a day BULLETIN 548

Page 1

TODAY EXPRESS PRESENTS

23 JUL 2018

549 548 547


02 แนวคิดการใช้ชวี ต ิ อย่างมีคณ ุ ค่า เพือ ่ น�าไปสูก ่ ารจากลาอย่างเป็นสุข

LIFE เข้าใจองค์ความรู้และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการเตรียม ความพร้อมก่อนวันสุดท้ายของชีวิต

THEY SAID เปิดใจ 6 บุคคลที่กล้าพูดถึงเรื่องความตาย ได้อย่างเต็มใจ

BEHIND THE COVER

CONTENTS

THE CONVERSATION

TODAY EXPRESS PRESENTS

23 JUL 2018

549 548 547

SPECIAL INTERVIEW ชีวามิตร และ สสส. กับนโยบายการเปลีย ่ น ทัศนคติเรือ ่ งความตาย

I S S U E 548 23 JUL 2018

C

M

SPACE & TIME ส�ารวจกายใจด้วยบรรยากาศชวนให้ระลึกถึง ความตายที่ มรณาณุสติคาเฟ่

FOODIE ‘DEATH’ Cocoa Frappe โกโก้ปน ั่ คอนเซ็ปต์จด ั ทีห ่ ลอมรวม ทุกอย่างเข้าด้วยกันก่อนละลายหายไปสู่จุดเดิม

EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิการ ทัศนคติต่อชีวิตและสังคมผ่านสายตา วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ

Y

โจทย์ยากที่ a day BULLETIN ส่งไปให้อาร์ทิสต์ของเราฉบับนี้ คือน้องกล้วย Banana blah blah* ให้ชว่ ยตีความเป็นผลงานภาพ กลับมา คือเราอยากได้เรือ ่ งราวเกีย ่ วกับความตายในแบบทีม ่ ค ี วามสุข เอ๊ะ! มันคืออะไรกันแน่นะ ปกติแล้วเราจะรูส ้ ก ึ หวาดกลัวเรือ ่ งแบบนีก ้ น ั และนึกเป็นภาพว่าจะต้องระทมทุกข์ เจ็บปวดทรมาน โทนออกสีดา� ทะมึนๆ อะไรแบบนั้น น้องกล้วยเอาโจทย์ไปท�างานสองอาทิตย์ พร้อมกับส่งตัวอย่างภาพกลับมาเป็นสีพาสเทล พร้อมกับลายเส้น การ์ตูนน่ารักๆ ตามสไตล์ของเธอ เธอแนบค� า อธิ บ ายมาบอกว่ า “โดยส่ ว นตั ว กล้ ว ยคิ ด ง่ า ยๆ ถึงตัวเอง ว่าเป็นคนชอบดนตรี และคิดว่าถ้าเป็นวันสุดท้ายของชีวต ิ แล้วมีโอกาสท�าอะไรก็ได้ที่ต้องการ กล้วยก็คงอยากเล่นดนตรี ร้ อ งเพลง เพื่ อ เป็ น การอ� า ลาตั ว เองและทุ ก ๆ คน นึ ก ภาพเป็ น บรรยากาศที่ มี ค วามอบอุ่ น ดี แล้ ว พอเราจากโลกนี้ ไ ปแล้ ว ก็ ไ ปร้ อ งเพลงเล่ น ดนตรี ต่ อ บนสววรค์ ก็ เ ลยวาดออกมาเป็ น ประมาณนี้ค่ะ ดูอบอุ่นน่ารัก เเต่ไม่รู้เเต่ตรงกับที่คิดกันไว้ไหม” เราตอบเธอไปว่าตรงมากๆ เราคิดถึงบรรยากาศประมาณนี้ เหมือนกัน และเมื่อถึงวันนั้น เราอยากจะขอไปเล่นดนตรีกับเธอ ด้วยนะ

CM

MY

CY

CMY

K

*FB: Banana blah blah

ที่ปรึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการที่ปรึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล พัทธมน วงษ์รัตนะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นักเขียน/ผู้ประสานงาน ตนุภัทร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ คเชนทร์ วงศ์แหลมทอง หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง กวินนาฏ หัวเขา ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, พรอารีย์ ต้นคชสาร 08-8882-1645 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว นักศึกษาฝึกงาน เจลดา ภูพนานุสรณ์ มณิสร สุดประเสริฐ ธนิศร วงษ์สน ุ ทร ณัฐริกา มุคา� ณัฒฐพงษ์ จันทร์หอม ภัทร คงคา ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อี เ มล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com


a day BULLETIN

04

DATABASE เรื่อง : เจลดา ภูพนานุสรณ์ ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

โอกาสพ�เศษ! ให คุณเป นเจ าของหัวเว ยได ง ายข�้น

พร อมบร�การแบ งชำระสูงสุด 10 เดือน

ที่มา : www.ns.mahidol.ac.th, www.bumrungrad.com, www.growthhormoneplus.com, www.scimath.org, www.carenursinghome.com, www.intimexhearing.com

แทนคำขอบคุ ณ กั บ ทุ ก การตอบรั บ

IMMUNE SYSTEM คุ ณ อาจคิ ด ว่ า วั ย ชราคื อ วั ย ที่ เ ฉี ย ดใกล้ ค วามตาย มากทีส ่ ด ุ แต่ความจริงแล้วไม่วา่ ช่วงวัยใดก็ลว ้ น ใกล้ชด ิ ความตายอยูท ่ ก ุ ลมหายใจ เพราะภายใน ร่างกายของเรามีการเสื่อมสภาพของ อวัยวะต่างๆ และสร้างใหม่แทบทุกวัน แตกต่างแค่ในผูส ้ ง ู อายุนน ั้ มักจะ พบแต่ ก ารเสื่ อ ม ถดถอยลง ท�าให้ยิ่งห่างไกลค�าว่ามีชีวิต มากขึ้นไปทุกที

75

1 ก.ค. 2561 - 31 ก.ค. 2561

ผ อน ให คณ ุ เลือกระยะเวลาแบ งชำระได ตามต องการ ชำระ

ก�าลังในการเพ่งมองสิ่งต่างๆ ของดวงตาจะเริ่ม ลดลงเมื่ออายุ 40 ปี เนื่องจากการเสื่อมของเลนส์ แก้วตา (โรคสายตายาว) และเมื่ออายุประมาณ 75 ปี ก�าลังเพ่งจะเป็น 0 หรือไม่มีเลย

สมาร ทโฟนที่ถ ายภาพดีที่สุด จากการจัดอันดับคะแนนกล องบนสมาร ทโฟน โดย dxomark.com*

บริเวณหูชั้นในจะมีเซลล์ขน (Hair cell) ราวๆ 30,000 เซลล์ที่ท�าหน้าที่ เปลี่ยนพลังงานเสียงเป็นสัญญาณ ไฟฟ้าแล้วส่งไปยังสมองเพื่อแปล ความหมาย แต่ในคนที่อายุเกิน 50 ปี เซลล์เหล่านี้จะค่อยๆ ตายไป ซึ่งเป็นที่มาของอาการหูตึง

50%

พ�เศษ

26,990.-

1.5%

5%

30

32.1

44.64%

50%

1% ปริมาณเลือดที่ สูบฉีดออกจาก หัวใจไปหล่อเลีย้ ง ร่างกายจะลดลง 1% ในทุกๆ ปี รวมทั้ง ประสิทธิภาพ การท�างาน ของหัวใจและ หลอดเลือด ก็ลดลง เนื่องจากมี แคลเซียมและ ไขมันมาเกาะ สะสม

75

Midnight Blue

ผ อน ชำระ

ราคาปกติ 19,990.-

Black

Pink Gold

Black

Midnight Blue

รับส วนลด 10,000.สูงสุดกว า

C

M

Y

18,990.-

ราคาปกติ 27,990.Twilight

1%

พ�เศษ

ผ อน ชำระ

เมื่อสมัครแพ็กเกจจากผู ให บร�การเคร�อข าย

* อ างอิงจากเวปไซต www.dxomark.com ประจำเดือน มีนาคม 2561

44.64% CM

ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองที่ช่วย ในการเจริญเติบโตและซ่อมแซม ร่างกายจะลดปริมาณการหลั่งลง 40% เมื่ออายุ 30 ปี และลดลงอีก 14% ในทุกๆ 10 ปีจากนั้น เท่ากับว่า ในวัย 60 ปี ฮอร์โมนจะหลั่งเพียง 44.64% เป็นเหตุให้ร่างกายแก่ตัวลง MY

CY

Mate10 Pro

CMY

K

1.5%

เมื่อพูด ถึงความชรา เรามัก จะนึกถึงภาพ บุคคลที่ใบหน้า เต็มไปด้วยริ้วรอย โดยรอยเหี่ยวย่น เหล่านั้นเกิดจาก การเสื่อมสลาย ของคอลลาเจนใต้ ชัน ้ ผิวหนัง ซึง่ จะเริม ่ เสือ ่ มลง 1.5% ต่อปี นับตั้งแต่เข้าช่วง อายุ 25 ปีขึ้นไป

32.1

30%

5%

เมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไป เราจะสูญเสียมวลกระดูก 5% ทุกๆ ปี ซึ่งน�าไปสู่ โรคกระดูกพรุน และอัตราการเผาผลาญอาหารของร่างกายจะลดลง 5% ทุกๆ 10 ปี เป็นสาเหตุของอาการจุกเสียด แน่นเฟ้อ และอาหาร ไม่ย่อยในผู้สูงอายุ

ช่วงอายุ 60-74 ปี ผู้สูงอายุกว่า 32.1% ประสบปัญหาฟันหลุดร่วงเพราะโรค ปริทันต์รุนแรง ซึ่งเป็นกลไกที่ร่างกาย ตอบสนองต่อแบคทีเรียในช่องปากท�าให้ เกิดการอักเสบเรื้อรัง ส่งผลกระทบค่อยๆ ท�าลายกระดูกหุ้มรอบฟัน และเอ็นยึดฟัน

แรกเริ่มเส้นผมมีสีโดยธรรมชาติจาก สารในเม็ดสีที่เรียกว่าเมลานิน แต่เมื่อ เข้าสู่วัยชรา จ�านวนเม็ดสีจะค่อยๆ ลดลง จนไม่มีเม็ดสีอยู่เลย เกิดเป็นผมหงอกขึ้น โดยปริมาณผมหงอกจากเพิ่มขึ้นถึง 10-20% เมื่อเข้าสู่วัย 30 ปี

พ�เศษ

21,990.-

ผ อน ชำระ

ราคาปกติ 27,900.Titanium Grey

Midnight blue

Mocha Brown

รับส วนลด 10,000.สูงสุดกว า

ได รางวัลงานออกแบบผลิตภัณฑ iF DESIGN AWARD 2018

เมื่อสมัครแพ็กเกจจากผู ให บร�การเคร�อข าย

สมาร ทโฟน 4 กล อง แบตใหญ ใช งานอึด

พ�เศษ issue 498

7,990.ราคาปกติ 10,900.-

Graphite Black

Prestige Gold

Aurora Blue

FREE CASE

FREE FILM

ผ อน ชำระ

รับ Entertainment Box set มูลคา 3,870.- ทันที!

พ�เศษ

7,990.-

FREE FILM FREE CASE

ผ อน ชำระ

ราคาปกติ 8,900.-

Grey

Gold

07 aug 2017

หมายเหตุ : ผอน 0% นานสูงสุด 10 เดือน เฉพาะสินคาและบัตรเครดิตที่รวมรายการ • กรุณาตรวจสอบรายละเอียดเพ�่มเติมจากสื่อประชาสัมพันธ ณ จ�ดขาย • ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 - 31 ก.ค. 2561 เทานั้น • สอบถามรายละเอี ย ดเพ� ่ ม เติ ม ที ่ ห ั ว เว ย แบรนด ช ็ อ ปและร า นค า ตั ว แทนจำหน า ยที ่ ร  ว มรายการทั ่ ว ประเทศ • บร� ษ ั ท ฯ ขอสงวนสิ ท ธิ ์ ใ นการเปลี ่ ย นแปลงโปรโมชั ่ น และเง� ่ อ นไข โดยไม ต  อ งแจ ง ให ท ราบล ว งหน า


06 www.nytimes.com

www.bbc.com

IN CASE YOU

MISSED IT

ข่าวรอบโลกปลายสัปดาห์ที่คุณอาจพลาดไป!

a day BULLETIN

AGENDA

EDUCATION

ENVIRONMENT

ออสเตรเลี ย เตรี ย มบรรจุ วิ ช า ความตายเพิม ่ ลงในตารางเรียน

รักษ์โลกด้วยวิธก ี ารละลายร่างกาย แทนการเผาในสหรัฐฯ

วิชาความตายก�าลังจะถูกบรรจุให้นักเรียนได้เริ่ม เรียนรู้ นี่คือข้อเสนอจากสมาคมการแพทย์แห่ง รัฐควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย โดย ดอกเตอร์ ริชาร์ด คิดด์ แพทย์เวชปฏิบตั ิทั่วไป ผู้มีความสนใจ เรื่อ งการดูแลแบบประคับประคองผู้สูงอายุและ การให้ ค� า ปรึ ก ษาด้ า นสุ ข ภาพจิ ต ได้ ก ล่ า วถึ ง จุดประสงค์นี้ว่า “พวกเราต้องการให้คนหนุ่มสาว คุน้ เคยกับการพูดคุยเกีย่ วกับจุดจบของชีวติ พวกเขา ควรได้รับความรู้ต่างๆ รวมถึงแง่มุมทางกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องทั้งด้านร่างกายและจิตใจ เรียนรู้วิธีการ ร่างเจตจ�านง ได้รู้ว่าจะต้องเริ่มเตรียมตัวอย่างไร รวมทั้ ง วิ ธีสื่ อ สารเรื่ อ งการเตรี ย มตั ว ตายกั บ คน ในครอบครัวได้” ดอกเตอร์ริชาร์ดยืนยันว่า วิชานี้ จะเป็นประโยชน์ต่อทุกคนอย่างแท้จริง

ส�าหรับชาวอเมริกัน มีวิธีเลือกหลังความตายอยู่ สองทาง คือ เผา หรือฝัง แต่ทางเลือกทีส่ ามได้เกิดขึน้ แล้ว นั่นคือ การละลายร่างด้วย Alkaline Hydrolysis ด้วยการน�าร่างไร้วิญญาณเข้าไปอยู่เตาที่มีน�้าและ สารเคมีโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ แล้วใช้ความร้อน ประมาณ 200-300 องศาเซลเซียส ภายในเวลา ประมาณ 12 ชั่วโมง ร่างนั้นจะละลายและเหลือไว้ เพี ย งโครงกระดู ก ซึ่ ง ช่ ว ยแก้ ป ั ญ หาเรื่อ งมลพิ ษ ทางอากาศที่เกิดจากการเผาศพ โดยวิธีการนี้จะทิ้ง carbon footprint ไว้ในปริมาณที่น้อยกว่า และก�าลัง เป็นที่นิยมทั่วสหรัฐอเมริกา ยืนยันได้จาก เจสัน แบรดชอว์ ประธานและผู้บริหารระดับสูงของงาน พิธีศพ ที่กล่าวว่า “ตอนนี้ผู้คนเริ่มจะไม่เผา และ คนจ�านวนอีกไม่น้อยก็จะไม่ฝัง เพราะไม่มีที่ดิน อีกต่อไป”

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

https://daily.jstor.org

www.businessinsider.com

www.theguardian.com

K

issue 548 23 JUL 2018

BUSINESS

CULTURE

PEOPLE

ธุ ร กิ จ การจั ด งานศพแนวใหม่ ท า ง เ ลื อ ก ที่ คุ้ ม ร า ค า ส� า ห รั บ ครอบครัวผูต ้ ายในอังกฤษ

วิธก ี ารรับมือกับปัญหา ‘พนักงาน ท�างานหนักจนเสียชีวต ิ ’ ของบริษท ั ต่างๆ ในประเทศญี่ปุ่น

ตายายชาวมุมไบเรียกร้องขอสิทธิ ในการตายมากว่า 13 ปี

ในประเทศอังกฤษ การจัดงานศพถือเป็นธุรกิจทีส่ ร้าง รายได้มหาศาล เพราะคนส่วนใหญ่มกั ไม่มที างเลือก และยอมจ่ายเงินมากเป็นพิเศษเพือ่ ท�าให้วนั สุดท้าย ของคนทีเ่ ขารักนัน้ ยิง่ ใหญ่ทสี่ ดุ โดยค่าจัดงานและ หลุมศพเฉลีย่ ในอังกฤษนัน้ ตกอยูท่ ี่ 8,427 ปอนด์ หรือ ราวๆ 371,000 บาท แต่สา� หรับ Poppy Mardall กลับเห็นว่า การจัดงานศพแบบนัน้ สิน้ เปลืองและไม่สะท้อนตัวตน ทีแ่ ท้จริงของผูต้ าย เธอจึงก่อตัง้ Poppy’s Funerals เพือ่ เป็นทางเลือกส�าหรับครอบครัวทีอ่ ยากจัดงานศพเล็กๆ ในบรรยากาศอบอุน่ โดยพวกเขาสามารถออกแบบเองว่า ต้องการจัดอย่างไร หรือหากไม่อยากมีงานศพ ก็จะมี บริการรับส่งศพเพือ่ น�าไปฝังอย่างถูกต้องในราคาเริม่ ต้น เพียง 750 ปอนด์ หรือ 33,000 บาทเท่านัน้ “แทนทีจ่ ะเอา เงินไปลงกับงานศพ คุณเอาเงินนัน้ ไปจัดปาร์ตที้ ยี่ งิ่ ใหญ่ เพือ่ เฉลิมฉลองการมีชวี ติ อยูไ่ ม่ดกี ว่าเหรอ” เธอกล่าว

การท�างานหนักเป็นเรื่องปกติของชาวญี่ปุ่น อย่าง บางบริษทั พนักงานไม่ได้รบั อนุญาตให้รเู้ วลา เพือ่ จะ ได้มสี มาธิกบั การท�างานเท่านัน้ และต้องท�างานเกิน 8 ชั่วโมงต่อวัน หรือท�างานล่วงเวลาเกิน 80 ชั่วโมง ต่ อ เดื อ น จนกระทั่ ง เริ่ ม มี พ นั ก งานเสี ย ชี วิ ต หรื อ ฆ่าตัวตายจากการท�างานหนักเกินไป แต่ละบริษัท จึงหากลยุทธ์ใหม่ๆ มาจัดการกับปัญหานี้ โดย บริษทั หนึง่ บังคับให้พนักงานทีท่ า� งานดึกสวมเสือ้ คลุม สีมว่ งเพือ่ ให้เกิดความอับอาย และบางบริษทั ก็กา� ลัง พั ฒ นาโดรนที่ บิ น พร้ อ มเล่ น เพลงไล่ พ นั ก งานที่ ท�างานจนไม่ยอมกลับบ้าน อย่างไรก็ตามในปี 2017 นายกรั ฐ มนตรี ชิ น โซ อาเบะ สั ญ ญาว่ า จะมี การก�าหนดจ�านวนชัว่ โมงและรายได้ของการท�างาน ล่วงเวลาเพื่อปรับสมดุลชีวิตการท�างานให้กับเหล่า พนักงานญี่ปุ่น

ชายอินเดียวัย 87 ปี Narayan Lavate และ Iravati ภรรยาวั ย 78 ปี เรี ย กร้ อ งขอสิ ท ธิ ใ นการตาย จากทางการของอินเดียไปหลายครั้งตั้งแต่ปี 1987 จนล่าสุดพวกเขาได้เขียนจดหมายหาประธานาธิบดี ว่าต้องการขอ ‘โทษประหารชีวิต’ แต่ก็ไม่ได้รับการตอบกลั บ จากที่ ไ หนเลย แม้ ว ่ า ตอนนี้ ทั้ ง สองยั ง แข็งแรงดี แต่เพราะร่างกายทีแ่ ก่ชราลงและเงินบ�านาญ ทีไ่ ม่เพียงพอ ท�าให้พวกเขารูส้ กึ ว่ามีชวี ติ ทีน่ า่ เวทนา อยู่ในบ้านขนาดกว้าง 27 ตารางเมตร ไม่สามารถ สร้างประโยชน์ให้ใคร และอีกไม่นานก็จะล้มป่วย และสร้างปัญหาให้คนรอบข้างมากกว่าเดิม “ตอนเกิด เราเลือกไม่ได้ แต่เราจะขอเลือกสิทธิในการจบชีวิต ตัวเอง เราแค่ตอ้ งการค�าอนุญาตและความช่วยเหลือ จากแพทย์ เ พื่ อ ให้ เ ราจากไปอย่ า งสงบก็ แ ค่ นั้ น ” Narayan กล่าว


a day BULLETIN

08

MEXICAN DAY OF THE DEAD HOLIDAY ชาวเม็กซิกน ั เชือ ่ ว่าความตายไม่ใช่จด ุ สิน ้ สุดของชีวต ิ คนทีเ่ สียชีวต ิ แค่ยา้ ยไปอยูอ ่ ก ี โลกหนึง ่ และในวันที่ 31 ตุลาคมจนถึง 2 พฤศจิกายนของทุกปี วิญญาณ ของคนในครอบครัวจะเดินทางกลับมาเยีย ่ มคนเป็นทีโ่ ลกมนุษย์ พวกเขาจึงจัดงานทีช ่ อ ื่ ว่า Day of the Dead หรือ Dia de los Muertos ในภาษาสเปน ทุกบ้านจะเตรียมอาหารโปรดของคนทีเ่ ขารักไว้บนแท่นบูชา มีการประดับประดาสิง ่ ของด้วยของใช้ชน ิ้ โปรดทีค ่ นตายชอบ และโรยกลีบดอกดาวเรืองไว้เต็ม ท้องถนนเพื่อเป็นสิ่งน�าทางให้วิญญาณที่พวกเขารักกลับมาที่บ้านถูก ภายในสุสานจะประดับประดาด้วยเทียน ดอกไม้ การร้องร� าท�าเพลงโดยชาวเมือง ทีแ่ ต่งตัวรวมถึงเพนต์หน้าเป็นรูปโครงกระดูก เพือ ่ เชือ ่ มโลกทัง ้ สองไว้ดว ้ ยกัน กลายเป็นว่าวันแห่งคนทีจ่ ากไปแทนทีจ่ ะเป็นช่วงเวลาทีเ่ ศร้าโศกกลับกลาย เป็นการเฉลิมฉลองของผูค ้ นทีเ่ ต็มไปด้วยความสุขทีส ่ ด ุ ของเม็กซิโก

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

issue 548 23 JUL 2018


10

11

issue 548 23 JUL 2018

LIVING BEAUTIFULLY

a day BULLETIN

THE CONVERSATION

ไ ม่ โ ศ ก เ ศ ร้ า ไ ม่ ห ว า ด ก ลั ว ความตายเป็นเรื่องธรรมชาติ และ ตามติดชีวิตของเรามาตั้งแต่เกิด a day BULLETIN ร่ ว มกั บ ส� า นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) และ บริษัท ชีวามิตร วิสาหกิจเพื่อสังคม จ� า กั ด จั ด ท� า เนื้ อ หาพิ เ ศษ เพื่ อ ให้ ความรูค ้ วามเข้าใจในเรือ ่ งการตายดี ซึ่ ง หมายถึ ง การมี ชี วิ ต อยู่ อ ย่ า งมี ความหมาย และตายไปอย่ า งมี ความสุขสงบ เรามีโอกาสได้สัมภาษณ์ผู้คนที่ น่าสนใจมากมาย อย่างเช่น คุณหมอ ฉันชาย สิทธิพน ั ธุ์ จะมาพูดถึงมุมมอง ทางการแพทย์ ว่าเราจะ ‘ยือ ้ ชีวต ิ ’ หรือ ‘ยือ ้ ความตาย’ ได้แค่ไหนและอย่างไร ‘ดีเจอ้อย’ - นภาพร ไตรวิทย์วารีกล ุ แห่ง คลับฟรายเดย์ มาสอนใจเราว่า ความตายนัน ้ ท�าให้เห็นค่าของความสัมพันธ์ ผู้ก�ากับหนุ่มไฟแรง ชยนพ บุ ญ ประกอบ จะเผยมุ ม มองของ คนรุ่ น ใหม่ ที่ ก� า ลั ง ทะเยอทะยานสู่ ความส�าเร็จ พวกเขามองและเข้าใจ เรื่องความตายอย่างไร และ ‘เอ็ดดี้’ - พิทยากร ลีลาภัทร์ จะมาอธิบาย ความตายในทั ศ นะของศาสนาและ ศีลธรรม รวมถึ ง สารคดี ที่ เ รารวบรวม ข้อมูลความรูท ้ เี่ กีย ่ วข้องกับการตายดี ส่วนหนึ่งมาจากงานเวิร์กช็อปที่จัด โดย สสส. และชี ว ามิ ต รฯ รวมถึ ง ข่าวสารล่าสุดทีเ่ กิดขึน ้ และก�าลังได้รบ ั ความสนใจจากคนทัว ่ โลก มาดูกน ั ว่า เทรนด์โลกก�าลังมองเรือ ่ งความตาย อย่างไร และเราจะเรีย นรู้อะไรจาก ความตายได้บ้าง ถ้าเรามองความตายในมุมใหม่ ห า ข้ อ มู ล ค ว า ม รู้ เ พื่ อ เ ต รี ย ม ตั ว พูดคุยเรื่องนี้กับคนใกล้ชิดบ่อยๆ จะ ท�าให้มน ั กลายเป็นเรือ ่ งปกติธรรมดา เมือ ่ เวลานัน ้ ของตัวเราหรือของคนที่ เรารักมาถึง เราจะได้รักษาความสุข สงบไว้ได้ ความตระหนักถึงวาระสุดท้าย จะช่วยท�าให้ทงั้ ชีวต ิ ของเราก่อนหน้านัน ้ มีคุณค่า เรารู้ว่าควรใช้ไปเพื่อเป็น ประโยชน์ ต่ อ ผู้ ค นและสั ง คม ดู แ ล คนรุ่นก่อนเราให้มีความสุข รักษา ความรั ก ความสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ดี และมี ชีวิตอยู่อย่างมีความหมาย


a day BULLETIN

Happy End 12

DR. C H ANC H A I S I TT I PU N T

เวลาเป็นสิ่งที่มีค่า ทุกคนต่างก็รู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงเวลาระยะสุดท้ายของชีวิต เราก็ควรอยู่อย่างมีคุณค่าและความหมายมากที่สุด แต่น่าเสียดายที่คนส่วนใหญ่มองเรื่องความตายเป็นสิ่งต้องห้าม ไกลตัว และไม่ขอพูดถึงเพราะเป็นเรื่องอัปมงคล ท�าให้คนหนุ่มสาวละเลยมองข้าม ในขณะเดียวกัน คนแก่ชรา คนเจ็บป่วยหนัก ก็เสียสิทธิ ขาดโอกาส ไปจนถึงความไม่รู้ เข้าไม่ถง ึ ข้อมูล ข้อเท็จจริง ท�าให้ระยะสุดท้ายของคนทีเ่ รารักขาดแคลนทัง ้ ความสุขทางกายและทางใจ เขาไม่สามารถสะสางสิ่งที่คับข้องใจ อีกทั้งร่างกายยังทุกข์ทรมานเกินจ�าเป็น ภาพเหล่านี้เราเริ่มมองเห็นมากขึ้น และรู้สึกว่าคืบคลานเข้ามาใกล้ตัวเรามากขึ้นทุกทีๆ ซึ่งในที่สุดก็จะส่งผลกระทบในวงกว้าง ไม่ใช่เพียงแค่ในระดับปัจเจกบุคคล แต่เป็นระดับทั้งสังคม a day BULLETIN จึงมาจับเข่าคุยกับ รศ. นพ. ฉันชาย สิทธิพันธุ์ ซึ่งนอกจากจะเป็นแพทย์ช�านาญพิเศษโรคปอดและทรวงอก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เขายังเป็นอีกคนหนึง ่ ทีช ่ ว ่ ยผลักดันเพือ ่ ให้เรารูจ้ ก ั กับการดูแลแบบประคับประคอง หรือ palliative care หลักการทีจ่ ะช่วยเปิดทัศนคติใหม่ของความตาย ว่าไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด รวมถึงสร้างคุณภาพชีวิตให้ทั้งผู้ป่วยและคนที่อยู่ต่อได้

13

Medical Point of View เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์

คุ ณ รู้ สึ ก อย่ า งไรกั บ หน้ า ที่ ก ารงาน ที่ต้องรับผิดชอบความเป็นความตาย ของคนไข้ แน่ น อนว่ า เราไม่ ส ามารถ ช่วยให้ทุกคนรอดได้ท้ังหมด คุณเคย รู้สึกล้มเหลวบ้างไหม

หลายๆ ครั้งที่ทางการแพทย์เรามอง ว่าความตายคือความล้มเหลว เพราะว่าใน ทุกการรักษา เรามองผลส�าเร็จคือการรอดชีวติ แต่สุดท้ายแล้วต้องเข้าใจเหมือนกันว่าเรา ไม่ได้ชนะทุกครั้งไป ในทางการแพทย์เราเริ่ม พู ด กั น แล้ ว ว่ า การรั ก ษาไม่ ไ ด้ ท� า ให้ ห าย แน่นอนทุกครัง้ แต่คอื การดูแลให้คนไข้สขุ กาย สบายใจ นั่นคือสิ่งที่แพทย์ท�าได้อยู่ตลอด ดั ง นั้ น สิ่ ง ที่ ส� า คั ญ ที่ สุ ด คื อ เราต้ อ งพร้ อ ม ไม่ว่าจะท�าให้เขาหายป่วย หรือท�าให้เขา อยู่สบาย และเมื่อถึงเวลาต้องตาย ก็ทา� ให้ เขาตายดี บางครั้งผมก็รู้สึกหดหู่เหมือนกัน แต่ต้องมองย้อนกลับไปว่าเราท�าดีที่สุดแล้ว พยายามท�าสิ่งที่เหลืออยู่ต่อไปให้ดีที่สุด คนเรามีสทิ ธิใ์ นการตัดสินชีวติ ตัวเอง ได้ ชีวิตเรามีเพียงเราเท่านั้นที่ก�าหนดได้ แต่ ไ ม่ ต ้ อ งถึ ง กั บ ไปฆ่ า ตั ว ตายหรื อ ไปท� า การุณยฆาต เราวางแผนชีวติ กันสิวา่ ต้องการ อะไร บอกลูกหลานไว้ก่อน นี่เป็นเรื่องที่เรา ท�าได้ และจะเห็นเลยใช่ไหมว่าระบบต่างๆ ทั้งสังคมเราจะต้องมีความพร้อมมากกว่านี้ คนไข้ที่ได้รับการดูแลไม่ดี เขาทุกข์ทรมาน ทางกาย หรือมีความรู้สึกหดหู่ โดดเดี่ยว อ้างว้าง ถ้าระบบการ palliative care ดีพอ การการุ ณ ยฆาตก็ ไ ม่ เ กิ ด ขึ้ น ผมจะสอน นิสิตแพทย์เสมอว่า ถ้าวันหนึ่งมีใครก็ตาม มาขอให้เราช่วยจบชีวิตของเขา ในฐานะ ที่ เ ป็ น หมอ สิ่ ง ที่ ค วรท� า ที่ สุ ด คื อ หาว่ า เขา ต้องการอะไร เขาได้รบั การดูแลทีไ่ ม่ดอี ย่างไร ต้องแก้ตรงนั้นก่อน แล้วคนไข้กจ็ ะสบายขึ้น วิ ธี ที่ เ ราจะพู ด เพื่ อ ให้ ก� า ลั ง ใจผู้ ที่ เ ขา ก�าลังเผชิญหน้ากับช่วงเวลาสุดท้าย ของชีวิต ต้องพูดกับเขาแบบไหน

คนไข้ที่อยู่ในระยะสุดท้าย สิ่งที่เขา กลัวมากที่สุดคือ กลัวจะถูกทอดทิ้ง กลัวว่า เขาจะเป็นภาระ และกลัวว่าถึงตอนสุดท้ายแล้ว จะทุกข์ทรมาน สิ่งที่เราต้องเน้นย�้าเสมอคือ เราจะไม่ทอดทิ้งเขาแน่ๆ เราจะช่วยให้เขา ผ่านช่วงนีไ้ ปให้ได้ และเดินไปด้วยกัน เราต้อง ท�าในสิ่งที่เราพูดกับเขาให้ได้ พยายามช่วย ถ้าเขามีอะไรค้างคาใจอยู่ บางครัง้ คนไข้มหี ว่ ง เยอะ การที่เขามีห่วงก็จะท�าให้จากไปอย่าง ไม่สงบ ซึ่งถ้าแก้ไขได้ว่าเขามีห่วงเรื่องอะไร ก็พยายามสะสางให้ คนไข้ส่วนหนึ่งก็จะรู้สึก สบายใจขึ้น การที่เขาได้อยู่ในที่ที่อยากอยู่ ก็ดว้ ย เช่น ถ้าอยากกลับบ้าน ผมจะช่วยโดยให้ คนทีเ่ ขารักอยูใ่ กล้กบั เขา อะลุม่ อล่วยในเรือ่ ง ของการเยี่ยม ให้มีคนมาเยี่ยมได้อย่างที่เขา ต้องการ ซึ่งจะช่วยให้เขาสบายใจขึ้น เพราะ การสื่ อ สารนั้ น มี ค วามส� า คั ญ ที่ สุ ด ในช่ ว ง สุดท้าย เรื่องแบบนี้ เราคุยกันตอนนี้ก็เหมือน เข้าใจได้ดี แต่พอถึงเวลาของเราจริงๆ คงกลัวมากๆ

issue 548 23 JUL 2018

ใช่ คุณต้องเข้าใจสถานการณ์ตรงนัน้ ให้ความดูแลกับผูป้ ว่ ยจนเขามัน่ ใจ สิง่ ส�าคัญ ทีส่ ดุ ในการ palliative care ไม่ใช่การหยุดรักษา คนไข้ ผมเน้นเลยว่าการรักษาทางการแพทย์ ต้องท�าให้เต็มที่จนกระทั่งเขาเสียชีวิต ตรงนี้ ต้องเน้นย�า้ นะครับ เพราะมีหลายคนเข้าใจผิด คิดว่า palliative care คือการทิง้ คนไข้ หยุดให้ การรักษา แท้จริงแล้วเราแค่เปลีย่ นเป้าหมาย การรักษา เพราะโรคแต่ละโรคมีเป้าหมาย ในแต่ละระยะไม่เหมือนกัน คนไข้กลัวก็ต้อง ดูแล ให้เขาไม่รสู้ กึ ทุกข์ทรมาน ให้เขาไม่เจ็บปวด

