงหนึง่ เดียวของวง ก�าลังเรียนทางด้าน ดนตรีที่เมืองนอก และได้เริ่มเข้ามาเป็นคอรัสให้กับศิลปิน ในค่าย ส่วนโต๋เองก็ก�าลังเรียนทางด้านธุรกิจ และได้เริ่ม เข้ามาท�างานอยูห่ อ้ งอัดในช่วงที่ บอย โกสิยพงษ์ แต่งเพลง ซึ่ง ภายหลัง จากคอนเสิร ์ ต Million Ways to Love ที่ B5 ได้ขึ้นแสดงเป็นครั้งแรกในชีวิต และอัลบั้ม Event ก็เป็น การสร้างชื่อให้แต่ละคนเริ่มเป็นที่รู้จกั ในกลุ่มแฟนเพลง

เรียนรูท้ ศิ ทางของตัวเองในการร้องและเล่น บวกกับความเป็น เพือ่ นสนิทกัน การท�างานรอบนีจ้ งึ ถูกระดมสมองด้วยไอเดีย อย่างสนุกสนานและเข้มข้น ทัง้ ในภาคของดนตรีทมี่ คี วามซับซ้อน หวือหวามากขึน้ รวมไปถึงเซอร์ไพรส์ในการฉีกกฎ ภาพปกติของ B5 ทีค่ นจะชินกับเปียโนและเสียงร้อง แต่รอบนี้ จะมีการใช้ซาวนด์อเิ ล็กทรอนิกส์เพิม่ เข้าไปด้วยในบางเพลง และในภาคของการร้ อ งที่ แ ต่ ล ะคนงั ด เอกลั ก ษณ์ แ ละ ความสามารถในการร้อง มาร่วมออกแบบไลน์ประสาน ที่น่าสนใจ ที่ส�าคัญ การได้โปรดิวเซอร์คู่ใจอย่าง ‘ไก่’ - สุธี แสงเสรีชน เข้ามาช่วยดูแลการผลิตภาพรวมทัง้ หมดของอัลบัม้ ก็ยงิ่ ท�าให้การกลับมารอบนีข้ อง B5 กลมกล่อมอย่างถึงทีส่ ดุ

​จดุ เปลีย่ น​ความรักในเสียงดนตรี​และความฝัน…​ จุดเปลี่ยนอีกครั้งเริ่มต้นหลังจากจบโปรเจ็กต์ B5 สมาชิก แต่ละคนยังคงเดินบนเส้นทางดนตรี โดยเฉพาะเบนกับโต๋ ที่มีอัลบั้มเดี่ยว และมีผลงานในวงการบันเทิงอยู่ตลอด ส่วนเค้กเองก็มีผลงานในฐานะศิลปินเดี่ยวก่อนที่จะเลือก ไปเรีย นต่ อที่อ อสเตรเลีย สวิต เซอร์ แ ลนด์ และฝรั่ง เศส แล้วก็กลับมาเปิดร้าน Loaf Bakery & Cafeé ที่พทั ยา คิวเอง ก็กลับไปท�าอัลบัม้ Vanilla กับวงฟลัวร์ มีแค่มาเรียมทีเ่ ลิกท�า ดนตรีไปพักหนึ่ง เพื่อกลับไปเรียนต่อให้จบและใช้ชีวิต ที่ต่างประเทศ

​รื้อฟื้นความทรงจ�าในสิ่งที่เป็น... พอกลับมาท�า เพลงกับกลุม่ B5 ก็เหมือนวันทีแ่ สนสนุกกลับมาอีกครัง้ ทัง้ เวลา ท�างาน และเวลาใช้ชวี ิตอยู่ด้วยกัน คาแร็กเตอร์ที่โดดเด่น ของแต่ละคนที่หาจากกลุ่มอื่นไม่ได้คือความสุข B5 เป็นที่ ทีท่ กุ คนรูส้ กึ ว่าโชคดีทไี่ ด้มาอยู่ สิง่ ส�าคัญคือการไม่ตอ้ งคิดเยอะ แต่ใช้ความรู้สึกในการท�างาน การอยู่กับวงหรือกลุ่มอื่น อาจจะต้องคิดค�านึงถึงการขายเพลงหรือจ�านวนยอดวิว แต่ B5 เป็ น ความคิดที่เ หมือ นไม่ ไ ด้ คิดแต่ ใ ช้ ความรู ้ สึก มากกว่า B5 คือความเอ็นเตอร์เทน B5 ไม่ใช่วงอะแคปเปลา ที่มาถึงแล้วต้องร้องให้เข้ากัน แต่ B5 คือเสียงทั้ง 5 เสียง ที่ชัดในตัวเองและพร้อมจะประสานเกี่ยวไปกับเสียงอื่นๆ B5 เหมือนชีวติ ประจ�าวันทีแ่ ต่ละคนมาร่วมร้องเพลงแต่ไม่ได้ มาท�างาน มันคือความเหนื่อยที่เป็นสุขซึ่งมาจากการได้ เคลื่อนไหว ได้ใช้พลัง ไม่ใช่การเหนื่อยใจ ไม่ได้ต้องหวังว่า ต้องท�าเพือ่ เงินหรือว่ายอดวิว แต่เป็นท�าด้วยความสุขล้วนๆ

issue 544 25 JUN 2018

มิตรภาพทีไ่ ม่ใช่แค่ชวั่ คราว...​แม้ทแี รก B5 จะเป็น เพียงแค่โปรเจ็กต์ชวั่ คราว แต่ดว้ ยความทีแ่ ต่ละคนมีคาแร็กเตอร์ ทีแ่ ตกต่างกัน เมือ่ มารวมตัวกันก็กลับกลายเป็นเคมีทลี่ งตัว ทัง้ วัยทีใ่ กล้เคียงกัน รสนิยมการฟังเพลงทีใ่ กล้กนั เป็นนักดนตรี และนักร้องเหมือนกัน รวมไปถึงการเริ่มต้นมาพร้อมๆ กัน ก็ทา� ให้แม้จะจบโปรเจ็กต์ B5 ไปแล้ว แต่ทกุ คนก็ยงั คงติดต่อ พบเจอกันอยู่เสมอ ที่ส�าคัญคือการได้พูดคุยกันอยู่ตลอด ถึงการกลับมารวมตัวในบรรยากาศของ B5 อีกครัง้ แต่กย็ งั ไม่เคยเกิดขึน้ เสียทีเพราะเป็นการนัดกันเองอย่างไม่เป็นทางการ แต่มจี ดุ หนึง่ คือเบนและโต๋ สองสมาชิกทีม่ โี อกาสได้พบเจอ ผูใ้ หญ่ในวงการอยูบ่ อ่ ยๆ ได้เกริน่ ถึงการกลับมารวมตัวไว้บา้ ง จนกระทัง่ เวลาผ่านไป BEC-Tero ซึง่ เห็นศักยภาพ และเห็นว่า ครบรอบ 15 ปีพอดี จึงได้เข้ามาเป็นตัวกลางในการประสานงาน ให้ B5 กลับมาอีกครั้ง ​การกลับมาที่กลมกล่อมและสร้างสรรค์ยิ่งกว่า เดิม... การกลับมาของ B5 ในคราวนีใ้ ช้เวลาบ่มทีค่ อ่ นข้างนาน และด้วยความที่ช่วงเวลาที่ผ่านมานั้นแต่ละคนเติบโตและ

​สง่ ต่อความสุขสูค่ อนเสิรต์ ใหญ่...​ทุกสิง่ ทุกอย่าง ทั้งในเรื่องบทเพลง การร้องเพลง พาไปสู่การได้พบกัน ทัง้ การได้เจอแฟนคลับ B5 เมือ่ 15 ปีทแี่ ล้วทีร่ อการกลับมา ของพวกเขา ทั้งยังเป็นการกลับมาเล่าเรื่องตลอด 15 ปี ที่ผ่านมาของแต่ละคน และเป็นการเชื่อมต่อให้เด็กและ คนฟังเพลงรุ่นใหม่ที่ไม่รู้จักว่า B5 คือใครได้รู้จัก รวมถึง เป็นการส่งต่อให้คนฟังได้รบั ความรูส้ กึ ทีเ่ ต็มไปด้วยความสุข สิ่ ง เหล่ า นี้ จ ะได้ เ ห็ น ได้ ฟ ั ง ในคอนเสิ ร ์ ต B5 NOW 15 ซึง่ เป็นการเล่าเรือ่ งผ่านเสียง และดนตรี ให้คนเข้าใจว่าเมือ่ ทัง้ 5 คนรวมกันแล้วจะกลายเป็นสิ่งนี้ สิ่งที่เรียกว่า B5


ENDS 19


a day bulletin

SELECTED

20

เรื่อง : เจลดา ภูพนานุสรณ์

!

02

01

Hey, Yo u Hey, Yo u Hey, Yo u

03

!

