a day BULLETIN 549

Page 1

TODAY EXPRESS PRESENTS

30 JUL 2018

550 549 548


02 ค้นหาไลฟ์สไตล์และตัวตนทีห ่ ลากหลายผ่านการจัดสรร พืน ้ ทีส ่ ว่ นตัวไปกับ 9 แขกรับเชิญชือ ่ ดังจากแสนสิริ

LIFE เต็มอิ่มไปกับเรื่องราวประวัติศาสตร์การอพยพของ ชาวมอญเมื่อสองร้อยกว่าปีก่อน พร้อมงานคราฟต์มอญ แท้ๆ ที่ยังเหลืออยู่ให้เห็น ณ เกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี

HE SAID เพราะอะไรเราถึงไม่มีหลักประกันว่าจะไม่เหงา ร่วมไข ข้อข้องใจเรื่องนี้กับ นายแพทย์ ปีย์ เชษฐ์โชติศักดิ์ ผู้เขียน หนังสือ เหตุเกิดจากความเหงา Theory of Loneliness

SPACE & TIME เพราะชีวต ิ ในเมืองท�าให้ผค ู้ นเหนือ ่ ยหน่ายและเศร้า ชีวต ิ เราจึงจ�าเป็นต้องพักผ่อนในทีท ่ ม ่ี แี ต่แสงแดดและ ฟองคลืน ่ ที่ Renaissance Pattaya Resort & Spa

FOODIE Salmon Steak จากร้าน Shio ทีเ่ สิรฟ ์ ในสไตล์ฟว ิ ชัน

BEHIND THE COVER

CONTENTS

THE CONVERSATION

TODAY EXPRESS PRESENTS

30 JUL 2018

550 549 548

I S S U E 549 30 JUL 2018

เบื้องหลังปกที่สีสันแสบสันแบบนี้ มาจากไอเดียสนุกๆ ที่ิเราอยาก ต่อยอดจากไอเดียของวอร์เท็กซ์ (Vortex) ซึง ่ เป็นเหมือนสัญลักษณ์ ทีเ่ ป็นตัวแทนไลฟ์สไตล์ของคนยุคนี้ ทีม ่ ส ี ส ี น ั ของชีวต ิ ทีห ่ ลากหลาย มี แ พสชั น ที่ อ ยากท� า อะไรหลายๆ และพร้ อ มสนุ ก กั บ การแชร์ ประสบการณ์ใหม่ๆ ซึ่งมู้ดภาพเราจึงอยากดึงคาแร็กเตอร์ของ ตัวแทนคนรุ่นใหม่ทั้ง 9 คนออกมาให้เป็นตัวของตัวเองมากที่สุด ซึง่ ผลลัพธ์กอ ็ ย่างทีเ่ ห็น เราได้ภาพทีน ่ า่ ประทับใจของพวกเขาเหล่านี้ ที่ต่างชัดเจนในเส้นทางของตัวเอง

ผสานรสชาติทง ั้ ตะวันตกและตะวันออกได้อย่างลงตัว

BREATH IN 1 ทัศนคติอะไรบ้าง? ถ้ามีแล้วชีวิตรักจะดีขึ้น

ที่ปรึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการที่ปรึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล พัทธมน วงษ์รัตนะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นักเขียน/ผู้ประสานงาน ตนุภัทร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ คเชนทร์ วงศ์แหลมทอง หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง กวินนาฏ หัวเขา ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, พรอารีย์ ต้นคชสาร 08-8882-1645 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว นักศึกษาฝึกงาน เจลดา ภูพนานุสรณ์ มณิสร สุดประเสริฐ ธนิศร วงษ์สน ุ ทร ณัฐริกา มุคา� ณัฒฐพงษ์ จันทร์หอม ภัทร คงคา ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อี เ มล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com



a day BULLETIN

04

DATABASE เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

HERE COMES THE

ที่มา : www.nber.org, www.weforum.org, www.businessinsider.com, *ข้อมูลจาก Centre for Economic Performance, Proceedings of the National Academy of Sciences และ General Social Survey.

HAPPIEST MOMENT

OF OUR LIVES

เคยมีช่วงชีวิตไหนไหมที่คุณรู้สึกมีความสุขที่สุด ทั้งด้านการงาน การเงิน ความสัมพันธ์ สุขภาพ จนไปถึงรูปร่างหน้าตาของตัวเอง และเคย มีช่วงเวลาไหนบ้างที่คุณกลับรู้สึกสิ้นหวังและทุกข์ใจกับชีวิตสุดขีดจนไม่อยากลืมตาตื่นมาในวันพรุ่งนี้อีกต่อไป เราขอชวนคุณมาหาค�าตอบ ในผลงานศึกษาชิ้นส�าคัญจากส�านักวิจัยเศรษฐกิจแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (National Bureau Of Economic Research – NBER) ที่ได้เผยข้อมูลเกี่ยวกับความสุขของมนุษย์ที่แปรเปลี่ยนไปตามช่วงอายุต่างๆ ได้อย่างน่าสนใจ

8.6

มีความสุข

ช่วงอายุที่คนเรามี ความสุขมาก/น้อยที่สุด

มากที่สุด

8.4

น้อยที่สุด

ด้านความมั่นคงทางการเงิน

ด้านรูปร่างหน้าตา

+

55 45-54

8.2

8

7

มีความสุข

+

70 55-59

ปี

ปี

ชีวิตโดยรวม

55 ,69 53-57

7.8

10

ปี

7.6

7.4

50

7.2

ระดั บ ความพึ ง พอใจ ในชีวต ิ จะหล่นฮวบอีกครัง้ เมื่อเข้าสู่ช่วงอายุ 50 ปี ซึ่ ง นั บ ว่ า เป็ น จุ ด ที่ ค น ส่ ว น ใ ห ญ่ มี ค ว า ม สุ ข ในชีวต ิ น้อยทีส ่ ด ุ จนเกิด เป็นค�าว่า

ผู้คนในวัย 50 ให้ คะแนนความพึงพอใจ ของชีวิตตัวเองที่ 7 เต็ม 10 ถึงแม้ว่า จะฟังดูสูง แต่ก็ยัง นับว่าต�่ากว่าช่วงอายุ 20 ต้นๆ อยู่มาก

‘Mid-Life Crisis’

7

อายุ 16

19

22

25

20

28

31

34

37

40

43

จากการส�ารวจความพึงพอใจ ในชีวต ิ ชาวอเมริกน ั กว่า 427,000 คน พบว่า ความสุขในชีวิตจะลดลง อย่างมากเป็นครัง้ แรกเมือ ่ อายุ 20 ต้นๆ ซึง ่ เป็นช่วงเวลาหลังเรียนจบ และหางาน แล้วจึงเพิม ่ ขึน ้ เล็กน้อย เมื่อเข้าสู่ช่วงอายุ 30

46

49

52

55

58

61

45-54

64

67

70

ความพึงพอใจในชีวิตที่ลดต�่าลงในช่วงอายุ 45-54 มักเกิดจากความเครียดในการวางแผน ชีวิตหลังเกษียณ การส่งค่าเล่าเรียนลูกใน มหาวิทยาลัย การวางแผนชีวิตให้พ่อแม่ที่อยู่ใน วัยชรา และเริม ่ ประสบกับปัญหาสุขภาพของตัวเอง

73

76

79

70

82

เมื่ออายุราว 70 ปี กราฟความสุขจะเพิ่ม สูงขึ้นอีกครั้ง และจะอยู่ ในระดับคงเส้นคงวา ไปจนถึงอายุ 90 ปี

85

88

90

issue 498 07 aug 2017


SET

Social Impact Day 2018 ต​ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย​จัดงาน​SET​Social​Impact​Day​2018​​ โดยปีนี้นับเป็นปีที่​ 3​ถือว่าเป็นการรวมพลังกันอีกครั้ง​เพื่อสร้างจุดเชื่อมต่อ การท�างานระหว่างภาคธุรกิจ​และภาคสังคม​ให้เกิดพลังและรูปธรรมแห่งความยัง่ ยืน​ จนเกิดเป็นพืน้ ทีแ่ ละเวทีสา� หรับการพบปะพูดคุย​น�าเสนอประสบการณ์​ แรงบันดาลใจ​ ข้อคิด​แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันและกัน​เพื่อแก้ ไขปัญหาสังคมแบบยั่งยืน​ภายใต้ แนวคิด​‘Partnership​for​Better​Impact’​โดยมีเป้าหมายสูงสุด​เพือ่ ให้เกิดการริเริม่ ​ สนใจ​รวมทัง้ ด�าเนินการเกีย่ วกับ​Social​Investment​และเกิดการต่อยอดธุรกิจ เพือ่ สังคมให้มากขึน้ ในประเทศไทย​พร้อมสินค้าและบริการจากธุรกิจเพือ่ สังคม ให้เลือกซือ้ ​​29​แบรนด์

Impactful Partnership Talk งำน SET Social Impact Day 2 018 กล่ำวเปิดโดย ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ ประธำนกรรมกำร ตลำดหลักทรัพย์ฯ ซึง่ สะท้อนภำพให้เห็นว่ำ ตลำดหลักทรัพย์ฯ เ รำมุ่งมั่นที่จะพัฒนำตลำดทุนให้เป็น ป ระโยชน์ต่อทุกภำคส่วน โดยเรำท�ำ ห น้ำที่เป็นผู้เชื่อมโยงภำคธุรกิจและ ภ ำคสังคม ผ่ำน SET Social Impact Platform ทีจ่ ะท�ำให้เกิดกำรต่อยอดทำง ธุรกิจ เพื่อสร้ำงกำรเปลี่ยนแปลงที่ดีให้ เกิดขึน้ ในสังคม และแก้ไขปัญหำสังคม อย่ำงยั่งยืน ช่วงเสวนำ Impactful Partnership Talk เริ่มโดย นพเก้ำ สุจริตกุล ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั กำร ตลำดหลักทรัพย์ฯ กล่ำวว่ำ แนวคิดกำรจัดงำนปีนี้ ‘Partnership for Better Impact’ ซึ่งมีควำมชัดเจนในตัว อ ยูแ่ ล้ ว นั่ น คื อ กำรท� ำ งำนร่ ว มกั น ทุ ก คนพร้ อ มมองไปยั ง จุ ด ประสงค์ เ ดี ย วกั น คื อ ต้ อ งท� ำ ให้ เ กิ ด กำร เปลีย่ นแปลงขึน้ ให้ได้ และสิง่ ทีต่ อ้ งกำร เ ห็นคือ ทุกภำคส่วนตื่นรู้และท�ำเพื่อ

สังคมอย่ำงเป็นรูปธรรมมำกยิ่งขึ้น จ นมำถึ ง บุ ค คลต้ น แบบที่ ท�ำงำนด้ำนสิง่ แวดล้อมอย่ำง ‘ท็อป’ พิพฒ ั น์ อภิรกั ษ์ธนำกร ผูป้ ระกอบกำร SE บริษทั คิด คิด จ�ำกัด ได้เล่ำว่ำ ก�ำลัง จะเปิดตัว application ทีส่ ง่ เสริมกำรลด กำรใช้พลำสติกแบบ single-use หรือ พลำสติกแบบใช้แล้วทิง้ โดยเริม่ ทดลอง ที่กลุ่มนักศึกษำใน 24 มหำวิทยำลัย จ�ำนวนเด็ก 7 แสนกว่ำคน ซึง่ application จะเป็ น รู ป แบบเกม และยัง สำมำรถ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล กำรลดขยะและกำรลด คำร์บอนได้ application นีแ้ ม้เป็นเพียง ก้ำวแรกของกำรส่งเสริมกำรลดกำรใช้ พลำสติก แต่หำกเกิดควำมร่วมมือกันใน หลำยภำคส่วน อำจสำมำรถผลักดันให้ เกิดเป็นกฎหมำยทีจ่ ะช่วยลดพลำสติก ได้ในอนำคต บริษทั จึงอยำกหำพันธมิตร มำช่วยขยำยผลลัพธ์ทมี่ ำกขึน้ ส�ำหรับช่วง Unlimited Partnership Talk จะเป็นตัวอย่ำงแนวคิดกำร ท�ำธุรกิจเพื่อสังคมในด้ำนต่ำงๆ อำทิ

‘วิสำหกิจเพื่อชุมชนผำปัง’ ที่ได้แก้ไข ปัญหำพืน้ ทีแ่ ห้งแล้ง และกำรโยกย้ำย ออกของคนในชุมชน จึงได้ใช้ไผ่ซงึ่ เป็น ทรัพยำกรในท้องถิ่นมำสร้ำงงำนและ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่ำงๆ ท�ำให้คน ในชุมชนกลับคืนถิ่น ก่อนจะยกระดับ ชุมชนขึน้ มำเป็นบริษทั ทีพ่ งึ่ พำตนเองได้ ‘Young Happy’ องค์กรทีไ่ ด้เข้ำมำช่วยแก้ ปัญหำสังคมผูส้ งู อำยุทอี่ ำจเป็นโรคเหงำ ด้วยกำรสร้ำงกิจกรรมและดึงเข้ำมำมี ส่วนร่วมในกำรผลิตเนือ้ หำต่ำงๆ ทีน่ ่ำ สนใจได้จำกที่บ้ำน พร้อมสอนให้รู้จัก เทคโนโลยีควบคูก่ นั ไปด้วย เมือ่ จบงำนเสวนำ คนส่วนใหญ่ ยังคงปักหลักทีจ่ ะพูดคุยและแลกเปลีย่ น ควำมรูก้ บั ผูป้ ระกอบกำร SE ต่ำงๆ เพือ่ น�ำไปเป็นแนวทำงและตัวอย่ำงเพือ่ ปรับ ใช้กับองค์กร หน่วยงำน หรือธุรกิจ ของตนต่ อ ไป และนี่ คื อ สิ่ ง ที่ ท ำง ตลำดหลักทรัพย์ฯ มุ่งหวังให้เกิดขึ้น ต่อไปเรื่อยๆ ในอนำคต

Product Highlight ‘๑4๑ Social Enterprise’ ผลิตภัณฑ์ไม้สำ� หรับเด็กทีม่ คี ณ ุ ภำพ เล่นได้อย่ำงปลอดภัย และส่งเสริมให้เด็กๆ ได้มคี วำมคิดสร้ำงสรรค์ตอ่ ยอดจำกกำรเล่น อีกส่วนคือกำรออกแบบให้มีช่องว่ำงแห่ง กำรให้ (the giving space) ส่วนที่ถูกฉลุ ออกไปยังกลำยเป็นของเล่นไม้เชิงสร้ำงสรรค์ (the missing pieces) อีกชิน้ เพือ่ มอบให้แก่ เด็กด้อยโอกำส

‘ไร่รน ื่ รมย์’ ศูนย์กำรเรียนรูเ้ กษตรเชิงสร้ำงสรรค์ และยั่งยืน จังหวัดเชียงรำย ที่ได้พูดคุยถึง แผนธุรกิจสร้ำงสรรค์แบบคร่ำวๆ หลังจำก น้อมน�ำหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง มำใช้กับธุรกิจอย่ำงเป็นรูปธรรม ซึ่งส่ง ผลดีต่อตัวเอง ชำวบ้ำน ชุมชนและสังคม ได้เป็นอย่ำงดี


06 www.theguardian.com

http://time.com/money

IN CASE YOU

MISSED IT

ข่าวรอบโลกปลายสัปดาห์ที่คุณอาจพลาดไป!

a day BULLETIN

AGENDA

PEOPLE

CULTURE

บิล เกตส์ แจกหนังสือเล่มโปรด ให้กบ ั นักศึกษาทีเ่ รียนจบ

ศิลปินหญิงเยอรมัน เดินแต้มสีสน ั ในเมืองปอมเปอี

บิล เกตส์ มอบหนังสือ Factfulness : Ten Reasons We’re Wrong About the World--and Why Things Are Better Than You Think ผลงานเขียนของ ฮานส์ โรสลิง ให้นกั ศึกษาชาวอเมริกนั ผูท้ สี่ �าเร็จการศึกษา ปี 2018 ในรูปแบบอีบกุ๊ โดยกล่าวว่า “นีเ่ ป็นหนึง่ ใน หนังสือที่ส�าคัญที่สุดที่ผมเคยอ่าน เพราะท�าให้ เข้าใจความจริงพืน้ ฐานเกีย่ วกับโลกได้อย่างชัดเจน” นอกจากนี้ ยั ง กล่ า วเพิ่ ม เติ ม ในบล็ อ กของเขาว่ า “หวังว่าคุณจะเก็บค�าแนะน�าของ ฮานส์ โรสลิง ไปคิด และนอกจากจะเหมาะส�าหรับนักศึกษาจบใหม่ แล้ว คนทั่วไปก็ควรได้อ่านด้วย” หนังสือเล่มนี้ปกติ ราคา 14.99 ดอลลาร์ฯ แต่ขณะนีเ้ ปิดให้ดาวน์โหลด ฟรี ส� า หรั บ ผู ้ จ บการศึ ก ษาจากสถาบั น ภายใน สหรัฐอเมริกาที่เว็บไซต์ Amazon

ปอมเปอีและเฮอร์ควิ เลเนียม เมืองอายุกว่า 2,000 ปี ทีป่ ระสบกับภัยพิบตั จิ ากการระเบิด ลาวา และก๊าซพิษ อย่างรุนแรงทีส่ ดุ ครัง้ หนึง่ ในประวัตศิ าสตร์ วันนีไ้ ด้รบั การแต่งแต้มสีสันสดใหม่ผ่านไอเดียของ คาทริน ฮูเบอร์ ศิลปินหญิงชาวเยอรมัน และทีมงานจาก มหาวิ ท ยาลั ย นิ ว คาสเซิ ล ที่ ช ่ ว ยกั น สร้ า งสรรค์ และน�าพาผลงานศิลปะร่วมสมัยไปปิดทับก�าแพง ในสถานที่ประวัติศาสตร์ต่างๆ ได้ส�าเร็จ โดยฮูเบอร์ เผยว่า ศิลปะชิ้นนี้ไม่ใช่เพียงชิ้นงานที่น�าไปปิดทับ ก�าแพงโบราณเท่านั้น แต่มันเต็มไปด้วยความคิด และจินตนาการ ทั้งยังอ้างอิงมาจากวรรณกรรม มีการเล่นกับสีสันและอุณหภูมิ บวกกับความรู้เรื่อง มิติของพื้นที่ และความสามารถด้านการตกแต่ง ภายใน

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

www.weforum.org

www.weforum.org

www.theguardian.com

K

TECHNOLOGY

POLITICS

ENVIRONMENT

เทคโนโลยี VR ช่วยบ�าบัดผูป ้ ว่ ย โรคกลัวความสูง

เดนมาร์ ก จั ด เทศกาล 4 วั น เปิดโอกาสให้ประชาชนพบปะกับ ผูน ้ า� ทางการเมือง

จีนสร้างเว็บไซต์เพือ ่ จ่ายเงินให้กบ ั ประชาชนยากจนทีป ่ ลูกต้นไม้

issue 549 30 JUL 2018

ผลการส�ารวจปี 2014 พบว่าผูค้ นในสหราชอาณาจักร มีอาการกลัวความสูงมากถึงร้อยละ 23 แดเนียล ฟรีเมน อาจารย์ดา้ นจิตวิทยาคลินกิ แห่งมหาวิทยาลัย ออกซ์ฟอร์ด และผู้ร่วมก่อตั้ง Oxford VR จึงเริ่มท�า การศึกษาเพือ่ บ�าบัดผูโ้ รคกลัวความสูงด้วยเทคโนโลยี VR โดยทดสอบกับผูใ้ หญ่ทมี่ โี รคกลัวความสูง 100 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกให้ลองสวมแว่น VR และท�ากิจกรรมเสมือนภายใต้แรงกดดันสัปดาห์ละ 2-3 ครัง้ เป็นเวลา 2 สัปดาห์ เช่น เดินบนตึกสูง หรือ ช่วยชีวิตแมวบนต้นไม้ ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งไม่ได้รับ การรักษาเป็นพิเศษ ผลปรากฏว่าอาการกลัวความสูง ของผู้ป่วยกลุ่มแรกลดลงถึงร้อยละ 68 ส่วนผู้ป่วย กลุม่ สองนัน้ ลดลงเพียงร้อยละ 3 โดยกลุม่ นักบ�าบัด กล่าวว่า ผลการศึกษานี้จะเป็นความหวังในการบ�าบัดโรคความกลัวอื่นๆ และโรค PTSD ในอนาคต

ไม่ใช่เรือ่ งปกตินกั ถ้าผูน้ า� ทางการเมือง จะมาพบปะ พูดคุยกับประชาชนอย่างสนิทสนม แต่ทุกเดือน มิถุนายนที่ประเทศเดนมาร์ก ได้มีการจัดเทศกาล ในชือ่ Folkemøodet (The People’s Meeting) เป็นเวลา 4 วัน เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไปได้พบกับ นักการเมือง ผูว้ างนโยบายของรัฐ ผูน้ �าองค์กร NGO รวมถึงนายกรัฐมนตรีแบบกระทบไหล่ โดยในเดือน ที่ผ ่ า นมามีช าวเดนมาร์ ก เข้ า ร่ ว มเทศกาลนี้ก ว่ า 100,000 คน ภายในงานมีทั้งการเลกเชอร์ โต้วาที เวิร์กช็อป โชว์การแสดงมากมาย ซึ่งทั้งหมดไม่เสีย ค่าใช้จ่ายใดๆ นอกเหนือจากเรื่องการเมือง ผู้คน ในงานยังได้สนทนากันเรื่องโครงสร้างเศรษฐกิจ สภาวะโลกร้อน พลังงาน สุขภาพ และเรื่องทาง สังคมอื่นๆ ได้อย่างเปิดเผยด้วย

จากปัญหาความยากจนในพืน้ ทีห่ า่ งไกลและจ�านวน ป่าไม้ในประเทศจีนที่มีไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศ ขนาดใหญ่อื่นๆ Fu Yeqiu ผู้นา� หน่วยงานด้านการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศภายใต้การดูแลของ คณะกรรมการพั ฒ นาและปฏิ รู ป มณฑลกุ ้ ย โจว และเพื่อนร่วมงานของเธอ จึงสร้างเว็บไซต์ www. gzsdtfp.com เพื่อเป็นช่องทางให้ผู้ยากไร้ที่อาศัย อยู่บนภูเขาในมณฑลกุ้ยโจวได้บันทึกและอัพโหลด สถิตติ น้ ไม้ทตี่ นเองปลูก ซึง่ เว็บไซต์กจ็ ะคิดค่าคาร์บอน ออกมาเพื่อให้บริษัทที่ต้องการซื้อคาร์บอนชดเชย ได้มาซือ้ ผ่านเว็บไซต์ได้อย่างง่ายดาย โดยเงินส่วนนัน้ ก็จะถูกส่งไปยังบัญชีของผู้ยากไร้โดยตรง ซึ่ง Fu คาดหวังว่าพวกเขาจะได้รายได้เสริมเป็นจ� านวน ราว 1,000 หยวน หรือประมาณ 4,900 บาทต่อปี



a day BULLETIN

08

PROTESTING TRUMP กระแสการต่อต้าน โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา มีมาตลอดตั้งแต่ช่วงการลงเลือกตั้งในปี 2016 ซึ่งช่วงสุดท้ายของการเลือกตั้ง ในโซเชียลเน็ตเวิร์กเต็มไปด้วยแฮชแท็ก #nevertrump และการประท้วงก็เริ่มต้นขึ้นเมื่อเขาได้รับเลือกให้เป็นผู้น�าคนที่ 45 ของอเมริกาอย่างเป็นทางการ จนถึงวันนีไ้ ม่วา่ ทรัมป์จะเดินทางไปทีไ่ หน ประชาชนในพืน ้ ทีน ่ น ั้ ก็จะออกมารวมตัวต่อต้านเคียงข้างเขาเสมอ (คงกลัวท่านผูน ้ า� จะเหงา) อย่างล่าสุดทีเ่ ขาเดินทาง ไปเยือนสหราชอาณาจักร และเข้าเฝ้าสมเด็จพระราชินน ี าถเอลิซาเบธที่ 2 ชาวลอนดอนนับหมืน ่ ก็ออกมารวมต่อต้านเขา หรือแม้แต่การไปประชุมสุดยอดกับ วลาดิเมียร์ ปูตน ิ ผูน ้ า� รัสเซีย ทีเ่ ป็นไปอย่างชืน ่ มืน ่ ชาวฟินแลนด์กอ ็ อกมาต่อต้านเขาอย่างอบอุน ่ และอีกหนึง ่ ความน่าสนใจเวลาทีเ่ กิดขึน ้ ในการชุมนุมต่อต้าน ผู้น�าแห่งดินแดนเสรีภาพคนนี้คือ ไอเดียบางอย่างของผู้ประท้วง ที่เห็นเมื่อไหร่ก็ไม่สามารถกลั้นหัวเราะได้เสมอ

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

issue 549 30 JUL 2018



a day BULLETIN

THE CONVERSATIONS

เรื่อง : วรัญญู อิทรค�ำแหง, ปริญญำ ก้อนรัมย์ ภาพ : ภำสกร ธวัชชำตรี สไตล์ลิสต์ : Bellbalckdog

28

issue 549 30 JUL 2018


29


a day BULLETIN

30

EXTEND YOUR STYLE

issue 549 30 JUL 2018

เพรำะวิถีและเงื่อนไขกำรใช้ชีวิตในยุค ดิจิตอล ณ ปัจจุบัน เปลี่ยนแปลงไปอย่ำง รวดเร็ว จนท�ำให้ใครหลำยคนที่อำศัยอยู่ ในเมืองใหญ่ตอ ้ งเหน็ดเหนือ ่ ยวิง ่ ไล่ตำมโลก และสิ่งต่ำงๆ รอบตัวให้ทัน ด้วยกลัวว่ำจะ ถูกทิง ้ เอำไว้เบือ ้ งหลัง จนบำงครัง ้ ก็ลม ื ทีจ่ ะ พักสูดลมหำยใจของตนให้เต็มปอด หรือ ปรับคลืน ่ ควำมถีด ่ ว้ ยกำรฟังเพลงเพรำะๆ สักเพลง ลืมทีจ่ ะใช้เวลำนัง ่ มองพระอำทิตย์ ตก เพื่ อ ที่ ท� ำ ให้ ชี วิ ต นั้ น กลั บ มำมี ชี ว ำ และเปี่ ย มไปด้ ว ยคุ ณ ภำพ คงเป็ น เรื่ อ ง ที่ น่ ำ เศร้ ำ หำกเรำมี ชี วิ ต แต่ ก ลั บ ไม่ ไ ด้ ใช้ชีวิตอย่ำงที่ควรจะเป็น เ พ ร ำ ะ ว่ ำ ไ ล ฟ์ ส ไ ต ล์ ข อ ง ค น เ ร ำ สำมำรถแปรเปลี่ ย นไป และเปิ ด โอกำส ให้ เ รำได้ข ยำยมุมมองขอบเขตเพื่ อ สร้ ำง สมดุ ล ให้ ชี วิ ต เป็ น สุ ข ได้ เ สมอ เร ำจึ ง ชวนแขกรับเชิญของเรำทัง ้ 9 คนในฉบับนี้ มำพูดคุยถึงกำรค้นหำไลฟ์สไตล์และตัวตน ที่หลำกหลำยแต่ทว่ำชัดเจน ซึ่งแต่ละคน สำมำรถหำและจัดสรรพื้นที่ส่วนตัวให้เข้ำ กั บ ตั ว ตนที่ เ ป็ น ทั้ ง ยั ง Extend Style ส่วนตัวของพวกเขำออกมำเจอกับสิง ่ ใหม่ๆ สำมำรถสร้ ำ งสรรค์ สิ่ ง ดี ๆ เพื่ อ แชร์ กั บ คนอื่ น ได้ เ สมอ ซึ่ ง พวกเขำท� ำ อย่ ำ งไร เรำจะพำคุณไปคุยกับพวกเขำกัน