ให้เขามีจติ วิญญาณทีด่ ี ถ้าเขามีอาการซึมเศร้า ก็ต้องช่วยตรงนั้น แต่ปัญหาที่พบส่วนใหญ่ คือ พอคนไข้เลือกที่จะไม่ยื้อ เขากลับได้รับ การดูแลที่ไม่ดีพอ ท�าให้เขาเจ็บปวดทรมาน จากโรคของเขา สุดท้ายเขาก็ต้องเปลี่ยนใจ ว่าขอไปเข้าห้องไอซียูดีกว่า นั่นเพราะเรา ท�าให้เขาเหนื่อยเกินไป ดังนั้น palliative care จึงไม่ใช่การหยุดรักษา ดีไม่ดอี าจจะต้องเพิม่ การรักษาขึน้ กว่าเดิมด้วยซ�้า แต่ตอ้ งเน้นเรือ่ ง การควบคุมอาการ ความสุขกายสบายใจ ซึ่งสิ่งนี้จะช่วยให้คนไข้ผ่านเรื่องนี้ไปได้ หลักของการดูแลแบบ palliative care ไม่ได้ขึ้นอยู่กับว่าจะยื้อคนไข้ได้นานแค่ไหน แต่อยู่ในแง่ของคุณภาพของชีวิตว่าเราจะ ดูแลเขาอย่างไรให้ดีที่สุด ซึ่งหลายครั้งเราจะ พบว่าผู้ป่วยและญาติมีโอกาสได้เจอแพทย์ น้อยมาก เพราะบุคลากรทางการแพทย์ตอนนี้ มีจ�านวนไม่เพียงพอ โดยเฉพาะผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลรัฐบาล โอกาสที่พวกเขา จะได้ คุ ย กั บ แพทย์ ใ นเชิ ง ลึ ก นั้ น น้ อ ยมาก เมื่ อ คนดู แ ลไม่ ส ามารถสื่ อ สารกั บ หมอได้ อย่างเข้าใจ ก็เกิดเป็นข้อจ�ากัดในหลายๆ เรือ่ ง พอถึงเวลาทีต่ อ้ งคุยเรือ่ งใหญ่ๆ อย่างเรือ่ ง ความตาย คนไข้และคนดูแลก็รสู้ กึ ไม่สบายใจ ที่จะคุยเรื่องนี้ มีความกังวล และจะรู้สึกไม่ดี ตามๆ กันไป เรือ่ งนีผ้ มว่าเป็นประเด็นส�าคัญ ในแง่ของการสือ่ สารระหว่างผูป้ ว่ ย ญาติ และ ทีมรักษาพยาบาล คลุ ก คลี กั บ คนไข้ ช่ ว งสุ ด ท้ า ยมาเยอะ แ บ บ นี้ แ ล้ ว คุ ณ เ ชื่ อ ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ปาฏิหาริย์บ้างไหม

ผมไม่เชื่อในเรื่องปาฏิหาริย์ แต่ผม เชือ่ ว่าเราให้โอกาสกับทุกคน และคิดว่าเรามี ข้อจ�ากัดทางการแพทย์ แต่ปาฏิหาริย์มีข้อดี ตรงที่ท�าให้คนไข้มีก�าลังใจต่อไป แต่การให้ ความหวังซึง่ ไม่เป็นจริงก็ท�าให้คนไข้สว่ นหนึง่ ต้องทุกข์ทรมานมาก เพือ่ หวังว่าจะมีปาฏิหาริย์ เกิดขึน้ ผมเลือกจะให้ขอ้ มูลคนไข้อย่างแท้จริง ถึงแม้ตวั เลขทีบ่ อกไปจะไม่ถกู ต้องร้อยเปอร์เซ็นต์ ก็ตาม แต่หลายครั้งจะพบว่าคนไข้เป็นคน พูดเองว่า แม้จะมีโอกาสแค่หนึ่งเปอร์เซ็นต์ เขาก็อยากจะใช้มันอย่างเต็มที่ ตรงนี้คือเรา ต้องให้โอกาสคนไข้ และคุยกับเขาว่าเขา ยอมรับต่ออาการป่วยของตัวเองได้แค่ไหน เคยมี ก รณี ที่ ค นไข้ เ องยื น ยั น ที่ จ ะยื้ อ ตัวเองต่อไปไหม

มีบางครั้งที่เขาเห็นไม่ตรงกัน เขาจะ มองเป้าหมายของการรักษาแบบนีต้ า่ งออกไป ซึง่ เป้าหมายนีต้ อ้ งคุยกันให้ชดั เจนว่าจะรักษา เพือ่ อะไร คนไข้อาจต้องการการรักษาเพือ่ ให้ ชีวิตของตัวเองยืดออกไป พอเป้าหมายที่คุย ไม่ตรง การรักษาก็เป็นไปอย่างผิดที่ผิดทาง คนไข้บางคนเขาหวังว่าเมื่อเข้ารับการรักษา จะต้องมีปาฏิหาริย์เกิดขึ้น ซึ่งถ้ามองในมุม ของการแพทย์ โรคทีเ่ ขาเป็นอยูอ่ าจเป็นไปได้ ยากมากๆ แต่ผมก็ยอมรับว่าการรักษาบางครัง้ ก็อาจจะได้ผลขึ้นมา ผมก็จะยอมให้คนไข้ พยายามต่ อ สู ้ เพื่ อ หวั ง ว่ า จะเกิ ด ผลดี ขึ้ น แต่ก็ต้องคุยกันก่อนถึงความเป็นไปได้ แต่ ทัง้ นีก้ ต็ อ้ งย�า้ ว่า palliative care ต้องเริม่ ต้นจาก การพยายามคุย และให้ข้อมูล สุดท้ายจึงยึด ในสิง่ ทีค่ นไข้และญาติตอ้ งการเป็นหลัก และ ด�าเนินการไปตามนั้น แล้วกรณีทม ี่ ค ี วามยากล�าบากในการสื่อสารกับญาติและคนดูแลล่ะ

สิ่งที่ส�าคัญคืออย่าไปกังวลตรงที่ว่า จะรั ก ษาอย่ า งไร หรื อ จะหยุ ด การรั ก ษา อย่างไร แต่ให้เราเริม่ ต้นกันตรงทีแ่ นวคิดก่อน ทุกคนน่าจะท�าการตกลงแนวคิดให้เข้าใจ

ตรงกั น ว่ า ชี วิ ต ที่ ผู ้ ป ่ ว ยปรารถนาคื อ อะไร เขาต้องการมีชวี ติ อย่างไร ผมเชือ่ ว่าถ้าเราเริม่ คุยที่แง่แนวคิด คนส่วนใหญ่จะมีแนวคิดที่ ตรงกัน เช่น ถ้าอยู่แบบเป็นผักไม่เอานะ ถ้าต้องมาเจาะคอหรือต้องใช้เครือ่ งช่วยหายใจ ตลอดเวลาแบบนีก้ ไ็ ม่เอานะ ส่วนใหญ่เราคิด ตรงกันแล้ว ซึ่งถ้าก่อนที่เขาจะเจ็บป่วยหรือ เป็นโรคร้ายแรง ได้เคยคุยเรื่องแผนการชีวิต การดูแลด้าน palliative care ก็จะง่ายขึ้น ซึง่ ผูป้ ว่ ยเจอกับความเจ็บป่วยทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ เช่น เป็นอัมพาตตั้งแต่คอลงมา หรือสื่อสาร ไม่ได้เพราะต้องเจาะคอ เมื่อถึงจุดนั้นเรา อาจจะบอกว่าอย่าไปยือ้ ชีวติ เขาไว้ และดูแล เขาให้สบายที่สุดดีกว่า ถ้าหลักการดูแลแบบ palliative care ทั้ ง สั ง คมเรารั บ รู้ แ ละเข้ า ใจตรงกั น จะเห็นอะไรเกิดขึน ้ แบบเป็นรูปธรรมบ้าง

ผมมองว่า ถ้าไม่สา� เร็จ จะเกิดผลกระทบ ใหญ่ ห ลวงกั บ สั ง คมในอนาคตมากกว่ า เพราะบ้านเราก�าลังเคลือ่ นเข้าสูก่ ารเป็นสังคม ผูส้ งู อายุเต็มรูปแบบ เราก�าลังมีผสู้ งู อายุเพิม่ ขึน้ ซึง่ ผูส้ งู อายุนนั้ แน่นอนว่าต้องมีการเสือ่ มโทรม ของร่างกาย เกิดการเจ็บป่วย และต้องการ ความดูแล การดูแลแบบ palliative care จะ ท�าให้เราทุกคนมั่นใจได้ว่าจะได้รับการดูแล ที่เหมาะสม เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วคนไทยก็จะมี คุณภาพชีวิตที่ดีไปจนวาระสุดท้าย สามารถ อยูอ่ ย่างมีศกั ดิศ์ รีจนถึงวาระสุดท้าย ซึง่ ถ้าเรา ดูแลเรือ่ ง palliative care ไม่ดี มีการใช้ทรัพยากร ทีม่ ีจ�ากัด เช่น ระบบประกันสุขภาพ ซึ่งมี งบอยู่ก้อนหนึ่งที่น�ามาเฉลี่ยให้ส�าหรับการดูแลคนทั้งประเทศ แล้วเราดูแลผู้ป่วยอย่าง ไม่เหมาะสม เป็นการยื้อชีวิตของเขาไว้ และ ก็ใช้ทรัพยากรส่วนนีไ้ ป แทนทีจ่ ะเอาไปใช้กบั คนที่ได้ประโยชน์ต่อการรักษา ก็กลายเป็น มุมมองสองด้าน ผมเชือ่ ว่าถ้าเราเข้าใจเรือ่ งนี้ ทัง้ สังคม ระบบสุขภาพหรือระบบสาธารณสุข โดยรวม ส� า หรั บ คนที่ ยั ง ไม่ ถึ ง ทางเลื อ ก สุดท้ายก็จะดีขนึ้ ความแออัดในโรงพยาบาล จะน้อยลง เราใช้ห้องไอซียูได้คุ้มค่ามากขึ้น ที่ผมบอกว่าไม่คุ้มค่าเพราะเราเอาไปใช้กับ คนไข้ทไี่ ม่ได้ประโยชน์จากการรักษา แล้วเรา ยิ่งกลับท�าให้เขาทุกข์ทรมานมากขึ้น หลั ก การ palliative care ที่ คุ ณ กล่าวมา เหมือนกับว่าชุมชนในต่างจังหวัด ที่ยังมีความผูกพันของครอบครัวและ ชุมชน กลับจะสามารถท�าได้ง่ายกว่า ต่ า ง จ า ก ใ น ก รุ ง เ ท พ ฯ ที่ ทุ ก วั น นี้ บอกตรงๆ ว่าคนที่อยู่ข้างบ้านเรานั้น ยังแทบไม่เคยคุยกัน

ใช่ เป็ น เรื่ อ งที่ ท ้ า ทายมากจริ ง ๆ เพราะระบบในเมืองหลวงซึ่งแต่ละคนจะอยู่ เป็ น สั ง คมเดี่ ย ว และบางครั้ ง ก็ มี ก ารพา คุณพ่อคุณแม่มาอยู่ด้วยในกรุงเทพฯ โดยที่ ตัวเองไปท�างานทัง้ วัน สุดท้ายก็ไม่มใี ครดูแล ผมคิดว่าเป็นปัญหาที่ท้าทายเรามาก ยิ่งเรา ก�าลังก้าวเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุ ตรงนีท้ เี่ ราต้อง วางแผนให้ดี แต่ผมคิดว่าต่อไปเราจะมีกลไก ที่พยายามจะสร้างระบบเพื่อมารองรับตรงนี้ ในชุมชนเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพฯ หรือ เมืองใหญ่ต่างจังหวัด ซึง่ ก�าลังจะเป็นปัญหา มากขึ้นในอนาคต สิง่ ทีค ่ นในเมืองใหญ่อย่างเรากลัวทีส ่ ด ุ ก็คือการตายอย่างโดดเดี่ยว ที่ญี่ปุ่น เรียกว่า Kodokushi คุณว่าหลักการ ของ palliative care จะช่วยเราได้ไหม

เรื่องนี้ต้องมีระบบเชิงโครงสร้างของ ทั้งสังคม ถ้าไม่มีระบบ palliative care คนไข้ ก็ตอ้ งเข้ามาใช้ชวี ติ ช่วงสุดท้ายทีโ่ รงพยาบาล

ทั้งๆ ที่โรงพยาบาลถูกออกแบบมาส�าหรับ ดูแลคนไข้เฉียบพลัน ตอนนี้เราก�าลังขาด ช่วงกลางของระบบ ผู้ป่วย คนเฒ่าคนชรา อาจจะอยู่บ้านไม่ได้ แต่เขาก็ไม่ได้ต้องการ การดูแลแบบโรงพยาบาล ซึ่งจะท�าอย่างไร ในการดูแลตรงช่องว่างที่มีอยู่ เช่น มีระบบ ชุมชนทีช่ ว่ ยดูแลกันและกัน คนในชุมชนอาจ มีการไปเยี่ยมที่บ้านหรือเปล่า คนนี้หายไป เดือนหนึง่ โดยไม่มใี ครรูเ้ ลย ถ้าเรามี palliative care ในชุมชน มีกิจกรรมร่วมกัน ก็จะช่วย ให้คนไข้อยู่ในชุมชนได้นานขึ้น ไม่โดดเดี่ยว นี่ คื อ เรื่ อ งเชิ ง ระบบที่ ต ้ อ งมี ก ารสร้ า ง โครงสร้างพื้นฐานนะ เพื่อช่วยให้ดูแลกันได้ อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่โรงพยาบาลไปถึงบ้าน และช่ ว ยให้ เ ขาอยู ่ ใ นชุ ม ชนได้ น านที่ สุ ด แล้วภาวะการตายอย่างโดดเดี่ยวจะหายไป ทุ ก วั น นี้ ค นหนุ่ ม สาวพยายามวิ่ ง หา ความส� า เร็ จ เขาไม่ เ คยมองเรื่ อ ง ความตายเลย และคิดเสมอว่าเป็นเรือ ่ ง ที่ไกลตัวมาก

การจะท�าให้คนกลุ่มนี้มาเข้าใจเรื่อง ความตายก็ไม่ง่ายนัก ต้องใช้ประสบการณ์ ตรง เช่น มีญาติพี่น้องป่วย แต่ผมเชื่อว่าเรา พยายามพูดเรื่องนี้ในสังคมให้เป็นเรื่องปกติ เหมือนอย่างที่ไต้หวันเขาพูดเรื่องความตาย ในชัน้ เรียนมัธยมเลย ว่า palliative care คืออะไร การรักษาที่เหมาะสมคืออะไร เขาท�าให้เป็น เรือ่ งปกติของสังคม ซึง่ เราควรท�าเรือ่ งนีใ้ ห้เป็น เรือ่ งปกติ เช่น พ่อแม่พดู กับลูกเรือ่ งความตาย ได้เลย ว่าถ้าพ่อแม่เป็นอะไรไปจะท�ายังไง ให้เขารู้สึกว่าการคุยเรื่องความตายเป็นเรื่อง ปกติในครอบครัว และเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นกับ ทุกคนได้ ไม่แปลกทีจ่ ะคุยกัน เรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ ง ที่ใหม่อยู่สา� หรับบ้านเรา เพราะเพิ่งมีสอนใน ชั้นเรียนของแพทย์เมื่อ 10-20 ปีหลังนี้เอง แต่ในครอบครัว จะมีใครเคยพูดเรือ่ งความตาย ให้เด็กฟังไหม ผมว่าน้อย น้อยมาก ถ้าเราไม่เริม่ วันนี้ เขาก็จะไม่รู้ว่าความตายเป็นเรื่องปกติ ในชีวิต เราควรที่จะคุย ควรอยู่ในหลักสูตร การเรียนด้วย ถ้าวัดเรือ่ งความตายทีไ่ ด้คณ ุ ภาพ ทีด่ ที สี่ ดุ ไต้หวันเป็นประเทศทีด่ ที สี่ ดุ ในเอเชีย เรื่องคุณภาพการตาย เพราะเขาสอนเด็ก เรื่องความตายตั้งแต่ประถมเลย เขาพูดเรื่อง ความตายเลยว่าเป็นอย่างไร ความหมายในทางการแพทย์ในค�าว่า ‘คุณค่าของชีวิต’ นั้นคืออะไร

ถ้าเป็นในมุมมองทางการแพทย์จริงๆ เลย ไม่ ต ้ อ งพู ด ถึ ง ความเชื่ อ ทางศาสนา คุ ณ ค่ า ของชี วิ ต คื อ ชี วิ ต ที่ อ ย่ า งน้ อ ยต้ อ ง อยู่ได้โดยไม่มีความทุกข์ทรมานมากเกินไป สามารถตอบสนองความต้ อ งการทาง จิตวิญญาณของเราว่าต้องการอะไร และเรา มีความรูส้ กึ ว่ามีศกั ดิศ์ รีแห่งความเป็นมนุษย์ ซึ่ ง นี่ เ ป็ น สามเรื่ อ งที่ ผ มคิ ด ว่ า ส� า คั ญ ที่ สุ ด ชี วิ ต ที่ ดี ต ้ อ งมองที่ คุ ณ ภาพมากกว่ า เวลา ผมยึ ด หลั ก เสมอว่ า หน้ า ที่ ข องแพทย์ คื อ การยืดชีวติ ทีม่ คี ณ ุ ค่าและมีความหมายไปให้ นานทีส่ ดุ ถ้าเราท�าแค่ยอื้ ความตาย แค่นบั รอ วันทีเ่ ขาจะไปอย่างเดียว โดยทีเ่ ขาต้องไปอยู่ ในทีท่ ไี่ ม่มคี ณ ุ ค่า หรือว่าชีวติ เขาไม่มคี ณ ุ ภาพ เราต้องมาคุยกันแล้วว่าอะไรคือการรักษา ที่เหมาะสมในเวลานั้น

Palliative Care 101 ก า ร ดู แ ล แ บ บ ป ร ะ คั บ ประคองนั้ น ไม่ ไ ด้ ยุ่ ง ยาก หรือสร้างความล�าบากใจ อะไรเลย ถ้าเรารู้หลักการ คร่ า วๆ และเข้ า ใจวิ ธี ก าร ดังต่อไปนี้ • ดูแลผูป ้ ว่ ยทัง้ ในด้านร่างกาย จิ ต ใจ ภาวะทางสั ง คม และ เรื่องของจิตวิญญาณ เข้าใจ ผู้ ป่ ว ยว่ า ต้ อ งการอะไร และ ท� าให้ เ ขาเห็ น ว่ าเราพยายาม ช่ ว ยเหลื อ ไม่ ท อดทิ้ ง เขาให้ โดดเดี่ยว • ใ ห้ ก า ร ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย อ ย่ า ง ต่อเนื่องตั้งแต่แรกจนกระทั่ง เสียชีวิต • ดูแลตัวเองและคนรอบข้าง เพราะเมื่ อ คนในครอบครั ว ป่วยหนัก แน่นอนว่าคนอื่นๆ จะได้รบ ั ผลกระทบทัง้ ทางตรง และทางอ้อมไปด้วย การดูแล แบบ palliative care จึ ง ไม่ ใ ช่ ก ารดู แ ลผู้ ป่ ว ยเท่ า นั้ น แต่ ห มายถึ ง ดู แ ลทุ ก คนที่ อ ยู่ รอบข้างผูป ้ ว่ ยทัง้ ทางร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณเช่นกัน • ซึ่ ง ต้ อ งดู แ ลจิ ต ใจของคน ในครอบครัวหลังจากทีผ ่ ป ู้ ว่ ย จากไปด้ ว ย เพื่ อ ให้ พ วกเขา ไม่ มี สิ่ ง ที่ ติ ด ค้ า งจนเกิ ด เป็ น ปมในใจในเรื่ อ งต่ า งๆ เช่ น คิ ด ว่ า ตั ว เองยั ง ดู แ ลพ่ อ แม่ ไม่ดีพอ หรือว่าเขาเป็นสาเหตุ ที่ท�าให้ผู้ป่วยเสียชีวิต • ในด้ า นของแพทย์ ต้ อ ง เคารพสิทธิของผูป ้ ว่ ยและญาติ ในการรับรูถ ้ งึ ข้อมูลของอาการ ความเจ็ บ ป่ ว ย ให้ พ วกเขามี ส่วนร่วมตัดสินใจในแนวทาง และเป้ า หมายในการดู แ ล รวมถึงให้ความส�าคัญในเรือ ่ ง ของค่านิยม ความเชือ ่ ศาสนา ที่แตกต่างของพวกเขา • ดู แ ลโดยไม่ ยื้ อ ชี วิ ต ให้ เ กิ ด ความทรมาน แต่ เ น้ น ไปที่ การบรรเทาความเจ็ บ ปวด เพิม ่ คุณภาพชีวต ิ ให้กบ ั ผูป ้ ว ่ ย ให้ เ ขาใช้ ชี วิ ต ในช่ ว งสุ ด ท้ า ย อย่างมีความสุข และเสียชีวิต ตามระยะเวลา ของโรคที่

ด�าเนินไป


a day BULLETIN

14

15

Live Life Willingly

NAPAPO R N T R I VI T WA R E E G UN E

Love and Relationship

เรื่อง : ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

ถ้าเรามีปัญหาหัวใจ อกหัก รักคุด หรือก�าลังตกอยู่ในความสั ม พั น ธ์ ที่ น่ า สั บ ส น วุ่ น ว า ย ใ จ เพื่ อ นคนแรกที่ นึ ก ถึ ง ว่ า น่ า จะให้ ค� า ปรึ ก ษาได้ ดี ที่ สุ ด คงหนี ไ ม่ พ้ น ‘ดีเจพีอ่ อ้ ย’ - นภาพร ไตรวิทย์วารีกล ุ สาวที่ก ล่าวถึง ตัวเองว่าเป็น พวก สุขนิยม ซึ่งก็เห็นท่าจะจริง เพราะ ถ้ อ ย ค� า แ ล ะ ค ม คิ ด ข อ ง เ ธ อ ที่ ถ่ า ยทอดในรายการวิ ท ยุ นั้ น เต็ ม ไปด้วยพลังใจและแง่คิดดีๆ ที่ช่วย ท� า ใ ห้ ค น ฟั ง มี ค ว า ม สุ ข แ ล ะ ความพอใจในตัวเอง อย่างไรก็ตาม ถ้าชีวิตมาถึง วั น ที่ ต้ อ งเผชิ ญ หน้ า กั บ ปั ญ หาที่ หนักหน่วงยิง ่ กว่าเรือ ่ งอกหักรักคุด ล่ะ? ความสูญเสียที่ไม่ใช่เพียงแค่ ความรักเท่านัน ้ ทีจ่ บลง แต่หมายถึง คนรักของเราทั้งคนได้จากไปอย่าง ไม่มีวันหวนคืน ถ้อยค�าหรือคมคิด ของดีเจพี่้อ้อยจะช่วยเยียวยาเราได้ หรือไม่ ดีเจพี่อ้อยเคยเข้าร่วมอบรม ‘อยูอ ่ ย่างมีความหมาย จากไปอย่าง มีความสุข’ กับทางชีวามิตรฯ a day BULLETIN จึงอยากจะมานัง่ พูดคุย เรื่ อ งนี้ กั บ เธอ ว่ า ความสุ ข ที่ แ ท้ คื อ อะไร และเมื่ อ เผชิ ญ หน้ า กั บ ความสู ญ เสี ย ที่ ยิ่ ง ใหญ่ เราจะ กลับคืนสู่ความสุขได้หรือเปล่า

คุณพูดถึงเรือ ่ งความรักอยูเ่ สมอๆ แต่เราอยากรู้ ถึงทัศนะของคุณที่มีต่อเรื่องความตาย

โดยส่วนตัวเป็นคนที่เจริญมรณานุสติอยู่แล้ว พี่ท�างานกับ คลับฟรายเดย์ มานาน ท�าให้เห็นถึง ความไม่แน่นอนของสิง่ ต่างๆ ความรักและการสูญเสียนัน้ อยู่คู่กัน ซึ่งท�าให้รู้สึกกับเรื่องความตายตลอดเวลา และก็น�ามาเป็นส่วนหนึ่งในการท�างานพูดคุยกับผู้ฟัง หลายครั้งมักจะตอบค�าถามหลายๆ คนว่าเราไม่รู้ว่า วันข้างหน้าจะเป็นอย่างไร แต่วนั นีต้ อ้ งท�าให้เต็มทีท่ สี่ ดุ และก็มกั จะหยิบยกเหตุการณ์หรือข่าวต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง มาชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ความไม่ แ น่ น อนของทุ ก สิ่ ง ดั ง นั้ น เมื่อทั้งเนื้องานและความเชื่อส่วนตัวสอดคล้องกัน เมื่อทางชีวามิตรฯ มาชวนก็เลยยินดีที่จะไป วันทีไ่ ปได้ฟงั ก็ได้ความรูท้ างด้านกฎหมายและ การรักษาแบบประคับประคอง รวมทัง้ ความเข้าใจเรือ่ ง ความสุขสุดท้ายของคนใกล้จะจากไป พี่ยังจ�าได้ว่า คุณหมอฉันชาย (สิทธิพนั ธุ)์ ถามว่า ถ้าเลือกได้ เราอยาก เลือกตายแบบไหน ทุกคนทีน่ งั่ อยูใ่ นกลุม่ พูดเหมือนกัน หมดว่า เราอยากตายในอ้อมแขนของคนที่เรารัก คุณหมอเลยถามกลับมาว่า แล้วจะมีใครสมหวังบ้าง จากนั้นคุณหมอก็อธิบายว่า ในความเป็นจริง สิ่งที่จะ เกิดขึน้ คือคุณจะไปอยูใ่ นห้องไอซียทู มี่ อี ปุ กรณ์ทกุ อย่าง ติดอยู่กับตัวเต็มไปหมด แล้วไล่คนที่คุณรักทั้งหมด ออกจากห้องไป เขาจะพยายามท�าอะไรก็ตามเพือ่ ให้คณ ุ ยังมีลมหายใจต่อไป จนเมื่อเขาช่วยไม่ไหว ก็จะเดิน ออกมาบอกคนคุณทีร่ กั ว่าคุณจากไปแล้ว ซึง่ นีไ่ ม่ใช่สง่ิ ที่ คุณต้องการใช่ไหม ค�าถามของหมอก็ท�าให้เรารูส้ กึ ว่า เออ นั่นสินะ ตัวเองเป็นพวกสุขนิยม เป็นคนประเภททีไ่ ม่วา่ เผชิญหน้ากับอะไรก็ตาม แม้รวู้ า่ เป็นความทุกข์ พีก่ ต็ อ้ ง หามุมทีม่ คี วามสุขให้ได้ ทุกวันนีพ้ กี่ บั สามีอยูไ่ กลกันค่ะ อยู่ต่างจังหวัดและต้องเดินทางบ่อย แล้วคนที่ต้อง บินบ่อยๆ จะมีความรูส้ กึ อย่างหนึง่ ว่าพออยูบ่ นฟ้านัน้ หากเกิดอะไรขึ้นมาจะช่วยชีวิตตัวเองได้อย่างไร เราก็ คิดแค่วา่ เอาเถอะ เมือ่ ไหร่กเ็ มือ่ นัน้ แล้วก็จะสวดมนต์ เพื่อให้มีสติอยู่กับตัวจนถึงวินาทีสุดท้าย แต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าการฝึกสติทา� ให้ปลงได้หมด แต่จะช่วย ให้เราอยูก่ บั เวลานัน้ ได้สนั้ ลง หรืออยูก่ บั ความเจ็บปวด นั้นได้น้อยลงมากกว่า คนหนุ่มสาวที่ยังแข็งแรงอยู่ จ�าเป็นไหมที่ต้อง มองให้เห็นถึงความไม่แน่นอนของชีวิต

issue 548 23 JUL 2018

ต้องยอมรับก่อนว่าแต่ละคนคงมองเรื่องนี้ ต่างกันไป คนอายุนอ้ ยๆ คงไม่มานัง่ ฟังพีพ่ ดู แบบนีห้ รอก ว่าเวลาเหลือน้อย เพราะยังเห็นว่ามีอะไรให้ทา� อีกเยอะ แต่พอมาถึงวัยหนึง่ เราจะมองเรือ่ งนีม้ ากขึน้ มันคือวันที่ เราเริม่ ไปงานศพบ่อยขึน้ พีไ่ ม่ได้มองว่าทุกคนต้องเจริญ มรณานุสติทกุ คน แต่เพียงแค่ให้มองเห็นว่าวันข้างหน้านั้น ไม่แน่ไม่นอน มีแค่วันนี้เท่านั้นที่เรายังควบคุมดูแลได้ ดังนัน้ ถ้าเรามองเป็น มันจะกลายเป็นความสุข เพราะ เราจะเห็นคุณค่าของเวลาที่มี เวลาที่เรายังหายใจได้ เราจะรูส้ กึ ว่าแค่นโี้ ชคดีจงั เลย สิง่ ทีพ่ ยายามคือ ก่อนถึง วันสุดท้าย ฉันต้องท�าสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ หลายๆ คนทีโ่ ทร.เข้ามา ในรายการ บอกว่าตัวเองโชคร้าย มีเชือ้ เอชไอวี บางคน ป่ ว ยเป็ น มะเร็ ง พี่ มั ก จะบอกว่ า ส่ ว นหนึ่ ง นั้ น คื อ ความโชคดีทไี่ ด้รเู้ วลาทีย่ งั เหลืออยู่ จะได้เตรียมตัว ได้ไป ขอโทษคนทีผ่ ดิ ใจกัน แต่ในขณะทีค่ นแข็งแรงมักจะกลับ ประมาท ประสบอุบตั เิ หตุปบุ ปับ ไม่มโี อกาสได้ลาใคร

อยากให้ ช่ ว ยแชร์ ป ระสบการณ์ ส่ ว นตั ว ที่ เกี่ยวข้องกับความรักและความสูญเสีย

พี่และครอบครัวเข้าใจเรื่องความไม่แน่นอน มาโดยตลอด โดยเฉพาะเรือ่ งโรคภัยไข้เจ็บ อย่างตอน ที่คุณแม่ไม่สบาย ต้องเข้าๆ ออกๆ ห้องผ่าตัดบ่อยๆ ระหว่างรอก็เห็นเตียงคนป่วยเข็นไปเข็นมา บางคนก็ อายุนอ้ ยไม่นา่ จะต้องมาผ่าตัดเลย นัน่ ท�าให้พยี่ งิ่ เห็นว่า ไม่มอี ะไรแน่นอน คนทีอ่ ายุเยอะกว่าไม่ได้แปลว่าต้องไป ก่อน หรือจะเป็นเรือ่ งของพีส่ าวของสามี เขาเส้นเลือด ในสมองแตกอย่างกะทันหัน นีถ่ อื เป็นบทเรียนเล่มใหญ่ และย�้าว่าทุกอย่างไม่แน่นอน หมอก็เคยพูดไว้ว่าเขา ไม่รอดแน่ๆ แต่เราก็คดิ ว่าไม่มอี ะไรจะเสีย ลองสูจ้ นถึง ทีส่ ดุ ก็นา� พีส่ าวลงมากรุงเทพฯ ถึงตอนนีผ้ า่ นไป 15 ปี แล้ว เขาก็ยังมีชีวิตอยู่ แค่นอนนิ่งๆ และพูดได้ไม่ชัด แต่รบั รูไ้ ด้รอ้ ยเปอร์เซ็นต์ ส่วนลูกสองคนก็กลายมาเป็น ลูกของพีก่ บั สามีไปเลย เราส่งเรียนจนจบ บวช และก็ แต่งงานไป พีเ่ องไม่ได้อยากให้ใครต้องเจอโจทย์ยากๆ ก่อนถึงจะเริม่ เตรียมตัว แต่บางทีมนั ช้าไป ถ้าสิง่ ทีพ่ เี่ ล่า และเจอมาในชีวิตเหล่านี้พอจะเป็นประโยชน์ พี่ก็ อยากให้ทุกคนเอาไปใช้ หรือฉุกคิด และเลิกคิดเถอะ ว่านี่คือการแช่งตัวเอง เมือ ่ เจอโจทย์ยากๆ มาแล้ว หลังจากนัน ้ มาชีวต ิ ก็มีความสุขได้ง่ายขึ้นใช่ไหม

ใช่เลย อย่างพี่ก็จะเขียน living will เขียนถึง สิ่งที่เรายังห่วง สิ่งที่เราต้องการไว้คร่าวๆ เหมือน การขีดเส้นประ เราไม่ได้กดดันตัวเอง แต่อนาคต สามารถเพิม่ เส้นประอืน่ ๆ ได้ตลอดเวลา เขียนว่าจะบริจาค ดวงตา บริจาคอวัยวะต่างๆ แล้วบอกกันไว้ ซึ่งนี่ไม่ใช่ เรื่องน่าตกใจอะไร แต่เป็นเรื่องที่น่าชื่นใจมากกว่า รวมทั้งการบริจาคเลือดทุกๆ 3 เดือน ด้วยเหตุผลคือ พีเ่ คยแท้งลูก จึงตัง้ ใจไว้วา่ ถ้าเลือดของเรา ลูกเราไม่มี โอกาสได้ใช้ เราก็จะให้คนอื่นต่อไป เพราะคุณรู้ไหม การบริจาคเลือดหนึง่ คนท�าให้สามคนรอด และอาจจะ ยั ง ท� า ให้ ค รอบครั ว ของสามคนนั้ น รอดต่ อ ไปด้ ว ย คุณแม่พี่ก็เขียน living will เขาบอกกับพี่ว่าเก็บเงินไว้ ที่ไหน หรืออะไรเก็บไว้ตรงไหน แล้วให้เราพี่น้องไป แบ่งกัน สัง่ ว่าไม่ตอ้ งใส่เสือ้ สีด�าไปงานศพ ไม่ตอ้ งเศร้า ขอให้ลูกสนุกๆ เมื่อทุกคนได้เตรียมทุกอย่างไว้แล้ว ก็จะสบายใจขึ้น พี่มองว่าการมีชีวิตอย่างไม่มีคุณค่า นั้นคือความทรมาน การตายโดยที่ไม่ได้ฝากฝังอะไร ไว้ก็คือความทรมานเช่นกัน นั่นท�าให้พี่รู้สึกว่าการเตรียมตัวส�าคัญ และการใช้ชวี ติ อยูต่ อนนีอ้ ย่างดีกส็ า� คัญ เราจึงมีสติมากขึน้ และมีความสุขได้งา่ ยขึน้ ตามไปด้วย พี่คิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องละเอียดอ่อน ไม่ใช่ว่าทุกคน จะหันมามองเรื่องนี้ในทางบวกเหมือนกันหมดได้ ราวกั บ ทั้ ง หมดที่ คุ ณ เล่ า มา คื อ ความรั ก ความสุ ข และการท� า ชี วิ ต ทุ ก วั น ให้ มี คุ ณ ค่ า ล้วนเกี่ยวข้องกับความตาย

ถูกต้อง ไม่ใช่ว่ารอให้สัญญาณมาบอกก่อน แล้วถึงค่อยท�า เราจะต้องไม่มคี �าว่า ‘ถ้ารูอ้ ย่างนีน้ ะ...’ เป็นค�าที่ไม่ควรพูดติดปากเลย หากเราท�าวันนี้ให้ดี มีคณ ุ ค่าแล้ว เราจะต้องไม่มคี า� ว่ารูอ้ ย่างนี้ แต่ทกุ วินาที คือการเตรียมพร้อม

