a day BULLETIN 554

Page 1


02 ตัวเลขทางสถิตแิ ละผลส�ารวจทีน ่ า่ สนใจ ของปรากฏการณ์ไลฟ์สตรีมมิง

THE CONVERSATION ‘นนท์’ - ธนนท์ จ�าเริญ ชายหนุม ่ ผูอ ้ อกตัวว่าไม่เปอร์เฟ็กต์ แต่จะท�างานทุกอย่างให้สมบูรณ์แบบทีส ่ ด ุ

CONNECTING THE DOTS คุยกับ 2 หนุ่มเจ้าของ Readery ร้านหนังสือออนไลน์สุดเซ็กซี่แห่งยุค

LIFE

BEHIND THE COVER

CONTENTS

DATABASE

555 554 553

TODAY EXPRESS PRESENTS

03 SEP 2018

THE

IMPERFECT

PERFECTIONiST

บทบาทและการพัฒนาสวนสัตว์ ทีจ่ ะช่วยสร้างคุณค่า ให้กบ ั ผูค ้ น สัตว์ปา่ สิง่ แวดล้อม และสังคมไทย

I S S U E 554 03 SEP 2018

SPACE & TIME ส�ารวจ Cinema Oasis โอเอซิสแห่งความหวัง ของนักท�าหนังอิสระ

FOODIE

บทสัมภาษณ์ของ นนท์ ธนนท์ ในวันนี้คือเด็กหนุ่มที่เติบโต ขึ้ น อย่ า งเห็ น ได้ ชั ด จากวั น ที่ เ รารู้ จั ก เขาในรายการ The Voice Thailand Season 1 ดังนั้น เราจึงอยากให้ภาพของเขาออกมาเท่ มีสไตล์ แต่มค ี วามนิง ่ ขรึมเล็กๆ ให้รส ู้ ก ึ ถึงความเป็นผูใ้ หญ่ เป็นการเปลี่ยนผ่านที่ไม่ใช่ นนท์ The Voice คนเดิม แต่เป็นชายหนุ่มที่เป็น นักร้องก็ได้ นักแสดงก็ดี และเป็นคนที่แฟชั่นก็เก๋ เพราะทั้งหมดนี้ ก�าลังสะท้อนถึงสิง่ ทีเ่ ขาจะมาพูดคุยกับเรา ถึงเรือ่ งของชีวต ิ ความกลัว การเปลีย ่ นไปของสังคม และความไม่สมบูรณ์แบบในตัวทีเ่ ขาเชือ ่ ว่า สิ่งนี้แหละที่จะเติมเต็มความเป็นมนุษย์ของเขาให้สมบูรณ์แบบ

Sweet Toasts & Savoury Toasts สารพัดท็อปปิ้ง คาวหวานแบบจัดเต็มบนขนมปังแผ่นเดียว

EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิการ ทัศนคติต่อชีวิตและสังคมผ่านสายตา วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ

ที่ปรึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการที่ปรึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล พัทธมน วงษ์รัตนะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นักเขียน/ผู้ประสานงาน ตนุภัทร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ คเชนทร์ วงศ์แหลมทอง หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง กวินนาฏ หัวเขา ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, พรอารีย์ ต้นคชสาร 08-8882-1645 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อี เ มล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com



a day BULLETIN

DATABASE

LIVE

เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

THE STATE OF

04

LIVE STREAMING ก่อนเขียนบทความนีเ้ รายอมรับว่าก�าลังอยูใ่ นช่วงเสพติดเฟซบุก ๊ ไลฟ์ของศิลปินไทยคนหนึง ่ อย่างงอมแงม ไม่ใช่แค่เพราะเนือ ้ หาทีช ่ วนติดตาม เท่านัน ้ แต่พฤติกรรมการคอมเมนต์และวิพากษ์วจ ิ ารณ์ของคนทัว่ ไปแบบ ‘เรียลไทม์’ ก็ทา� ให้เผลอใช้เวลากับไลฟ์สดนีไ้ ปเกือบชัว ่ โมงโดยแทบจะ ไม่รต ู้ ว ั เราจึงขอชวนคุณมาส�ารวจตัวเลขทางสถิตแ ิ ละผลส�ารวจทีน ่ า่ สนใจซึง ่ แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มปรากฏการณ์ Facebook Live ทีก ่ า� ลัง ได้รับความนิยมไปทั่วโลก เมื่อเทียบกับช่วงเริ่มต้น ปัจจุบันความนิยมของการเสิร์ชคำาว่า ‘Facebook Live Stream’ ในกูเกิ้ลเพิ่มขึ้นมากถึง 330%

1/5

Facebook Live Stream พี่เสก #แนนโนะ a day Bulletin

ปัจจุบัน วิดีโอ 1 ใน 5 หรือร้อยละ 20 ของเฟซบุ๊กเป็นวิดีโอประเภท ไลฟ์บรอดแคสต์

3 & 10

50

โดยเฉลี่ยแล้ว วิดีโอไลฟ์ในเฟซบุ๊กได้รับ การชมนานกว่าวิดีโอปกติ 3 เท่า และได้รับ การคอมเมนต์จากผู้ใช้มากกว่าวิดีโอปกติ ถึง 10 เท่า

ร้อยละ 45 ของผู้ชม ไ ล ฟ์ ส ด ผ่ า น ท า ง เฟซบุก ๊ เผยว่าพวกเขา ยินยอมที่จะจ่ายเงิน ใ ห้ กั บ บ ล็ อ ก เ ก อ ร์ นักพูด หรือทีมผูผ ้ ลิต วิดีโอที่ชื่นชอบ เพื่อ สร้างสรรค์วด ิ โี อไลฟ์ ใ น แ บ บ ที่ พ ว ก เ ข า ต้องการ

The Wall Street Journal รายงานว่า เคยมีการถ่ายทอดวิดีโอไลฟ์ ที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรง เช่น การทำาร้ายร่างกายการฆาตกรรม และการฆ่าตัวตาย ผ่านทางเฟซบุก ๊ ไลฟ์ มาแล้วอย่างน้อย 50 ครั้ง

LIVE

50,000,000$

45%

ในตอนต้ น เฟซบุ๊ ก จ่ า ย เ งิ น ใ ห้ กั บ สำานักข่าวและผู้ผลิต คอนเทนต์อย่าง The New York Times, CNN, Buzzfeed และอิ น ฟลู เ อนเซอร์ อื่นๆ เป็นจำานวนถึง 50 ล้านเหรียญฯ เพือ ่ ให้พวกเขาใช้ Facebook Live มากขึ้น

330%

ความนิยมของการชมวิดีไลฟ์สตรีม 30% 28% 24%

20%

174,000,000 Chewbacca Mom คื อ วิ ดี โ อ เฟซบุก ๊ ไลฟ์ทม ี่ ย ี อดวิวเยอะทีส ่ ด ุ ตลอดกาล ด้ ว ยการชมทั้ ง สิ้ น 174,000,000 ครัง ้ (เมือ ่ วันที่ 20 สิงหาคม 2561)

23% 20%

10% ก.ค. - ก.ย. 2016

ต.ค. - ธ.ค. 2016

ม.ค. - มี.ค. เม.ย. - มิ.ย. 2017 2017

issue 498 07 aug 2017


WE’RE ONLINE B O O K S TO R E

ǠLjˏ ǒ Ǘ˧ ǣ Ò íłłĪ Ǐǥǁǥǟˡ ǩ ǃǚ

ǐˏ DŽ Ǘˑ ǒ ǞǏˣ dž˰ Ʈ ǏǥǛƮǥǏ

Ǘljˏ ǁ ǏǗljǥƿˡ Ʈ Ljˡ Dž ǛǗǥǏǬLjǩǁǏ˧ ǣ ôÒƗ ŜłúŰŦ

godaypoets.com @


06 www.mymodernmet.com

www.azcentral.com

IN CASE YOU

MISSED IT

ข่าวรอบโลกปลายสัปดาห์ที่คุณอาจพลาดไป!

a day BULLETIN

AGENDA

TECHNOLOGY

ARCHITECTURE

แอพฯ จดจ�าใบหน้า ช่วยให้เจ้าของ ตามหาสัตว์เลีย ้ งทีห ่ ายไปได้งา่ ยขึน ้่

ตึกแฝดทรงทวิสต์จากเวที Southbank by Beulah ก�าลังจะกลายเป็น ตึกทีส ่ งู ทีส ่ ด ุ ในออสเตรเลีย

ส�าหรับเจ้าของสุนขั คงไม่มอี ะไรน่ากังวลไปกว่าการที่ เพื่อนสี่ขาของคุณหายตัวไปอย่างไร้ร่องรอย John Polimeno ชายชาวอเมริกัน จึงคิดค้นและพัฒนา แอพพลิเคชันส�าหรับสมาร์ตโฟนในชือ่ Finding Rover ที่มีระบบจดจ�าใบหน้าของสุนัข สามารถแยกสีขน โครงหน้าของสุนขั แต่ละตัวได้อย่างแม่นย�า โดยตัว แอพพลิเคชันสามารถบอกพิกดั ต�าแหน่งทีพ่ บตัวสุนขั ได้ เพียงแค่ใช้กล้องจากสมาร์ตโฟนถ่ายภาพหน้าตรง ของสุนัข พร้อมกับระบุต�าแหน่งดวงตาและจมูก ของสุ นั ข ระบบก็ จ ะบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ของสุ นั ข ทั น ที เมือ่ ใดก็ตามทีส่ นุ ขั หลงทางหรือหายออกไปจากบ้าน ผูท้ พี่ บเจอสุนขั ในสถานทีต่ า่ งๆ ก็สามารถถ่ายภาพ และอัพโหลดภาพของสุนขั ลงในแอพพลิเคชัน ซึง่ จะ ถูกบันทึกไว้ในฐานข้อมูล ท�าให้เจ้าของทีก่ า� ลังตามหา สุนขั ของตัวเองอยูไ่ ด้พบกับเพือ่ นรักสีข่ าอีกครัง้

ตึกแฝดทรงทวิสต์ในชื่อ Green Spine ออกแบบ โดยบริษัทดัตช์-ออสเตรเลียน UNStudio and Cox Architecture ได้รบั รางวัลชนะเลิศจากเวที Southbank by Beulah มาเป็นจ�านวนเงิน 1.4 พันล้านดอลลาร์ฯ ขณะนี้ อ ยู ่ ใ นขั้ น ตอนก่ อ สร้ า งในเมื อ งเมลเบิ ร ์ น เพื่อกลายมาเป็นตึกที่สูงที่สุดในออสเตรเลีย ด้วย ความสูง 356 เมตร โดยภายในแบ่งพื้นที่เป็น 2 โซน คือโซนที่อยู่อาศัย ซึ่งจะอยู่ในตึกที่สูงกว่า และโซน ร้านค้า ร้านอาหาร โรงเรียน โรงภาพยนตร์ และ โรงแรม ซึ่งอยู่ในอีกตึกหนึ่งที่มีความสูง 252 เมตร ตัวตึกเน้นการออกแบบโดยใช้พื้นที่สีเขียวเป็นหลัก มีระเบียงส�าหรับสวนเล็กๆ ในทุกชัน้ และบนดาดฟ้า ยังเป็นสวนสาธารณะทีร่ ม่ รืน่ สามารถขึน้ ไปพักผ่อน หย่อนใจและท�ากิจกรรมต่างๆ ร่วมกันได้

www.weforum.org

www.voanews.com

www.weforum.org

issue 554 03 SEP 2018

SOCIETY

PUBLIC HEALTH

HUMAN RIGHTS

ร้านอาหารในสกอตแลนด์ สร้าง ที่อยู่อาศัยให้ผู้ไร้บ้าน

‘โพรโซแพ็กโนเซีย’ โรคลืมใบหน้า คนทัง้ หน้าตัวเอง และคนใกล้ชด ิ

เปิดตัวหน่วย SWAT หญิงล้วน ครัง้ แรกของอินเดีย

จอช ลิตเติลจอห์น เชื่อว่าคนไร้บ้านที่มีจ�านวนกว่า 11,000 คนในสกอตแลนด์ ถูกเพิกเฉยจากทางรัฐบาล มาเป็นเวลานานเกินไป เขาจึงลงมือก่อตัง้ Social Bite ธุรกิจร้านอาหาร ร้านขายของ และคาเฟ่เพื่อสังคม สัญชาติสกอต ทีจ่ า้ งผูไ้ ร้บา้ นมาเป็นพนักงานในจ�านวน ร้อยละ 25 โดยล่าสุด เขายังสร้างหมู่บ้านเล็กๆ ประกอบด้วยบ้านจ�านวน 11 หลัง ทางตอนเหนือ ของเมืองเอดินบะระ เพื่อให้ผู้ไร้บ้านราว 20 คน ได้มีที่อยู่อาศัย “มันไม่ใช่แค่การสร้างบ้าน แต่นี่คือ การสร้างชุมชนทีจ่ ะสนับสนุนและส่งเสริมคนไร้บา้ น ได้เริ่มต้นชีวิตใหม่อีกครั้ง” Angela Constance ผู้น�าชุมชนกล่าว