Managing Director, Universal Music Group (Thailand) พอล สิ ริ สั น ต์ เป็ น ทั้ ง ผู้ บ ริ ห ำรค่ ำ ยเพลงยั ก ษ์ ใ หญ่ ชือ ่ ดังระดับโลกซึง ่ มีสำขำประจ�ำ ประเทศไทย เป็ น แฟมิ ลี แ มน ผู้อบอุ่น ที่มีดนตรีเป็นบทบำท ควำมส�ำคัญเกี่ยวข้องกับชีวิต ของเขำและครอบครัว เช่นเดียว กับพื้นที่อยู่อำศัย ซึ่งมี ‘คลื่น ควำมถี่’ เฉพำะส่งถึงกัน จะดี สั ก แค่ ไ หนหำกเรำสำมำรถ ออกแบบที่ อ ยู่ อ ำศั ย เพื่ อ หำ ‘vibration’ ที่เหมำะสม ซึ่งจะ เ ชื่ อ ม ต่ อ แ ล ะ ข ย ำ ย ข อ บ เ ข ต แสดงออกถึงตัวตน แชร์สิ่งดีๆ ให้กับผู้คนและโลกภำยนอกได้

My Life, My Style, My Rules “บ้านของผมคือทุกอย่างของครอบครัว ตอนนีผ้ มมี ลูกชาย 1 คน อายุ 14 เดือน ครับ ก่อนทีผ่ มกับภรรยาจะมีลกู เราตัง้ ใจว่าบ้านของเราจะต้องเป็นสเปซทีเ่ ป็นตัวเรา ต้องรูส้ กึ สบายและปลอดภัย ในพืน้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยของเราจะมีทงั้ ห้องครัว ชั้นหนังสือ ลีฟวิงรูม หรือมุมที่ผมใช้เล่นดีเจ เวลาที่เพื่อนๆ มาปาร์ตี้ที่บ้าน ทุกอย่างจะอยู่ในพื้นที่เดียวกันได้ทั้งหมด “ผมเป็นดีเจมาตลอด 22 ปี ชีวิตผมอยู่กับเพลง มาโดยตลอด จนตอนนีไ้ ด้เป็นผูบ้ ริหารค่ายเพลงทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ค่ายหนึง่ ของโลก ดนตรีเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ผม เกือบทุกเช้า ผมมักจะฟังแผ่นเสียง ตอนนีล้ กู ผมเริม่ ทีจ่ ะเดินได้ สิง่ ทีเ่ ขาพูด อย่างแรกแทบจะทุกเช้าคือ ‘ปาป๊า ดีเจ’ ผมก็อุ้มลูกผม นัง่ ตรงบูธดีเจ เขาก็จะชอบ เพลงมันเป็นมากกว่า ambient และเป็นการ extend mood มันช่วยเติมเต็มความรู้สึก และความสุขของคนเราได้นะครับ ซึง่ โดยหลักวิทยาศาสตร์ มันก็เป็นอย่างนั้นจริงๆ เพราะร่างกายและอารมณ์ของ คนเรามักถูกก�าหนดด้วย vibration” Co-sharing Vibration “ส�าหรับผม vibration หรือคลื่นความถี่ของเสียง คือพลังงานในรูปแบบหนึ่งซึ่งเรามีให้กันและกัน และมัน ถูกก�าหนดด้วยสเปซทีเ่ ราอยู่ สมมติวา่ ในทีอ่ ยูอ่ าศัยของผมมี ห้องส�าหรับดีเจห้องหนึ่ง ห้องกินข้าวห้องหนึ่ง ห้องอาหาร อีกห้องหนึ่งแยกกันทั้งหมด ผมเชื่อว่าบ้านของผมจะไม่มี vibration อย่างที่มันเป็นอยู่ทุกวันนี้ คือเมื่อผมเปิดพื้นที่ให้ ทุกคนในครอบครัวได้เดินมาเจอกันในห้องใหญ่ห้องเดียว ที่ เ ราสามารถท� า ทุ ก อย่ า งร่ ว มกั น ได้ มั น จะมี พ ลั ง งาน มีความรู้สึก มันจะมีเซนส์ของการเป็นแฟมิลี เช่นเดียวกับ การขับรถ การเดินเท้า และการใช้ขนส่งมวลชนในบ้านเรา ซึง่ ถ้าเราอยูแ่ ต่ภายในรถยนต์สว่ นตัว ก็จะไม่รสู้ กึ ถึงสิง่ เหล่านี้ เพราะจะถูกตัดขาดออกจากโลกภายนอก ถ้าเราอยูใ่ นพืน้ ที่ สาธารณะซึง่ สามารถแชร์อะไรกันได้ เราก็จะได้รบั vibration ของผู้คนและสังคมเราจริงๆ” Extend Your Style “แท้ จ ริ ง แล้ ว สไตล์ ก็ คื อ ‘อั ต ลั ก ษณ์ ’ (identity) ของคนเรา มันคือการแสดงออกถึงตัวตน ดังนั้น ‘Extend Your Style’ ส�าหรับผมก็คือการบอกกับโลกใบนี้ให้รู้ว่าคุณ เป็นใคร คุณจึง extend หรือท�าสิ่งเหล่านั้นออกมา เพราะ สไตล์มันมาจากข้างใน ดังนั้น สุดท้ายแล้วเนี่ย สิ่งที่คุณ ท�ามันก็ควรจะเป็นตัวตนของคุณที่แท้จริง ซึ่งคุณสามารถ ที่จะแชร์ร่วมกับคนอื่น และแชร์กับโลกภายนอกได้ด้วย”

“เพลงมันเป็นมำกกว่ำ ambient และเป็นกำร extend mood มันช่วยเติมเต็ม ควำมรู้สึกและควำมสุขของคนเรำได้”

01. PAUL SIRISANT


31

02.CHANICHA BOONPANUVICHIT Freelance Actress / Artist / DJ หญิงสำวผูเ้ ปีย ่ มไปด้วย ควำมสดใส มัน ่ ใจ และพลังบวก ‘ฌา’ - ชณิฌา บุญภาณุวจิ ต ิ ร ปั จ จุ บั น นอกจำกจะเป็ น ทั้ ง นักแสดงอิสระ ดีเจแห่งคลื่น Mellow 97.5 FM แล้ว ฌำยัง เป็นศิลปินดนตรีอส ิ ระทีก ่ ำ� ลัง ซุ่ ม ท� ำ ง ำ น เ พ ล ง ส่ ว น ตั ว ม ำ พ บ กั บ เ ร ำ ใ น ค ร ำ ว นี้ เธอพกแนวคิดในกำรออกแบบ พืน ้ ทีอ่ ยูอ่ ำศัยแห่งแรงบันดำลใจ ให้เหมำะสมกับวัยและไลฟ์สไตล์ เฉพำะตั ว รวมถึ ง ตั ว ตน ของเธอให้มำกที่สุด

My Life, My Style, My Rules “ตอนนีน้ อกจากเป็นดีเจอยูท่ คี่ ลืน่ Mellow 97.5 FM แล้ว ฌาคิดว่าไม่นา่ จะเกินปลายปีนหี้ รอก ทีน่ า่ จะ มีการปล่อยซิงเกิลเพลงของตัวเองออกมา ตอนนีเ้ ราก็ ก�าลังอยู่ในช่วงทดลองท�าเพลงหลายๆ แบบไปเสนอ กับค่ายเพลงต่างๆ ดู แล้วก็ยงั มีงานอีกส่วนหนึง่ ทีฌ ่ า อยากจะท�าคือท�างานเบือ้ งหลัง ซึง่ คือการเขียนบทด้วย “ด้วยความทีม่ คี วามเป็นศิลปินค่อนข้างสูง ก็เลย ท�าให้ฌาค่อนข้างให้ความส�าคัญกับความเป็นส่วนตัว เพราะงานที่เราท�านั้นต้องใช้ทั้งสมาธิและอารมณ์ ค่อนข้างสูง ซึง่ เป็นสิง่ ทีฌ ่ าให้ความส�าคัญมากๆ ในการหา ทีอ่ ยูอ่ าศัย คือเป็นพืน้ ทีข่ องเรา ทีเ่ ราจะสามารถใช้สร้าง แรงบันดาลใจในการท�างาน สามารถตอบโจทย์ทั้ง การท�างาน ไลฟ์สไตล์ และตัวตนของเราให้มากทีส่ ดุ ” My Personalised Space “ฌาเป็นคนที่ชอบมองพระอาทิตย์ตก ชอบ บรรยากาศตอนทีแ่ สงอาทิตย์กา� ลังจะตกลอดส่องเข้ามา ภายในห้อง ซึ่งเราว่ามันให้ความรู้สึกที่ดีมาก ดังนั้น จะอย่างไรก็ตามห้องหรือคอนโดฯ ที่ฌามองหาต้อง อยู่ทางทิศตะวันตก และก็ต้องมีพื้นที่ของระเบียง กว้างๆ สักหน่อยให้เราได้นั่งมองดูวิวพระอาทิตย์ “อีกอย่างคือเราอยากจะออกแบบให้มีพื้นที่ ไว้วางคียบ์ อร์ดส�าหรับเล่นแล้วก็ใช้แต่งเพลง ซึง่ ฌาคิดว่า เลย์เอาต์ของห้องนัน้ มีความส�าคัญมากๆ ถ้ามันออกแบบ มาส�าหรับเราโดยเฉพาะ ให้ตอบโจทย์ความชอบ และตัวตนของเราได้ก็จะดี ยิ่งถ้าห้องของเราสามารถ มีความยืดหยุ่นหรือ flffllexibility ให้สามารถปรับมาใช้ ประโยชน์ได้หลายแบบก็จะดีมากๆ เพราะถึงแม้จะ บอกว่าฌาจะรักความเป็นส่วนตัว แต่ก็เป็นเวลาที่เรา ท�างานเท่านัน้ ถ้าเวลาว่างๆ ฌาก็อยากจะให้เพือ่ นมา นั่งเล่น มีปาร์ตี้เล็กๆ มานั่งกินอะไรหรือมานั่งดูหนัง ด้วยกันบ้าง ซึง่ เวลาแบบนัน้ เราก็จะท�าตัวเป็นเจ้าภาพ ที่ดีมากๆ” Extend Your Style “สไตล์ ก็ คื อ สิ่ ง ที่ แ สดงถึ ง ความเป็ น ตั ว เรา ซึง่ แสดงออกผ่านได้ทางหลายสิง่ ทีเ่ ราท�า อย่างภาพของ ฌาที่ลงผ่านอินสตาแกรมก็บ่งบอกถึงสไตล์ของฌา ได้ในส่วนหนึง่ แต่กไ็ ม่ใช่ทงั้ หมด ต้องดูหลายๆ อย่างใน สิง่ ทีเ่ ราท�าประกอบกัน ไปจนถึงเรือ่ งทีอ่ ยูอ่ าศัยซึง่ ก็บอก ถึงตัวตนของเราได้อย่างแน่นอน ไม่วา่ จะเป็นตัง้ แต่ทา� เล ที่ตั้ง หรือชื่อและภาพลักษณ์ของโครงการที่เราเลือก ไปจนถึงคอนเซ็ปต์และความน่าเชือ่ ถือของโครงการนัน้ ๆ ซึง่ เราควรจะเลือกในสิง่ ทีส่ ะท้อนถึงความเป็นตัวเราได้ดี ทีส่ ดุ ”

03.TEERUT WONGWATANASIN Designer & Founder of V ACTIVEWEAR & V.2 ดี ไ ซเนอร์ ผู้ มี ส ไตล์ ข อง ตั ว เองชั ด เจนที่ สุ ด คนหนึ่ ง ในวงกำรแฟชั่นไทย ‘วิค’ ธีร์รัฐ ว่องวัฒนะสิน บอกเล่ำ ถึ ง กำรจั ด สรรพื้ น ที่ สร้ ำ ง สภำวะแวดล้ อ มให้ เ อื้ อ ต่ อ ก ำ ร ส ร้ ำ ง ส ร ร ค์ ผ ล ง ำ น รวมไปถึงควำมคิดเห็นเกีย ่ วกับ Co-sharing Facilities ในฝัน ส� ำ หรั บ คนยุ ค มิ ล เลนเนี ย ล ซึ่ ง จ� ำ น ว น ไ ม่ น้ อ ย มี อ ำ ชี พ เกี่ ย วกั บ กำรค้ ำ ขำยสิ น ค้ ำ ผ่ำนช่องทำงออนไลน์ พร้อม กั บ มุ ม มองในกำร Extend Your Style ตำมควำมคิ ด ของดี ไ ซเนอร์ ผู้ เ ปี่ ย มไปด้ ว ย ควำมคิดสร้ำงสรรค์ผู้นี้

My Life, My Style, My Rules “ตอนนี้ ผ มท� า แบรนด์ เ สื้ อ ผ้ า อยู ่ 2 แบรนด์ คื อ ‘V ACTIVEWEAR’ ซึ่งเป็นแบรนด์เสื้อผ้าออกก�าลังกาย และ ‘V.2’ ซึง่ เป็นแบรนด์เสือ้ ผ้าแนวสตรีท คนทีท่ า� งานสร้างสรรค์ อย่างดีไซเนอร์เช่นเราล้วนต้องการพื้นที่และสเปซส่วนตัว ในการคิดงานอยูแ่ ล้ว พวกคนท�างานครีเอทีฟอย่างผมมักจะ อยูใ่ นทีแ่ คบๆ ไม่คอ่ ยจะได้ เพราะเวลาอยูท่ แี่ คบปุบ๊ ความคิดเรา มันจะไม่ค่อยแล่นจนต้องออกไปหาแรงบันดาลใจใหม่ๆ หรือไม่ก็ต้องจัดสภาพแวดล้อมในพื้นที่ของเราให้เอื้อต่อ การคิดสร้างสรรค์ผลงาน “อย่างทีบ่ า้ นผมพยายามจัดสรรพืน้ ทีใ่ ห้ใช้ประโยชน์ ได้มากที่สุด โดยท�าโซนหนึ่งให้เป็นสตูดิโอถ่ายภาพ เพราะ เราต้องถ่ายสินค้าตลอดเวลาอยู่แล้ว เนื่องจากการขายของ ออนไลน์สมัยนีโ้ ลกเรามันเดินไปเร็วมาก พอของมาปุบ๊ ก็ตอ้ ง ขายทันที เลยต้องมีรปู เดีย๋ วนัน้ จะให้ไปรอถ่ายอีกสองอาทิตย์ สินค้าของเราก็อาจจะตกเทรนด์ไปแล้วก็ได้ จึงต้องจัดสรร พื้นที่ส�าหรับการนี้ และเวลาที่ไม่ได้ใช้ถ่ายรูปเราก็ยังจัดสรร พื้นที่ตรงนี้เป็นห้องประชุมได้ด้วย ส่วนอีกด้านหนึ่งก็ทา� ให้ เป็นสต็อกส�าหรับเก็บและแพ็กของ และอีกชั้นหนึ่งก็เป็น พื้นที่ส่วนตัวของเราส�าหรับพักผ่อนเวลาที่ไม่ได้กลับบ้าน เรี ย กได้ ว ่ า สามารถใช้ ป ระโยชน์ ใ ห้ ไ ด้ สู ง สุ ด และเข้ า กั บ ไลฟ์สไตล์การท�างานของตัวผม” My Dream Co-Sharing Facilities “ผมว่ า คนในสมั ย นี้ น อกจากจะต้ อ งการอะไรที่ personalise ซึง่ เข้ากับตัวตนและชีวติ ของแต่ละคนแล้ว เทรนด์ ของ Co-sharing Facilities ก็มีประโยชน์ไม่น้อยส�าหรับคนใน เจเนอเรชันนีซ้ งึ่ หลายๆ คนท�าอาชีพเป็นเจ้าของธุรกิจส่วนตัว และค้าขายทางออนไลน์ อย่างถ้ามีสิ่งอ�านวยความสะดวก ทีเ่ ราสามารถแชร์กนั ได้ เช่น งานของผมก็ตอ้ งมีสตูดโิ อถ่ายภาพ หรือสตูดโิ อส�าหรับสร้างสรรค์งานคราฟต์ ถ้าโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัย สามารถจัดเตรียมสิง่ อ�านวยความสะดวกในพืน้ ทีส่ ่วนกลาง นอกจากลูกบ้านจะได้มาใช้ประโยชน์แล้ว ยังเป็นการเปิดโอกาส ให้กบั คนทีม่ คี วามคิดสร้างสรรค์คล้ายๆ กันได้มาเจอกัน เพือ่ แลกเปลี่ยนและแชร์ความคิดเห็น ข้อมูล ฯลฯ ซึ่งกันและกัน ได้ ก็จะเป็นประโยชน์สา� หรับพวกเรามาก” Extend Your Style “ส�าหรับผม การเปิดมุมมองใหม่ๆ ของการใช้ชีวิต เป็นเรื่องที่ส�าคัญ เราไม่ใช่คนอนุรักษ์นิยมอะไรมากมายนัก ท�าให้สามารถเปิดใจลองสิ่งใหม่ๆ ได้ท�าอะไรใหม่ๆ ได้เปิด ตัวเองเข้าสูไ่ ลฟ์สไตล์ทไี่ ม่เคยเจอ จากไลฟ์สไตล์เดิมๆ ทีค่ ณ ุ มีหรือท�าอยู่แล้ว ท�าไมไม่ลอง extend หรือขยายขอบเขตให้ มั น กว้ า งขึ้ น ล่ ะ คุ ณ อาจจะได้ สั ม ผั ส ประสบการณ์ แ ละ ได้รับมุมมองใหม่ๆ ในการคิดและในการใช้ชีวิตก็เป็นได้”


a day BULLETIN

32 “ผมเชื่อว่ำแต่ละคนมีตัวตนของตัวเอง บ้ำนเป็น พื้ น ที่ ที่ บ อกตั ว ตนของแต่ ล ะคนเลย บำงคน อำจจะอยำกมีทีวีในห้องน�้ำก็ได้”

04. ALITA TANTIVIRASUT

05. SORASAK CHANMANTANA

Model / Founder of MERA Swimwear

Musician / Founder of Onion & Brave Roasters

สำวสวยสำยเฮลตีต ้ วั จริง ‘แพร’ - อลิตา ตันติวีรสุต ที่ไลฟ์สไตล์ส่วนตัวของเธอ กลำยเป็ น ต้ น แบบให้ ส ำวๆ อี ก หลำยๆ คนที่ อ ยำกจะมี หุ่ น ฮ อ ต เ ป๊ ะ เ ว อ ร์ ใ น ฝั น เหมือนเธอ นอกจำกบทบำท ก ำ ร เ ป็ น น ำ ง แ บ บ แ ล ะ สปอร์ตตีเ้ กิรล ์ แล้ว อีกด้ำนหนึง่ เธอก็ เ ป็ น ผู้ ก่ อ ตั้ ง แบรนด์ ชุ ด ว่ ำ ย น�้ ำ ใ น ชื่ อ M E R A Swimwear ซึ่ ง ไลฟ์ ส ไตล์ ทั้ ง หมดเป็ น แพสชั น ที่ เ ธอ เลือกผสมผสำนเข้ำกับชีวิต ประจ�ำวันได้อย่ำงลงตัว

My Life, My Style, My Rules “นอกจากการบ้าออกก�าลังแบบสุดๆ เหมือนทีค่ น เห็นเราอยูใ่ นไอจี ช่วงนีแ้ พรก�าลังโฟกัสกับการไปเข้าคอร์ส เรียนเทรนเนอร์แบบจริงจังเลย คือเราไม่ได้อยากเป็น เทรนเนอร์นะ แต่แพสชันของเรามาในสายนีแ้ ล้ว เราก็อยาก จะหาความรูม้ าเติมให้กบั ตัวเองมากขึน้ เพราะเราก็ไม่อยาก ให้ความรูผ้ ดิ ๆ กับคนอืน่ กับงานอีกอย่างทีท่ า� อยูค่ อื การเปิด แบรนด์ชดุ ว่ายน�า้ ของตัวเอง ชือ่ แบรนด์ MERA Swimwear เพราะว่าเป็นคนชอบใส่ชุดว่ายน�า้ ชอบไปทะเล ซึ่งอันนี้ ก็นชี มาร์เกตนิดหนึง่ เพราะว่าคนไทยส่วนใหญ่ไม่กล้าใส่ ชุดแบบที่เราท�า แต่เรามักจะเลือกท�าทุกอย่างในแบบที่ ตัวเองชอบก่อน” Active Living, Active Learning “ตอนแรกแพรเป็นคนทีไ่ ม่ชอบออกก�าลังกายเลย ไม่กล้าใส่ชดุ ว่ายน�า้ แต่ทเี่ รามาเริม่ ท�าเพราะว่ามันมาจาก การที่เราไม่ชอบหุ่นตัวเองก่อน เลยพยายามหาวิธีง่ายๆ ที่ไม่ต้องออกก�าลังกาย แต่ท�าไปท�ามามันก็ไม่ได้ผล แต่ การออกก�าลังกายได้ผลไม่ใช่แค่เฉพาะหุน่ แต่เราได้สขุ ภาพ ได้ทศั นคติในการใช้ชวี ติ กลับมาเยอะมาก แพรกลายเป็น คนทีม่ นั่ ใจขึน้ จากทีเ่ ป็นคนขีเ้ กียจ เนือยๆ ก็กลายเป็น คนแอ็กทีฟ และมุมมองจากที่เราชอบมองโลกว่าเรา ท�านูน่ ท�านีไ่ ม่ได้หรอก พอมาออกก�าลังกายแล้วมันท�าให้ เรารู้สึกว่าได้ท�าอะไรหลายๆ อย่างถ้าเราตั้งใจ “พอกิจกรรมส่วนตัวเป็นแบบนี้ แพรเลยจะชอบ อยู่ในพืน้ ทีก่ ว้างๆ มีอปุ กรณ์ให้เราออกก�าลังกาย อาจจะ ไม่จ�าเป็นต้องครบ เพราะเล่นฟรีเวตอยู่แล้ว แต่อาจจะ ต้องมีดัมเบล มีเวตให้เรานิดหนึ่ง หรือสระว่ายน�้าที่เป็น เอาต์ดอร์มีแดดลง เราอยากท�ากิจกรรมหลายๆ อย่าง ของเราให้จบในที่เดียวจะได้ไม่ต้องไปไหน เพราะแค่ ท�างานแต่ละวันเอาจริงๆ ก็ยุ่งอยู่แล้ว ถ้าเรารวมฟังก์ชัน ทุกอย่างที่จา� เป็นมาไว้ได้จะดีมากๆ เลย”

issue 549 30 JUL 2018

Extend Your Style “เราว่าชีวิตที่มีสีสันมันคือการเปิดประสบการณ์ ใหม่ๆ นะ เหมือนอย่างที่แพรเล่าว่าเมื่อก่อนเราเป็นคนที่ ไม่ชอบออกก�าลังกาย และคิดว่าหลายๆ อย่างเป็นไปไม่ได้ แต่พอเราได้ออกไปลองท�ามัน ไปลองอะไรหลายๆ อย่าง จนเจอสิ่งที่เราชอบ และถ้าสิ่งเหล่านั้นมันท� าให้เรามี ความสุข ส�าหรับแพรนั่นคือการท�าให้ทุกอย่างในชีวิต มีคุณค่าแล้ว”

ห ล ำ ย ค น นึ ก ไ ม่ ถึ ง ว่ ำ มื อ กี ต ำ ร์ ห นุ่ ม ห ล่ อ จ ำ ก ว ง Slur อย่ำง ‘เฮ้าส์’ - สรศักดิ์ จั น ทรมั ณ ฑนา จะมี แ พสชั น หลำยอย่ ำ ง ทั้ ง เป็ น ผู้ ก่ อ ตั้ ง ร้ำน selected shop ที่รวม สินค้ำแฟชั่นจำกทั่วทุกมุมโลก มำไว้ในทีเ่ ดียว ก่อตัง้ โรงคัว่ กำแฟ และคำเฟ่ ที่ เ ยี่ ย มทั้ ง รสชำติ และสไตล์ จ นกลำยเป็ น แหล่ ง แฮงเอำต์ ข องวั ย รุ่ น ยุ ค ใหม่ ไ ด้ อะไรที่ท�ำให้เขำสำมำรถโฟกัส ใ น ก ำ ร ส ร้ ำ ง ส ร ร ค์ แ ล ะ ท� ำ ห ล ำ ย ๆ สิ่ ง ห ล ำ ย ๆ อ ย่ ำ ง ไปพร้อมกันแบบนี้ได้ เขำจะมำ แชร์ให้เรำฟัง

My Life, My Style, My Rules “ทุกวันนีผ้ มมีสงิ่ ทีใ่ ห้โฟกัสอยูส่ ามอย่าง อันแรก เลยก็คือร้านที่ชื่อว่า Onion เป็น selected shop เป็นร้าน ที่น�าเข้าสินค้าแฟชั่นจากหลายๆ ประเทศ มีหน้าร้าน อยู่ที่เอกมัยและก็มีการขายออนไลน์ อย่างที่สองเป็น Brave Roaster เป็นโรงคั่วกาแฟและคาเฟ่ ซึ่งเป็น โปรเจ็กต์ที่ท�ากับหุ้นส่วนอีกสองคน และอย่างสุดท้าย ก็คือการเป็นมือกีตาร์ของวง Slur กับค่ายสมอลล์รูม ซึ่งดนตรีกับแฟชั่นสองสิ่งนี้เป็นแพสชันที่มันเชื่อมกัน อยู่แล้วของผม และกาแฟเป็นการค้นหาด้านใหม่ๆ ของชีวติ เพราะเป็นด้านทีเ่ ราไม่ได้เชีย่ วชาญมาก แต่เรา ก็สนุกและทุ่มเทให้ทุกๆ อย่างเหมือนกัน” My Personalised Space “ผมชอบที่จะเอาทุกอย่างมารวมไว้ในห้องนอน เพราะผมสามารถจัดการงานต่างๆ แบบเร็วๆ ได้ มีอปุ กรณ์ อัดเสียงอยู่บนโต๊ะ มีคอมพิวเตอร์ เวลาที่เราตื่นมามี ไอเดียในการท�าเพลง เราก็สามารถบันทึกมันได้ทันที และก็สามารถท�าระบบหลังบ้าน งานเอกสารของทั้งที่ ร้าน Onion และ Brave Roaster ได้ด้วย ผมพยายามจัด ให้ทั้งสามงานของผมท�าในโต๊ะเดียวกันได้ เพราะฉะนั้น พืน้ ทีก่ ารท�างานซึง่ จริงๆ เป็นห้องนอน (หัวเราะ) ก็จะส�าคัญ ที่สุดในบ้าน แต่ที่เล่าแบบนี้ไม่ได้หมายความว่าเราจะ ท�างานทุกอย่างได้หมดนะ แต่อย่างน้อยเราต้องจัดการ ให้เยอะที่สุดก่อนที่จะไปถึงออฟฟิศจริงๆ “บางทีเวลาทีผ่ มไปมองหาคอนโดฯ หรือทีอ่ ยูใ่ หม่ ถ้าเน้นพื้นที่พักผ่อนมากเกินไปผมอาจจะไม่ค่อยชอบ เพราะผมไม่ ไ ด้ รู ้ สึ ก ว่ า การท� า งานมั น คื อ การท� า งาน ขนาดนั้น เราสนุกกับมันและก็เป็นส่วนหนึ่งในชีวิต ไปแล้ว การดูหนังเพื่อพักผ่อนเลยอาจไม่จ�าเป็นต่อผม เท่าไหร่ ผมเชื่อว่าแต่ละคนมีตัวตนของตัวเอง บ้านเป็น พืน้ ทีท่ บี่ อกตัวตนของแต่ละคนเลย บางคนอาจจะอยาก มีทีวีในห้องน�้าก็ได้ (หัวเราะ)” Extend Your Style “ผมว่าโลกทุกวันนี้ทุกอย่างมันเร็วมาก บางที อีกปีสองปีเราอาจจะไม่พอใจในสิง่ ทีเ่ รามีหรือท�าอยูก่ ไ็ ด้ อาจจะไม่ได้มคี วามชอบสามอย่างแล้วก็ได้ อาจจะเหลือ หนึง่ อย่างและมีอย่างอืน่ โผล่ขนึ้ มาแทน สภาพแวดล้อม รอบๆ ตัวเราจึงต้องง่ายต่อการปรับเปลี่ยน ไม่ใช่ว่าเรา ต้องมารื้อถอนมันใหญ่โต เราอยากได้พื้นที่อยู่อาศัย ที่หมุนเปลี่ยนได้ ถ้าฟังก์ชันมันรองรับตรงนั้นก็ถือว่า ตอบโจทย์คนรุ่นผมนะ”