Living Will “ตอนที่ไปอบรมกับ ชีวามิตรฯ เขาสอนมากกว่า ‘ความเข้าใจเรือ่ งความตาย’ แต่ยงั รวมไปถึงข้อกฎหมาย ต่างๆ และการเขียน living will อย่างในสหรัฐอเมริกา เวลาป่วยและต้องเข้าไปใน โรงพยาบาล สิง่ แรกทีต ่ อ ้ ง หยิบไปด้วยคือประกันชีวต ิ และ living will สิ่งที่ได้ เรียนรู้คือ ตอนมีชีวิตอยู่ เ ร า ยั ง อ ย า ก อ ยู่ แ บ บ มี ความสุ ข เลย แล้ ว ท� า ไม ตอนจากไปเราจะไม่อยาก จากไปอย่ า งมี ค วามสุ ข แ ล ะ เ ร า ก็ ไ ด้ เ รี ย น รู้ มั น มากขึ้ น กว่ า ที่ ตั ว เองเคย เข้าใจ • Living will จะต้องให้เขา เป็นคนตัดสินใจในขณะที่ เขายั ง มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะ อย่างครบถ้วน • Living will ต่างจาก ก า ร เ ขี ย น พิ นั ย ก ร ร ม เพราะฟั ง ดู เ หมื อ นรวย มาก (หัวเราะ) กรณีนี้คือ อ า จ จ ะ มี ลู ก ห ล า ย ค น แ ล้ ว ก า ร จ ะ แ บ่ ง ค น นั้ น เท่านี้ คนนี้เท่านั้น ก็เป็น เรื่องยากที่จะเข้าใจ เลยมี ข้อกฎหมายเข้ามาก�าหนด • ห้ า มเขี ย นสิ่ ง ที่ เ ป็ น ไป ไม่ได้ในชีวิตจริง เช่น บ้าน หลังนี้ยกให้ทั้ง 3 คนนะ ให้อยู่ด้วยกัน เขียนแบบนี้ ลู ก จะตี กั น ตาย ในวั น ที่ ทุ ก ค น มี ส ะ ใ ภ้ มี เ ข ย ถ้ า รวมอยู่ ด้ ว ยกั น อาจจะ ทุกข์ทรมานก็ได้”


a day BULLETIN

16

17

WHEN THE CURTAIN FALLS C H AYA NO P B O O N P RA KO B

Young Generation เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์

กตัญญูเฉียบพลัน “ เ ร า เ ห็ น ด้ ว ย กั บ อาจารย์แสวง บุญเฉลิมวิภาส เกี่ ย วกั บ การยื้ อ ความตาย พ่อแม่ในวันสุดท้าย หลายครัง้ มันเกิดจากอาการ ‘กตัญญู เฉียบพลัน’ หมายถึงลูกหลาน ทั้ ง หลายที่ ไ ม่ ค่ อ ยได้ อ ยู่ กั บ พ่อแม่ ไม่มีเวลาให้เขา แต่พอ พ่อแม่จะไปก็อยากตอบแทน ด้วยการยื้อเขาไว้ให้นานที่สุด โดยลืมคิดไปว่ามันอาจท�าให้ เขาทรมานมากไปกว่ า เดิ ม เพราะฉะนั้ น การดู แ ลเขา ใ น วั น ที่ เ ข า ยั ง อ ยู่ กั บ เ ร า น่าจะเป็นค�าตอบที่ดีที่สุด”

Palliative Care

issue 548 23 JUL 2018

“อีกสิ่งที่เรารู้สึกสนใจ มาก คือวิธก ี ารดูแลผูป ้ ว่ ยแบบ ประคับประคอง (Palliative Care) หมายถึ ง ให้ อ าหาร ให้น�้าเท่าที่จ�าเป็น และรักษา เท่าทีส ่ ภาวะของผูป ้ ว่ ยต้องการ จากนั้ น ค่ อ ยๆ ลดระดั บ ของ การดูแลลงเรือ ่ ยๆ คล้ายๆ กับ การแลนดิ้ ง ของเครื่ อ งบิ น ที่เครื่องค่อยๆ ลงจอด ไม่ใช่ การไปพยายามดึงขึ้น ทั้งๆ ที่ น�้ า มั น มั น ก� า ลั ง จ ะ ห ม ด แล้วสุดท้ายก็ตกกระแทกพื้น แล้ ว ก็ ร ะเบิ ด แต่ ก ารดู แ ล แบบนี้ จ ะท� า ให้ เ ขาค่ อ ยๆ ลง อย่างราบรืน ่ ไม่ได้เคร่งเครียด ว่าต้องยื้อความตาย”

ในโลกที่ ก ว้ า งใหญ่ เปิ ด โอกาสมากมายให้ เ รา ใช้ชีวิตได้อย่างไร้ขีดจ�ากัด โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง กั บ วั ย หนุ่ ม สาว วั ย ท� า งาน ที่ ก� า ลั ง ส นุ ก ส น า น กั บ สี สั น ของชี วิ ต ความสุ ข ความส� า เร็ จ มี ม ากมาย ให้กอบโกย เรือ ่ งความตาย จึ ง ดู เ ป็ น เรื่ อ งไกลตั ว และ ถู ก มองข้ า มเสมอตอนที่ พ ลั ง ง า น ข อ ง ร่ า ง ก า ย และจิตใจยังลุกโชน ‘ ห มู ’ - ช ย น พ บุญประกอบ ผู้ก�ากับหนุ่ม เจ้าของผลงาน SuckSeed ห่วยขั้นเทพ และ เมย์ไหน.. ไฟแรงเฟร่ อ บอกกั บ เรา ตั้ ง แ ต่ ต้ น ว่ า เ ข า ก็ เ ป็ น หนึง่ ในคนหนุม ่ ทีม ่ งุ านหนัก แทบไม่เคยมีประสบการณ์ ใกล้ ชิ ด กั บ ความตาย แต่ การได้ ร่ ว มงานเวิ ร์ ก ช็ อ ป กับ สสส. และบริษท ั ชีวามิตร วิสาหกิจเพื่อสังคม ก็ช่วย ให้เขาได้มาทบทวนตัวเอง ถึงสิง่ ทีเ่ ขาหลงลืม มองข้าม และปรั บ โฟกั ส ให้ เ ห็ น ถึ ง สิง่ ส�าคัญ รวมทัง้ คนส�าคัญ เพื่ อ การใช้ ชี วิ ต ไปจนถึ ง วันสุดท้ายได้อย่างมีคณ ุ ค่า ยิ่งขึ้น

อยากรู้ ว่ า คนรุ่ น ใหม่ อ ย่ า งคุ ณ มองเป้ า หมายชี วิ ต และความส�าเร็จในอนาคตไว้อย่างไร

มันมีคน 2 แบบ แบบที่วางแผนระยะยาว แล้วก็ทา� ตามเป้าหมายของตัวเองอย่างเต็มที่ กับคนแบบที่ตอนนี้ รู้สึกยังไงก็ท�าแบบนั้นไปเลย บอกไม่ได้หรอกว่าแบบไหน จะเหมาะกับใครมากกว่ากัน แต่ถ้าเป็นตัวเราจะพยายาม บาลานซ์ทั้งสองอย่าง อย่างตอนที่เราเลือกไปเป็นสจ๊วต จริงๆ มันก็ไม่ถงึ กับวางแผนว่าไปท�างานสจ๊วตก่อนแล้วเดีย๋ ว ค่อยกลับมาท�าหนัง ใครจะไปรู้ว่าเราจะท�าอย่างนัน้ ได้จริงๆ มันเป็นคนละสายงานกันด้วย ไม่เหมือนกับการไปเรียนด้าน ภาพยนตร์และเรียนจบมาจะได้ทา� หนัง แบบนีม้ นั สมเหตุสมผล แต่การเป็นสจ๊วตแล้วกลับมาท� าหนัง อันนี้ไม่เมกเซนส์ เรียกว่าเป็นเรื่องโชคมากกว่า ตอนนั้นเป็นความรู้สึกว่า เพิง่ เรียนจบแล้วอยากไปท�าอะไรก็ได้ทรี่ สู้ กึ ตืน่ เต้น ไม่คนุ้ ชิน การเลือกว่ามีเป้าหมายบางอย่าง ก็ควรท�าเดี๋ยวนั้น ไปเลยหรือเปล่า เราคิดว่าต้องพิจารณารอบข้างด้วย ถ้าเรา สามารถเลือกได้อย่างอิสระ ก็ถือว่าเป็นความโชคดีของ คนคนนั้น ซึ่งก็คือตัวเรานี่แหละที่โชคดี อยากเลือกท�าอะไร ก็ได้ท�า ไม่ได้เดือดร้อนด้านการเงิน ทุกคนที่บ้านแข็งแรงดี ไม่มีใครน่าเป็นห่วง ทุกอย่างมันเปิดให้เรามาท�างานตรง จุดนี้ได้ คุ ณ เป็ น ผู้ ก� า กั บ หนั ง แนววั ย รุ่ น ผลงานออกมา ประสบความส� า เร็ จ เมื่ อ มองย้ อ นกลั บ ไปที่ บ้ า น ครอบครัว พ่อแม่ คุณคิดอย่างไร

การเข้าอบรมกับชีวามิตรฯ ก็ถอื เป็นการเปิดโลกทัศน์ ดีเหมือนกัน ด้วยความทีเ่ ราไม่เคยอยูใ่ นภาวะทีต่ อ้ งคิดเรือ่ ง พวกนีม้ าก่อนว่าจะมีคนใกล้ชดิ มากๆ ก�าลังอยูใ่ นระยะสุดท้าย โคม่าจากอุบตั เิ หตุหรือเจ็บป่วยร้ายแรง แต่พอได้ฟงั เรือ่ งราว จากคนอืน่ มันท�าให้ได้เห็นถึงปัญหาทีก่ า� ลังจะเกิดขึน้ ข้างหน้า แต่เชือ่ ไหมว่าสักแป๊บหนึง่ วันนี้ พรุง่ นี้ เราก็จะเผลอลืมมันไป มันง่ายมากเลย เราเผลอประมาทได้ง่าย เราเชื่อว่าคนที่มี ประสบการณ์โดยตรงจากเรื่องนี้จริงๆ ท�าให้เขาตระหนัก เรื่องนี้อยู่ตลอดเวลา หรือไม่ก็ต้องผ่านการกระตุ้นเตือน จากสือ่ บ่อยๆ สุดท้ายแล้วเราคิดว่ามันท�าให้เราตัง้ ใจท�างาน ที่ท�าอยู่ตอนนี้ให้เต็มที่ที่สุด ในมุมของการดูแลคนอื่น คนรุ่นลูกหลานอย่างคุณ สามารถท�าอะไรได้บ้าง

มันมี 2 มุม คือมุมของการจัดการตัวเราเอง กับมุม ที่เราต้องไปดูแลคนอื่น เอามุมของตัวเราเองก่อน แม้ว่า ความตายในมุมของพวกเรายังเป็นเรือ่ งทีไ่ กลตัวมาก แต่พอ มานั่งนึกดูมันก็เกิดขึ้นได้ การได้เขียนความปรารถนาของ ตัวเองเอาไว้ ก็ท�าให้เราได้ฝึกดูว่าถ้าเกิดเหตุขึ้นจริงๆ เราจะ จัดล�าดับความส�าคัญยังไง ได้ทบทวนความคิดตัวเองว่าเรา ให้คุณค่ากับอะไรในชีวิต สมมติว่าถ้าเราตายวันนี้ เราจะ จัดการกับตัวเองยังไง งานที่ยังค้างอยู่ หรือทรัพย์สินต่างๆ เราจะโอนให้ใคร ทุกอย่างต้องจัดการและมันคงดีมากหากมี ค�าตอบไว้ให้กับคนที่ก�าลังมีชีวิตอยู่ ต่อให้เรายังไม่ตาย แต่เราได้รู้จักตัวเองมากขึ้นด้วย คนส่วนใหญ่คิดว่ามันเป็น เรือ่ งไม่มงคล เราคิดว่าทางออกของเรือ่ งนีค้ อื การท�าอย่างไร จึงจะเปลีย่ นค่านิยม และท�าให้คนเข้าใจว่ามันไม่ใช่เรือ่ งมงคล หรือไม่มงคล แต่เป็นเรื่องปกติธรรมดา และเป็นเรื่องของ ความรับผิดชอบต่อส่วนรวมด้วย เราเองก็ยงั ไม่ได้ปา่ วประกาศ บอกใครว่าต้องการอะไร แต่เป็นเรื่องที่เรากลับมาเขียนเอง กลับมาทบทวนเองมากกว่าว่าเราให้ความส�าคัญกับอะไร ในชีวิตบ้าง ทรัพย์สิน การงานที่ค้างอยู่ เราก็จะนึกน้องชาย เพือ่ นร่วมงาน คนรัก ญาติ ได้เห็นว่าใครส�าคัญจริงๆ กับเรา

ในมุ ม ที่ ต ้ อ งดู แ ลคนอื่ น สิ่ ง ส� า คั ญ คื อ การเข้ า ใจ ความปรารถนาของเขา สมมติพ่อ แม่ ญาติ เพื่อน หรือใคร ก็ตามทีเ่ ราสนิท แล้วมีการระบุเอาไว้ชดั เจนว่าอยากให้ทา� อะไร ในวันที่เขาจากไป มันดีต่อทุกฝ่ายมากๆ ไม่ใช่แค่เรื่องของ ทรัพย์สิน มรดก แต่เป็นทุกเรื่องที่อยากให้เราช่วยจัดการ การได้รวู้ า่ ท่านไม่ได้อยากให้ยอื้ ก็ทา� ให้เราได้ทา� ตามสิง่ ทีต่ รง กับความต้องการของท่าน ข้อเสียของการยือ้ หนึง่ เราไม่รวู้ า่ คนทีก่ า� ลังถูกยือ้ อยูเ่ ขาเจ็บปวดทรมานแค่ไหน แล้วเขาอยาก ให้เราเลิกหรือเปล่า สอง เมื่อเรายื้อไว้นานๆ ส�าหรับคนที่ สมองตายแล้ว เขาไม่มีทางกลับมาได้ มันจะสิ้นเปลือง ทรัพยากรส�าหรับคนอื่นที่ต้องใช้เครื่องมือนี้ที่โรงพยาบาล แล้วเครื่องมือมันไม่พอ อาจจะเป็นคนไข้ที่ยังรักษาได้หรือ ต้องการการรักษา เขาก็ต้องมานอนรออยู่ที่เตียงนี้ไปเรื่อยๆ แล้วก็รักษาไม่ได้แล้ว ท�าไมคนเราถึงชอบยื้อชีวิตคนอื่น เพราะสัญชาตญาณแรกของเราคือต้องช่วยชีวิตไว้ก่อน ต่อให้คนนั้นไม่มีสติพอที่จะบอกได้ว่าตัวเองอยากมีชีวิตอยู่ หรือไม่อยากมี และถึงแม้ว่าหมอจะคิดว่าท�าไม่ได้ เร็วเกินไปไหมที่ในวัยแค่นี้ต้องมานั่งคิดเรื่องอะไร พวกนี้

ไม่เลย มันเหมือนท�าประกันชีวิตมากกว่า ท�าเอาไว้ ก็ไม่เสียหาย เป็นการท�าความเข้าใจกับความจริงและเป็น การรับผิดชอบตัวเองด้วย การเตรียมตัวเตรียมสิ่งเหล่านี้ ไม่เสียเงินด้วยซ�้า ตรงกันข้าม เราว่ามันกลับจะท�าให้ได้เห็น การใช้ชีวิตของตัวเองชัดขึ้น และอยากมีชีวิตอยู่กับคนที่อยู่ ในลิสต์ให้ดีขึ้น คิดถึงเรื่องความตาย แล้วเราอยากอยู่กับ พ่อแม่มากขึ้น อยากสานสัมพันธ์กับคนเหล่านี้ให้มากขึ้น กว่าเดิม และก็เห็นเป้าหมายในชีวิตชัดเจนมากขึ้นด้วยว่า เราอยากจะท�าอะไรจริงๆ เรามองว่า living will ของเราแต่ละคนสามารถเปลีย่ น ไปเรื่อยๆ อย่างเราท�าตอนนี้ กับท�าในอีก 10 ปีข้างหน้า ก็จะรู้ว่าเราเปลี่ยนแปลงไป เราให้ความส�าคัญกับบางสิ่ง บางอย่างไม่เหมือนกัน แต่มันก็สนุกดีที่ได้ทบทวนตัวเอง ในแต่ละช่วงวัย อย่างตอนสมัยเรียน อาจารย์แนะแนวถาม เราว่าจบแล้วจะไปท�าอาชีพอะไร ให้หลับตาแล้วนึกถึงตัวเอง ในอีก 10 ปีขา้ งหน้า มาวันนี้ ภาพทีเ่ ห็นก็ไม่เหมือนกับตอนนัน้ แล้ว เพราะฉะนั้น ส�าหรับคนที่เป็นวัยรุ่นที่สุขภาพร่างกาย ยังแข็งแรง สิ่งที่ควรโฟกัสน่าจะเป็นการให้ความส�าคัญกับ ผู้ใหญ่ที่เราจะต้องดูแล พวกเขาใกล้สิ่งนี้มากกว่าเรา ยิ่งตอนนี้เราก�าลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ไม่ต้องอะไร ให้มองใกล้ๆ ก่อนเลยว่าแค่พอ่ แม่เรา เขายังเดินได้ดหี รือเปล่า อย่างแม่เราตอนนี้เข่าเริ่มไม่ค่อยดีแล้ว เริ่มเดินกะเผลก เราก็คิดว่าการที่เขาต้องเดินขึ้นบันไดไปนอนที่ห้องนอน ชั้นสองอย่างยากล�าบาก มันต้องเป็นแบบนี้ไปถึงเมื่อไหร่ จะอีกสักกี่ปีที่เขายังเดินไหว ท�าให้เริ่มคิดวางแผนแล้ว อาจจะต้องย้ายห้องนอนแม่มาอยูช่ นั้ ล่าง ตอนนีท้ างเข้าบ้าน มีราวจับหรือยัง พื้นห้องน�า้ ลื่นไปไหม เราก็ไปหารองเท้าใส่ กันลื่นให้เขาหน่อย พยายามมองในมุมของเขา แม้เขาอาจ ไม่รู้ตัวด้วยซ�้า เราได้ยินบ่อยมากเรื่องคนแก่ล่ืนในห้องน�้า แล้วคนเราก็มกั จะจากกันไปด้วยเรือ่ งอะไรแบบนี้ ถ้าเราสังเกต และตระหนักถึงเรือ่ งพวกนีก้ อ่ น อย่างน้อยก็ประคับประคอง ให้เขาไปถึงตรงนั้นช้าหน่อย ก่อนที่เขาจะโคม่า ก็อย่ารอให้ เขาไปถึงขั้นนั้นสิ เราดูแลกันก่อนตั้งแต่ตอนนี้ไม่ดีกว่าเหรอ เคยคิดเล่นๆ ไหมว่าตัวเองในวัยแก่ชราจะเป็นอย่างไร

มีภาพหนึง่ ทีเ่ ราแปะไว้ในเฟซบุก๊ เองเลย คือประโยค ว่า ‘Be who you needed when you were younger.’ จงเป็น คนทีค่ ณ ุ ต้องการตอนคุณยังเด็ก หมายความว่าถ้าตอนเด็กๆ

เราเคยขาดคนที่ให้ก�าลังใจ คอยชี้แนะเรา เราก็อยากเป็น คนนัน้ แหละเมือ่ เราโตขึน้ เราชอบให้ก�าลังใจคนอืน่ เท่าทีเ่ รา พอจะท�าได้ เท่าที่เรามีศักยภาพ แต่การจะท�าอย่างนั้นได้ ก็ ต ้ อ งมี ค วามรู ้ มี ทั ก ษะ ประสบการณ์ เพราะฉะนั้ น เป้าหมายในชีวิตของเราคือถ้าเราโตขึ้น เราอยากเป็นคนที่ เก๋าๆ มีประสบการณ์ล้นเหลือ เคยท�าอะไรมาอย่างโชกโชน และสามารถแนะน�าไปถึงคนรุน่ ต่อไปได้ มันมีหนังสือการ์ตนู เรื่องหนึ่ง ฮิคารุ เซียนโกะ ที่ตั้งค�าถามว่าเราเล่นโกะกันไป ท�าไม แล้วค�าตอบก็คือ เราเล่นเพื่อส่งต่อให้คนรุ่นต่อไป ให้มันสืบทอดองค์ความรู้ไปเรื่อยๆ เหมือนวิทยาศาสตร์ ที่เมื่อร้อยปีที่แล้วมันก็ส่งต่อมาถึงวันนี้ เราเป็นแค่คนรับมา และส่งต่อ เป็นฟันเฟืองจากอดีตถึงอนาคต เพราะฉะนั้น เมื่อเราแก่ตัวไป เราก็อยากเป็นฟันเฟืองที่ส่งไม้ต่อที่ดี ในฐานะทีค ่ ณ ุ ท�าหนังให้วย ั รุน ่ ดู คุณคิดว่าจะถ่ายทอด เรื่องความตายนี้ออกไปอย่างไร

เวลามันมีหวั ข้ออะไรขึน้ มา มันไม่สามารถตอบได้ทนั ที ว่าเราจะท�าหนังเรื่องนี้ได้อย่างไร มันต้องผ่านการเคี่ยวกร�า มาระยะหนึ่ ง จนตกตะกอนและรู ้ สึ ก ว่ า เราเล่ า เรื่ อ งนี้ ไ ด้ เพราะฉะนั้น ตัวเราเองเราท�าหนังวัยรุ่นเพราะเราเคยผ่าน วัยนัน้ มา หนังอย่าง SuckSeed คือช่วงวัยของเราตอนอยูม่ ธั ยม เป็นช่วงที่เราเล่นดนตรีกับเพื่อน อกหัก หนังเรื่อง เมย์ไหนฯ ก็เป็นชีวติ อีกช่วงหนึง่ ถ้าอย่างเรือ่ งความตาย ประสบการณ์ ตรงของเรายังน้อย แต่เราก็ไปท�าความรู้จักผ่านเวิร์กช็อป ของชีวามิตรมา พอเริ่มรู้ เราก็เริ่มหันกลับมาสนใจเรื่อง ครอบครัว เรือ่ งความสัมพันธ์กบั คนในบ้าน แต่ตอนนีย้ งั ไม่ชดั เหมือนกันว่าจะประมาณไหน แต่กม็ สี ทิ ธิท์ หี่ นังเรือ่ งต่อๆ ไป จะเกี่ยวข้องกับเรื่องความเป็นความตายได้เหมือนกัน กลัวความตายไหม

กลัวนะ กลัวว่าจะจากไปโดยยังไม่ได้ทา� อะไรให้สมบูรณ์ เพราะเรายังใช้ชวี ติ ได้ไม่เต็มที่ ยังไม่ได้ทา� อะไรให้เกิดประโยชน์ กับคนอื่นและสังคมมากพอ เพราะด้วยวัย ด้วยธรรมชาติ ของมนุษย์ เราควรจะแก่ชราและตายไป ถ้าเราด่วนตาย ก่อนหน้านัน้ ก็คงเสียดาย ก่อนตายน่าจะท�าอะไรได้อกี เยอะ สมมติเราท�าหนังหนึง่ เรือ่ งใช้เวลา 2 ปี ถ้าเราตายตอนอายุ 80 ก็นา่ จะท�าหนังได้อกี เป็นสิบๆ เรือ่ งนะ อดท�าเลยว่ะ เสียดาย ส่วนอีกมุมคือการกลัวความเจ็บปวด กลัวความทรมาน เราจะตายแบบทรมานหรือเปล่า กลัวเป็นแบบในซีรสี ์ Game of Thrones ทีต่ ายโหงเกือบทุกคน แต่มปี ระโยคหนึง่ ในเรือ่ งนี้ ทีด่ มี ากคือ All men must die. (Valar Morghulis) โคตรสัจธรรม เลย พูดแบบนี้ได้ไหม ว่าสิ่งที่ผลักดันให้เราใช้ชีวิตให้ดี ที่สุดในวันนี้ ก็คือการที่เรารู้ว่าวันหนึ่งเราต้องตาย

เออใช่ เล่นฟุตบอลก็มีหมดเวลา 90 นาที ถ้าเตะ กันไปเรื่อยๆ มันก็ไม่ได้อะไร นาทีท้ายๆ ของเกมถึงได้มีค่า เพราะมันมีวันสิ้นสุด ยิ่งช่วงทดเวลาบาดเจ็บก็ยิ่งบีบคั้น นีแ่ หละคือไคลแม็กซ์ทแี่ ท้จริง เราว่ามันเหมือนกันกับการใช้ ชีวิต เพราะหมดเวลานั่นแหละที่ทา� ให้ชีวิตมีคุณค่า


a day BULLETIN

18

19

SIMPLE TRUTH, ORDINARY LIFE

E D DY P I T H YA KO R N

Spiritual Mindset

เรื่อง : ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี ขอบคุณสถานที่ : KAFFE by li-bra-ry Ari

ชาร้อนในกาใสถูกยกมาเสิรฟ ์ ในช่วงสายๆ ของวันอากาศเป็นใจ a day BULLETIN นั่ ง คุ ย กั บ ‘เอ็ ด ดี้ ’ - พิ ท ยากร ลี ล าภั ท ร์ นั ก เขี ย นและวิ ท ยากรผู้ บ รรยาย เรือ ่ งธรรมะแบบเข้าถึงง่ายและเข้าใจ ได้ไม่ยาก สามารถถ่ายทอดเรือ ่ งราว ความสุขให้ทก ุ คนฟังได้อย่างสบายใจ แต่ถา้ เป็นเรือ ่ งราวของความทุกข์ยาก ล่ะ? เอ็ดดีจ้ ะอธิบายด้วยธรรมะร่วมสมัย ให้ เ ราเข้ า ใจได้ อ ย่ า งไร โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ถ้าเป็นเรือ ่ งของความแก่ชรา ความเจ็บป่วย และความตาย เอ็ดดี้ชวนคุยเรื่องการฝึกฝน จิตใจ “มันมีค�ากล่าวว่า ตอนเริ่มฝึก ปฏิ บั ติ เรามองเห็ น ภู เ ขาเป็ น ภู เ ขา หมายถึงเห็นสิง่ ต่างๆ อย่างทีค ่ นอืน ่ เห็น แต่ พ อฝึ ก ไปสั ก พั ก เราจะเห็ น ภู เ ขา ไม่ใช่ภเู ขา คือความเข้าใจในอีกแบบหนึง่ ว่าจริงๆ แล้วสิ่งนี้ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน มั น คื อ ธาตุ ดิ น และอื่ น ๆ ที่ ก่ อ ตั ว รวมกั น แล้ ว เกิ ด เป็ น ภู เ ขา แล้ ว จน ฝึ ก ฝนต่ อ ไปเราก็ จ ะเห็ น ว่ า ภู เ ขา คื อ ภู เ ขานั่ น แหละ หมายความว่ า ความจริ ง ทั้ ง หมดทั้ ง มวล ไม่ มี ความจ� า เป็ น ต้ อ งไปแยกแยะก็ ไ ด้ เราก็แค่รู้อย่างที่มันเป็น” เ ช่ น เ ดี ย ว กั น กั บ ค ว า ม สุ ข ความทุ ก ข์ ชี วิ ต และความตาย สิง่ ทีเ่ ขาเน้นย�า้ อยูเ่ สมอคือ ‘ความจริง ตามธรรมชาติ’ และ ‘ความธรรมดา’ ทุกสิง ่ ล้วนตัง ้ อยู่ และดับไป ไม่มอ ี ะไร เหมือนเดิมสักอย่าง รวมทัง้ ลมหายใจ ของเรา บทสนทนาทั้งหมดที่จะย�้า ให้เห็นถึงความจริงนี้

ในฐานะที่ เ ป็ น ผู้ ส นใจในเรื่ อ งธรรมะร่ ว มสมั ย คุ ณ มี ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องความตายอย่างไร

การตายถ้าเป็ นไปโดยธรรมชาติ มันเป็นเรื่องปกติ การตายแบบไม่เป็นไปโดยธรรมชาติกเ็ ป็นเรือ่ งปกติในอีกทางหนึง่ เพราะมันเป็นสิง่ ทีส่ ามารถเกิดขึน้ ได้ เพียงแต่วา่ อาจจะไม่ใช่สงิ่ ที่ ใครคาดคิดได้ล่วงหน้า มนุษย์เราเกิดมาสุดท้ายยังไงก็ตาย อันนีค้ อื ความจริง เมือ่ เรารูว้ า่ นีค่ อื ความจริง เราก็ไม่จ�าเป็นต้อง คาดหวังหรือปฏิเสธความจริง ไม่คาดหวังในสิง่ ทีต่ รงกันข้ามกับ ความจริง เช่น การคาดหวังว่าตัวเองจะอยู่ได้จนถึง 100 ปี ส�าหรับผมน่ะไม่ตอ้ ง ไม่จา� เป็น อยูไ่ ด้เท่าไหร่กเ็ ท่านัน้ ขึน้ อยูก่ บั ว่า ชีวิตที่ผ่านมา เราใช้มันได้ดีแล้ว เราท�าสิ่งที่ดีมากว่าสิ่งที่ไม่ดี เราท�าประโยชน์มากกว่าปล่อยไปไร้สาระ แต่อย่างน้อยก็ขอให้ เป็นการตายอย่างธรรมชาติ ไม่ใช่การฆ่าตัวตาย เพราะผมยัง เชือ่ ว่า การฆ่าตัวตาย แม้วา่ จะท�าโดยสมัครใจหรือมีสทิ ธิ์ แต่มนั ก็คือการหนีความจริง เพราะความจริงไม่ได้มีแค่ความตาย เท่านั้น ยังมีเกิด แก่ เจ็บ ก็ล้วนคือความจริงที่ทุกคนต้องเจอ เราจะเอาแค่ความจริงเพียงอันเดียวเป็นตัวตั้ง แล้วไม่เอา ความจริงอื่นๆ ก็คงไม่ได้ แม้ว่าความแก่ชรา ความเจ็บป่วย จะไม่มีใครชอบ แต่เมื่อมันมาถึง เราต้องอยู่กับมันไปให้ได้ ต้องยอมรับให้ได้ มีคนไม่น้อยที่แก่ชราไปแล้วก็มีความสุข หรือถึงแม้ก�าลังเจ็บป่วยอยู่ก็มีความสุข แม้ว่าความสุขนั้นจะ ยากกว่าคนธรรมดาก็ตาม แต่ไม่ใช่ว่าไม่มี แต่การยอมรับความแก่ชรา ความเจ็บป่วย และความตายนั้นไม่ใช่เรื่องง่ายเลย

issue 548

ใช่ และนี่คือเหตุผลที่พระพุทธเจ้าสอนให้เราอยู่กับ ความเป็นจริง ทุกสิ่งล้วนตั้งอยู่และดับไป อธิบายให้เห็นภาพ ในทุกวันนี้ ใครบ้างมีปญ ั หาเรือ่ งทีพ่ ระอาทิตย์ขนึ้ ทางตะวันออก และตกทางตะวันตก ก็ไม่มี เพราะทุกคนอยู่กับมัน รับรู้ และ ยอมรับได้ นี่คือความชัดเจนของการเกิดและดับ ธรรมชาติ มักจะสอนความจริงให้กับเราเสมอ อยู่ที่เราจะยอมรับและ เรียนรู้กับมันหรือเปล่า ถ้าเราฝึกตัวเองให้อยู่กับปัจจุบัน มีสติ เราก็จะเห็นการเปลีย่ นแปลงแบบนี้ การเจ็บไข้ได้ปว่ ยบางอย่าง มันท�าให้เกิดเวทนาทางกาย เจ็บมาก ปวดมาก อันนั้นก็คือ ความยากอย่างหนึ่ง แต่ก็มีวิธีเหมือนกัน คืออยู่กับมันให้เป็น เช่น บางคนฝึกสมาธิได้ ก็ให้เข้าสมาธิ ไม่ตอ้ งรับรูเ้ วทนาทางกาย ได้ เพราะจิตจะเข้าไปอยูโ่ หมดนัน้ แล้ว พอออกมาดูกเ็ ห็นความจริง หากสังเกตดีๆ ก็จะพบว่ามันไม่ได้เจ็บปวดอยูต่ ลอดเวลา แต่จะ ขึ้นๆ ลงๆ แล้วการขึ้นๆ ลงๆ แบบนี้ก็แสดงความจริงให้เห็น แม้กระทั่งความเจ็บปวดที่เรากลัวมันก็ยังไม่เที่ยง ยังมีการเปลี่ยนแปลงเลย ดังนั้น ก็เลยมีคีย์เวิร์คคือค�าว่า ‘ธรรมดา’ แม้แต่เวลา ทีเ่ จ็บป่วยแล้วยอมรับไม่ได้ มันก็เป็นเรือ่ งธรรมดา ถ้าในเมือ่ มนุษย์ ยังมีประสาทรับรูค้ วามเจ็บปวด ก็คงไม่มใี ครทีเ่ วลาเจ็บปวดแล้ว มีความสุขหรอก เพราะฉะนั้น คนที่เจ็บปวดจะต้องทุรนทุราย กระสับกระส่ายเป็นเรือ่ งธรรมดา และเมือ่ เข้าใจสิง่ นีไ้ ด้กจ็ ะมอง ว่าเป็นเรื่องธรรมดา อย่างมีคนมาบอกว่า เขาป่วยแล้วไม่มี ความสุขเลย พีก่ จ็ ะบอกว่าธรรมดา เขายังยอมรับความเจ็บป่วย ไม่ได้ ก็ต้องฝึกกันต่อไป ซึ่งจะท�าได้หรือไม่ได้ก็ไม่เป็นไร อยากให้ชว่ ยยกตัวอย่างจากประสบการณ์ตรงให้ฟงั บ้าง

23 JUL 2018

คุณแม่เป็นตัวอย่างของคนที่เป็นมะเร็งแล้วมีสติและมี ปัญญาดีมาก ท่านป่วยเป็นมะเร็งที่มดลูก หมอตัดออกไปแล้ว แต่ยังเหลือส่วนเล็กๆ ที่ติดกับเส้นเลือดใหญ่ จุดนั้นตัดออก ไม่ได้เพราะอันตรายเสี่ยงต่อชีวิต ก่อนหน้านี้พวกเราก็ท� า ทุกอย่างแล้วแต่ก็ไม่ได้ผล แม่ก็เลยปล่อยวางและเตรียมตัว

เพื่อมาบอกเล่าให้ลูกฟังว่าเกิดอะไรขึ้น รวมทั้งบอกกับลูกว่า หากมันโตขึ้นอีก แม่จะไม่รักษา แม่ปล่อยเลย ให้ลูกเตรียมตัว เตรียมใจและรับรู้ ซึ่งแม่ก็ยอมรับความเจ็บป่วยได้ ท่านไม่เคย บ่นว่าแม่ทุกข์จังเลย ยังใช้ชีวิตตามปกติ ไปหาหมอตามนัด กลับมาบ้านก็ทา� กับข้าวกิน ดูแลต้นไม้ประจ�าทุกวัน ท�าในสิ่งที่ ท่านชอบ แม่ไม่เคยคร�า่ ครวญหรือเรียกร้องสิง่ ใด เพราะทีผ่ า่ นมา แม่ เ ป็ น อย่ า งนี้ อ ยู ่ แ ล้ ว และถื อ ว่ า เป็ น ความโชคดี ข องเรา ในทางตรงกันข้าม คุณพ่อท่านป่วยเป็นความดัน หน้ามืดแล้ว ล้มลง ท�าให้เนื้อสมองส่วนหนึ่งตายจนมีอาการสมองเสื่อม จากคนทีด่ ๆี อยูก่ ลับเริม่ ดูแลยาก ช่วยตัวเองได้ยาก และสือ่ สาร กันได้ล�าบาก ส่วนนี้ก็เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ แต่มันก็ท�าให้เรา เห็ น ว่ า แม้ วั น นี้ เ ราแข็ ง แรงดี แต่ ช ่ ว งเวลาหนึ่ ง เราอาจจะ กลายเป็นคนป่วยทันทีก็ได้ จากประสบการณ์ ส่ ว นตั ว การศึ ก ษาเรื่ อ งธรรมะ และเข้าอบรมกับทางชีวามิตร เมือ ่ ผสมกันแล้วได้แง่คด ิ อะไรเพิ่มขึ้นมาอีกบ้าง