มีการค้นพบอาการผิดปกติทางสมองที่มีชื่อทาง การแพทย์วา่ โพรโซแพ็กโนเซีย (Prosopagnosia) หรือ โรคลืมใบหน้า เมื่อราวๆ 150 ปีก่อน เป็นอาการ ทีไ่ ม่พบบ่อยนัก โดยมีลกั ษณะคือ ผูป้ ว่ ยไม่สามารถ จดจ�าใบหน้าคนได้ ซึง่ อาจรวมถึงใบหน้าของสมาชิก ในครอบครัว และใบหน้าของตัวเอง แม้จะสามารถ จดจ�าสิง่ อืน่ ๆ ได้กต็ าม แต่เนือ่ งจากเป็นโรคทีไ่ ม่มขี อ้ มูล การรักษามากนัก Brad Duchaine นักประสาทวิทยา แห่งมหาวิทยาลัย Dartmouth และเพื่อนร่วมงาน จึ ง รวบรวมผู ้ ป ่ ว ยโรคโพรโซแพ็ ก โนเซี ย 20 คน เพื่อศึกษาอาการของโรคประหลาดนี้ โดยพยายาม ท�าความเข้าใจการท�างานของสมองของผู้ป่วยว่า แตกต่างจากสมองของคนทั่วไปอย่างไร เพื่อหวัง เป็นแนวทางการรักษาในอนาคต

หลังจากผ่านการฝึกอย่างหนักหน่วงมา 15 เดือน ทัง้ การกูต้ กึ กูร้ ะเบิด ใช้อาวุธ เผชิญหน้าผูก้ อ่ การร้าย และช่วยเหลือผู้รอดชีวิต ล่าสุดอินเดียก็ได้เปิดตัว หน่วย SWAT หญิงล้วนครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ลบล้างภาพจ�าเก่าๆ ว่าเป็นอาชีพส�าหรับผูช้ ายเท่านัน้ โดยในหน่วยประกอบด้วยผู้หญิงจ�านวน 36 คน ซึ่งจะท�างานกับหน่วยคอมมานโดผู้ชายอีก 5 ทีม ในกรุงนิวเดลี “พวกเรามัน่ ใจเป็นอย่างยิง่ ว่าหญิงแกร่ง เหล่านี้มีความสามารถสูงมาก และไม่มีเหตุผลเลย ถ้าเราจะไม่มอบงานที่สมกับทักษะของพวกเธอ แม้แต่ผชู้ ายในหน่วยคอมมานโดทีเ่ ก่งมากๆ บางคน ก็ยังไม่สามารถมีทักษะอย่างที่พวกเธอมี” Pramod Kushwaha ต�ารวจอาวุโสแห่งนิวเดลี กล่าว



a day BULLETIN

THE CONVERSATION

เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร สไตลิสต์ : Hotcake เสื้อผ้า : Heidi’s Secret, Morgan Homme, Pinky Tailor, TAKEO KIKUCHI

08

issue 538 554 14 2018 03 MAY SEP 2018


09

THE

IMPERFECT

PERFECTIONiST ​รายการ​ The Voice Thailand Season 1​(2555)​พาคนดู ไปพบกับการประกวดร้องเพลงแบบใหม่ที่สร้างแรงกระเพื่อมให้กับ รายการแข่ ง ขั น ต่ า งๆ​ที่ ต ามมาในบ้ า นเรา​หนึ่ ง ในปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้นนั้นท�าให้เรารู้จักกับเด็ก​(หนุ่ม)​น้อย​ที่เพิ่งมีบัตรประชาชน เป็นของตัวเองมาไม่นาน​ชือ ่ ‘นนท์’ - ธนนท์ จ�าเริญ ซึง่ เดินทางมาแข่งขัน จากภูเก็ต​ด้วยภาพลักษณ์ของเด็กบ้านๆ​ทีย ่ งั ไม่ถก ู ปรุงแต่ง​เสียงเอือ ้ น และลูกคอที่เสนาะหู​เมื่อรวมเข้ากับความนอบน้อมและความใสซื่อ ทีอ ่ อกมาจากตัวตนข้างใน​ก็ทา� ให้นนท์กลายเป็นม้ามืดทีค ่ นดูเอาใจช่วย​ ลุ้น​ พร้อมกับเฮกันลั่นบ้านเมื่อชื่อของเขาได้รับการประกาศอย่าง ชัดถ้อยชัดค�าว่าเป็นผู้ชนะในรายการ The Voice Thailand คนแรก ​น ส ิ้ เสียงปรบมือจากงานเลีย ้ งฉลองความส�าเร็จ​สิง่ ทีผ ่ เู้ ข้าแข่งขัน ต่างต้องเจอคือ​การไปต่อในเส้นทางของตัวเอง​ซึง ่ เราก็จะเห็นกันอยูว่ า่ บางคนประสบความส�าเร็จในอาชีพทีต ่ ว ั เองฝัน​บางคนก็ยง ั อยูใ่ นช่วง กลางๆ​ของการเดินทาง​มีอก ี ไม่นอ้ ยทีย ่ อมแพ้​และค่อยๆ​หายหน้าหายตา ไป​ซึ่ ง ปั จ จั ย ที่ จ ะท� า ให้ ใ ครสั กคนประสบความส�าเร็จ ได้ก็ต้องอาศัย ทั้งจังหวะ​เวลา​ความมุ่งมั่น​ควบคู่ไปกับการพัฒนาตัวเอง เ​รายังเชือ ่ ในเรือ ่ งของการค้นหาคุณค่าของตัวเองมากกว่าการสร้าง กระแสเพื่อหล่อเลี้ยงชื่อเสียงให้คงอยู่​ซึ่งก่อนที่จะนั่งคุยอย่างจริงจัง กั บ หน้ า กากเป็ ด น้ อ ย​หรื อ แชมป์ จ ากรายการ​The Mask Singer ซีซันล่าสุด​คนนี้​เขาก็ออกตัวกับเราอย่างถ่อมตนว่า​ตัวเองไม่ได้เป็น คนทีเ่ ลิศเลอหรือขาวใสอย่างทีห ่ ลายคนมองมา​จริงๆ​แล้วเขาเป็นคนที่ สีเทาค่อนไปทางเข้มด้วยซ�้า​“ผมไม่ใช่คนเปอร์เฟ็กต์”​เขาบอกกับเรา เป็นระยะ​ทัง้ การเป็นเด็กติดเกมมาก่อน​เคยเหนือ ่ ยและท้อจนแทบอยาก เอารางวัลทั้งหมดที่ได้มากลับไปคืน​สภาพสังคมรวมถึงแรงกดดัน ทีค ่ นอายุยส ี่ บ ิ ต้นๆ​ต้องรับมือ​ทัง ้ หมดกลายเป็นเชือ ้ ไฟอย่างดีทจี่ ะสุม ให้ใครสักคนเตลิดไปกับความส�าเร็จ​ชือ ่ เสียง​เงินทอง​ทีห ่ ลัง ่ ไหลเข้ามา​ และพาชีวิตให้ซวนเซอาจจะถึงขั้นเป๋ออกนอกลู่นอกทาง แ​ ต่เพราะความอบอุ่นของครอบครัว​การมองโลกอย่างเข้าใจ​ ท�าให้เขาเติบโต​และพัฒนาสกิลการร้องเพลงได้ดขี น ึ้ แบบก้าวกระโดด​ ฝื น ตั ว เองไม่ เ ป็ น ​เป็ น ซิ ง เกิ ล ที่ ติ ด อยู่ ใ นชาร์ ต เพลงฮิ ต นานร่ ว มปี​ ส่วน​มีผลต่อหัวใจ​เพลงล่าสุดทีป ่ ล่อยออกมาก็กา� ลังท�ายอดวิวอย่าง ดีวันดีคืน​รวมไปถึงงานในแขนงต่างๆ​ที่เจ้าตัวได้รับความไว้วางใจ ให้เข้าไปลอง​ทัง ้ หมดนีเ้ กิดขึน ้ จากความคิดทีว ่ า่ ตัวเองไม่สมบูรณ์แบบ​ และต้องพัฒนาศักยภาพให้ดีขึ้นในทุกวัน ​ง ซ ึ่ เขาได้พส ิ จู น์ให้เห็นในการขึน ้ ครองต�าแหน่ง​Double​Champ​ คนแรกของรายการเพลงทีป ่ ระสบความส�าเร็จสูงสุดของประเทศไทย ในยุคนี​้ เมือ ่ คุณอ่านบทสัมภาษณ์ถง ึ มุมมอง​ความคิด​และการเรียนรู้ ชีวต ิ ของ​นนท์​ธนนท์​ในหน้าถัดไปจบแล้ว​หากอยากสัมผัสตัวตนของเขา ให้ ม ากกว่ า นี้ ​ สามารถไปเจอเขาได้ใ นวัน เสาร์ที่​ 24​พฤศจิกายนนี้​ ที​่ Ultra​Arena​Hall​at​ShowDC​เพราะเขาก�าลังจะมีคอนเสิรต ์ เดีย ่ ว ครั้งแรกในชีวิตกับ​I​AM​NONT​TANONT​สนใจเข้าไปดูรายละเอียด ได้ที่​www.pantherentertainment.net


อยากรู้ ว่ า คนหนุ่ ม สาวรุ่ น คุ ณ รู้ สึ ก ว่ า มี ความกดดันในชีวิตแค่ไหน ทั้งจากตัวเอง และการแข่งขันกับคนอื่น

เ​รามีความกดดันตลอด​กดดันมาตัง้ แต่เด็กๆ​ ว่าจะต้องท�าให้ดี​จะต้องท�าให้สมบูรณ์ท่สี ุดเท่าที่ ท� า ได้ ​จนบางที ผ มจะคอยกดดั น ตั ว เอง​เรามี ความกดดันมาตลอด​โดนมาตัง้ แต่เด็กๆ​ตอนอายุ​ 16​ก็ตอ้ งท�างานกับผูใ้ หญ่อายุ​25​หมดเลย​คุณจะ ไม่กดดันตัวเองคงเป็นไปไม่ได้​เพราะว่ามาตรฐาน ทีศ่ ลิ ปินระดับคุณภาพหลายคนได้สร้างเอาไว้กอ่ น หน้านี้มันไปไกลเกินตัวเรามาก​ คนที่ตามหลังมา จึงจ�าเป็นทีจ่ ะต้องกดดันตัวเอง​ถึงแม้จะกดดันตัวเอง​ แต่ผมไม่เคยกดตัวเองต�า่ ​ไม่เคยคิดว่าตัวเองท�าไม่ได้​ คิดว่าตัวเองท�าได้เสมอ​ ถึงจะท�าไม่ได้ดีมากกว่า เขา​แค่เชือ่ ว่าเราจะท�าให้เท่ากับพวกเขาได้ในทีส่ ดุ ​

นัน ่ จึงเป็นสาเหตุทท ี่ า� ให้คนรุน ่ ใหม่ ชอบเอา ตั ว เองเข้ า สู่ ก ารประกวดแข่ ง ขั น ต่ า งๆ ตลอดเวลา อย่างคุณก็เพิ่งไปออกรายการ The Mask Singer ทัง้ ทีต ่ วั เองได้รบ ั ความส� า เร็ จ มาจาก The Voice Thailand Season 1

แต่ผมไม่ได้มองว่าเป็นการประกวดนะ​ รู้สึกเหมือนเราไปเป็นแขกรับเชิญให้เขามากกว่า​ ไปสนุกสนาน​ไปร่วมสนุกกัน​ในขณะเดียวกันก็มี โอกาสได้ทา� โชว์ดๆี ​ของตัวเองไปด้วย​จุดประสงค์ แรกของผม​หลังจากประสบความส�าเร็จจาก​The Voice Thailand Season 1​คือตัง้ ใจว่าจะเรียนรูอ้ ยูต่ ลอดเวลา​ อยากท�างานกับคนเก่งๆ​ท�าให้เราดีไซน์โชว์​ หรือ สร้างมุมมองของตัวเองต่อเพลงหนึง่ เพลงทีแ่ ตกต่าง ออกไป​ผมเตรียมตัวท�างานเหล่านีเ้ ก็บไว้​รอพืน้ ที่ ทีม่ โี อกาสให้ได้ปล่อยของ​ดังนัน้ ​พอทีมงาน​The Mask Singer ติดต่อมา​ เราก็จะได้ปล่อยของที่มีอยู่ใน สต็อกออกไป​เลยตอบตกลงไป ​สิ่งที่ทา� ให้ผมอยากมา The Mask Singer คือการได้รว่ มงานกับซูเปอร์สตาร์หลายคน​บางคน ที่เราชื่นชมมาตั้งแต่เด็กๆ​ การที่ได้มาอยู่บนเวที เดียวกันกับพวกเขา​ผมมองว่าเราจะได้เรียนรูอ้ ะไร มากขึ้นเยอะเลย​ไม่ได้คิดว่าจะมาประกวดหรือ อะไรแบบนั้น​เพียงแต่พอได้ประกวด​แล้วก็ได้ กระแสตอบรับที่ดีกลับมาด้วย อ ย่ า งไรก็ ต าม ถึ ง จะบอกว่ า ไม่ ป ระกวด แต่ ด้ ว ยความเป็ น มื อ อาชี พ สุ ด ท้ า ยคุ ณ ก็ต้องมีความคาดหวังกับผลลัพธ์อยู่ดี

issue 554 03 SEP 2018

​พอมาถึงจุดนี้​ ผมร่วมแข่งขันไม่ใช่เพราะ อยากชนะ​แต่เพราะอยากเรียนรูบ้ างอย่าง​อยากรู้ ความรู้สกึ ว่าการใส่หน้ากากใน​The Mask Singer เป็นอย่างไร​มันคือการปิดเพือ่ เปิดอะไรบางอย่าง ในตัวเอง​หลายคนเมือ่ ได้อยู่ในสภาวะแบบนีก้ จ็ ะ เห็นความแตกต่างเกิดขึ้นในตัวเอง​เช่น​ตอนเป็น หน้ากากเป็ดน้อย​ผมจะเป็นคนทีส่ นุกมาก​ทัง้ ๆ​ที่ หน้ากากเป็ดน้อยไม่ได้หนีจากคาแร็กเตอร์ของผม ไปเท่าไหร่​กลับกัน​มันเป็นการเติมความเป็นเด็ก ให้ด้วยซ�้า​เพราะผมท�างานด้วยการร้องเพลงและ หาเงินให้กบั ตัวเองตัง้ แต่​7​ขวบ​ดังนัน้ ​ประสบการณ์ ตลอด​15​ปีทผี่ า่ นมา​อาจจะไม่ได้เป็นตัวเองเพราะ ต้องท�างาน ​ในความสนุกตรงนี​้ ผมเลยรูส้ กึ ว่าเมือ่ ต้อง ขึ้นไปท�างานบนเวทีอยู่แล้ว​ถ้าเช่นนั้นก็ขอให้เวที เป็นเหมือนสนามเด็กเล่นเลยแล้วกัน​ผมอยากท�า แบบนั้นมาตลอด​แต่ด้วยความที่หัวโขนของชื่อ​ ‘นนท์​ธนนท์’​ก็จะท�าให้ความเป็นเด็กหรืออะไร บางอย่างถูกกดไว้​บางอย่างทีผ่ มอยากลอง​อยาก เล่น​จะมีความกลัวผุดขึน้ มาก่อน​ว่าเราเป็นเด็กนะ​