! 04

05

06

13 10

09 07

14

C

M

08

Y

CM

MY

CY

CMY

K

11 12

15

H

PROCRASTINATOR

ou ! ,y Y u ! e , Yo ey You ! , ey

H

u! y, Yo e H

H

14

issue 544

ในหนึง ่ สัปดาห์ เชือ ่ ว่ามีอย่างน้อยหนึง ่ วันทีค ่ ณ ุ จะรูส ้ ก ึ ‘ขีเ้ กียจ’ จนอยากจะปล่อยตัวปล่อยใจให้ลอ ่ งลอยออกจากอะไรเดิมๆ แต่เมือ ่ หมดวัน คุณก็อดไม่ได้ทจี่ ะรูส ้ ก ึ ไม่ดก ี บ ั ความขีเ้ กียจนัน ้ รูไ้ หมว่าการทีค ่ ณ ุ อนุญาตให้ตวั เองขีเ้ กียจบ้าง มันก็ไม่ได้แย่เสมอไป หรอกนะ อย่างน้อยมันก็ทา� ให้คณ ุ มีพลังทีจ่ ะต่อสูก ้ บ ั สิง ่ ต่างๆ ในวันพรุง ่ นีไ้ ด้งา่ ยขึน ้ เราจึงขอแนะน�าสิง ่ ของทีจ่ ะช่วยให้คณ ุ ดืม ่ ด�า่ กับความขีเ้ กียจของตัวเองได้เต็มที่ แต่อย่าลืมละว่าคุณไม่สามารถขีเ้ กียจได้ตลอดไป

25 JUN 2018

01 Uniqlo - Women Cropped Crew Neck Short Sleeve T ราคา 390 บาท 02 Zara - Multicoloured Printed T Shirt ราคา 790 บาท 03 HomePro - ผ้าห่ม Home Living Style Vital Brown ราคา 590 บาท 04 Muji - หมอนรองคอ ราคา 250 บาท 05 Turata - Air Vent Mount Magnet Mobile Phone Holder ราคา $16.99 06 Miniso - Bluetooth Speaker ราคา $79.90 07 Poplin - Charleston Tailored Silk Shirt Teal Green ราคา £150.00 08 Poplin - Charleston Silk PJ Trouser Teal Green ราคา £135.00 09 Uniqlo - Women Belted Linen Cotton Wide Pants ราคา 990 บาท 10 Zara - Loose-Fitting Wrap Jumpsuit ราคา 2,590 บาท 11 Sock Club - Capstone Charcoal ราคา $10.00 12 Fortnight - Ivy Classic Cut-Out Slip ราคา $219 13 SB Furniture - เก้าอี้พก ั ผ่อน Zixar ราคา 5,900 บาท 14 Ikea - ปลอกหมอนอิง GURLI ราคา 149 บาท 15 Pull&Bear - Bermuda Shorts with an Elastic Waistband ราคา 590 บาท



M 26

issue 522

TH 29

F 30

SA 01

S

GERMAN FILM WEEK 2018

VEIN/VAIN

SIAM OMGS!

HOME

TRASHER

BEYOND THE AIR WE BREATHE

‘ เ ท ศ ก า ล สั ป ด า ห ์ ภาพยนตร์ เ ยอรมั น ประจ�าปี 2561’ น�าเสนอ สุดยอดภาพยนตร์จาก ผู ้ ส ร ้ า ง ภ า พ ย น ต ร ์ เยอรมันมากมายซึง่ ล้วน ได้ รั บ รางวั ล การั น ตี คุณภาพ อาทิ In the Fade, Western, Transit ฯลฯ วันนีถ้ งึ 1 กรกฎาคม 2561 ติดตามรายละเอียด รอบฉายและสถานที่ ฉายที่ www.goethe.de/ ins/th

นิทรรศการ ‘Vein/Vain’ โดย ปัน๋ ดริสา หรือ Riety การแสวงหาและท� า ความเข้าใจความงาม ของมนุ ษ ย์ ใ นแง่ มุ ม ใหม่ๆ ผ่านผลงานศิลปะ ซึง่ ใช้เลือดมนุษย์มาผสม กับน�า้ แล้วน�าไปวาดรูป เลือดนัน้ จะปรากฏเฉดสี ต่ า งๆ คล้ า ยลั ก ษณะ สีผิวของเจ้าของเลือด ทีม่ าเป็นนางแบบให้วาด วั น นี้ ถึ ง 30 มิ ถุ น ายน 2561 ณ Daydream Beliver ซ.พหลโยธิน 12

โปรโมชันสุดเอ็กซ์คลูซฟี ‘Siam OMGs!’ ลด กระหน�า่ แบบคว้าได้คว้า จริงๆ ด้วยส่วนลดสูงสุด ถึง 90% และยังมาพร้อม สินค้า 1 Price ทัง้ ร้านค้า เสือ้ ผ้า สินค้าแฟชัน่ กีฬา และเครือ่ งส�าอาง วันนีถ้ งึ 1 กรกฎาคม 2561 ณ สยามพารากอน สยามเซ็นเตอร์ และสยาม ดิสคัฟเวอรี่ พิเศษ! ช้อป ครบ 10,000 บาท คืน ก�าไรด้วย Siam Gift Card มูลค่าสูงสุด 2,000 บาท

ละครเวที ก ารกุ ศ ล ‘Home’ เรือ่ งราวของเอม กับชีวติ ในบ้านหลังใหม่ ที่ พ บว่ า ไม่ ไ ด้ มี เ พี ย ง ครอบครัวของเธออาศัย อยู่ เจ้าของบ้านคนเก่า ยังคงวนเวียนอยูใ่ นบ้าน หลั ง นี้ เมื่ อ วิ ญ ญาณ มือใหม่เริม่ หลอกหลอน เรือ่ งราวทัง้ หมดจึงเริม่ ต้น ขึน้ วันนีถ้ งึ 1 กรกฎาคม 2561 ณ หอประชุมอารี วัลยะเสวี ติดตามรอบ การแสดงและจ�าหน่าย บัตรที่ Ticketmelon.com

ปาร์ตปี้ ระจ�าเดือนทีจ่ ะ ชวนเพือ่ นตุด๊ ชะนีมาดิน้ ให้พล่าน ‘Trasher : Hip Hop Chanee Riri Beyonce Hey Boy What’s up?’ นอกจากธีมฮิปฮอป ต้อนรับกระแสทีก่ า� ลังมา ยังผสมผสานความตุ๊ด ชะนีด้วยเพลงของสอง แม่ RiRi และ Beyonce เข้ามาด้วย วันนี้ เวลา 19.00 น. ณ จีเอ็มเอ็ม ไลฟ์เฮาส์ ชัน้ 8 เซ็นทรัล เวิลด์ จ�าหน่ายบัตรที่ Ticketmelon.com

นิทรรศการ ‘Beyond the Air We Breathe: Addressing Causes and Effects of Climate Change’ จัดแสดงภาพถ่ายของ ช่างภาพแนวสิง่ แวดล้อม ทีม่ ชี อื่ เสียงของโลก 80 ท่าน เพือ่ ทีจ่ ะกระตุน้ ให้ เราทุกคนตระหนักและ ใส่ใจกับการเปลีย่ นแปลง ทางภูมอิ ากาศทีค่ บื คลาน เข้ามา วันนีถ้ งึ 2 กันยายน 2561 ณ หอศิลป์กรุงเทพฯ (เว้นวันจันทร์)

22 JAN 2018

จุดแจกนิตยสาร a day BULLETIN เฉพาะสถานีรถไฟฟ้า BTS ทุกวันจันทร์ เวลา 17.30 น. เป็นต้นไป (แจกให้ผู้รับได้คนละ 1 ฉบับ)

BTS อารีย์

เพล

ินจิต

BTS อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

BTS

WHERE THE CONVERSATIONS BEGIN

adaybulletin

BTS หมอชิต

ชิดล

FIND US

นิทรรศการ ‘ลึกลงไปใน หุ่นนิ่ง โลก และชีวิต’ โดย ภัทรกร สิงห์ทอง ค้นหาสิง่ ทีเ่ ป็นความจริง ซึง่ แทรกกายอยูร่ อบตัว โดยใช้การวาดภาพดรออิง้ เป็นวิธศี กึ ษาเรียนรู้ และ แปรเปลี่ยนมันออกมา เป็นงานศิลปะที่พร้อม ให้ผคู้ นได้รว่ มสัมผัสกับ บรรยากาศของหุน่ นิง่ ใน อีกมุมมองหนึง่ วันนีถ้ งึ 29 มิถนุ ายน 2561 ณ น�าทองแกลเลอรี ซ.อารีย์ 5

W 28

BTS

DEEPER IN STILL LIFE-WORLDLIFE

T 27

สยา ม

25

BTS

a day BULLETIN

22

CALENDAR

BTS อโศก BTS ศาลาแดง

BTS พร้อมพงษ์

BTS ช่องนนทรี BTS สะพานตากสิน

BTS อ่อนนุช


BULLETIN BOARD

23

อัพเดตแวดวงข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจในรอบสัปดาห์ KINGKAN 6th years Anniversary Celebration ​ครบรอบ​6​ปี​แบรนด์​KINGKAN​ ดีไซเนอร์​‘มีม’ี่ ​-​กิง่ กานต์​สลากรธนวัฒน์​ พาเหล่าแฟนๆ​KINGKAN​ยกทัพไปปาร์ตี้ สุดหรูบนเรือยอชต์​ และตากอากาศที่ โรงแรม​The​Naka​Island,​A​luxury​ collection​resort​&​spa​ท่ามกลางเหล่า เซเลบริตี้​อาทิ​ปิยวดี​มาลีนนท์,​ปาวา​ นาคาศัย,​พิมพรรณ-พิมละออ​โภไคยอุดม,​ วรรณพร​โปษยานนท์ , ​ไดอาน่ า​ จงจินตนาการ​และ​จิตติรัตน์​อวดโฉม คอลเล็กชันพิเศษครบรอบ​6​ปี​KINGKAN​ บนเกาะนาคาใหญ่​2​คืน​3​วัน​อย่าง สนุกสนาน​โดยกิง่ กานต์ให้นยิ ามความเป็นผูห้ ญิง​KINGKAN​ในยุค​6​ขวบนีว้ า่ ​ เราเป็นผู้หญิงสายสตรอง​หรือ​Classy​ with​Attiude​นั่นเอง C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