จริงๆ แล้วแทบไม่แตกต่างกันเลย แค่ท�าให้เห็นภาพ ชั ด เจนขึ้ น อย่ า งเรื่ อ งของการที่ เ รามี สิ ท ธิ์ เ ลื อ กที่ จ ะไม่ รั บ การรักษาบางอย่างทีเ่ ราเห็นว่ามันเป็นการยือ้ มากกว่าการรักษา เพราะฉะนั้น มันมีเส้นแบ่งระหว่างการรักษา กับการท�าให้ตาย ช้าลง เรามีสทิ ธิเ์ ลือกทีจ่ ะจากไปอย่างเป็นธรรมชาติ ข้อนีช้ ดั เจน และมีประโยชน์มาก สมมติว่าเราท�าพินัยกรรมไว้ว่า เมื่อเราถึง ขั้นโคม่าแล้วต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ ก็ขอว่าไม่ต้องใส่นะ หากรูว้ า่ การรักษานัน้ ไม่ได้ผล ท�าได้เพียงยือ้ ความตาย เราบอก ได้ว่าไม่ต้องการ ซึ่งนั่นไม่ได้แปลว่าเราฆ่าตัวตาย แต่เป็น การเลือกจากไปอย่างเป็นธรรมชาติ ปัญหาเกิดขึน ้ เพราะเราไม่พด ู กันเรือ ่ งความตายใช่ไหม ทั้งที่ทุกคนรู้อยู่แล้ว แต่เรากลับไม่ค่อยบอกกันว่าจะ ต้องท�าอย่างไรเมื่อเวลานั้นมาถึง

ถามว่า หากไม่พูดถึงเรื่องนี้เลย แล้วเรายังจะต้องตาย อยู่ไหม... ก็ตายอยู่ดี (หัวเราะ) ดังนั้น การพูดกันก็จะดีกว่าไหม หากการพูดนัน้ หมายถึงการทีเ่ ราได้เตรียมตัวตาย ซึง่ ได้ประโยชน์ กว่าการไม่พูดเสียอีก ใครจะชอบหรือไม่ชอบก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง ใครจะกลัวหรือไม่กลัวก็เป็นอีกเรือ่ งหนึง่ ต่อให้ไม่ชอบ ต่อให้กลัว ยังไงก็ตายอยู่ดี ในเมื่อเรารู้แน่แล้ว มาเตรียมตัวไม่ดีกว่าหรือ ท�าใจหรือวางใจให้ถกู ก่อนไม่ดหี รือ เราก็จะได้วางแผนล่วงหน้า เพราะไม่รู้ว่าวันของเราจะมาถึงเมื่อไหร่ เมื่ อ เราสามารถเห็ น ว่ า ชี วิ ต และความตายเป็ น เรื่ อ ง ธรรมดา นัน ่ ก็หมายความว่าทัง้ สองเรือ ่ งนีม ้ จี ด ุ ร่วมกันอยู่

มันเป็นเรื่องเดียวกันตั้งแต่เกิดแล้ว คนเราเกิดมาก็ทุกข์ แล้ว จริงไหม? ไม่ใช่เพิง่ จะมาทุกข์ตอนใกล้ตาย คนจ�านวนมาก มักกลัวตาย เพราะกลัวตายแล้วจะทุกข์ ซึง่ จริงๆ แล้วความทุกข์ มันยังอยู่ เพราะฉะนั้น สุขในทางหนึ่งคือพ้นจากความทุกข์ นั่นถึงเป็นเหตุให้คนอยากฆ่าตัวตาย แต่ถ้าธรรมชาติยังไม่ให้ เราไป เราก็ไม่ควรไป แม้วา่ อาจจะอยูแ่ ล้วเหนือ่ ยหน่อย อาจจะ ยากล�าบากนิดหนึ่ง แต่อะไรที่เป็นธรรมชาติย่อมดีที่สุด และก็ จะเป็นสุขที่สุดแล้ว

สิทธิและการฆ่าตัวตาย “มนุ ษ ย์ ค วรมี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะเลื อ กในช่ ว งสุ ด ท้ า ย ของชีวต ิ ผมเคยบอกทุกคน ไว้ ว่ า หากหั ว ใจวายแล้ ว หมอจะฉี ด ยา หรื อ รั ก ษา แบบ 80% รอด ให้ ท� า ไป แต่ถ้าหมอบอกว่า 50:50 และต้องใช้เครือ ่ งช่วยหายใจ ก็ ใ ห้ ป ล่ อ ยเราไป ซึ่ ง ตรง กับทางชีวามิตรฯ ทีบ ่ อกว่า เราต้องการได้รบ ั การปฏิบต ั ิ หรื อ การรั ก ษาแบบไหน และควรที่ จ ะสื่ อ สารกั บ คนรอบข้างด้วย เพือ ่ ให้เรา หรือผู้ป่วยระยะสุดท้ายได้ จากไปอย่างเป็นธรรมชาติ และเป็นสุข “ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ผมไม่เห็นด้วยกับ mercy killing เพราะเท่ า กั บ การฆ่าตัวตาย นีย ่ ง ั คงเป็น เรือ ่ งทีล ่ ะเอียดอ่อน และยัง ค ง เ ป็ น ค� า ถ า ม ที่ ติ ด อ ยู่ อ ย่ า ง ก ร ณี ข อ ง เ ด วิ ด กูดออล นักวิทยาศาสตร์ ชาวออสเตรเลีย เลือกไป ฉี ด ย า ต า ย ที่ ป ร ะ เ ท ศ สวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ซึ่ ง หาก พูดกันในทางพุทธ เหมือน การผิดศีล และแทบจะไม่ตา่ ง จากการฆ่าตัวตาย เพียงแค่ ว่าเขาท�าโดยที่มีสติสัมปชัญญะดี และอาจจะต่างกัน เ ล็ ก น้ อ ย คื อ ‘ ภ า ว ะ จิ ต สุ ด ท้ า ย’ ก่ อ นจากไปนั้ น เป็ น จิ ต ชนิ ด ไหน ส� า หรั บ คนทีฆ ่ า่ ตัวตายปกติจะมีจต ิ ที่ เ ศร้ า หมอง แต่ เ ดาว่ า เคสนีอ ้ าจจะไม่ได้เศร้าหมอง ก็เป็นทางทีไ่ ม่ได้แย่มากนัก หากเขาไปแบบนั้น”


ABOUT DEATH TO WATCH WHILE YOU’RE ALIVE

A Ghost Story (2017)

The Fault in Our Stars (2014)

ไม่ใช่หนังผีหรือหนังสยองขวัญตามชื่อเรื่อง​แต่เป็น หนั ง ที่ พ าคนดู ก ลั บ ไปส� า รวจความหมายของความทรงจ� า​ การมีชีวิตอยู่ของตนเองกับคนรัก​และความตาย​ผ่านคู่รัก วัยหนุ่มสาวที่ใช้นามว่า​C​และ​M​โดย​C​ได้เสียชีวติ ลงอย่าง กะทั น หั น จากอุ บั ติ เ หตุ ​และหลั ง จากนั้ น เพี ย งไม่ กี่ น าที ​C​ ฟื้นขึ้นมาอีกครั้ง​ แล้วกลายเป็นวิญญาณที่สวมผ้าคลุมสีขาว​ นั่นจึงเป็นจุดเริ่มต้นที่​ C​ หาทางกลับบ้านเพื่อจะไปติดตามดู ชีวิตของภรรยาหลังจากความตายของตน

NEON DIARY

THE LIST

EXHIBITION

A Simple หนังชีวติ พล็อตเรือ่ งธรรมดาๆ​แต่กนิ ใจตัง้ แต่ตน้ จนจบ ของ​ แอน​ ฮุย​ ผู้ก�ากับหญิงแกร่งแห่งวงการหนังฮ่องกง​ เป็น Life เรือ่ งราวของอาเต๋า​หญิงชราทีร่ บั ใช้บา้ นตระกูลเหลียงมาตัง้ แต่ (2011) จ�าความได้​แต่ขณะนีท้ กุ คนในบ้านต่างแยกย้ายไปอยูต่ า่ งประเทศ

กันหมด​เหลือเพียงโรเจอร์​ นายน้อยที่เธอเลี้ยงดูมาตั้งแต่เด็ก​ เมือ่ อายุมากขึน้ เธอต้องย้ายไปอยูบ่ า้ นพักคนชรา​แต่ดว้ ยความผูกพัน​ นายน้อยของเธอก็หมั่นมาเยี่ยมทุกสัปดาห์​ พร้อมกับ ภาพของความสุขระหว่างคนสองวัยที่แสนเรียบง่ายแต่ซาบซึ้ง

The Lovely Bones (2009)

เรือ่ งราวชวนสะเทือนใจของเด็กหญิงทีถ่ กู ฆาตกรโรคจิต ฆ่าตาย​และวิญญาณของเธอก็ได้เดินทางไปยังสรวงสวรรค์​ ที่จินตนาการโดย​ ปีเตอร์​ แจ็กสัน​ ผู้ก�ากับ​ ซึ่งภาพของโลก หลังความตายของเขานัน้ สวยงาม​อบอุน่ ​และสงบจนท�าให้เรา รู้สึกว่า​‘สวรรค์’​ที่เราอยากไปอยู่ก็น่าจะเป็นอะไรที่คล้ายๆ​ แบบนี้ ​และในหนั ง ยั ง พู ด ถึ ง การยอมรั บ ในความสู ญ เสี ย​ การก้าวข้ามผ่านความเสียใจของคนที่ยังต้องอยู่ต่อไปด้วย

BOOK

ชีวิตสอนอะไร เราบ้าง issue 548 23 JUL 2018

Life Lessons​ หรือชื่อในภาษาไทย ชีวิตสอนอะไรเราบ้าง​ ของ​ อลิซาเบธ คืบเลอร์-รอสส์ และ เดวิด เคสเลอร์​ เล่าถึงการเรียนรู้จากประสบการณ์ชวี ิตของผู้คนหลายสิบชีวติ ผ่านการบอกเล่า ของผูเ้ ขียน​ช่วยส่องสะท้อนให้เห็นว่าในห้วงยามทีช่ วี ติ สับสน​ปัน่ ป่วนไปด้วยอารมณ์ทกุ ข์สขุ ​หวาดกลัว​ หดหูส่ งสัย​ผูค้ นจ�านวนมากเลือกทีจ่ ะปิดการรับรูแ้ ล้วโอบกอดตัวเองไว้แน่นจนละเลยการมองไปรอบตัว​ และการมองออกไปนอกตัว​ขณะทีอ่ กี จ�านวนมากเช่นกันทีเ่ ลือกจะหลีกหนีความทุกข์ในส่วนลึก​กราดเกรีย้ ว กล่าวโทษแต่กบั ผูค้ นรายล้อม​เตลิดและเพลิดเพลินไปกับสิง่ เร้าอืน่ ​กระโจนไปกับกระแสธารเชี่ยวกราก ของชีวติ จนอ่อนล้า​แน่นอนว่าทางเลือกสองแนวทางไม่อาจน�าพาเราให้เข้าถึงสุขสงบสันติทแี่ ท้จริงได้ เลือกให้โดย : ‘อาจารย์ฮูก’​-​ผศ.​อรรถพล​อนันตวรสกุล​สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา​ คณะครุศาสตร์​จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภาพยนตร์กับผู้สูงอายุ ครั้งที่ 19

ล�าบากทีต่ อ้ งเลือกระหว่างการยือ้ ความตายต่อไปหรือปิดเครือ่ งช่วยหายใจ​ซึง่ สะท้อนผ่านเรือ่ งราวความขัดแย้งทางจิตใจของ ตัวละครอย่าง​เจสสิกา​ซิตเทอร์​แพทย์ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้าน การรั ก ษาแบบประคั บ ประคองให้ กั บ ผู ้ ป ่ ว ยระยะสุ ด ท้ า ย​ พร้อมๆ​กับแรงกดดันจากลูก​สามี​ภรรยา​และญาติของคนไข้

THE LIST

​นิ ท รรศการของช่ า งภาพ สตรี ท ฝี มื อ จั ด ​ธั ช ช์ ภ สิ ฐ ​คุ ณ าพร​ เปรี ย บเที ย บการเดิ น ทางและ ความตายของคุณยายของเขาผ่าน แสงนีออน​เนือ่ งจากเวลามองเข้าไป ในแสงนีออน​ศักยภาพของสายตา มนุษย์เราไม่สามารถมองเห็นการเกิด และดับของมันได้​เช่นเดียวกับการเกิดและดับของสภาวะทางความคิด​ ภาพชุ ด นี้ จึ ง เป็ น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ ความทรงจ�าทีก่ ระจัดกระจาย​แต่หาก เ ชื่อมต่อกันด้วยโลกสองโลกผ่าน สายตาของช่างภาพและผู้ล่วงลับ​ งานจัดขึ้นตั้งแต่วันนี้ถึง​2​กันยายน​ 2561​ที​่ The​Jam​Factory​คลองสาน รายละเอียดเพิม่ เติม​www.facebook. com/TheJamFactoryBangkok

ภาพยนตร์โรแมนติกดราม่าที่ท�าเอาใครหลายๆ​คน น�้าตาท่วมจอ​ เล่าเรื่องราวของ​ ฮาเซล​ แลงคาสเตอร์​ และ​ กัส​วอเตอร์ส​สองหนุ่มสาวผู้ป่วยเป็นโรคมะเร็ง​และสานต่อ ความปรารถนาของกั น และกั น ด้ ว ยการเดิ น ทางไปพบกั บ นักเขียนในดวงใจถึงกรุงอัมสเตอร์ดัม​ ภาพยนตร์เล่ามุมมอง ความตายได้อย่างคมคายและลึกซึ้ง​ ทั้งเรื่องความหมาย ของการจัดงานศพ​ การเอาชนะความอ่อนแอของร่างกาย ตัวเอง​และการรักใครสักคนอย่างเต็มหัวใจ

Extremis สารคดีความยาว​24​นาทีจากเน็ตฟลิกซ์​จะพาคุณไป นั บ ถอยหลั งสูว่ นิ าทีสดุ ท้ายของคนทีเ่ รารัก​การตัดสินใจอันยาก (2016)

21

EVENT

​งานอี เ วนต์ ที่ จั ด โดยหอภาพยนตร์​(องค์การมหาชน)​ร่วมกับ ศู น ย์ ฝ ึ ก สมอง​โรงพยาบาลจุ ฬ าลงกรณ์​สภากาชาดไทย​และบริษทั ​ ชีว า มิต ร ​วิส า ห กิจ เ พื่ อ สัง ค ม โดยครั้งนี้เป็นการฉายภาพยนตร์ เรื่ อ ง​Manchester by the Sea หลังชมภาพยนตร์จบก็จะมีการพูดคุย กับ​คุณหญิงจ�านงศรี​หาญเจนลักษณ์​ และ​ผศ.​นพ.​สุขเจริญ​ตั้งวงษ์ไชย​ ในประเด็นที่ว่า​เราจะแก้ไขความผิดพลาดครัง้ มหันต์ในอดีตได้อย่างไร​ ด� า เนิ น รายการโดย​สั ณ ห์ ชั ย​ โชติรสเศรณี​ งานจัดในวันอังคารที่​ 24​กรกฎาคม​2561​เวลา​12.30​น.​ ณ​ห้อง​1210​ชัน้ ​12​อาคารภูมสิ ริ มิ งั คลานุสรณ์​โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์​ สภากาชาดไทย​ ส�ารองที่นั่งได้ที่ ศูนย์ฝกึ สมอง​ในวันและเวลาท�าการ​ โทร.​0-2256-4000​ต่อ​70710​และ​ 70711​(เข้าร่วมฟรี​ไม่มีค่าใช้จ่าย)

ABOUT DEATH TO READ WHILE YOU’RE ALIVE

a day BULLETIN

20

A MUST

ในเวิ้งฟ้า อันไพศาล

นวนิยายของ​ชมัยภร แสงกระจ่าง​ศิลปินแห่งชาติ​ สาขาวรรณศิลป์​ประจ�าปี​2557​เล่าเรือ่ งราวของครอบครัวหนึง่ ที่เพิ่งสูญเสียคนที่รักไปอย่างไม่มีวันกลับ​ท�าให้เกิดเรื่องราว มากมายที่ ผู ก ปมของตั ว ละครทุ ก คนได้ อ ย่ า งน่ า สนใจ​ ตลอดการอ่านเราจึงเผลอจิตนาการว่าหากเป็นคนนี้เราจะท�า อย่างไร​จะจัดการอย่างไร​และจะคิดอย่างไร​ท�าให้เราได้ทบทวน ตัวเองและเห็นถึงสัจธรรมของชีวิตได้อย่างไม่ตะขิดตะขวงใจ​ (ส�านักพิมพ์คมบาง​/​ราคา​270​บาท)

Sum : Forty Tales from the Afterlives

เรื่องสั้นแนว​Post-Life​Possibilities​ผลงานเขียนของ นักประสาทวิทยา​เดวิด อีเกิลแมน แปลโดย​ณัฐกานต์ อมาตยกุล น�าเสนอเหตุผลต่างๆ​เกี่ยวกับการมีอยู่ของมนุษย์​และความหมายของความเป็น​ความตาย​โดยทุกเรือ่ งเริม่ ต้นด้วยการสมมติ ว่าคุณตาย​แล้วชีวิตหลังความตายจะกระตุ้นให้เราลองตอบ ค�าถามอันเวิ้งว้างว่าเราเป็นใคร​และเกิดมาท�าไม​(ส�านักพิมพ์ ไจไจบุ๊คส์​/​ราคา​220​บาท)

The Heart and the Bottle

การสูญเสียเกิดขึ้นได้กับทุกคน​ไม่เว้นแม้แต่กบั เด็กๆ​ หนังสือนิทาน​The Heart and the Bottle​จากปลายปากกาของ​ โอลิเวอร์ เจฟเฟอร์ส จึงเลือกบรรยายความทุกข์ใจของเด็กหญิง เมือ่ คุณตาของเธอจากไป​ผ่านประโยคสัน้ ๆ​และภาพประกอบ สีสันสวยงาม​เพราะความโศกเศร้า​เธอจึงเก็บหัวใจใส่ไว้ใน ขวดแก้ว​ปิดกั้นตัวเองจากความสุข​จนกระทั่งเธอได้พบกับ เด็กหญิงทีล่ ะม้ายคล้ายเธอเมือ่ ครัง้ วัยเยาว์​ซึง่ ได้ช่วยน�าหัวใจ ของเธอออกมาพบกับความสุขอีกครั้ง​(ส�านักพิมพ์​Philomel​ Books​/​ราคา​320​บาท)

They Both Die At the End

Lots of Love 7,300 วัน ที่เรา รักกัน

นวนิยายชือ่ เศร้าจากนักเขียนผูส้ ร้างยอดขายถล่มทลาย​ อดัม ซิลเวอรา​เล่าเรื่องเด็กหนุ่มสองคนที่มีนิสัยต่างกันสุดขั้ว​ วันหนึง่ พวกเขาได้รบั โทรศัพท์จากบริษทั ​Death-Cast​เพือ่ แจ้งว่า เขาทั้งคู่ก�าลังจะตายในอีก​24​ชั่วโมง​แม้จะไม่รู้จักกันมาก่อน​ แต่โชคชะตาก็ท�าให้เขาทั้งสองได้นัดเจอกันผ่านแอพพลิเคชัน​ Last​Friend​เพื่อใช้เวลาร่วมกันในวันสุดท้ายอย่างคุ้มค่า และน่าจดจ�าที่สุด​(ส�านักพิมพ์​Simon​&​Schuster​/​ราคา​ 365​บาท) เรือ่ งเล่าจากประสบการณ์จริงทีจ่ ะพาคุณไปสัมผัสกับ ช่วงเวลาน่าจดจ�าตลอด​15​ปี​ซึ่งถ่ายทอดผ่านสมุดบันทึก​ โปสต์การ์ด​และกระดาษวาดเขียน​ของชายอันเป็นทีร่ กั ผูจ้ ากไป​ เรียงร้อยผ่านมุมมองของผู้ที่ต้องแบกรับความรู้สึกพรากจาก อย่าง​‘หมวย’ - ธนาพร ตั้งเจริญมั่นคง​กับเรื่องราวที่มีทั้ง รอยยิม้ และคราบน�า้ ตา​ซึง่ จะเป็นก�าลังใจให้กบั ผูค้ นอีกมากมาย บนโลกใบนี​้ (ส�านักพิมพ์​a​book​/​ราคา​235​บาท)

WORKSHOP

ค่ายธรรมะ และศิลปะเยียวยา

ส�าหรับบุคคลที่ก�าลังเผชิญหน้ากับคนที่เรารัก​ซึ่งในเวลานี้อาจจะเป็นผู้ป่วย เรือ้ รัง​ก�าลังอยูใ่ นช่วงทีด่ แู ลผูป้ ว่ ย​หรือเป็นผูส้ ญ ู เสียพลัดพราก​และต้องการทีเ่ รียนรู้ ความสูญเสีย​ทางชีวามิตรฯ​และ​คุณหญิงจ�านงศรี​หาญเจนลักษณ์​ได้จดั กิจกรรม ดีๆ​​ทีเ่ รียกว่า​ค่ายธรรมะและศิลปะเยียวยา​ขึน้ เป็นเวลา​2​วัน​และมีกจิ กรรมต่างๆ​ ประกอบไปด้วยการท�าวัตรเช้า-เย็น​ท�าอาหารถวายพระ​เดินตามพระบิณฑบาต​ กิจกรรมภาวนา​ศิลปะและสุนทรียสนทนา​และกิจกรรมจิตอาสา​รวมทั้งกิจกรรม ถาม-ตอบ​เพื่ อ ปรั บ จิ ต ใจให้ ผ ่ อ นคลายและได้ ส นทนาธรรมอย่ า งใกล้ ชิ ด กั บ พระไพศาล​วิสาโล นอกจากนีย้ งั มีวทิ ยากรมาให้ความรูท้ า่ นอืน่ ๆ​อาทิ​พญ.​โชษิตา​ภาวสุทธิไพศิฐ,​ วิจติ รา​เตรตระกูล​และแม่ชธี รรมธรา​รับผูร้ ว่ มกิจกรรมเพียง​20​คน​และจัดขึน้ ในวันที​่ 17-20​กันยายน​2561​ณ​วัดป่ามหาวัน​จ.ชัยภูม​ิ สามารถติดต่อเพือ่ จองและสอบถาม รายละเอียดต่างๆ​ได้ที่คุณปุ้ย​โทร.​08-9816-3116​หรือดูก�าหนดการเบื้องต้นได้ที​่ www.facebook.com/Cheevamit​

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


a day BULLETIN

LIFE

เรื่อง : กองบรรณาธิการ ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์

22

23

L E AV I N G B E A U T I F U L LY

issue 548 23 JUL 2018

‘ความตาย’ เป็นเรือ ่ งทีผ ่ ค ู้ นในสังคมร่วมสมัยมักจะไม่กล่าวถึง ด้วยเหตุผลทาง วัฒนธรรม เราถูกท�าให้เชื่อว่ามันน่ากลัวหรือไม่เป็นมงคล ควรจะต้องแยกออกไป จากชีวิตประจ�าวัน ทั้งที่เรื่องนี้คือสัจธรรมของชีวิต มีผู้คนเริ่มหันมาสนใจศึกษา หาข้อมูลความรู้ น�าประสบการณ์ของผู้คนมาถ่ายทอดบอกกล่าวกัน เพื่อท�าให้เกิด ชุ ด ความรู้ ที่ พ ร้ อ มน� า ไปใช้ ไ ด้ จ ริ ง ก่ อ นที่ วั น นั้ น จะมาถึ ง จริ ง ๆ ส� า หรั บ ตั ว เราเอง และคนรอบข้าง เพื่อจะน�าไปสู่ ‘การตายดี’ ในสั ง คมโลก เรื่ อ งการตายดี นั้ น ถู ก พู ด ถึ ง กั น กว้ า งขวาง ไม่ ไ ด้ ห ลี ก เลี่ ย ง หรื อ ปิ ด บั ง ยกตั ว อย่ า ง ดอกเตอร์ ปี เ ตอร์ ซาอู ล แพทย์ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการดู แ ล ผูป ้ ว ่ ยหนัก ได้ขน ึ้ มาพูดในรายการ TEDxNewy ในหัวข้อ ‘ชวนคุยถึงเรือ ่ งความตาย’ เรียกร้องให้เราบ่งบอกความต้องการในช่วงวาระสุดท้ายของชีวิต เขากล่าวว่า “เราควบคุมความตายไม่ได้ แต่เราสามารถปฏิวัติความตายได้” ซึง ่ อธิบายไว้อย่างน่าสนใจในฐานะทีเ่ ขาท�างานในแผนกไอซียม ู านาน ได้ชว ่ ยเหลือผูค ้ น ให้พน ้ จากความตายมาก็ไม่นอ ้ ย สิง ่ ทีเ่ ขาเห็นและรับรูม ้ าตลอดคือ ระหว่างการรักษา ผู้ที่ก�าลังป่วยหนัก ผู้ป่วยมักจะบอกว่า “พอแล้ว ไม่ไหวแล้ว” หลังจากนั้นก็ขอหยุด ทุกอย่าง และเขาต้องปล่อยให้คนคนนั้นจากไป ความต้องการของผู้ป่วย และการยอมรับสภาพความเป็นจริงทางร่างกาย บวกกับการพิจารณาถึงเงินทุนสนับสนุนจากรัฐบาลกลางและสุขภาพท้องถิน ่ เขาริเริม ่ การรณรงค์การเคารพสิทธิของผู้ป่วย (Respecting Patient Choices) เพื่อฝึก บุคลากรนับร้อยทีอ ่ ยูใ่ นแผนกดูแลผูป ้ ว่ ยฉุกเฉินให้ไปพูดคุยกับผูป ้ ว่ ยและคนในครอบครัว เพือ ่ บอกความจริงทีว ่ า่ พวกเขาจะก�าลังจะเสียชีวต ิ และสอบถามว่าพวกเขาต้องการ จะให้ทา� อย่างไร ตลอดเวลาทีด ่ อกเตอร์ปเี ตอร์ใช้แนวทางนี้ ครอบครัวและผูป ้ ว ่ ยกว่า 98% ชืน ่ ชอบวิธก ี ารนี้ อีก 6 เดือนต่อมา ทุกอย่างหยุดชะงักเพราะเงินทุนหมด แต่เขาไม่ได้ หยุดคิดเรือ ่ งนี้ เขายังคงใช้แนวคิดเดิม แต่ทา� โครงการขนาดเล็กลง ด้วยการให้ทก ุ คน ในครอบครัวมีส่วนร่วม เริ่มตั้งแต่พูดคุยความต้องการอย่างเป็นกันเองกับคนชรา ในบ้าน อาจใช้ค�าถามง่ายๆ เช่น ถ้าคุณยายไม่สบายหนักแล้วพูดไม่ได้ เธอคิดว่าใคร จะเป็นคนพูดแทนได้ไหม นั่นเท่ากับว่าเธอจะต้องบอกอะไรบางอย่าง หรือให้อ�านาจ อะไรบางอย่างในการตัดสินใจ เมื่อวันนั้นของคุณยายมาถึง นอกจาก ดอกเตอร์ปีเตอร์ ซาอูล ยังมี เดม ซิเซลี เซาน์เดอร์ส ผู้ก่อตั้งองค์กร เพื่อดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ยังได้เห็นถึงความส�าคัญของการบอกความต้องการ ในช่วงทีย ่ ง ั มีสติ ดอกเตอร์ปเี ตอร์จง ึ เดินหน้าสร้างความรูค ้ วามเข้าใจในเรือ ่ งของสิทธิ และกฎหมายต่างๆ ทั้งก่อนตาย ใกล้ตาย และหลังความตาย รวมทั้งวิธีการรักษา รูปแบบต่างๆ ซิเซลีได้กล่าวไว้ว่า “คุณส�าคัญเพราะเป็นตัวคุณ และคุณจะส�าคัญไป ตราบจนวาระสุดท้ายของชีวิต” นั่นคือตัวอย่างขอ งขบวนการทางสังคมที่ก�าลังขับเคลื่อนโลกรอบตัวของเรา อยู่ มีการมองเรื่องความตายเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างมาก และหาทางเลือกที่ เปิ ด กว้ า งเพื่ อ ให้ ผู้ ป่ ว ยระยะท้ า ย มี ชี วิ ต อยู่ อ ย่ า งมี ศั ก ดิ์ ศ รี จากไปอย่ า งสงบสุ ข เป็ น ไปตามความต้ อ งการของตั ว เอง ในขณะที่ บ้ า นเราก็ มี อ งค์ ก รที่ ท� า งานด้ า น สุขภาวะและรณรงค์เพือ ่ สังคมหลายแห่งทีท ่ า� งานเกีย ่ วกับการตายดี บริษท ั ชีวามิตร วิสาหกิจเพื่อสังคม ก็เป็นหนึ่งในนั้น ตลอดปีทผ ี่ า่ นมา ชีวามิตรฯ จัดการอบรมให้ความรูก ้ บ ั ผูส ้ นใจเกีย ่ วกับการดูแล ผู้ ป่ว ยระยะท้าย ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสนับสนุนเอกชนรายอื่นๆ ที่ท�างานทางด้านนี้ ในด้านเงินทุนและความรู้ อีกทั้งยังรณรงค์ให้มีการพูดถึงเรื่อง ‘การตายดี’ กันอย่างกว้างขวางและต่อเนือ ่ ง ด้วยการเขียน living will และเผยแพร่ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่ให้สิทธิทางเลือกแก่ประชาชน ทั้งหมดนี้ก็เพื่อเตรียม ความพร้อมให้กบ ั สังคมไทยในการเผชิญหน้ากับความเปลีย ่ นแปลงเข้าสูส ่ งั คมผูส ้ งู อายุ ในเวลาอันใกล้ เมือ ่ ชีวต ิ เป็นสิง่ ส�าคัญ เรือ ่ งราวเกีย ่ วกับความตายก็เป็นสิง่ ทีค ่ วรรู้ เพือ ่ เตรียมตัว ส�าหรับอนาคต เราจะดูแลคนทีค ่ ณ ุ รักได้อย่างเหมาะสม ก่อนทีพ ่ วกเขาจะจากไปอย่าง สมปรารถนา และอย่ า งเป็ น ธรรมชาติ สามารถมี ชี วิ ต ช่ ว งท้ า ยอย่ า งมี คุ ณ ภาพ และเจ็บปวดให้น้อยที่สุด a day BULLETIN ได้รวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้มาไว้ ให้คุณได้ศึกษากัน ณ ที่นี้


A M AT T E R O F L I F E A N D D E AT H

LIVING WIIL: WHEN THE TIME COMES

การตายดีไม่ใช่เรื่องเดียวกับการุณยฆาต ในขณะทีก่ ระแสข่าวเกีย่ วกับ ดอกเตอร์เดวิด กูดออล ท� า ให้ เ กิ ด การถกเถี ย งกั น ถึ ง เรื่ อ ง right to die นักวิทยาศาสตร์วัย 104 ปี ที่ได้เดินทางออกจาก บ้านในออสเตรเลีย เพื่อบินข้ามโลกไปจบชีวิต ของเขาที่คลินิกไลฟ์เซอร์เคิล ในเมืองบาเซิลของ สวิตเซอร์แลนด์ โดยให้เหตุผลว่า “ผมไม่มคี วามสุข ผมต้องการตาย มันไม่ได้น่าเศร้าอะไรนักหรอก สิง่ ทีน่ า่ เศร้าก็คอื ความตายถูกห้ามต่างหาก” และ นาทีสดุ ท้ายของลมหายใจขณะกระท�าการุณยฆาต เขาได้ฟงั เพลง Ode to Joy จากซิมโฟนีหมายเลข 9 ของบีโธเฟนก่อนที่จะจากไปอย่างสงบด้วยยา เนมบูทอล แม้วา่ เคสของ เดวิด กูดออล จะเป็นความตาย ทีต่ รงตามปรารถนาของเขาทุกประการ แต่นนั่ เป็น คนละเรื่องกับ ‘การตายดี’ ในสังคมที่มีความเชื่อ ศาสนาและจิตวิญญาณ สิทธิที่จะตายไม่ได้เป็น สิทธิทมี่ อี ยูต่ ามกฎหมาย ถึงแม้วา่ การท�าให้ผปู้ ว่ ย ตายจะเป็นไปเพือ่ ให้เขาพ้นจากความทุกข์ทรมาน แต่เราก็ถือเป็นการท�าลายชีวิต ฝ่าฝืนศีลธรรม และเป็นการขัดต่อสิทธิในชีวติ (Right to Life) ของ บุคคลนั้น นอกจากนี้ หากอนุญาตให้แพทย์สามารถ ท�าให้ผู้ป่วยตายได้ บทบาทของแพทย์จะมีความคลุมเครือระหว่างผู้บา� บัดรักษา (Healer) กับผู้ฆ่า (Killer) สุดท้ายการกระท�านีก้ อ็ าจจะขยายขอบเขต จากการท�าให้ผู้ป่วยที่สิ้นหวังได้จากไปอย่างสงบ ไปสู่สิทธิในการจบชีวิตของผู้คนกลุ่มอื่นด้วย อย่างไรก็ตาม ในเชิงการแพทย์และกฎหมาย สิทธิที่จะตายนั้นมีหลายประเภท และมีข้อบังคับ ที่แตกต่างกันออกไป เช่น - การท�าให้ผปู้ ว่ ยตายโดยเจตนา (Euthanasia) - การฆ่าตัวตายโดยความช่วยเหลือของ แพทย์ (Physician-assisted Suicide) - การยุตกิ ารใช้เครือ่ งมือช่วยชีวติ (Withholding / Withdrawal of Life-sustaining Treatment)

1

issue 548 23 JUL 2018

เนเธอร์แลนด์ออกกฎหมาย รองรั บ การุ ณ ยฆาตตั้ ง แต่ ปี ค.ศ. 1996 และพบว่าสถิตก ิ ารตาย ประมาณ 9.1% ของการตาย ทั้ ง หมดต่ อ ปี เกิ ด จากการุ ณ ยฆาต (2,300 ราย สมัครใจตาย และ 400 ราย ตายเพราะแพทย์ลงมือเอง และ 1,040 ราย ถูกการุณยฆาตโดยผู้ป่วยไม่มีส่วนรับรู้ หรือให้ความยินยอม) โดยผูป ้ ว่ ยทีร ่ อ ้ งขอ ให้แพทย์ทา� ให้ตนตายโดยสงบ ไม่จา� เป็น ต้องเป็นผูป ้ ว่ ยในระยะสุดท้าย แต่ตอ ้ งอยู่ ในสภาวะทุกข์ทรมานอย่างยิง่ และแพทย์ กั บ ผู้ ป่ ว ยนั้ น จะต้ อ งมี ค วามสั ม พั น ธ์ ทางการแพทย์กน ั มาก่อนเป็นระยะเวลา นานพอสมควร

Switzerland

2

ส วิ ต เซอร์ แ ลนด์ เ ป็ น ประเทศที่รองรับการุณยฆาต ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1940 โดยขณะนี้ เ ป็ น เพี ย งประเทศเดี ย วที่ มี ศูนย์ช่ว ยจัดการฆ่าตัวตายภายใต้การช่วยเหลือทางการแพทย์แก่ชาวต่างชาติ ซึ่งจะได้รับอนุญาตก็ต่อเมื่อคนคนนั้น กระท�าโดยไม่เป็นการเห็นแก่ตวั และต้อง เป็นไปภายใต้เงือ ่ นไขต่างๆ ตามทีก ่ ฎหมาย ได้กา� หนดไว้ เช่น มีอายุ 75 ปีขน ึ้ ไป เป็นต้น