จะเล่นกับผู้ใหญ่แบบนี้ได้ไหม​แต่พอใส่หน้ากาก เป็ด น้อ ยแล้ว ​เราไม่รู ้หรอกว่า คนข้า งๆ​คือ ใคร​ แต่รสู้ กึ ว่าเล่นแล้วสนุก​ทุกคนเป็นเหมือนพีๆ่ ​น้องๆ​ หรือเพือ่ นกันทันที​กลายเป็นว่าผมได้เปิดเผยตัวตน ออกมา​คนที่ อ ยากท� า อะไรสนุ ก ๆ​มานานแล้ ว​ มีความสดบางอย่างเกิดขึ้น​พอได้เปิดความรู้สึก เหล่านี้แล้วรู้สึกดีที่ได้เป็นตัวของตัวเองมากขึ้น ​ซึ่ ง จริ ง ๆ​ผมก็ เ ป็ น ตั ว ของตั ว เองอยู ่ แ ล้ ว ตั้งแต่เข้ามาวงการบันเทิง​เพียงแต่ตอนนั้นเราเด็ก เกินไปก็เลยไม่ได้สร้างเฉดสีทแี่ สดงถึงตัวตนของผม ออกมาให้ชดั เจนแบบนี​้ สิง่ ทีย่ ากทีส่ ดุ ก่อนจะขึน้ โชว์ แต่ละครั้งคือการเคลียร์กับตัวเอง​การก้าวข้าม บางอย่างกับตัวเอง​ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากมาก​อย่าง หน้ากากเป็ดน้อย​ผมมองว่ามันเป็นบททดสอบ อย่างหนึ่งในชีวิต​เหมือนเราตอนเด็กๆ​เคยกลัว เครื่ อ งเล่ น ในสวนสนุ ก ​โชคชะตาก็ จ ะพาเพื่ อ น ที่ชอบเล่นเครื่องเล่นหวาดเสียวๆ​มาอยู่ใกล้เรา​ แล้วเขาก็ให้เราไปพิสูจน์ตัวเอง​ซึ่งก็โชคดีที่ว่าผม ก้าวผ่านมันมาได้ พูดถึงเรื่องความกลัว จ�าได้ว่าคุณเคยเล่า ให้ฟงั ว่า คุณบอกแม่ให้เอารางวัลไปคืนเขาให้หมด แล้วกลับบ้านกัน ตอนนั้นคงปอดแหกมาก ไม่ต่างกับการขึ้นรถไฟเหาะครั้งแรกในชีวิต

​ผ มเป็ น คนชอบร้ อ งเพลงมาตั้ ง แต่ เ ด็ ก​ แต่ไม่ได้ชอบร้องโชว์คนอืน่ หรอกนะ​สิง่ ทีท่ า� ให้รสู้ กึ ว่า อยากร้องเพลงเพราะเราร้องแล้วเขามีความสุข​ ผมร้องเพลงให้คุณพ่อฟัง​คุณพ่อก็ชอบ​ตอนนั้น พ่อแม่ผมท�างานหนักมาก​จนพวกท่านแทบเป็นคน ที่ไม่มีจินตนาการอะไรเหลือแล้ว​พอผมร้องเพลง อะไรให้ฟงั ​จากทีเ่ ป็นคนฟังอย่างเดียว​กลายเป็นว่า แม่เริม่ หัดร้องเพลงตามผม​ผมจึงเห็นว่าจริงๆ​เราแค่ ท�าอะไรบางอย่างให้คนอื่น​อาจกลายเป็นการเติม จิก๊ ซอว์ตวั ใหญ่ในชีวติ เขา​ท�าให้ภาพบางภาพของเขา สมบูรณ์ข้นึ มากว่าเดิม ​จนพอก้าวเข้ามาเป็นศิลปินหลังจากทีผ่ มบวช​ ผมเริ่มจากชนะ​The Voice Thailand Season 1 ได้เซ็นสัญญากับค่าย​i​am​ทีนกี้ ารร้องเพลงของผม ก็ ก ลายเป็ น ลั ก ษณะของการท� า งานไปแล้ ว​ เป็นการท�างานทีอ่ ยูใ่ นทีแ่ จ้ง​คนอืน่ เห็นเราหมดเลย​ และด้วยความที่เรายังเด็กมากๆ​จึงรู้สึกว่านี่ไม่ใช่ ชีวติ เรา​เพราะไม่ได้มคี วามเรียบง่าย​ในขณะเดียวกัน กับในวงการบันเทิง​ผมเห็นเพือ่ นหลายๆ​คนพยายาม ท�าตัวหวือหวา​ผมรูส้ กึ ว่าเป็นความพยายามทีม่ าก เกินไป​ด้วยความเด็กตอนนั้น​พอท�าเพลงออกมา สักหนึ่งเพลง​ต้องผ่านหลายขั้นตอน​ต้องคิดเยอะ​ และด้ ว ยประสบการณ์ ค วามรั ก ที่ ไ ม่ ค ่ อ ยมี​ ประสบการณ์ชีวิตก็น้อย​ทักษะการร้องเพลงก็ยงั ไม่ได้มาก​ผมร้องเพลงมา​15​ปีกจ็ ริง​แต่ไม่เคยได้เจอ คนเก่งๆ​ไม่ได้เรียนรูอ้ ะไรเพิม่ เติม​ไม่ได้เรียนร้องเพลง อย่างถูกวิธี​ผมเรียนจากการฟัง​ตอนนั้นก็เลยรู้สึก ว่าเราอาจจะยังไม่เหมาะสม​และด้วยวิถชี วี ติ ของผม คงไม่เหมาะกับวงการบันเทิง ​วั น นั้ น เหมื อ นตั ว เองเหนื่ อ ยมากๆ​ด้ ว ย​ จึงบอกกับแม่ไปแบบนั้น​ว่าเราคืนรางวัลเขาไป​ แล้วกลับบ้านกันเถอะ​รอตัวเองพร้อมกว่านี​้ โตกว่านี้​ ให้สุขภาพของแม่แข็งแรงกว่านี​้ ภาระทางการเงิน โอเคกว่านี​้ ลูกน่าจะท�าให้พอ่ แม่ลา� บากน้อยลงกว่า ตอนนี​้ แต่วนั นัน้ เราก็แค่ได้พดู ไปแบบนัน้ ​พอเราชนะ ขึ้นมาจริงๆ​เราก็เซ็นสัญญากับค่าย​3​ปี​เป็นจุดที่ เรียกได้ว่าเหมือนตั้งไข่​ เริ่มใหม่ท้งั หมด​จากคนที่ ไม่ ค ่ อ ยสุ ง สิ ง กั บ ใคร​ถ้ า อยู ่ กั บ เพื่ อ นก็ จ ะสนุ ก​ เป็นคนที่ดูเข้ากับคนอื่นง่าย​แต่ว่าในไลฟ์สไตล์ จริ ง ๆ​ผมเป็ น คนที่ มี โ ลกส่ ว นตั ว ​เป็ น คนคิ ด อยู่ ตลอดเวลา​ทุกเรื่องที่เล่นผมจริงจังหมด

Chumroen

A STEP YOU CAN'T TA K E B A C K

Tanont

a day BULLETIN

10 QUALITY BEFORE STYLE สิง่ ทีค ่ ณ ุ คิดนัน ้ แตกต่างจากคนรุน ่ เดียวกัน เหลือเกิน ในขณะทีส ่ ว่ นใหญ่จะยึดติดกับชือ่ เสียง โด่งดัง การเรียนรูฝ ้ ก ึ ฝนน่ะเหรอ ขอเอาไว้กอ่ น

​นี่เป็นประเด็นที่ผมเคยคุยกับเพื่อนๆ​ใน เจเนอเรชันปัจจุบนั ​หรือแม้แต่ตอนทีม่ โี อกาสเป็น กรรมการในการประกวดหลายๆ​รายการ​หลายปี ที่ผ่านมา​เห็นได้ว่าตั้งแต่เด็กรุ่นผมนับไล่ลงไป​ สไตล์มกั จะมาก่อนคุณภาพ​ผมก็ตงั้ ค�าถามว่าท�าไม ถึงเป็นอย่างนัน้ ​ผมมองว่าเด็กรุน่ ใหม่มคี วามสามารถ​ พวกเขาเติบโตขึน้ มาโดยได้เสพบางอย่างทีม่ คี ณ ุ ภาพ​ แต่มมุ มองทีย่ งั เป็นเด็ก​ท�าให้เขามองบางจุดผิดไป​ อาจจะด้วยกระแสนิยม​ท�าให้บางทีสไตล์ของเขา ชัดมาก​จนมันฉาบทับคุณภาพของตัวเขาไปหมดเลย ​คา� หนึง่ ทีผ่ มพยายามใช้ปรับเปลีย่ นตัวเอง ตลอดเวลา​คือ​quality​before​style​เสมอ​เพราะสไตล์ เป็นสิ่งที่รับได้กับคนนั้นคนเดียว​แต่คุณภาพเป็น สิง่ ทีร่ บั ได้กบั ทุกคน​ซึง่ ความคิดนีน้ า� ไปปรับใช้ได้กบั ทุกอาชีพ​นีเ่ ป็นเรือ่ งทีผ่ มพยายามสือ่ สารตลอดเวลา​ ถ้าสังเกตจริงๆ​ผมไม่ได้สนใจสไตล์ของตัวเองสักเท่าไหร่​ แต่ผมเลือกจะท�างานให้ดีจริงๆ​ก่อน​แล้วค่อยเท่ เพราะไม่ได้ยึดติดกับสไตล์ เป็นโอกาสที่เรา ได้ปรับเปลี่ยนและพัฒนาตัวเองใช่ไหม

​ใช่เลย​ผมชอบทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงและพัฒนา ตัวเองไปเรือ่ ยๆ​ผมอยากเรียนรู​้ ไม่ใช่เรือ่ งทีต่ อ้ งมา ถื อ ทิ ฐิ กั น ​เพราะวั น หนึ่ ง ร่ า งกายก็ ต ้ อ งหายไป​ ก็ต้องคืนเขาไป​สิ่งที่ทิ้งไว้ต่างหากล่ะที่ส�าคัญ​ ผมรูส้ กึ ว่าตรงนีข้ องผมยังไม่ถงึ ทีส่ ดุ ​ผมยังเจอสิง่ ใหม่ เข้ามาทุกๆ​ปี​ผมท�างาน​2​ปีแรกได้ไปเดินแฟชัน่ โชว์​ ทั้งๆ​ที่เคยคิดว่าเป็นอาชีพที่เราไม่กล้าเอาหน้า ของตัวเองไปวางไว้ตรงนัน้ ​(หัวเราะ)​เพราะรูส้ กึ ว่า หน้าตาเราไม่นา่ จะได้นะ​แล้วก็มองว่าเราไม่มศี กั ยภาพ มากพอ​แต่ในเมือ่ มีโอกาสเข้ามา​มีคนเชือ่ ว่าผมท�าได้​ ผมก็เปิดรับโอกาสนั้น ​พอได้ทา� จริงๆ​ก็ร้ตู วั ว่าเราท�าได้นนี่ า​และ จะพยายามท�าได้ดขี นึ้ ไปอีก​ปีถดั มาผมก็มโี อกาส ไปเดินแฟชั่นโชว์ที่เซี่ยงไฮ้​แล้วก็ได้ไปร้องเพลง ทีป่ กั กิง่ ​ในเวลาใกล้ๆ​กันก็มงี านโฆษณา​งานแสดง​ ซึง่ เป็นงานศิลปะต่างแขนงไปอีก​ไปๆ​มาๆ​ผมก็ทา� ได้ อีก​เอาง่ายๆ​มันก็เหมือนกับการเล่นวิดีโอเกม​ บนเส้นทางการท�างานมันมีเกมให้เราหยิบเอามาเล่น ได้หลายแผ่น​อยากร้องเพลงก็เอาแผ่นเกมทีเ่ ป็นเพลง มาเล่น​อยากเป็นนักแสดงก็เล่นแผ่นเกมทีเ่ ป็นเรือ่ ง ของนักแสดงใส่เข้าไป​ท�าให้ผมรู้สึกสนุกกับการเรียนรูแ้ ละเปิดรับสิง่ ใหม่ๆ​แปลกๆ​ซึง่ จริงๆ​การเล่น วิดโี อเกมก็ให้ทศั นคติ​มุมมองความคิดหลายๆ​อย่าง​ วิดีโอเกมนี่สอนผมไว้เยอะเหมือนกัน แต่กอ ็ ย่าลืมว่าเกมชีวต ิ บางทีพอแพ้ไปแล้ว เราจะกดปุ่ม continue ไม่ได้นะ