Noble Around Ari กวาด ยอดขายกว่ า 80% ภายใน 2 ชัว่ โมง

สมาคมฟินเทคแห่ง ประเทศไทยร่วมเปิดมุมมอง การลงทุนยุคดิจท ิ ล ั

T oyotsu Japan Festival 2018

​โนเบิ ล ฯ​ ปิ ด การขาย​ Noble​ Around​Ari​โครงการคอนโดมิเนียมกลาง เมืองแห่งใหม่ลา่ สุด​โดดเด่นด้วยศักยภาพ ของท� า เลที่ ตั้ ง ใจกลาง​‘ย่ า นอารี ย ์ ’​ ประสบความส�าเร็จในการปิดการขาย พรีเซลได้กว่า​80%​ภายในเวลาเพียง​ 2​ชั่ ว โมง​ศิ ร ะ​อุ ด ล​ผู ้ ช ่ ว ยกรรมการผู้จัดการ​บริษัท​โนเบิลดีเวลลอปเมนท์ จ�ากัด​(มหาชน)​เปิดเผยว่า​เป็นการสร้าง ปรากฏการณ์ความส�าเร็จอย่างต่อเนื่อง จากการประกาศ​Sold​Out​โครงการ โนเบิล​นิว​แจ้งวัฒนะ​ที่เปิดพรีเซลเมื่อ ต้นปีทผี่ า่ นมา​โครงการ​Noble​Around​Ari​​ นับเป็นโครงการที​่ 5​ของโนเบิลฯ​ทีเ่ ปิดตัว ในย่ า นนี้ ​ โดยตั้ ง อยู ่ บ นสุ ด ยอดท� า เล ศักยภาพของย่านอารีย​์ ​มีครบทุกปัจจัย การใช้ชวี ติ ท่ามกลางสิง่ อ�านวยความสะดวก ที่น่าอยู่​​

​กรณ์​ จาติกวณิช​ประธานสมาคม ฟินเทคแห่งประเทศไทย​ และประธาน หลักสูตร,​ดร.การดี​เลียวไพโรจน์​ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร​บริษทั ​ไอโครา​จ�ากัด​และ​ นิลทิตา​ เลิศเรืองศุภกุล​ ผู้อ�านวยการ หลั ก สู ต ร​จั ด งานปฐมนิ เ ทศและเปิ ด หลักสูตร​Cryptoasset​Revolution​[CAR]​ หรือ​คาร์​หลักสูตรให้ความรูค้ วามเข้าใจ ที่ถูกต้องด้านการลงทุน​Cryptocurrency​ และการระดมทุนผ่านโทเค็นดิจทิ ลั ​(ICO​)​ แบบครบวงจรให้แก่นกั ลงทุน​ผูป้ ระกอบการ​ และบุคลากรในสถาบันต่างๆ​เพื่อเป็น พืน้ ฐานในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจประเทศ ให้กา้ วทันเศรษฐกิจโลก​โดยวิทยากรผูม้ ี ประสบการณ์ตรงด้านการลงทุนใน​Crypto​ Economy​ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ​ อย่างเป็นทางการ​ณ​ห้องแกรนด์บอลรูม​ โรงแรมแกรนด์​ไฮแอท​เอราวัณ​กรุงเทพฯ

​บริษัท​โตโยต้า​ทูโช​(ไทยแลนด์)​ จ�ากัด​ตอกย�า้ ผูน้ า� เทรดดิง้ เฮาส์รายใหญ่ ในประเทศไทย​เตรียมจัดงาน​Toyotsu​ Japan​Festival​2018​เทศกาลสินค้าและ อาหารจากประเทศญี่ปุ่นครั้งยิ่งใหญ่ เพือ่ กระตุน้ เศรษฐกิจ​คาดยอดเงินสะพัด​ 30​ล้านบาท​และพร้อมแถลงการบริหาร จั ด การสนามบิ น เซนได​ ธุ ร กิ จ ล่ า สุ ด ของโตโยต้า​ทูโช​คอร์ปอร์เรชัน่ ​และเป็น ครั้งแรกที่รัฐบาลญี่ปุ่นให้ภาคเอกชน เข้ า มาบริ ห ารจั ด การ​ โดยงานจั ด ขึ้ น ระหว่างวันที่​29​มิถุนายน-1​กรกฎาคม​ 2561​ เวลา​ 10.00-21.00​ น.​ ณ​ ชั้น​ 5​ รอยัล​ พารากอน​ ฮอลล์​ ศูนย์การค้า สยามพารากอน​ รายละเอียดเพิ่มเติม​ www.facebook.com/ToyotsuJapanFestival


a day BULLETIN

LIFE เรื่องและภาพ : พีรพัฒน์ วิมลรังครัตน์ (ADD CANDID)

24

issue 544 25 JUN 2018


25

MADE IN

INDIA การเดินทางคือการออกไปเรียนรู้ศิลปวั ฒ น ธ ร ร ม ผ่ า น ภ า พ เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ที่ อ ยู่ ใ น ชีวิตจริง และสัมผัสได้ทั้งรูป รส กลิ่น เสียง ซึง ่ ประเทศอินเดียเป็นค�าตอบทีม ่ อ ี รรถรสครบ ทุกประการของเรา “มึ-ไปท�า***อะไรทีอ ่ น ิ เดีย วะครับ?” เสียงจากมิตรรักหลากหลายท่าน ที่ออกปากเตือนเกี่ยวกับการเลือกกินอาหาร ทีน ่ น ั่ “อย่าลืมพกผงคาร์บอนไปด้วยนะ” นีค ่ อ ื ค�าทิ้งท้ายจากมิตรรักท่านหนึ่ง ขอบใจมาก เพื่อนๆ อินเดียเป็นมหาวิทยาลัยแห่งชีวิต การไป เยื อ นอิ น เดี ย ของผมครั้ ง นี้ ถื อ ว่ า เป็ น การไป ครั้งที่ 2.1 (เคยไป 3 ครั้งรวมครั้งนี้) ครั้งแรก ไปท�างาน โดยเป็นแขกบ้านแขกเมืองของเขา ที่นิวเดลี ผมจึงขออนุญาตตัวเองที่จะไม่นับ ครั้งนั้น เพราะผมมองว่าอินเดียไม่ใช่อินเดีย รถไม่ตด ิ เลย (มีการปิดถนน ไม่มผ ี ค ู้ นขวักไขว่) และการเดินทางครั้งนั้นเรียกว่าไปเช้ากลับค�่า ก็ได้ เสมือนการเดินทางในประเทศก็ไม่ปาน ครัง้ ทีส ่ องเดินทางไปเมืองพาราณสี ท�างาน 3 วัน อยูต ่ อ ่ เองอีก 4 วัน รวมทัง ้ สิน ้ 7 วันกับอุณหภูมิ 40-43 องศา ณ เวลานั้น การเดินทางครั้งที่สาม (2.1) เป็นการตัดสินใจอย่างรวดเร็วไม่แพ้ครั้งก่อน เพียง แค่รุ่นน้องในคณะ (สถาปัตยกรรมศาสตร์) ได้เปรยขึน ้ มาบนรถขณะทีพ ่ วกเราก�าลังเดินทาง จากกรุงเทพฯ ไปสัตหีบว่า เดี๋ยวปลายมีนาฯ จะไปดูงานของเลอกอร์บซู เี ย กับ หลุยส์ คาห์น “พี่ไปด้วย” คือที่มาของอินเดีย 2.1 คนโบราณว่าเอาไว้วา่ “อยากฝึกจิตใจ ให้ไป อินเดีย” ผมเห็นด้วยตั้งแต่การไปพาราณสี ปีที่แล้วแล้วครับ อินเดียท�าให้เรามองตัวเอง และเปิดโลกเรียนรู้วัฒนธรรม โดยเริ่มตั้งแต่ บนเครื่องบินสู่ดินแดนมหาภารตะ ในช่วงเดิน เสิร์ฟอาหาร สจวร์ตชุดด�านายหนึ่งเดินมายัง ทีน ่ ง ั่ ผมแล้วพูดว่า “เอาใจช่วยผมด้วยนะครับ” ลงเครื่องยังไม่วายบ๊ายบายให้หนึ่งที อิ น เดี ย เป็ น ประเทศที่ ท� า ให้ เ ราใจเย็ น ขึ้ น มากจริงๆ ถึงแม้อุณหภูมิภายนอกจะร้อนเร่า ควบรวมกับการเดินทางโดยรถยนต์ทท ี่ ก ุ แยก คื อ แยกวั ด ใจ บี บ แตรไม่ โ กรธกั น คนที่ นี่ ยิ้ ม ง่าย และอัธยาศัยดี ไว้มีโอกาสจักไปเยือนอีก หลายคราในหน้าหนาว


a day BULLETIN

26 1. ภาพของฮาวามาฮาล หรือพระราชวังแห่งสายลม ลอดผืนผ้าที่มองจาก ร้านกาแฟบนดาดฟ้าตึก

1

2. สถานีรถไฟอัครา เราต้องไปรอก่อนเวลาออก 5 ชั่วโมง ผมนอนบนชั้นที่ 3 ของตู้นอน ถัดออกไปอีกหนึ่งห้อง (ตั๋วรถไฟจองผ่านเว็บ อยู่ราวๆ 800-900 รูปี หากซื้อบนรถ อยู่ราว 1,250-1,300 รูปี) นึกถึงรถไฟไทยขึ้นมาทันทีทันใด