33

07. CHATCHAWARN JANTHACHOTIBUTR 06. NALINNA LI Artist / Founder of Forest Bake นลินนา ลี ศิลปินสำว หน้ำหวำนผูห ้ ลงรักกำรท�ำงำน ออกแบบ กำรจัดดอกไม้ และ กำรอบขนมปัง ซึง่ เธอรวบรวม ไลฟ์ ส ไตล์ ส่ ว นตั ว เหล่ ำ นั้ น จนกลำยเป็นคำเฟ่สุดอบอุ่น Forest Bake ซึ่งล่ำสุดก็เพิ่ง ขยำยป่ ำ สี เ ขี ย วของเธอจำก เชียงใหม่ มำเปิดสำขำเพิ่มที่ กรุงเทพฯ อีกด้วย นอกจำกนี้ เธอยั ง มี บ ทบำทในกำรท� ำ สไตลิงให้กบ ั สินค้ำแบรนด์ดง ั จำกอเมริกำ รวมทัง ้ ออกแบบ ตกแต่งโรงแรมทีญ ่ ป ี่ น ุ่ อีกด้วย ซึ่ ง ทุ กงำนเธอล้ วนใส่ ตั วตน ของตัวเองลงไปอย่ำงเต็มที่

My Life, My Style, My Rules “การท�างานของลินทุกวันมันเป็นไลฟ์สไตล์เลย ถึงแม้ก่อนหน้านี้จะไม่มีร้านขนมปังก็ท�าแบบนี้ ลินจะมี รูทีนการใช้ชีวิตส่วนมากอยู่กับสเปซของตัวเองที่บ้าน อย่างลินจะมีการจัดดอกไม้ ท�าขนมกับคุณแม่ แล้วก็มี สเปซในการถ่ายรูปเพื่อที่จะท�าฟู้ดสไตลิงของตัวเอง จากนั้นก็กลับไปท�างานศิลปะที่ต้องมีสมาธิอยู่คนเดียว “ลินมองทุกอย่างในชีวติ เป็นเรือ่ งเดียวกัน ไม่ว่า จะเป็นการท�าขนม ถ่ายรูป จัดดอกไม้ ท่องเทีย่ วเดินทาง มันคือเรื่องเดียวกัน คือศิลปะ อยู่ที่เรามองมันอย่างไร เชื่อว่าทุกวันนี้คนจะมีหน้าที่การงานประจ�าของตัวเอง แหละ แต่ว่าเราได้แรงบันดาลใจเยอะแยะจากหลายๆ ด้าน ทุกอย่างมันเป็นแรงบันดาลใจ ขอแค่เราอย่าไปคิด ว่าเราท�าไม่ได้ ความคิดแบบนี้จะหยุดการเริ่มท�าอะไร ใหม่ๆ และท�าให้เราอยู่ในกรอบ แต่จงให้สิ่งรอบข้าง มาเป็นแรงบันดาลใจเหมือนที่ลินท�ากับทุกๆ สิ่งดีกว่า” My Personalised Space “ลินจะออกแบบพื้นที่ของตัวเองโดยดูจากแสง เป็นหลัก อย่างสมมติเวลาที่ลินจะท�างานอะไร จะใช้ แสงแดดเป็นที่ตั้งว่าแสงตอนเช้า ตอนบ่าย ตอนเย็น พื้ น ที่ ข องเราตรงนั้ น และแสงเหมาะกั บ การท� า อะไร เราพยายามที่จะใช้ธรรมชาติในการท�างานให้มากที่สุด อย่างถ้าจะท�าขนมต้องใช้สายตาเยอะ ที่ที่เราท�าก็ต้อง มีพื้นที่ใหญ่พอและมีแสงเข้า หรืออย่างการจัดดอกไม้ และวาดรู ป เราก็ จ ะท�า ข้ า งนอก อาจจะอยู ่ ใ นสวน หรือระเบียงที่มีแสงแดดส่องมาอ่อนๆ” Extend Your Style “เรารู้สึกว่ามันส�าคัญส�าหรับคนยุคนี้นะ ที่ต้อง ก้าวออกมาจากคอมฟอร์ตโซนของตัวเอง อย่างลินเอง ก็เพิ่งเปลี่ยน จากบ้านที่เคยอยู่กับคาเฟ่ที่มีต้นไม้เยอะๆ ที่เชียงใหม่ มาเปิดคาเฟ่ที่กรุงเทพฯ คือตอนแรกก็ไม่ชิน แต่ลินเชื่อว่าเราสามารถปรับตัว และขยายสไตล์ของ ตัวเองได้ อย่างจากเดิมที่ลินท�าจะเป็นป่าอย่างเดียว ตอนนี้กลายเป็น Forest x City อะไรแบบนั้นมันก็จะได้ อีกอารมณ์หนึ่ง”

Photographer / Founder of Q&A Bar นอกจำกจะเป็นช่ำงภำพ แนวสตรีทมำกฝีมือที่มีสไตล์ โดดเด่ น จนเข้ ำ ตำกรรมกำร แ ล ะ ไ ด้ รั บ คั ด เ ลื อ ก ใ ห้ เ ป็ น แบรนด์ แ อมบำสเดอร์ ใ ห้ กั บ กล้องถ่ำยรูปแบรนด์ดังอย่ำง Leica แล้ว ‘ชัช’ - ชัชวาล จั น ทรโชติ บุ ต ร ยั ง ท� ำ งำน อีกหลำยอย่ำง เช่น เป็นหุน ้ ส่วน ของ hidden bar ชื่อดังอย่ำง Q&A รวมทั้ ง เป็ น หุ้ น ส่ ว น ข อ ง ธุ ร กิ จ ก ร ำ โ น ล ำ ที่ ท� ำ ร่วมกับน้องชำยอีกด้วย เ ข ำ ใ ช้ พื้ น ที่ อ ยู่ อ ำ ศั ย เป็นทัง ้ พืน ้ ทีใ่ นกำรสร้ำงสรรค์ งำน และขยำยขอบเขต ควำมคิ ด บำลำนซ์ ชี วิ ต ของ ตัวเองให้มีควำมสุขในทุกด้ำน

My Life, My Style, My Rules “ผมคิดว่าเรื่องสเปซ โดยเฉพาะที่อยู่อาศัยนั้น ส�าคัญมากส�าหรับชีวติ ของคนเรา เพราะเป็นสถานทีซ่ งึ่ เรา ต้องใช้เวลาอยูด่ ว้ ยค่อนข้างจะเยอะ เราท�าอะไรทุกอย่าง อยู่ในพื้นที่นั้น ที่อยู่อาศัยเป็นทั้ง safe zone ที่ทา� ให้เรา รู้สึกอุ่นใจ เป็นที่ให้เราได้พักผ่อน เป็นทั้งสถานที่สา� หรับ การคิดเพือ่ เป็นบ่อเกิดแห่งความคิดสร้างสรรค์ เป็นสถานที่ ทดลอง เป็นอะไรต่อมิอะไร ซึง่ มีผลกระทบโดยตรงกับเรา “ทุกวันนีท้ อี่ ยูข่ องผมตอบโจทย์ทกุ อย่างในชีวติ ผม ทุกแง่มุม แค่ผมลุกขึ้นจากเตียงแล้วหยิบกล้องถ่ายรูป ก็สามารถเริม่ ท�างานได้แล้ว เพราะผมออกแบบปรับพืน้ ที่ ให้ภายในสเปซของเรานั้นมีสตูดิโอเล็กๆ ส�าหรับถ่ายรูป และเมือ่ เดินไปอีกห้องก็สามารถช่วยน้องชายอบกราโนลา และแพ็กของซึ่งเป็นธุรกิจที่เราท�าร่วมกัน พอเดินเข้าครัว ก็สามารถท�ากับข้าวกิน ปาร์ตเี้ วลามีเพือ่ นๆ มา เมือ่ อยาก ออกก�าลังกายก็มพี นื้ ทีส่ า� หรับเล่นโยคะ” Co-sharing Inspiration “ส�าหรับเรื่อง Co-sharing Facilities ซึ่งคนใน โครงการสามารถใช้ประโยชน์รว่ มกันได้ ผมคิดว่ามันเป็น อะไรที่วิเศษมากๆ เลย โดยเฉพาะถ้ามันเป็นสิ่งที่ตรง กับงานหรือไลฟ์สไตล์ของเรา อย่างเช่นส�าหรับตัวผมเอง เนี่ ย ถามว่ า มี สิ่ ง อ� า นวยความสะดวกแบบไหนที่ ผ ม ต้องการ คือถ้ามีสตูดิโอถ่ายรูปนี่ก็จะเยี่ยมมากๆ เพราะ มันมีประโยชน์สา� หรับอาชีพของผม หรือหากมีหอ้ งท�างาน มีห้องประชุม มีห้องสมุดที่มีหนังสือให้เราเปิดดูแล้วก็ คิดอะไรออก มีทรัพยากรอะไรที่สามารถใช้ประโยชน์ ร่วมกันได้ มันก็จะตอบโจทย์คนในยุคปัจจุบันที่ท�างาน อิสระในลักษณะนี้กันเยอะขึ้น “ผมเชื่อว่า ถ้าที่อยู่อาศัยสามารถมีส่ิงเหล่านี้ แทรกเข้ามาได้ ก็จะท�าให้การคิดสร้างสรรค์ของเราดีขึ้น อีกเยอะ เพราะไม่ต้องเสียเวลาย้ายจากที่หนึ่งไปยังอีก ที่หนึ่งเพื่อใช้บริการหรือหาแรงบันดาลใจจากสิ่งเหล่านี้ เพราะอย่างหนึ่งที่เราต้องยอมรับก็คือระบบคมนาคม ขนส่ ง ในเมื อ งของเรานั้ น ใช่ ว ่ า จะดี แค่ ฝ นตกรถติ ด รถไฟฟ้าเสีย ก็ทา� ให้เราหมดเปลืองเวลาและพลังงานไปกับ สิ่งเหล่านั้นแล้ว พลังที่จะคิดสร้างสรรค์ได้ก็ยิ่งลดลง” Extend Your Style “การได้ แ ชร์ พื้ น ที่ แ ละสิ่ ง อ�า นวยความสะดวก ยังเอื้อให้เกิดการแชร์ความคิดกันอีก ซึ่งก็สามารถช่วย ปลดล็อกความคิดของคนเราได้เหมือนกันนะ และมัน เหมือนเป็นการขยายขอบเขตทางความคิดของตัวเราเอง ส�าหรับผม การ ‘Extend Your Style’ มันหมายถึง ทุกๆ เรื่องเลยนะ มันเป็นสไตล์ทางความคิด ซึ่งถ้าเรา สามารถขยายขอบเขตและปลดล็อกมันได้ ก็จะบาลานซ์ และท�าให้เรารู้สึกมีความสุขกับชีวิตขึ้นมาได้”


a day BULLETIN

34 “ผมรูส ้ ก ึ ว่ำในเรือ ่ งของสไตล์ มันไม่จำ� เป็น ว่ ำ คนเรำต้ อ งเก่ ง เท่ ำ กั น ทุ ก คนมี ส ไตล์ เป็นของตัวเอง”

08. AWAT RATANAPINTHA Actor / Musician หลำยคนคงจ� ำ หนุ่ ม ‘อัด’ - อวัช รัตนปิณฑะ ได้ จำกซีรีส์ดังจำกค่ ำยจีดีเอช อย่ำง ฮอร์โมน วัยว้ำวุ่น แต่ ห ล ำ ย ค น อ ำ จ ยั ง ไ ม่ รู้ ว่ ำ นอกจำกฝีมอ ื ทำงกำรแสดง แล้ว หนุ่มคนนี้ยังมีควำมหลงใหลในเสียงดนตรีอย่ำง ถอนตัวไม่ขึ้นอีกด้วย ซึ่งเขำ ได้ ข ยำยแพสชั น นี้ อ อกมำ ท�ำวงดนตรีกบ ั เพือ ่ นๆ ในชือ ่ วง Mints สังกัดค่ำย What the Duck ลองไปคุยกับเขำ ดู ว่ ำ อ ะ ไ ร ท� ำ ใ ห้ เ ข ำ ส นุ ก กั บ กำรจั ด กำรควำมกลั ว แ ล ะ ท ด ล อ ง ท� ำ สิ่ ง ใ ห ม่ ๆ ในทุกๆ วันแบบนี้

My Life, My Style, My Rules “ถ้าไม่นับเรื่องเรียน ตอนนี้ผมโฟกัสอยู่ 2 อย่าง หลักๆ คือการเป็นนักแสดง กับการท�าวง Mints ซึ่งเป็น เพลงอัลเทอร์เนทีฟพ็อพ ซึ่งที่ผมสนใจสองอย่างนี้มันมา จากตอนเด็กๆ ที่พ่อของผมเขาเปิดร้านเหล้า ผมก็จะได้ เห็นวงดนตรีสดเล่นเพลงนู้นเพลงนี้ตลอดเวลา ผมว่า ผมซึมซับด้านดนตรีมาตั้งแต่ตอนนั้น แล้วตอนเด็กๆ พ่อกับแม่กเ็ ปิดหนังให้ดู มันเหมือนเลยซึมซับทัง้ สองอย่าง ทั้งเรื่องดนตรีและการแสดง “แต่จดุ พลิกผันคือผมมีโอกาสได้ไปลองเล่นโฆษณา ตอนอายุ 15 และผมรูไ้ ด้ทนั ทีเลยว่านีค่ อื ความชอบของเรา ตัง้ แต่เกิดมาท�าไมเราไม่เคยมีความสุขขนาดนี้ เป็นเปลาะแรก ที่ท�าให้เรากล้าลุกออกมาท� าอะไรที่เป็นตัวเองแบบนี้ ทุกอย่างมาจากการได้ลองท�า ส่วนเรื่องเพลง แม้เราจะ มีความฝันมาตั้งแต่เด็ก แต่เหมือนเราไม่ได้ไปสนใจและ ไม่ คิ ด ว่ า เราจะท� า ได้ แต่ พ อเราโตมาอี ก ระดั บ หนึ่ ง ครูที่สอนเราร้องเพลงอย่าง พี่โบ๊ท วงสมเกียรติ บอกว่า เรามีศกั ยภาพนะ เราน่าจะไปได้ เหมือนจุดประกายความรูส้ กึ เราว่า หรือที่ผ่านมาเรากลัววะ ผมก็เลย เอาวะ ลองดู” My Personalised Space “ผมเป็นคนติดกับเรือ่ งโลเคชันเวลาท�างาน อยากให้ พืน้ ทีม่ นั โล่งและไม่รบกวนความคิดเราหรือเวลาการท�างาน เรา ถ้าผมอยู่ในที่ที่มันแคบมากๆ ผมจะรู้สึกอึดอัดกับ การท�างาน หรือถ้าผมไปอยู่ในที่ที่มันเสียงดังมีรถผ่าน ผมก็จะรู้สึกไม่มีสมาธิ เลยรู้สึกว่าโลเคชันมันมีความส�าคัญไม่ว่าจะท�าอะไรทุกอย่าง จะแต่งเพลง อ่านบท หรือว่าบางทีเราต้องซ้อมบทอยู่ที่บ้านคนเดียว “อีกอย่างส�าหรับผมคิดว่ามันจ�าเป็นที่เราต้อง ออกไปเจอกับคนใหม่ๆ ไปเจอกับสิ่งใหม่ๆ โดยเฉพาะ ถ้าเราอยูใ่ นสายงานนี้ เพราะถ้าเราเปิดมุมมองทีเ่ รามีตอ่ ทุกๆ อย่างก็จะกว้างขึน้ บางทีทเี่ ราอยูใ่ นกรอบของเราเอง เราคิดว่าเรารู้เยอะแล้ว แต่มันไม่มีทางเยอะเกินที่เรามี บางทีทเี่ ราออกไปใช้ Co-sharing Space เราอาจไปเจอคน ที่ไลฟ์สไตล์คล้ายๆ กัน แต่เขามีมุมมองใหม่กว่าก็ได้”

issue 549 30 JUL 2018

Extend Your Style “ทุกอย่างในชีวติ ท�าให้ผมรูส้ กึ ว่าในเรือ่ งของสไตล์ มันไม่จ�าเป็นว่าคนเราต้องเก่งเท่ากัน ทุกคนมีสไตล์ เป็นของตัวเอง แต่ถา้ เรารูว้ า่ เราท�าสิง่ ไหนได้ดี และชัดเจน ในสิง่ ทีเ่ ราเป็น มันก็ไปได้ของมัน และในแต่ละคนสามารถ มีหลายบทบาท มีหลายแพสชันได้ มนุษย์เราเก่งนะครับ ผมว่าถ้าเราเชื่อในสิ่งที่เราท�า ทุกอย่างมันสามารถไปได้ ในแบบของมัน มันไม่มีค�าว่าเป็นไปไม่ได้บนโลกใบนี้ เราท�าได้หมด มันอยู่ที่ว่าเราจะท�าหรือเปล่า”

09. JIRAYU KOOARMORNPATANA Artist / Food Blogger เรำคงคุ้ น เคยผลงำน ของศิ ล ปิ น สำวอย่ ำ ง จิ ร ายุ คูอมรพัฒนะ กันดี เพรำะเธอ เป็ น หนึ่ ง ในอิ ล ลั ส เตรเตอร์ แถวหน้ ำ ของเมื อ งไทยที่ มี ผ ล ง ำ น กั บ แ บ ร น ด์ ใ ห ญ่ ๆ อยูต ่ อ ่ เนือ ่ ง แต่ในอีกด้ำนหนึง ่ เธอเป็นนักชิมตัวยง ทีเ่ รียกว่ำ กิ น จนกลำยเป็ น งำนไปแล้ ว ในบทบำทฟู้ ด บล็ อ กเกอร์ ในชื่ อ wearekinkin ใน อินสตำแกรม ลองไปส�ำรวจ ชี วิ ต ข อ ง เ ธ อ ว่ ำ ใ น พื้ น ที่ ทีใ่ ช้สร้ำงสรรค์งำนทุกอย่ำง เธอออกแบบมันอย่ำงไร

My Life, My Style, My Rules “ตอนนีน้ อกจากจะท�างานศิลปะ เป็นอิลลัสเตรเตอร์ เหมือนทีใ่ ครๆ รูแ้ ล้ว อีกหนึง่ อย่างทีท่ า� ร่วมกับพาร์ตเนอร์กค็ อื บล็อกชือ่ wearekinkin ในนัน้ ก็จะเป็นแพสชันของเราเรือ่ งอาหาร เพียวๆ เลย ความชอบเรื่องอาหารนี่มันมาโดยไม่รู้ตัวตั้งแต่ สมัยไปเรียนศิลปะที่เมืองนอกแล้วล่ะ เพราะว่าที่นั่นต้องท�า อาหารเอง ไปเดินซูเปอร์มาร์เกต ไปเดินตลาด ท�าให้เราเริม่ สนใจ ในรสชาติ สนใจในกลิ่น บวกกับแฟนชอบถ่ายรูป ก็คิดว่า เอาความชอบของเราตรงนีม้ าท�ามันให้ดไี ปเลยดีกว่า ตอนนี้ เลยกลายเป็นกึ่งงานอดิเรกกึ่งงานไปแล้ว (หัวเราะ) “เพราะว่าเราเป็นฟรีแลนซ์ ก็เลยต้องท�างานที่บ้าน เป็นหลัก เราจะใส่ใจกับทีท่ เ่ี ราอยูม่ ากๆ อย่างห้องนัง่ เล่นก็จะ ท�าให้ใหญ่กว่าห้องนอน เพราะว่าเราใช้เวลากับตรงนัน้ เยอะ ซึ่งเราว่าทุกๆ คนคิดเหมือนกันแหละว่าต้องปรับที่ที่เราอยู่ ให้ เ ข้ า กั บ ตั ว เอง เพราะทุ ก วั น นี้ ทุ ก คนมี ส ไตล์ ที่ ชั ด เจน บางคนอาจจะชอบท�างานในห้องนอนด้วยซ�า้ บ้านส�าหรับเรา มันคือที่ที่อยู่แล้วสบายใจ อาจจะวางของเกะกะเตะของพัง บ้าง แต่นี่คือที่ปลอดภัยของฉัน บางวันเราออกไปต่อสู้กับ รถติด ไปต่อสู้กับการงานมามากมาย กลับมาบ้านอยากให้ มันเป็นที่ที่เรารู้สึกว่าพอแล้ววันนี้” Co-sharing Inspiration “ตอนที่ เ ราเรี ย นที่ เ มื อ งนอกเราเห็ น ว่ า มั น มี Cosharing มานานแล้ว และโปรเจ็กต์บางโปรเจ็กต์ของศิลปิน จริงๆ มันสามารถเกิดขึ้นได้เพราะว่าเราได้เจอคนที่แชร์ ไอเดียท�างานอยู่ข้างๆ เรา และเราก็รู้สึกว่าคนนั้นท�าอันนี้ เราท�าอันนีไ้ ด้ มันก็เกิดเป็นการ collaboration ได้ งานของเรา บางทีมันเป็นงานที่ต้องใช้พื้นที่เยอะ ซึ่งห้องนอนของเราท�า ไม่ได้แน่ๆ Co-sharing Space ก็เป็นสิ่งที่จะตอบโจทย์ตรงนี้ เพราะว่าเราต้องการพื้นที่มากขึ้น เพื่อให้งานเราดีขึ้น” Extend Your Style “ก่อนหน้านี้เราเป็นคนที่ท�างานอยู่กับตัวเองเยอะ คิดว่าต้องจัดการทุกอย่างได้ด้วยตนเอง มันก็จะท�าให้เรา จ�ากัดการท�างานไปในตัว เพราะเราไม่สามารถท�าเองได้ ทุกอย่างหรอก จนเราเปิดตัวเองไปท�ากับคนอื่นๆ ปล่อยให้ บางงานมีคนที่ถนัดกว่าจริงๆ มาช่วยท�ามัน กลายเป็นว่า เราได้ชิ้นงานที่ดีมากขึ้น และมัน extend งานของเราออกไป ซึ่งมันมากกว่าที่เราเจออะไรใหม่ๆ ด้วยนะ เพราะบางทีเรา เจอตัวเองในนั้น”


XT EXTEND YOUR STYLE

EXPLORE YOUR SPACE – PERSONALISED ROOM LAYOUTS

EXPAND YOUR LIFESTYLE - CO-SHARING FACILITIES AT ANY XT CONDOMINIUM

ค้นพบสไตล์ที่ใช่คุณ ที่ XT Condominium ปัจจุบนั คนยุคมิลเลเนียลมักจะมีแพสชัน่ หลายๆ อย่างผสมอยูใ่ นตัว พร้อมกัน นัน้ ก็มีไลฟ์สไตล์การใช้ชวี ติ ทีห่ นักแน่นกับความคิดของตัวเอง และทีส่ า� คัญทีส่ ดุ คือต้องการมีอสิ ระหลุดจากข้อจ�ากัดในชีวติ ของตัวเอง ด้วยเหตุนแี้ สนสิรจิ งึ ได้ เปิดตัว เอ็กซ์ที ไลฟ์สไตล์คอนโดมิเนียม ที่มาพร้อมคอนเซ็ปต์ Extend Your ุ ออกแบบพืน้ ทีส่ ว่ นตัวทีใ่ ช่ และค้นพบไลฟ์สไตล์ใหม่ๆ ในชีวติ ร่วม Style ให้คณ Sharing ประสบการณ์กับเพื่อนใหม่ Expand Lifestyle ได้ไม่รู้จบ

จุดเด่นแรกของ เอ็กซ์ที คอนโดมิเนียม ที่หลุดออกจากทุกข้อจ�ากัด เดิมๆ คือ จะชัน้ ไหน วิวไหน ก็สามาถเลือกเพิม่ พืน้ ทีห่ อ้ งไหนก็ได้ให้ใหญ่ขนึ้ ตาม สไตล์คุณ มากถึง 6 รูปแบบด้วยกัน เช่น ห้อง The Snoozy Head ห้องนอ นกว้างๆให้สายชิลได้ชาร์จแบตชีวิตในวันหยุดได้เต็มที่ ตอบโจทย์สายแฟชั่น ด้วยห้อง The Fashionista ที่มี walk in closet ขนาดใหญ่ The Visionary เพิ่มพื้นที่ท�างานส�าหรับรองรับทุกไอเดียใหม่ๆ ส่วนคนที่รักการปาร์ตี้ก็ต้อง ห้องสไตล์ The Party Goer เพิ่มพื้นที่ห้องนั่งเล่นอย่างเต็มที่ ไม่ว่าคุณจะมี ไลฟ์สไตล์สายไหนก็สามารถเลือกได้ในแบบคุณ

ุ เติมเต็มชีวติ ด้วยไลฟ์ ไฮไลต์ตอ่ มาเป็นปรากฏการณ์ครัง้ แรก ทีใ่ ห้คณ สไตล์ใหม่ๆ กับ Co-Sharing Facilities ทีห่ ลากหลายและแตกต่างกันไป ซึง่ คุณ สามารถไปใช้พนื้ ทีส่ ว่ นกลางพิเศษนี้ได้ในทุก XT คอนโดฯ ทัง้ Co Work / Play Space พืน้ ทีท่ ปี่ รับเปลีย่ นได้ไม่วา่ จะเล่นหรือท�างาน ที่ XT เอกมัย Photo Studio และ Arts & Crafts Studio ทีร่ วมไว้ท่ี XT ห้วยขวาง ส�าหรับสายอาร์ตให้ได้ สร้างสรรค์ผลงานกันอย่างเต็มที่ ปิดท้ายด้วย Creative Playground XT พญาไท ปิดให้สนุกและผ่อนคลายจินตนาการไปกับ VR GAME ROOM ุ สนุกกับไลฟ์สไตล์ใหม่ๆ เจอเพื่อนใหม่ๆ และแรงบันดาลใจดีๆ ให้คณ ได้ในทุก XT condominium ...รวมถึง XT ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตด้วย

3-5 สิงหาคมนี้ ค้นพบสไตล์ ใหม่ของคุณที่งาน PRE-SALE XT NEW LIFESTYLE CONDOMINIUM ณ ลาน PARC PARAGON พบยูนิตราคาพิเศษ* ในงานเท่านั้น สนุกกับไลฟ์สไตล์ ใหม่ๆ พร้อมกิจกรรมพิเศษมากมายในแบบ XT ค รั้ ง แ ร ก กั บ X T Flexible Furniture ใ ห ้ คุ ณ เ พิ่ ม พื้ น ที่ ใ ช ้ ส อ ย ไ ด ้ เ พี ย ง ปลายนิ้ว

X T Bar-Hopping บาร์ลบั ฉบับ XT ทีป่ รับ เ ปลี่ ย นบรรยากาศ เปลีย่ น Location ได้ ใน พริบตา

มันส์กับ XT Live Virtual Exercise, ICAROS VR Planking Machine

XT Mash Up สนุก สุดเหวี่ยงกับ Electronic & Acoustic Sound จาก Dudesweet & Deville และ DJ Paulie

ลงทะเบียนรับข้อเสนอพิเศษ www.sansiri.com /XT #ExtendYourStyle #SansiriXT #SansiriBestYearEver