​ก็จริงนะ​เกมชีวิตนี่มันเซฟไม่ได้​ทุกอย่าง คือเวลาจริง​ดังนั้น​เราต้อง​based​on​ชีวิตตอนนี้ ของปัจจุบนั ด้วยเช่นกัน​ต้องเอาเกมมาด้วย​และเอา ธรรมะมาใช้ดว้ ย​แล้วมุมมองความคิดของการเล่นเกม นั่นแหละที่ช่วยผม​เมื่อรู้สึกว่าถ้าเราเป็นตัวละคร ในเกมทีต่ วั เองมีเลเวลแค่​ 16​แต่ตอ้ งไปอยูใ่ นด่านที​่ 25​เราจะมองมุมไหน​จะมองว่ามันยากไหม​หรือ มองว่ามันคือเกม​เราต้องสนุกกับมัน​แล้วมองว่า นี่ คื อ สิ่ ง ที่ เ ราท� า ได้ ​ และผมรู ้ สึ ก ว่ า ถ้ า ท� า แล้ ว​ เราสามารถสร้างความสุขให้กบั คนดูได้ไหม​ให้การสือ่ สารบางอย่าง​สะท้อนให้คนดูมองเห็นตัวเองได้​ แล้วสิง่ ทีผ่ มท�าจะมีประโยชน์กว่าการเล่นเกมทีไ่ ม่ใช่ มีแค่ความสนุก​ผมมองแบบนีม้ าตลอด​ตอนนีผ้ ม สนุกกับเกมชีวติ ในวงการบันเทิง​จนเข้าปีท​ี่ 7​แล้ว เดีย ๋ วนีเ้ วลามีอะไรไม่ดเี กิดขึน ้ มา สังคมก็จะ ไปโทษว่าเป็น เพราะเกมเสมอ เราก็มักจะ โทษสิ่งอื่นก่อนที่จะโทษตัวเอง

​ใช่ๆ​เราโทษคนอืน่ เก่ง​มนุษย์ทกุ วันนีโ้ ทษ คนอืน่ เก่ง​เรากินพริกเข้าไปแล้วก็รอ้ งว่าเผ็ดฉิบหายเลย​


11 “ค�ำหนึง่ ทีผ ่ มพยำยำมใช้ปรับเปลีย ่ นตัวเองตลอดเวลำ คือ quality before style เสมอ เพรำะสไตล์เป็นสิง่ ทีร่ บ ั ได้กบ ั คนนัน ้ คนเดียว แต่คณ ุ ภำพเป็นสิง่ ทีร่ บ ั ได้กบ ั ทุกคน ซึง่ ควำมคิดนีน ้ ำ� ไปปรับใช้ได้กบ ั ทุกอำชีพ”

แล้วใครเขาใช้ให้เอาเข้าปากล่ะ​ก็ตัวเองกินเอง ใช่ไหม​พีส่ าวของผมมีลกู ชือ่ น้องเกล​อายุ​5​ขวบ​ เป็นเด็กที่น่ารักมากและเป็นเด็กฉลาดมาก​แต่ ตอนนีน้ อ้ งเกลยังพูดไม่ได้​ซึง่ จริงๆ​ตามธรรมชาติ ของเด็กพออายุสัก​3-4​ขวบ​ต้องพูดได้แล้ว​ พีส่ าวเครียด​ท�าไมลูกไม่พดู ล่ะ​ท�าไมลูกพูดไม่ได้​ ลูกพัฒนาการช้าหรือเปล่า​ ผมมีโอกาสเล่นกับ น้องเกล​เลยเห็นว่าน้องเกลติดมือถือมาก​ผมรูเ้ ลย​ คงว่าเพราะเด็กอยู่แต่กบั โทรศัพท์มอื ถือจึงขาด การฝึกฝนเรือ่ งการสนทนาหรือเปล่า​เพราะใช้แค่นวิ้ คุยกัน​จิม้ หน้าจอไปมา​บางทีของพวกนีเ้ ราเลือก เอง​ใช้มันเอง​และรับผลของมัน​เมื่อเกิดเรื่อง ผิดพลาด​สิง่ แรก​ต้องมองตัวเองก่อน​ซึง่ มุมมอง ของผมก็อาจจะไม่ได้ถูกร้อยเปอร์เซ็นต์หรอก​ แต่ทุกวันนี้เราอยู่ในโลกเทาๆ​จะให้หาค�าตอบ ถูกทุกข้อก็เป็นไปไม่ได้​มันไม่มชี อยส์มาให้ชวี ติ ด้วยซ�า้ ​ว่าปัญหานีต้ อ้ งกากบาท​ง.งู​คือถูกทุกข้อ​ ท�าสิง่ นีจ้ ะให้ถกู ใจทุกคนเป็นไปไม่ได้​เราเรียนรู้ สัจธรรมนี้ตั้งแต่อยู่ในห้องเรียน​เด็ก​40​คน​ยัง ไม่รกั ครูทงั้ ​40​คนเลย​นับอะไรกับการมาท�างาน ตรงนี​้ ต้องท�างานให้คนเป็นล้านคนชอบ​เป็นไป ไม่ได้​เราก็ต้องมองตัวเองหากเกิดผิดพลาด คุ ณ มองภาพรวมของสั ง คมในตอนนี้ เป็นอย่างไรบ้าง รูส ้ ก ึ วิตกกับอะไรบ้างไหม

​สิ่งที่ผมกลัวที่สุดคือสังคม​ คือมนุษย์ ด้วยกันเองนี่แหละ​ ทัศนคติของมนุษย์ทุกวันนี​้ ด้วยความทีโ่ ลกในปัจจุบนั เป็นได้ดงั่ ใจเราไปหมด​ ทุกอย่างง่ายๆ​และรออะไรไม่ได้​ในขณะเดียวกัน​ คนท�างานน้อยลง​แต่คนวิจารณ์มากขึ้น​คนใน ปัจจุบนั ท�าให้สภาพสังคมเป็นแบบ​‘ปากว่าตาขยิบ’​ ผมเรียนรูม้ ากับตัว​ซึง่ มองว่าวันหนึง่ ผมก็ตอ้ งโดน แบบนัน้ ​เพราะผมก็ไม่ใช่คนดี​ชีวติ อยูบ่ นพืน้ ฐาน ของความเป็นมนุษย์​ ไม่ได้พยายามเป็นคนดี หรือเป็นแบบอย่างมาก​ผมจะบอกน้องๆ​ทีเ่ ขามี เราเป็นแบบอย่างเสมอ​ว่าเอาผมเป็นแบบอย่างได้​ แต่เอาไปแค่เรื่องดี​เพราะผมก็มเี รื่องไม่ดีที่คุณ ไม่ควรเอาไป​สิง่ ไหนดีเอาไปใช้​สิง่ ไหนไม่ดกี องไว้ทเี่ รา ​สา� หรับผม​มนุษย์ทกุ คนมีมมุ มองทีด่ กี นั ทัง้ นัน้ ​และผมมาถึงจุดนีไ้ ด้เพราะตัวเองมองมุมดี ของอาชีพศิลปิน​มีไอดอลของเรา​ผมยึดตาม แบบอย่างทีด่ ขี องเขา​แต่บางอย่างมันไม่ใช่เรือ่ ง ทีต่ อ้ งท�า​เราก็ไม่ทา� ​ซึง่ ก็ไม่ได้แปลว่าเขาเป็นคน แย่นะ​แต่กไ็ ม่ใช่เรือ่ งทีเ่ ราต้องท�าตามไปทัง้ หมด​ คนเรามีเรือ่ งเทาๆ​ด้วยกันทัง้ นัน้ ​มันเป็นสิง่ ทีเ่ อาไว้ ก็ได้หรือไม่เอาไว้กไ็ ด้​ผมก็เลือกทีจ่ ะวางไว้​สิง่ ไหน ทีข่ าวสะอาด​ก็ยดึ เอามาพัฒนาตัวเราเอง​ซึง่ ผม บอกคนอื่นอย่างนั้นเสมอ​ดังนั้น​สิ่งที่ผมกลัว ที่สุดคือสังคม​ตอนนี้เราตัดสินคนอื่นง่ายมาก​ ในขณะเดียวกันมนุษย์ก็เปราะบางมากเช่นกัน ความเปราะบางทีเ่ กิดขึน ้ เป็นเพราะเทคโนโลยี ที่ท�าให้มนุษย์เริ่มตัดขาดจากกันเรื่อยๆ เหมือนที่คุณพูดไว้เมื่อกี้หรือเปล่า

​อย่างทีบ่ อก​เทคโนโลยีไม่ผดิ ​เทคโนโลยี สร้างขึน้ มาเพือ่ ให้มนุษย์ใช้​มนุษย์ตา่ งหากทีใ่ ช้ผดิ หรืออาจจะใช้มนั มากเกินไป​ท้ายทีส่ ดุ ​based​on​ ตัวเราเอง​มนุษย์มศี กั ยภาพของตัวเอง​ซึง่ นีเ่ ป็น สิง่ ทีผ่ มเชือ่ มาตลอด​ผมพัฒนาศักยภาพของตัวเอง​ เพราะผมเชื่อว่าตัวเองท�าได้​ผมไม่ใช้ออโต้จูน​ (โปรแกรมปรับเสียงร้องให้ตรงคีย)์ ​ในการท�าเพลง​ เพราะมองว่าเทคโนโลยีช่วยเราเพียงได้ชวั่ คราว​ แต่ถา้ ตัวเราเองจริงๆ​ไม่ได้พฒ ั นา​เมือ่ เทคโนโลยีพงั ​ ใครจะท�าให้งานให้เราล่ะ​ก็เหลือแต่ตวั เราเท่านัน้ ​ผ มเลยมองว่ า มนุ ษ ย์ ต ่ า งหากที่ ต ้ อ ง รับผิดชอบทุกอย่าง​ทุกๆ​อย่าง​เทคโนโลยีเป็น สิ่ ง ที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้ า งขึ้ น มาเพื่ อ หวั ง ดี ต ่ อ มนุ ษ ย์ ด้วยกันเอง​แต่มนุษย์ตา่ งหากทีไ่ ม่ได้หวังดีตอ่ กัน​ ใช้เทคโนโลยีในทางทีผ่ ดิ ​ชีวติ จึงเปราะบาง​ทัง้ ที่ ความจริงเราท�าตัวเองหรือสังคมท�ากันเองทัง้ นัน้ การทีเ่ ราจะอยูร ่ ว ่ มกับสังคมไปกับความเปราะบางเหล่านี้ เราจะท�าตัวให้กลมกลืนแล้ว ไหลไปกับเรือ ่ งทีน ่ า่ ปวดหัวเหล่านีไ้ ด้อย่างไร

​เดินตามได้​ว่ายตามได้​แต่อย่าปล่อย ให้มันน�าทางเราไป​อาจจะไม่ตอ้ งถึงกับใช้ชวี ติ แบบว่ายทวนน�า้ ​มันก็แล้วแต่จงั หวะด้วย​เหมือน


ที่ คนรุ่นพ่อแม่เราสอนเรา​ ถ้าน�า้ เชีย่ วก็อย่าเอาเรือขวาง​ ความจริงชีวติ เป็นอย่างนีม้ าตลอด​ไม่อย่างนัน้ เราก็จะตายเอง​ ถ้าเราไปขวางในจังหวะน�า้ เชีย่ ว​ถ้ารอจนน�า้ นิง่ หรือจังหวะ ทีเ่ ราพอไปได้​เราก็คอ่ ยไป​ไม่ใช่เรือ่ งทีเ่ ราต้องหยุดหรือตาม กระแสน�้าตลอด​เหมือนกับที่ผ่านมาผมพยายามพัฒนา ตัวเอง​เพราะผมเห็นศิลปินหลายๆ​คนทีเ่ ข้ามาในวงการ บันเทิง​บางคนเข้ามาไม่กปี่ กี ห็ มดไฟแล้ว​ติดอยูก่ บั ที​่ บอกว่า ท�างานเดิมๆ​ก็ไม่เห็นว่าจะประสบความส�าเร็จสักที

IMPERFECTION IS PERFECT คุณคาดหวังกับความส�าเร็จในทุกสิง่ ทีท ่ า� แค่ไหน

​ผมเคยเป็นคนหนึง่ ทีใ่ ช้ชวี ติ อย่างคาดหวังผลลัพธ์​ เคยคิดว่าถ้าวันนีต้ อ้ งเจอกับคนทีท่ า� งานเก่งๆ​แล้วเราจะ ไหวไหม​เราจะท�าอย่างไร​เขาจะประทับใจในตัวเราไหม​ จนสุดท้ายผมมองว่าทุกอย่างอยูท่ จี่ ดุ เริม่ ต้น​ถ้าเราไปเจอ เขาด้วยทัศนคติทดี่ ​ี เขาจะรู้สกึ ได้เอง​คุณเคยรู้สกึ แบบนี้ ไหม​คนที่รูปลักษณ์ภายนอกที่เราไม่ชอบเลย​ไม่ได้สวย​ หล่อ​แต่พอนั่งคุยกัน​5​นาทีแล้วรู้สกึ ว่าเขาเป็นคนดีนะ​ มีเสน่ห์บางอย่างอยู่​ในขณะเดียวกันคนที่เราคุยด้วย เขาก็ไม่ได้ตามืดบอดถึงขนาดที่จะไม่เห็นด้านดีของเรา​ ผมเลยเชื่อในจุดเริ่มต้นมากกว่าเส้นชัยหรือปลายทาง ผลลัพธ์ในอนาคต​ถ้าจุดเริม่ ต้นดีกเ็ หมือนเราปรุงอาหาร ด้วยวัตถุดิบเรา​ท�าไมเมนูเราจะไม่ดีล่ะ​ต่อให้เราปรุง ไม่อร่อย​แต่วตั ถุดบิ เราสดจริง​คนก็จะรับรูว้ า่ อย่างน้อยทีส่ ดุ มันก็สดจริง​ผมคิดแค่นี้เลย​เพราะผมยังเด็ก​ผมไม่มี ประสบการณ์ชวี ิตมาก​ก็เลยเอาเท่านี้ก่อน ทีค ่ ณ ุ มองว่าตัวเองยังเด็กอยู่ แล้วเคยมองไหมว่า ตัวเองในอนาคตตอนที่อายุสัก 30 ปีแล้วจะเป็น คนยังไง