3. ช่างอินเดียก�าลัง ต่อเติมอาคารบริเวณ ตรงข้ามฮาวามาฮาล

4. เจอส่าหรีสีแสด กระแทกสายตา จึงต้องคว้ากล้องขึ้นมา บันทึกภาพโดยพลัน

2

3

4

issue 544

M A S T E R O F A R C H I T EC T U R E

25 JUN 2018

ย้อนเวลาก่อนการเดินทาง อาจารย์ท่ีปรึกษาของผมตั้งแต่สมัยเรียนคณะสถาปัตย์ได้บอกไว้ว่า ถ้ามีโอกาสได้ไปอินเดีย อย่าลืมหาเวลาไปดูงานของ บัลกฤษณะ โดชี ซึ่งตอนที่คุยกับอาจารย์นั้น รางวัลพริตซ์เกอร์ของปี 2018 ยังไม่ประกาศว่า ใครเป็นผู้ได้รางวัลนี้ ดังนั้น หลังจากนี้งานของโดชีก็จะถูกเพิ่มเข้าไปในตารางทริปเยี่ยมชมสถาปัตยกรรมใหม่ของเรา โดยไม่ให้ก ระทบกั บ ตารางเวลาที่ ไ ด้ ว างเอาไว้ ก่ อ นหน้ า นี้ สุ ด ท้ า ยนี้ ไ ด้ เ ห็ น Tagore Memorial Hall ซึ่ ง ออกแบบโดย บัลกฤษณะ โดชี ในปี ค.ศ. 1966 สัมผัสได้ถงึ ค�าว่า Timeless


27 IIMA (Indian Institute of Management in Ahmedabad) ได้รับการออกแบบโดย หลุยส์ คาห์น ซึ่งมี บัลกฤษณะ โดชี สถาปนิก ชาวอินเดีย ผู้ได้รับรางวัลพริตซ์เกอร์ ประจ�าปี 2018 ร่วมงาน กับ หลุยส์ คาห์น ในโปรเจ็กต์นี้ด้วย


a day BULLETIN

Stepwell ขนาดพอเหมาะ ทีน ่ ก ั ท่องเทีย ่ ว สามารถลงไปสัมผัส พืน ้ ทีใ่ กล้ๆ พระราชวัง แอมเบอร์, ชัยปุระ

คนขายผลไม้ ใกล้เมืองชัยปุระ

1

เยี่ ย มชมงานสถาปั ต ยกรรม Tagore Hall ของ Balkrishna Doshi ผู้ ไ ด้ รั บ รางวั ล พริ ต ซ์ เ กอร์ ประจ�าปี 2018 ณ เมืองอัหม ์ ดาบาด

2

3

issue 544 25 JUN 2018

1. กลุ่มเด็กนักเรียนอินเดีย ที่มาทัศนศึกษา ณ หอดูดาว จันตาร์มันตาร์, ชัยปุระ

2. ร้านอาหารข้างทางระหว่าง การเดินทางจากสนามบิน จัณฑีครห์ไปยังเมืองนิวเดลี

3. ชายคนนีท ้ า� ให้ผมนึกถึง ปาโบล ปีกัสโซ ณ ชานชาลา สถานีรถไฟอัครา


อดีตศาลาว่าการหน้าวัง ภายในป้อมอัครา (โปรดระวังคนขายอาหารกระรอก ณ บริเวณนี)้

ทีจ ่ ด ั ประชุมภายใน Chandigarh Capital Complex ทีอ ่ อกแบบโดยสถาปนิกระดับต�านาน เลอกอร์บซ ู เี ย ณ เมืองจัณฑีครห์


a day BULLETIN

SPACE & TIME เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : ภำสกร ธวัชธำตรี

30

“เมือ ่ ก่อนถ้าเราอยูต ่ า่ งแผนกก็ไม่กล้าทักกัน แต่ตอนนีร้ ส ู้ ก ึ ว่าเราท�าได้ เพราะพืน ้ ทีม ่ น ั เอือ ้ ให้เห็นหน้ากัน รูจ้ ก ั กัน จนการท�างานร่วมกันเป็นเรือ ่ งง่ายขึน ้ มาก” วิลำวัลย์ ศิรม ิ ำนะพงษ์, ศศิพินทุ์ จันทร์ศักดิ์

BREAKING OUT OF THE BOX ส�ำรวจออฟฟิศอำหำรฟำสต์ฟู้ดชื่อดัง ที่ ท ลำยก� ำ แพงในที่ ท� ำ งำนด้ ว ยกำรสร้ ำ ง บรรยำกำศครีเอทีฟ KFC Brand Center Amarin Tower, Phloen Chit Rd., Bangkok Hours : MON-FRI 9.00 AM-6.00 PM

้ กลม เข้ำมำกระแทกใจเรำอย่ำงแรง ในขณะก�ำลังพูดคุย ‘ควำมเคยชินท�ำให้เรำเคยตัว’ ประโยคเด็ดจำกหนังสือชือ ่ ‘อิฐ’ ของนิว กับ วิลำวัลย์ ศิริมำนะพงษ์ Head of Design และ ศศิพินทุ์ จันทร์ศักดิ์ Business Development Director แห่งบริษัท ธุรกิจอำหำรชือ ่ ดัง KFC หลังจำกทีพ ่ วกเขำตัดสินใจทิง ้ ควำมเคยชินไว้เบือ ้ งหลัง ด้วยกำรย้ำยออฟฟิศมำยังสถำนทีใ่ หม่ใจกลำงกรุง พร้อมกับกำรปรับเปลี่ยนบรรยำกำศให้เอื้อต่อกำรคิดไอเดียสดใหม่ และเชื่อมสัมพันธ์ของคนท�ำงำนได้ดีขึ้น issue 544 25 JUN 2018

“ถ้าเราท�างานในสถานทีเ่ ดิมๆ สภาพแวดล้อมเดิมๆ ทุกคนก็จะท�างานออกมาด้วยความเคยชิน ท�าเหมือนเดิม ไม่เกิดการสร้างสรรค์อะไรใหม่” ศศิพนิ ทุเ์ ล่าให้เราฟังในวันที่ head offiffiice ของเคเอฟซีเปลี่ยนบทบาทมาเป็นศูนย์กลางในการบริหารแฟรนไชส์อย่างเต็มตัว ท�าให้ทีมของพวกเขาตัดสินใจย้ายออฟฟิศ พร้อมกับปรับเปลี่ยนวิธีคิดในการท�างานครั้งใหญ่ “เราทลายก�าแพงทุกอย่างออก พื้นที่ท่เี ป็นบล็อก เป็นห้อง เราตัดสินใจเอาออกหมดเลย พนักงานทุกคนจึงไม่มี fiffiixed desk เป็นของตัวเอง แต่จะผลัดเปลี่ยนโต๊ะท�างานไปได้ เรื่อยๆ ทุกวันแล้วแต่ความสะดวก” วิลาวัลย์เสริมขึ้น เพราะเธอเชื่อว่านี่คอื ขั้นแรกในการกระชับความสัมพันธ์ของพนักงานต่างแผนก เพื่อรองรับความต้องการของพนักงานกว่า 100 ชีวิต ภายในออฟฟิศจะประกอบด้วยโซนต่างๆ ที่มีฟังก์ชันแตกต่างกันออกไป ทั้งมุมสงบ ห้องประชุม โซนท� างานแบบชิลๆ มุมพักผ่อน ห้องงีบ ห้องอาบน�้า ห้องปั๊มนมคุณแม่ ล็อกเกอร์ ไปจนถึงโซนที่เอาไว้ออกก�าลังกายอย่างโต๊ะปิงปองและกระสอบทรายส�าหรับต่อยมวย นอกจากนี้ยังมีการเติมกิมมิก น่ารักๆ อย่างการสร้างเฟอร์นเิ จอร์ท่อี อกแบบมาให้หน้าตาเหมือนกับ 11 Spices หรือเครื่องเทศลับ 11 ชนิดที่เอามาผสมกับแป้งส�าหรับคลุกไก่เคเอฟซี เช่น กระเทียม พริก และแม้ว่า สีหลักของแบรนด์จะเป็นสีแดง แต่พวกเขาก็เลือกใช้สีในออฟฟิศเป็นเอิร์ธโทนเสียส่วนใหญ่ เพื่อสร้างความรู้สึกสบายๆ ระหว่างท�างาน “มันเป็นการลดระบบล�าดับชั้นในที่ท�างานด้วยนะ” ศศิพินทุ์ ผู้จัดการระดับสูง บอกเราอย่างเป็นกันเอง “การที่เราได้มานั่งรวมกัน ไม่มีห้องกั้น ท�าให้ลูกน้องกับหัวหน้าใกล้ชิด กันมากขึ้น แล้วเราจะได้ยนิ เสียงที่ส่งมาจากพนักงานทุกคนจริงๆ”