Living Will เป็นเรื่องใหม่ในสังคมไทย แต่ไม่แปลกอะไรใน ต่างประเทศ บางคนอาจจะเคยได้ยินคนนั้นคนนี้พูดถึงกันมาบ้างว่า พวกเขาในวัยหนุ่มสาวก็เริ่มเขียนหนังสือ living will แล้ว ความหมายของหนังสือเล่มนี้ ไม่ได้มีไว้เพื่อเป็นการยืนยันถึง ความต้องการสุดท้ายของผูป้ ว่ ยเท่านัน้ แต่มนั ยังเป็นเอกสารทีช่ ว่ ยให้ เกิดคุณภาพชีวิต เมื่อผู้ป่วยไม่สามารถสื่อสารตอบโต้กับใครได้แล้ว มันจะช่วยก�าหนดเป้าหมายการรักษาและจุดมุ่งหมายในชีวติ ของเรา ต่อไป Living will มีผลดีกบั ทัง้ ตัวคนเขียนเอง รวมถึงผูด้ แู ลและแพทย์ ทีไ่ ม่ตอ้ งมาลังเลสงสัยว่าจะท�าอย่างไรกันดี ใน living will เองสามารถ ลงรายละเอียดได้ ว่าถ้าฉันหายใจไม่ได้และจ�าเป็นต้องใส่ทอ่ ช่วยหายใจ ฉันต้องการให้ปฏิบัติต่อฉันอย่างไร นอกจากนี้ยังระบุได้ถึงขั้นที่ว่า ทรัพย์สมบัติที่มีจะยกให้ใครดูแลต่อ หรือหนี้สินที่ยังคงอยู่ใครจะมา ช่วยดูแลเรือ่ งนี้ คุณพ่อคุณแม่หรือสัตว์เลีย้ งของเราจะให้ใครช่วยเหลือ ต่อไป และงานศพของฉันนั้นอยากให้จดั ขึ้นในรูปแบบไหน ในบางประเทศ มีข ้ อปฏิบัติที่คล้ า ยคลึง กับ living will คือ ‘Advance Care Plan’ (ACP) แต่ความแตกต่างที่ชัดเจนคือ living will เจ้ า ตั ว เป็ น ผู ้ เ ขี ย นเองในขณะที่ ยั ง แข็ ง แรงและมี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะ ในขณะที่ Advance Care Plan เป็นการวางแผนร่วมกันของหลายฝ่าย ทั้งเจ้าตัว แพทย์ และญาติ

SOMETHING YOU SHOULD KNOW

Living will เหมาะกับทุกคน ไม่เฉพาะกับผูป้ ว่ ยระยะท้ายเท่านัน้ ทุกคนสามารถเขียนได้ในขณะที่ยังแข็งแรงและมีสติสัมปชัญญะ และมันจะมีผลบังคับใช้ก็ต่อเมื่อเราอยู่ในช่วงระยะท้ายของชีวิต หรือก�าลังจะเสียชีวิตจากโรคเฉียบพลันและอุบัติเหตุ Living will จะถูกยกเลิกก็ต่อเมื่อผู้เขียนตั้งครรภ์ โดยถ้าเด็ก ในท้องยังไม่คลอดออกมา living will ฉบับนั้นจะไม่ถูกน�ามาใช้ยนื ยัน ตามเจตนารมณ์ เพราะถือว่ายังมีอีกชีวติ หนึ่งอยู่ในตัว

HOW TO WRITE A LIVING WILL

โดยเราได้รวบรวมข้อบังคับและหลักปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิที่จะตายใน 4 ประเทศที่น่าสนใจ ดังนี้

The Netherlands

25

Canada

3

วุฒิสภาแคนาดาภายใต้ การน�าของนายกรัฐมนตรี จัสติน ทรู โ ด ผลั ก ดั น ร่ า งกฎหมาย ก ารจบชีวิตโ ดยการช่วยเหลือ ของแพทย์ หรือ Physician-assisted Suicide ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2016 โดยต้องมีอายุ มากกว่า 18 ปีบริบร ู ณ์ และต้องเป็นผูป ้ ว่ ย ทีร ่ ก ั ษาในระยะสุดท้ายทีม ่ ป ี ระกันสุขภาพ ของแคนาดาเท่ า นั้ น เพื่ อ ป้ อ งกั น นั ก ท่องเที่ยวเดินทางมาจบชีวิต

India

4

อิ น เดี ย เป็ น อี ก ประเทศ ที่ ก ารุ ณ ยฆาตเป็ น กฎหมาย แต่รองรับแค่ในเชิงรับ (Passive Euthanasia) เพื่ อ ยุ ติ ก ารรั ก ษาแก่ ผู้ ป่ ว ยในผู้ ป่ ว ยระยะสุ ด ท้ า ย เท่านั้น กฎหมายฉบับนี้ได้รับการอนุมัติ โดยศาลฎีกาแห่งอินเดียในปี ค.ศ. 2011 ส่วนการยุติ ชีวิตในเชิงรุก หรือการเร่ง ให้ เ สี ย ชี วิ ต (Active Euthanasia) ยังเป็นสิ่งผิดกฎหมายอยู่

ส�าหรับสังคมไทย การตายแบบได้รบ ั ความช่วยเหลือจากแพทย์แบบเชิงรุก (Active Euthanasia) เป็นสิง ่ ผิดกฎหมายและผิดศีลธรรม ในขณะที่ ก ารให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป่ ว ยระยะท้ า ยโดยการยุ ติ ก ารรั ก ษาในช่ ว งเวลาที่ เ หมาะสม ให้ เ ป็ น ไปตามความต้ อ งการของผู้ ป่ ว ย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12 ซึ่งมีการอนุญาตให้ท�า ‘หนังสือแสดงเจตนาเพื่อปฏิเสธการรับการรักษา’ หรือ living will เพื่อแสดงเจตนาไม่ประสงค์การยื้อความตาย หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได้

การเขียน living will นัน้ ไม่ได้ยากเกินกว่าจะเข้าใจ เราสามารถ เริ่ ม ต้ น เขี ย นหนั ง สื อ แสดงเจตนารมณ์ สุ ด ท้ า ยของตั ว เองได้ จ าก กระดาษเปล่า โดยมีหลักการคร่าวๆ ดังนี้ • ข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คล : ระบุ ใ ห้ ค รบถ้ ว นทั้ ง ชื่ อ นามสกุ ล วันเดือนปีเกิด หมายเลขบัตรประชาชน ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ สิ่ ง ที่ ห ้ า มลื ม : วั น ที่ ที่ คุ ณ เขี ย นข้ อ ความลงใน living will พร้อ มกับเขียนก�า กับ อย่ า งชัดเจนว่ า คุณ เป็ น คนเขียนเอกสารนี้ ด้วยตัวเองในขณะทีม่ สี ติสมั ปชัญญะครบถ้วน และต้องไม่ลมื ว่า living will นั้นสามารถอัพเดตข้อมูลและความต้องการต่างๆ ได้ตลอดเวลา ดังนั้น วันที่จึงส�าคัญมาก เพราะจะเป็นตัวช่วยยืนยันว่า living will ฉบับนั้นเป็นเจตจ�านงสุดท้ายที่คุณต้องการจริงๆ • ระบุความเห็นส่วนตัวที่มีต่อชีวิตและความตาย รวมถึงสิ่งที่ ต้องการ เช่น ต้องการความเคารพ ต้องการศักดิศ์ รี ต้องการความสุขสบาย ไม่ตอ้ งการเป็นภาระของครอบครัว ไม่อยากทุกข์ทรมานเป็นเวลานาน เป็นต้น สิ่งที่ห้ามลืม : คุณสามารถระบุถึงเรื่องของการจัดงานศพ (ถ้าต้องการ) รวมถึงข้อมูลการบริจาคอวัยวะหลังเสียชีวิต (ถ้าท�าไว้) ลงไป • การรักษา : คุณสามารถระบุลงไปได้วา่ อยากเข้ารับการรักษา ทีไ่ หน ใครทีอ่ ยากให้มาเยีย่ ม ถ้าเกิดอาการเจ็บป่วยเฉียบพลันต้องการ การปัม๊ หัวใจหรือใส่ทอ่ ช่วยหายใจหรือไม่ หากมีอาการหายใจไม่ออก ต้องการความช่วยเหลือระดับไหน ยินยอมรับอาหารทางท่อ หรือให้ ทีมแพทย์เข้ารักษาอวัยวะภายในของคุณได้แค่ไหน สิ่งที่ห้ามลืม : ให้บุคคลที่เป็นพยานรับรู้ของคุณลงชื่อก�ากับ พร้อมระบุรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับตัวคุณ • ครอบครัวและคนดูแล : living will จะใช้ไม่ได้ผลถ้าหากคน ในครอบครัวไม่รบั รู้ถึงเจตนาของคุณ ดังนั้น เมื่อเขียน living will แล้ว จ�าเป็นต้องบอกทุกคนให้เห็นพ้องตรงกัน และระบุชื่อของคนที่จะ มาเป็ น ตั ว แทนของคุ ณ โดยเขาจะมี ห น้ า ที่ พิ ทั ก ษ์ เ จตนารมณ์ และตัดสินใจแทนในเรื่องชีวติ ช่วงสุดท้าย สิ่งที่ห้ามลืม : วิธีติดต่อบุคคลที่เป็นตัวแทนของคุณในวันที่ คุณไม่สามารถสื่อสารได้แล้ว

WHERE TOGET A WILL FORM

a day BULLETIN

24

หากคุณยังมองภาพรวมไม่ออก ว่าจะเขียน living will ของตัวเอง อย่างไร สามารถเข้าไปดาวน์โหลด แบบฟอร์มได้ที่เว็บไซต์ www.thailivingwill.in.th ดูตัวอย่างการเขียน living will ของคนอื่นๆ ได้ที่ www.thailivingwill.in.th ติดต่อขอรับคู่มือ living will ได้กับทางบริษัท ชีวามิตร วิสาหกิจ เพื่อสังคม จ�ากัด (ส�านักงานใหญ่) 3/88-89 ซอย ส.เกียรติชัย 1 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทร. 08-4095-5564 อีเมล info@cheevamitr.com หรือเว็บไซต์ Cheevamitr.com


a day BULLETIN

26

27

THE R E L AT I O N SHIP

BETWEEN SCIENCE AND SPIRITUALITY

AT L I F E ' S E N D : D Y I N G PA I N L E S S LY A N D P E A C E F U L LY เพื่อให้การเดินทางช่วงสุดท้ายก่อนหมดลมหายใจ การรักษาแบบประคับประคองจ�าเป็นต้องมีตัวช่วยเพื่อให้ ผู้ป่วยคลายความเจ็บปวด นั่นก็คือยาระงับปวด ซึ่งเป็น สิ่งจ�าเป็นต่อผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่ไม่ควรปฏิเสธ โดยแพทย์ จะเลือกให้ชนิดของยาระงับปวดตามความรุนแรง และลักษณะ ของอาการปวด เริ่ ม ต้ น ที่ อ าการปวดน้ อ ยๆ ใช้ ‘พาราเซตามอล’ ปวดมากขึ้นจนถึงระดับปานกลางจะใช้ ‘โคเดอีน’ หรือ ‘ทรามาดอล’ ซึง่ ออกฤทธิเ์ หมือนกับมอร์ฟนี แต่ทรามาดอล จะมีความแรงน้อยกว่ามอร์ฟนี ประมาณ 10 เท่า ท�าให้ยานี้ ไม่จดั เป็นยาเสพติดให้โทษเหมือนกับมอร์ฟนี และต้องใช้รว่ ม กับพาราเซตามอล สุ ด ท้ า ยอาการปวดระดั บ รุ น แรง อาทิ โรคมะเร็ ง ระยะสุดท้าย จึงจะใช้ ‘มอร์ฟนี ’ ยาแก้ปวดทีส่ กัดมาจากฝิน่ ซึง่ มีทั้งแบบฉีดที่ออกฤทธิ์แรงกว่าแบบกิน 2-3 เท่า แต่จะ หมดฤทธิเ์ ร็วกว่าภายใน 1-2 ชัว่ โมง ในขณะทีย่ ากินจะอยูไ่ ด้ 2-4 ชั่วโมง แต่หากเป็นยามอร์ฟีนแบบกินที่ออกฤทธิ์ยาว ก็จะอยู่ได้นานถึง 12-24 ชั่วโมง ในขณะเดียวกันก็มีผลข้างเคียงที่พบได้บ่อยๆ คือ ท้องผูก นอกจากนั้นก็มีอาการอื่นๆ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน และง่วงนอน หากได้รบั มากเกินไปหรือการเพิ่มขนาดอย่าง รวดเร็ว ก็อาจท�าให้กล้ามเนื้อกระตุกหรือเกิดการสับสนได้

THE FINAL ANSWER

เมื่ อ ความเจ็ บ ปวดขั้ น สุ ด ของผู ้ ป ่ ว ยระยะสุ ด ท้ า ย เกินต้านทาน มอร์ฟนี กลายเป็นทางเลือกสุดท้ายทีช่ ว่ ยแก้ปวด และช่วยแก้อาการหอบเหนือ่ ยได้อย่างเป็นอย่างดี ทีส่ า� คัญ ยังช่วยให้คลายความกลัว ความกังวล และท�าให้รสู้ กึ เคลิม้ หลับ เมื่อเข้าสู่ช่วงเวลาสุดท้าย แต่ในขณะเดียวกัน ญาติหรือตัว ผูป้ ว่ ยเองหลายคนก็มกั ปฏิเสธ เพราะยังคงเข้าใจว่าจะท�าให้ เกิดอาการติดยา ซึง่ ไม่ใช่เรือ่ งทีด่ ี และไม่ใช่แค่เพียงคนไทย ทีค่ ดิ เช่นนี้ ในบางประเทศก็มที ศั นคติแบบนีเ้ ช่นกัน เช่น ญาติ และผู้ป่วยชาวจีนเองก็ยังคิดว่าการได้รับมอร์ฟีนจะท�าให้ กลายเป็นคนติดยา ซึง่ เป็นความกลัวทีฝ่ งั แน่นรากลึกกันมา ช้านาน เปรียบเทียบกับทัศนคติต่อการติดมอร์ฟีนในทางฝั่ง อเมริกานัน้ แทบจะเป็นศูนย์ การได้รบั มอร์ฟนี ส�าหรับผูป้ ว่ ย ทีป่ วดขัน้ รุนแรงถือว่าเป็นสิง่ ทีด่ แี ละผูป้ ว่ ยเองมักให้การยอมรับ อย่าง Felicia Knaul ศาสตราจารย์แห่งวิทยาลัยการเเพทย์ ไมอามี เมือ่ หลายปีกอ่ นเธอเป็นมะเร็งเต้านม และได้เข้ารับ การผ่าตัดเพื่อบ�าบัดมะเร็ง เมื่อฟื้นขึ้นหลังจากการผ่าตัด ความเจ็บปวดขั้นรุนแรงจนหายใจไม่ได้ เธอได้รับมอร์ฟีน เพื่อช่วยลดความเจ็บปวด ซึ่งเธอเองยอมรับว่า หากวันนั้น ไม่ได้มอร์ฟีน เธอก็ไม่แน่ใจว่าจะทนความเจ็บปวดขั้นนั้น ได้อย่างไร

จากเวทีเสวนา ‘เรือ่ งความเข้าใจผิดเกีย่ วกับการดูแล ผูป้ ว่ ยระยะสุดท้าย’ เมือ่ วันที่ 11 มิถนุ ายน 2560 นายแพทย์ เต็ ม ศั ก ดิ์ พึ่ ง รั ศ มี รั ง สี แ พทย์ ได้ อ ธิ บ ายถึ ง เรื่ อ งนี้ ไ ว้ ว ่ า คนส่วนใหญ่มักจะเข้าใจผิดว่าใช้มอร์ฟีนแล้วจะให้เสพติด แต่ทจี่ ริงแล้วยาชนิดนีห้ มอเบิกจ่ายให้ได้ถกู ต้องตามกฎหมาย และเมือ่ อยูใ่ นการดูแลของแพทย์แล้วก็มโี อกาสทีจ่ ะติดน้อย มาก ความเป็นจริงแล้วการให้มอร์ฟีนหวังผลมากกว่านั้น โดยเฉพาะผู้ป่วยระยะสุดท้ายบางคนมีอาการหอบ เหนื่อยมาก หมอก็จะถามญาติว่าต้องการที่จะให้ใส่ท่อ ช่วยหายใจหรือไม่ หากผู้ป่วยต้องการที่จะจากไปโดยไม่มี การยื้อความตาย ก็จะไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ และสามารถให้ ยานอนหลับร่วมกับมอร์ฟีนอย่างต่อเนื่อง ก็จะท�าให้ผู้ป่วย ค่อยๆ หลับและเสียชีวิตไปอย่างไม่ทรมาน แน่นอนว่ามอร์ฟีนอาจส่งผลต่อการรู้คิดได้ ซึ่งคนที่ ต้องการจะครองสติจวบจนวาระสุดท้ายของชีวติ และไม่อยาก ใช้มอร์ฟีน ก็ต้องมีความพร้อมรับความเจ็บปวดขั้นรุนแรง และอาการทางกายอื่นๆ ในภาวะใกล้ตาย ซึ่งนั่นก็ถือเป็น อีกหนึ่งทางเลือกที่เรามีสิทธิเลือกได้ทุกคน

issue 548

OTHER BENEFIT FOR END-OF-LIFE CARE

23 JUL 2018

นอกจากการได้รับมอร์ฟีนในโรงพยาบาลแล้ว ผู้ป่วยระยะสุดท้าย จะได้รับชุดสิทธิประโยชน์เพื่อดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบ ประคับประคอง โดยเฉพาะสิทธิบัตรทองจากส�านักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เพื่อช่วยลดจ�านวนครั้ง ของการนอนโรงพยาบาล และช่วยลดภาระทางการเงิน ของครอบครัวที่ต้องเดินทางมาดูแล

ยามอร์ฟีนเพื่อ บรรเทาอาการปวด

ชุดท�าความสะอาด

ออกซิเจนพร้อม อุปกรณ์ร่วมกับ การติดตามอาการ ตามความเหมาะสม

โลกของสสารและโลกของจิต นิ ย ามความตายแตกต่ า งกั น เรื่ อ ง ความตายนัน้ จึงมีมมุ มองทีห่ ลากหลาย ส�าหรับคนทั่วไป อาจระบุความตาย ได้ง่ายๆ ว่าบุคคลนั้นหยุดหายใจหรือ หัวใจหยุดเต้น ให้ถือว่าเสียชีวิต ถ้ า ลงไปในรายละเอี ย ดทาง การแพทย์ ถือว่าความตายคือการทีส่ มอง ของบุคคลนั้นหยุดการท�างาน หรือที่ เรียกว่าสมองตาย ทางแพทยสภาได้ ประกาศข้อก�าหนดนีข้ นึ้ ในปี พ.ศ. 2532 และยกเลิกไปในปี พ.ศ. 2554 จนกระทัง่ ตอนนีก้ ารตายจะยังเป็นข้อถกเถียงกันอยู่ ว่าอวัยวะภายในของเราต้องหยุดท�างาน ระดับไหน แต่ละคน แต่ละมุม ใช้เกณฑ์ แตกต่างกัน เพราะต้องพิจารณาถึงเรือ่ ง ศีลธรรมและเรื่องทางจิตใจ อย่ า งไรก็ ต าม เราสามารถ วิ เ คราะห์ ว ่ า คนหนึ่ ง ได้ เ สี ย ชี วิ ต แล้ ว คร่าวๆ โดยทางการแพทย์ถอื ว่าการตาย ของสมองนั้ น ส� า คั ญ ที่ สุ ด เพราะกั บ บ างคนแม้สมองจะหยุดท�างานแล้ว แต่หวั ใจยังเต้นอยู่ โดยสามารถหายใจ ด้วยเครื่องช่วยหายใจ (Respirator) ข้อมูลจาก ศาสตราจารย์คลินกิ เกียรติคณ ุ นายแพทย์พนัส เฉลิมแสนยากร บอกถึงหลักการคร่าวๆ ในการดูวา่ คนนัน้ ตายแล้วหรือไม่ ว่าสามารถดูจากลักษณะ มากมายอืน่ ๆ จากร่างกายของเขาด้วย เช่น ตัวอุน่ หรือตัวเย็น ถ้าตัวเย็นชืดแล้ว แสดงว่าน่าจะตายแล้ว สีของมือและเท้า ก็พอดูได้ เช่น ถ้ามือเท้าแดงดี ก็นา่ จะยัง มีชวี ติ อยู่ แต่ถา้ สีของร่างกายเขียวคล�้า แสดงว่าน่าจะตายแล้ว ยิง่ ถ้าสีเขียวคล�า้ ไปอยู่ทางด้านหลังมากกว่าด้านหน้า (ในกรณีทนี่ อนหงายตาย) แสดงว่าน่าจะ ตายมาหลายชัว่ โมงแล้ว ลักษณะเช่นนี้ ทางการแพทย์เรียกว่า Livor mortis ส่วนในทางจิตวิญญาณ ศาสนา ได้ตีความเรื่องความตายไปในอีกมุม อย่างในศาสนาพุทธ ท่านพุทธทาสภิกขุ เคยกล่าวไว้ว่า “สมัยเมื่ออาตมาเป็นเด็กเล็กๆ โยมแม่เล่าให้ฟังถึงการตายของตา ตา ได้ตายอย่างวัฒนธรรมของพุทธบริษทั เมือ่ ถึงเวลาทีจ่ ะตายบอกว่าไม่กนิ อาหาร แล้ว กินแต่นา�้ และยา ต่อมาบอกว่ายา ไม่กินแล้ว กินแต่น�้า พอถึงวันที่ตาย แกนัง่ พูดกับลูกหลาน รวมทัง้ โยมแม่ดว้ ย ถึงเรือ่ งทีจ่ ะตาย แล้วก็ไล่ให้คนทีร่ อ้ งไห้ ออกไป คงเหลืออยูค่ นเดียวทีก่ ล้า ทีบ่ งั คับ ตนเองได้ ที่ไม่ร้องไห้ พูดตามที่จะพูด ซึ่งก็หลายนาทีอยู่เหมือนกัน แล้วจึง ขอนิ่ ง แล้ ว ขอตาย นี่ วิ ธีก ารตาย ตามธรรมเนียมโบราณของพุทธบริษัท ที่ ดี ที่ ป ระพฤติ อ บรมกั น มาอย่ า งดี เขาท� า ได้ แ ม้ ก ระทั่ ง ว่ า จะตายลงใน การหายใจครั้งไหน เป็นการหายใจ

ครั้งสุดท้ายแบบปิดสวิตช์ไฟฟ้า” เมือ่ ชีวติ ด�าเนินมาถึงจุดทีร่ า่ งกาย ไม่สามารถท�างานได้เหมือนจิตใจต้องการ ทั้งโรคร้าย สภาพความเป็นอยู่ และ อวัยวะต่างๆ ทีเ่ สือ่ มสภาพจนไม่สามารถ มี ค วามสุ ข กั บ การด� า เนิ น ชี วิ ต ได้ อี ก ต่ อ ไป การรั ก ษาไม่ เ ป็ น ประโยชน์ ผู ้ ป ่ ว ยระยะท้ า ยจะได้ รั บ ดู แ ลแบบ ประคับประคอง หรือ ‘Palliative Care’ นอกจากการดู แ ลด้ ว ยแพทย์ เป็นระยะๆ เขายังต้องการได้รบั ความช่วยเหลือทางจิตใจไปพร้อมกัน เช่น มีความต้องการเกีย่ วกับศาสนา ต้องการ สั ม พั น ธภาพที่ ดี กั บ คนในครอบครั ว ต้องการควบคุมชีวติ ตัวเองได้ ต้องการ สะสางเรื่องค้างคาให้เสร็จเรียบร้อย ต้องการสัมผัสกับธรรมชาติ และต้องการ พบเห็นแต่สิ่ง ที่ดีๆ เพื่อจะได้น�า ไปสู่ การตายดี ในหนังสือ ปทานุกรมแห่ง ความตาย (เครื อ ข่ า ยพุ ท ธิ ก า 2558) ระบุการตายดีไว้ 12 ข้อ ซึง่ เป็นจุดกึง่ กลาง ที่ ส อดคล้ อ งกั น ระหว่ า งความเชื่ อ ทางวัตถุสสารและจิตวิญญาณ ได้แก่ 1. การตายที่ ผู ้ ต ายยอมรั บ ได้ พร้อมที่จะจากไป 2. เป็นการตายอย่างมีสติ 3. ทราบว่าความตายจะมาถึง และเข้าใจว่าจะเกิดอะไรขึ้นต่อไป 4 . ไ ด ้ รั บ ก า ร ป ฏิ บั ติ อ ย ่ า ง สมศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ และมี ความเป็นส่วนตัว 5. ได้รบั ข้อมูลและการรักษาจาก ผู้เชี่ยวชาญต่างๆ ตามความจ�าเป็น 6. ได้รับการดูแลบรรเทาอาการ ปวดและอาการทางกายอื่นๆ เป็นต้น 7. สามารถเลื อ กได้ ว ่ า จะตาย ที่ไหน (ที่บ้านหรือโรงพยาบาล) 8. ได้ รั บ การดู แ ลทางอารมณ์ และจิตวิญญาณตามต้องการ 9. สามารถเลือกได้ว่าควรมีใคร อยู่ด้วยในวาระสุดท้ายของชีวิต 10. สามารถแสดงเจตนาล่วงหน้า ว่ า ต้ อ งการได้ รั บ การปฏิ บั ติ อ ย่ า งไร ในระยะท้าย 11. มี เ วลากล่ า วลาบุ ค คล ที่ตนเองรัก สะสางสิ่งที่คั่งค้างในใจ 12. สามารถจากไปอย่างสงบ เมือ่ ถึงเวลาไม่ถูกเหนีย่ วรั้งหรือยืดชีวติ โดยไร้ประโยชน์


28

เรื่อง : กองบรรณาธิการ

01

สุมาลี แซ่เตีย ผู้ประสานงานโครงการรักแท้รอได้ (TRUE LOVE) มูลนิธิกล้าท�าดี

23 JUL 2018

“ ความรู้ช่วยให้เรากลัว สิ่งที่ไม่รู้น้อยลง”

issue 548

มุ ม ม อ ง ค ว า ม ต า ย แ ตกต่ า งกั น ไปตามความเชื่ อ ศาสนา เชือ ้ ชาติ และการเรียนรู้ ของตัวเอง แต่สิ่งหนึ่งที่ทุกคน รูร ้ ว ่ มกันคือ การไปถึงจุดหมาย ที่เรียกว่า the End of Life นั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย ในตอนที่ยังเป็น หนุ่มสาวจึงพยายามปฏิเสธว่า เวลานัน ้ ยังอีกยาวไกล จนลืมไป ว่ า ความตายนั้ น อยู่ กั บ เรามา ตัง้ แต่เกิด เป็นเหมือนมวลอากาศ ที่อยู่รอบตัว ล องมาดูความคิดของ ค นหนุ่มสาวที่ได้เข้าร่วมอบรม เรื่ อ ง ‘การตายดี ’ กั บ บริ ษั ท ชี ว ามิ ต ร วิ ส าหกิ จ เพื่ อ สั ง คม ว่าพวกเขาปรับเปลี่ยนมุมมอง และค้นพบแง่มุมที่น่าสนใจกับ ตัวเองอย่างไร คนหนุม ่ สาวเหล่านีพ ้ บว่า ความตายไม่ได้นา่ กลัวขนาดนัน ้ ถ้าเรารู้เท่าทันและเตรียมกาย เ ตรีย มใจให้ พ ร้ อม การมาถึ ง ของลมหายใจสุดท้าย เป็นเพียง ป ระตู อี ก บานที่ ร อให้ เ ราเปิ ด เข้าไปเพื่ อพบกั บการเดิ น ทาง ครั้งใหม่เท่านั้นเอง

“ตายไม่กลัว กลัวทรมานก่อน ตาย” เชื่ อ ว่ า หลายคนคงคิ ด เช่ น นี้ ไ ม่ แ ตกต่ า งจากฉั น ฉั น ไม่ ก ลั ว ตาย เพราะรูว้ า่ ความตายเป็นเรือ ่ งธรรมชาติ หนีอย่างไรก็ไม่พน ้ ตรงกันข้าม ความตาย กลับเป็นจุดเปลีย ่ นผ่านทีน ่ า่ ยินดีทท ี่ า� ให้ ร่ า งกายของฉั น กลั บ คื น สู่ ดิ น และ จิตวิญญาณของฉันได้กลับบ้านทีแ่ ท้จริง ทีพ ่ ระเจ้าเตรียมไว้ให้ฉน ั นัน ่ ก็คอ ื สวรรค์ ที่ นั่ น ฉั น จะได้ พ บกั บ พระเจ้ า ผู้ ส ร้ า ง ทุกสรรพสิง่ และพระเยซูผต ู้ ายเพือ ่ ชดใช้ กรรมบาปแทนฉัน และพบคนทีฉ ่ น ั รัก มากมาย ชีวต ิ หลังความตายนัน ้ น่ารืน ่ รมย์ ยิง ่ กว่าชีวต ิ นีเ้ สียอีก พระคัมภีรบ ์ อกว่า สวรรค์เป็นที่ที่ไม่มีน�้าตา ไม่มีความเจ็บปวด โรคภัยไข้เจ็บ และความทุกข์ ยากล�าบากใดๆ อีกต่อไป

“​ ความกลัวทีจ่ ะทรมานก่อนตาย​คือ สิง่ ทีค่ นขีก้ ลัวอย่างเรากลัวทีส่ ดุ ​การตายไม่ใช่ ประเด็นเลย​ตายก็จบ​แต่ความตายนัน้ ย่อม ส่งผลให้คนรอบข้างเศร้าเสียใจ​ซึง่ เป็นภาวะ ปกติของมนุษย์​การพลัดพรากมันต้องเสียใจ อยูแ่ ล้ว​เรากลัวว่าคนทีอ่ ยูจ่ ะใช้ชวี ติ อย่างไร​ กลัวว่าลูกหลาน​สามี​ภรรยาจะอยู่อย่างไร​ การงาน​ธุรกิจของเราจะเป็นอย่างไร​จะดูแล กันได้ไหม​ใครจะรับช่วงต่อ​คือสิ่งที่บางคน กลัวเป็นล�าดับต่อมา​สิ่งต่างๆ​เหล่านี้เป็น ความทั้งความกลัว​กังวล​และวิตกจริต “วันที่คุณพ่อเสียด้วยโรคชรา​และ เสียชีวิตระหว่างทาง​เมื่อไปถึงโรงพยาบาล​ เจ้าหน้าที่กรูเข้ามาเตรียมพร้อมปั๊มหัวใจ​ บังเอิญมีพยาบาลคนหนึง่ วิง่ มาถามว่าจะปัม๊ ไหม​เราถามกลับว่า​หยุดหายใจมากี่นาที​ เขาก็บอกว่าจากทีเ่ ขาประเมินน่าจะไม่ตา�่ กว่า​ 15​นาที​เราเป็นคนเดียวตรงนั้นที่บอกว่า ไม่ปั๊ม​ทุกคนก็ปล่อยคุณพ่อไป​โชคดีที่เรา ได้รบั ความรูก้ อ่ น​ก็พอรูว้ า่ การปัม๊ คือการยือ้ ที่เจ็บปวดมาก​โดยเฉพาะคนสูงอายุ​ “ในเมื่ อ เรากลั ว อย่ า งอื่ น ที่ ไ ม่ ใ ช่ ความตาย​เราก็ต้องเริ่มท�าอะไรบางอย่าง​ เราจะต้องสือ่ สารเรือ่ งนี​้ ใช้ชวี ติ ของเราให้มี ความหมาย​รวมไปถึงเรื่องเอกสารต่างๆ​ ก็ต ้องท�า ​เรื่องเหล่า นี้ไ ม่ใ ช่ก ารสาปแช่ง ห รือเรื่องอัปมงคล​ แต่มันคือการวางแผน​ ศาสตราจารย์ แ สวง​บุ ญ เฉลิ ม วิ ภ าส​ เคยบอกว่า​ถ้าคุณท�าแบบเงียบๆ​แล้วไป เก็บไว้สักที่​มันก็ไม่มปี ระโยชน์​ไม่มใี ครรู้ ​“ความรูช้ ว่ ยให้เรากลัวสิง่ ทีไ่ ม่รนู้ อ้ ยลง​ เราได้มีโอกาสไปอบรมกับชีวามิตรฯ​ได้รับ ความรู้ที่เป็นประโยชน์อย่างมาก​ทั้งเรื่อง​ palliative​care​หรื อ ​living​will​เวลาไป โรงพยาบาลก็สามารถถ่ายส�าเนา​living​will​ เซ็นก�ากับแนบไปยื่นได้ที่เวชระเบียน​เมื่อ ถึงเวลาทีเ่ กิดเหตุฉกุ เฉินกับเรา​เขาก็จะได้รู้​ และสิ่งส�าคัญคือต้องสื่อสารกับญาติเพื่อ พวกเขาจะได้รู้ว่าเราต้องการอะไร​และไม่ เข้าใจผิดว่าอาการเจ็บป่วยของเรามีทางออก เดียวคือ​ยือ้ ​แต่พวกเขาจะรูว้ า่ ยังมีทางเลือก อืน่ ๆ​อยูอ่ กี ​และเป็นทางเลือกทีเ่ ราไม่ตอ้ งทรมาน ในวันที่ไม่สามารถสื่อสารกับใครได้แล้ว”

02

กนกวรรณ กนกวนาวงศ์ ครีเอทีฟ นักจัดรายการวิทยุ FM.96.5 คลื่นความคิด และนักเขียนอิสระ

ถึงแม้จะไม่มีใครรู้ว่าความตายจะมาถึงเมื่อไหร่ แต่มันเป็น เรื่องที่เราเตรียมตัวล่วงหน้าได้ เปรียบเสมือนการเดินทางที่เรา ไม่ รู้ ว่ า เราต้ อ งออกเดิ น ทางวั น ไหน ถึ ง อย่ า งนั้ น เราก็ เ ตรี ย ม กระเป๋าเสื้อผ้าไว้ก่อนได้เลย วันไหนถ้าเราต้องไปก็แค่แบกเป้ไป ใบหนึ่งแค่นั้น