​คงเป็นขี้บ่นครับ​(หัวเราะ)​คงเป็นคนที่ขี้บ่นมาก​ บ่นได้ทกุ เรือ่ ง​สิง่ ไหนวางไม่เหมือนเดิมก็บน่ ​ด้วยความที่ ครอบครัวเรามีบรรยากาศของความเป็นครู​ท�าให้เรา ติดนิสยั ของครูมา​ซึง่ ปกติแล้วคุณครูกจ็ ะบ่นกับนักเรียน​ บ่นกับผมตลอด​ซึ่งตอนเด็กๆ​ก็คิดว่าครูท�าไมขี้บ่นจัง​ (หัวเราะ)​แต่พอโตมาเรากลับเป็นเหมือนเขา​ซึง่ เรือ่ งนิสยั ขีบ้ น่ ก็คงต้องปรับ​เพราะผมเองก็มเี รือ่ งทีไ่ ม่พอดีเหมือนกัน​ ดังนั้น​ก็ต้องแก้มันไป เพราะความ perfectionist มากเกินไปหรือเปล่า

​อาจจะส่วนหนึ่ง​แต่ผมไม่ชอบเลยนะ​เพราะ​ perfectionism​ท�าให้ใช้ชวี ิตล�าบาก​การที่เราท�าทุกอย่าง ให้สมบูรณ์แบบมากเกินนัน้ ท�าให้อยูย่ าก​เหมือนกับการที่ ผมไม่ชอบนัง่ เครือ่ งบิน​เรือ่ งการกลัวทีแ่ คบก็อกี เรือ่ งหนึง่ ​ แต่อีกเรื่องคือ​ถ้าผมเห็นตัวล็อกโต๊ะพับที่อยู่ข้างหน้า มันบิดลงมาไม่ตรงล็อก​ผมจะนอนหลับไม่ได้เลยนะ​ (หัวเราะ)​มีอยูค่ รัง้ หนึง่ ทีน่ งั่ อยูแ่ ล้วคนทีน่ งั่ ตรงกลางเขาบิด ทีล่ อ็ กโต๊ะไว้ไม่ตรง​ผมก็อยากจะเอือ้ มมือไปบิดมันให้ตรง เหลือเกิน​แต่ก็กลัวเขาจะมองว่ามึงเป็นอะไรของมึง​ (หัวเราะ)​ผมต้องรอจนเขาหลับ​ซึ่งเขาก็หลับช้าด้วย​ เครื่องบินไปสักพักใหญ่เขาถึงจะเริ่มเอนลง​ผมก็รอเขา หลับตา​แล้วปรับให้มันตรง​ผู้จัดการชะโงกมาถามว่า เป็นอะไร​นนท์​(หัวเราะ)​แต่เราแค่อยากให้ตวั ล็อกอยูถ่ กู ที่ ของมัน​ในทีท่ มี่ นั ควรอยู​่ ถ้าคนเรียก​perfectionist​ก็บอก ไว้ว่าผมไม่ได้อยากเป็น​เพราะผมรู้สึกว่ามนุษย์จริงๆ​ มั น ไม่ ไ ด้ ส มบู ร ณ์ แ บบ​แต่ ค วามอยากสมบู ร ณ์ แ บบ​ อาจจะช่วยท�าให้มนุษย์สมบูรณ์แบบมากขึ้น

issue 554

ถ้าเป็นเรือ ่ งของการท�างานล่ะ คุณยอมให้ตว ั เอง ไม่สมบูรณ์แบบได้แค่ไหน

03 SEP 2018

​ยอมไม่ได้​ผมรู้สึกว่าตัวเองตอนนี้​อายุเท่านี้​ ศักยภาพทีม่ ​ี ผมท�าให้มนั สมบูรณ์สกั ​90%​ได้​ถ้าเต็ม​100​ แล้วท�าได้​80​ผมก็ยังพอจะโอเคอยู่​แต่ถ้ามันน้อยกว่านี้ ขณะที่มึงรู้ตัวว่ามึงท�าได้ดีกว่านี้นี่นา​เท่ากับมึงทรยศ คนทีซ่ อื้ บัตรมาดูแล้วนะ​มึงหักหลังเขา​หักหลังคนทีน่ งั่ รถ ไกลๆ​เพือ่ มาดูมงึ ร้องเพลง​มืออาชีพต้องซือ่ สัตย์กบั ตัวเอง​ และซื่อสัตย์ต่อคนอื่น ​ผมมองว่าศิลปินจริงๆ​ไม่ใช่แค่รอ้ งเพลงให้คนฟัง​ บางคนชอบจากตัวตนของเราก็ม​ี ซึง่ ผมโชคดีทผี่ มได้เข้า

“ถ้ำคุณท�ำงำนดี มี 10 ก็ให้ 10 เอำไปต่อยอดได้ ถึงวันหนึง่ เรำเจอคนทีม ่ แ ี ค่ 9 แล้วอีก 10 ของเรำจะไปช่วยเติมเต็มให้เขำ ท้ำยทีส ่ ด ุ กำรท�ำงำนก็จะเต็มที่ ตัวงำนจะต่อยอดด้วยตัวมันเอง แล้วเรำจะไม่ตอ ้ งเหนือ ่ ยซ�ำ้ สอง”

a day BULLETIN

12


13

วงการอย่างเป็นตัวตนของผมอย่างเต็มที​่ แล้วเขารักเรา ในแบบทีเ่ ราเป็นจริงๆ​ซึง่ ตัวตนของผมไม่ใช่คนทีท่ า� งานแบบ สุกเอาเผากินหรือมักง่าย​การทรยศตัวเองเป็นเรือ่ งรุนแรงทีส่ ดุ ส�าหรับผม​ไม่ใช่เรือ่ งทีค่ วรท�า​ท�าแล้วผมจะเอาการต่อยอด มาจากไหน​ในทางกลับกัน​ถ้าคุณท�างานดี​มี​10​ก็ให้​10​ เอาไปต่อยอดได้​ถึงวันหนึง่ เราเจอคนทีม่ แี ค่​9​แล้วอีก​10​ ของเราจะไปช่วยเติมเต็มให้เขา​ท้ายทีส่ ดุ ​การท�างานก็จะ เต็มที่​ตัวงานจะต่อยอดด้วยตัวมันเอง​แล้วเราจะไม่ต้อง เหนื่อยซ�้าสอง​ผมเลยคิดว่าการท�าให้ดีไปเลย​ง่ายกว่า การท�าผ่านๆ​แล้วค่อยตามไปแก้ไข​ซึง่ เราก็เจอหลายๆ​คน หรือศิลปิน​หรือคนท�างานในวงการทีห่ มดไฟแล้วก็ทา� ผ่านๆ​ ท�าแค่นี้พอ​แต่ในขณะเดียวกัน​หวังรอวันพรุ่งนีท้ ดี่ กี ว่า​ แต่ปัจจุบันตัวเองไม่ได้ท�าให้ดีไว้ก่อน คุยกับคุณวันนี้ เราพบว่าเพลง ‘ฝืนใจตัวเองไม่เป็น’ และ ‘มี ผ ลต่ อ หั ว ใจ’ มั น สะท้ อ นตั ว ตนของคุ ณ ออกมาอย่างเต็มที่ มันสะท้อนความไม่สมบูรณ์ และความมุ่งมั่นที่จะไปสู่ความสมบูรณ์แบบให้ได้ ทั้งสองเพลงนี้จึงจับใจคนฟัง

​ใช่ครับ​นีค่ อื ทีม่ าว่าท�าไมเพลงของผมถึงเป็นแบบนี้​ มันจะมีความละเอียดอ่อนอยูเ่ สมอๆ​เพลงของผมถ้าจะให้ จัดเป็นหมวดหมูช่ ดั เจน​ว่าเพลงนีค้ อื แนวอะไร​มันตอบยาก นะ​ตอนอัดเสียงก็คยุ ๆ​กับโปรดิวเซอร์​ถามว่ามันคือเพลง อะไร​เขาก็ตอบไม่ถกู เหมือนกัน​เพราะเพลงถูกผสมไปหมด​ ทั้ง​​pop-modern,​old​school,​Soul,​R&B​ผมว่าถ้าใกล้สดุ คงเป็น​R&B​แต่ถามว่า​ด้วยความทีเ่ พลงไม่ได้เป็นแบบใด

แบบหนึ่ง อย่ า งชัด เจน​บางทีก็เป็ น สิ่ง ที่บอกถึง ตัว ตน ทีช่ ดั เจนทีส่ ดุ ของเรา​คือความไม่ชดั เจน​เหมือนการเป็นมนุษย์ ทีส่ มบูรณ์ทสี่ ดุ ​เพราะเขามีความไม่สมบูรณ์นนั่ เอง ​ล ่ า สุด ​เพลง​ฝื น ตัว เองไม่ เป็ น​ติด ชาร์ ต อยู ่ ถึง​ 50​สัปดาห์​นัน่ คือตลอดทัง้ ปี​แล้วก็ขนึ้ อันดับหนึง่ ยาวนาน​ รวมไปถึงเพิง่ ได้รางวัลไป​ถ้าเรายึดแต่คอมฟอร์ตโซน​คือท�า แต่เพลงพ็อพไปเหมือนเดิม​เพราะคิดว่ามันขายได้​แต่รไู้ หม ว่าเราขายวิญญาณตัวเองไปด้วย​มีคนเรียกศิลปินแบบนัน้ ว่า​self​out​คือกลัวขายงานไม่ได้จนลืมจุดยืนของตัวเอง​ เราอยูใ่ นจุดยืนเราได้​แต่ในแง่ของเพลงก็มเี รือ่ งของธุรกิจเข้ามา​ นักแต่งเพลงถ้าเราไม่ให้เงินเขา​เขาจะเอาอะไรไปเลีย้ งลูกเมีย​ ถ้าเราไม่รณรงค์ให้คนฟังดาวน์โหลดเพลงอย่างถูกกฎหมาย​ ซึง่ รายได้นจี้ ะได้สง่ ไปถึงคนเบือ้ งหลัง​เขาจะมีเงินไปต่อยอด ไปเลีย้ งดูตวั เอง​ครอบครัว​คนทีเ่ ขารัก​และเขาจะได้มกี า� ลังใจ ว่างานนีม้ นั เลีย้ งชีพเขาได้​เขาก็อยากจะท�าให้มนั ดีขนึ้ ​ส่วน เพลง มีผลต่อหัวใจ​นัน้ ก็ชดั เจนขึน้ ว่าผมก็ทา� เพลงจากตัวตน ของผมนีแ่ หละ​โดยผมจะคนละครึง่ ทางกับคนฟังว่าอยาก ฟังเพลงแนวไหนด้วยประมาณหนึง่ ​เพลงทีเ่ ราอยากท�าด้วย ประมาณหนึ่ง​เอาทั้งสองอย่างมาเจอกัน​แล้วก็หารกัน ตอนเริม ่ ต้นเป็นเด็กหน้าใหม่ ทัง้ ๆ ทีย ่ งั ไม่เห็นยอดเขา แต่คุณกลับมีแรงฮึดที่จะปีนขึ้นไป แรงผลักดัน เหล่านั้นมาจากไหนบ้าง

​มองย้อนกลับไปสมัยก่อน​เวลาผมร้องเพลงแล้วคนดู มีความสุข​นัน่ คือความส�าเร็จของผมแล้วละ​แต่กย็ งั ไม่เท่ากับ การท�าเพือ่ คนทีส่ า� คัญทีส่ ดุ ของตัวเอง​คือพ่อกับแม่​พวกท่าน