FOODIE

31

เรื่อง : ชยพล ทองสวัสดิ์ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

NALINNA LI OWNER AND FOOD STYLIST OF FOREST BAKE PRANEET CHERDJAREEWATANANUN BAKER AND OWNER OF FOREST BAKE

BABKA

เปิดวันพุธถึงอาทิตย์ 10.30-18.30 น. หรือ จนกว่าขนมปังหมด

ที่ตั้ง : 224/3 ซ.ม้าศึก ถ.สุขุมวิท 22

SWEETNESS LEVEL : 3/5

ด้วยความตัง ้ ใจทีอ ่ ยากหาสูตรขนมปังทีท ่ ง ั้ อร่อยถูกปากคนไทย และมีคาแร็กเตอร์ทเี่ ด่นชัดเป็นตัวชูโรง Babka หรือ บับคา ขนมปังซึง ่ มีตน ้ ก�าเนิดจากคนยิวทีโ่ ดดเด่นด้วย ลวดลายการบิดเกลียวทีก ่ า� ลังโด่งดังในญีป ่ น ุ่ จึงถูกปรับเปลีย ่ นผสมผสานความหวานพอดีจากไส้ดาร์กช็อกโกแลต และราสป์เบอรีสดผสมครีมชีส พร้อมกับแป้งขนมปัง กรอบนอกนุม ่ ในทีใ่ ช้วธ ิ ห ี มักข้ามคืน 24 ชัว่ โมง ก่อนทีจ่ ะอบสดใหม่ในสไตล์ของร้าน ด้วยสูตรจาก ‘ลิน’ - นลินนา ลี และคุณแม่ ประณีต เชิดจารีวฒ ั นานันท์ แห่ง Forest Bake ขนมปังบับคา คือขนมปังทีม ่ ค ี าแร็กเตอร์เด่นในการบิดเป็น เกลียว เราอยากได้ขนมปังทีเ่ ป็นซิกเนเจอร์ทโี่ ดดเด่นของร้าน แต่กต ็ อ ้ งถูกปากคนไทย จึงมีการปรับสูตรจากญีป ่ น ุ่ ในเรือ ่ ง ของรสชาติให้เข้ากับความชอบของคนไทย ขนมปังนี้จะมี ลักษณะกึง่ ขนมปังกึง่ ขนมเค้ก วิธท ี านหลายคนมักเข้าใจผิด ว่าสามารถทานเป็นก้อนเลย แต่จริงๆ แล้วต้องสไลซ์เป็นชิน ้ เหมือนขนมปัง และถ้าสไลซ์ออกมาแล้วจะเห็นข้างในเป็นลาย คล้ายหินอ่อนบิดเกลียวสวยงาม ถ้าได้ทานตอนอบร้อนๆ จะอร่อยมาก

TASTE

INSPIRATION

บาท / ชิน ้

INGREDIENTS

PRICE

185

แป้งขนมปัง, ดาร์กช็อกโกแลต, ราสป์เบอรีสด, ครีมชีส

สัมผัสของเนือ ้ เป็นแบบขนมปังนิม ่ คล้ายขนมปังฮอกไกโด เนือ ่ งจากเป็นขนม ทีเ่ ป็นกึง ่ ขนมปังกึง ่ ขนมเค้ก วิธอ ี บจึงอบให้ขา้ งนอกกรอบ ข้างในนุม ่ ส่วนรส ของไส้ ถ้าเป็นช็อกโกแลต ก็จะมีความขมตามแบบของดาร์กช็อกโกแลต หน่อยๆ แต่จะไม่ได้หวานแบบช็อกโกแลตจริงจัง คนไม่ทานหวานก็สามารถ ทานได้ หรือว่าถ้าเป็นไส้ราสป์เบอรีกม ็ ค ี วามเปรีย ้ วๆ กลมกล่อม มีรสครีมชีส ผสมผสาน ซึ่งไม่ได้หวานจนเลี่ยนเช่นกัน เมื่อสไลซ์เป็นชิ้นแล้วทานจะได้ทั้ง ความนุ่มหอมของขนมปัง และไส้แต่ละรสที่ผสานเข้ากันอย่างพอดี ยิ่งถ้าได้ ทานคู่กับกาแฟสูตรพิเศษของทางร้านสักแก้ว ก็ต้องยอมยกให้มื้อนี้เป็นมื้อ ที่สมบูรณ์แบบสุดๆ


a day BULLETIN

BREATHE IN

32

เรื่องและภาพ :​สีตลา​ชาญวิเศษ,​พชร​สูงเด่น,​getty​images

BREATHE​IN​:​สีตลา​ชาญวิเศษ​ นักเขียน​ และคนท�างานด้านคอนเทนต์​ ที่ผ่านมาท�าวิทยานิพนธ์ปริญญาโทในหัวข้อ​ ‘การจีบกันบนสื่อออนไลน์’​ และเป็นเจ้าของแฟนเพจ​ ‘ธีสิสมุ้งมิ้ง’​ ส่วนเรื่อง ่ งความรักเหมือนเดิม ่ ในเรือ ั เชือ ็ ง ้ ย ึ แม้จะเจ็บมามากแค่ไหน​ทุกวันนีก ่ ย่าท�าเยอะมาก​แต่ถง ่ งทีอ ความรัก​เป็นคนอกหักเก่ง​แห้วเก่ง​เลยมีประสบการณ์มาบอกเล่าเรือ

เรียนรูจ้ ากการเป็น ‘แฟนคลับ’ เพือ ่ เป็น ‘แฟนทีด ่ ’ี

​ตอ ้ งบอกว่าเจ๋งมากเลย​ทีบ ่ า้ นเราเรียกคูร ่ ก ั ด้วยค�าว่า​‘แฟน’​ทีย ่ ม ื มาจากทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า​‘Fanatic’​ทีแ่ ปลว่า​คลัง ่ ไคล้​ อีกทัง ้ ค�าเดียวกันนี้ ยังใช้กับค�าว่า​‘แฟนคลับ’​(Fan​club)​เหตุผลที่บอกว่ามันเจ๋ง​ก็เพราะค�าว่า​‘Fanatic’​และ​‘Fan​club’​นั้นอธิบายลักษณะของความสัมพันธ์แบบแฟน ได้ดีมาก​

เพราะเวลาเราเป็นแฟนใคร​แฟนเราก็ ไม่ต่างกับไอดอลที่เราคลั่งไคล้​โดยมีเราเป็น กองเชียร์ทคี่ อยซัพพอร์ต​เธอไปไหนฉันไปด้วย​ และเอาเข้าจริง​การเป็นแฟนคลับก็ยงั สอนเรือ่ ง การเป็น​‘แฟนที่ด’ี ​ได้อีกด้วย​งั้นมาลองอ่าน กันว่ามีอะไรบ้าง

issue 544 25 JUN 2018

1. ใส่ใจแฟน ​คนที่เป็นแฟนคลับดารานักร้องหรือ ที ม กี ฬ า​สิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ ป็ น เหมื อ นกั น หมดคื อ​ เมื่ อ เป็ น แฟนคลั บ ใคร​ก็ ต ้ อ งติ ด ตามใส่ ใ จ คนโปรดหรือทีมโปรดของเรา​ท�านองเดียวกัน กั บ แฟน​ถ้ า มี แ ฟน​เราก็ ค วรติ ด ตามและ ใส่ใจแฟนไม่ต่างกัน​ ​ท ว่ า ​ส� า หรั บ หลายคนที่ ค บกั บ แฟน มานาน​มักเกิดอาการเฉยๆ​ไม่กระตือรือร้น อยากรู ้ เ รื่ อ งแฟนเหมื อ นสมั ย จี บ กั น ใหม่ ๆ​ หลายคนเลยท�าตัวไม่สนใจแฟนด้วยการไม่ หันหน้ามามองเวลาแฟนพูด​แม้เรื่องนี้ฟังดู เป็นเรือ่ งเล็กน้อย​แต่คณ ุ เชือ่ ไหมว่าเรือ่ งพูดแล้ว ไม่ยอมหันมาฟังเนีย่ ท�าคนทะเลาะกันบ้านแตก มานักต่อนัก​เหมือนกับเวลาครูไปพูดหน้าชัน้ เรียน แล้วไม่มนี กั เรียนตัง้ ใจฟังครูพดู สักคน​ความรูส้ กึ ของคนพูดมันทั้งหงุดหงิด​เสียใจ​และรู้สึกว่า อีกฝ่ายไม่ใส่ใจ​ ​ฉะนัน้ ​ต่อให้คณ ุ ไม่อยากฟังเรือ่ งทีแ่ ฟน

พูด​แต่ชว่ ยหันหน้าไปฟังเขาทีเถอะ​หรือถ้าให้ด​ี ตัง้ ใจฟังเขาพูดสักนิด​เพราะนัน่ เป็นการแสดง ว่าคุณใส่ใจเขา​แล้วการใส่ใจก็ไม่ใช่อะไรอืน่ ไกล​ นอกจากการให้เวลาและสมาธิของเราไปกับ ใครคนหนึง่ ​เพราะสิง่ ทีม่ คี า่ ทีส่ ดุ ของคนเราคือ เวลาและความสนใจ​ถ้าคุณใส่ใจและให้เวลา กับใคร​ นั่นแปลว่าคนคนนั้นมีค่าส�าหรับคุณ​ ลองนึกดูงา่ ยๆ​คนทีไ่ ม่มคี า่ ส�าหรับเรา​ก็คอื คน ที่เราไม่ให้ความสนใจนั่นเอง ​อย่างไรก็ตาม​การเป็นแฟนทีด่ กี ไ็ ม่ควร ใส่ใจมากเกินเหตุจนกลายเป็นการตามแจ​ เพราะอย่าลืมว่าแม้กระทั่งดาราหรือทีมโปรด​ พวกเขาก็ตอ้ งมีเวลาส่วนตัวและมีเวลาทีจ่ ะได้ เป็นตัวของตัวเอง​ถ้าพวกเขาต้องมาสาละวน กับการเอาใจแฟนคลับอย่างเดียว​ คุณคิดว่า พวกเขาจะมีความสุขไหม?​ 2. สนับสนุนแฟน ​ต่อเนื่องจากข้อแรก​ คือถ้าเรารักใคร ชอบใคร​เราก็ควรหวังให้คนนัน้ มีความสุขและ ได้มชี วี ติ ตามความฝันของเขา​ดังนั้น​การเป็น แฟนและแฟนคลับที่ดีต้องรู้ลิมิตว่าแค่ไหน มากไป​แค่ไหนน้อยไป​แค่ไหนคือสนับสนุน​ แค่ไหนคือบงการ​ ​ถัดมาคือ​ ต้องรู้จักเป็นกองเชียร์ที่ด​ี ซึง่ กองเชียร์ทดี่ เี นีย่ ไม่ใช่เฉพาะตอนชนะเท่านัน้ ​