XT Signature อาหาร และเครือ่ งดืม่ เมนูพเิ ศษที่ ค รี เ อทส� า หรั บ XT เ ท่ า นั้ น และยั ง มี XT highlights อีกเพียบที่ คุณไม่ควรพลาด


a day BULLETIN

18

A MUST

หนีตายลงไปชั้นใต้ดิน หลังจากเหตุการณ์ สงบ ทุกคนขึน้ มาต่างร้องเรียกหากันและกัน เพื่อให้มั่นใจว่าไม่มใี ครจากไปไหน แต่ก็มี คนบาดเจ็บสาหัสและเสียชีวติ ในเวลาต่อมา เขาคนนัน้ คือเพือ่ นตัวน้อยของบานานัน่ เอง เธอยัง คงกลัว ตายเหมือ นเพื่อ นของเธอ แต่เธอก็พยายามท�าความเข้าใจและอธิษฐาน ขอให้ไม่มใี ครตายอีก ไม่ใช่แค่คนในครอบครัว ของเธอ เมือ่ อ่านถึงตอนสุดท้าย เรากลับดีใจ ไปด้วยทีบ่ านาอยูร่ อดปลอดภัย และมีหวั ใจ ที่เข้มแข็ง จากการน�าทางด้วยการขอพร แรงอธิษ ฐาน และหนทางที่คนตัวเล็ก ๆ

อย่างเธอพอจะท�าได้ในเหตุการณ์ความรุนแรงทีเ่ กิดขึน้ ในบ้านเกิดของเธอ รวมไปถึง ทีอ่ นื่ ๆ ทัว่ โลก เราแสนจะโล่งใจว่าเธออพยพ ไปยังตุรกีได้สา� เร็จ แม้วา่ ระหว่างทางจะลุน้ กันแทบแย่ สุ ด ท้ า ยในฐานะคนอ่ า นและตั ว ผูเ้ ขียนเองก็หวังว่า เรือ่ งราวของเธอจะเป็น หนึ่งในแรงบันดาลใจในการใช้ชีวิตต่อไป ได้อย่างเข้มแข็ง เฝ้ารอวันเวลาฟ้าใหม่ดว้ ย หัวใจที่กล้าหาญ และลงมือท�าบางอย่าง เพือ่ สังคมและเพือ่ โลกต่อไปได้ (ส�านักพิมพ์ นานมีบุ๊คส์ / ราคา 225 บาท)

BEAUTY

PALETTE OF THAILAND BY ORIENTAL PRINCESS issue 549 30 JUL 2018

ยอมรับว่าเป็นหนึง่ ในผูห้ ญิงทีช่ นื่ ชอบเครือ่ งส�าอางและผลิตภัณฑ์ดแู ลผิวของแบรนด์ Oriental Princess มาก เพราะโดยส่วนตัวเมื่อใช้แล้วให้ความรู้สึกเหมือนเป็นเจ้าหญิงตัวน้อยๆ น่าทะนุถนอม กระทัง่ มาเจอคอลเล็กชันใหม่ทไี่ ม่ควรพลาด Palette of Thailand กับแนวคิดสุดเก๋ทดี่ งึ แหล่งท่องเทีย่ วของไทย มาปรับให้เป็นเครื่องส�าอางโทนสีต่างๆ อาทิ โทนสีนา�้ ตาล-ส้ม-ทอง จากสามพันโบก จ.อุบลราชธานี โทนสีเทา-ฟ้า จากดอยหลวงเชียงดาว จ.เชียงใหม่ หรือโทนสีเขียวน�า้ ทะเลและทองจากสระมรกต จ.กระบี่ คนที่ชอบแบรนด์น้เี หมือนกัน สามารถหาซื้อได้แล้วที่เคาน์เตอร์ Oriental Princess ทุกสาขา

ภาพยนตร์ญี่ปุ่นแนวดราม่า ที่เน้นเรื่องราวของค�าว่าครอบครัว ก็กลับมาอีกครั้ง หลังจากที่เราได้ดู เรื่อง Our Little Sister เมื่อปี 2015 หรือเรื่อง What’s for Dinner, Mom? ในปี 2016 ที่สร้างความประทับใจ อย่างท่วมท้น มาในปีนี้ ญีป่ นุ่ ก็กา� ลัง จะปล่อย Shoplifters หนังครอบครัว ระดั บ รางวั ล จากคานส์ ม าให้ ช ม ซึ่งเป็นเรื่องราวของผู้เป็นพ่อที่เป็น กรรมกรแต่ มี อ าชี พ เสริ ม เป็ น โจร ลักเล็กขโมยน้อย โดยมีลูกชายอยู่ หนึง่ คน และไปเจอเด็กหญิงพลัดหลง อีกหนึง่ คน จนภรรยาของเขาไม่พอใจ แต่ครอบครัวนีท้ รี่ วมทัง้ น้า ยาย ก็ชว่ ย ดูแลเด็กหญิงเป็นอย่างดี จนมาเจอ จุดหักมุมที่ท�าให้ความสุขนั้นต้อง สั่ น คลอน รอพิ สู จ น์ เ รื่ อ งราวของ ครอบครัวนี้ได้ในวันที่ 2 สิงหาคมนี้ ในโรงภาพยนตร์

GETSUNOVA CONCERT ATMOSPHERE

หนังสือเล่มนีจ้ งึ เป็นเสมือนตัวแทน ค�าบอกเล่าของเหตุการณ์ทผี่ า่ นมา ซึง่ เป็น ถ้อยค�าของบานาเอง สลับกับจดหมาย ที่ เ ขี ย นด้ ว ยความรั ก ของแม่ พร้ อ มมี ภาพประกอบเพื่ อ ให้ เ ห็ น ถึ ง บรรยากาศ เพือ่ ให้เราเห็นสารทีอ่ ยากต้องการถ่ายทอด ได้ชัดเจนขึ้น เรื่องราวค่อยๆ เข้มข้นขึ้นเมื่ออ่าน มาถึงช่วงกลางๆ ของเล่ม อย่างตอนหนึ่ง ที่กล่าวถึงเรื่อง ‘ตายแล้วจะรู้สึกอย่างไร’ บานาได้เล่าถึงเหตุการณ์ในวันนั้นว่าเธอ ต้องเจอกับเสียงดังสนั่นหวั่นไหว ซึ่งเธอรู้ อยู่แล้วว่าเป็นระเบิด ครอบครัวของเธอ

ORLD

ABOUT AUTHOR บานา อัลอาเบด (Bana Alabed) นักเล่าเรื่องตัวน้อย เกิดเมื่อปี 2009 ที่เมืองอะเลปโป ประเทศซีเรีย ก่อนที่หนังสือของเธอจะตีพิมพ์ บานาเป็นที่รู้จักในโลกโซเซียลหลังจากทวีตข้อความว่า “หนูต้องการสันติภาพ” ในเหตุการณ์ปิดล้อมเมืองที่เธอเกิดเมื่อปี 2016 และข้อความอื่นๆ ท�าให้มีผู้ติดตามอ่านเรื่องราวของเธอเป็นจ�านวนมาก ท้ายสุดได้รวบรวมมาเป็น Dear World หนังสือเล่มแรกของเธอ

หนึง่ ในหนังสือทีน ่ อกจาก จะสร้างแรงบันดาลใจ ชัน ้ ดีให้กบ ั คนอ่านแล้ว เรายังเชื่อว่า Dear World โลกที่ รั ก โดย บานา อัลอาเบด นักเขียนวัย 7 ขวบ ชาวซีเรีย เล่มนี้มีดี พอทีจ่ ะไปรวมอยูบ ่ น ชั้ น ว า ง ใ น ห ม ว ด ห นั ง สื อ เ ล่ ม โ ป ร ด ของคุณแน่นอน เพราะ เธอได้ บั น ทึ ก เรื่ อ งราว สะเทือนอารมณ์จากสงคราม ในซี เ รี ย ผ่ า นทวิ ต เตอร์ โดย บรรยายความน่ากลัวทีเ่ ธอกับพ่อ ที่ เ ป็ น ทนายความ แม่ ที่ เ ป็ น คุ ณ ครู และน้องชายอีกสองคนต้องพบเจอ รวมทั้ง ความหายนะอืน ่ ๆ ทีต ่ อ้ งเผชิญมาตลอด 4 ปี ซึง่ ตอนนัน ้ บานามีอายุได้เพียง 3 ขวบ และสุดท้ายครอบครัว ของเธอก็ต้องหนีความรุนแรงไปประเทศตุรกี

MOVIE

W

A R E D

SHOPLIFTER

BOOK

BOOK

บรรดาแฟนคลับ Getsunova เตรียมฟิตร่างกายให้พร้อม แล้วไป ร่ ว มร้ อ งเพลงที่ ช อบให้ สุ ด เสี ย ง ชมนั ก ร้ อ งสุ ด หล่ อ และมื อ กี ต าร์ สุ ด เท่ แ บบใกล้ ต า และเตรี ย ม กระโดดให้ไกลจากพื้นกับบทเพลง สนุกๆ ในคอนเสิร์ต Chang Music Connection presents Getsunova Concert Atmosphere คอนเสิรต์ ใหญ่ ครั้งแรกของพวกเขา ในวันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม 2561 ที่ธันเดอร์โดม เมืองทองธานี ซื้อบัตรได้แล้ววันนี้ท่ี www.thaiticketmajor.com หรือโทร. 0-2262-3456


19 COLLECTION

MARBLE & WOOD หากหนุ่มเออร์เบินนิสตาทั้งหลายก�าลังมองหาเบลเซอร์ตวั ใหม่อยู่ ทางแบรนด์ Marble & Wood ก็เพิง่ ออกคอลเล็กชันนีม้ าสดๆ ร้อนๆ ทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจจากแนวคิด Timeless Essential เน้นความสมาร์ตแบบมีกมิ มิกในลุกส์ Business Casual พร้อมพรีเซนต์ การใช้ชวี ติ ในวันท�างานอย่างมีระดับ คล่องตัวในทุกอิรยิ าบถ แถมเนือ้ ผ้าทีใ่ ช้ยงั เนีย้ บ ทุกกระเบียดด้วยผ้าอิตาเลียนวูลจาก Loro Piana สามารถกันน�า้ กันคราบเปือ้ นต่างๆ และไม่ยบั ง่าย ร่วมสัมผัสเบลเซอร์คณ ุ ภาพระดับพรีเมียมได้แล้ววันนีท้ ปี่ อ๊ ปอัพสโตร์ ชั้น M สยามดิสคัฟเวอรี

PRODUCT

SHED หากใครชืน่ ชอบศิลปะแบบ Terrazzo หรืองานหินขัดเป็นทุนเดิม เราขอแนะน�า Shed แบรนด์นอ้ งใหม่ทเี่ ปลีย่ นกระถางต้นไม้เซรามิกทีเ่ ป็นดินเผาแบบเดิมๆ ให้กลายเป็น งานศิลปะขนาดเล็กทีถ่ กู ต้นไม้แต่งแต้มอีกชัน้ โดยเสน่หเ์ ฉพาะตัวของ Shed คืองานหินขัด ทีม่ สี ว่ นผสมของปูนขัดจนเนีย้ บ เติมสีผสมซีเมนต์ ท�าเป็นลวดลายต่างๆ ตามแรงบันดาลใจ ที่เห็น หรือบางคอลเล็กชันก็จะผสมหินธรรมชาติหรือหินสีต่างๆ มีหลากหลายขนาด ให้เลือก หากชืน่ ชอบสามารถชมกระถางแบบอืน่ ๆ เพิม่ เติมได้ทาง IG : shed_bkk หรือ อีเมล : shedplants@gmail.com

C

M

Y

WORKSHOP

KATAZOME BY PINKOI X JIBBERISH X PIANISSIMO PRESS

CM

MY

คนทีก่ า� ลังมองหากิจกรรมน่ารักสไตล์ญปี่ น่ ุ ต้องไม่พลาด เวิรก์ ช็อปย้อมผ้าพันคอ พร้อมคุยกันให้ลกึ ถึงเรือ่ งการย้อมครามและห้อม เรียนรู้วธิ ีก่อหม้อครามแบบธรรมชาติ และ วิ ธีก ารดู แ ลหม้ อ ครามสไตล์ ลู ก ผสมไทย-อิ น เดี ย -ญี่ ปุ ่ น เท่านั้นไม่พอ ยังเพิ่มหลักสูตรการสร้างลายผ้าด้วยเทคนิค คาตาโซเมะ (Katazome) ด้วยการเจาะกระดาษและกัน้ สีดว้ ย กาวแป้งแบบโบราณ เรียนรู้เรื่องสูตรกาว และวิธีดัดแปลง จากของใกล้ตัวมาใช้โดยไม่ต้องไปสั่งซื้ออุปกรณ์ถึงญี่ปุ่น ทั้งหมดเรียนได้โดยไม่ต้องมีพ้ืนฐาน ใช้เวลาเรียนทั้งหมด 3 ชั่วโมง ราคา 1,800 บาท เปิดคอร์สในวันที่ 19 สิงหาคม 2561 ตั้ ง แต่ เ วลา 13.00-16.00 น. ณ HUBBA Ekkamai รับจ�านวนจ�ากัดเพียง 10 คนเท่านั้น รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.facebook.com/jibberish.chiangmai

MUSIC

EVENT

สามัญ : ชาติ สุชาติ

THAILAND FOOD TOURISM CHALLENGE

ส�าหรับแฟนคลับของ ชาติ สุชาติ ศิลปินมากความสามารถ จากค่ายเพลง What The Duck คงต้องได้ยนิ ซิงเกิลจังหวะช้า ตามแบบฉบับของเขาอย่าง ทีเ่ หลือ กันมาแล้ว ซึง่ เป็นเพลงทีพ่ ดู ถึง ความรักของคนสองคน คนหนึง่ รักเต็มหัวใจ แต่อกี คนกลับไม่เคย ลืมความรักครัง้ เก่าแม้แต่เสีย้ ววินาที เพลงนีเ้ ขาได้กลัน่ กรองและ ร้อยเรียงจากประสบการณ์จริงของคนรอบข้าง และคงชั้นเชิง ปลายดินสอทีพ่ ว่ งความหมายลึกซึง้ อยูใ่ นทุกๆ เนือ้ ร้องทีบ่ าดลึก กินใจมากทีส่ ดุ ในอัลบัม้ สามัญ ซึง่ เป็นอัลบัม้ แรกในชีวติ ของเขา หาฟังกันแบบเต็มอัลบัม้ ได้ บน Spotify, Apple Music หรือยูทบู ช่อง Whattheduck

สายท่องเทีย่ วทีช่ อบกินต้องตาลุกวาว เมือ่ การท่องเทีย่ ว แห่งประเทศไทยปล่อยกิจกรรมประกวด 20 สุดยอดทริปท่องเทีย่ ว สายกินเชิงวัฒนธรรมและท้องถิ่นภายใต้ 55 เมืองรอง เน้นไปที่ แหล่งทีก่ นิ 70% แหล่งท่องเทีย่ ว 30% แบ่งเป็นทริปครึง่ วัน เต็มวัน หนึง่ วัน และสองวันหนึง่ คืน เปิดรับสมัครผู้เข้าประกวดรอบแรก ถึงวันที่ 9 สิงหาคม 2561 พร้อมลุ้นรับรางวัลชนะเลิศเป็นเงิน 100,000 บาท และเมื่อเข้ารอบ 5 ทีมสุดท้าย จะตัดสินจาก จ�านวนผู้ที่ซื้อทริปจริงๆ และจะประกาศผลในเดือนกันยายนนี้ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.thelocallicious.com หรือที่ เฟซบุ๊ก The Locallicious

CY

CMY

K


a day BULLETIN

20

MITSUBISHI ELEVATOR:

6

KEYS SUCCESS FACTORS

ทีมงานช่างและ วิศวกร ทีม ่ ค ี วามรู้ และความช�านาญ ในงานบริการ

ที่ เ รามุ่ ง เน้ น เพื่ อ สร้ า ง ความแตกต่าง

RISING TO THE TOP ในฐานะคนเมืองทีใ่ ช้ชว ี ต ิ อยูใ่ นอาคาร สูงตลอดเวลา ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าลิฟต์และ บันไดเลื่อนกลายเป็นหนึ่งปัจจัยส�าคัญใน ชี วิ ต ประจ� า วั น ไปแล้ ว ไม่ ว่ า จะเป็ น การใช้ ลิ ฟ ต์ - บั น ไ ด เ ลื่ อ น ใ น ส ถ า นี ร ถ ข น ส่ ง สาธารณะ ส� า นั ก งาน ห้ า งสรรพสิ น ค้ า รวมถึ ง ในคอนโดมิ เ นี ย มและที่ พั ก อาศั ย ต่างๆ ยิ่งไปกว่านั้น ในปัจจุบัน ลิฟต์ยังเริ่ม เข้ามามีบทบาทส�าคัญในบ้านเดีย ่ วตัง้ แต่ 2 ชัน ้ มากขึ้น ด้วยการเข้ามาของสังคมผู้สูงอายุ และราคาที่จับต้องได้มากขึ้น เราจึ ง ขอพาคุ ณ ไปล้ ว งลึ ก ความ ส�าเร็จของธุรกิจลิฟต์-บันไดเลือ่ น ผ่านมุมมอง และประสบการณ์ของ สันติพงษ์ บูรณกฤตยากรณ์ ผู้จัดการทั่วไปฝ่ายขายและ การตลาด และ นเรศ บุญน�าทรัพย์ ผูจ้ ด ั การ ทั่ ว ไปฝ่ า ยซ่ อ มบ� า รุ ง บริ ษั ท มิ ต ซู บิ ชิ เอลเลเวเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ากัด ผูน ้ า� ตลาด อั น ดั บ หนึ่ ง ด้ า นลิ ฟ ต์ แ ละบั น ไดเลื่ อ นใน ประเทศไทยมากว่า 40 ปี

ภาพรวมและเทรนด์ของธุรกิจลิฟต์-บันไดเลื่อนในปัจจุบันเป็นอย่างไรบ้าง สันติพงษ์ : เนื่องจากการขยายตัวของเมือง ท�าให้มีจ�านวนสถานีรถไฟฟ้า คอนโดมิเนียมและอาคารที่ อยูอ่ าศัยมากขึน้ โดยเฉพาะสังคมในกรุงเทพฯ ทีเ่ หล่าดีเวลอปเปอร์พยายามสร้างตึกทีส่ งู ขึน้ เรือ่ ยๆ ลิฟต์จงึ กลาย มาเป็นปัจจัยหลักในการเคลื่อนที่คนและขนย้ายของในอาคาร นอกจากนี้ การที่ประเทศไทยก�าลังเข้าสู่สังคม ผู้สงู อายุ ท�าให้เริม่ มีความต้องการลิฟต์บ้านมากขึน้ จะเห็นได้ว่าขณะนีแ้ ม้แต่บ้าน 2 ชัน้ บางหลังก็มลี ฟิ ต์ในบ้าน เพื่อรองรับการใช้งานของผู้สูงอายุ ส่วนราคาของลิฟต์ก็เริ่มจับต้องได้มากขึ้นเช่นกัน issue 549 30 JUL 2018

เราเห็นลิฟต์และบันไดเลือ ่ นในอาคารใหญ่ๆ มานาน แต่จริงๆ แล้วลิฟต์เริม ่ เข้ามา มีบทบาทในบ้านตั้งแต่เมื่อไหร่ อย่างไร นเรศ : สังคมไทยมักจะอยู่กนั เป็นครอบครัวใหญ่ โดยเฉพาะคนที่มีฐานะ ลูกๆ หลานๆ ก็จะอยู่ด้วยกัน กับผูส้ งู อายุ ซึง่ พอญาติผใู้ หญ่มอี ายุมากขึน้ ก็มกั ประสบปัญหาเวลาขึน้ ลงบันได ท�าให้สดุ ท้ายก็อาจต้องนอนชัน้ ล่าง อย่างเดียว แต่ในปัจจุบนั ราคาของลิฟต์บา้ นเริม่ จับต้องได้มากขึน้ ถ้าส�าหรับบ้าน 2 ชัน้ ก็จะมีราคาเพียงล้านต้นๆ มีอายุการใช้งานกว่า 25 ปี และใช้ไฟ 220 โวลต์ ซึง่ เป็นไฟบ้านปกติ แถมยังมีพนื้ ทีเ่ พียงพอทีจ่ ะใส่รถเข็นเข้าไปได้ ตรงนีจ้ งึ ตอบโจทย์มากๆ ส�าหรับบ้านทีม่ ผี สู้ งู อายุ หรือแม้แต่วยั รุน่ วัยท�างานทีป่ ระสบอุบตั เิ หตุกส็ ามารถใช้ลฟิ ต์บา้ น เพื่อขึ้นไปชั้นสองและใช้ชวี ิตตามปกติได้ สันติพงษ์ : อย่างในญี่ปุ่น ลิฟต์บ้านเป็นสิ่งที่เห็นได้ตามปกติอยู่แล้ว แต่ส�าหรับประเทศไทย เราเริ่มมอง

ว่าตลาดลิฟต์บา้ นมีศกั ยภาพและเริม่ เจาะเมือ่ ราวๆ 5-6 ปีทแี่ ล้ว เรียกได้วา่ เป็นพืน้ ทีท่ เ่ี พิง่ ขึน้ มาใหม่ โดยเริม่ เจาะ จากตลาดบนก่อน เน้นบ้านทีร่ าคา 70 ล้านบาทขึน้ ไป ซึง่ เราก็ได้เข้าไปในหลายๆ โครงการ และได้รบั การยอมรับ ทั้งเรื่องของความปลอดภัยและคุณภาพ จากนั้ นก็ลดลงมาเรื่อยๆ จนอยู่ที่หลังละ 20 ล้าน ผมเชื่อว่าต่อไป อีกไม่นานลิฟต์ในบ้านจะกลายเป็นเรื่องปกติ ปัจจัยที่มีความส�าคัญในการท�าธุรกิจลิฟต์และบันไดเลื่อนคืออะไรบ้าง สันติพงษ์ : ความปลอดภัย และคุณภาพ ลิฟต์ทุกตัวของเราต้องมีอายุการใช้งานอย่างน้อย 25 ปี การทีเ่ ราติดลิฟต์ 1 ตัว มันไม่เหมือนการซือ้ รถยนต์ทถี่ ้าเราซือ้ มาแล้วไม่ชอบก็ขายทิง้ แล้วซือ้ คันใหม่ เพราะลิฟต์ เป็นผลิตภัณฑ์สั่งผลิต หรือ made to order ถ้าเราสั่งลิฟต์สักตัว จะต้องใช้เวลาประมาณ 4 เดือนในการรอ หากติดตั้งแล้วไปรื้อถอนช่องลิฟต์ก็เป็นการรบกวนคนที่อยู่อาศัย และหลายครั้งผู้ใช้ลิฟต์นั้นไม่ใช่ผู้ซื้อลิฟต์ แต่มนั เป็นเรือ่ งของสาธารณะมากกว่า เราจึงค�านึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก พอมีความปลอดภัยแล้วคุณภาพ ก็จะตามมา แม้แต่ชา่ งทีต่ ดิ ตัง้ เขาก็ตอ้ งรูส้ กึ ว่างานทีท่ า� อยูม่ นั ปลอดภัย ท�าให้เขามีสมาธิและทุม่ เทท�างานได้อย่าง ราบรื่น จากนั้นคุณภาพก็จะเกิดเอง นเรศ : นอกจากนี้ ผมอยากจะเสริมเรื่องความคุ้มค่า การซื้อลิฟต์ตัวหนึ่งซึ่งมีอายุการใช้งานถึง 25 ปี มันไม่ต่างอะไรกับการแต่งงานกับผู้หญิงคนหนึ่ง แน่นอนว่าคุณต้องจ่ายแพงกว่าเมื่อซื้อลิฟต์มิตซูบิชิ แต่ผมเชื่อ ว่าคุณภาพของผลิตภัณฑ์ การติดตั้ง และการบริการหลังการขายของเราคุ้มค่ากับเงินที่จ่ายไปแน่ๆ


21 ศูนย์ฝึกอบรม การขนส่งแนวดิง่ ทีค ่ รบครันทีส ่ ด ุ ในเอเชียอาคเนย์

ศูนย์บริการ ทีค ่ รอบคลุม ทุกพืน ้ ที่ ทัว่ ประเทศไทย

ศูนย์รบ ั แจ้งเหตุ (Call Center) 24 ชัว่ โมง พร้อมระบบ GPS Tracking

สโตร์ทใี่ หญ่ทส ี่ ด ุ ในประเทศ (มูลค่า กว่า 100 ล้านบาท) ทีพ ่ ร้อมรองรับกับ ลิฟต์ทก ุ รุน ่

ยอดขายและการเติบโตของธุรกิจลิฟต์บันไดเลื่อนในปัจจุบันเป็นอย่างไร สันติพงษ์ : ตลาดทัง้ หมดน่าจะเติบโตอยูท่ ี่ 5-7% ผมคิดว่าทีข่ ยับค่อนข้างเยอะส่วนหนึง่ มาจากงาน Mega Project หรือ Infrastructure เช่น สนามบินที่ปรับปรุงใหม่ สถานีรถไฟฟ้าทีข่ ยายออกนอกเมือง ท�าให้เหล่าดีเวลอปเปอร์ เข้าซื้อที่เพื่อสร้างคอนโดฯ ซึ่งตอนนี้ตลาดคอนโดฯ และ ที่พักอาศัยก็นับว่าเป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุดของเรา รวมถึง การสร้างรถไฟฟ้าความเร็วสูง ก็มผี ลในการขยายตัวของ เมืองในต่างจังหวัดเช่นกัน ปัจจุบนั ความต้องการลิฟต์ของทัง้ ตลาดอยูท่ รี่ าว 5 ,500 ตัวต่อปี โดยทุกๆ ปีมิตซูบิชิจะขายได้ไม่ตา�่ กว่า 1 ,500 ตัว อย่างปีท่ีแล้วเราขายได้ 1,600 กว่าตัว เพราะฉะนั้น ของเราจะครองตลาดอยู่ประมาณ 30% ก ารเติ บ โตของธุ ร กิ จ และบั น ไดเลื่ อ น ส่งผลต่อธุรกิจอื่นๆ ที่เป็นคู่ค้า-ลูกค้า อย่างไรบ้าง สันติพงษ์ : จุดแข็งของบริษทั เราคือการวางแผน ตัง้ แต่ตน้ น�า้ ไปปลายน�า้ เราต้องส�ารวจความต้องการของ ตลาด ฝึกซ้อมช่างให้มคี ุณภาพ จากนั้นก็ต้องดูแลลิฟต์ ตัวนี้ต่อไปอีก 20 กว่าปี เพราะฉะนั้น เราไม่เคยมีปัญหา เรื่องก�าลังคนไม่พอหรือสินค้าไม่มีคุณภาพ ลูกค้าและ คู่ค้าเราก็กลับมาอีกเรื่อยๆ นเรศ : อีกส่วนหนึ่งคือเรื่องของภาพลักษณ์ ถ้าเห็นลิฟต์มิตซูบิชิ คนใช้งานจะรู้สึกว่ามันพรีเมียม อาคารเขาก็ได้เกรดที่ดขี ึ้น เช่น แสนสิริ เป็นต้น ก ารท�าธุรกิจย่อมมีคู่แข่งเป็นธรรมดา ในฐานะบริษท ั ลิฟต์ทค ี่ รองมาร์เกตแชร์ อันดับ 1 ในประเทศไทย คุณค�านึงถึง การแข่งขันมากขนาดไหน สันติพงษ์ : การเป็นทีห่ นึง่ ทีว่ า่ ยากแล้ว การรักษา อันดับหนึง่ มันยากกว่า เพราะตอนนีท้ เี่ ราเจอคือ สงคราม ราคาในตลาดมันค่อนข้างดุเดือด ซึ่งตามนโยบายแล้ว เ ราคงไม่ได้ลงไปเล่นแบบนัน้ เราเล่นราคาไม่ได้ ถ้าขาย ขาดทุน บริษทั ก็อยูไ่ ม่รอด องค์กรก็พงั หรือถ้าเราจะพยายาม ลดต้นทุนด้วยการหาวัสดุอื่นๆ ที่ถูกลงมา มันก็ไม่ได้ คุณภาพ ลูกค้าคงไม่พอใจ เราจึงมองว่า มิตซูบชิ ไิ ม่จา� เป็น ต้องไปเล่นแบบนั้น เราขอยึดมั่นนโยบายเดิมที่รักษา ความปลอดภัยและคุณภาพดีกว่า บวกกับพยายามสือ่ สาร ให้ลูกค้าเข้าใจจริงๆ ว่า สิ่งที่เขาได้ในระยะยาวคืออะไร ดีเวลอปเปอร์ทมี่ าซือ้ ซ�า้ กับเราหลายๆ ครัง้ ก็เข้าใจข้อนีด้ ี เขาซื้อเสร็จแล้วมันจบเลย จากนั้นเราจะช่วยดูแลต่อไป อีก 25 ปี นเรศ : ส่วนงานบริการ เรามองว่าเราไม่ได้แข่งขัน กับ ใครมากเท่า แข่ง กับตัว เอง พยายามวางแผนว่ า ท�าอย่างไรให้เกินความคาดหวังของลูกค้า ไม่ใช่แค่ตาม ความคาดหวัง เราจึงน�าเทคโนโลยีตา่ งๆ มาช่วย ทัง้ GPS Tracking และสร้าง Training Centre เพื่อฝึกซ้อมช่าง ให้มีคุณภาพยิ่งขึ้นไปกว่าเดิม ซึง่ นับว่าเป็นเจ้าแรกของ ตลาดที่ท�าแบบนี้ การเลือกใช้บริการซ่อมบ�ารุงกับผู้ผลิต หรือผู้จัดจ�าหน่ายโดยตรง แตกต่างกับ การใช้ บ ริ ก ารจากบริ ษั ท ทั่ ว ไปหรื อ