สนับสนุนผมมาตลอด​17​ปี​ท่านทั้งสองก็เหนื่อยมาก เหมือนกัน​แล้วจะให้ผมหยุดเดิน​ปล่อยให้พวกเขาแบกขึน้ ไป ทีย่ อดเขาอย่างนัน้ เหรอ​ดูเหมือนเป็นคนเนรคุณเกินไปหรือเปล่า ​แต่ผมก็ไม่คดิ ว่าตัวเองเป็นเด็กกตัญญูอะไรขนาดนัน้ เพราะในท้ายสุดเราต้องเจอเป้าหมายของตัวเอง​และมีชวี ติ ในแบบของตัวเอง​ผมเข้ามาท�างานในวงการบันเทิงไม่ใช่เพราะ อยากดัง​แต่เพราะอยากเป็นนักร้องทีด่ ​ี มีคณ ุ ภาพมากขึน้ ไป เรือ่ ยๆ​เมือ่ เข้ามาท�างานในวงการนีแ้ ล้ว​สิง่ ทีไ่ ด้รบั มามากมาย​ ก็ตอ้ งคืนกลับไปให้มากทีส่ ดุ เช่นกัน​การคืนกลับไปในทีน่ คี้ อื ​ การใช้ชอื่ เสียงของตัวเองทีค่ นอืน่ มอบให้​เอาไปต่อยอด​เอาไป ช่วยเหลือคนอืน่ ​และท�างานให้ดมี คี ณ ุ ภาพ​เพราะถึงวันหนึง่ ​ เราก็ตอ้ งเดินออกไปจากวงการบันเทิง​ซึง่ เรือ่ งนีเ้ ป็นสัจธรรม อยู่แล้ว​ผมคงไม่ร้องเพลงไปจนตัวเองอายุ​60​หรอก​ แต่อยากท�างานให้ด​ี มีคณ ุ ภาพไปนานเท่าทีจ่ ะท�าได้ ​เมือ่ ถึงวันทีผ่ มไม่สามารถท�างานได้แล้ว​ผมก็อยากจะ ส่งไม้ตอ่ ให้เด็กรุน่ ใหม่​ให้พวกเขาสร้างงานทีม่ คี ณ ุ ภาพมากกว่า ทีผ่ มเคยท�าได้​เพือ่ ทีจ่ ะยกมาตรฐานของวงการเพลงให้มาก ขึน้ ​เพราะท้ายทีส่ ดุ ​คนฟังหรือคนดูกจ็ ะได้เสพงานทีด่ แี ละมี คุณภาพมากขึน้ ​ผมมองว่านีค่ อื สิง่ ทีเ่ ราจะให้ได้​ก็เลยตัง้ ใจ ท�างานให้ดที สี่ ดุ ​ทุกวันนีก้ พ็ ยายามฝึกฝนตัวเอง​แม้คนจะ มองว่าผมเป็นแชมป์แล้ว​ หรือเรียกผมว่าเป็นศิลปินแล้ว​ ก็ไม่ใช่เรื่องที่จะต้องหยุด​ เพราะทุกอย่างที่คนยื่นให้เป็น สิ่งจับต้องไม่ได้​ สิ่งที่จับต้องได้คือ​ ‘นนท์​ ธนนท์’​ คนนี้​ เมือ่ ถึงวันทีผ่ มเดินออกไป​ผมจะมีความสุข​ผมตายได้เลย เพราะรูส้ กึ ผมแฮปปีแ้ ล้ว​ในฐานะของมนุษย์คนหนึง่ ทีค่ นื อะไร บางอย่างให้กบั คนอื่น​ถือว่าชีวิตนี้เขาท�าส�าเร็จแล้ว​


a day BULLETIN

14

A MUST

Un

ว่ำ ‘กระเป๋าจากกระสอบปุ๋ย มื อ สาม Uncleree Bag’ ซึ่ ง ส่วนใหญ่ได้มำจำกกระสอบเก่ำ ส�ำหรับใส่ปยุ๋ ข้ำวสำร วัตถุดบิ อินทรีย์ เช่น ผัก ผลไม้ จำก จังหวัดบุรีรัมย์และเพชรบูรณ์ ที่ ผ ่ ำ นกำรคั ด เลื อ กและท� ำ ควำมสะอำดมำเป็ น อย่ ำ งดี

B ag ส�าหรับคนทีห ่ ลงใหลการพก ถุงผ้าหรือกระเป๋าที่ทา� จาก วัสดุรีไซเคิลนานาชนิดจาก หลากหลายแบรนด์ และเป็น คนที่ พ ร้ อ มจะสนั บ สนุ น สินค้าแฮนด์เมดจากชาวบ้าน ในท้องถิน ่ ต่างๆ ทัว่ ประเทศ เราขอแนะน� า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่มาจากขยะชั้นดี รักษ์โลก จ า ก ‘ ลุ ง รี ย์ ’ - ช า รี ย์ บุญญวินิจ นักจัดการขยะ ตั ว ยง และเจ้ า ของฟาร์ ม ไส้เดือน Uncleree Organic Farm

โดยร่วมมือกับหัวหน้ำชุมชน ผูท้ ำ� หน้ำทีก่ ระจำยรำยได้ให้กบั ชำวนำและชำวบ้ำนสูงวัยใน พื้นที่ต่ำงๆ ของทั้งสองจังหวัด “เรำเรี ย กรำยได้ เ สริ ม ของชำวบ้ ำ นแบบนี้ว ่ ำ อำชี พ หลบแดด ซึ่งเป็นกำรท�ำงำน ห ำ เ งิ น ร ะ ห ว ่ ำ ง พั ก ด� ำ น ำ ท่ำมกลำงแดดร้อนๆ ในช่วง กลำงวัน ซึ่งทุกคนก็ยินดีที่จะ ลงมือท�ำ” นีค่ อื ทีม่ ำของแนวคิด เมือ่ Uncleree Bag เสร็จ เรียบร้อย ก็ถึงเวลำเดินทำง จำกสองจังหวัดเข้ำสู่กรุงเทพฯ มำพร้อมดีไซน์แสนเบสิก แต่ กลั บ สะดุ ด ตำด้ ว ยลวดลำย หลำยทรง หลำยขนำด อำทิ ทรงสี่เหลี่ยมทรงสูง กระเป๋ำ ท ร งคำ งหมู ทร ง วง ก ล ม กระเป๋ ำ สะพำยข้ ำ งใบเล็ ก ๆ ทั้ ง หมดตำมแต่ ค นเย็ บ จะ สะดวกผลิ ต ทรงไหนก็ จั ด ไป

ส่วนหูหวิ้ ก็ทำ� มำจำกเชือกหรือ หูหิ้วที่เหลืออยู่ในโรงเย็บของ ชำวบ้ำน ตัวกระเป๋ำยังคงกลิน่ อำย ควำมเป็นแฮนด์เมดของชำวบ้ำน สูงวัย ด้วยลักษณะของกำรเย็บ ตรงบ้ำง ไม่ตรงบ้ำง ช่วงแรกๆ ที่ ท� ำ ออกมำหู หิ้ ว มี ห ลำกสี สีเขียวบ้ำง ส้มบ้ำง น�ำ้ ตำลบ้ำง เข้ำบ้ำงไม่เข้ำบ้ำง แต่ต้องเป็น สินค้ำที่ดีมีคุณภำพ ต่อมำจึง ปรั บ ให้ เ ป็ น หู หิ้ ว ที่ มี โ ทนสี เหมือนกัน และต�ำแหน่งกำรตัด กระเป๋ำให้ได้ลวดลำยที่ใกล้เคียงกันเพื่อควำมสวยงำม ควำมเก๋ของ Uncleree Bag หลักๆ จ ะ อ ยู ่ ที่ สี แ ล ะ ลวดลำย อย่ำงรุ่น ไก่หวั ขำด เพรำะตัด กระสอบตำมใจฉัน (ชำวบ้ำน) จนกลำย

มำเป็นคอลเล็กชันที่หลำยคน ถำมหำ แต่ส่วนใหญ่กจ็ ะผลิต ออกมำไม่ซ�้ำกันในแต่ละรอบ ขึ้นอยู่กับจ�ำนวนของกระสอบ ที่มำได้มำในแต่ละครั้งนั่นเอง

EVENT

PLASTIC HACK issue 554 03 SEP 2018

กระแสพลำสติกทีด่ เู หมือนก�ำลังจะท่วมโลก ท�ำให้กลุม่ นักสร้ำงสรรค์รนุ่ ใหม่พฒ ั นำระบบ Creative Commodity เพื่อสร้ำงมูลค่ำใหม่ให้กบั ขยะพลำสติก ลดกำรใช้พลำสติกใหม่ และเพื่อให้โลกของเรำ มีนกั สร้ำงสรรค์เพิม่ มำกขึน้ ทำง FabCafe Bangkok จึงร่วมกับ TCDC และ Precious Plastic ชวนผูป้ ระกอบกำร และนักศึกษำทีส่ นใจเข้ำร่วมกิจกรรมเชิงปฏิบตั กิ ำร เพือ่ เพือ่ เรียนรู้ ทดลองแปรรูปขยะพลำสติก พร้อม สร้ำงมูลค่ำของขยะทีถ่ กู แปรรูปด้วยกำรออกแบบ ค่ำคอร์สรำคำ 1,500 บำท ในวันอำทิตย์ที่ 9 กันยำยน และ 16 กันยำยน 2561 ที่ FabCafe X TCDC ชัน้ 3 อำคำรไปรษณียก์ ลำง บำงรัก สำมำรถลงทะเบียน ได้โดยส่งชือ่ และหมำยเลขโทรศัพท์ตดิ ต่อทำง www.facebook.com/fabcafebangkok

BOOK

THE HOUSE WITH A CLOCK IN ITS WALLS

สามารถเข้าร่วมกิจกรรมหรือเลือกซื้อกระเป๋าถุงปุ๋ยได้ที่ฟาร์มลุงรีย์ เลขที่ 19/29 ซ.เพชรเกษม 46 แยก 11 เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ หรือโทร. 06-1414-5242 รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.facebook.com/unclereefarm.page หรือหาซื้อได้ที่ร้านสวนชั้น 1 หอศิลป์กรุงเทพฯ และ Warehouse 30 ซ.เจริญกรุง 30

ลุ ง รี ย ์ ไ ด ้ เ ป ลี่ ย น ถุ ง กระสอบใช้ แ ล้ ว ให้ เ ป็ น ผลิตภัณฑ์ทเี่ พิม่ มูลค่ำได้อย่ำง ไม่ยำกเย็น แถมยังท�ำให้คนที่ ชืน่ ชอบตำลุกวำว โดยเขำตัง้ ชือ่

‘ลุงรีย์’ - ชารีย์ บุญญวินิจ

e

c

lere

THE READERS OF BROKEN WHEEL RECOMMEND

PRODUCT

MOVIE

ส�ำนักพิมพ์ก�ำมะหยี่ภูมิใจ น�ำเสนอนวนิยำยรักฟินจิกหมอน ชวนให้ชำวหนอนหนังสือยิ้มสุดใจ ไปกั บ เรื่ อ งรำวระหว่ ำ งหนั ง สื อ เมืองเล็ก และควำมรัก ว่ำด้วยเรือ่ งรำว ของชำวเมืองโบรกเคนวีล ในรัฐไอโอวำ กับซำรำ หญิงสำวทีเ่ ดินทำงมำจำก สวี เ ดนเพื่ อ มำเยี่ ย มเพื่ อ นทำง จดหมำย แต่กลับพบว่ำเพื่อนเพิ่ง เสียชีวิตไปหมำดๆ โดยทิ้งไว้เพียง กองหนังสือนับพันเล่ม จนเป็นที่มำ ของกำรเปิดร้ำนหนังสือ ท้ำยสุดแล้ว Katarina Bivald ผูแ้ ต่งนวนิยำยเล่มนี้ อำจจะก� ำ ลั ง บอกว่ ำ หนั ง สื อ ได้ ชักน�ำควำมรักและกำรเปลีย่ นแปลง ต่ำงๆ มำสูใ่ จของเรำได้ (ส�ำนักพิมพ์ ก�ำมะหยี่ / รำคำ 405 บำท)

จำกหนังสือแฟนตำซีสยองขวัญ ส�ำหรับเด็ก The House with a Clock in Its Walls ของ จอห์น เบลแลส ที่ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี 1973 มำใน ปี 2018 นีไ้ ด้ดดั แปลงเป็นภำพยนตร์ ภำยใต้กำรก�ำกับของ อีไล ร็อธ ซึง่ เป็น เรื่องรำวของลูอสิ และลุงโจนำธำน (รับบทโดย แจ็ก แบล็ก) ยอดนักเวท ที่ ต ้ อ งต่ อ สู ้ กั บ วิ ญ ญำณที่ อ ยู ่ ใ น คฤหำสน์ ซึ่งได้รับควำมช่วยเหลือ จำกแม่มด ฟลอเรนซ์ ซิมเมอร์แมน (รับบทโดย เคต แบลนเชตต์) โดย ทุกคนจะต้องช่วยกันหำนำฬิกำลับ ต้ น เหตุ เ รื่ อ งรำวทั้ ง หมด ใครที่ ชื่ น ชอบหนั ง แนวนี้ ไ ม่ ค วรพลำด เข้ำฉำยในวันที่ 27 กันยำยนนี้


15 COLLECTION

PUMA X COOGI ‘SLIDE SANDALS’ นักสะสมรองเท้ำต้องไม่พลำดกับคอลเล็กชันรองเท้ำแตะ PUMA x COOGI ‘Slide Sandals’ ทีม่ ำพร้อมกับสีใหม่ และกำรร่วมงำนครัง้ พิเศษกับ COOGI แบรนด์เสือ้ ผ้ำจำก ประเทศออสเตรเลีย ทีจ่ ะมำพร้อมวัสดุผำ้ knit สุดพรีเมียม และเน้นกำรใช้ดไี ซน์หลัก อย่ำงกำรถักทอผ้ำแบบ knit ที่เป็นเอกลักษณ์ของแบรนด์ COOGI บนตัวรองเท้ำ เสริมพืน้ ด้ำนนอกแบบ EVA ทีเ่ พิม่ ประสิทธิภำพในกำรยึดเกำะ มีทงั้ ไซซ์ชำยและหญิง รำคำ 2,999 บำท วำงจ�ำหน่ำยแล้ววันนี้ที่ร้ำน Carnival สยำมสแควร์ ซอย 7 (ลำน Hard Rock Cafe) โทร. 0-2252-4215