แต่ ใ นเวลาที่ ค นรั ก เราพ่ า ยแพ้ ห รื อ ท้ อ ถอย​ หน้าทีก่ องเชียร์ตอ้ งคอยให้กา� ลังใจ​อยูเ่ คียงข้าง ไม่ทิ้งกัน​ยกตัวอย่างค�าพูดของหลายคนที่ โชคดีมีแฟนน่ารักและแสนดี​ มักพูดคล้ายกัน ว่า​แฟนทีด่ เี ป็นคนทีร่ จู้ กั สรรหาค�าพูดมาท�าให้ จิตใจเบิกบาน​หรือรูว้ ธิ ที า� ให้ความกังวลใจนัน้ คลายลง​พูดง่ายๆ​เป็นที่พักใจที่ท�าให้มีแรง เดินหน้าต่อ ​ส่วนเวลาที่คนรักเราชนะหรือประสบ ความส�าเร็จ​หน้าทีข่ องกองเชียร์คอื มีความสุข ตามไปด้วย​แต่ไม่ใช่การอิจฉา​เหตุผลเพราะ เวลาเราเป็ น แฟนคลั บ หรื อ กองเชี ย ร์ ใ คร​ เราและเขาอยู่ทมี เดียวกันนั่นเอง​ 3. ภักดีต่อแฟน ​ขนึ้ ชือ่ ว่าเป็นแฟนคลับหรือสาวก​ก็ตอ้ ง มีความภักดีหรือซือ่ สัตย์ตอ่ คนโปรดหรือทีมโปรด​ ถ้าหลายใจชอบหลายคนหรือหลายทีม​แบบนี้ จะเรียกว่าแฟนคลับได้อย่างไร​เช่นกันกับแฟน​ การเป็นแฟนทีด่ กี ค็ อื การทีเ่ ราซือ่ สัตย์ตอ่ คนรัก ของเรา ​นอกจากนี้​ ความซื่อสัตย์ยังหมายถึง ความตรงไปตรงมา​การเป็นแฟนและแฟนคลับ ที่ดีไม่ได้หมายถึงการ​‘โอ๋แฟน’​แต่ต้องพร้อม ให้คา� วิจารณ์​ความคิดเห็นทีช่ ว่ ยให้คนรักหรือ ทีมรักเราปรับปรุงเพือ่ ไปสูเ่ ป้าหมายหรือฝันได้

ส�าเร็จ​ ซึ่งข้อนี้ไม่ต่างจากการเป็นเพื่อนที่ด​ี เพือ่ นทีด่ คี อื เพือ่ นทีพ่ ร้อมเป็นหมา​คือกล้าพูด ความจริงเพื่อให้เพื่อนรักได้รู้ตัวและปรับปรุง​ แม้ต้องเสี่ยงต่อความขุ่นเคืองกับเพื่อนก็ตาม ​ฉันใดฉันนั้น​การเป็นแฟนที่ดีหมายถึง การที่เราอินกับใครคนหนึ่งมากๆ​คอยเป็น ก�าลังใจ​คอยสนับสนุน​ซื่อสัตย์​ร่วมยินดีและ ร่วมทุกข์ไปกับเขา​ โดยที่เราไม่ได้บงการเขา​ แต่ปล่อยให้เขาได้ไปสู่เป้าหมายของตัวเอง​ ​ดังนั้น​ ถ้าคุณมีแฟนหรือก�าลังจะได้ เป็ น แฟนใคร​ลองจิ น ตนาการว่ า คุ ณ เป็ น​ ‘หัวหน้าเชียร์ลดี เดอร์’​ของแฟนคุณดู​ บางที คุ ณ อาจพบจุ ด ตรงกลางของการเป็ น แฟน ได้ดีขึ้น​กล่าวคือคุณไม่ใช่ผู้เล่น​ไม่ใช่โค้ช​ ไม่ ใ ช่ ป ระธานสโมสร​แต่ คุ ณ คื อ กองเชี ย ร์ ที่ท�าให้แฟนคุณมีแรงฮึดสู้ต่อ​


33

ที่กล่าวถึงสิทธิที่จะรักและดูแลแมว (หรือไม่รักอะไรเลย) ​“ทุกคนมีสิทธิในการตาย​(หากนั่นไม่ใช่ข้อบังคับ),​สิทธิในการท�าผิดพลาด,​สิทธิที่จะสงสัย,​สิทธิที่จะรัก​และถูกรัก​(หากข้อหลังนั้นไม่ใช่สิ่งจ�าเป็น),​ สิทธิในการมีความสุข,​สิทธิในการที่จะไม่มีความสุข,​สิทธิในการมีศรัทธา,​สิทธิในการเลือกสัญชาติของตนเอง,​สิทธิที่จะเข้าใจ​หรือปฏิเสธที่จะเข้าใจอะไร เลย,​สิทธิที่จะรักและดูแลแมว​(หากแมวไม่ต้องรักและดูแลคุณกลับ)…”

​ฟังดูเหมือนเป็นเรื่องตลกและโกหก​ หากจะบอกว่าข้อความข้างต้นคือบางส่วนของ รัฐธรรมนูญประจ�ารัฐอิสระแห่งหนึง่ ​หากแต่นี่ เป็นข้อความจริง​และรัฐแห่งนี้มีตัวตนอยู่จริง​ ณ​ที่ ตั้ ง ในเมื อ งหลวงวิ ล นี อุ ส ​แห่ ง ประเทศ ลิทัวเนีย​รัฐแห่งนี้มีชื่อว่า​‘อุสซูพิส’​(Užžupis) ทีต่ ามหลักการแล้วนัน้ คือเขตการปกครองพิเศษ ในย่านเมืองเก่า​แต่ในทางปฏิบตั แิ ละความรับรู้ ของผู้คนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่นี้แล้วนั้น​อุสซูพิส คือรัฐอิสระของพวกเขา​ทีม่ รี ฐั ธรรมนูญ​(ข้างต้น)​ เป็นของตนเอง​มีระบอบการปกครอง​รัฐสภา​ รัฐ มนตรี​เป็นของตนเอง​และเรื่อ งราวของ พวกเขาที่ฟังดูเคลือบอุดมการณ์ทานไม่ได้ จนกลายเป็นเรือ่ งตลกของคนทัว่ ไปนัน้ คงไม่ใช่ เรื่องแปลกอะไร​เมื่อได้รู้ว่าอุสซูพิสนั้นก่อตั้ง เมือ่ วันที​่ 1​เมษายน​ค.ศ.​1997​(April​Fool’s​Day)​ จากการพูดคุยกันของศิลปินสองคนในบาร์ แห่งหนึ่งที่ปัจจุบันได้กลายมาเป็น​‘รัฐสบาร์’​ (barliament)​ทีย่ งั คงถูกใช้เป็นพืน้ ทีจ่ ดั กิจกรรม ส�าคัญๆ​ทั้งเลือกตั้ง​แต่งตั้งรัฐมนตรีคนใหม่​ และเป็นสถานที่พบปะกันของผู้คนในเมือง อย่างสม�่าเสมอตั้งแต่วันนั้นจนถึงวันนี้ ​เราเดินข้ามย่านเมืองเก่าของวิลนีอุส มาจนเจอสะพานไม้ทเี่ ชือ่ มต่อเมืองทีต่ งั้ อยูอ่ กี ฟากหนึ่ง​ด้วยเสียงเพลง​ธงสีสันต่างๆ​ที่เห็น เด่นชัดออกมาจากย่านนั้นท�าให้รู้ทันทีว่าเรา มาถึงอุสซูพสิ แล้ว​และเมือ่ เดินข้ามสะพานไม้ นัน่ ไป​ก็พบกับชือ่ เมืองทีท่ า� ให้มนั่ ใจ​ติดอยูก่ บั ป้ายจราจรทีเ่ ป็นรูปหน้ายิม้ ​​ราวกับจะเชือ้ เชิญ ให้ผคู้ นทีก่ า� ลังจะก้าวเข้าไปสูเ่ มืองนีป้ รับอารมณ์ ตนเอง​ให้ยมิ้ แย้มเสียก่อนทีจ่ ะเข้าไปสูด่ นิ แดน ของพวกเขา ​อุสซูพิสนั้นครั้งหนึ่งเคยเป็นย่านของ ชาวยิวหากแต่ผู้คนในเมืองถูกกวาดล้างไปใน ช่วงสงครามโลก​และด้วยความที่ถูกตัดขาด