การใช้เทคโนโลยีตา่ งๆ มาพัฒนาอย่าง ไม่หยุดยัง้ เช่น GPS Tracking และ Remote Monitoring ทีก ่ า� ลังอยูใ่ น ช่วงด�าเนินการทดสอบระบบ ให้สามารถ ส่งผ่านข้อมูลลิฟต์ทแ ี่ จ้งเสียล่วงหน้าได้

Third Party อย่างไร สั น ติ พ งษ์ : ข้ อ แรกเลยคื อ ช่ า งของมิ ต ซู บิ ชิ หน้าตาดีทุกคน (หัวเราะ) นเรศ : อย่างที่ผมบอกคือ การซื้อลิฟต์ตัวหนึ่ง มันเหมือนกับการแต่งงานกับผูห้ ญิงสักคนทีจ่ ะอยูก่ บั เรา ไป 25 ปี เพราะฉะนั้น ถ้าให้ใครมาดูแลให้มนั ก็แปลกๆ มันดีกว่าอยู่แล้วถ้าช่างของเราที่เข้าใจรายละเอียดของ ลิฟต์มิตซูบิชิมากที่สุดจะเป็นคนดูแล อีกอย่างคือคน ส่วนใหญ่มกั มองว่าลิฟต์เป็นเรื่องของกลไก แต่ในความ เป็นจริงแล้ว มากกว่า 50% เป็นเรื่องของสมองกล อิเล็กทรอนิกส์ ดังนัน้ หากไม่เข้าใจระบบการท�างานของ ลิฟต์โดยถ่องแท้แล้วก็จะไม่สามารถซ่อมบ�ารุงอย่าง ถูกต้องและปลอดภัยได้ วางแผนในอนาคตว่ า จะท� า ให้ อ งค์ ก ร ยื น หยั ด เป็ น ผู้ น� า ลิ ฟ ต์ แ ละบั น ไดเลื่ อ น ในประเทศอย่างต่อเนื่องอย่างไร สันติพงษ์ : นอกจากนโยบายเรือ่ งความปลอดภัย และคุณภาพแล้ว เราพยายามผลักดันให้เกิดกฎหมายที่ เกี่ยวกับความปลอดภัยของลิฟต์และบันไดเลื่อน ซึ่งเรา ไม่ได้มองแค่ลิฟต์ของเรา แต่เป็นลิฟต์ของทั้งประเทศ ซึง่ มีมากกว่า 50,000 ตัว เป็นของมิตซูบชิ เิ กือบๆ 20,000 ตัว ส่วนทีเ่ หลือนัน้ เราไม่สามารถรูไ้ ด้เลยว่ามันมีความปลอดภัย พอไหม แล้วถ้าวันหนึ่งเกิดเหตุขึ้นมามันจะกลายเป็น วัวหายล้อมคอกหรือเปล่า เพราะจริงๆ แล้วในประเทศอืน่ เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ เขาก็มีกฎหมายบังคับให้ซ้ือ สัญญาบริการเลย คนมาซ่อมก็ต้องมีใบประกาศเฉพาะ ด้าน แต่ในประเทศไทยก็ยังดีที่ลิฟต์ 90% ที่ติดตั้งอยู่ยัง เป็น Global Brand ที่เหลือก็มีทั้งโลคอล ของก๊อบ หรือ สั่งมาประกอบเอง ซึ่งจริงๆ แล้วอันตรายมาก นเรศ : ในส่วนของการบริการ คือเราตัง้ ใจขยาย ศูนย์บริการให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ฝึกอบรมและพัฒนา ทีมช่างบริการอย่างต่อเนือ่ ง รวมถึงน�าเทคโนโลยีมาช่วย เพิ่มประสิทธิภาพการบริการให้ดีย่ิงขึ้น อย่างตอนนี้เรา มีทั้งหมด 28 ศูนย์บริการทั่วประเทศ ซึ่งถือว่ามากที่สุด ในธุรกิจนี้ของประเทศไทย แต่ต่อไปหากยอดขายที่ไหน ถึงเป้าการขยายตลาด เราก็ปักหมุดตั้งศูนย์บริการเลย เพื่อให้ลูกค้ารู้สกึ ว่าเราอยู่ใกล้เขามากที่สุด ถ้าเปรียบบริษัท มิตซูบิชิ เอลเลเวเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ากัด เป็นลิฟต์ตัวหนึ่ง คาดหวังว่าลิฟต์ตวั นีจ้ ะไปได้สงู ขนาดไหน สันติพงษ์ : สายตาของผมสัน้ เกินไป ผมไม่สามารถ มองเห็นได้วา่ มิตซูบชิ ไิ ปได้ไกลขนาดไหน มันไกลสุดสายตา ผมเลย (หัวเราะ) เรามองว่าสูงที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ตอนนีแ้ ม้แต่ตกึ ทีส่ งู ทีส่ ดุ ในประเทศไทยอย่างคิง เพาเวอร์ มหานคร (ชือ่ เดิม มหานคร) เขาก็ใช้ลฟิ ต์มติ ซูบชิ ิ เพราะ เราท�าตลาดโดยไม่ได้มงุ่ หวังก�าไรอย่างเดียว แต่เราค�านึง ถึงด้วยว่าลูกค้าทุกคนต้องได้ใช้ลฟิ ต์อย่างปลอดภัยอย่าง แท้จริง


a day bulletin

SELECTED

22

เรื่อง : มณิสร สุดประเสริฐ

03 04 02 05 01

08

07

06

10

09

11

13 12

OR SHINE

“ฝนเอยท�ำไมจึงตก” หลำยคนคงเคยตัง ้ ค�ำถำมนีใ้ นวันทีฝ ่ นตกลงมำอย่ำงไม่บอกกล่ำว ล่วงหน้ำ อำจท�ำให้หวั เสียกับสำยฝนทีเ่ ทกระหน�ำ่ ลงมำในเช้ำอันเร่งรีบ ช่วงทีม ่ น ี ด ั หมำย ส�ำคัญ หรือตอนเย็นทีร ่ บ ี เดินทำงกลับบ้ำน แต่กบ ั บำงคน เสียงเปำะแปะทีต ่ กลงบนพืน ้ อำจจะช่วยสร้ำงบรรยำกำศดีๆ ในวันที่ไม่ต้องออกจำกบ้ำนไปไหน เรำจึงถือโอกำส ช่วงทีป ่ ระเทศไทยก�ำลังเผชิญกับหน้ำฝนมำน�ำเสนอไอเทมน่ำรักๆ เหมำะทัง ้ คนทีก ่ ำ� ลัง เผชิญฝนตกและคนทีน ่ อนฟังเสียงฝนอยูท ่ บ ่ี ำ้ นกัน

issue 549 30 JUL 2018

01 Topshop - Hooded Rain Mac รำคำ 3,190 บำท 02 ZARA - Diamante Beanie Hat รำคำ 590 บำท 03 moreover - Come Rain Come Shine Magnet Set รำคำ 250 บำท 04 MoMA Design Store - Starry Night Umbrella รำคำ $54.95 05 Yves Saint Laurent - Mascara Volume Effet Faux Cils Waterproof รำคำ 1,350 บำท 06 Alexander McQueen - Floral-Print Shell Umbrella รำคำ $545 07 Mango - Ultralight Hooded Parka รำคำ 2,990 บำท 08 Uniqlo - Women กำงเกงขำสั้น ผ้ำฝ้ำยลินิน Relaxed รำคำ 790 บำท 09 Madmatter – Tote Bag รำคำ 990 บำท 10 Openworlds - ประวัติศำสตร์หยำดฝน รำคำ 395 บำท 11 Pomelo - Clear Center Buckled Cross Body Bag สี Baby Blue รำคำ 890 บำท 12 Hunter - Original Refined Back Strap Short Gloss Boot สี Black รำคำ $185 13 Dsquared2 - Distressed Cropped Jeans รำคำ $539

! ing

COME RAIN

Ohh It’s Rain


23

กลับมาตามคําเรียกร้อง พบกับ Mac DeMarco ศิ ล ปิ น สุ ด กวนชาว แคนาดาที่ ห ลายคน รอคอย ในงาน ‘Singha Light Live Series Vol 3.2’ reunion กันอีกครั้งกับ เพลง ‘Jizz Jazz’ สุดน่ารัก และยี ย วนของ Mac ตลอดทัง้ คืน วันนี้ เวลา 20.00 น. ณ Voice Space จําหน่ายบัตรที่ Ticketmelon.com

คอนเสิรต์ ครัง้ แรกในไทย ของ Nothing But Thieves วงบริตร็อกจากสหราชอาณาจักรทีม่ าแรงทีส่ ดุ ขณะนี้ ส่วนผสมของ สุดยอดพลังเสียงของ นักร้องนํา และงานดนตรี ที่หนักแน่นสร้างสรรค์ ใน ‘Nothing But Thieves Live in Bangkok’ วันนี้ เวลา 20.00 น. ณ สตูดโิ อ 8 มูนสตาร์สตูดโิ อ จําหน่าย บัตรที่ Ticketmelon.com

WHERE THE CONVERSATIONS BEGIN

CROSSING OVER

พบกั บ Adam Rapa นักทรัมเป็ตผู้มีความสามารถในแนวทาง หลากหลาย และวาทยากร Dariusz Mikulski พร้อม ด้วยวง Thailand Phil ที่ จ ะมาร่ ว มทํ า ลาย กําแพงกัน้ ระหว่างดนตรี คลาสสิกและดนตรีแจ๊ซ ใน ‘Crossing Over’ วันนี้ เวลา 19.00 น. และ 4 สิงหาคม 2561 เวลา 16.00 น. ณ มหิดล สิทธาคาร ม.มหิดล

SA 05

จิตรกรรมผสมวัสดุ กับการสะท้อน วิถช ี วี ต ิ เมือง

S

NOTE UDOM NO. 12

นิทรรศการ ‘จิตรกรรม ผสมวัสดุกบั การสะท้อน วิถชี วี ติ เมือง’ โดย ตันติกร โนนกอง นําเสนอผลงาน จิตรกรรม 2 มิติ และ 3 มิติ ที่สื่อถึงความแตกต่ า งของคนและ อาชี พ ในสั ง คม เช่ น คนเก็ บ ขยะ หาบเร่ คนเร่ร่อน ฯลฯ วันนี้ ถึง 23 สิงหาคม 2561 ณ หอศิลป์จามจุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

‘เดี่ยว 12’ โดย อุดม แต้พานิช กว่า 23 ปีที่ เขาบอกเล่าเรือ่ งราวให้ เราได้ขบคิดและขําขัน มาร่วมหัวเราะกับชีวิต ของเขาไปพร้อมๆ กัน วันนี้ถึง 12 สิงหาคม 2561 ณ รอยัลพารากอน ฮอลล์ สยามพารากอน ติดตามรอบการแสดง และจํ า หน่ า ยบั ต รที่ ไทยทิกเก็ตเมเจอร์

adaybulletin

BTS หมอชิต

จุดแจกนิตยสาร a day BULLETIN เฉพาะสถานีรถไฟฟ้า BTS ทุกวันจันทร์ เวลา 17.30 น. เป็นต้นไป (แจกให้ผู้รับได้คนละ 1 ฉบับ)

BTS อารีย์

BTS อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เพล ินจิต

นิทรรศการ ‘Targets’ โดย แฮร์ลนิ เดอ เคิรล์ เบล ช่างภาพสายการเมือง ชาวเยอรมัน รวบรวม ผลงานภาพถ่ า ยจาก การเดินทางไปทั่วโลก เพื่อบันทึกภาพเป้ายิง ทีใ่ ช้ในการฝึกทางทหาร ในประเทศต่างๆ สิ่งที่ แสดงออกมาอย่างชัดเจน นอกจากภาพเป้ายิงที่ ใช้ฝกึ เหล่านัน้ ก็คอื ภาพ ตัวตนของทหารนัน่ เอง วั น นี้ ถึ ง 9 กั น ยายน 2561 ณ สถาบันเกอเธ่

NOTHING BUT THIEVES LIVE IN BANGKOK

F 04

BTS

นิทรรศการ ‘The Secret Not Secret’ โดย โยทะกา จุลโลบล และ ฑีฆวุฒิ บุญวิจติ ร ดืม่ ดํา่ กับสีสนั อั น จั ด จ้ า นเต็ ม เปี ่ ย ม ไปด้วยพลังความรู้สึก ภายในทีล่ ลี้ บั และซับซ้อน พร้อมทั้งแนวความคิด ทีต่ แี ผ่เกีย่ วกับประเด็น ของเพศสภาพทีเ่ ปลือย ให้เห็นถึงแก่นแท้ของ ความจริง วันนี้ถึง 31 กรกฎาคม 2561 ณ 333 Gallery ชัน้ 3 ศูนย์การค้า ริเวอร์ซิต้ี

SINGHA LIGHT LIVE SERIES VOL 3.2

TH 03

ิดลม

TARGETS

FIND US

THE SECRET NOT SECRET

W 02

BTS ช

T 01

สยา ม

M 31

BTS

30

CALENDAR

BTS อโศก BTS ศาลาแดง

BTS พร้อมพงษ์

BTS ช่องนนทรี BTS สะพานตากสิน

BTS อ่อนนุช


a day BULLETIN

BULLETIN BOARD

24

ททท. น�ำสมำชิก M Card เที่ยวเส้นทำง มงคลจังหวัดนครพนม ส่งเสริมกำรท่องเทีย ่ วภำยในประเทศกับ อำจำรย์คฑำ ชินบัญชร ​การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทยจัดโครงการ​‘เทีย่ วไทย รับพร​12​ราศี’​โดยจับมือกับพันธมิตรยักษ์ใหญ่อย่าง เดอะมอลล์​กรุ๊ป,​แอร์เอเชีย,​โมโน​กรุ๊ป,​โรงแรมในเครือ ฟอร์จนู ​กรุป๊ ​น�าสมาชิก​M​Card​เดอะมอลล์​กรุป๊ ​เดินทาง เติมพลังแห่งความสุขทัง้ ทางกายและทางใจ​ตามสถานที่ ท่องเทีย่ วประจ�าราศีเกิดของตนทัง้ ​ 12​ สถานที​่ 12​ ราศี​ เพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต​โดยมี​อาจารย์คฑา​ชินบัญชร​ ร่วมน�าขอพรพร้อมพาเที่ยวสัมผัสมนต์เสน่ห์ของจังหวัด นครพนม​ซึง่ ตัง้ อยูร่ มิ แม่นา�้ โขง​ส่วนสมาชิก​M​Card​เดอะมอลล์​ กรุ๊ป​ที่ตั้งใจไปสัมผัสความศักดิ์สิทธิ์และมนต์ขลังอย่าง เอ็กซ์คลูซฟี ทริปแบบนี​้ เพียงใช้คะแนน​M​Point​99​คะแนน​ รับสิทธิแ์ ลกซือ้ ทริปจังหวัดเชียงใหม่​ ในราคาพิเศษเพียง​ 5,999​บาท​เดินทางในวันที​่ 15-17​สิงหาคม​2561​ติดตาม รายละเอียดได้ทาง​Facebook​:​mcardeforall,​www.mcardshop. com​หรือสอบถามได้ท​ี่ M​Card​Call​Center​0-2789-5555

issue 549 30 JUL 2018

ดีแทคพลิกไทย แพลตฟอร์ม ออนไลน์สำ� หรับโครงกำรเพือ ่ สังคม

‘ ค ำ ร ำ บ ำ ว ’ ค ว้ ำ ร ำ ง วั ล Brand Footprint Award 2018

KA White Magic Whip Foam -POLLUTE CLEAR-

กรมกำรพัฒนำชุมชน เปิดงำน แข่งกีฬำสร้ำงควำมสัมพันธ์ ชำยแดนใต้

ง​ านเสวนา​‘การเข้าถึงกระบวนการ ยุติธรรมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลครั้งแรก ในประเทศไทย​:​กรณีศกึ ษาความรุนแรง ในครอบครัว’​จัดโดยบริษทั ​โทเทิล่ แอ็คเซ็ส​ คอมมูนเิ คชัน่ ​จ�ากัด​(มหาชน)​โดยเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ช่วยเปิดพื้นที่และเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพระบบการให้ ค� า ปรึ ก ษา​ โดยหวังว่า​‘โปลิศน้อย’​จะเป็นอีกช่องทาง ในการเพิม่ ประสิทธิภาพของระบบการให้ ค�าปรึกษา​ลดปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์ ที่อาจเกิดความไม่ไว้ใจในการให้ข้อมูล​ รวมถึงการขาดแคลนเจ้าหน้าทีใ่ ห้คา� ปรึกษา​ ซึ่ ง ขณะนี้ อ ยู ่ ใ นขั้ น ตอนการทดสอบ ความถูกต้องและความแม่นย�าในการให้ บริการ​ดูรายละเอียดเพิม่ เติมได้ท​ี่ www. dtac.co.th/plikthai

คาราบาวตอกย�้าการเป็นสินค้า ระดับโลก​แบรนด์ระดับโลกอย่างเต็ม ภาคภูม​ิ คว้ารางวัล​Brand​Footprint​Award​ 2018​​โดยคาราบาวได้รับรางวัลในกลุ่ม เครื่องดื่ม​และรางวัล​Up​and​Comers​ แบรนด์ทมี่ กี ารเติบโตสูงสุดในแต่ละกลุม่ ผู้บริโภค​ขึ้นเป็นสุดยอดแบรนด์ดาวรุ่ง ทีม่ อี ตั ราการเติบโตสูงประเภทเครือ่ งดืม่ ​ ประกาศศักยภาพผู้น�าอันดับ​1​พร้อม ยกระดับแบรนด์ตอบโจทย์ทกุ กลุม่ ผูบ้ ริโภค​ โดยขึน้ รับรางวัลทีโ่ รงแรมดิโอกุระ​เพรสทีจ​ กรุงเทพฯ

โ​ฟมเนือ้ วิป​ฟองนุม่ พิเศษ​กลิน่ หอม อ่อนโยน​ช่วยท�าความสะอาดได้แม้คราบ มลภาวะสะสม​ปราศจากส่วนผสมของ แอลกอฮอล์​และสาร​SLS​อันเป็นสาเหตุ หนึง่ ของการระคายเคืองผิว​ปรับสภาพผิว ให้ ข าวกระจ่ า งใสทั น ที ห ลั ง ใช้ ​ผสาน เทคโนโลยีการเติมเต็มออกซิเจน​(O2)​ เข้าสูเ่ ซลล์ผวิ ขณะล้าง​ให้ผวิ หน้าสะอาด สดชืน่ ​ไม่แห้งตึงหลังล้าง​(ขนาด​100​กรัม​ ราคา​129​บาท​และขนาด​50​กรัม​ราคา​ 79​บาท)​จ� า หน่ า ยที่ ซู เ ปอร์ ม าร์ เ กต​ ห้างสรรพสินค้าและร้านค้าชั้นน�าทั่วไป

ส​ มหวั ง ​พ่ ว งบางโพ​รองอธิ บ ดี กรมการพัฒนาชุมชน​เป็นประธานพิธปี ดิ การแข่งกีฬาสร้างความสัมพันธ์ชายแดนใต้​ ระดับกลุม่ จังหวัด​5​จังหวัดชายแดนใต้​ ครัง้ ที​่ 9​ประจ�าปี​2561​ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ​สยามบรมราชกุมารี​พร้อมมอบเหรียญรางวัลและ เงินรางวัลให้แ ก่ทีม ที่ชนะการแข่งขัน​ โดยมีผู้ตรวจราชกรมการพัฒนาชุมชน​ พัฒนาการจังหวัดสตูล​พัฒนาการจังหวัด สงขลา​พัฒนาการจังหวัดยะลา​พัฒนาการ จังหวัดปัตตานี​พัฒนาการจังหวัดนราธิวาส​ ข้าราชการ​และประชาชนเข้าร่วมอย่าง คับคัง่ ​ณ​สนามกีฬาศูนย์ศกึ ษาและพัฒนา ชุมชนยะลา​จังหวัดยะลา


25 อั พเดตแวดวงข่ำว สั งคมที่ น่ ำ สนใจ ในรอบสัปดำห์ Chang Music Connection p re s e n t C o c k t a i l L I V E #เล่นด้วยหัวใจเสมอมำ ​ถงึ ฝนจะตก​รถจะติด​ก็ไม่ทา� ให้แฟนเพลง ของวง​Cocktail​ยอมแพ้​เเห่มาเชียร์วงรักกันเเน่น​ อิมเเพ็ก​อารีนา​เมืองทองธานี​ในคอนเสิรต์ ​‘Chang​ Music​Connection​present​Cocktail​LIVE​#เล่นด้วย หัวใจเสมอมา’​ซึง่ แฟนๆ​เกือบหมืน่ ชีวติ ก็ไม่ผดิ หวัง​ เพราะค่าย​genie​records​ต้นสังกัด​จัดหนักจัดเต็ม โปรดักชันสุดอลังการ​ทัง้ วงออร์เคสตรากับคณะ ประสานเสียง​20​ชีวิต​เเสง​สี​เสียง​เอฟเฟ็กต์​ เลเซอร์​ไฮโดรลิก​ขนมาหมดประเทศไทย​โดยมี​ กบ​บิก๊ แอส​เป็นโชว์ไดเรกเตอร์​โดยตลอดทัง้ งาน จนถึงช่วงท้ายคอนเสิร์ตเต็มไปด้วยความสนุก ทีไ่ ม่รจู้ กั เหน็ดเหนือ่ ยของตัวศิลปินและแขกรับเชิญ​ โดยเฉพาะการปิดเวทีด้วยเพลง​‘คุกเข่า’​ซึ่ง เเฟนเพลงทัง้ ฮอลล์พร้อมใจกันชูปา้ ยทีเ่ ป็นรูปโลโก้ ของวง​Cocktail​เเละเขียนว่า​#เล่นด้วยหัวใจเสมอมา​ เรียกว่าประทับใจทัง้ ศิลปินเเละเเฟนเพลงกันไปเต็มๆ C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

T HE VERY C O M PAN Y Presents Nothing But Thieves Live in Bangkok

ไทยเวียตเจ็ท สำยกำรบิน แห่งควำมงำม

Bangkok Bank CycleFest 2018

​ครั้งแรกในไทย​กับ​Nothing​But​ Thieves​วงบริตร็อกจาก​Essex,​UK​หนึง่ ใน วง​Live​Band​รุน่ ใหม่ทมี่ าแรงทีส่ ดุ ขณะนี​้ โดยอัลบั้มแรก​‘Nothing​But​Thieves’​ ขึ้นอันดับ​7​ในอังกฤษ​และอัลบั้มที่​2​ ‘Broken​Machine’​ขึ้น ไปถึงอัน ดับ ​2​ ทัง้ สองอัลบัม้ บรรจุไปด้วยเพลงดังอย่าง​ If​I​Get​High,​Trip​Switch,​Wake​Up​Call​ และ​Sorry​ทัวร์การแสดงสดของพวกเขา ได้รบั ความนิยมไปทัว่ โลก​คอนเสิรต์ จะมี ขึน้ ในวันที​่ 2​สิงหาคม​2561​นี​้ ที​่ Moonstar​ Studio​8​บัตรราคา​2,600​บาท​ที่​www. ticketmelon.com​สอบถามข้อมูลเพิม่ เติม ได้ท​ี่ www.facebook.com/theverycompany

จ​ ากเวที ป ระกวดมิ ส แกรนด์ ไทยแลนด์​2018​รอบตัดสินเมื่อคืนวันที่​ 14​กรกฎาคมที่ ผ ่ า นมา​สายการบิ น ไทยเวี ย ตเจ็ ท ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ส นั บ สนุ น แก่ กองประกวด​และได้มอบรางวัลบัตรโดยสาร บินฟรีตลอดปีให้กับผู้คว้าต�าแหน่งทั้ง​ 5​คน​รวมถึงแพ็กเกจเที่ยวเมืองดาลัด​ ประเทศเวียดนาม​ทีจ่ ะพาเหล่าสาวงาม ไปสัมผัสความสวยงามของเมืองแห่งดอกไม้ อีกด้วย​โอกาสนี้​มีบทสัมภาษณ์ที่เป็น เหตุผลเบื้องหลังการสนับสนุนกิจกรรม การประกวดสาวงาม​และกิจกรรมต่างๆ​ ของสายการบินทีจ่ ะมีสาวสวยมาร่วมสร้าง สีสันอยู่เสมอ

ด​ ร.​ทวีลาภ​ฤทธาภิรมย์​กรรมการผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การใหญ่​พจณี​คงคาลัย​ผูช้ ว่ ยผู้จัดการใหญ่​ธนาคารกรุงเทพ​จ�ากัด​ (มหาชน)​และ​วินนี่​เฮง​รองประธาน​ และกรรมการผู้จัดการ​บริษัท​ไอเอ็มจี​ เซอร์วสิ เซส​(ประเทศไทย)​จ�ากัด​จัดงาน แถลงข่าวโปรแกรมการแข่งขันจักรยาน​ ทีส่ ร้างสรรค์ขนึ้ เพือ่ ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์​ ภายใต้แนวคิด​‘Ride​for​All’​ส�าหรับผูส้ นใจ​ ลงทะเบี ย นเข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น ได้ ที่​ www.BangkokBankCycleFest.com​ตัง้ แต่ วันนี้ถึง​21​พฤศจิกายน​2561​ณ​สยาม คันทรีคลับ​พัทยา​จังหวัดชลบุรี​


a day BULLETIN

HE SAID

26

เรื่อง : ตนุภัทร โลหะพงศธร ภาพ : อดิเดช ชัยวัฒนกุล

ห นึ่งในกวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของอังกฤษอย่าง ลอร์ด ไบรอน เคยกล่าวค�าพูด ที่น่าสนใจไว้ว่า “Alone person often feels less lonely.” ถ้าเลือกได้ คงไม่มใี ครอยากเหงา แต่ไม่มห ี ลักประกันอะไรในชีวต ิ ทีจ่ ะท�าให้ไม่รส ู้ ก ึ เหงาได้เลย เพราะความเหงาเป็นความรูส ้ ก ึ ทีอ ่ ยูภ ่ ายในเราทุกคน แล้วท�าไมถึงเป็นเช่นนัน ้ เราจึงมาไขข้อข้องใจนี้ ด้วยค�าอธิบายทางวิทยาศาสตร์กบ ั นพ. ปีย์ เชษฐ์โชติศก ั ดิ์ ผู้เขียนหนังสือ เหตุเกิดจากความเหงา Theory of Loneliness