WORKSHOP

FOOD BASIC WORKSHOP BY DAILYDRAW STUDIO นอกจำกใช้สมำร์ตโฟนถ่ำยอำหำรอัพเดตลงไอจีแล้ว ยังมีวธิ กี ำรวำดอำหำรไว้อพั โชว์ สกิลศิลปะได้อกี ทำง แต่ถำ้ ใครไม่ถนัดงำนวำด ไม่มพี นื้ ฐำน เรำอยำกให้มำลงเรียนคลำสฝึก วำดอำหำรแบบง่ำยๆ ด้วยกำรใช้สนี ำ�้ เบือ้ งต้น เปิดรับรุน่ ที่ 21 แล้ววันนี้ เรียนในวันเสำร์ที่ 8, 15 และ 22 กันยำยน 2561 เวลำ 10.00-13.00 น. ค่ำคอร์สรำคำ 3,800 บำท รวมอุปกรณ์ ทัง้ หมดแล้ว (ปำกกำ dip pen, หมึก, กระดำษสีนำ�้ ) หรือถ้ำมีอปุ กรณ์สว่ นตัวก็นำ� มำได้เลย รับจ�ำนวน 6 คน ติดต่อสอบถำมข้อมูลได้ทที่ ี่ www.facebook.com/wardstudio

C

M

Y

BEAUTY

CM

MY

NIVEA X LINE FRIENDS LIP BALM เรำเชื่อว่ำสำวๆ เห็นแล้วต้องตำลุกวำว เมื่อลิปบำล์ม นีเวีย จับมือกับ Disney Tsum Tsum ส่งพวงกุญแจตัวกำร์ตูนจำก LINE FRIENDS มำพร้อมกับลิปบำล์ม 4 กลิ่น อย่ำง Peach Shine หอม กลิ่นพีชสุดๆ สมกับควำมเป็นโคนี่ Strawberry Shine กลิ่นผลไม้ เปรี้ยวๆ หวำนๆ แบบนี้กต็ ้องคู่กับช็อกโก้ น้องสำวสุดสวยของพี่หมี บรำวน์ Original Care และ Ultra Care & Protect กับพีห่ มีบรำวน์ทคี่ อย ดูแลทุกคน รำคำ 79-99 บำท พุ่งไปช้อปได้แล้ววันนี้ที่ EVEANDBOY ทุกสำขำ

EXHIBITION

CONCERT

SAME HOUSE

เห็ดสด

เรำอยำกชวนคุณไปชมงำนแสดงศิลปะจำกพีน่ อ้ งฝำแฝด กิติศักดิ์ และ กิติพงษ์ เพชรแวว ศิลปินที่หลงรักศิลปะสุดหัวใจ แม้ทั้งคู่จะชอบศิลปะเหมือนกัน แต่นสิ ัยและประสบกำรณ์ชวี ิต ทีท่ งั้ คูไ่ ด้พบเจอมำนัน้ กลับแตกต่ำงกันอย่ำงสิน้ เชิง นัน่ ท�ำให้ทงั้ คู่ มีแรงขับเคลือ่ นทำงศิลปะทีต่ ำ่ งกันทัง้ แนวคิดรวมถึงวิธกี ำรน�ำเสนอ แต่เมื่อน�ำมำรวมกันภำยใต้ชื่อนิทรรศกำรว่ำ ชายคาเดียวกัน กลำยเป็นชิ้นงำนที่น่ำสนใจ เข้ำชมได้ต้งั แต่วันที่ 9-30 กันยำยน 2561 ทีห่ อศิลป์จำมจุรี จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ติดต่อสอบถำม ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่โทร. 08-6526-0702

6

คุณคิดว่ำผีมจี ริงหรือไม่ อย่ำเพิ่งปักใจว่ำเชื่อหรือไม่เชื่อ ถ้ำคุณยังไม่ได้มำร่วมกันเปิดสัมผัสที่ 6 ไปกับคอนเสิรต์ เห็ดสด 6 โดยฟังใจ พร้อม 6 ศิลปินฝีมอื ดีในธีมผีๆ อย่ำง Phum Viphurit, TELEx TELEXs, Boyjozz, Inspirative, Monotone Group และ Retrospect มำสนุกปนหลอนด้วยกันที่ Voice Space ถ.วิภำวดีรงั สิต จ�ำหน่ำยบัตรที่ Ticketmelon.com บัตร Early Bird รำคำ 500 บำท (จ�ำกัดเพียง 500 ใบ) และบัตรปกติรำคำ 800 บำท เรำแนะน�ำ ให้รีบจับจองโดยไว เพรำะพลังงำนเหล่ำนี้จะกล้ำแข็งยิ่งขึ้น ถ้ำคุณไปซื้อบัตรหน้ำงำนที่รำคำ 1,200 บำท

CY

CMY

K


03

M 04

T 05

W 06

TH 07

F 08

SA 09

S

เทศกาลละคร รังสิต

ANO’S WONDER ‘HORROR’ LAND

BANGKOK ART BOOK FAIR 2018

OUTPUT FESTIVAL

B5 NOW 15 CONCERT

ดิ้ น . . . อ อ น เ ด อ ะ ฟลอร์ ปี 2

จัดเต็ม จัดหนัก บินฟรี พักฟรี‼ ฉลองเปิดตัว โรงแรมแห่งที่ 9 ในเครือ ‘Fortune Hotel Group’ เพียงกดไลก์เพจ Fortune Hotel Group โรงแรมใน เครือฟอร์จนู กรุป๊ และ แอดไลน์ @fortunehotelgroup แล้ ว ท� า ตาม กติกาที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นเพจ ลุน้ รับตัว๋ เครือ่ งบินจาก แอร์เอเชีย พร้อมห้องพัก 3 วั น 2 คื น ส� า หรั บ 2 ท่าน ร่วมสนุกได้ถึง วันที่ 15 พฤศจิกายน 2561 รายละเอียดเพิม่ เติมที่เพจข้างต้น

‘เทศกาลละครรังสิต’ จัด แสดงละครเวที ที่ น่าสนใจ โดยนักศึกษา ชั้นปีที่ 3 สาขาสื่อสาร การแสดง ม.รั ง สิ ต ประกอบไปด้วยละคร ทั้งสิ้น 18 เรื่อง ที่จะให้ ข้อคิดและเนื้อหาที่น่า สนใจแก่ผชู้ มทุกๆ ท่าน วันนี้ถึง 25 กันยายน 2560 เวลา 15.00 น. ณ ตึ ก 15 ม.รั ง สิ ต รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม www.facebook.com/ munbot (งดการแสดง วันพุธ เสาร์ และอาทิตย์)

นิ ท รรศการ ‘ANO’s Wonder ‘horror’ LAND’ โดย อโณทัย นิรุตติเมธี หญิ ง สาวที่ ถ ่ า ยทอด ลายเส้นทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ เน้ น สี สั น สดใสที่ ใ ห้ ความสนุก โดยน�าเสนอ มุ ม มองใหม่ ที่ เ นรมิ ต วันร้ายๆ ของคุณให้กลาย เป็ น ดี ที่ ดู แ ล้ ว อดยิ้ ม ไม่ได้ ผ่านผลงานศิลปะ ในสไตล์ Doodle Art วันนี้ถึง 30 กันยายน 2561 ที่เดอะแกลเลอรี ชั้น 36 โรงแรมพูลแมน กรุงเทพ จี

เทศกาลหนั ง สื อ และ สิง่ พิมพ์ศลิ ปะประจ�าปี ‘Bangkok Art Book Fair 2018’ ด้วยความร่ ว มมื อ จากศิ ล ปิ น ช่างภาพ นักเขียน นักออกแบบกราฟิก และ นักวาดภาพประกอบที่ สนใจจัดพิมพ์เผยแพร่ ผลงานของตน วันนี้ถึง 9 กั น ยายน 2561 ณ บางกอก ซิ ตี้ ซิ ตี้ แกลเลอรี ซ.สาทร 1 (ค่าธรรมเนียมเข้างาน 60 บาท)

การกลับมาของงาน EDM มิวสิกเฟสติวัลสุดแสบ ที่คุณรอคอย ‘Output Festival’ ทีก่ ารันตีในเรือ่ ง ไลน์อัพสุดเดิ้น น�าทัพ โดย Boombox Cartel (Mexico), Cash Cash (USA), NGHTMRE & SLANDER Presents Gud Vibrations (USA) และ The Him (Netherlands) วันนี้ เวลา 16.00 น. ณ ไบเทค บางนา จ�าหน่ายบัตรที่ Ticketmelon.com

15 ปีที่รอ กับคอนเสิร์ต ‘B5 NOW 15’ การกลับ มารวมตัวบนเวทีอย่าง ยิง่ ใหญ่ครัง้ แรกของบีไฟว์ กลุ ่ ม ศิ ล ปิ น คุ ณ ภาพ 5 นั ก ร้ อ ง-นั ก ดนตรี เพือ่ นซีเ้ สียงทรงพลัง เบน ช ล า ทิ ศ , ม า เ รี ย ม เกรย์, เค้ก ปุญญมันต์, คิว สุ วี ร ะ และ โต๋ ศักดิ์สิทธิ์ วั น นี้ เวลา 19.00 น. ณ อิมแพ็ก อารีนา เมืองทองธานี

พบกั บ คอนเสิ ร ์ ต เต็ ม รู ป แบบของ พชรพล จัน่ เทีย่ ง หรือ วิทย์ AF1 ใน ‘ดิ้น...ออน เดอะ ฟลอร์ ปี 2’ ร่วมด้วย แ ข ก รั บ เ ชิ ญ พิ เ ศ ษ อย่ า ง พิ้ ง กี้ สาวิ ก า และ ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง ณ ศาลาเฉลิ ม กรุ ง วันนี้ เวลา 14.00 น. ณ ศาลาเฉลิ ม กรุ ง จ� า หน่ า ยบั ต รที่ ไ ทย ทิกเก็ตเมเจอร์

issue 522

22 JAN 2018

จุดแจกนิตยสาร a day BULLETIN เฉพาะสถานีรถไฟฟ้า BTS ทุกวันจันทร์ เวลา 17.30 น. เป็นต้นไป (แจกให้ผู้รับได้คนละ 1 ฉบับ)

BTS อารีย์

เพล ินจิต

BTS ช

ิดลม

BTS อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

BTS

WHERE THE CONVERSATIONS BEGIN

adaybulletin

BTS หมอชิต

สยา ม

FIND US

FORTUNE HOTEL GROUP

BTS

a day BULLETIN

16

CALENDAR

BTS อโศก BTS ศาลาแดง

BTS พร้อมพงษ์

BTS ช่องนนทรี BTS สะพานตากสิน

BTS อ่อนนุช



a day BULLETIN

CONNECTING THE DOTS เรื่อง : มณิสร สุดประเสริฐ ภาพ : ณัฐริกา มุคำา

18

Business Profile http://readery.co โจ วรรณพิณ นักเขียนบทภาพยนตร์ และ ‘เน็ต’ - นัฎฐกร ปาระชัย นักออกแบบเว็บไซต์ ผู้ไม่ชอบออกไปทำางานนอกบ้าน จึงเปลี่ยนบ้านให้เป็นสถานที่ทำางานที่ตัวเองรัก ร้านหนังสือออนไลน์ Readery ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 4 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ซอย 48 แยก 12 แขวงดอกไม้ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2726-7340 (วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 9.00-17.00 น.)

20

17

-F

ac

eb

100,0 ook

kes 00 li

2015 ีพ - เร่ิมม นักงา

นค นแ รก

20

14

-ม

ีลูก

ค้าค

รบ 7 7 จัง หว

ัด

2013 - กำาเนิด Readery

issue 554 03 SEP 2018


19

READERY เมื่อก่อนการซื้อหนังสือสักหนึ่งเล่ม เราต้องเดินตรงไปที่ร้านหรือแผงหนังสืออย่างเดียวเท่านั้น เพื่อเลือกหนังสือเล่มที่ถูกใจที่สุด แต่ปัจจุบันมีร้านหนังสือออนไลน์เกิดขึ้นมากมาย ซึ่งหนึ่งในร้าน ทีก ่ าำ ลังเป็นทีน ่ ย ิ มในบรรดาเหล่านักอ่านตอนนีค ้ งหนีไม่พน ้ Readery ทีเ่ กิดจากการร่วมมือกันของ โจ วรรณพิณ และ ‘เน็ต’ - นัฎฐกร ปาระชัย ผู้รักการอ่านหนังสือ และผู้ที่ผูกใจคนอ่านด้วยการคิด คอนเทนต์ การสร้างบทสนทนาทีเ่ ป็นมิตร และบริการทีน ่ า่ ประทับใจ ทำาให้รา้ นหนังสือออนไลน์สด ุ เซ็กซี่ แห่งนี้เข้าไปอยู่ในใจของใครหลายๆ คน

2018 - กำาเนิด Read More คอนเทนต์น่ารู้อื่นๆ เกี่ยวกับหนังสือ

STEP BY STEP

WORK AT HOME

MAKE A CONVERSATION

POWER OF LITERATURE

จุ ด เริ่ ม ต้ น ของ Readery มาจากที่เราทั้งคู่เป็นคน ชอบอ่านหนังสือ เพราะ ฉะนัน้ เราจะมองเว็บไซต์นี้ ในมุ ม คนอ่ า นมากกว่ า คนท�าธุรกิจตั้งแต่วันแรก จากนั้นก็ค่อยๆ เรียนรู้ว่า องค์ ป ระกอบอะไรบ้ า ง ทีจ่ ะท�าให้เป็นร้านหนังสือ ออนไลน์ที่ดีได้ ศึกษาว่า สายพานหนังสือเริ่มต้น และจบลงตรงไหน โดย ช่วงแรกเราเน้นขายหนังสือ ใ ห้ กั บ นั ก อ่ า นที่ รู ้ จั ก กั น กลุ่มเล็กๆ เท่านั้น แต่พอ ท� า ไปสั ก พั ก ธุ ร กิ จ ก็ เ ริ่ ม เติ บ ใหญ่ ขึ้ น มี สิ น ค้ า หลากหลายและกลุ ่ ม ผู้อ่านที่กว้างขึ้น