​“เราคิดว่าสิ่งที่ส�าคัญที่สุดคือการเตรียมใจที่พร้อมจะสละทุกอย่าง​ ซึ่ ง มั น จะแตกต่ า งจากตอนวั ย รุ ่ น ที่ เ ราสะสมแทบทุ ก อย่ า งทั้ ง สมบั ติ แ ละ หน้าที่การงาน​แต่พอตอนนี้อายุใกล้​50​มันเป็นช่วงอายุที่ท�าให้เราต้อง เตรียมการสละของนอกกายออกไปจากตัวให้มากขึ้น​ท�าความเข้าใจว่าเรา ตายแน่​แล้วจะเอาอะไรในชีวิตไปไม่ได้เลย​ซึ่งจริงๆ​แล้วการเตรียมการ แบบนีม้ นั ท�าให้เรารูส้ กึ ว่าตัวเองใช้ชวี ติ ง่ายขึน้ ​เมือ่ ก่อนถ้าเราผิดหวังจากเรือ่ ง งาน​จากเรื่องคน​เราอาจรู้สึกเสียใจ​หม่นหมอง​แต่ตอนนี้พอเราท�าใจกับ การสูญเสียได้แล้ว​เราก็แทบไม่คาดหวังกับอะไรรอบตัวเลย​อะไรจะเกิด มันก็เกิดขึ้นมาได้​ความผิดหวังก็เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต​ไม่ใช่ว่าเฉยชาและ ปลงขนาดนั้ น ​แต่ เ ราจั ด การมั น ได้ ดี ขึ้ น ​สามารถสะบั ด บ๊ อ บเดิ น ต่ อ ได้​ (ยิ้ม)​​ ​“เรามีโอกาสได้ดูแลคุณพ่อคุณแม่ในวาระสุดท้ายที่เขาเสียไปทั้งคู​่ มองว่ามันเป็นโชคดีของเราที่ได้เรียนรู้จากสถานการณ์จริง​ท�าให้เข้าใจว่า ในตอนนั้นจริงๆ​แล้วร่างกายเราต้องการหรือไม่ต้องการอะไร​เช่น​สิ่งที่ เขาต้องการไม่ใ ช่อาหารเยอะๆ​แต่เป็น เรื่องของก� า ลังใจและความสงบ มากกว่า​ ​“พอหลังจากไปอบรมกับชีวามิตรฯ​ไม่นานเท่าไหร่​ครอบครัวของเพือ่ น ต้องเผชิญกับอาการป่วยแบบเฉียบพลันของคุณพ่อ​เขาก็ทา� ใจไม่ได้เลยเพราะมัน ปุบปับมาก​เราก็ได้ทา� หน้าทีเ่ ป็นคนให้คา� ปรึกษาว่าการตัดสินใจของเขาควรอยู่ ในพืน้ ฐานอะไร​การยือ้ ความตายจะท�าให้เขาต้องเข้าสูก่ ระบวนการอะไรบ้าง​ ต้องเจอเครือ่ งมืออะไร​และจะส่งผลกระทบอะไรกับผูป้ ว่ ย​แต่ถา้ เป็นอีกทางเลือก​ คือการรับการรักษาแบบประคับประคอง​จะท�าให้เขามีความทุกข์ทรมานน้อยลง อย่างไรบ้าง​สุดท้ายเขาก็เลือกการรักษาแบบประคับประคอง​เพื่อให้คุณพ่อ จากไปอย่างสงบ​จากบรรยากาศความเศร้า​ความสูญเสีย​มันเลยเปลีย่ นเป็น ความทะนุถนอมของคนทีอ่ ยู่​ได้เห็นพลังของครอบครัวว่าคนทีเ่ หลือก็จะช่วย ประคับประคองของกันและกันอย่างไร​กลายเป็นบรรยากาศของความรัก​ ความเข้าใจ​ ​“ล่าสุดเราเพิง่ เจอเหตุการณ์เฉียดตายสดๆ​ร้อนๆ​ตอนนัน้ ขับรถอยูบ่ น ถนนพุทธมณฑลสาย​7​แล้วรถบรรทุกที่อยู่เลนตรงกันข้ามขับปาดเลนมา ท�าให้รถเราไปประจันหน้ากับเขา​เป็นเวลาแค่​2-3​วินาทีเองที่ถ้าเราหักหลบ ไม่ทันเราคงตายแน่นอน​ตอนที่เจอก็ตกใจมาก​แต่ก็ขับรถไปท�างานต่อได้ ตามปกติ​ไปจัดรายการ​พูดคุยกับคนอืน่ ได้เหมือนไม่ได้มเี หตุการณ์อะไรเกิดขึน้ มาก่อน​พอเสร็จงานก็มาทบทวนกับตัวเองว่า​เฮ้ย​เราเพิง่ ผ่านเหตุการณ์เฉียดตาย มานะ​แต่เรากลับมานัง่ หัวเราะ​ท�างาน​เหมือนไม่มอี ะไรเกิดขึน้ ได้ขนาดนีเ้ ลย เหรอ​ก็เลยรู้สึกว่าตัวเราเองได้ผ่านการอบรมเกี่ยวกับความตาย​และได้เจอ ความตายจริงๆ​มาหลายครั้ง​จากคุณพ่อคุณแม่​คนใกล้ตัว​เพื่อนฝูง​เราเจอ ความตายมากขึน้ ตามอายุ​ไปงานศพมากกว่างานแต่งงาน​ความตายจึงเป็น เรื่องที่เราเฉยๆ​กับมันมากขึ้น​ถ้ามันจะเกิดขึ้นจริงๆ​เราก็พร้อมที่จะเจอ กับมัน”​

“ผมเชื่อว่าชีวิตคือการมีลมหายใจเพื่อประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น”

T HE LAST GOODBYE

29 “ เราเพิ่งผ่านเหตุการณ์เฉียดตายมานะ แต่เรากลับมานั่งหัวเราะ ท�างาน เหมือนไม่มีอะไร เกิดขึ้นได้ขนาดนี้เลยเหรอ”

a day BULLETIN

THEY SAID

03

ธรากร กมลเปรมปิยะกุล ผู้จัดการโครงการชุมชนเพื่อการตื่นรู้ Arsom ONE โดยสถาบันอาศรมศิลป์

เมื่อถึงปลายทาง คนเราควรมี ‘สิทธิเลือกในการดูแล คุณภาพชีวต ิ ’ แบบประคับประคองให้อยูส ่ บาย เพือ ่ พร้อมทีจ่ ะ จากไปอย่างสงบและสมศักดิศ ์ รีความเป็นมนุษย์ ดังนัน ้ ชีวามิตรฯ จึงมีเจตนาในการช่วยสนับสนุนให้สงั คมไทยมีความรูค ้ วามเข้าใจ และสามารถวางแผน ‘ชีวต ิ ระยะสุดท้าย’ ทีเ่ หมาะสมกับตัวเอง ได้ ด้วยการเป็นศูนย์รวมข้อมูลและแนะน�าทางเลือกให้ทุกคน สามารถเข้าถึงคุณภาพชีวต ิ ระยะสุดท้ายอย่างเท่าเทียมและเท่าทัน แม้ ใ นขณะที่ ยั ง มี สุ ข ภาพดี จ นกระทั่ ง เข้ า สู่ ส ภาวะพึ่ ง พิ ง และระยะท้ายของชีวิต

“อนิจจังคงเป็นถ้อยค�าและข้อธรรมทีเ่ รียบง่ายและชัดเจนทีส่ ดุ ส�าหรับ การเปลี่ยนแปลงของทุกๆ​สิ่ง​ไม่ว่าจะเป็นสิ่งไม่มีชวี ิตหรือมีชีวิต​ซึ่งส�าหรับ ทุกสิง่ ทีม่ ชี วี ติ ก็ลว้ นต้องเผชิญกับการเกิด-ตายน้อยใหญ่​ตลอดชีวติ ​ไปจนถึงวาระ สุดท้าย​ทีเ่ ป็นความตายของกายและใจนี​้ นัน่ คือช่วงสุดท้ายของลมหายใจนัน่ เอง ​“ในเบื้องต้นที่สุด​ การเข้าใจและการรู้ว่าหน้าที่และความรับผิดชอบ ของตนทีม่ ตี อ่ ตนเอง​ต่อคนทีเ่ รารัก​และคนรอบตัว​คือคุณค่าและความหมาย เบื้องต้นที่ส�าคัญที่สุดส�าหรับทุกๆ​ชีวิตที่เกิดมา​ขอเพียงได้ท�าหน้าที่อย่าง เต็มความสามารถ​ชีวิตก็เรียกได้ว่าไม่สูญเปล่าและปราศจากคุณค่าแล้ว​ ในความเข้าใจส่วนตัว​ผมคิดว่า​คุณค่าทีเ่ หนือกว่าหน้าทีต่ อ่ ตนเอง​คือหน้าที่ ต่อเพื่อนมนุษย์​ คือการตระหนักถึงคุณค่าของตนเองที่สามารถแบ่งปันและ สร้างประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคม​การมีชีวิตอยู่เพื่อผู้อื่น​และยังประโยชน์ ต่อลมหายใจของคนอืน่ ​รวมถึงสิง่ มีชวี ติ อืน่ ๆ​ไปจนถึงธรรมชาติทงั้ หมด​ก็นบั เป็นคุณค่าและความหมายทีส่ ามารถท�าให้เกิดขึน้ ได้​ในขณะทีย่ งั มีลมหายใจ ​“ผมเห็นด้วยว่าเรามีสทิ ธิทจี่ ะดูแลชีวติ ของเราในขณะทีเ่ รายังสามารถ มีชวี ติ อยูไ่ ด้ตามอัตภาพ​และเช่นกัน​เราก็ควรมีสทิ ธิทจี่ ะเลือกได้วา่ ต้องการจะมี ชีวติ อยูต่ อ่ ไปอีกหรือไม่​ในขณะทีร่ า่ งกาย​จิตใจ​หรือสภาวะต่างๆ​ทีป่ ระกอบกัน เป็นชีวติ ​อาจจะไม่อา� นวยหรือมีความพร้อมพอทีจ่ ะท�าให้ชวี ติ สามารถด�าเนิน ต่อไปได้อย่างมีคณ ุ ภาพทีด่ พี อ​ทัง้ นี​้ ไม่ใช่เพียงแค่เพือ่ ความจ�าเป็นในการมีชวี ติ อยูข่ องเราผูเ้ ป็นเจ้าของชีวติ แต่เพียงผูเ้ ดียว​คงต้องไม่ลมื ว่า​ในขณะทีอ่ ตั ภาพ ของชีวิตที่ไม่พร้อมที่จะด�าเนินต่อไป​ย่อมต้องเป็นเหตุให้ผู้คนที่เรารักหรือ ดูแลเรา​ต้องประสบกับความยากล�าบากในการรับหน้าทีด่ แู ลประคับประคอง สถานภาพของชีวิตที่เริ่มไม่สามารถที่จะด�าเนินต่อไป ​“ผมเชื่อว่าชีวิตคือการมีลมหายใจเพื่อประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น​ ดังนัน้ ​ความรับผิดชอบ​และสิทธิในการเลือกทีจ่ ะหมดลมหายใจเพือ่ ประโยชน์ ของตนเองและผูอ้ นื่ ​ก็นา่ จะอยูใ่ นวิสยั ทีเ่ หมาะสมและน่าจะกระท�าได้เช่นกัน ​“การรูเ้ ท่าทันชีวติ มีความส�าคัญและมีประโยชน์อย่างยิง่ ในส่วนตัวผมเอง​ พอได้ใช้ชีวิตมาถึงจุดทีเ่ รียกได้ว่าเป็นผู้ใหญ่เต็มวัยคนหนึ่ง​(ปีนี้อายุ​ 46​ปี)​ ผมพบว่าการรู้เท่าทันชีวิตในอีกนัยหนึ่งที่ส�าคัญยิ่ง​และมีประโยชน์ต่อชีวิต อย่างยิง่ ​ไม่เพียงแต่เป็นการเตรียมพร้อมเผชิญความตาย​แต่หากยังน่าจะเป็น คุณค่าและความหมายของการมีชีวิตอยู่ ​“ความสามารถในการทีจ่ ะค้นพบค�าตอบของสามค�าถามส�าคัญในชีวติ ​ ได้แก่​ฉันคือใคร​ฉันเกิดมาท�าไม​และชีวติ คืออะไร​สามค�าถามสัน้ ๆ​และไม่งา่ ย ทีใ่ ครสักคนจะตอบได้ในทันทีทนั ใด​เพราะเป็นค�าถามสัน้ ๆ​ทีอ่ าจต้องใช้เวลา ในการแสวงหาค�าตอบยาวนาน​ยิง่ ไปกว่านัน้ ​ค�าตอบของทัง้ สามค�าถามนีก้ ย็ งั สามารถเปลีย่ นแปลงและเติบโตไปพร้อมกับความรู​้ ความคิด​จิตใจ​ความเชือ่ ​ และสิง่ ต่างๆ​อีกมากทีป่ ระกอบเป็นชีวติ ของเรา​ส่วนตัวผมเอง​ค่อนข้างพอใจ ในชีวติ พอสมควร​ทีพ่ อสามารถค้นพบค�าตอบของสามค�าถามนีแ้ ล้วพอสมควร​ แต่คา� ตอบทีผ่ มตอบได้ในวันนีก้ อ็ าจยังไม่ใช่คา� ตอบสุดท้ายของชีวติ ​เพราะตราบใด ทีย่ งั มีลมหายใจ​เราก็ยงั คงต้องพบกับสัจจะทีเ่ รียกว่า​อนิจจัง​ซึง่ สิง่ สิง่ นีป้ รากฏอยู่ ในทุกสรรพสิ่ง​รวมทั้งตัวตน​ความคิด​จิตใจ​และค�าตอบของค�าถามส�าคัญ ในชีวิตของเราด้วยเช่นกัน”


“ผมเป็นเด็กหนุ่มค่อนข้างอ่อนโลกคนหนึ่ง ที่ ‘กลัว’ เรื่อง ความตายมาตลอด เป็นความกลัวที่มาจากความไม่รู้ ที่กังวลว่า เ ราจะผิด กังวลว่าเรายังท�าหน้าที่ดูแลท่านได้ยังไม่ดีพอ ไม่อยาก ถู ก ตราหน้ า ว่ า อกตั ญ ญู ไม่ อ ยากรู้ สึ ก ว่ า เราเลวต่ อ คนใกล้ ตั ว จนผมได้ดูหนังเรื่องเรื่อง Extremis กับทางชีวามิตรฯ ที่ถ่ายทอด ให้เห็นว่าจริงๆ แล้ว แพทย์และพยาบาลก็มีความเป็นคนที่มีหัวใจ เช่นเดียวกัน แพทย์ที่ตัดสินใจหรือลงมือท�าอะไรลงไป เขาก็จ�าเป็น ต้องแบกรับความรูส ้ ก ึ ทีต ่ นเองลงมือท�าไปเช่นเดียวกัน เพียงแต่วา่ แพทย์เหล่านั้นจะเปิดเผยความรู้สึกออกมาหรือไม่เท่านั้นเอง

issue 548 23 JUL 2018

“​ เมือ่ ดูหนังจบ​ในใจเกิดค�าถามขึน้ ว่า​‘แล้วจุดใดคือจุดบรรจบพบพานทีล่ งตัว สมดุลกันแน่ ’​ที่ท�า ให้ เกิดความสุขสมดุล ​ปล่ อ ยวางยอมรับสิ่งที่เ กิด ขึ้น ได้จ าก ทุกๆ​ฝ่าย​นัน่ คือสิง่ ทีค่ ยุ กันในช่วงต่อไปของวันนัน้ ​ซึง่ พอดีกบั ทีผ่ มมีโอกาสการสนอง งานพระอาจารย์ไพศาล​วิสาโล​เรื่องเกี่ยวกับมรณานุสติ​การเผชิญความตายด้วย ใจสงบ​และอยู่ในช่วงเริ่มท�าละครแทรกสดเกี่ยวกับเรื่องความตาย​จึงเป็นประโยชน์ มากๆ​ในการมากิจกรรมนี้เพื่อ เรีย นรู ้ ​ข้ อ มู ล ที่ไ ด้ จ ากวัน นั้น มีประโยชน์มากกับ ทุ ก คนและทุ ก ครอบครั ว ​ สามารถเป็ น ความรู ้ แ ละทางเลื อ กให้ แ ก่ ผู ้ ที่ จ ะจากไป และครอบครัว​ ​“ผมวางแผนคร่าวๆ​ ของชีวิตช่วงสุดท้ายไว้ว่า​ จะไปใช้ชีวิตที่ปกติธรรมดา​ ธ รรมชาติทสี่ ดุ เท่าทีเ่ ป็นไปได้​ และทีส่ า� คัญคืออยูก่ บั เพือ่ นๆ​กัลยาณมิตร​ส่วนการตายดี ของผมนั้นหมายถึงอารมณ์​ความรู้สกึ นึกคิด​ที่ตอนก่อนตายนั้นใกล้เคียงกับสภาวะ ปกติธรรมดาธรรมชาติมากที่สุด​เพราะความตายคือการที่เรากลับคืนสู่ความปกติ ธรรมชาติที่สุด​เมื่อความตายเข้าใกล้มาถึงจุดหนึ่ง​จิตมันจะต้องหลุดออกจากร่าง ไ ป​ ถ้าจิตที่ก�าลังหลุดออกจากร่างไปนั้นมีความไม่ปกติ​ (อัตตาตัวตน​ ยึดมั่นถือมั่น​ กิเลส)​ มาก​ มันก็เหมือนคนตัวใหญ่ที่ก�าลังรอดตัวออกไปจากที่แคบ​ ณ​ ขณะนั้น​ ความรู้สกึ นึกคิด​ปมในใจต่างๆ​ความจ�าที่ดีและไม่ดี​ จะผุดขึ้นมารวดเดียวชั่วขณะ ก่อนตาย​และเกิดความทรมานใจที่รู้ว่า​ความจริงแท้กับสิ่งที่เรายึดไว้ทั้งชีวิตมันช่าง ห่างไกลกัน​และทรมานเหลือเกิน​การตายดีจึงเรียกง่ายๆ​อีกอย่างหนึ่งคือ​การตาย อย่างสงบ​ ​“ชีวิตประกอบด้วยการเกิด​การด�ารงอยู่​ ความเสื่อม​การตายดับไป​เมื่อ จิตวิญญาณมนุษย์เริ่มกระตุ้นเร้าว่า​‘ฉันคือใคร’​เราจะค้นหาความหมายของชีวิต​ แ ละก่อนที่เราจะหาความหมายชีวิตได้​ เราจ�าเป็นต้องเห็นภาพรวมของชีวิตเราก่อน​ นั่นคือ ความตาย​ถ้ า เรายัง ไม่ พิจารณาถึง ความตาย​นั่น หมายถึงเรายังไม่รู้จัก ชีวิตของเรา​นั่นคือเรายังไม่รู้จักตัวเอง​แล้วเมื่อเราไม่รู้จักตัวเอง​นั่นคือเรายังหาจุด สงบของเราไม่มที างเจอเลยสักด้านเดียว​แต่ถา้ เรารูจ้ กั ตัวเอง​เราจะรูจ้ กั ความสงบที่จะ หยุดการตั้งค�าถาม​นั่นคือการปล่อยวางลงได้ในทุกๆ​ด้าน​ ​“เมื่อเราเข้าใจตัวเองได้ลึกขึ้น​เรื่อยๆ​เราจะค่อยๆ​ปลดปล่อยความกลัว ห รือ เงื่อนไขต่ า งๆ​ ได้ ทีล ะเรื่อ งๆ​ ในขณะที่เราค้ น พบตนเองในบางมุมเจอแล้ว​ แ ละในขณะที่เราก�าลังท�าใจยอมรับมัน​ กระบวนการปล่อยวางลงให้ได้นั้นแสนยาก แ ละมีค�าถามมากมาย​ โดยเฉพาะเมื่อเราได้รู้จักตัวเองตามความเป็นจริงมากขึ้น​ แ ล้วค้นพบว่าเรามีด้านลบในตนเองมากมาย​ ไม่ว่าจะความกลัว​ ความเห็นแก่ตัว​ ก ารครอบง�าใช้อ�านาจกับผู้อื่น​ ฯลฯ​ แล้วเรารู้สึกว่าเราจะต้องเปลี่ยนแปลงเพื่อ ค วามจริงของตัวเอง​ จนส่งผลกระทบท�าให้แพสชัน​ ชีวิตชีวา​ ความฝัน​ แรงในการท�างานหายไปด้วย...​แล้วเราจะเอาอะไรมาท�างานกันล่ะ?​ความคิดเหล่านี้มาจาก การดีดดิ้นของอัตตา​กิเลสที่มันต้องการที่จะคงอยู่ในตัวเราทั้งสิ้น​เราต้องฝ่ามัน ไปให้ได้​โดยการยอมรับมันแล้วไปต่อ”​

05

อลิศรา ประดิษฐ์สุวรรณ

นักจัดรายการวิทยุ FM.96.5 คลื่นความคิด อสมท.

“ก่อนไปอบรมกับชีวามิตรฯ เราเคยคิดว่า อยากให้คนในบ้านอยูก ่ บ ั เราให้ได้นานทีส ่ ด ุ เพราะ เราอาจจะมองว่ามันเป็นความรัก เป็นการต่อชีวต ิ ให้เขาในช่วงสุดท้าย แต่พอได้ไปอบรมมันก็ทา� ให้ เราได้ ท บทวนว่ า การที่ เ รายื้ อ ให้ เ ขาอยู่ กั บ เรา มันเป็นการทรมานเขามากกว่า ยิ่งถ้าคุณหมอ มาบอกเราว่าไม่สามารถรักษาให้ได้ดไี ปกว่านีแ้ ล้ว การปล่อยให้เขาไปสบายมันน่าจะดีกว่าให้เขาต้อง ทรมาน

“​ เราไปอบรมแค่ ค รั้ ง เดี ย ว​และถึ ง แม้ ว ่ า เราจะยั ง ไม่ได้มองตัวเองในฐานะผู้ป่วยเท่าไหร่​แต่ส่วนตัวเราก็อยาก จะเขียน​living​will​เป็นของตัวเองเหมือนกัน​เพราะคิดว่า มันช่วยให้คนรอบข้างเราจัดการเรื่องต่างๆ​เพื่อเราได้ดีขึ้น​ ถึงอย่างนั้นมันก็ยังมีปัญหาอยู่ว่าเราต้องอธิบายให้ที่บ้าน เข้าใจก่อน​ซึ่งตอนนี้ยังไม่ได้คุยกันจริงจังเลย​เพราะคุณแม่ สุขภาพไม่ค่อยดี ​“ เรารู ้ สึ ก ว่ า การอธิ บ ายเรื่ อ งนี้ ใ ห้ ค นรอบข้ า งฟั ง มันยากเหมือนกัน​เพราะเขาเป็นคนที่เป็นห่วงเราและเขาคง ไม่ ไ ด้ อ ยากได้ ยิ น เรื่ อ งแบบนี้ ​ในขณะเดี ย วกั น ​เราก็ ถ าม ตัวเองว่า​ ถ้าเราสามารถอธิบายให้พ่อแม่ฟังจนเขาเขียน​ living​will​เป็นของเขาเอง​แล้วเราจะรับกับอารมณ์ที่เกิดขึ้น ได้ไหม​มันเป็นเรื่องเซนสิทีฟมาก​แล้วเราก็เชื่อว่าพ่อแม่ คงรู้สึกเหมือนกัน ​“เพราะฉะนั้น​ถ้าจะมาคุยกันเรื่องนี้จริงๆ​เราว่ามัน ต้องใช้เวลา​ใช้ความกล้า​และใช้ความเข้าใจค่อนข้างสูง​ แม้แต่ตัวเราเองเราก็ต้องท�าความเข้าใจกับความต้องการ ของตัวเองเหมือนกันว่าสุดท้ายแล้วเราต้องการอะไรในชีวิต​ แต่อย่างน้อยการเขียน​living​will​ก็ท�าให้เราได้ตระหนักว่า ความตายอาจจะอยู่ใกล้มากๆ​ก็ได้​เราไม่รู้ว่าพรุ่งนี้จะมีอีก กี่ครั้ง​บางทีมันอาจจะไม่มีแล้วก็ได้​ถ้าอยากท�าอะไรก็ควร จะรีบท�าตั้งแต่ตอนนี้”

“เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นเรื่องธรรมชาติ แต่ไม่ได้หมายความว่าเราจะเกิดแก่เจ็บตายกันอย่าง ปล่อยปละละเลย”

อิทธิศักดิ์ เลอยศพรชัย

ประธานมูลนิธิสหธรรมิกชน

“ถ้าเรายังไม่พิจารณาถึงความตาย นั่นหมายถึงเรายังไม่รู้จักชีวิตของเรา”

04

31 “เขียน living will ก็ท�าให้เราได้ตระหนักว่าความตายอาจจะอยู่ใกล้มากๆ ก็ได้”

a day BULLETIN

30

06

รศ. ดนัย ปรีชาเพิ่มประสิทธิ์

อาจารย์ภาควิชาปรัชญา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

“เนื่ อ งจากผมสอนวิ ช าพุ ท ธศาสนาอยู่ แ ล้ ว ท� า ให้ ค่ อ นข้ า ง คุ้นเคยเรื่องการตายดีและการจากไปอย่างสงบตามหลักศาสนา แต่การไปอบรมครั้งนั้นกับชีวามิตรฯ ก็ท�าให้ได้เห็นมุมมองด้านอื่นๆ อีกหลายด้าน เช่น กฎหมาย การแพทย์ สิทธิที่เรามีตาม พ.ร.บ. ว่า เราสามารถเลือกรับการรักษา หรือเลือกที่จะไม่รับการรักษาอะไร ที่ไม่เกิดประโยชน์กับเราได้ด้วยการเขียน living will

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

​“ถึงแม้ว่าตอนนี้ผมเองจะยังไม่ได้เขียน​living​will​จริงจัง​แต่ผมก็ได้ กลับไปบอกญาติผู้ใหญ่​และบอกลูกศิษย์ที่มีญาติผู้ใหญ่ใกล้จะเสียชีวิต​จนมี ลูกศิษย์คนหนึ่งที่เขาได้น�าไปใช้จริง​เพราะว่าญาติผู้ใหญ่ของเขาก�าลังอยู่ในช่วง โคม่า​โดยได้กา� ชับหมอกับพยาบาลว่าขอไม่ปม๊ั หัวใจ​ปล่อยให้เขาไปอย่างสบาย และเป็นธรรมชาติ​แล้วก็เป็นแบบนั้นจริงๆ​ซึ่งตรงกับทั้งความต้องการของคนไข้ และญาติ​ ​“ผมเห็นด้วยกับเกือบทุกเรื่องที่ไปอบรม​เหมือนมันมายืนยันและตอกย�้า ความเชื่อของผมที่มีมานานแล้ว​แต่ตอนนี้ก็ยิ่งมั่นใจขึ้นว่ามันมีกฎหมายรองรับ​ ถ้าเรามองในมุมศาสนาพุทธ​เกิด​แก่​เจ็บ​ตาย​เป็นเรื่องธรรมชาติ​แต่ไม่ได้ หมายความว่าเราจะเกิดแก่เจ็บตายกันอย่างปล่อยปละละเลย​ในขณะทีม่ ชี วี ติ อยู่ เราต้องรักษาสุขภาพ​กินอะไรทีป่ ระโยชน์​นอนให้พอ​แต่พอถึงวาระทีต่ อ้ งเปลีย่ น ภพชาติ​อารมณ์ก่อนตายจะเป็นเรื่องส�าคัญ​ ​“พูดง่ายๆ​จากที่เราเคยได้ยินคือ​ก่อนตายให้นึกถึงสิ่งดีๆ​แล้วเราก็จะ ไปในภพภูมทิ ี่ดี​ความเชื่อนี้เป็นสิ่งที่พุทธศาสนาเน้นมาก​เพราะฉะนั้น​ถ้าถึงใน วาระสุดท้ายแล้วลูกหลานพยายามยื้อให้ผู้ป่วยไปอย่างทรมาน​หรือพยายาม รักษาแม้ว่ามันจะสิ้นหวังแล้ว​เช่น​เจาะนั่นเจาะนี่​คนไข้ก็คงได้รับทุกขเวทนา​ เพราะว่ามันมีความเจ็บปวด​เหมือนเขาจะไปก็ไม่ให้ไป​ท�าให้จติ เขาอาจเศร้าหมอง​ ถ้าท�าแบบนี้ก็แทบจะพูดได้ว่าเป็นการส่งให้ญาติเราไปในที่ไม่ดี​ ​“เพราะฉะนั้น​การปล่อยให้เขาไปสบาย​คนโบราณเขาถึงนิมนต์พระ มาสวด​เอาดอกไม้ธูปเทียนมาวางข้างเตียง​เพื่อหวังว่าอารมณ์ก่อนตายของ ผู ้ ป ่ ว ยจะนึ ก ถึ ง บุ ญ ​นึ ก ถึ ง สิ่ ง ดี ๆ ​และจะได้ ไ ปสู ่ ภ พภู มิ ที่ ดี ​เช่ น เดี ย วกั น​ การประคับประคองผู้ป่วยให้เขาไปอย่างสบายที่สุด​ผมคิดว่ามันตรงกับปรัชญา พุทธเลย​มันไม่ใช่ว่าเราไม่รักษา​หรือยอมให้พยาบาลปล่อยให้ญาติเราตาย​ แต่เราต้องดูว่าการรักษาแบบไหนมันเป็นประโยชน์​ไม่ใช่ปล่อยให้เขาตาย อย่างทรมาน​ ​“แต่แน่นอนว่ามันยังเป็นประเด็นทีอ่ าจเกิดการเข้าใจผิดได้งา่ ย​คนในสังคม ยังควรศึกษาเพิ่มเติมอีกมาก​เพื่อให้เข้าใจตรงกันว่าการปฏิเสธการรักษาไม่ใช่ การปล่อยให้เขาตายโดยไม่ท�าอะไร​จริงๆ​แล้วแพทย์เขารักษาอยู่แล้ว​แต่เป็น แบบประคับประคองให้เขาไปถึงวาระสุดท้ายอย่างสวยงามที่สุดต่างหาก”​


a day BULLETIN

32

CALENDAR

23

M 24

T 25

W 26

TH 27

F 28

SA 29

S

CELINE DION LIVE 2018 IN BANGKOK

NEON DIARY

MANGOSTEEN MUSIC FESTIVAL

POST-REPOSTSHARE

AS WHOLE

MAKE A ZINE

SENSATION

ค อ นเสิร์ตครั้งแรกใน ป ร ะเทศไทยของ ศิ ลปิ น ชื่ อ ก้ อ งโลก และดีวาระดับต�านาน เซลีน ดิออน ใน ‘Celine D i on Live 2018 in B a ngkok’ จัดเต็มทั้ง โปรดักชัน แสง เสียง วั นนี้ เวลา 20.30 น. ณ อิ ม แพ็ ก อารี น า เ มื อ ง ท อ ง ธ า นี จ� า หน่ า ยบั ต รที่ ไ ทย ทิกเก็ตเมเจอร์

นิทรรศการ ‘Neon Diary’ โดย Tachpasit Kunaporn ความทรงจ�าที่กระจัดกระจายหากแต่เชื่อม ต่อกันด้วยโลกสองโลก ผ่านสายตาของช่างภาพ และผู้ล่วงลับ เมื่อมอง เข้าไปในแสงของนีออน ในความเป็ น จริ ง นั้ น ศั กยภาพของสายตา มนุษย์เราไม่สามารถ มองเห็นการเกิดและดับ ของมัน ได้ วัน นี้ถึง 2 กันยายน 2561 ณ the Jam Factory Gallery

มาวอร์ ม หั ว ใจให้ อุ ่ น ไปกับเพลงโซลรสหวาน ละมุนของดูโอ้อเิ ล็กโทรพ็อพ HONNE ใน ‘Mangosteen Music Festival ค รั้ ง ที่ 1’ ร่ ว มด้ ว ย ศิ ลปินไทยรุ่นใหม่ท่ที �า เ พ ลงพ็อพได้ไพเราะ อย่างมีเอกลักษณ์ The T O YS และ MEAN B a nd วันนี้ และ 26 กรกฎาคม 2561 เวลา 18.30 น. ณ GMM Live House

นิทรรศการ ‘Post-RepostShare’ โดยศิลปิน 35 คน จาก 11 ประเทศใน ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ น�าเสนอผลงาน ภาพถ่ายในพืน้ ทีไ่ ร้แสง ผ่ านสือ่ ร่วมสมัยอย่าง เครือ่ งฉายภาพ แต่ยงั คง บอกเล่าเรือ่ งราวร่วมสมัย และเชือ่ มโยงบริบททาง สั งคมทีห่ ลากหลายเข้า ไว้ด้วยกัน วันนี้ถึง 9 กันยายน 2561 ณ ชัน้ 8 หอศิลป์กรุงเทพฯ (เว้น วันจันทร์)

นิทรรศการ ‘ทัง้ หมดของ หั วใจ’ โดย นวัต เลิศแสวงกิจ บันทึกความคิด และอารมณ์ขนั ของศิลปิน แฝงด้ ว ยมุ ม มองเชิ ง เสียดสีและความตลกร้าย ผ่ านผลงานภาพวาดสี อะคริ ลิ ก และงานวาด เส้นชาร์โคลบนกระดาษ รวมทัง้ สิน้ 60 ภาพ วันนี้ ถึ ง 5 สิงหาคม 2561 ณ Artery Gallery Bangkok ซ.สีลม 21 (เว้นวันอาทิตย์)

เ ท ศกาลหนังสือท�ามือ ‘Make a Zine’ เปิดพืน้ ที่ ให้กลายเป็นนิทรรศการ จั ดแสดงซีนภายใต้ธมี ExtraOrdinary, การจัด แสดงซีนจากผูอ้ า่ นทาง บ้าน, กิจกรรม zine swap หรื อ แลกซี น ที่ ทุ ก คนรอ คอย และตลาดนัดขาย ซีน วันนี้ เวลา 14.00 น. เป็นต้นไป ณ The Jam F a ctory รายละเอียด เพิม่ เติม www.facebook. com/adaymagazine

ปรากฏการณ์ทางดนตรี ที่ดีที่สุด ‘Sensation’ ที่ ครั้ ง นี้ ม ากั บ ธี ม Rise ดื่มด�า่ ความสุขกับปาร์ตี้ แบบสุดๆ พบกับ KO:YU, W H OISJODY, Dirty South, Mr. White, Headhunterz, Dannic ฯลฯ วันนี้ เวลา 18.00 น. ณ ไบเทค บางนา จ�าหน่ายบัตรที่ Ticketmelon.com (Dress code : white) C

M

Y

CM

MY

issue 522

22 JAN 2018

adaybulletin

BTS หมอชิต

จุดแจกนิตยสาร a day BULLETIN เฉพาะสถานีรถไฟฟ้า BTS ทุกวันจันทร์ เวลา 17.30 น. เป็นต้นไป (แจกให้ผู้รับได้คนละ 1 ฉบับ)

BTS อารีย์

เพล ินจิต

ิดลม

BTS ช

สยา ม

BTS อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

BTS

WHERE THE CONVERSATIONS BEGIN

CMY

BTS

FIND US

CY

BTS อโศก BTS ศาลาแดง

BTS พร้อมพงษ์

BTS ช่องนนทรี BTS สะพานตากสิน

BTS อ่อนนุช

K


a day BULLETIN

BULLETIN BOARD

34

35 อัพเดตแวดวงข่าว สั ง คมที่ น่ า สนใจ ในรอบสัปดาห์

ช า ญ อิ ส ส ร ะ เ ปิ ด ตั ว B a a n IssaraBangna ดี ไ ซน์ พ ร้ อ ม นวัตกรรมฟังก์ชันเหนือระดับ