LOTS OF LONELINESS

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

ธรรมชาติสร้างให้เราเหงา... ความรูส้ กึ ของมนุษย์ ถูกพัฒนามาก่อนที่เราจะคิดเป็น เขียนอ่านเป็น พูดเป็น เหมือนทุกวันนี้ ส่วนสิง่ ทีเ่ ราคิดและสือ่ สารกันนัน้ เกิดขึน้ หลัง การมีววิ ฒ ั นาการ ท�าให้ความรูส้ กึ ของเรามีผลต่อพฤติกรรม ที่ แ สดงออกมามากกว่ า ความคิ ด ซึ่ ง ความรู ้ สึ ก ที่ มี อ ยู ่ ณ ปัจจุบนั เกิดขึน้ มาเพราะมีความจ�าเป็นบางอย่างในอดีต เช่น รูส้ กึ หิว เพราะจ�าเป็นต้องกิน ถ้าเราไม่หวิ เราจะไม่อยาก กิน เมื่อไม่ได้รับอาหารก็จะตาย ความเหงาก็เหมือนกัน เ รารู้สึกเหงาเพราะมนุษย์ในอดีตจ�าเป็นต้องอยู่ด้วยกัน เราเป็นสัตว์ทไี่ ม่แข็งแรง การอยูเ่ ป็นฝูงจึงเป็นสิง่ ทีจ่ า� เป็นมาก ธรรมชาติเลยสร้างให้เราเหงา เพื่อจะได้กลับไปหาฝูง เป็น วิวัฒนาการหนึ่งเพื่อความอยู่รอด

issue 549 30 JUL 2018

กระทรวงความเหงา… ตอนแรกผมเห็นประเทศ อังกฤษตั้งกระทรวงนี้ ก็รู้สึกตลกนะ ให้ความรู้สกึ คล้ายกับ กระทรวงเวทมนตร์ใน แฮร์รี่ พอตเตอร์ ยังไงไม่รู้ แต่จริงๆ มีงานวิจยั ใหม่ๆ ทีย่ นื ยันแล้วว่า ความเหงาก่อปัญหาทัง้ สุขภาพ และการก่ออาชญากรรม มีการศึกษาให้ประชาชนไล่รายชือ่ ว่าตัวเองมีเพือ่ นสนิทกีค่ น ปรากฏว่าทุกๆ เพือ่ นสนิททีเ่ พิม่ ขึน้ ห นึ่งคนของสังคมนั้น จะลดอัตราการตายได้ 66.8 คน ต่อประชากรแสนคนต่อปี หรือประมาณ 4 หมื่นคนต่อปี การศึกษายังพบอีกว่า คนอ้วนมีโอกาสตายเร็วมากกว่า ค นปกติ 20% คนดื่มหนักมากมีโอกาสตายเร็วมากกว่า คนปกติ 30% แต่ถ้าคุณเป็นคนเหงา คุณมีโอกาสตายเร็ว ม ากกว่ า คนปกติถึง 45% เป็ น ข้ อ มู ล ที่เ ห็น ชัด มากว่ า ความเหงามีผลต่อสุขภาพของเราจริงๆ และมากกว่าที่เคย คิดกันไว้ด้วย

ความร้ายกาจของความเหงา... มีหลายอย่าง ทัง้ ท�าลายสุขภาพ เพิม่ อาชญากรรม และปัญหายาเสพติด ค วามเหงาท�าให้นิสัยเราแย่ลง กลายเป็นคนเห็นแก่ตัว ไม่เห็นใจคนอืน่ หลายๆ คนทีเ่ ราคิดว่าเขานิสยั ไม่ดี ก็อาจ เกิดจากการทีเ่ ขาเหงา ซึง่ ความเหงามีความน่ากลัวอีกอย่าง คือติดต่อกันได้เหมือนโรคติดต่อ มีผลการวิจยั ออกมาแล้ว ว่า ถ้าเพือ่ นของคุณเหงา คุณจะมีโอกาสเหงาเพิม่ ขึน้ 50% ซึง่ ไม่ได้หยุดแค่นนั้ เพราะต่อให้เพื่อนของเพือ่ นของเพือ่ น เป็นคนเหงา คุณก็มีโอกาสที่จะเหงาเพิ่มขึ้นได้อยู่ดี อ าชญากรรมจากความเหงา… เราคงเคย ได้ยินข่าวที่นักเรียนในสหรัฐฯ ก่อเหตุยิงเพื่อนร่วมชั้น กันอยู่เนืองๆ แต่กลับมีอยู่ช่วงหนึ่งที่อัตราการก่อเหตุ แบบนีล้ ดลงอย่างมาก มันคือช่วงเหตุการณ์ 9/11 ซึง่ นักวิจยั อธิบายไว้ว่า เหตุการณ์นั้นท�าให้คนอเมริกันทุกคนมีศัตรู ร่วมกัน (อุซามะฮ์ บิน ลาดิน) จึงท�าให้คนอเมริกันเกิด ความใกล้ชิดกันมากขึ้น อัตราการก่อเหตุอาชญากรรม ก็เลยลดลง อ ยู่อย่างเหงาเหงา… ก่อนหน้านี้ก็เป็นคนหนึ่ง ทีค่ ดิ ว่าตัวเองไม่เหงา จนเขียนหนังสือทีเ่ กีย่ วกับความเหงา แ ล้วก็ต้องหาข้อมูลค้นคว้าเยอะขึ้น ยิ่งอ่านยิ่งรู้สึกว่า ตัวเองโคตรเหงาเลย (หัวเราะ) อย่างตอนย้ายมาท�างาน ทีส่ กลนคร ซึง่ เป็นจังหวัดทีไ่ ม่เคยมาอยู่ ไม่มเี พือ่ น ไม่รจู้ กั ใครเลย ก็รสู้ กึ เหงามาก ต้องยอมรับว่าสังคมปัจจุบนั เอือ้ ให้ คนเหงาอยู่ได้ แถมอยู่ได้ดดี ้วย ต่อให้เหงาเราก็หาข้าวกิน มีเงินใช้ได้ปกติ ซึ่งต่างจากอดีตกาล เราเริ่มเห็นเลยว่า

ต้องมีคนอีกมากที่อยู่ในสภาวะแบบนี้ไปเรื่อยๆ จนชิน แ ละเผลอนึกว่านี่คือเรื่องปกติ เพราะชีวิตก็ด�าเนินไปได้ ไ ม่เห็นต้องมีเพื่อนเลย ซึ่งสุดท้ายแล้วเราอยู่คนเดียว ไม่ได้หรอก เราต้องมีเพื่อน หาหมอไม่หายเหงา… ถ้าเหงาแล้วอยากหายเหงา

ด้วยการให้หมอรักษา มันก็เหมือนเกาไม่ถกู ทีค่ นั เราเหงา เพราะไม่มเี พือ่ นสนิททีค่ ยุ กันเข้าใจ ดังนัน้ ถ้าอยากหายเหงา ไปหาเพือ่ นดีกว่า ลองคุยเรือ่ งลึกๆ เปิดเผยเรือ่ งลับๆ ทีไ่ ม่กล้า บอกใครกับเพือ่ นดู แบบนีน้ า่ จะหายเหงามากกว่าไปหาหมอ แต่ถา้ ความเหงานัน้ พัฒนากลายเป็นซึมเศร้าหรือโรคทางจิต แบบนั้นก็ควรไปหาหมอ แต่ทางที่ดีที่สุดคือเราต้องหาวิธี ดูแลจิตใจตัวเอง เพราะร่างกายถ้าเกิดเป็นอะไรไปหมอก็พอ จะซ่อมได้ แต่ถ้าจิตใจพัง บอกเลยว่าซ่อมยาก หนทางคลายเหงา... สังคมเรามองว่าคนเหงา เป็นคนขี้แพ้พอสมควรนะ เหมือนกับวลี ‘#คนเหงา2018’ ซึง่ ท�าให้หลายคนไม่กล้ายอมรับว่าตัวเองเหงา ถ้าหากพูด ตรงๆ ตอนนีเ้ ราก็เหงาเหมือนกันทุกคนแหละ ยากมากทีเ่ รา จ ะไม่เหงา เพราะเราอยู่ในโครงสร้างสังคมที่ความเหงา เ กิดขึ้นง่ายมากๆ ถ้าตามธรรมชาติเดิมเราก็ต้องอยู่ใน เ ผ่าไหนสักเผ่า แต่ปัจจุบันเราแปรเปลี่ยนเป็นชมรมหรือ กลุ่มกิจกรรมที่ทา� อะไรสักอย่างร่วมกันบ่อยๆ เป็นที่ที่เรา ยอมรับและมีปฏิสมั พันธ์ดว้ ยเรือ่ ยๆ ไม่วา่ จะเป็นกลุม่ จิตอาสา ห รือกิจกรรมทางศาสนา หรือจะสร้างหุ่นยนต์อะไรก็ได้ การเข้าร่วมกลุม่ กิจกรรมหรือชมรมท�าให้ความเหงาลดลง ไปได้มาก



a day BULLETIN

LIFE เรื่อง : ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

28

issue 549 30 JUL 2018


29

KOH KRET : GOOD OLD VIBES OF MON CRAFT & C U LT U R E

หากเทียบกับราคาค่าเรือข้ามฟาก 2 บาท สู่ เ กาะเกร็ ด จั ง หวั ด นนทบุ รี กั บ ราคาค่ า เข้ า ชมและเรี ย นรู้ ศิ ล ปะ และวัฒนธรรมของชาวมอญดั้งเดิม ที่ อ าศั ย อยู่ ร่ ว มกั บ ชาวไทยและชาว อิ ส ลามในพื้ น ที่ แ ห่ ง นี้ ถื อ ได้ ว่ า เป็ น ราคาที่แสนถูก เงิ น 2 บาทในครั้ ง นี้ ข องเราก็ เช่ น กั น ช่ า งคุ้ ม ค่ า กั บ การตามหา ศิ ล ปะมอญที่ ยั ง คงเหลื อ อยู่ ใ ห้ เ ห็ น ผ่ า นค� า บอกเล่ า และการลงมื อ ท� า ใ ห้เห็นของช่างฝีมือรุ่นท้ายๆ ที่ได้รับ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด แ ล ะ สื บ ต่ อ กั น ม า มากกว่า 200 ปี ทันทีข่ า้ มมาถึงเกาะเกร็ด เบือ้ งหน้า คือก�าแพงสีขาวของวัดปรมัยยิกาวาส วัดมอญเก่าแก่ที่ยังคงการสวดมนต์ และเทศน์เป็นภาษารามัญหรือภาษามอญ เ หมื อ นในอดี ต และจากจุ ด นี้ นี่ เ อง ที่ ห ลายคนมั ก จะเลี้ ย วขวา แต่ ห าก เลีย ้ วซ้ายมุง ่ หน้าสูห ่ มูท ่ ี่ 1 ซึง ่ เป็นพืน ้ ที่ ที่ชาวมอญส่วนใหญ่อพยพมาอาศัย อยู่ ตั้ ง แต่ ต้ น ที่ ห อบวิ ช าเครื่ อ งปั้ น ดินเผามาเป็นเครื่องมือในการท�ามา หากินในยุคแรกๆ ผสานไปเรือ่ งราวศิลปะ ของชาวมอญทีค ่ อ่ ยๆ ผสมไปกับวิถชี วี ต ิ ของคนไทยในช่ ว งสมั ย รั ช กาลที่ 5 จากนั้นวิถีชีวิต ศิลปะ และงานท�ามือ ของชาวมอญก็ได้รบ ั การสืบทอดจาก รุ่นสู่รุ่นมาจนถึงทุกวันนี้


a day BULLETIN

30

พ.ศ. 2300 พ.ศ. 2310 30 JUL 2018

10 ปี ห ลั ง การพ่ า ยแพ้ ชาวมอญได้กระจัดกระจาย ไปหลายพืน ้ ที่ มีบางกลุม ่ ที่ พ ยายามต่ อ สู้ เพื่ อ ช่วงชิงดินแดนกลับคืน มา ชาวมอญกลุ่มหนึ่ง ได้ล่าถอยและบางส่วน อ พ ย พ ม า อ ยู่ ที่ เ ก า ะ ริมปากแม่นา�้ เจ้าพระยา

พ.ศ. 2317 issue 549

กองทั พ พม่ า ได้ โ จมตี แ ล ะ ยึ ด เ มื อ ง ห ล ว ง หรื อ กรุ ง หงสาวดี ข อง ชาวมอญไว้ได้

17 ปี ต่ อ มา ชาวมอญ ชุดแรกทีส ่ มเด็จพระเจ้าต า ก สิ น ม ห า ร า ช ไ ด้ โปรดเกล้าฯ ให้ข้าหลวง ไปรับครอบครัวชาวมอญ ที่เคยพยายามต่อสู้กับ พม่ า แล้ ว แพ้ ให้ ม าตั้ ง บ้ า นเรื อ นอยู่ ใ นท้ อ งที่ ปากเกร็ด และในเกาะเกร็ด

พ.ศ.2358

HIS TORY OF KOH KRET

สมัยสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาล ที่ 2) ได้โปรดเกล้าฯ ให้ เจ้าฟ้ามงกุฎฯ (รัชกาล ที่ 4) ไปรั บ ครอบครั ว ชาวมอญชุ ด สุ ด ท้ า ย ทีห ่ นีภย ั สงครามจากพม่า อพยพเข้ า มาอาศั ย อยู่ ที่ ด่ า นเจดี ย์ ส ามองค์ จังหวัดกาญจนบุรี เข้ามา อยูท ่ เี่ กาะเกร็ดนับแต่นน ั้ เป็นต้นมา

THROWBACK TO THE BEGINNING

เมื่อเลี้ยวซ้ายแล้วเดินตรงไปข้ามคลอง เล็กๆ ก็จะพบกับบ้านเลขที่ 5 ซึ่งเป็นบ้านพัก ที่ ไ ด้ ป รั บ เปลี่ ย นให้ ส่ ว นหนึ่ ง เป็ น ร้ า นอาหาร ที่ ชื่ อ ว่ า เดอ ปาลา ของปราชญ์ ช าวมอญ ‘ครู อ๊ อ ด’ - เฉลิ ม ศั ก ดิ์ ปาลา อดี ต ครู วิ ช า สอนประวัติศาสตร์ และเป็นชาวมอญรุ่นที่ 7 ที่เกิดและเติบโตในบ้านหลังนี้

“บ้านหลังนี้ได้รับพระราชทานโฉนดเมื่อสมัยรัชกาล ที​่ 5​และได้บา้ นเลขทีเ่ ป็นหลังที​่ 5​ตัง้ อยูต่ รงข้ามกับร้านกาแฟ บ้ า นเลขที่​1​ในสมัย ก่อนเริ่มนับบ้านเลขที่โดยเริ่มต้นที่ วัดปรมัยยิกาวาส”​ครูอ๊อดเริ่มต้นอธิบาย​ในขณะที่จัดแจง เครือ่ งแต่งกายแบบชาวมอญ​ทีผ่ ชู้ ายจะนุง่ โสร่งตารางหมากรุก ขนาดใหญ่​เรียกว่า​‘เกริด’​ซึ่งต่างจากลองยี​หรือโสร่งพม่า​ และสวมเสื้อแขนยาวสีขาว​พาดบ่าด้วยผ้าตารางหมากรุก อีกผืน “บรรพบุรุษของเราเป็นชาวรามัญหรือมอญ​แต่ไม่ใช่ พม่า​เดิมจะอยู่ในพื้นที่เขตมะละแหม่ง​ประเทศเมียนมา”​ ครูอ๊อดเปรยขึ้นเพื่อให้เราเข้าใจไม่ผิด​ก่อนจะเล่าเรื่องราว ของชาวมอญและเกาะเกร็ดมาอย่างยาวนาน เริม่ แรกทีช่ าวมอญหนีจากสงครามตัง้ แต่ครัง้ โดนพม่า โจมตี​ซึง่ เป็นเวลาเดียวกันกับการเสียกรุงศรีอยุธยาเป็นครัง้ ที่สองให้กับพม่าเช่นกัน​เวลานั้นชาวมอญและชาวไทย ถูกกวาดต้อนไปอยู่ในที่ต่างๆ​ของพม่า​บางส่วนที่ยังคง ยืนหยัดต่อสู้​บางส่วนหนีไปทางด่านเจดีย์สามองค์​จังหวัด กาญจนบุรี​และหลังจากนั้นก็ได้เข้ามาในพื้นที่เกาะเกร็ด​ จังหวัด นนทบุรี​กระจายไปยังอ�าเภอสามโคก​ปทุมธานี​ รวมทั้งอ�าเภอพระประแดง​จังหวัดสมุทรปราการ ส�าหรับชาวมอญทีอ่ พยพมาเกาะเกร็ดนัน้ เป็นชาวมอญ ที่ มี ชื่ อ กลุ ่ ม ว่ า ​กวานอาม่ า น​หรื อ กลุ ่ ม เครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผา​ จ�าพวกโอ่ง​อ่าง​ส�าหรับใส่เหล้าสาโท​ไหส�าหรับเหล้ากะแช่ ที่ท�าจากข้าวหมาก​นั่นท�าให้ในปัจจุบันเกาะเกร็ดจึงเป็น แหล่งขึ้นชื่อเรื่องปั้นดินเผาแบบมอญ “การอพยพทีไม่ใช่แค่สบิ ยีส่ บิ คน​แต่มาทีราวๆ​สองหมืน่ คน​เดินทางด้วยเท้าเปล่า​จัดเป็นขบวน​ส่วนหน้าคือผู้หญิง​ เด็ก​คนแก่​พระสงฆ์​แต่มีคนน�าทาง​10​กว่าคน​และมีกอง ระวังหลังคือ​ชายฉกรรจ์อาวุธครบมือ​เพื่อระวังพวกพม่า​ ตลอดการอพยพไม่สามารถใช้ไฟได้​ระหว่างทางเจอผักหญ้า อะไรทีส่ ตั ว์กนิ ได้กต็ อ้ งเก็บไว้กนิ ​เป็นอย่างนีป้ ระมาณ​1-2​เดือน​ จึงจะเข้าสูด่ า่ นเจดียส์ ามองค์ได้​และค่อยๆ​เดินทางต่อไปยัง พื้นที่ต่างๆ​รวมทั้งเกาะเกร็ด”​ครูอ๊อดเสริม เดิมทีพนื้ ทีเ่ กาะแห่งนีย้ งั ไม่มสี ภาพเป็นเกาะ​เป็นผืนดิน ขนาดใหญ่ทมี่ ลี า� น�า้ เล็ก​ซึง่ เป็นทางลัดไปเชือ่ มกับล�าน�า้ ใหญ่ เป็นสายเดียวกันหรือที่เรียกว่า​‘เตร็ด’​ต่อมาในสมัยของ พระเจ้าท้ายสระ​(พระราชโอรสในพระเจ้าเสือ)​รับสัง่ ให้ขดุ เตร็ด ขยายล�าน�้าเพื่อให้เรือส�าเภาแล่นได้สะดวก​จึงท�าให้พื้นที่นี้ กลายเป็นเกาะอย่างทุกวันนี้ “คนมอญจะออกเสียงเตร็ดว่า​เกร็ด​เลยเรียกกัน ติดปากว่า​เกาะเกร็ด”​ครูอ๊อดอธิบายที่มาเพิ่มเติม​กระทั่ง ได้เวลาเทีย่ งๆ​ลูกค้าเริม่ เข้าร้าน​เสียงกระทะและกลิน่ กับข้าว เริม่ โชยเตะจมูก​ครูออ๊ ดขอตัวสักครู​่ ส่วนเราก็ตอ้ งไปตามหา เรื่องราวของเครื่องปั้นดินเผากันต่อ


31

H E R I TA G E O F M O N P OT T E R Y เราออกจากร้ า นเดอ ปาลา ของครู อ๊ อ ด มุ่ ง หน้ า ตามหางานศิ ล ปะชิ้ น เอกอย่ า งเครื่ อ งปั้ น ดิ น เผามอญสไตล์ พร้ อ มกั บ ความตั้ ง ใจ ที่จะรู้ให้ลึกซึ้งถึงค�าว่า ‘มอญคราฟต์ และก็ได้พบกับ ‘จ๊อด’ - พงษ์พันธุ์ ไชยนิล ทายาทช่างศิลปหัตถกรรม ปี 2560 ประเภทงานเครื่องดิน (เครื่องปั้นดินเผามอญ) ณ บ้านดินมอญ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 โซนชาวมอญเช่นเดียวกับบ้านของครูอ๊อด

​“ย่าเล่าให้ฟงั ว่า​คุณย่าชวดผมได้เข้ามาทีเ่ กาะเกร็ด เป็นกลุม่ สุดท้ายในสมัยรัชกาลที​่ 2​โดยก่อนหน้านีก้ ม็ ชี ดุ แรก มาแล้ว​มาพร้อมกับศิลปะการท�าเครื่องปั้นดินเผาที่ติดตัว เป็นทุนเดิม​พอสมัยคุณย่าชวดเข้ามา​ก็เห็นว่าทีน่ เี่ ป็นแหล่ง ปลูกข้าว​และดินก็ด​ี จึงน�าความรู้ด้านเครือ่ งปั้นดินเผาทีม่ ี มาปัน้ ข้าวของเครือ่ งใช้ไว้ใช้เอง​เช่น​โอ่งใส่นา�้ ​อ่างล้างเท้า​ กระปุกใส่กะปิ​น�้าตาล​และบางส่วนน�าไปแลกเปลี่ยนเป็น สิง่ ของในหมูช่ าวมอญ​เช่น​โอ่งแลกข้าว​เมือ่ เหลือจึงน�าไป ขายให้กบั คนไทยตามชุมชนอื่นๆ”​เขาย้อนวันวานให้ฟัง ​“ส่วนจุดเด่นของเครื่องปั้นดินเผาแบบมอญในอดีต คือ​เนือ้ ดินดี​มีขนาดใหญ่​คงทน​และมีความสวยงามแบบ เรียบง่ายทีป่ ราศจากลวดลาย​มีนา�้ หนักค่อนข้างมาก​และ ราคาแพง​ต่อมาเริม่ มีลวดลายเล็กน้อย​แต่ทา� ขึน้ เฉพาะของ ทีม่ อบให้กบั ผูใ้ หญ่ในเมืองเท่านัน้ ​แต่ลวดลายทีว่ า่ นัน้ ก็ไม่ได้ มีความอ่อนช้อยเหมือนลายไทย​แต่เพือ่ ให้ชนิ้ งานนัน้ ถูกใจ

ผูใ้ หญ่​จึงเริม่ มีการลอกลายไทยจากวัดไทย​จนมาถึงรุน่ คุณย่า ก็เริ่มมีคนเขียนลวดลายบนเครื่องปั้นดินเผามากขึ้น” ​จากคุณย่าชวดสูร่ นุ่ คุณย่า​จ๊อดเล่าให้ฟงั ต่อว่า​เดิมที ช่างปัน้ จะเป็นงานของผูช้ ายเท่านัน้ ​ส่วนผูห้ ญิงจะเป็นคนสาว และถีบแป้นเพือ่ ให้แป้นหมุน​เพราะการปัน้ โอ่งหรืออ่างนัน้ มีขนาดใหญ่​ท�าคนเดียวไม่ได้​แต่คุณย่าของเขากลับปั้น​ สาวและหมุนแป้นได้เอง​ด้วยการประยุกต์จากโอ่งขนาดใหญ่ มาปั้นเป็นกระปุกขมิ้นขนาดเล็ก ​“ตอนเด็กๆ​เราเห็นปู่กับย่าท�า​ดูเหมือนง่ายมาก​ เอาดินมาตั้งไว้ที่แป้น​หมุนๆ​ไม่นานก็กลายเป็นโอ่ง​หม้อ​ รวมทั้งกระปุกทรงหยดน�้าของย่า​ใช้เวลาไม่นานก็เสร็จ พร้อมขายแล้ว”​​ กาลเวลาผ่ า นไป​งานคราฟต์ ม อญที่ยังคงอยู ่ ใ น สายเลือด​และเขาเป็นรุน่ ที​่ 5​สืบทอดศิลปะเครือ่ งปัน้ ดินเผา “เมื่อเรามาเป็นคนปั้นเองทุกขั้นตอน​ถึงได้รู้ว่ามัน

ยากมาก​กว่าจะได้ชนิ้ งานแต่ละใบมันช้ามาก​กระปุกและฝา ก็ปิดไม่สนิท​ แต่ในฐานะที่เราเป็นคนรุ่นใหม่​ เราจึงตั้งต้น ที่อนุรักษ์ต้นแบบ​ ผสานไปกับการคิดและพัฒนาต่อยอด ให้เกิดความสวยงามที่แปลกใหม่​เราท�าและคิดอยู่นาน​ จนได้วธิ ที า� ฝาทีป่ ดิ สนิท​โดยได้ไอเดียมาจากแกะสลักละมุด ที่เป็นฟันปลา” หลังจากนัน้ ไม่นานเขาก็ใช้ความรูท้ างด้านองค์ประกอบศิลป์ที่เรียนมา​ผสานไปกับความคิดสร้างสรรค์​เขียนลาย ต่างๆ​ลงบนกระปุกทรงหยดน�า้ ดัง้ เดิม​จนท�าให้กระปุกขมิน้ ราคาแสนถูกเป็นกระปุกที่มรี าคาแพงหลักพันจนได้​ “ส�าหรับเราแล้ว​นีค่ อื แนวทางการอนุรกั ษ์คราฟต์มอญ ให้ยงั คง​และอยูไ่ ปได้เรือ่ ยๆ​มากกว่าท�าแบบเดิม​ซึง่ ไม่ตา่ ง อะไรจากการก๊อบปี้​แล้วก็ค่อยๆ​หายไป”​เขาทิ้งท้ายไว้ อย่างน่าสนใจ


a day BULLETIN

32

A LITTLE BIT O F S W E E TNESS JOY

เมื่อเรากลับมาหาบ้านเลขที่ 5 อีกครั้ง ครูอ๊อดจึงเล่าเรื่องราวของขนม หั น ตรา ขนมหวานมอญ ให้ ฟั ง ว่ า “ในสมั ย สมเด็ จ พระนางเจ้ า สุ นั น ทาฯ พระปิยมเหสีในรัชกาลที่ 5 พระองค์เสด็จทางเรือไปบางปะอิน ผ่านเกาะเกร็ด และสนพระทัยในวัดปรมัยยิกาวาส ซึง ่ ในเวลานัน ้ เป็นวัดมอญสภาพทรุดโทรม ต่อมาพระองค์จึงบูรณะฟื้นฟู และตัดสินพระทัยว่า หลังบูรณะจะถวายให้ พระอั ย ยิ ก าซึ่ ง มี เ ชื้ อ สายมอญ แต่ ร ะหว่ า งการบู ร ณะที่ กิ น เวลาร่ ว ม 10 ปี พระองค์ แ ละพระอั ย ยิ ก า รวมทั้ ง เชื้ อ พระวงศ์ ไ ด้ เ สด็ จ มาทอดพระเนตร อยู่เนืองๆ ท�าให้ต้องมีการจัดตั้งโรงครัว คณะแม่ครัวชาววังก็มาดูแลราวๆ 5-10 คน โดยมีลูกมือคือ คุณหญิงคุณนายมอญ ท�าให้สูตรอาหารคาวหวาน ชาววังทั้งหลายผ่านสายตามาโดยตลอด

“คนมอญไม่ได้ตอ้ งการท�าสูตรตามชาววังเป๊ะๆ​เพราะรสชาติไม่ถกู ปาก”​ครูออ๊ ดบอกกับเรา​และ เพื่อให้ได้ขนมที่ถูกปากถูกใจชาวมอญ​ก็เริ่มปรับสูตรขนมหันตราชาววัง​ที่ใช้ไข่แดงท�าเป็นฝอยทอง ลักษณะเป็นแพ​แล้วห่อขนมเม็ดขนุนไว้ข้างใน​เหมือนข้าวแช่พริกหยวก​ให้เป็นหันตราชาวมอญ “ชาวมอญไม่ชอบสูตรนัน้ ​เพราะรูส้ กึ ว่ากินไข่แดงซ�า้ ซ้อน”​ครูออ๊ ดย�า้ เรือ่ งรสชาติ​ท�าให้ตอ้ งเปลีย่ น จากฝอยทองเป็นฝอยเงินทีท่ า� จากไข่นา�้ ต้อย​หรือไข่ขาวทีต่ ดิ กับเปลือกไข่​โรยเป็นฝอยลงในน�า้ เชือ่ ม​ แล้วอบด้วยควันเทียน​ก่อนน�ามาโรยหน้าตัวขนม​เพือ่ อรรถรสทางสายตา​และยังได้กลิน่ คล้ายไข่หวาน เวลาเคี้ยว​หากสนใจลองไปขอดูได้ท่รี ้านป้าเล็ก​อยู่ริมน�้าถัดไปอีกไม่ไกล”​หลังครูอ๊อดเล่าจบ​เราก็ ปักหมุดกลับไปต่อกันที่ร้านป้าเล็กซึ่งอยู่ไม่ไกลทันที