ออกจากเมืองหลวงด้วยแม่น้�าวิลเนียก็ท�าให้ อุสซูพิสกลายเป็นย่านที่ถูกปล่อยทิ้งร้างอย่าง ต่ อ เนื่ อ งในสมั ย ที่ ลิ ทั ว เนี ย ถู ก ปกครองโดย โซเวียต​หากแต่ความเป็นอิสระจากการดูแล โดยภาครัฐ​บ้านทีถ่ กู ปล่อยร้างในทีด่ นิ ราคาถูก นั้นกลับดึงดูดศิลปิน​ วัยรุ่น​ เหล่านักเดินทาง ทัง้ หลาย​ทีค่ อ่ ยๆ​รวมตัวกันและเพิม่ จ�านวนขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง​และเริม่ มีการจัดการอย่างอิสระ โดยพวกเขาเอง​และเมื่อใครคนใดคนหนึ่งพูด ติดตลกขึน้ มาในวันที​่ 1​เมษายนนัน้ ​ว่าอุสซูพสิ ควรจะเป็นรัฐอิสระโดยสมบูรณ์​มุกตลกนั้น กลับได้รบั ความเห็นด้วยจากทุกคนในบาร์แห่งนัน้ ​ และร่วมลงนามตกลงให้อุสซูพิสเป็นรัฐอิสระ บนกระดาษทีพ่ อจะหาได้ในบาร์​ทีก่ ลายมาเป็น รัฐสบาร์​และผูเ้ อ่ยไอเดียนัน้ ขึน้ มาก็กลายเป็น ประธานาธิบดีคนแรกของอุสซูพิสด้วยความยินยอมจากผู้คนรอบตัว และถึง แม้ อุส ซู พิส จะถู ก ก่ อ ตั้ง ในวัน เอพริล ฟู ล ส์ ​ แต่ ก ารจัด การของอุสซู พิส นั้น กลับเป็นเรื่องที่ผู้คนในเมืองให้ความส�าคัญ​ และใส่ใจกับหน้าที่ความรับผิดชอบกันอย่าง จริ ง จั ง ​มี ก ารแบ่ ง หน้ า ที่ ก ารท� า งานผ่ า น รัฐมนตรีต่างๆ​ ทั้งรัฐมนตรีด้านความสัมพันธ์ ของผู้คน​รัฐมนตรีด้านการจัดการสิง่ แวดล้อม​ ด้านศิลปวัฒนธรรม​ด้านการดูแลสุขภาวะกาย และใจ​ด้านการท่องเทีย่ ว​ฯลฯ​ทีก่ ารแต่งตัง้ นัน้ มีทงั้ ผ่านการเลือกตัง้ ​หรือหากใครคิดว่าตนเอง เหมาะสมกับงานด้านใดก็สามารถมาแจ้งใน ที่ ป ระชุ ม ของเมื อ งที่ มี ก ารพู ด คุ ย กั น อย่ า ง สม�า่ เสมอและเสนอตนเองเข้าในวาระทีป่ ระชุม ได้​หรือแม้กระทัง่ นักเดินทางอย่างเราๆ​เองนัน้ ​ ก็ ส ามารถเสนอให้ ต นเองเป็ น ทู ต อุ ส ซู พิ ส ประจ�าประเทศตนเองได้หากประทับใจในการมาเยือน​ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ ต�าแหน่งทัง้ หลายทีถ่ กู จัดตัง้ ขึ้นมาไม่ได้หมายถึงอ�านาจ​หรือความเป็น

ผู้ควบคุม​ก่อตั้งกฎเกณฑ์อะไร​หากหมายถึง การเป็นผู้ดูแล​พัฒนาในเรื่องนั้นๆ​ให้ดีขึ้น​ เพือ่ ให้ผคู้ นในอุสซูพสิ อยูก่ นั ได้อย่างมีความสุข ในดินแดนที่พวกเขาสร้างขึ้นมา ​“ โลกเรานั้ น เริ่ ม จะจริ ง จั ง กั บ ทุ ก สิ่ ง ทุกอย่างกันมากเกินไป​เราน่าจะสนุกกับชีวิต และสิ่งที่เกิดขึ้นในแต่ละวันให้มากขึ้นกว่านี้​ มองชีวิตให้เป็นเรื่องสนุก​ใส่ใจในเรื่องที่ควร ใส่ใจ​และข�าใส่มนั ไปในเรือ่ งทีไ่ ม่ใช่สงิ่ ส�าคัญ”​ เจ้ า ของร้ า นขายของที่ ร ะลึ ก กล่ า วกั บ เรา​ ร้ า นของเขานั้นตกแต่งหน้าร้านคล้ายด่าน ตรวจคนเข้าเมือง​และมีมมุ ให้นกั เดินทางเข้ามา แสตมป์พาสปอร์ตตราประเทศอุสซูพิสในร้าน ของเขาได้ ​ความทีเล่นทีจริงของอุสซูพิสนั้นมีอยู่ ทั่วเมือง​ตั้งแต่ป้ายจราจรหน้ายิ้ม​รัฐสบาร์​ รู ป ปั ้ น พระเยซู ส ะพายย่ า ม​รวมไปถึ ง ถนน รั ฐ ธ รรมนู ญ ที่ มี แ ผ่ น ป้ า ยสี เ งิ น ขนาดใหญ่ ติ ด ตั้งไว้บนก�าแพงตลอดความยาวของถนน​ รัฐธรรมนูญ​41​ข้อ​ทีด่ เู ป็นข้อความทีเล่นทีจริง ของพวกเขานัน้ ​ปัจจุบนั มีการร่วมมือกันอย่าง จริงจังกับสถานทูตของนานาประเทศในการสนับสนุนการติดตัง้ ป้ายทีถ่ กู แปลเป็นภาษาต่างๆ​ มากเกือ บ​30​ภาษา​และการที่ป ระเทศใด จะสามารถติ ด ตั้ ง รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง อุ ส ซู พิ ส ในภาษาของตนเองได้บนถนนนี้นั้น​ก็จะต้อง มี เ รื่องราวความสัมพันธ์บางอย่างที่เกิดขึ้น ระหว่างประเทศนั้นกับอุสซูพิส​ซึ่งอาจจะเป็น เรื่ อ งจริงจัง​ตั้งแต่การมีรากภาษา​มีประวัติศาสตร์ร่วมกัน​หรืออาจจะเป็นความสัมพันธ์ ดิจิตอลเพียงแค่มีบล็อกเกอร์จากประเทศนั้น เขียนถึงอุสซูพิสก็ย่อมได้ ​“ ทุ ก คนมี ห น้ า ที่ ต ้ อ งรั บ ผิ ด ชอบใน อิสรภาพของตนเอง...” ​ยืนอ่านแผ่นป้ายสีเงินขนาดสูงท่วมหัว

มาจนบรรทัดเกือบสุดท้าย​เป็นเพียงไม่กี่ข้อ ทีก่ ล่าวถึงหน้าทีท่ เี่ อาเข้าจริงแล้วน่าจะครอบคลุม หน้ า ที่ขั้น พื้น ฐานในการได้ รับ สิท ธิเ สรีภ าพ ข้อเบือ้ งต้นทัง้ หมดทีว่ า่ นัน้ มา​ในความเบาหวิว ทีเล่นทีจริงของอุสซูพิสนั้นดูจะมีความจริงจัง ในเรื่ อ งที่ เ ป็ น สิ่ ง สลั ก ส� า คั ญ แฝงอยู ่ เ สมอ​ รัฐธรรมนูญ​41​ข้อที่ข้อแรกๆ​อาจท�าให้ข�า ออกมา​หากแต่เมื่ออ่านมาจนบรรทัดสุดท้าย นั้นกลับพบนัยยะการให้ความส�าคัญในเรื่อง ความอดทนอดกลัน้ ​เสียสละแบ่งปัน​เคารพใน ความต่าง​มิตรภาพ​และสันติภาพของผู้คน ​แ ล ะ ถึงแม้อุสซูพิสจะเป็นเรื่องตลก ส�า หรั บคนภายนอกอย่างไร​อุสซูพิสนั้นก็มี การเลือกตั้งตามระยะเวลาที่ผู้คนในเมืองนั้น เห็นพ้องต้องกัน​‘รัฐสบาร์’​ของพวกเขาก็มี การนัดประชุมพูดคุยแลกเปลีย่ นความเห็นกัน อย่างอิสระ​มีผู้คนในเมืองเข้ามามีส่วนร่วม แสดงความเห็นต่อเมืองด้วยอย่างสม�่าเสมอ​ รัฐธรรมนูญ​41​ข้อทีก่ ล่าวถึงสิทธิในการรักแมว​ และ​‘รัฐสบาร์’​ของพวกเขานัน้ อาจเป็นเรือ่ งตลก ส�าหรับผูค้ นภายนอก​หากแต่บางทีแล้วเรือ่ งราว ของโลกภายนอก​อาจเป็นเรือ่ งตลกร้ายทีพ่ วกเขา อาจส่ายหัวในความไม่ตลกของมัน​

BREATHE​IN​:​พชร​สูงเด่น​ อาชีพ​:​นักศึกษาทุน​Erasmus​Mundus​ด้านการศึกษาเพื่อการพัฒนา​ก�าลังอยู่ในช่วงชีวิตที่ต้องวุ่นๆ​สลับไปมา​ระหว่างนั่งเขียนรายงานในห้องสมุด​อบขนมในห้องครัว​เรียนรู้ นอกห้องเรียนด้วยการเดินทางไปยังเมืองต่างๆ​ในยุโรป​และการนั่งเขียนบันทึกเรื่องราวทั้งหมดส่งมาให้​a​day​BULLETIN​ที่ก�าลังจะน�ามาทยอยลงเป็นตอนๆ​ทางออนไลน์ของเรา