ร่ ว มลุ้ น ! ที ม ชาติ ไ ทยคนแรก ในการแข่งขัน Youth Olympic Games 2018

บริษทั ชาญอิสสระ ดีเวล็อปเมนท์ จ�ากัด (มหาชน) จั ด งาน Grand Opening Baan IssaraBangna บ้านเดี่ยวระดับซูเปอร์ลักชัวรี ภายใต้คอนเซ็ปต์ ‘ความภูมใิ จ The New Legacy of Freedom’ ทีโ่ ดดเด่นด้วยดีไซน์ พร้อมนวัตกรรม ฟังก์ชนั เหนือระดับ ตอบทุกโจทย์ดา้ นการอยูอ่ าศัย ให้กบั ทุกเจเนอเรชัน โดยภายในงานได้รบั เกียรติ จาก สงกรานต์ อิสสระ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผู ้ จั ด การ บมจ.ชาญอิ ส สระ ดีเวล็อปเมนท์ พร้อมด้วย พลพัฒ กรรณสูต ประธานบริษทั ซี.ไอ.เอ็น เอสเตท จ�ากัด ให้การต้อนรับแขกผูม้ เี กียรติทมี่ าร่วมงานในบรรยากาศ ยามเย็นทีแ่ สนอบอุน่ บ้านอิสสระ บางนา พร้อม เปิดให้เข้าชมบ้านตัวอย่างภายในโครงการแล้ว วันนี้ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่โครงการ บ้านอิสสระ บางนา โทร. 09-5207-9235-7 หรือ www.charnissara.com/BaanIssaraBangna

นั บ เป็ น ความภาคภู มิ ใ จของสมาคม ไคท์บอร์ดประเทศไทย เมื่อ ‘มาย’ - นิชนันท์ รอดทอง นักกีฬาเยาวชนไคท์บอร์ดทีมชาติไทย ได้ ผ ่ า นการคั ด เลื อ กเข้ า สู ่ ร อบสุ ด ท้ า ยของ การแข่งขันกีฬายูธ โอลิมปิก เกมส์ 2018 (Youth Olympic Games 2018) เป็นคนแรกของประเทศ โดยเธอมุ่งมั่นฝึกซ้อม หวังคว้าเหรียญรางวัล เป็นของขวัญให้กับคนไทย ร่วมส่งแรงใจเชียร์ นัก กีฬ าเยาวชนไคท์ บ อร์ ด ทีม ชาติไ ทยได้ ใ น การแข่งขันกีฬายูธ โอลิมปิก เกมส์ 2018 ซึ่งจะ เปิดฉากขึ้นในเดือนตุลาคม 2561 นี้ ณ เมือง บัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา รวมทั้ง สามารถติดตามข้อมูลและความเคลื่อนไหว เกี่ ย วกั บ กี ฬ าไคท์ บ อร์ ด และการแข่ ง ขั น ได้ ที่ www.internationalkiteboarding.org, www. kiteboardtour.asia หรือเฟซบุ๊ก www.facebook. com/kiteboardtourasia

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

issue 548 23 JUL 2018

V-YADA Grand Opening

ก ร ม ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น เสริมทัพรับงานใหญ่

S&P ชวนกันรักษ์โลก

ICHITAN และ LACTASOY Present 90’s Nonstop Concert

เจาะลึกเบื้องหลังคดีฆ่าโหด ของอเมริ ก า ผ่ า นหนั ง สื อ ‘ล่าปมวิปลาส ยอดฆาตกร’

โรงเรียนสอนศิลปะ ภรณ สคูล ออฟ อาร์ท จุดประกายชาว กรุงเทพฯ ให้มา

เทศกาลภาพยนตร์อาเซียน แห่งกรุงเทพมหานคร 2561

ผู้ผลิตเทียนหอมภายใต้แบรนด์ V-YADA น�า เสนอผลิตภัณฑ์เทียนหอมจากแบรนด์ ไทยแท้ จากแรงบันดาลใจและประสบการณ์ การ ท่องเทีย่ วจากทัว่ โลก ผ่านการซึมซับ และ เรียนรูถ้ งึ วัฒนธรรมต่างๆ จนท�าให้ เกิ ดจิน ตนาการในการเลือ กกลิ่น ของ ดอก ไม้ไทยมาน�าเสนอถ่ายทอดทุกห้วง อารมณ์แทนความรูส้ กึ ผสมผสานกับศิลปะ การ ปรุ ง น�้ า หอมไทยดั้ ง เดิ ม กั บ กลิ่ น วัฒนธรรมไทยร่วมสมัย เพือ่ ให้ได้กลิน่ หอม ทีม่ เี อกลักษณ์ไม่เหมือนใคร วางจ�าหน่าย ที่ บริเวณด้านหน้าโซน Betrend ชั้น 3 ดิ เอ็มโพเรียม สามารถเข้าไปดูรายละเอียดและโปรโมชันได้ท่ี www.v-yada. com หรือ FB : เทียนหอม www.facebook. com/v-yada scentedcandle

สมหวัง พ่ วงบางโพ รองอธิบ ดี กรมการพั ฒ นาชุ ม ชน ให้ เ กี ย รติ เ ป็ น ประธานในพิธปี ดิ การอบรมโครงการพัฒนา ข้าราชการที่อยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติ หน้าที่ราชการ หลักสูตรพัฒนากรก่อน ประจ�าการ รุน่ ที่ 109 พร้อมมอบวุฒบิ ตั ร และเข็ ม วิ ท ยฐานะแก่ ผู ้ ที่ ผ ่ า นการฝึ ก อบรมฯ จ�านวน 101 คน โดยมี โชคชัย แก้วป่อง รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน คณะผู้ บ ริหาร กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ร่วมเป็นเกียรติในพิธี ณ โรงแรมเซ็ น ทรา ศู น ย์ ร าชการฯ แจ้งวัฒนะ

เครื่องดื่มบลูคัพชวนคุณรักษ์โลก ร่ ว มกั น เพี ย งน� า แก้ ว ของบลู คั พ หรื อ แก้วชนิดใดก็ได้ มาซือ้ เครือ่ งดืม่ ทีร่ า้ นเอส แอนด์ พี หรือบลูคพั รับส่วนลด 10 บาท ทันที และสามารถใช้ร่วมกับวันบลูคัพ ดีเดย์ (รับส่วนลดเฉพาะแก้วที่ชา� ระเงิน ไม่ ร วมแก้ ว ที่ แ ถม) ตั้ ง แต่ วั น นี้ ถึ ง 31 ธันวาคม 2561 ที่สาขาร้านอาหาร เอส แอนด์ พี และจุดขายบลูคัพที่ร่วม รายการ ยกเว้ น สาขาดอนเมื อ งและ สุ ว รรณภู มิ ติ ด ตามกิ จ กรรมดี ๆ ของ เอส แอนด์ พี ได้ท่ี www.snpfood.com และ Facebook : S&P

บริษัท NEXT COMPANY เตรียม ระเบิดคอนเสิร์ตใหญ่ ICHITAN และ LACTASOY Present 90’s Nonstop Concert ...เต้ น ไม่ ห ยุดสุดทุก ค่ า ย กับ ครั้ง แรก ที่เหล่าศิลปินขวัญใจไอดอลสายแดนซ์ ยุค 90s ครบทุกค่ายเพลงอย่างมอส, ทาทา ยั ง , เต๋ า สมชาย, โจอี้ บอย, ไทรอัมพ์ส คิงดอม, นิโคล เทริโอ, เจมส์ เรืองศักดิ์, ลิฟท์-ออย, ที-สเกิร์ต และ MR.Z เปิดจ�าหน่ายบัตรแล้วทีไ่ ทยทิกเก็ต เมเจอร์ ทุกสาขา บัตรราคา 4,500 / 4,000 / 3,500 / 3,000 / 2,500 / 2,000 / 1,500 / 1,200 บาท

Maxx Publishing ในเครือโมโน กรุป๊ ส�านักพิมพ์ทพี่ ร้อมเสิรฟ์ ความสนุก ระดั บ อิ น เตอร์ ล่ า สุ ด ส่ ง หนั ง สื อ ที่ รวบรวมเรื่องจริง ประสบการณ์ 25 ปี ตลอดการท�างานเป็นหน่วยสนับสนุน การสืบสวน (Investigative Support Unit) ใน FBI ของ จอห์น อี. ดักลาส ซึ่งเขาใช้ หลักจิตวิทยาในการอ่านความคิดฆาตกร ต่อเนื่องชื่อกระฉ่อนหลายคนในสหรัฐอเมริ ก าไว้ ใ นหนั ง สื อ ‘ล่ า ปมวิ ป ลาส ยอดฆาตกร’ (Mindhunter : Inside the FBI’s Elite Serial Crime Unit) ที่ได้ มาร์ก โอลเชกเกอร์ นักเขียนมือรางวัลมาร่วม เขียน โดยแปลเรียบและเรียงในภาค ภาษาไทยโดย วีระวัฒน์ เตชะกิจจาทร ราคา 425 บาท (530 หน้า)

โรงเรียนสอนศิลปะ ภรณ สคูล ออฟ อาร์ท มีความยินดีกบั ความส�าเร็จใน โครงการคอมมูนติ อี้ าร์ต สไตล์บล็อกปาร์ตี้ (Block Party) ที่ the COMMONS ทองหล่อ ซอย 17 โดยมี Pangina Heals แดร็กควีน สัญชาติไทย มาร่วมกิจกรรม ซึง่ ผูค้ นได้เข้า ร่วมกิจกรรมครัง้ นีด้ ว้ ยการหยิบแปรงทาสี และเริม่ ระบายสีลงบนกระดาษชิน้ หนึง่ จาก ทีม่ ที งั้ หมด 144 แผ่น ซึง่ จะกลายเป็นจิก๊ ซอว์ ชิน้ ส�าคัญทีน่ า� ไปสูง่ านศิลปะ โดยจิก๊ ซอว์ แผ่นสุดท้ายจะถูกประกอบเสร็จหลังจาก 5 ชั่ ว โมง ถู ก เผยออกมาเป็ น รู ป ของ ‘แพนจินา ฮิลส์’ สนใจสามารถเข้าเยีย่ มชม สตูดิโอได้ที่สุขุมวิท 26 สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมที่ www.facebook.com/ ParonSchoolofArt, www.ParonSchoolofArt. com

‘แพนเค้ก’ - เขมนิจ จามิกรณ์ น� า ที ม ดารานั ก แสดง อาทิ ‘อ้ ว น’ รังสิต ศิรนานนท์, ‘โดนัท’ - มนัสนันท์ พันเลิศวงศ์สกุล, ‘โบวี’่ - อัฐมา ชีวนิชพันธ์, เทย่ า โรเจอร์ , ‘เบสท์ ’ - ชนิ ด าภา พงศ์ศิลป์พพิ ัฒน์ และ ลิลลี่ The Face Thailand SS2 ร่วมเดินพรมแดงเปิดเทศกาล ภาพยนตร์อาเซียนแห่งกรุงเทพมหานคร 2561 ครั้งที่ 4 ฉลอง 51 ปี การก่อตั้ง ประชาคมอาเซียน โดยมี วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี, วีระ โรจน์พจนรัตน์ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงวั ฒ นธรรม และ กฤษศญพงษ์ ศิริ ปลัดกระทรวง วัฒนธรรม เป็นประธาน ณ โรงภาพยนตร์ เอส เอฟ เวิลด์ ซีเนม่า ศูนย์การค้า เซ็นทรัลเวิลด์


a day BULLETIN

SPECIAL INTERVIEW

36

37

A LIFE W O RT H DY I N G เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : ณัฐริกา มุค�า

คนส่วนใหญ่อาจคิดว่า ‘ความตาย’ และ ‘การมีสขุ ภาพดี’ คือสองสิง่ ทีอ ่ ยูต ่ รงข้าม กัน แต่ส�าหรับ ดร. นพ. ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้อ�านวยการส�านักสร้างเสริมวิถีชีวิต สุขภาวะ ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กลับมองว่า ทั้งสองอย่างนี้เป็นสิ่งที่เชื่อมโยงและส่งเสริมกันอย่างแยกไม่ออก เพราะหากเรา ปรารถนาจะจากโลกนี้ ไ ปอย่ า งงดงาม เราก็ ค วรเตรี ยมตั ว และเตรี ย มหั ว ใจของ ตัวเองตั้งแต่เนิ่นๆ เริ่มจากการมีสุขภาพกายที่แข็งแรง จิตใจแจ่มใส มีปฏิสัมพันธ์ กับคนรอบข้าง และเข้าใจชีวิตในทุกขณะจิต

มิติของการมีสุขภาพดี… สสส. เป็นองค์กรที่มีเป้าหมายชัดเจนคือสนับสนุนให้ คนไทยมีสขุ ภาพดี แต่คา� ว่า ‘สุขภาพดี’ มันไม่ได้มี แค่เรื่องสุขภาพกาย หรือการมีร่างกายที่แข็งแรง อย่างทีค่ นทัว่ ไปเข้าใจ มันมีทงั้ หมด 4 ด้าน คือ กาย จิต สังคม ปัญญา เราอยากให้คนมีครบทัง้ 4 มิตนิ ี้ กายคือการมีสขุ ภาพแข็งแรง เช่น หมัน่ ออกก�าลังกาย ไม่สูบบุหรี่ ไม่ด่มื สุรา ต่อมาเป็นสุขภาพจิต คือมี จิตใจดี ไม่เศร้าหมอง มีเมตตากรุณา มองว่าชีวิต ของตัวเองมีคุณค่า มีประโยชน์ ซึ่งตรงนี้มันจะ เชื่อมโยงไปถึงระดับสังคมด้วย คือการท�าให้คน มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ที่ ดี กั บ รอบข้ า ง และมิ ติ สุ ข ภาวะ ทางปัญญาซึง่ เป็นมิตทิ มี่ คี วามส�าคัญ เข้าใจความสุข ความว่าง มองโลกตามความเป็นจริง และมีความพึ ง พอใจในชี วิ ต ซึ่ ง ตามหลั ก พุ ท ธศาสนาแล้ ว นี่คือสภาวะสูงสุด การเตรี ย มตั ว ตายในทุ ก ช่ ว ง วัย… เราพยายามท�าให้คนคนหนึง่ มีครบ 4 มิตนิ ี้

ทุกช่วงเวลา ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนกระทั่ง เสียชีวติ แต่บางทีในช่วงสุดท้ายของชีวติ หลายคน ก็อาจจะทุกข์เป็นพิเศษ ต้องการการดูแลเฉพาะ เพือ่ ทีจ่ ะหาทางออกว่าท�าอย่างไรถึงจะตายดี ไม่เจ็บ ไม่ ป วด ไม่ ส ร้ า งภาระให้ ค นรุ ่ น หลั ง ซึ่ ง ไม่ ไ ด้ หมายความเราต้องมาใส่ใจเรือ่ งความตายแค่ในระยะ สุดท้ายของชีวติ การเตรียมตัวตายมันเป็นสิง่ เราต้อง สะสมมาในทุกช่วงวัย ถ้าเรามีวัยเด็กที่ดี ร่างกาย แข็งแรง เรียนรู้ที่จะใช้ชวี ิตด้วยความเข้าใจ วินาที สุดท้ายเราก็จะจากไปอย่างมีความสุข แต่ในขณะ เดียวกันหลายๆ คนก็ตายไปแบบไม่ได้เตรียมตัว อะไรเลย เพราะฉะนั้น ชีวิตปกติของเราเนี่ยแหละ คือช่วงเวลาในการเตรียมตัวตายทัง้ หมด เราเคยมอง ความตายเป็นแง่ลบ ทรมาน จริงๆ แล้วเราควรมอง ในแง่ใหม่ว่าถึงอย่างไรเราก็ตายสักวัน แต่จะท�า อย่างไรให้ชว่ งเวลาก่อนตายของเราได้สร้างประโยชน์ กับโลกใบนี้ ได้ทงิ้ สิง่ ดีๆ เอาไว้ และจากไปอย่างสงบ ความตายในมุ ม ของแพทย์ …

issue 548 23 JUL 2018

การเป็นหมอท�าให้ผมมีประสบการณ์ใกล้ชิดกับ ความตายมากกว่าคนทัว่ ไป เราได้เห็นโรคภัยไข้เจ็บ ความทรมาน เมื่อก่อนเราเจ็บปวดมากเวลาเห็น คนไข้ตาย ไม่อยากให้เขาตาย ทั้งๆ ที่รู้ว่ามันเป็น เรือ่ งปกติธรรมดา สิง่ ทีท่ า� ได้กค็ อื การช่วยเขาให้ได้ มากที่สดุ ด้วยองค์ความรู้ท่เี รามี อย่างครั้งหนึ่งผม พยายามช่วยชีวิตพ่อของเด็กคนหนึ่ง ท�าทุกอย่าง ใส่เครื่องช่วยหายใจ ใส่อุปกรณ์ แล้วเขาท�าท่าจะ ไม่ไหว ลู ก สาวก็ตกใจและขอให้ช ่ วยพ่อ ให้ไ ด้ มันบีบหัวใจมาก ใจหนึ่งเราก็สู้เพื่อเขาอย่างเต็มที่ อีกใจหนึง่ ก็เสียใจแทนลูกสาวทีร่ อ้ งไห้และแทบจะ กราบเราอยู่ตรงหน้าแล้ว ตอนนั้นเราไม่มีเวลา ที่ ต ้ อ งมาสอนเขาเรื่ อ งการเตรี ย มตั ว ตายหรอก

มันเลยท�าให้เรียนรูว้ า่ เราต้องเข้าใจการตายตัง้ แต่ เนิ่นๆ ไม่ใช่แค่กับตัวเอง แต่กับคนข้างตัวเราด้วย เตรียมให้ตัวเองไม่เป็นภาระ และเตรียมใจเมื่อ คนรักของเราต้องจากไป ทางออกของการไปสบาย…

ในวงการแพทย์ ต อนนี้ เ ราเริ่ ม คุ ย กั น มากขึ้ น ว่ า ถ้าพ้นขีดการรักษา เราจะไม่เน้นการยื้อชีวิตแล้ว เพราะคนไข้ก็ตายอยู่ดี มันเสียทั้งเงิน ทรัพยากร อัตราการใช้เตียง เพียงแต่ว่าเราจะท�าอย่างไรให้ เขาตายอย่างไม่ทรมาน ฉะนัน้ ทางออกของเราคือ ใช้วิธี Palliative Care ดีกว่า เป็นการดูแลแบบ ประคั บ ประคอง ซึ่ ง มุ ่ ง เน้ น การบรรเทาอาการ ทุกข์ทรมานต่างๆ และช่วยให้ผปู้ ว่ ยมีคณ ุ ภาพชีวติ ที่ดีจวบจนวาระสุดท้าย เราสู้ได้ แต่ถึงจุดหนึ่ง ถ้าไม่ไหวก็ตอ้ งยอมรับว่ามันเป็นธรรมชาติของชีวติ ซึ่งหลายครั้งปัญหาไม่ได้อยู่กบั คนไข้ เพราะคนไข้ ไม่รู้สึกแล้ว ญาติมากกว่าที่ต้องเข้าใจและปฏิบัติ ไปพร้อมๆ กัน นโยบายจาก สสส.… การท�าให้คน มีชว่ งเวลาสุดท้ายของชีวติ ทีด่ เี ป็นอีกหนึง่ งานทีเ่ รา ต้องท�า อาจไม่ได้เน้นเรื่องกายมาก แต่เน้นเรื่อง จิตใจ สังคม และปัญญา โดยต้องใช้องค์ประกอบ หลายส่วน เช่น การสื่อสารสร้างความตระหนัก เรือ่ งวิถกี ารเผชิญความตายอย่างสงบ การเปิดพืน้ ที่ เรียนรู้ผ่านเวทีเ สวนาสาธารณะ การจัดอบรม การสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการ เครือ่ งมือ และต่อมา คือการท�านโยบาย การสนับสนุนกฎหมาย ข้อบังคับ ให้คนรับรูว้ า่ เวลาไปโรงพยาบาลเขาสามารถแสดง ความประสงค์วา่ จะไม่ขอยือ้ ชีวติ ผ่านการท�า Living Will (เอกสารแสดงเจตนาล่วงหน้าเกีย่ วกับสุขภาพ ช่วงสุดท้าย) เช่น ขอไม่ปม๊ั หัวใจ ขอไม่ใส่เครือ่ งช่วย เราควรบอกให้คนส่วนใหญ่รวู้ า่ เขามีทางเลือกอะไร บ้าง รวมไปถึงการดูแลทรัพย์สินและพินัยกรรม ความตายในโลก 4.0… ผมก�าลัง

อ่านหนังสือเกีย่ วกับการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมครัง้ ที่ 4 ซึง่ เป็นโลกทีเ่ ดินหน้าด้วยดิจติ อล ทัง้ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แล้วผมก็สงสัยว่าสุดท้ายเราจะท�ายังไงกับชีวิตดี เมือ่ ทุกอย่างมันเปลีย่ นไปหมด แต่สดุ ท้ายในหนังสือ กลับสรุปว่า เราต้องท�าจิตตัวเองให้เป็นสุข มีจติ ใจดี สุขภาพดี นั่นมันเป็นเรื่องเกี่ยวกับ ‘ตัวเรา’ และ มุมมองของเราทัง้ หมด แม้แต่หลักศาสนาทีค่ น้ พบ กันมาเป็นพันปีกพ็ ดู เรือ่ งตัวเรา ชีวติ และความตาย หรือโลกทีพ่ ฒ ั นาไปไกลท�าให้เราลืมคิดไปหรือเปล่า ว่าความตายมันแสนสามัญและอยูใ่ กล้เราแค่นเี้ อง คนทีผ่ ลิตอุปกรณ์เทคโนโลยีดจิ ติ อลค�า้ ฟ้าทัง้ หลาย สุดท้ายเขาก็ตายเหมือนกัน

LO N G T E R M LIFE PLANNING มนุ ษ ย์ มี ก ลไกของสมองให้ คิ ด อะไรเป็นล�าดับขัน ้ นัน ่ ก็คอ ื การวางแผน คาดการณ์ ตอนเป็ น เด็ ก เรายั ง ชอบ เล่นเกมวางแผน พอโตขึน ้ มาก็ตอ ้ งเริม ่ คิดแล้วว่าอยากเรียนอะไร เมื่อเข้าสู่วัย ท�างานหลายคนก็เริม ่ มองไปทีเ่ รือ ่ งของ การวางแผนทางการเงิน พอแต่งงาน มีครอบครัวก็เริม ่ วางแผนอนาคตให้กบ ั ลูก แต่สงิ่ หนึง่ ทีเ่ รามองข้ามหรือท�าเป็น ไม่สนใจเสมอคือ ‘ความตาย’ ทั้งๆ ที่ เรื่องนี้เป็นสิ่งที่ทุกคนต้องเจอในวันใด วันหนึ่ง ซึ่งการวางแผนชีวิตเพื่อให้เรา ‘ตายดี’ นั้นไม่เพียงแต่จะช่วยส่งเสริม คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ข อ ง ตั ว เ อ ง ใ น ช่ ว ง สุดท้าย ศาสตราจารย์พิเศษ กิติพงศ์ อุ ร พี พั ฒ นพงศ์ ผู้ ร่ ว มก่ อ ตั้ ง และ ประธานคณะกรรมการ บริษท ั ชีวามิตร วิสาหกิจเพื่อสังคม จ�ากัด ยังบอกด้วย ว่าการจากไปของคนหนึ่งคน จะสร้าง ชี วิ ต ให้ กั บ คนที่ ยั ง อยู่ อี ก หลายคน ได้อย่างมีคณ ุ ค่า แค่เรารูจ้ ก ั วางแผนการ เตรียมตัวตายกันอย่างเข้าใจ

วางแผนได้ … ชี วิ ต คนเรามี ก ารวางแผนกันมาตลอด วางแผนว่าจะเรียนอะไร จบแล้วจะเข้าท�างานที่ไหน พอเริ่มท�างานแล้ว ก็ต้องวางแผนการเงิน พอแต่งงานมีครอบครัว ก็ตอ้ งวางแผนชีวติ ให้ลกู ทุกอย่างเราวางแผนชีวติ ไว้หมด แต่สิ่งเดียวที่เราไม่เคยวางแผนไว้เลยคือ เรื่องความตาย เราไม่รู้หรอกว่าจะเกิดอะไรขึ้น เมื่อไหร่ ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ… เมื่อก้าว เข้ า สู ่ สั ง คมผู ้ สู ง อายุ คุ ณ จะสั ง เกตได้ ว ่ า คน รอบข้างของคุณมีญาติทตี่ อ้ งได้รบั การดูแลเหมือน คนป่วยหนัก คุณภาพชีวติ ของเขาทุกด้านจะตกลง ทันที เดี๋ยวก็ต้องไปเฝ้าไข้ เดี๋ยวก็ต้องพาคนไข้ ไปโรงพยาบาล ระหว่างพาไปหาหมอก็เครียด จะเอาเงินที่ไหนมาจ่ายค่ารักษา ถ้าสังคมไทยมี องค์ความรู้เรื่องการตายดี หรืออย่างน้อยก็มีคน คอยให้คา� ปรึกษาว่าต้องจัดการกับเรือ่ งนีอ้ ย่างไร มีทางเลือกให้แบบไหน สังคมจะมีความมั่นคง และคนหนุม่ สาวก็วางแผนชีวติ ตัวเองได้ เชือ่ เถอะ ว่าเราทุกคนจะได้เจอกับเรื่องแบบนี้ และมีอยู่ใน ทุกๆ ที่ ยือ้ ชีวต ิ -ยือ้ ความตาย... การยือ้ ชีวติ คือสิ่งที่ต้องท�า เช่น ถ้าคุณหัวใจจะหยุดเต้น แพทย์กต็ อ้ งท�าการปัม๊ หัวใจ แต่การยือ้ ความตายนัน้ ตรงกันข้าม ทั้งในทางการแพทย์และในมุมของ ผู ้ ป ่ ว ยเอง ชั ด เจนแล้ ว ว่ า เป็ น ความเจ็ บ ปวด ไม่เกิดผลดีต่อทั้งคนป่วยและคนที่อยู่ดูแล ถ้าให้ พูดถึง ผลกระทบต่อ สัง คม นั่น คือการที่ผู้ ป่ วย ถูกยือ้ ความตายไปเรือ่ ยๆ ค่าใช้จา่ ยในการรักษา พยาบาลก็จะสูงขึ้นเรื่อยๆ คนดูแลก็ต้องเหนื่อย ในการหาเงิ น มาจ่ า ยเป็ น ค่ า รั ก ษาพยาบาล โรงพยาบาลก็ไม่มีที่ให้ส�าหรับผู้ป่วยที่มีโอกาส จะฟื้นคืนได้เข้ามารับการรักษา การตายดี… สิง่ ส�าคัญคือความเข้าใจ ของทุกฝ่าย ผู้ป่วย ญาติ การแพทย์ และรัฐ รัฐก็ควรจะมีศนู ย์ดแู ลแบบ palliative care ทีค่ อยให้ ค�าแนะน�ากับประชาชน เราเชื่อว่าควรน�าผู้ป่วย กลับไปรักษาที่บ้าน และให้เขาตายที่บ้าน โดยมี แพทย์คอยมาดูอาการเป็นระยะ มีเครือ่ งมือรักษา ตามอาการ มีลกู หลานอยูห่ อ้ มล้อม คุณภาพชีวติ ของคนไข้จะดีกว่าอยู่โรงพยาบาล

มาตรา 12... ในพระราชบัญญัติ สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มีมาตรา 12 ทีเ่ ปิดช่อง ให้เราสามารถไม่ยอื้ ความตายได้ และคนรอบข้าง ต้องเคารพการตัดสินใจของเรา หน้าที่ของชีวามิตรฯ... บริษัท

ชีวามิตร วิสาหกิจเพือ่ สังคม ก่อตัง้ ขึน้ เพือ่ ผลักดัน และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการตายดี ให้ทุกคน เตรียมพร้อมส�าหรับอนาคต เราเป็นตัวกลางทีช่ ว่ ย เชื่อมโยงกับภาครัฐ เพื่อให้เกิดศูนย์ดูแลผู้ป่วย ระยะท้าย หรือ Hospice นอกจากนี้ เราจัดเวิรก์ ช็อป ให้ความรู้เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตระยะท้ายและ การตายดี ให้กบั ผู้สนใจ ผู้ดแู ล หรือองค์กรต่างๆ พยายามหาทุนท�าการวิจยั และสนับสนุนหน่วยงาน เอกชนที่เกี่ยวข้อง เราเป็นต้นแบบของบริษัท ทีไ่ ม่มกี ารแบ่งปันผลก�าไรให้กบั ผูถ้ อื หุน้ แต่พวกเรา จะน�าเงินที่ได้ไปท�างานเพื่อสังคมส่วนรวม การเขี ย น living will...

ส่วนหนึง่ ของการรณรงค์คอื การเขียนหนังสือแสดง เจตนา โดยให้ทกุ คนรับรูแ้ ละเห็นชอบในข้อตกลง ร่วมกันด้วย เรือ่ งนีย้ งั ใหม่มาก ถ้าเป็นไปได้ผมอยาก ผลักดันให้ชวี ามิตรฯ มีบทบาทในเรือ่ งนีม้ ากขึน้ ไป เราอาจจะเป็นเหมือนนายทะเบียนหรือฐานข้อมูล ส�าหรับเก็บ living will ของผูป้ ว่ ยแต่ละคนไว้ และ ทางโรงพยาบาลก็สามารถเข้ามาตรวจสอบได้ เช่น นายกิตพิ งศ์ อุรพีพฒ ั นพงศ์ ท�าพินยั กรรมชีวติ ไว้หรือเปล่า ตอนนี้สมองเขาได้ตายแล้ว เราจะ ท�าการถอดเครื่องช่วยชีวิตออกได้ไหม ซึ่งวิธีน้ี จะท�าให้คนรุ่นใหม่เข้าถึง และเข้าใจเรื่องของ การเขียน living will ได้ดขี ึ้น ท� า ล า ย ค ว า ม เ ชื่ อ เ ก่ า ๆ …

ผู ้ ห ลั ก ผู ้ ใ หญ่ ห ลายคนรู ้ สึ ก ประหลาดใจมาก เมือ่ ผมพูดเรือ่ งนี้ เขาก็บอกอย่ามาพูดเรือ่ งนีก้ บั เขา เขายังแข็งแรงอยู่ แต่ในความเป็นจริง เราก็เห็น คนที่เสียชีวิตตั้งแต่วัยหนุ่มสาวเป็นเรื่องธรรมดา ท�าให้รู้ว่าเราต้ อ งวางแผนชี วิ ต และวางแผน ความตาย เพื่อให้เราตายดี จริงๆ ควรถูกสอน ตั้งแต่ในวัด ในหลักสูตรของการศึกษาที่โรงเรียน คนทีย่ งั เด็กหรือวัยรุ่นอาจยังไม่เคยมีคนใกล้ตัว เสียชีวิต แต่ถ้าคุณมองไปรอบตัว เปิดข่าวดู จะพบว่าเรามีความตายอยูร่ อบตัว ข่าวการเสียชีวติ เกิดขึ้นทุกวัน เรื่องความตายจึงไม่ควรถูกน�ามา

พูดในแง่มมุ ทีน่ า่ กลัวหรือปิดบังอีกต่อไป เรามักถูก ท�าให้กลัวผีกันไปเรื่อย ซึ่งความเชื่อแบบนี้ผมว่า ควรเปลี่ยนได้แล้ว ของแสดงความอาลั ย ในงาน ศพ… เป็นเรื่องเล็กๆ ที่เราพยายามผลักดัน

เพราะการซื้อพวงหรีดให้เจ้าภาพในงานศพนั้น เป็นความสิ้นเปลืองที่ไม่ช่วยให้เกิดคุณค่าอะไร เรือ่ งนีผ้ มเจอกับตัวเองจากการจัดงานศพให้ภรรยา ผมได้ส่งข้อความบอกเพื่อนในเรื่องต่างๆ แต่ลืม บอกเรื่ อ งของพวงหรี ด งานศพผ่ า นไปห้ า วั น ผมได้รับพวงหรีด 700 อัน นอกจากจะกลายเป็น ภาระของวั ด ที่ ต ้ อ งเอาไปก� า จั ด แล้ ว เงิ น จาก การซื้อพวงหรีดให้ผมรวมกันแล้ว ถ้าเอาไปท�า อะไรเป็นรูปธรรมจะดีกว่า

คุณค่าของชีวต ิ … การวางแผนทีด่ ี จะท�าให้ความตายมีคุณค่าขึ้นมาได้ คนหนึ่งที่ ตายไป อวัยวะของเขาต่อชีวติ ให้กบั อีกหลายคน ได้เลย ตอนที่ภรรยาของผมเสียชีวิต ทางศูนย์ รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทยโทร.มาหาผม ทันทีเพือ่ ขอดวงตาภรรยาผม ผมก็ตอบไปเลยว่า ได้ครับ และดวงตาของภรรยาผมทั้งสองดวง ถูกน�าไปช่วยเหลือคนอืน่ ได้อกี ตัง้ สีค่ น เพราะเขา แยกเอาไปใช้ทงั้ ตาด�า และแก้วตา ถ้าเราวางแผน ตัวเองไว้ตั้งแต่เรื่องการรักษาพยาบาล การจัด งานศพ การบริจาคอวัยวะ ความตายของเราก็จะ เกิดคุณค่ากับคนอื่นๆ ในสังคม โ จ ท ย์ ท้ า ท า ย ที่ ต้ อ ง ท� า ใ ห้ ส� า เร็ จ … ผมเป็ น คนคิ ด การใหญ่ วั น นี้ ไ ด้

น�าเงินทุนที่ คุณหญิงจ�านงศรี หาญเจนลักษณ์ ให้มา น�ามาต่อยอดเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น อีกทั้ง ยังน�ามาด�าเนินกิจกรรมต่างๆ เพือ่ ให้สงั คมวางใจ กับบริษทั ชีวามิตรฯ ว่าเป็นองค์กรทีใ่ ห้ความรูก้ บั เขา ในเรือ่ งคุณภาพชีวติ ทีด่ กี อ่ นตาย และคาดหวังว่า ชีวามิตรฯ จะเติบโตยั่งยืนได้ด้วยตัวเอง


a day BULLETIN

SPACE & TIME เรื่อง : ศรัญญำ อ่ำวสมบัติกุล ภาพ : รัชต์ภำคย์ แสงมีสินสกุล

FOODIE

39

38

เรื่อง : ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

“การเกิดขึน ้ ของ Time & Space ในทางพุทธศาสนา คือทุกสิง่ เป็นไตรลักษณ์ มีความไม่เทีย ่ ง ทุกอย่างย่อมเปลีย ่ นแปลง เมือ ่ ไหร่ทท ี่ ก ุ อย่างคงที่ เวลาก็จะไม่เกิดขึน ้ ถ้าอิงกับสมัยใหม่กค ็ อ ื ทฤษฎีสม ั พันธภาพของ อัลเบิรต ์ ไอน์สไตน์” ผศ. ดร. วีรณัฐ โรจนประภำ

UNDERSTAND BREATH AND DEATH ส�ำรวจกำยใจด้วยบรรยำกำศ ชวนให้เข้ำถึงควำมตำย PICHAYA THONGPUSAWAN MANAGER OF KID MAI DEATH AWARENESS CAFE

Kid Mai Death Awareness Cafe 1191 Phaholyothin Rd., Phayathai, Bangkok Hours : 9.00 AM-7.00 PM.