H A N -T R A : AN ORIGINAL M O N D E S S E RT เราเดินลัดเลาะไปตามตรอกเรือ ่ ยๆ ก็พบกับบ้านไม้รม ิ น�า้ บริเวณด้านหน้าปรับให้เป็นครัวท�าขนมแบบชาวบ้าน โดยมีขนม สีเหลืองสวยใส่กล่องพลาสติกใสวางโชว์ให้เห็น ติดราคาไว้ กล่องละ 20 บาท และทีน ่ น ั่ เราก็ได้พบกับ ‘ป้าเล็ก’ - มะลิ พิกล ุ ทอง วัย 62 ปี หนึ่งในสองคนที่ยังคงท�าขนมหันตราอยู่

“​ อีกเจ้าก็คอื แม่พะยอม”​ป้าบอกเราแบบนัน้ ​ก่อนจะเล่าให้ฟงั ถึงการสืบทอด สูตรขนมให้ฟงั ว่า ​“ป้าได้สตู รนีม้ าจากคนเฒ่าคนแก่ทเ่ี ขาท�าไปถวายพระหรืองานบุญต่างๆ​ ป้าก็ไปเป็นลูกมือช่วยและพอจ�าได้​สมัยก่อนนีก่ นิ กันบ่อยมาก​แต่หลังๆ​ก็ไม่คอ่ ย ท�ากินกันแล้ว​แต่ปา้ มองว่า​น่าท�า​อย่างน้อยเพือ่ อนุรกั ษ์ขนมโบราณของชาวมอญ ไว้​ราวๆ​20​ปีกอ่ น​ป้าก็เริม่ ท�าขนมนีอ้ ย่างจริงจัง​จนมาถึงทุกวันนี​้ ป้าเห็นแล้วว่า ไม่มใี ครอยากท�าต่อ​สิง่ ทีป่ า้ ท�าได้กแ็ ค่สอนคนทีส่ นใจอยากจะท�าเป็น​ซึง่ ส่วนใหญ่ เป็นนักเรียนทีม่ าท�าโครงการ​ไม่ใช่ทอี่ ยากมาเรียนรูจ้ ริงๆ​คิดแล้วป้าก็เริม่ เสียดาย”​ ป้าเล็กเสียงอ่อยลง​แล้วก็ยื่นขนมหันตราสีเหลืองรสหวานฉ�่าให้เราลองชิม

issue 549

H OW T O M A K E I T น�า้ ตาล และน�า้

กะทิ

ฝอยเงิน

กวนถั่วทอง

30 JUL 2018

1

2

ตั้งน�้าเชื่อมในกระทะทอง เหลืองพออุ่น ชุบไข่แดง

3

หยอดลงในน�้าเชื่อม ชุบไข่แดง

แล้วปั้นเป็นทรงรีสั้นๆ น�้าเชื่อม

4

ตัดขึ้นมาโปะด้วยฝอยเงิน ที่ท�าจากไข่ขาว


33

THE LAST CRAFTSMAN เวลาบ่ายคล้อย เรายังคงตามหาช่างศิลป์ชาวมอญ แห่งวัดปรมัยฯ ใครๆ ต่างเรียกว่า ‘ผูพ ้ น ั ’ และมักจะซ่อนกาย อยู่ภายในกุฏิเจ้าอาวาส เพียงเวลาไม่นานเราก็ได้พบกับ ‘ลุงเสธ’ - พลโท ชาติวฒ ั น์ งามนิยม ช่างตอกกระดาษอังกฤษ เพียงคนเดียวและอาจเป็นคนสุดท้ายในเกาะเกร็ด

​“นีค่ อื ทองกริต​หรืออะลูมเิ นียมแท้ทนี่ า� มารีดจนเป็นฟอยล์แล้วเคลือบ ด้วยทองเค​ประเทศแรกที่ท�าคืออังกฤษ​จึงเรียกกันว่ากระดาษอังกฤษ​ เพราะชาวอังกฤษได้นา� เข้ามาสมัยทีป่ กครองพม่า​และชาวมอญเองยังคงอยู่ ทีพ่ ม่า​เมือ่ ครัง้ อพยพใหญ่จงึ น�ากระดาษอังกฤษติดมาทีน่ ดี่ ว้ ย”​ลุงเสธหยิบ กระดาษขึ้นมาหนึ่งแผ่นเพื่ออธิบาย​ ​“แต่เดิมชาวมอญใช้กระดาษสาชุบสีธรรมชาติ​หรือใช้กระดาษข่อย น�ามาทาเป็นรักปิดทอง​แล้วก็ฉลุลาย​ก่อนน�าไปติดทีผ่ า้ ไว้ตกแต่งเรือพระทีน่ งั่ ฯ​ บริเวณหลังคาด้านใน​ม่าน​ตกแต่งฉัตรเบญจาส�าหรับประกอบเกียรติยศ​ รวมทัง้ ท�าธงตะขาบใหญ่เล็กๆ​ใช้ในการฉลองพระ​หรือแห่ในงานสงกรานต์ ส�าหรับเป็นพุทธบูชา​และห้ามแขวนในบ้าน​ทีนี้กระดาษสาเมื่อตอกลาย แล้วจะขาด​เมือ่ เจอกับกระดาษอังกฤษทีม่ คี วามเหนียวกว่า​ชาวมอญเลยใช้ วิธีนี้ในการตอกกระดาษเป็นต้นมา” ​ความโดดเด่นการตอกกระดาษแบบมอญ​จึงกลายเป็นงานศิลปะทีใ่ ช้ ท�าเป็นวอลเปเปอร์สไตล์มอญอยูท่ มี่ ลี วดลายละเอียดอ่อน​เช่น​การท�าธงตะขาบ​ หรือการท�าวอลเปเปอร์มอญไว้ติดที่โลงเหม​หรือโลงทอง​มีหลายลวดลาย ด้วยกัน​เช่น​ลายมอญ​ลายพรรณพฤกษา​ลายเครือวัลย์​ลายก้านแย่ง​ ลายพุ่มข้าวบิณฑ์​เป็นต้น “ศิลปะลวดลายมอญอีกอย่างคือ​การติดแวว​เป็นเทคนิคของเครือ่ งกระดาษมอญ​ซึ่งท�ายาก​เพราะต้องทั้งเจาะและสอดสีท�าแบบนี้อยู่ท้งั หมด ท�า​4​รอบ​กว่าจะได้แววชิน้ เล็กๆ​มาตกแต่งเพือ่ เพิม่ ลวดลาย”​ลุงเสธอธิบาย พร้อมหยิบกระดาษทรงสี่เหลี่ยมเล็กประกอบไปด้วยกระดาษสีแวววาวให้ดู ​“ส่วนใหญ่แล้วช่างตอกกระดาษนี้จะอยู่ที่วัด​ เป็นพระอาจารย์เก่งๆ​ ลุงเองก็ฝกึ มากับพระอาจารย์​เพราะเป็นศิลปะเพือ่ ศาสนา​ลุงฝึกมาตัง้ แต่อายุ​ 12​ปี​ค่อยๆ​เรียนรู้​และเริ่มท�าอุปกรณ์ตอกเองเพื่อท� าให้เกิดลวดลาย มากกว่าลายเดิมที่ท�าอยู่​ลุงท�าเป็นงานอดิเรกเพื่ออุทิศให้พุทธศาสนา​ ด้วยแรงศรัทธา​ไม่เอาเงิน​ตั้งแต่รับราชการอยู่ที่กองบัญชาการทหาร​สรพ.​ จนทุกวันนีเ้ กษียณแล้วอายุ​72​ปี​แต่ลงุ ก็ยงั คงท�าอยู​่ แต่อาจจะน้อยลงเรือ่ ยๆ​​ “สมัยนีไ้ ม่มใี ครสนใจจะเรียนรูก้ ารตอกกระดาษแล้ว​ไม่มใี ครอยากท�า​ ไม่เห็นคุณค่า​หากหมดรุ่นลุงไปก็คิดว่าการตอกกระดาษจะหายไปด้วย”​ ลุงเสธกล่าวด้วยน�้าเสียงที่ชวนให้รู้สึกใจหาย​ก่อนที่เราจะล�่าลาแกไปด้วย ความรู้สึกเสียดายที่เกิดขึ้นเมื่อรู้ว่าศิลปะมอญชนิดนี้ก�าลังจะหายไปจริงๆ​ โดยที่ยังมีสิ่งที่อยู่รอดเพียงอย่างเดียวคือเครื่องปั้นดินเผา​จนเป็นค�าถาม ที่ก้องอยู่ในหัวว่า... “จะเป็นอย่างนั้นจริงๆ​หรือ”​


a day BULLETIN

SPACE & TIME เรื่อง : ตนุภัทร โลหะพงศธร ภำพ : RENAISSANCE PATTAYA RESORT & SPA

34

“ทุกวันนีช ้ วี ต ิ ในเมืองท�ำให้เรำเหนือ ่ ยหน่ำยและเศร้ำได้ เรำจึงจ�ำเป็นต้องมอบของขวัญทีด ่ ท ี ส ี่ ด ุ ทีเ่ รียกว่ำ ‘กำรพักผ่อน’ ให้ตวั เรำเอง และคนทีเ่ รำรักอยูเ่ สมอ” วิภาวรรณ และ ศรินญา มหาด�ารงค์กล ุ

WHERE INDIGENOUS LOCAL CONTENT MEETS MODERNITY พักกาย ผ่อนใจ สัมผัสกลิ่นอายฟองคลื่น ณ รีสอร์ตริมทะเล Renaissance Pattaya Resort & Spa Na Jomtien, Sattahip, Pattaya, Chonburi Hours : open 24 hours a day

ท่ามกลางทัศนียภาพทีส ่ วยงามของท้องทะเลอ่าวไทย ทีเ่ ปีย ่ มด้วยเสน่หแ์ ละความเงียบสงบของต�าบลจอมเทียน ผสมผสานกับ ความทันสมัยของความเป็นเมือง รวมเป็นประสบการณ์คณ ุ ภาพทีแ่ ตกต่างและเหนือความคาดหมายของ Renaissance Pattaya Resort & Spa ซึง่ มาจากความตัง ้ ใจของ วิภาวรรณ มหาด�ารงค์กล ุ Managing Director และ ศรินญา มหาด�ารงค์กล ุ Executive Director ทีต ่ อ ้ งการสร้างความสุข ความตืน ่ ต้น และความประทับใจให้กบ ั การพักผ่อน ณ รีสอร์ตแห่งนี้

issue 549 30 JUL 2018

“เป็นความตั้งใจของครอบครัว โดยมองว่าบริเวณพัทยาใต้ ในช่วง 10 ปีท่ีผ่านมา ยังไม่มีโรงแรมใหม่ จึงตัดสินใจซื้อที่ดินติดชายหาดขนาด 17 ไร่ แล้วติดต่อทางแมริออท อินเตอร์เนชั่นแนล อินคอร์ปอเรชั่น ซึ่งเป็นบริษัทโรงแรมที่ใหญ่ที่สุดของโลก เพื่อขอด�าเนินธุรกิจรีสอร์ตภายใต้ระบบการจัดการที่เป็นมาตรฐาน แล้วในที่สุดก็เกิดเป็น Renaissance Pattaya Resort & Spa” วิภาวรรณบอกเล่าถึงจุดเริ่มต้น ความประทับใจแรกทีเ่ กิดขึน้ ทันทีเมือ่ เข้ามาในล็อบบี้ คือการพบกับโถงอาคารกว้างเปิดโล่งรับลมทะเล เสมือนผืนผ้าใบขนาดใหญ่ปรากฏภาพวิวทีท่ อดยาวสูท่ ะเลจรดเส้นของฟ้า พร้อมเสียงดนตรีบรรเลงคลอชวนผ่อนคลายและเวลคัมดริงก์ช่วยเพิม่ ความสดชืน่ โดยศรินญาอธิบายว่า “ไม่ว่าจะเป็นภาพทีเ่ ห็น กลิน่ ทีไ่ ด้รบั หรือเสียงที่ได้ยนิ สิง่ เหล่านีส้ ามารถสร้าง ประสบการณ์ท่แี ตกต่าง และความประทับใจแรกให้เกิดขึ้นได้ ประกอบกับการออกแบบและตกแต่งที่ทันสมัยมีชีวิตชีวาด้วยแรงบันดาลใจจากชาวประมงและสิ่งที่พบเห็นเมื่อไปทะเล ผ่านการใช้โทนสีของวัสดุอย่างไม้และโลหะ ยิ่งเพิ่มความรู้สกึ อบอุ่นและหรูหราไปพร้อมกัน” ส�าหรับห้องพักมีทั้งหมด 257 ห้อง แบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ เพื่อรองรับความต้องการของผู้เข้าพักให้ได้รับความสะดวกสบายมากที่สุด ภายในรีสอร์ตยังมีสิ่งอ�านวยความสะดวก ไว้บริการอย่างครอบคลุมครบถ้วน ทั้งสระว่ายน�้ากลางแจ้ง ห้องอาหารริมชายหาด บาร์ ห้องประชุม ห้องออกก�าลังกาย สปา และคิดส์คลับ “ทุกคนสามารถใช้ชีวิตอยู่ในรีสอร์ตได้ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่ว่าจะมาแบบครอบครัว เพื่อน คนรัก หรือกลุ่มธุรกิจ เราออกแบบให้ทุกคนในที่นี้ได้พักผ่อนจริงๆ ปล่อยวาง ทุกความวุน่ วายไปกับทะเล ดืม่ ด�า่ และรืน่ รมย์กบั บรรยากาศของธรรมชาติ กลิน่ ทะเลท�าให้เราสดชืน่ ได้ ขณะเดียวกันแสงแดดก็ทา� ให้เราสดใส เป็นการสร้างสรรค์ประสบการณ์แปลกใหม่ ที่จะท�าให้การมาพัทยาพิเศษกว่าครั้งก่อนๆ” ศรินญากล่าวเปิดท้าย


FOODIE

35

เรื่อง : ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

YADA RUANGSUKUDOM OWNER & CHEF OF SHIO

SALMON STEAK

WITH PARMESAN CREAM

ทุกวัน เวลา 10.00-22.00 น.

The Helix Quartier ชั้น 8 EmQuartier

LEVEL OF JUICINESS : 4.5 / 5

“อาหารทุกจานต้องมีสว่ นผสมไม่เกิน 5 อย่าง และทุกเมนูจะต้องมีเพียง 3 สีเท่านัน ้ ” นีค ่ อ ื กฎเหล็กส�าคัญในทุกๆ เมนูอาหารของ ‘แก้ว’ - ญาดา เรืองสุขอุดม เชฟและเจ้าของร้าน Shio อธิบายสัน ้ ๆ ก่อนทีจ่ ะหายเข้าไปในครัว แล้วออกมาพร้อมสเต๊กแซลมอนทีม ่ เี พียงสามสี ห้าอย่างของส่วนผสมจริงๆ โดยสีสม ้ อ่อนๆ นัน ้ มาจากเนือ ้ ปลาแซลมอนและครีม สีดา� จากหนังของปลาย่างและจานใบโต ส่วนสีเขียวได้จากกะหล�า่ ดาวจิว๋ พร้อมซอสหยดเล็กๆ สีเดียวกันด้านล่าง พอทุกอย่างรวมกันแล้วก็ทา� เอาเราน�า้ ลายสอ เมนูที่หลายคนคงเคยกินมาแล้ว แต่เราเลือกที่จะมาท�าในสไตล์ ของตั ว เอง โดยหนึ่ ง ในรสชาติ ที่ ต้ อ งมี คื อ รสเปรี้ ย วที่ ซ่ อ นอยู่ ด้วยเจลมิโสะที่อยู่ด้านล่างสุด ผสมกับโชยุ เลมอน และส้มเล็กน้อย เพื่ อ ให้ ม าตั ด ความเลี่ ย นของครี ม ซอสพาร์ เ มซาน และส่ ว นตั ว เป็นคนชอบอาหารที่มร ี สขมนิดๆ เราจึงใส่กะหล�่าดาวน้อยลงไปผัด จากนัน ้ ก็นา� ไปอบ แล้วตบท้ายด้วยการย่างอีกนิด เพือ ่ เพิม ่ ความลึก ให้รสชาติ และเติมรสหวานมันอ่อนๆ ด้วยพาร์สลีย์ออยล์ สุดท้าย จึงใส่ความเค็มที่ให้ความหอมด้วยพาร์มาแฮมกรอบด้านบนสุด

TASTE

INSPIRATION

บาท

INGREDIENTS

PRICE

590

เนือ้ ปลาแซลมอน / ครีมซอสพาร์เมซาน / พาร์มาแฮม / กะหล�า่ ดาว

ใครจะไปคิดว่าสเต๊กแซลมอนจานนี้จะท�าให้เราอึ้งไปกับรสชาติ ที่ เ พิ่ ง ค้ น พบ ไม่ เ พี ย งแต่ ค วามกรอบของหนั ง ปลาแซลมอน ด้านนอก แต่ด้วยการย่างอย่างพิถีพิถันนั้นท�าให้เนื้อแซลมอน ยังคงความชุ่มฉ�่า และคงกลิ่นรวมทั้งรสชาติของแซลมอนได้ดี แถมยังเข้ากันกับครีมซอสด้านล่าง ซึง ่ เชฟแก้วแนะน�าให้คนซอส และออยล์ จ นเข้ า กั น ก่ อ นจะตั ก ชิ ม ซึ่ ง เราพบกั บ ความอร่ อ ยที่ อธิ บ ายไม่ ถู ก รู้ แ ค่ เ พี ย งว่ า ยิ่ ง เคี้ ย วทุ ก อย่ า งในจานพร้ อ มกั น ก็ยิ่งได้รสชาติที่เรียกว่าคุ้มค่าคุ้มราคาจริงๆ


a day BULLETIN

BREATHE IN

36

เรื่องและภาพ : สีตลา ชาญวิเศษ, พชร สูงเด่น, getty images

BREATHE IN : สีตลา ชาญวิเศษ นักเขียน และคนท�างานด้านคอนเทนต์ ที่ผ่านมาท�าวิทยานิพนธ์ปริญญาโทในหัวข้อ ‘การจีบกันบนสื่อออนไลน์’ และเป็นเจ้าของแฟนเพจ ‘ธีสิสมุ้งมิ้ง’ ส่วนเรื่อง ่ งความรักเหมือนเดิม ่ ในเรือ ั เชือ ็ ง ้ ย ึ แม้จะเจ็บมามากแค่ไหน ทุกวันนีก ่ ย่าท�าเยอะมาก แต่ถง ่ งทีอ ความรัก เป็นคนอกหักเก่ง แห้วเก่ง เลยมีประสบการณ์มาบอกเล่าเรือ

หลายคนชอบนึกว่าความรักเป็นเรือ ่ งของอารมณ์ความรูส ้ ก ึ แต่จริงๆ ความรักเกีย ่ วข้องกับ ‘ทัศนคติ’ อย่างแยกไม่ออก เพราะทัศนคติเป็นตัวก�าหนดวิธค ี ด ิ และการใช้ชวี ต ิ ของคนเรา เมือ ่ เรามีทศ ั นคติอย่างไร วิธท ี เี่ รารักใครหรือมีความสัมพันธ์กบ ั ใครก็จะเป็นอย่างนัน ้

ดูง่ายๆ​เช่น​คนที่คิดว่าตัวเองไม่มีค่าพอที่จะได้รับ ความรัก​คุณคิดว่าคนแบบนี้จะมีความสัมพันธ์ที่มีคุณภาพ ไหมเล่ า ?​เพราะอย่ า ลื ม นะ​ว่ า คนที่ ม องตั ว เองไม่ มี ค ่ า​ พวกเขาก็ไม่ได้สนใจมากมายว่าคนที่เขาคบต้องดีหรือต้อง คอยดูแลเอาใจใส่พวกเขา​เพราะพืน้ ฐานคนลักษณะนีไ้ ม่เชือ่ ด้วยซ�้าว่าพวกเขาคู่ควรกับความรักที่ดี​ ฉะนั้น​ในบทความนี้​จะน�า​3​ทัศนคติส�าคัญๆ​ที่ช่วย ให้เจ้าตัวมีความรักและความสัมพันธ์ดีขึ้น​อย่างนั้นมาดูกัน ว่ามีอะไรบ้าง 1. “ไม่มีใครคืออีกครึ่งของเรา เราและเขาคือ สิ่งที่เต็มในตัวเองและเดินไปด้วยกัน”

issue 549 30 JUL 2018

ปัญหาคนวิง่ ไล่ตามความรัก​โดยมากมักเกิดจาก การทีผ่ กู ติด​(Attach)​ตัวเองกับอีกคน​เพราะหวังให้อกี คน มาเติมเต็มทีว่ า่ งในใจ​แต่การคิดแบบนีเ้ ท่ากับว่า​มองตัวเอง ว่า​‘ขาด’​อยู่ตลอดเวลา​และพอรู้สึกขาด​ก็จะกระหาย​ อยู่ไม่สุขและทุรนทุราย​อยากให้ที่ว่างนั้นถูกเติมเต็ม​ สิ่งที่เกิดขึ้นคือ​ คนที่คิดแบบนี้ก็จะออกวิ่งหาใครสักคน ม าเติมตัวเองอย่างไม่รู้จบ​ ซึ่งการมีความสัมพันธ์ด้วย ความรูส้ กึ ขาด​มันท�าให้ความสัมพันธ์นนั้ เป็น​‘ความกลัว’​ มากกว่า​‘ความรัก’ เรากลัวอีกฝ่ายจะไม่รกั เรา​เรากลัวอีกฝ่ายจะไม่อยู่ เพือ่ เติมเต็มทีว่ า่ งนัน้ ต่อ​สิง่ ทีต่ ามมาคือ​เราจะประสาทเสีย และหมกมุ่นกับคนรัก​เราจะพยายามเอาใจเขา​ยอมเปลี่ยน ตัวเองสารพัดเพื่อให้อีกฝ่ายรู้สึกดี​โดยหารู้ไม่ว่าเราก�าลัง สู ญเสีย ความเป็ นตัว เองไป​และเราค่ อ ยๆ​หมดเสน่ ห ์ ลง​ เพราะเสน่ห์เกิดจากการเป็นตัวของตัวเอง​อีกด้านหนึ่งคือ​ เราก�าลังสร้างความอึดอัดให้กบั อีกฝ่าย​ด้วยการเกาะตัวเอง กับอีกฝ่ายจนเกินไป​ ผลสุดท้ายคือจบลงด้วยการเลิกรา​ และเราก็กลับไปวิ่งหาส่วนที่ขาดต่ออีกเรื่อยๆ ดั ง นั้ น ​หากคุ ณ เป็ น คนหนึ่ ง ที่ อ ยากเปลี่ ย นตั ว เอง​ ไม่ให้วิ่งไล่ใครอีกต่อไป​คุณต้องท�าให้ตัวเองเชื่อได้ก่อนว่า​ หน้าทีข่ องการเติมตัวเองนัน้ ไม่ใช่จากคนอืน่ ​แต่คอื ตัวคุณเอง​ อย่าเชือ่ เพลงรักหวานซึง้ นัน้ มากเกินไป​เพราะเพลงรักเหล่านัน้ ไม่ได้มารับผิดชอบอะไรกับความทุกข์ของคุณ​มันแค่แต่งให้คณ ุ ชอบเพลง​แต่ไม่ได้ท�าให้คุณก้าวต่อ​ฉะนั้น​ก่อนจะรักใคร​ คุณต้องรักและดูแลตัวเองให้เหมือนกับทีค่ ณ ุ อยากดูแลคนอืน่ ​ เมือ่ ไหร่กต็ ามทีค่ ณ ุ เติมตัวเองจนอิม่ จนล้น​คุณก็จะเริม่ รักใคร ด้วยการแบ่งปันได้ง่ายขึ้น​เพราะคุณมีมากจนอยากแบ่งปัน

มัน​ไม่ใช่เพราะคุณอยากได้มนั 2. “มองตัวเองอย่างไร ก็จะได้อย่างนั้น”

คุณเคยสงสัยไหมว่า​ท�าไมคนเจ้าชูถ้ งึ ประสบความส�าเร็จ ในการจีบ​ทัง้ ทีบ่ างคนถูกป้ายหัวว่า​‘เจ้าชู’้ ​แต่ถงึ อย่างนัน้ ก็ยงั มีคนกล้าเล่นกับไฟ​เหตุผลเพราะคนเจ้าชูพ้ ราวเสน่หม์ องตัวเอง มีค่า​และพวกเขาก็รู้ด้วยว่าคนที่พวกเขาจะจีบก็ต้องเห็นค่า ในตัวพวกเขา​ซึ่งอาจเป็นเงิน​รูปลักษณ์หน้าตาของพวกเขา​ บุคลิกทีน่ า่ หลงใหล​ความเอาใจใส่หรือความหวือหวาทีพ่ วกเขา

ทั ศ น ค ติ อ ะ ไ ร บ้าง? ถ้ามีแล้ว ชีวิตรักจะดีขึ้น สามารถมอบให้​ เป็นต้น​และเมื่อคนเจ้าชู้รู้ตัวว่าตัวเองมีค่า​ และรู้ว่าใครที่มองหาคุณค่า​พวกเขาก็แค่แสดงคุณค่านั้น ออกมาและใช้มนั ดึงดูดเหยื่อให้มาติดกับ ตั ด ภาพมาที่ ค นอี ก ประเภทที่ ม องตั ว เองไม่ มี ค ่ า​ การเริม่ ต้นคิดแบบนีก้ เ็ หมือนอีกขัว้ หนึง่ ของคนเจ้าชู​้ ทีม่ องตัวเอง ไม่มีตัวเลือกหรือไม่มีสิทธิ์เลือก​เช่น​ชีวิตนี้ฉันคงไม่เหมาะ ทีจ่ ะมีใคร​หรือไม่อกี แบบคือ​ถ้ามีใครเข้ามาก็คงต้องคบหมด​ แต่ถ้าคนเหล่านี้เปลี่ยนมามองตัวเองมีค่าและเลือกเฉพาะ คนทีเ่ ห็นคุณค่าตัวเองจริงๆ​จะเกิดอะไรขึน้ ?​ค�าตอบคือ​พวกเขา ก็จะฉายคุณค่าเหล่านัน้ ออกมาโดยไม่รตู้ วั ​เพราะพวกเขาภูมใิ จ ในตัวเองมากพอจนแฝงอยูใ่ นบุคลิกและการกระท�า​พวกเขา จะรูส้ กึ ถึงอ�านาจทีพ่ วกเขามีวา่ ​สามารถเลือกได้วา่ อะไรคูค่ วร หรือไม่คคู่ วรกับสิง่ ทีพ่ วกเขาเป็น​ฉะนัน้ ​เรือ่ งนีม้ นั แค่นดิ เดียวเอง ว่ามองตัวเองอย่างไร แ ละเอาจริง​ คนเจ้าชู้กไ็ ม่สามารถจีบทุกคนบนโลกนี้ ไ ด้ติดหมดหรอก​ คนเจ้าชู้แค่ท�าสถิติได้ดีกับคนที่ยังไม่เข็ด

กับเรือ่ งความไม่ซอื่ สัตย์​แต่สา� หรับคนทีพ่ อกันทีกบั ความเจ้าชู้ หรือมองหาความซือ่ สัตย์​คนเจ้าชูท้ า� อะไรกับคนกลุม่ นีไ้ ม่ได้เลย​ และถ้าเผอิญคุณเป็นคนซือ่ สัตย์​ก็จงใช้มนั ดึงดูดคนทีม่ องหามัน​ แ ม้จะไม่หวือหวาและรวดเร็วเหมือนคนเจ้าชู้​ แต่อย่าลืมว่า คุณสมบัตบิ างประเภทไม่สามารถพิสจู น์กนั ทีค่ วามเร็ว​แต่พสิ จู น์ กันที่ความอึด​มั่นคง​และอดทน 3. “อะไรที่เป็นของเรา มันก็จะเป็นของเรา”