อุสซูพิส รัฐอิสระใจกลางลิทัวเนียและรัฐธรรมนูญ


a day BULLETIN

,

EDITOR S NOTE

34

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

I DON'T WANNA BE ADORED ...DON'T WANNA BE FIRST IN LINE ... OR MAKE MYSELF HEARD

issue 544 25 JUN 2018

วง Keane มาทัวร์คอนเสิรต์ ทีเ่ มืองไทยครัง้ แรกเมือ่ ปี 2006 ตอนก่อนจะเล่นเพลง Hamburg Song เพลงช้าๆ ซึง้ ๆ ในอัลบัม้ Under the Iron Sea ทอม แชปลิน พูดเกริน่ เข้าเพลงเล็กน้อย โดยชวนให้แฟนๆ ช่วยกันหยิบโทรศัพท์มอื ถือขึน้ มา เปิดไฟหน้าจอเพือ่ โบกไปมาเคล้าคลอกับเสียงเพลง แล้วไฟในคอนเสิรต์ ฮอลล์กห็ รีล่ ง เหลือไลม์ไลต์สาดล�าแสงขึน้ ไปบนเวที จ�าได้ว่าตอนนั้น คือเมื่อสิบสองปีก่อน โทรศัพท์มือถือที่เราใช้กันส่วนใหญ่ยังไม่ใช่แบบสมาร์ตโฟน เราทุกคนยังใช้มือถือแบบมีปุ่มตัวเลขกด ยังไม่มีอินเทอร์เน็ตแบบสามจี มันท�าอะไรไม่ได้นอกจากใช้โทร.เข้าออก ส่งเอสเอ็มเอส และเล่นเกมงู เครื่องที่หรูหราหน่อยก็เริ่มมีกล้องบิลต์อินและไฟแฟลช ไอโฟนรุ่นแรกจะออกวางตลาดที่อเมริกาในอีกหนึ่งปี หลังจากนั้น ใกล้เคียงกับช่วงที่แบล็กเบอรีเริ่มค่อยๆ ได้รบั ความนิยมขึ้นมา I’d like to bring a little light ...To shine a light on your life ...To make you feel loved แสงไฟจากหน้าจอเล็กๆ ของโทรศัพท์มอื ถือวูบไหวไปมาท่ามกลางความมืด บางคนทีเ่ ป็นขาร็อกแบบดัง้ เดิม ก็เลือกวิธกี ารทีโ่ อลด์สกูลกว่านัน้ คือจุดไฟแช็กแล้วก็โบกไปมาแทน ในคอนเสิรต์ ฮอลล์เกิดเป็นภาพน่าประทับใจ ดวงไฟเล็กๆ นับหมืน่ กะพริบระยิบระยับเหมือนแสงดาวกระจัดกระจายในดาราจักร โคจรอยูร่ อบจอมอนิเตอร์ขนาดยักษ์บนเวที โคลสอัพ ไปทีป่ ลายนิว้ ของนักดนตรีทกี่ า� ลังพร่างพรมบนคียบ์ อร์ด ครั้งนั้นน่าจะเป็นครั้งท้ายๆ ในชีวิตที่เวลาไปดูคอนเสิร์ตขนาดใหญ่ แล้วเราจะได้ดูการแสดงบนเวทีอย่างเต็มตาผ่านดวงตาของเราจริงๆ ไม่ถูกรบกวนตลอดเวลาด้วยแสงจาก สมาร์ตโฟนจอยักษ์ของคนรอบข้าง ไม้เซลฟีย่นื ยาว อีกหลายปีต่อมา ผมเคยไปดูคอนเสิร์ตของวงเฉลียง แล้วพบว่ามีคนรอบตัวใช้ขาตั้งแบบโมโนพอดมากางเพื่อนั่งปักหลักถ่ายวิดีโอ หรือกดไลฟ์ถ่ายทอดสดใส่โซเชียลมีเดียของตัวเองไปแบบนั้น เทคโนโลยีเปลี่ยนไป ชีวิตของเราก็เปลี่ยนไป บางคนเชื่อว่าเพราะชีวิตของเราเปลี่ยนไปก่อน จึงค่อยเกิดเทคโนโลยีใหม่ๆ ขึ้นมารองรับความต้องการในชีวิตที่เปลี่ยนไป แต่ในทางตรงกันข้าม ก็มีบางคนเชื่อว่าเทคโนโลยีนั้นเปลี่ยนก่อน มันตีกรอบและให้อนุญาตกับเราในการด�าเนินชีวิต เท่าที่หน้าที่ของมันจะรองรับได้ ชีวิตจึงเป็นเพียงผลพวงของ วัตถุสสาร ความต้องการนั้นแท้จริงถูกก�าหนดจากปัจจัยภายนอกตัว No, don’t wanna be the only one you know ...I wanna be the place you call home ...I lay myself down ไม่มีใครรู้ว่าความเชื่อไหนถูกต้องกว่ากัน หรือบางทีมันอาจจะถูกทั้งคู่ หมุนวนเป็นวัฏจักรของการก�าหนดกันไปกันมา ส�าหรับผม เชื่อว่าเทคโนโลยีส่งผลต่อตัวตนภายในของเรา อย่างลึกซึ้ง ด้วยการบิดเบือนพื้นที่และเวลารอบๆ ตัวเราไปจากเดิม มันท�าให้เกิดความเปลี่ยนแปลงไม่ใช่เพียงแค่ในระดับของความสะดวกสบายในการด�าเนินชีวิต แต่มันท�าให้ตัวตน ของเราเปลี่ยนไปโดยไม่ทันรู้ตวั สมาร์ตโฟนบนฝ่ามือท�าให้เกิดพืน้ ทีแ่ ละเวลาเสมือน เหมือนกับมีโลกอีกใบด�าเนินอยูค่ วบคูไ่ ปกับโลกแห่งความจริง หน้าจอขนาดห้าหกนิว้ เป็นเหมือนเป็นประตูไปไหนก็ได้ทพี่ าเรา เข้าๆ ออกๆ จากโลกหนึ่งไปอีกโลกหนึ่ง ยิ่งเข้าออกง่ายขึ้นเท่าไหร่ โลกสองใบนี้ก็เหมือนกลืนกลายมาเป็นโลกเดียวกันจนแยกไม่ออก ว่าอันไหนโลกจริงหรือโลกเสมือน Fool, I wonder if you know yourself at all ...You know that it could be so simple ในตอนเช้าวันท�างานอันเร่งรีบ คุณก�าลังติดแหง็กเป็นชั่วโมงอยู่บนถนน คุณหยิบโทรศัพท์ขึ้นมาถ่ายรูปการจราจรเบื้องหน้า แล้วโพสต์ภาพนั้นพร้อมค�าบ่นด่าเกรี้ยวกราด กล่าวโทษใครสักคนที่จะต้องรับผิดชอบต่อการไปท�างานสายในเช้าวันนี้ คุณคิดอยู่ลึกๆ ว่าเพื่อนร่วมงานและเจ้านายซึ่งเป็นเพื่อนอยู่ในโซเชียลมีเดียด้วยกัน จะได้เห็นภาพและอ่าน ข้อความนี้เหมือนกัน มันจึงกลายเป็นหลักฐานยืนยันความจริง กึ่งๆ ค�าแก้ตัว และกึ่งๆ ค�าขอโทษในเวลาเดียวกัน ดังนั้น สิ่งที่ปรากฏในโลกเสมือนของเรา ทุกอย่างที่เราโพสต์เข้าไปดูเหมือนไร้สาระ แต่แท้ที่จริงแล้วพวกมันล้วนมีนัยยะบางอย่าง เพื่อบอกบางเรื่อง กับใครบางคนเสมอ มันกลายเป็นว่าความจริงเสมือนได้ไหลท่วมท้นออกมาสู่โลกแห่งความจริง ตัวตนที่อยู่ข้างในนั้น จริงจังกว่าตัวตนอยู่ท่ภี ายนอก I lay myself down ...To make it so, but you don’t want to know ...You take much more ...Than I’d ever ask for และก็ไม่ใช่แค่กับเรื่องรถติดทุกๆ เช้า แต่เป็นกับทุกเรื่องในชีวิตของเรา หลายครั้งที่ผมเฝ้าถามตัวเองว่าเราท�าสิ่งนั้นสิ่งนี้เพื่ออะไร เช่น เราไปดูคอนเสิร์ตเพราะอยากไปดู คอนเสิร์ตนี้ หรือเราไปดูคอนเสิร์ตเพราะจะได้กดปุ่มไลฟ์ให้เพื่อนๆ ของเราได้เห็น และเราไลฟ์ให้เพื่อนได้เห็น เพื่อที่จะบอกอะไรกับพวกเขา และมันจะมีความหมายอย่างไรกับ การไปดูคอนเสิร์ตของเรา ยิ่งนับวันเรายิ่งมีตัวตนมากขึ้นๆ ไหลเวียนอยู่ในโลกเสมือนที่ย่งิ มีมากขึ้นๆ ตามจ�านวนหน้าจอและแอพพลิเคชันที่เปิดใช้ เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ อินสตาแกรม ไลน์ สแนปแชต ฯลฯ เราเอาความจริงไปใส่ไว้ในโลกเสมือน เราใช้ความจริงเสมือนมายืนยันความจริง หมุนวนไปเรื่อยๆ เป็นวัฏจักรของการก�าหนดกันไปกันมา จนกระทั่งเราอาจจะค้นหาความจริงแท้ ไม่เจออีกแล้ว


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.