เมือ ่ เดินลงจำกรถไฟฟ้ำสถำนีอำรีย์ แล้วลัดเลำะไปตำมริมถนนเพียงไม่กก ี่ ำ้ ว เรำก็สงั เกตเห็นทำงเข้ำทีม ่ ล ี ก ั ษณะเป็นช่องทำงเดิน สีดำ� เมือ ่ เดินเข้ำไปด้ำนใน ค�ำถำมถึงเรือ ่ งควำมตำยทีอ ่ ยูใ่ นหัวก็คอ ่ ยๆ ผุดขึน ้ มำ เมือ ่ มำจนถึงสุดทำงเดิน เรำจะพบกับ ‘มรณำณุสติคำเฟ่’ ร้ำนกำแฟทีเ่ ป็นผลมำจำกงำนวิจย ั ของ ผศ. ดร. วีรณัฐ โรจนประภำ แห่งมูลนิธบ ิ ำ้ นอำรีย์ ด้วยแนวคิดทีต ่ อ ้ งกำรให้ทก ุ คนระลึกถึง ควำมตำย กำรเห็นคุณค่ำของชีวต ิ และกำรท�ำดีในทุกวันทีย ่ ง ั มีลมหำยใจ

issue 548

COCOA FRAPPE

ด้านในของมูลนิธิ บ้านอารีย์ ซ.อารีย์ 1 (BTS อารีย์)

Cocoa Level :2/5

สิง่ ทีค ่ นเราหนีไม่พน ้ มีอยู่ 4 อย่าง นัน ่ คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย มรณานุสติคาเฟ่ ได้นา� สัจธรรมแห่งชีวต ิ นีม ้ าแปรเปลีย ่ นเป็นเครือ ่ งดืม ่ ทีม ่ น ี ย ั ยะได้อย่างน่าสนใจ ซึง่ ประกอบไปด้วย ‘BORN’ (เกิด) คือ อิตาเลียนโซดา ซึ่งฟองโซดามีนัยยะของลมหายใจที่ลอยขึ้นมาจากก้นแก้วเหมือนกับการก�าเนิดของชีวิต ELDER (แก่) แทนนิยามนี้ด้วยโกโก้ร้อน เปรียบร่างกายทีร ่ ว ่ งโรย ท็อปด้วยผงโกโก้เหมือนร่างกายเสือ ่ มเป็นผุยผง PAINFUL (เจ็บ) คือ วิปครีมราดสตรอเบอรีซอส เปรียบกับเลือดและบาดแผล สุดท้ายคือ DEATH (ตาย) โกโก้ปั่น ซึ่งที่หลอมรวมทุกอย่างเข้าด้วยกันก่อนละลายหายไปสู่จุดเดิม

เวลาพูดถึงความตาย คนส่วนใหญ่จะรู้สึกว่าเย็นยะเยือก บางคนนึกถึงความสงบ ส่วนเราทีต ่ อ ้ งช่วยกันคิดเมนูในร้าน เราก็นก ึ ถึงความรูส ้ ก ึ ตอนทีด ่ ด ู น�า้ ปัน ่ แล้วเย็นจีด ๊ ขึน ้ หัว จึงให้เมนูความตายเป็นเมนูปน ั่ เพือ ่ การระลึกถึงความตายอย่างสงบ เรือ ่ งราว ที่ผ่านมาคือประสบการณ์ชีวิตอันเข้มข้นราวกับรสขมของโกโก้ น�าไปปั่นกับน�้าแข็ง ทีส ่ อ ื่ ถึงการหลอมรวมและคืนสูธ ่ รรมชาติ พร้อมแตกต่างด้วยวิปปิง ้ ครีม และโอริโอ เพื่อสื่อถึงสิ่งที่ทิ้งไว้ให้คนรุ่นหลังได้เห็น ก่อนเสิร์ฟปักป๊อกกี้ 1 แท่ง เพื่อส่งไอเดีย ให้เห็นคลับคล้ายคลับคลาว่าคือธูป 1 ดอก ทีถ ่ ก ู จุดขึน ้ เมือ ่ ถึงวันทีเ่ ราจากลาโลกนีไ้ ป

TASTE

บาท

ผงโกโก้ / นมสด / น�้าแข็ง / วิปครีม / ป๊อกกี้ / โอริโอ

INSPIRATION

85

INGREDIENTS

PRICE

23 JUL 2018

“ย้อนกลับไปเมือ่ ปีทแี่ ล้ว ตอนนัน้ ผมสนใจเรือ่ งปัญหาสังคม โดยเฉพาะปัญหาคุณแม่วยั ใส การทุจริตคอร์รปั ชันและการก่ออาชญากรรมซึง่ มีสถิตเพิม่ สูงขึน้ เรือ่ ยๆ ผมจึงค้นหาว่า ปัญหาทีต่ งั้ ต้นแท้จริงแล้วคืออะไร ค�าตอบก็คอื ทุกอย่างเกิดจากความโลภ และความโกรธ ผมจึงคิดต่อว่า แล้วปรัชญาทางพุทธศาสนาข้อใดทีจ่ ะมาช่วยแก้ปญ ั หานี้ ผมจึงนึกถึงค�าสอน ของพระพุทธเจ้าทีต่ รัสว่า บุคคลได้เจริญ ‘มรณานุสติ’ แล้ว จะท�าให้คลายความยึดมัน่ ถือมัน่ ในตัวตน นัน่ ท�าให้ความโลภลดลงและท�าแต่ความดี” การเจริญมรณานุสติอาจไม่ได้แก้ปญ ั หาแม่วยั ใสหรืออาชญากรรมอย่างตรงไปตรงมา แต่การทีจ่ ะท�าให้กลุม่ คนส่วนใหญ่โดยเฉพาะวัยรุน่ และคนท�างานได้เข้าใจ และเล็งเห็นคุณค่า ของชีวิตก่อนที่จะจากโลกนี้ไปต่างหากคือประเด็นส�าคัญ ดังนั้น เพื่อให้งานวิจัยเกิดเป็นรูปธรรม โดยให้สอดคล้องไปกับโครงสร้างทางสังคม Thailand 4.0 ยุคสังคมเชิงสัญลักษณ์ ในปัจจุบนั “วิถเี ชิงสัญลักษณ์ของวัยรุน่ และวัยท�างานคือ วิถคี าเฟ่ ซึง่ คนเหล่านีม้ กั จะหาแรงบันดาลใจ ท�างาน ขายของออนไลน์ ติวหนังสือ โดยใช้คาเฟ่เพือ่ แสดงออกถึงวิถขี องความทันสมัย เมือ่ เอาแนวคิดทัง้ หมดมารวมกัน จึงเกิดเป็นมรณานุสติคาเฟ่แห่งนี้ โดยแบ่งออกเป็นโซนนิทรรศการให้ความรู้ เช่น เรือ่ งโรคกตัญญูเฉียบพลัน หนังสือเบาใจ หรือการท�าพินยั กรรม “ส่วนฝั่งตรงข้ามคาเฟ่จะมีโลงศพจ�าลองให้คนได้เข้าไปนอนเพื่อระลึกถึงความตาย มีที่ให้เขียนค�าปฏิญาณ และส่วนของพื้นที่นิทรรศการค�าถามที่ตั้งอยู่ทางเข้าหลัก ซึ่งได้รับ แรงบันดาลใจมาจากสะพานมาโป สะพานทีม่ กี ารฆ่าตัวตายมากทีส่ ดุ ของประเทศเกาหลี ซึง่ เขาเปลีย่ นใจคนไม่ให้กระโดดด้วยการใช้เทคนิคของแสง เราจึงน�ามาประยุกต์ดว้ ยการใช้สดี า� เพื่อควบคุมความคิดของคน เหมือนเวลาคนเดินไปท�างานจิตก็จะคิดไปเรื่อยไม่อยู่กับตัว สีด�าจะช่วยบีบให้จิตแคบลง ติดป้ายค�าถามง่ายๆ เพื่อให้ระลึกถึงสิ่งใกล้ตัว นึกถึงความตาย วิธีนี้น่าจะท�าให้สถิตอิ าชญากรรมลดลงไปได้บ้าง”

‘DEATH’

ทุกวัน ตัง้ แต่เวลา 09.00-19.00 น.

เพราะทีม ่ าของโกโก้ปน ั่ ชือ ่ เมนู และการตกแต่งทีท ่ า� ได้ อย่างน่ารักแต่มน ี ย ั ยะแฝงอย่างน่าเชือ ่ เหลือ ท�าให้เมนูนี้ ถูกสัง ่ มากทีส ่ ด ุ ในร้าน ส่วนรสชาติพน ื้ ฐานของโกโก้ปน ั่ แก้วนี้ ส�าหรับคนทีไ่ ม่ชอบโกโก้ขมๆ คงจะชืน ่ ใจ แต่หาก คอโกโก้ทชี่ อบความเข้ม สามารถขอเติมโกโก้เพิม ่ โดยบอก กับทางร้านได้ เมื่อกินคู่กับวิปครีมที่อยู่ด้านบนพร้อม เครือ ่ งเคียงทีก ่ รุบกรอบก็ชา่ งเข้ากันอย่างลงตัว


a day BULLETIN

BREATHE IN

40

เรื่องและภาพ :​สีตลา​ชาญวิเศษ,​getty​images

WHERE

BREATHE​IN​:​สีตลา​ชาญวิเศษ​ นักเขียน​ และคนท�างานด้านคอนเทนต์​ ที่ผ่านมาท�าวิทยานิพนธ์ปริญญาโทในหัวข้อ​ ‘การจีบกันบนสื่อออนไลน์’​ และเป็นเจ้าของแฟนเพจ​ ‘ธีสิสมุ้งมิ้ง’​ ส่วนเรื่อง ่ งความรักเหมือนเดิม ่ ในเรือ ั เชือ ็ ง ้ ย ึ แม้จะเจ็บมามากแค่ไหน​ทุกวันนีก ่ ย่าท�าเยอะมาก​แต่ถง ่ งทีอ ความรัก​เป็นคนอกหักเก่ง​แห้วเก่ง​เลยมีประสบการณ์มาบอกเล่าเรือ

THE ​ในบรรดาการสูญเสียทีห ่ นักหนาทีส ่ ด ุ ในชีวต ิ คน​คงหนีไม่พน ้ เรือ ่ งของ​‘ความตาย’​ส�าหรับบางคน​ความคิดถึงยังมีจด ุ สิน ้ สุดให้ได้หายคิดถึง​ถ้าคนทีเ่ รารอ ยังมีชีวิตอยู่และรู้ว่าจะได้พบกัน​แต่ส�าหรับคนที่จากโลกนี้ไปแล้ว​ต่อให้เราคิดถึงเขามากแค่ไหน​ต่อให้อยากติดต่อเขาใจจะขาด​มันก็เกิดขึ้นอีกไม่ได้แล้ว

issue 548 23 JUL 2018

​เมือ่ ปลายปีกอ่ น​เราทราบข่าวทีน่ า่ สะเทือนใจเรือ่ งหนึง่ ​ เป็นข่าวร้ายของเพือ่ นห่างๆ​เรา​ทีอ่ ยูๆ่ ​ก็ตอ้ งสูญเสียแฟนหนุม่ จากอุบัติเหตุทางรถยนต์ไปแบบกะทันหัน​ความเศร้าคือ​ ทั้งสองคบกันมานานเกือบ​10​ปี​และวางแผนจะแต่งงาน ในช่วงวาเลนไทน์​(ปีน้)ี ​ใ นวั น ที่ เ รารู ้ ข ่ า ว​ตอนแรกยั ง นึ ก ว่ า เพื่ อ นเราลงรู ป อวดแฟนด้วยซ�้า​แต่ที่ไหนได้​พอเราอ่านข้อความไปเรื่อยๆ​ ก็รสู้ กึ แปลกๆ​ว่านีไ่ ม่ใช่โพสต์อวดแฟน​แต่เป็นเหมือนข้อความ เชิดชูและระลึกถึงความทรงจ�าที่ดีของคนที่จากไป​และ ในวินาทีนนั้ ทีเ่ ราล�าดับเรือ่ งราวทัง้ หมดในหัวได้วา่ มันคือ อะไร​หัวใจเราข้างในก็สนั่ สะเทือนไปทันที​เราตกใจและ ช็อกมาก​เพราะใครจะเชือ่ ว่าคนทีเ่ พิง่ เห็นๆ​กันอยูจ่ ะจาก ไป​และยังมาจากไปในเวลาที่ไม่ควร ​ตอนนั้นเราได้แต่คิดวนๆ​ถึงประโยค “พระเจ้า จะไม่ทรงให้พวกท่านต้องถูกทดลองเกินกว่าทีท่ า่ นจะทน ได้”​เพราะเราว่ารู้สึกว่าเรื่องนี้มันเจ็บปวดมาก​ท�าไม พระเจ้าถึงส่งเรื่องนี้ให้เพื่อนเรา​แล้วเพื่อนเราจะทนได้ จริงไหม ​หลังจากวันทีร่ ขู้ า่ ว​เพือ่ นเราก็ยงั ทยอยลงรูปแฟน อยู่เรื่อยๆ​พร้อมกับข้อความที่เล่าว่า​คิดถึงพี่เขามาก แค่ ไ หน​และยัง ท�า ใจไม่ ไ ด้ เ ลยที่จ ะยอมรับ ว่ า เรื่อ งนี้ เกิดขึน้ จริงและเกิดขึน้ แล้ว​บางครัง้ ยังรูส้ กึ ว่าตัวเองฝันไป​ ซึ่งเพื่อนคนอื่นๆ​ ก็จะเข้าไปให้ก�าลังใจ​ รวมทั้งเราเอง ก็ด้วยเหมือนกัน​แต่อย่างน้อยทุกครั้งที่เพื่อนโพสต์อะไรมา​ เราจะรู้สึกดีใจ​เพราะคิดว่าอย่างน้อยเพื่อนเราจะได้ระบาย อะไรในใจออกมาบ้าง​จะได้ไม่เก็บกดและทุกข์อยู่คนเดียว​ ​ซึ่งช่วงแรกก็เป็นแบบนั้น​คือเรื่องราวที่โพสต์จะหนัก ไปทางที่ยังท�าใจกับเรื่องราวนี้ไม่ได้​แต่ผ่านไปประมาณ สองสามเดือน​เราก็คอ่ ยๆ​เห็นเพือ่ นดูทา� ใจได้ดขี นึ้ ​และเริม่ มี รูปยิ้มแฉ่งให้เห็นบ่อยขึ้น​แต่ที่น่าดีใจกว่านั้นคือ​เพื่อนใช้ แรงบันดาลใจที่เคยมีร่วมกันกับแฟนที่อยากจะช่วยเหลือ คนอื่น​มาเป็นกิจกรรมและงานอดิเรกในช่วงที่ผ่านมา​เช่น​ อ้างอิง : Bereavement in Adult Life​(1998)​by​Colin​M.​Parkes

ออกไปท�าบุญ​ไปบริจาคสิง่ ของแบบจริงๆ​จังๆ​รวมทัง้ การเป็น แขกในงานแต่งงาน​ซึ่งแม้จะเจ็บปวด​เพราะแทงใจตัวเอง ทีเ่ หตุการณ์รา้ ยพรากโอกาสนีไ้ ป​แต่กย็ งั ยอมไปงาน​คงเพราะ รู้สกึ ว่าการไปงานคือการให้ก�าลังใจและร่วมยินดีกบั คนทีเ่ รา รัก​ว่าง่ายๆ​คือ​แทนทีจ่ ะจมตัวเองอยูก่ บั ความทุกข์​เพือ่ นเรา รู้จกั ทีจ่ ะมองหาเรือ่ งดีๆ​จากอดีต​และเปลีย่ นมันให้เป็นพลัง ในการใช้ชีวิตต่อไป​ ​อ ย่ า งในบทความวิ จั ย ของจิ ต แพทย์ ชื่ อ ​Colin​M.​

‘การสูญเสีย’ และ ‘การเกิดใหม่’ Parkes​พบว่า​กระบวนการทีเ่ กิดขึน้ หลังจากการสูญเสียครัง้ ใหญ่ มักเกิดพฤติกรรม​2​แบบ​คือ​ถ้าไม่กดทับความรู้สึกเสียใจ ไม่ให้ออกมา​ก็จะหมกมุ่นหรือจมอยู่กบั ความเสียใจ​แต่ทว่า ทางทีด่ ที ส่ี ดุ ในการก้าวผ่านความสูญเสียก็คอื การบาลานซ์ทจี่ ะ ไม่หลีกหนีความเจ็บปวดและการเผชิญหน้าความจริงได้ อย่างเหมาะสม​เพราะการกดทับความรู้สึกส่งผลต่อความเจ็บปวดที่กดั กินใจแบบลากยาว​ขณะที่การเอาแต่จมอยู่กับ อดีตก็ยงิ่ ท�าให้หดหูใ่ จหนักขึน้ อีก​ฉะนัน้ ​การจะก้าวผ่านไปได้ คือการมองไปข้างหน้า​การหาอะไรใหม่ๆ​และการรู้จักดึง

สิ่งดีๆ​ในอดีตมาท�าอะไรต่อไปในอนาคต ​กค็ ล้ายกับทีเ่ พือ่ นเราท�า​คือยอมรับว่าตัวเองเจ็บปวด และเศร้า​แต่ขณะเดียวกันก็พยายามหาอะไรท�า​โดยเฉพาะ การรู้จักเอาแรงบันดาลใจของคนรักมาเป็นสิ่งที่ทา� ให้ตัวเอง ได้ภูมิใจและรู้สึกว่าตัวเองมีค่า​ด้วยการท�าตัวเองให้เป็น ความรักต่อผู้อื่น ​เรื่องนี้ท�าให้เราตระหนักได้ว่า​ ความรักนั้นลื่นไหล และส่งต่อได้อย่างไม่รจู้ บ​แม้กระทัง่ คนทีจ่ ากไปแล้ว​เอาเข้าจริง​ ก็ไม่ได้จากไปจริงๆ​หรอก​เพราะเรายังรู้สึกได้ว่าแฟน เพื่อนคนนี้ก็ยังอยู่​ เพียงแต่อยู่ในรูปแบบของพลังและ แรงบันดาลใจที่อยู่ในตัวเพื่อนเรา​และถึงแม้ทุกวันนี้ เพื่อนเราจะยังเศร้าและคิดถึงแฟนที่จากไปเหมือนเดิม​ แต่ในสายตาคนนอกที่มองเข้าไป​เราสัมผัสและรู้สึกได้ ถึงการเปลี่ยนแปลงของเพื่อนเรา​เพื่อนเข้มแข็งมากขึ้น จริงๆ​นับจากวันนั้น​ซึ่งเราเองก็ไม่รู้ว่าวันหนึ่งเราจะ รับมือกับความสูญเสียได้ดีเท่าเพื่อนคนนี้ไหม ​แต่อย่างน้อยที่สุด​ เราก็เห็นเพื่อนเป็นตัวอย่าง และแรงบันดาลใจว่า​ถ้าวันหนึ่ง​หากเกิดการสูญเสีย ครัง้ ใหญ่​เราก็นา่ จะผ่านมันไปได้​เพราะเพือ่ นเราได้พสิ จู น์ ให้เห็นแล้วว่า​ไม่มกี ารทดลองใดทีเ่ กินกว่าทีเ่ ราจะทนได้​ ถ้าพระเจ้าอนุญาตให้มันเกิดขึ้น​ก็แสดงว่าพระเจ้าเห็น แล้วว่าเรารับมือมันได้จริง ​ที่ส�าคัญที่สุด​ คือการได้เห็นสัจธรรมข้อหนึ่งว่า​ ‘การจากลา’​มาพร้อมกับ​‘การเกิดใหม่’​เสมอ​กล่าวคือ​ แม้คนหนึ่งจากไป​แต่การจากไปก็ให้โอกาสอีกคนได้เติบโต และแข็งแกร่ง ขึ้น​เหมือนกับ การได้ชีวิต ใหม่ ​ที่ส�า คัญ คือ​ พลังนั้นยังส่งต่อมาเป็นพลังให้ชีวิตคนอื่นๆ​ต่ออีกด้วย​ซึ่ง ทั้งหมดทั้งมวลมันเกิดจากจุดเดียวกัน​ก็คือ​‘ความรัก’​

C O N VERS AT I O N S BEGIN WRITE

/ TA L K / L I V E / L E A R N / M A G A Z I N E adaybulletin.com


a day BULLETIN

,

EDITOR S NOTE

42

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

อนั น ตกาลในวาระสุ ด ท้ า ย

(หมายเหตุ – บทความเผยแพร่ครั้งแรกในเฟซบุ๊กส่วนตัว เมื่อปี 2015) issue 548 23 JUL 2018

ความจริงแท้มีลักษณะอย่างไร? มันด� ารงอยู่คงที่ และด�าเนินไปเป็นนิรันดร์ หรือว่ามันจ�ากัดตามการรับรู้ และสิ้นสุดลงพร้อมกับชีวิตของเรา นีค่ อื ค�ำถำมปรัชญำทีป่ รำกฏอยูใ่ นหนังเรือ่ ง The Fault in Our Stars เป็นเรื่องรำวของเด็กสำวผู้ก�ำลังนับถอยหลัง ชีวิตตัวเอง เนื่องจำกโรคมะเร็งที่รุมเร้ำเข้ำมำ ท�ำให้เธอต้อง พยำยำมดิ้นรนค้นหำสัจธรรมให้กับตัวเอง ฉำกส�ำคัญของเรื่องนี้มีอยู่ 2 ฉำก ฉำกแรกนั้นไม่เกิน ควำมคำดเดำ คื อ ฉำกที่เ ด็ก สำวเดิน ทำงไปพบนัก เขี ย น คนโปรดของเธอ เพื่อ ถำมถึง ตอนจบที่แ ท้ จ ริง ของนิยำย ของเขำ เป็นเรื่องรำวเกี่ยวกับเด็กสำวที่ป่วยเป็นโรคมะเร็ง เช่นเดียวกับเธอ และมันจบลงอย่ำงห้วนๆ ไม่มีกำรบอกเล่ำ บทสรุปของตัวละครอื่นๆ หลังจำกที่เธอตำยไป นักเขียนปฏิเสธที่จะตอบ และปฏิเสธที่จะเขียนนิยำย ภำคต่อ เขำเพียงนั่งจิบเหล้ำอย่ำงหงุดหงิด แล้วจู่ๆ ก็เอ่ยถึง Zeno’s Paradox “ลองจินตนาการว่าคุณวิง่ แข่งกับเต่า โดยคุณต่อให้เต่า วิง่ น�าหน้าไปก่อน 10 หลา ในเวลาทีค่ ณ ุ วิง่ ตามไปให้ถงึ 10 หลา นั้น เต่าจะสามารถวิ่งต่อไปได้อีก 1 หลา และในเวลาที่คุณ วิ่งตามต่อไปอีก 1 หลา เต่าจะยังคงสามารถวิ่งน�าหน้าคุณ ไปได้อีก เป็นแบบนี้ไปเรื่อยๆ แน่นอนว่าคุณวิ่งเร็วกว่าเต่า แต่เท่าทีค่ ณ ุ ท�าได้คอื วิง่ ไล่ให้ใกล้เข้าไปเรือ่ ยๆ คุณจะไม่มที าง วิ่งทันเต่า” เด็กสำวผิดหวังอย่ำงรุนแรงกับค�ำอธิบำยของนักเขียน เธอก�ำลังจะตำย จึงขวนขวำยค้นหำควำมหมำยของชีวิต โดยเชื่อว่ำมันแฝงอยู่ในตอนจบของนิยำยเรื่องโปรดที่ตัดจบ ลงอย่ำงห้วนๆ ท�ำไมเขำต้องมำพูดถึงเรื่องเหลวไหลเกี่ยวกับ กำรวิ่งแข่งกับเต่ำ มันเกี่ยวข้องอย่ำงไรกับตอนจบของนิยำย เรื่องนั้น และมันเกี่ยวข้องอย่ำงไรกับชีวิตของเธอ ในโลกสมัยใหม่ เรำมีวทิ ยำศำสตร์เป็นกรอบในกำรมอง สรรพสิ่ง ด้วยกำรสังเกตและทดลอง และเรำใช้คณิตศำสตร์ เป็นภำษำในกำรสื่อสำรกับสรรพสิ่ง ด้วยกำรชั่ง ตวง วัด ท�ำให้เรำรับรู้โลก ควำมจริง และชีวิตของเรำ ได้อย่ำงจ�ำกัด อยู่เพียงแค่ Physical โดยไม่สำมำรถเข้ำใจสิ่งที่อยู่นอกเหนือ ขึ้นไป คือ Metaphysical ในวิชำฟิสิกส์ ม.4 สอนเรื่องกฎกำรเคลื่อนที่ บอกว่ำ ระยะทำง = ควำมเร็ว x เวลำ ถ้ำในเวลำที่เรำวิ่งได้ 10 หลำ เต่ำวิ่งได้ 1 หลำ นั่นเท่ำกับเรำว่ำวิ่งเร็วกว่ำเต่ำ 10 เท่ำ และ เรำจะวิ่งไปทันเต่ำที่ระยะ 11 หลำ หรือถ้ำจะให้ได้ค�ำตอบ ที่ละเอียดกว่ำนั้น ด้วยวิชำคณิตศำสตร์ ม.5 ที่สอนเรื่อง ล�ำดับ อนุกรม และลิมิต ถ้ำเรำมองระยะทำงกำรวิ่งว่ำเป็นอนุกรมของล�ำดับ แบบอนันต์ คือ 10/100 + 10/101 + 10/102 + 10/103 + ... + 10/10n โดยที่ n เป็นจ�ำนวนนับ ล�ำดับแบบอนันต์นเี้ ป็นล�ำดับคอนเวอร์เจนต์ มีค่ำ ‘ลู่’ เข้ำสู่ 0 ดังนั้น เรำจึงค�ำนวณได้ด้วยกำรหำลิมิตของอนุกรม

10 + 1 + 0.1 + 0.01 + ... โดยค่ำของล�ำดับท้ำยๆ นัน้ น้อยลง จนแทบไม่ มี ค ่ ำ อะไรเลย และค� ำ ตอบของปั ญ หำนี้ คื อ เรำวิ่งไปทันเต่ำที่ระยะ 11.11 หลำกว่ำๆ เป็นค�ำตอบส�ำหรับ โลก Physical ที่เรำทุกคน เกิด แก่ เจ็บ ตำย แล้วก็กลำยเป็น ศูนย์ไป แต่ส�ำหรับคนที่ยังไม่ทันแก่ชรำ พวกเขำยังเยำว์วัย และต้ อ งรี บ จำกโลกนี้ ไ ป พวกเขำต้ อ งกำรค� ำ ตอบแบบ Metaphysical มำกกว่ำ ค�ำตอบอยู่บนเสื้อยืดของเด็กสำวที่เธอเลือกใส่มำใน วันนี้ มันสกรีนเป็นรูปช้อน พร้อมตัวอักษรว่ำ ce n’est pas une cuillèère แปลว่ำ “นี่ไม่ใช่ช้อน” ฉำกส�ำคัญอีกฉำกของเรื่อง ต้องย้อนกลับไปเล็กน้อย ก่อนเธอจะมำพบกับนักเขียน เธอเจำะจงเลือกใส่เสือ้ ยืดตัวนี้ ในวันนี้ เพรำะมันเป็นเสื้อแบบเดียวที่ตัวละครในนิยำยใส่ แม่ของเธอถำมว่ำมันหมำยควำมว่ำอย่ำงไร เธออธิบำยว่ำ นีค่ อื ภำพช้อน แต่เขียนค�ำบรรยำยว่ำมันไม่ใช่ชอ้ น หมำยควำมว่ำ มันเป็นเพียงแค่ภำพแทน แต่มนั ไม่ใช่ชอ้ นจริงๆ กำรรับรูข้ องเรำ จ�ำกัดเพียงแค่ภำพแทนทีเ่ ห็น แต่เรำไม่ได้เข้ำถึงช้อนจริงๆ ก่อนทีโ่ ลกของเรำจะมีวชิ ำฟิสกิ ส์ และวิชำคณิตศำสตร์ ที่ว่ำด้วยล�ำดับ อนุกรม และลิมิต ย้อนกลับไปหลำยพันปี ในประวั ติ ศ ำสตร์ ข องมนุ ษ ยชำติ นั ก ปรั ช ญำตั้ ง แต่ ส มั ย กรี ก โบรำณที่ น อกเหนื อ จำกพวกยู ค ลิ ด หรื อ พี ท ำโกรั ส ยังมีพวกที่ครุ่นคิดด้วยเหตุผลแบบนิรนัย เพื่อหำควำมจริง ที่ไปไกลกว่ำนั้น Zeno เป็นตัวอย่ำงทีช่ ดั เจน เขำยกตัวอย่ำงเรือ่ งกำรวิง่ แข่งกับเต่ำ เพื่อแสดงให้เห็นว่ำ ด้วยพลังของกำรคิด ท�ำให้ ค้นพบว่ำกำรเคลื่อนที่ไม่มีอยู่จริง กำรเคลื่อนที่จำกจุด A ไปยังจุด B ซึง่ ดูเหมือนเป็นระยะทำงทีจ่ ำ� กัด ภำยในเวลำทีจ่ ำ� กัด แท้จริงแล้วภำยในนั้นมีควำมไม่จ�ำกัดอยู่อย่ำงอเนกอนันต์ คือเรำจะต้องวิ่งตำมเต่ำไปด้วยระยะทำง 10/100 + 10/101 + 10/102 + 10/103 + 10/104 ... ไปเรื่อยๆ โดยไม่มีที่สิ้นสุด ดังนัน้ กำรเคลือ่ นทีท่ เี่ รำเห็นจึงเป็นเพียงแค่ภำพมำยำ เหมือนกับภำพช้อนที่ไม่ใช่ช้อนจริงๆ แล้วควำมจริงในทัศนะของ Zeno เป็นอย่ำงไร?? ค�ำตอบคือ Zeno เชื่อตำมนักปรัชญำอีกคนหนึ่ง ชื่อว่ำ Parmenides เขำเป็นผู้ที่มำก่อนโสกรำติส เพลโต อริสโตเติล คนในส� ำ นั ก นี้ เ ชื่ อ ว่ ำ ควำมจริ ง ด� ำ รงอยู ่ อ ย่ ำ งคงที่ แ ละ ด�ำเนินไปเป็นนิรันดร์ สิ่งที่เรำรับรู้นนั้ เป็นเพียงแค่ภำพมำยำ ซึ่ ง ดู เ หมื อ นว่ ำ เพลโตเองก็ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ลนี้ ต ่ อ เนื่ อ งมำ จนกลำยเป็นแนวคิดเรื่องโลกของแบบและถ�้ำของเพลโต นั่ น แปลว่ ำ ช้ อ นมี อ ยู ่ จ ริ ง คงที่ และเป็ น นิ รั น ดร์ ถึงแม้เสื้อยืดสกรีนรูปช้อนตัวนี้จะถอดไปซัก แล้วฉีกขำด หรือสูญหำยไป แต่ช้อนก็ยังคงอยู่ตลอดไป ถ้ำเปรียบเต่ำของ Zeno กับชีวิตคนเรำ คุณอยำกจะ วิ่งแข่งกับเต่ำด้วยโลกทัศน์แบบไหน แบบที่วิ่งไปทันเต่ำ ตรงจุด 11.11 หลำ แล้วก็ล้มตำยสูญสลำยจำกโลกนี้ไป หรือแบบที่คุณสำมำรถวิ่งไล่ไปได้เรื่อยๆ ในระยะทำงและ

ระยะเวลำเป็นอนันต์ เพรำะชีวติ ของคุณคือควำมเป็นนิรนั ดร์ ด้วยกำรเปลี่ยนโลกทัศน์ เด็กสำวข้ำมผ่ำนควำมกลัว ตำย เผชิญหน้ำวำระสุดท้ำยด้วยควำมสงบ จำกตอนต้นเรือ่ ง ในฉำกแฟลชแบ็กเห็นภำพเธอก�ำลัง ป่วยหนักตอนยังเป็นเด็ก แล้วแม่ไปร้องห่มร้องไห้อยูข่ ำ้ งเตียง แม่บอกว่ำ “โอ้พระเจ้า ฉันจะไม่ได้เป็นแม่ของเธออีกต่อไป แล้ว” ค�ำคร�่ำครวญของแม่ท�ำให้เธอคิดว่ำควำมตำยท�ำให้ ทุกอย่ำงสิ้นสุด จนในตอนท้ำยเรื่อง เมื่อเธอได้รู้ว่ำแม่จะไปท�ำงำน สังคมสงเครำะห์เพือ่ ช่วยเหลือเด็กป่วยด้วยโรคมะเร็งคนอืน่ ๆ เธอจึงรูส้ กึ โล่งอก ทีร่ วู้ ำ่ เมือ่ เธอตำยไปแล้ว ควำมเป็นแม่ลกู กัน ก็ยังคงอยู่เป็นนิรันดร์ โดยแม่จะน�ำประสบกำรณ์กำรรักษำ ตัวเธอไปช่วยเหลือเด็กคนอื่นๆ ต่อไป แฟนหนุ่มของเธอพูดในชมรมเด็กป่วยด้วยโรคมะเร็ง เมื่อถูกถำมว่ำในชีวิตนี้เขำกลัวอะไรมำกที่สุด เขำตอบว่ำ I fear oblivion แปลว่ำ “ผมกลัวที่จะถูกลืม” ในฐำนะของหนุ่มหล่อ บ้ำนรวย และเป็นนักกีฬำ เขำน่ำจะมีชีวิตเพียบพร้อมทุกด้ำน สำมำรถเติบโตไปเป็น คนมีชื่อเสียง เป็นที่จดจ�ำของคนทั้งโลก แต่เมื่อป่วยด้วย โรคมะเร็ง ต้องตัดขำ และก�ำลังจะตำย กำรเกิดมำแล้วด่วน ตำยไป โดยไม่ถูกจดจ�ำอะไรไว้เลย ท�ำให้ชีวิตนี้ช่ำงไร้ค่ำ จนกระทั่งเขำและเธอมำพบรักกัน แล้วก็พบว่ำกำรมี กันและกัน ท�ำให้เกิดอนันตกำลขึ้นมำกลำงชะตำชีวิตที่ถูก จ�ำกัด ชีวิตของเรำ เกิด แก่ เจ็บ ตำย ควำมไม่เที่ยงแท้ เปลีย่ นแปลง สูญสลำย เป็นเพียงภำพมำยำ ภำยในควำมตำย ที่ก�ำลังคืบคลำนเข้ำมำ มีควำมเป็นนิรันดร์อยู่ในนั้น จึงไม่มีเหตุผลที่เด็กสำวไปจะคำดคั้นนักเขียนเพื่อ ถำมหำตอนจบของหนังสือ เพรำะหนังสือเล่มนั้นยังคงอยู่ สืบไป ถึงแม้เด็กสำวตำยไปแล้ว ก็ต้องมีคนอื่นมำเปิดอ่ำน และค้นพบควำมจริงแท้แบบเดียวกันนี้ The Fault in Our Stars บอกเรำว่ำ เมื่อเกิดมำแล้ว ชีวิตเรำมีควำมหมำย คนเรำเมื่อเกิดมำแล้ว ก็เหมือนกับ หนั ง สื อ ที่ ถู ก เปิ ด อ่ ำ นแล้ ว ถ้ ำ คุ ณ คิ ด ว่ ำ มั น จบ มั น ก็ จ บ แต่ถ้ำคุณคิดว่ำมันด�ำเนินต่อไป มันก็เป็นนิรันดร์ ทุกสิ่งที่เรำ ท�ำ ทุกอย่ำงที่เรำเป็นจะส่งผลต่อเนื่องไปถึงคนอื่น คนที่ยัง มีชีวิตต่อไป เรำจึงเป็นนิรันดร์ของคนอื่น เช่นเดียวกับคนอื่นๆ ที่มำก่อนเรำ ล้วนเป็นนิรันดร์ของเรำ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.