ปัญหาหนักใจสุดของคนบนโลกนี้คงหนีไม่พ้นเรื่อง​ ‘ความผิดหวัง’​ซึง่ เกิดจากการทีเ่ ราอยากได้อะไรแล้วเรา ไม่ได้​เช่นกันในเรือ่ งความรักความสัมพันธ์​ความผิดหวัง ที่เกิดได้บ่อยสุดคือ​ เวลาเรารักเขา​ แต่เขาไม่ได้รักเรา​ แน่นอนว่าเป็นใครก็เสียใจ แต่ถ้าคุณลองคิดใหม่​โดยเพิ่มทัศนคติข้อนี้ไป อีกข้อว่า​“อะไรทีเ่ ป็นของเรา​มันก็จะเป็นของเรา”​เชือ่ เถอะ ว่าคุณจะเริ่มเบาใจลง​ เหตุผลเพราะคุณจะมองแล้วว่า​ มีอะไรที่คู่ควรกับคุณรออยู่​แล้วเวลาที่อะไรหลุดลอย ไปจากคุณ​ก็แปลว่ามันไม่ใช่ของคุณ​ฉะนัน้ ​คุณไม่เห็นจะ ต้องเสียดายมัน​ แต่ควรดีใจว่า​ ดีเสียอีก​ จะได้เข้าใกล้ อะไรที่เป็นของเราจริงๆ​ได้เร็วขึ้น มันก็เหมือนกับการที่คุณเดินเจอรองเท้าหลายคู​่ บางคู่คุณใส่แล้วคับเท้า​พอเดินก็เจ็บ​หรือบางคู่หลวม​ พ อเดินก็หลุดออกจากเท้า​ หรือกระทั่งบางคู่คุณใส่ได้ พอดีเลย​แต่เผอิญว่าตอนนั้นมีคนแย่งมันไป​แต่เชื่อไหมว่า ถ้าคุณเชื่อว่า​“อะไรที่เป็นของเรา​มันก็จะเป็นของเรา”​ คุณก็จะค่อยๆ​เห็นว่า​ต่อให้ใครแย่งไป​แต่ถา้ มันเป็นของคุณ จริง​มันก็จะกลับมาหาคุณอยูด่ ​ี เพราะรองเท้านัน้ เป็นของคุณ ไง​มันออกแบบมาให้พอดีกับเท้าคุณ​ไม่ใช่เท้าของอีกคน​ เมือ่ คิดแบบนี​้ คุณจะไม่กลัวเวลาจะเสียอะไรไป​เพราะ พื้นฐานคุณเชื่อว่ามีสิ่งที่ใช่รอคุณอยู่เสมอ​ถ้าพบว่ามันไม่ใช่​ คุณก็จะไม่ลังเลที่จะตัดใจจากมัน​ หรือถ้าคุณกลัวตัดสินใจ ผิดพลาด​แต่เชือ่ เถอะ​คุณก็ไม่โทษตัวเองมากนัก​เพราะกลับไป ทีค่ า� ตอบเดิม​“ถ้าอะไรทีม่ นั เป็นของคุณ​มันก็จะเป็นของคุณ”​ สุดท้ายโลกทั้งใบก็จะช่วยให้คณ ุ กลับมาเจอกันอยู่ดี​ แต่บอกแบบนีไ้ ม่ได้แปลว่าคุณจะท�าอะไรก็ได้กบั สิง่ ที่ เป็นของคุณนะ​เพราะอย่าลืมกฎอีกข้อหนึ่งของโลก “ใครท�าอะไร​ก็จะได้อย่างนั้น”​


37

ม​ องย้อนกลับไปเมื่อปลายเดือนมิถุนายน​ครั้งแรกที่ ได้ยนิ ข่าวเด็กติดถ�า้ ​ความเห็น​ความรูส้ กึ ต่อข่าวในวันนัน้ ล้วน ต่างกันไปในใจแต่ละคน​บ้างเป็นห่วง​บ้างหวัง​บ้างเศร้า​บ้าง คิดว่านีก่ เ็ ป็นเพียงอีกข่าว​ไม่มใี ครคาดคิดว่าเพียงไม่กสี่ บิ วัน ถัดมา​เรือ่ งราวของสิบสามชีวติ จะกลายเป็นเรือ่ งราวของคน ทัง้ โลก​และในวันทีพ่ วกเขาออกมา​ความรูส้ กึ หลากหลายทีเ่ คย มีตอ่ เรือ่ งราวเหล่านัน้ ราวกับถูกหล่อหลอมในถ�า้ หลวง-ขุนน�า้ นางนอน​เป็นความปลืม้ ปีตใิ จ​เป็นความยินดีรว่ มกัน​--​ ราวกับว่าภารกิจสิบแปดวันในถ�า้ หลวงนัน้ เป็นการเดินทาง ข้ามผ่านมิตกิ าลเวลา​ราวกับว่าสิบสามชีวติ นัน้ ท�าให้เห็น ความเป็นฉันในเธอ​ความเป็นเธอในฉัน​คุณค่าในชีวติ ที่เราต่างให้ความส�าคัญ เกมชีวต ิ การเปลีย ่ นผ่านวัยเยาว์ของเหล่าหมูปา่

สาขาอาชีพ​เห็นผู้ยอมเสียสละชีวิต​และชีวิตที่สละไปนั้น ยิ่งเป็นพลังส�าคัญให้คนที่ยังอยู่ท�าภารกิจนี้ให้ส�าเร็จลุล่วง ไปได้ แ ทนชี วิ ต ที่ ส ละไป​ให้ ชี วิ ต ที่ จ ากไปได้ รู ้ ว ่ า ​ชี วิ ต นั้ น ไม่สิ้นเปล่า ทฤษฎี วิ ธี ก ารใหม่ ข องชุ ม ชนนานาชาติ ผ่ า น ความร่วมมือ ผ่านจุดร่วมที่มีร่วมกัน

“ฝรัง่ มีอำกำร ‘ตืน่ ’ ...ตืน่ ขึน้ มำจำกกำรเห็นแม่ครัว ยืนท�ำกับข้ำวเลีย้ งคน ...ตืน่ ขึน้ มำจำกกำรเห็นชำวนำที่ ยอมให้น้ำ� ท่วมเข้ำไร่นำของตน” มุมมองจาก​อาจารย์ ประมวล​เพ็ ง จั น ทร์ ​ที่ อ ธิ บ ายว่ า ท� า ไมเหตุ ก ารณ์ นี้ ถึ ง เป็ นปรากฏการณ์ตอ่ นานาชาติ​ในวันทีโ่ ลกเบนเข็ม ทิศเข้าหาการใช้หัวคิด​ผ่านการแบ่งแยกเป็นฝ่าย​--​ ถ้าเธอได้​ฉันต้องเสีย​--​ความรูส้ กึ ทีว่ า่ ​ฉันอาจเสีย​แต่ ถ้าเธอได้​ เขาได้​ สุดท้ายเราจะได้รว่ มกัน​ ภาพชาวบ้าน ยอมปล่อยให้น�้าท่วมไร่นา​ ภาพอาสาสมัครมุสลิมท�า อ าหารฮาลาลไปให้คนท�างานโดยไม่เกี่ยงว่าคือพุทธ​ คริสต์​ อิสลาม​ฯลฯ​ความธรรมดาของความร่วมแรง ร่วมใจโดยไม่แบ่งฝ่าย​ไม่คดิ ว่าใครจะได้ใครจะเสีย​จึง สัน่ สะเทือนไปทัง้ ใจ​ทฤษฎี​และวิธีการ ​ในวันที่โลกกระจัดกระจายตามขั้วอ�านาจที่ไม่ เท่าเทียม​ข่าวสงครามความขัดแย้งเกิดขึ้นในนามของ ความเชือ่ ​เศรษฐกิจ​อุดมการณ์​แต่สงิ่ ทีเ่ ห็นในวันนีค้ อื ​ ไม่วา่ จะคนใหญ่คนโต​นักธุรกิจพันล้าน​นักวิทยาศาสตร์​ ทหาร​ผู้คนจากวงการไหน​เราต่างร่วมมือร่วมใจให้กบั ชีวติ วัยเยาว์​--​ชีวติ ​ทีไ่ ม่มเี ส้นแบ่งความเป็นเขา​เป็นเรา,​ คุณค่าในชีวิต​ที่เราต่างให้ร่วมกัน สองสิง่ ในชีวติ ทีเ่ ขาว่ากันว่าไร้มลู ค่า​เพราะมันประเมินค่า ไม่ได้ในเชิงมูลค่า​คือความรู้​และชีวิต ​หากเป็นเช่นนั้น​การปฏิบัตกิ ารครั้งนี้ย่อมไม่สามารถ พูดได้ว่าคุ้มค่าหรือไม่​เพราะมันไม่ได้​‘คุ้ม’​ในเชิงจุดคุ้มทุน เปรียบเทียบทางมูลค่าใดๆ​หากวิกฤต​และการปฏิบัติการ ร่วมมือกันครั้งนี้นั้นช่างมีคุณค่าไม่ว่าจะมองผ่านมุมไหน​ ผ่านสายตาของเด็ก​คนท�างาน​หรือชุมชนนานาชาติ​ภารกิจ สิบแปดวัน​เพือ่ สิบสามชีวติ นัน้ ราวกับการก้าวผ่าน​ให้พวกเรา เรียนรู้​ ปฏิบัติต่อกัน​หากชีวติ จะเติบโตขึ้นเมื่อก้าวผ่านงาน ทีย่ าก​พวกเราก็คงต่างเติบโต​ต่างไปจากเมือ่ ปลายเดือนมิถนุ ายน ทีแ่ ล้ว​...ก่อนทีส่ บิ สามคนจะก้าวเท้าเข้าไปในถ�า้ หลวง-ขุนน�า้ นางนอน​

ภารกิจสิบแปดวัน สิบสามหมูป่า กับ ช่วงเวลา ‘coming of age’ ของ พวกเราทุกคน

มี ค� า แนะน� า มากมายจากนั ก จิ ต วิ ท ยาเด็ ก​ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นสมอง​หรื อ แม้ แ ต่ ผู ้ ร อดชี วิ ต จาก เหตุการณ์ติดเหมือง​69​วันในประเทศชิลี​ที่ออกมา ให้ ค� า แนะน� า ในการปฏิ บั ติ ต ่ อ เด็ ก หลั ง ออกจากถ�้ า​ ในการเยียวยาจิตใจให้กลับมาในสภาวะปกติให้เร็วทีส่ ดุ ​ แต่ไม่ว่าวิธีการจะเป็นเช่นไร​เราจะอยากให้พวกเขา เหมือนเดิมแค่ไหน​ปฏิเสธไม่ได้วา่ ในใจของพวกเขาในวันที่ เข้าถ�า้ และออกจากถ�า้ ไปนัน้ ไม่มที างทีจ่ ะกลับไปเหมือนเดิม ​ในชีวติ ของเราล้วนต่างผ่าน​‘เกมชีวติ ’​ทีเ่ ป็นเหมือน ด่านทดสอบว่าเราจะข้ามผ่านมันไปได้หรือไม่​ถ้าผ่านมัน ไปได้​ไม่ถอดใจ​ไม่ก่นด่าว่าชะตา​ก็เป็นไปได้ว่าเราจะ กลายร่างเป็นมนุษย์พนั ธุใ์ หม่ทแี่ ข็งแรงขึน้ ​พร้อมเผชิญ ชีวิตที่เหลือได้แข็งแรงกว่าเคย​ส�าหรับพวกเขาแล้ว​ ถ�้าหลวงคงเป็นเกมชีวิตด่านโหดที่พวกเขาเผชิญ​ระยะเวลา ในถ�้าที่นานชั่วกัลป์ของพวกเขาที่เฝ้ารอคอยความช่วยเหลือ​ หากนาทีที่ก้าวออกมาแล้ว​ช่วงเวลา​18​วันนั้นคงเป็นการเปลี่ยนผ่านของวัยที่เร็วที่สุด​เร็วกว่าการที่คนคนหนึ่งต้องใช้ เวลาบ่มเพาะการเติบโตเป็นเวลาหลายปีในวิถีปกติ ฐานบัญชาการ การเปลี่ยนผ่านของคนท�างาน

คนท�างานอยูเ่ บือ้ งหลัง​กองทัพอาสาสมัคร​ทีเ่ ชือ่ มัน่ ในคุณค่า บางอย่างทีใ่ หญ่เกินกว่าขอบเขตงานของตัวเราเอง​ความมุง่ มัน่ ในกิจกรรมการงานบางอย่างที่อธิบายกับใครไม่ได้ว่าท�าไป เพื่ออะไร​หวังเพียงแต่ว่าเมื่อพากเพียรหมั่นท�าไปเรื่อยๆ​ แล้ว​ชีวติ จะน�าพาปรากฏให้เห็นคุณค่าของการงาน มดงานหนึง่ ตัวทีเ่ ศษน�า้ ตาลยังหนัก​หากมดงานหลายตัว ให้แบกก้อนกรวดน�า้ ตาลหลายก้อนยังไหว​ไม่ตา่ งจากเหตุการณ์

“ผมด�ำน�้ำด้วยควำมหลงใหล และสงสัยมำตลอดว่ำ ทั้งหมดนี้ท�ำไปเพื่ออะไร จนกระทั่งสองอำทิตย์ที่ผ่ำนมำ คือค�ำตอบของทุกอย่ำงที่ท�ำมำทั้งชีวติ ” ค�าพูดของนักด�าน�้า ชาวอังกฤษทีถ่ กู แชร์ไปทัว่ โซเชียลมีเดีย​ราวกับว่าค�าพูดของเขา พูดแทนเสียงในใจของเราหลายคน​กับความเป็นมดงานตัวเล็ก​

คราวนี้ที่ท�าให้เราตีความ​ผู้นา� ​ในความหมายที่เปลี่ยนไป​--​ เห็นผูน้ า� ในความท�างานร่วมกันเป็นทีม​ไม่ใช่ความส�าเร็จในฐานะ ตัวบุคคล​--​ในยามวิกฤต​ในวันอับชืน้ ฝนตก​เราจะเริม่ เห็นเหล่า มดงานเบือ้ งหลังทีพ่ ร้อมเดินกันออกมาจากโพรง​มดงานทีแ่ ท้ ไม่เสียเวลามาประกาศให้ใครรู้ว่าพวกเขาท�าอะไร​เพราะ หน้ า งานของพวกเขานั้ น เป็ น เป้ า หมายที่ ส�า คั ญ เกิ น กว่ า จะเจียดเวลามาป่าวประกาศศักดาความเป็นตัวตน ​เราเห็นว่าผู้น�าที่แท้ไม่ใช่ผู้น�าที่กุมอ�านาจ​แต่คือผู้น�า ทีพ่ ร้อมออกรับหน้าด่าน​เป็นผูป้ ระสานงาน​เชือ่ มต่อบทบาท หลากหลาย​ให้เดินหน้าไปในทิศทางเดียวกัน​เห็นคนเบือ้ งหลัง ทีย่ อมเสียสละพืน้ ทีส่ ว่ นตัว​เพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม​เห็นการสละ เวลา​ทักษะ​ความรู้​ความสามารถของผู้คนหลากหลาย

BREATHE IN : พชร สูงเด่น อาชีพ : นักศึกษาทุน Erasmus Mundus ด้านการศึกษาเพื่อการพัฒนา ก�าลังอยู่ในช่วงชีวิตที่ต้องวุ่นๆ สลับไปมา ระหว่างนั่งเขียนรายงานในห้องสมุด อบขนมในห้องครัว เรียนรู้ นอกห้องเรียนด้วยการเดินทางไปยังเมืองต่างๆ ในยุโรป และการนั่งเขียนบันทึกเรื่องราวทั้งหมดส่งมาให้ a day BULLETIN ที่ก�าลังจะน�ามาทยอยลงเป็นตอนๆ ทางออนไลน์ของเรา

ว่ากันว่าเราไม่ได้เติบโตตามอายุที่เพิ่มขึ้นแต่ละปีในชีวิต แต่ชีวิตจะเติบโตขึ้นเมื่อก้าวข้ามผ่านงานยาก ความท้าทายบางอย่างต่างหากที่ท�าให้เราก้าวพ้น จากวัยหนึ่งสู่วัยหนึ่ง


a day BULLETIN

,

EDITOR S NOTE

38

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

THE EXTENSIONS OF MAN

issue 549 30 JUL 2018

เมื่ออ่านหนังสือ It’s Complicated แล้วท�าให้ผมนึกถึง ซีรีส์เรื่อง Downton Abbey ผมชอบตรงทีท่ งั้ หนังสือและซีรสี เ์ ล่าเรือ่ งชีวติ ประจ�าวัน อันแสนธรรมดาสามัญของผู้คน แต่โอบคลุมบรรยากาศ ทั้งหมดไว้ด้วยแนวความคิดที่สลับซับซ้อนกว่านั้น เกี่ยวกับ สภาพสังคมภายนอกทีม่ ตี อ่ สภาพจิตใจภายในอันเนือ่ งมาจาก ความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี It’s Complicated เป็นหนังสือที่เรียบเรียงจากงานวิจัย แบบชาติพนั ธุว์ รรณา ตามติดชีวติ วัยรุน่ อเมริกนั ยุคมิลเลนเนียล กับการใช้งานโซเชียลมีเดีย ขณะที่ ดาวน์ตันแอบบี เป็นซีรีส์ แนวดราม่าเกีย่ วกับครอบครัวชนชัน้ สูงในประเทศอังกฤษและ เหล่าคนรับใช้ของเขา ตอนช่วงต้นศตวรรษที่ 20 เอพิโสดแรก ซีซันแรก ของ ดาวน์ตันแอบบี้ เปิดเรื่อง ด้วยภาพหัวรถจักรไอน�า้ ก�าลังห้อตะบึงช�าแรกแทรกเข้าไปใน ท้องถิน่ ชนบท ภาพตัดเข้าไปให้เห็นสภาพความเป็นอยู่โอ่อ่า หรูหราภายในคฤหาสน์หรูที่เพิ่งมีไฟฟ้าเข้าไปถึง และทุกคน ต่างก็ตนื่ เต้นกับการได้ลองเปิดหลอดไฟเป็นครัง้ แรก ในขณะ ที่ It’s Complicated เริ่มต้นเล่าถึงสภาพสังคมวัยรุ่นไฮสกูล อเมริกัน พวกเขาเข้าร่วมงานแข่งขันกีฬาและงานพรอม พร้อมกับหยิบโทรศัพท์มือถือขึ้นมาถ่ายรูปเล่นกัน แชร์ใส่ โซเชียลมีเดีย และแท็กหากันสนุกสนาน ภาพชี วิ ต แสนธรรมดาจากช่ ว งเวลาที่ แ ตกต่ า งกั น นานถึงหนึ่งร้อยปี บอกเล่าแก่นเรื่องราวทั้งหมดของหนังสือ และซีรีส์ มันเผยให้เห็นถึงเค้าลางของความเปลี่ยนแปลง ทีก่ า� ลังคืบคลานเข้ามาสูผ่ คู้ นและสังคม โดยผูท้ อี่ ยูใ่ นเรือ่ งราว เหล่านัน้ ไม่ทนั สังเกตหรือไม่ทนั รูต้ วั หรอก มีเพียงผูช้ มเท่านัน้ ทีค่ อยสังเกตการณ์จากภายนอก จะค่อยๆ มองเห็นรูปแบบของ ปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ จากเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาเปลีย่ นแปลง รากฐานเดิมๆ ในสังคม ในดาวน์ตันแอบบี สภาพสังคมภายนอกคฤหาสน์หรู ก�าลังเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันจากมหาสงคราม และสิ่งที่ ส�าคัญและมีอิทธิพลกว่านั้น คือเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้น และค่อยๆ แทรกซึมเข้ามาในชีวติ ของผูค้ น เปรียบเทียบกับวัยรุน่ ยุคมิลเลนเนียลในหนังสือ ถือเป็นดิจิตอลเนทีฟ หรือเด็กที่ เกิดมาในโลกทีท่ กุ อย่างเป็นดิจติ อลไปหมดแล้ว พวกเขาถูกเรียก อีกอย่างว่า ดิจติ อลนาอีฟ เพราะไม่รถู้ งึ ความแตกต่างของยุคสมัย ไม่เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตัวเอง

ยุคต้นศตวรรษที่ 20 ไฟฟ้าและหลอดไฟท�าลายข้อจ�ากัด ของพื้นที่และเวลา ท�าให้คนเราสามารถมีชีวิตตอนกลางคืน ได้ยาวนานขึ้น และก่อให้เกิดพื้นที่รวมตัวของผู้คนเข้ามาอยู่ ด้วยกัน ความสัมพันธ์ของผูค้ นจึงเปลีย่ นไป ทัง้ รูปแบบการพูดคุย และเรื่องราวที่พูดคุยกัน กระแสไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร ภายในคฤหาสน์หลังนัน้ ก็เปลีย่ นแปลงไป มีเรือ่ งซุบซิบนินทา กันในห้องครัว คนในห้องนั่งเล่นวางมาดคุยกันแบบมีช้นั เชิง รถไฟเร่งความเร็วของการเดินทาง ระบบขนส่งขนาดใหญ่ ที่พาผู้คนเดินทางไกลๆ ไปในเวลาเดียวกัน ท�าให้เกิดส�านึก เรื่องความเท่าเทียมกันในสังคม ผู้หญิงเริ่มมีภาระนอกบ้าน มากขึน้ เนือ่ งจากสงครามโลกพรากผูช้ ายไปหมด ก็ทา� ให้เกิด ส�านึกเกีย่ วกับสิทธิสตรี เทคโนโลยีสอื่ สารอืน่ ๆ อย่างหนังสือพิมพ์ โทรเลข โทรศัพท์ ค่อยๆ เข้ามามีบทบาทในแต่ละเอพิโสด น�าข่าวสารจากท้องถิ่นห่างไกลเข้ามาส่งผลกระทบยิ่งใหญ่ ต่อสังคมภายในบ้าน ในขณะทีว่ ยั รุน่ ยุคมิลเลนเนียลกระโจนเข้าหาโซเชียลมีเดีย เทคโนโลยีที่ก่อให้เกิดพื้นที่รวมตัวของผู้คนเข้ามาอยู่ด้วยกัน ไม่ตา่ งจากหลอดไฟใน ดาวน์ตนั แอบบี พวกเขาพูดคุยสือ่ สารกัน เกิดเป็นกระแสไหลเวียนของข้อมูลข่าวสารที่เปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์ในสังคม ส�านึกความเท่าเทียม ส�านึกของตัวตน เราทุกคนเข้าไปครอบครองพืน้ ทีใ่ หม่ และพยายามไต่เต้าขึน้ ไป ในล�าดับชนชั้น เวลาห่างกันร้อยปี เทคโนโลยีเปลี่ยน แต่มนุษย์ท�า สิ่งเดิม สิ่งเดียวกัน แก่นแท้ภายในของเรายังคงเดิม ดังนั้น ความเปลี่ยนแปลงไม่ได้ขึ้นอยู่กับตัวละครในซีรีส์ หรือผู้ใช้ โซเชียลมีเดียแต่ละคนๆ ว่าเป็นคนดีหรือเลว แต่ความเปลี่ยนแปลงเกิดจากคลื่นขนาดยักษ์จากภายนอกที่ถาโถม เข้าใส่ พัดพาชะตากรรมของพวกเราให้ดา� เนินไปตามกระแส อาจจะมีช่องว่างเหลือเพียงเล็กน้อยให้กับเจตจ�านงของ ปัจเจก ในแต่ละทางแยกซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนของกระแสน�้า ว่าพวกเราเลือกท�าในสิ่งที่ผิดหรือถูก ดาวน์ตันแอบบี จึงสนุกได้ในหลายระดับ ง่ายที่สุดคือ ดูมันเป็นเรื่องการต่อสู้และต่อรองระหว่างชนชั้นสูงกับเหล่า คนรับใช้ของพวกเขา มีการทรยศหักหลัง คุณธรรมน�า้ มิตร และชิงรักหักสวาท ในระดับลึกลงไป เมื่อเข้าไปพิจารณาดู แต่ ล ะจุ ด ของความขั ด แย้ ง จึ ง จะรู ้ ว ่ า มั น เกิ ด ขึ้ น เพราะ เทคโนโลยี

โลกโซเชียลมีเดียก็เช่นเดียวกัน เมื่อเราเข้าไปวิ่งเล่น กันอยู่ข้างในนั้นก็จะพบกับความสนุกหลายระดับ ถ้ามอง อย่างผิวเผิน เราจะเห็นคอนเทนต์มากมายมหาศาลถาโถม เข้ามาในแต่ละวินาทีๆ มีข่าวเสือด�าบ้าง ข่าวหมูป่าบ้าง ช� า แรกแทรกผ่ า นหน้ า จอบนฝ่ า มื อ ด้ ว ยความเร็ ว ยิ่ ง กว่ า หัวรถจักรไอน�า้ ผมชอบหนังสือ It’s Complicated ตรงทีม่ นั ไม่ได้อธิบาย โซเชี ย ลมี เ ดี ย ด้ ว ยการวิ เ คราะห์ ตั ว เนื้ อ หาของข่ า วสาร ที่ผ่านมาแล้วผ่านไป ซึ่งแน่นอนว่าย่อมเต็มไปด้วยข่าวร้าย ความขัดแย้ง ถ้อยค�ารุนแรง เซ็กซ์ หรือเรื่องไร้สาระอย่างที่ เห็นกันอยู่เป็นประจ�า มันจึงง่ายมากๆ ที่จะท�าให้เรามีท่าที หวาดระแวงเทคโนโลยีการสือ่ สารใหม่ และมองว่าเด็กรุน่ ใหม่ ก�าลังมีปัญหาในการใช้งานมัน แต่หนังสือเล่มนี้วิเคราะห์ที่ตัวเทคโนโลยีสื่อในฐานะ ที่ เ ป็ น สารด้ ว ยตั ว มั น เอง เทคโนโลยี เ ป็ น ส่ ว นต่ อ ขยาย ความสามารถทางกายและจิตใจของผูใ้ ช้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เทคโนโลยีการสื่อสาร ซึ่งมันเป็นเรื่องของพื้นที่ เหมือนกับ เมื่อยี่สิบสามสิบปีก่อน ทีวีและชุดเครื่องเสียงที่กลายเป็น พื้นที่กลางของบ้าน สมาชิกทุกคนต้องมานั่งกองรวมกัน จนกระทัง่ เมือ่ เกิดทีวี 14 นิว้ และซาวนด์อะเบาต์ ก็ทา� ให้ทกุ คน แยกย้ายกันอยูใ่ นห้องส่วนตัว เทคโนโลยีทา� ให้พนื้ ทีแ่ ละเวลา ถูกบิดเบือนไป และผูใ้ ช้ได้ตอ่ ขยายร่างกายและจิตใจเข้าหากัน ในรูปแบบใหม่ การศึกษาสื่อจึงไม่ใช่เพียงแค่ดูที่เนื้อหา หนังสือ It’s Complicated จะท้าทายให้เรามองโซเชียลมีเดียในอีกระดับ ว่าสิง่ ส�าคัญกว่าคือการดูวา่ สือ่ ท�างานอย่างไรในการเชือ่ มโยง ผู้คน และก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างไร มันจึงไม่เกี่ยวกับว่าจะเป็นข่าวเรื่องเสือด�าหรือหมูป่า ข่ า วสารที่ เ ราเห็ น ว่ า ฮื อ ฮากั น เหลื อ เกิ น ในโซเชี ย ลมี เ ดี ย ทุกวันนี้ ส่วนใหญ่เป็นแค่กล่องเปล่าทีเ่ ราโยนไปโยนมาใส่กนั ตามธรรมเนียมปฏิบัติของพื้นที่แห่งนี้ สิ่งที่น่าสนใจกว่า คือเทคโนโลยีทา� ให้เกิดความเปลีย่ นแปลงอย่างไร พฤติกรรม ที่เราใช้งานมัน และความคิดที่เรามีต่อมัน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.