เราทัง้ คูช่ อบท�างานทีบ่ า้ น จึงใช้บ้านเป็นส�านักงาน ของ Readery เพราะมี บรรยากาศที่ผ่อนคลาย ช่ ว ยให้ คิ ด งานครี เ อที ฟ ออก อย่างคอนเทนต์ใน Readery ส่วนใหญ่ไม่ได้ เกิดจากการทีเ่ ราตัง้ ใจจะ ขายของ แต่เกิดจากทีเ่ รา ก�าลังคุยถึงหนังสือเล่มนี้ อยู่แล้วมันสนุกจึงอยาก เ ขี ย น ซึ่ ง อ น า ค ต เ ร า อาจจะย้ายสถานที่ แต่จะ คงความรู้สึกอบอุ่นของ บรรยากาศในบ้านไว้ใน ทุกที่ เพราะรู้สึกว่าการท� า งานที่ บ ้ า นนั้ น เวิ ร ์ ก ส�าหรับ Readery มาก

เราไม่อยากให้เกิดความรูส้ กึ แยกกันระหว่างคนอ่าน ว่า Readery เป็นร้านขาย หนังสือ แล้วเขาเป็นลูกค้า จึงใช้วธิ กี ารสร้างบทสนทนา ในโซเชียลเน็ตเวิร์กต่างๆ เพื่ อ พู ด คุ ย สื่ อ สารอย่ า ง เป็นกันเอง และท�าให้เขา สัมผัสได้ว่าเราเป็นเพื่อน นักอ่านเหมือนกัน อ่าน หนังสือเล่มเดียวกัน ซึ่ง การท�าแบบนีม้ นั เชือ่ มโยง กับคนอ่านมากกว่าการพูด ว่าหนังสือเล่มนี้ดีอย่างไร มาซื้อเถอะ

วรรณกรรมเป็ น หมวด หนังสือทีเ่ ราหยิบมาพูดถึง บ่ อ ยๆ เพราะคุ ย กั น ได้ อย่างไม่มตี กยุค หนังสือ หมวดอื่ น ๆ อาจจะมา ตามยุคสมัย ตามกระแส ช่ ว งนั้ น แต่ ว รรณกรรม อยู่เหนือกาลเวลาเสมอ บางเรือ่ งมีคนอ่านถึง 3 รุน่ ทั้งกลุ่มคนที่เป็นผู้ใหญ่ ช่วงวัยท�างาน ไปจนถึง เด็กๆ ด้วยเหตุน้เี ราจึงน�า วรรณกรรมมาเป็นตัวเปิด พืน้ ทีใ่ นการพูดคุย เพราะ ส่ ง ต่ อ เวลาได้ ง ่ า ยและ เชื่ อ มโยงไปสู ่ ห นั ง สื อ หมวดอื่นๆ ได้

READING IS SEXY

PHYSICAL THING

BOOK CLUB

OUR DREAM

สโลแกน 'Reading is Sexy' มาจากเวลาเราไป นั่งตามร้านกาแฟ หรือ ขึ้นรถไฟฟ้าแล้วเห็นคน อ่านหนังสือ ซึ่งมันช่วย เพิม่ คาแร็กเตอร์ของคนนัน้ ให้ดเู ซ็กซีข่ นึ้ จริงๆ บวกกับ เมือ่ ก่อนคนจะคิดว่าการอ่านวรรณกรรมเป็นเรื่อง ยาก จึงใช้ประโยคนี้ให้ดู เข้าถึงง่ายขึ้น เราอยาก ท�าให้หนังสือเป็นส่วนหนึง่ ของการใช้ ชี วิ ต เป็ น ไลฟ์สไตล์สนุกๆ เหมือน ดูหนัง ฟังเพลง นัดเจอ เพือ่ นทีค่ าเฟ่ ไม่จา� เป็นต้อง เป็นเรื่องหนักหรือเครียด แต่กลมกลืนไปกับทุกวัน ได้จริงๆ

ด้วยความที่ Readery เป็น ร้านหนังสือออนไลน์ ไม่มี หน้าร้าน จึงเกิดข้อจ�ากัด ตรงที่ ลู ก ค้ า ไม่ ส ามารถ ซึ ม ซั บ บรรยากาศของ ร้ า นหนั ง สื อ ได้ โ ดยตรง เพราะฉะนั้น เราจึงเลือก ถ่ายทอดตัวตนของร้าน และบรรยากาศตรงนีผ้ า่ น สิง่ ทีล่ กู ค้าจับต้องได้อย่าง การจับกล่อง การจับทีค่ นั่ หนั ง สื อ ก็ เ ลยเป็ น ที่ ม า ของการปะค�าว่า Reading is Sexy ไว้บนบรรจุภัณฑ์ ต่างๆ

พืน้ ทีท่ เี่ ปิดโอกาสให้นกั อ่าน ได้รว่ มพูดคุยกันถึงมุมมอง ที่ มี ต ่ อ หนั ง สื อ โดยเรา พยายามจะทดลองท� า Book Club ให้หลากหลาย อารมณ์ หรื อ เปลี่ ย น หมวดหนั ง สื อ ไปเรื่ อ ยๆ เช่น ตอนหมว ดหมู ่ ฆาตกรรมก็ จ ะเจอคนที่ ชอบเรือ่ งสืบสวน สอบสวน เหมือนกัน แม้จะเริ่มต้น ด้ ว ยหนั ง สื อ แต่ ล งเอย ด้ ว ยการเป็ น เพื่ อ นทุ ก ที เพื่อนที่มองตาก็รู้เลยว่า เราชอบสิ่งนี้เหมือนกัน

มีความฝันกับ AI เพราะ เราเพิ่ ง ท� า Book Club เกีย่ วกับวรรณกรรม ซึง่ เรา เคยอ่านเจอว่า โดยเฉลีย่ แล้วคนเรามีโอกาสอ่าน วรรณกรรมแค่ 600 เล่ม เท่านั้น จึงอยากให้ AI มาวิ เ คราะห์ พ ฤติ ก รรม ของแต่ละคนว่า 600 เล่ม นั้ น มี ห นั ง สื อ อะไรบ้ า ง ถ้าอ่านเล่มนีแ้ ล้วควรอ่าน เล่มไหนต่อ ตอนนีป้ ญ ั หา ของเราไม่ ใ ช่ ว ่ า เข้ า ถึ ง หนังสือไม่ได้ แต่เราเข้าถึง ปริมาณข้อมูลมหาศาล ทีเ่ ราเลือกเองไม่ได้ ถ้ามี AI มาช่ ว ยประมวลผล คงสนุ ก ดี ที่ จ ะได้ รู ้ ว ่ า พฤติกรรมของเรามีอะไร ให้เรียนรูอ้ กี บ้าง

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


a day BULLETIN

BULLETIN BOARD

20

The John Walker & Sons Siam Blend ทีส ่ ด ุ ของประสบการณ์แห่งสกอตช์วส ิ กี้ The John Walker & Sons Siam Blend วิสกี้ที่มี รสชำติอนั เป็นเอกลักษณ์ผสมผสำนอย่ำงลงตัวกับรสนิยม คนไทย ด้วยจ�ำนวนเพียง 50 ขวดในโลก ซึ่งโดดเด่นด้วย รสชำติของผลไม้สดผสำนกับลูกแพร์อบ ซึ่งเป็นลักษณะ เฉพำะของวิสกี้จำกโรงกลั่นในสเปย์ไซด์ และโลว์แลนด์ ที่บ่มในถังไม้โอ๊ก เมื่อเบลนด์เข้ำกับวิสกี้ที่ท�ำจำกธัญพืช ซึง่ มีกลิน่ คล้ำยทอฟฟีแ่ ละวำนิลลำ ระหว่ำงลิม้ รสจะสัมผัส ได้ ถึ ง ควำมหวำนของน�้ ำ ผึ้ ง ในวิ ส กี้ ที่ ม ำจำกไฮแลนด์ ช่วยเสริมให้รสชำติของผลไม้มมี ติ ยิ งิ่ ขึน้ และทิง้ ท้ำยไว้ดว้ ย รสหวำนของผลไม้ ผสำนกับบัตเตอร์สกอตช์ พร้อมกรุ่น กลิ่นควันและเครื่องเทศอวลอยู่อีกยำวนำน เหมำะกับ กำรดื่มแบบเพียวๆ หรือหยดน�้ำลงเพียงเล็กน้อย เพื่อ ปลดปล่อยกลิน่ หอมฟุง้ ให้จรุงยิง่ ขึน้ ติดตำมรำยละเอียด เพิ่มเติมได้ท่ี www.johnniewalker.com

issue 554 03 SEP 2018

เอส แอนด์ พี รับรางวัลองค์กร ดีเด่นด้านสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ลดโซเดียม)

Ducati Panigale V4 คว้า รางวัล Big Best Bigbike of the Year 2018-2017

มู ล นิ ธิ โ อ ส ถ ส ภ า ม อ บ ทุนการศึกษาแพทย์ เภสัชฯ พยาบาล ประจ�าปี 2561

SAVVI ARI4 พร้ อ มเปิ ด Pre-sales

บริษทั เอส แอนด์ พี ซินดิเคท จ�ำกัด (มหำชน) โดย มณีสดุ ำ ศิลำอ่อน ผูจ้ ดั กำร ฝ่ำยสื่ อ สำรองค์ ก ร รั บ มอบรำงวั ล ‘องค์กรดีเด่นด้ำนสร้ำงสรรค์ผลิตภัณฑ์ สุขภำพ (ลดโซเดียม)’ จำก ดร. นพ. ไพโรจน์ เสำน่วม ผู้อ�ำนวยกำร ส�ำนักสร้ำงเสริม วิ ถี ชี วิ ต สุ ข ภำวะ ส� ำ นั ก งำนกองทุ น สนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ (สสส.) ในพิ ธีม อบประกำศนี ย บั ต รให้ กั บ ผู้ประกอบกำรที่เข้ำร่วมเป็นพันธมิตร เครือข่ำยบริโภคลดเค็ม ณ อำคำรเรียนรู้ สุ ข ภำวะ สสส. ทั้ ง นี้ เอส แอนด์ พี ได้รังสรรค์เมนูลดควำมเค็ม 6 เมนู โดย จ� ำ หน่ ำ ยในร้ ำ นเอส แอนด์ พี สำขำ โรงพยำบำล ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภำคม ที่ผ่ำนมำ

ดูคำติ บิ๊กไบค์พรีเมียมสัญชำติ อิตำลี ตอกย�ำ้ ควำมเป็นทีส่ ดุ แห่งสมรรถนะ และเทคโนโลยีล�้ำสมัย รับรำงวัลชื่นชม คุณสมบัติผลิตภัณฑ์ดีเด่น ยอดเยี่ยม Ducati Panigale V4 ขุ ม พลั ง แนวใหม่ V4 สุดโหด พร้อมเอำใจสำวกบิ๊กไบค์ จัดแคมเปญใหญ่ในงำน BIG Motor Sale 2018 เมื่อวันที่ 18-26 สิงหำคมที่ผ่ำนมำ ณ ไบเทคบำงนำ ซึ่ ง เป็ น กำรตอกย�้ ำ สมรรถนะและเทคโนโลยี อั น ล�้ ำ สมั ย และให้ผู้บริโภคได้เข้ำมำเป็นครอบครัว ดูคำติได้ง่ำยขึ้น ด้วยสินค้ำ Riding Gear และ Apparel ที่ลดสูงสุดถึง 70% รวมถึง แคมเปญพิเศษส�ำหรับรถดูคำติรนุ่ ต่ำงๆ ในงำนอีกมำกมำย

เพชร โอสถำนุเครำะห์ ประธำน มู ล นิ ธิโ อสถสภำ เป็ น ประธำนมอบ ทุนกำรศึกษำโอสถสภำ ประจ�ำปี 2561 ให้กับนิสิตนักศึกษำคณะแพทยศำสตร์ คณะเภสัชศำสตร์ และคณะพยำบำลศำสตร์ จำกทั่วประเทศ รวม 25 ทุน จ�ำนวนเงินทั้งสิ้นกว่ำ 1,010,000 บำท โดยตลอดเวลำกว่ำ 30 ปี มูลนิธโิ อสถสภำ ได้ ส นั บ สนุ น และสร้ ำ งบุ ค ลำกรทำง กำรแพทย์และสำธำรณสุขด้วยกำรมอบ ทุ น กำรศึ ก ษำอย่ ำ งต่ อ เนื่ อ งตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2531 ปั จ จุ บั น มี ผู ้ รั บ ทุ น ที่ ส� ำ เร็ จ กำรศึ ก ษำแล้ ว ทั้ ง สิ้ น กว่ ำ 300 คน กระจำยอยู่ทกุ ภูมิภำคของประเทศ

หลังจำกประสบควำมส�ำเร็จจำก โครงกำรก่อนหน้ำอย่ำง SAVVI PHAHOL-ARI ครัง้ นีก้ ลับมำพร้อมพร้อมกับโครงกำรใหม่ SAVVI ARI4 ซึ่งจะเปิ ดพรีเ ซลในวัน ที่ 8 กันยำยนนี้ โดยโครงกำรมีจดุ เด่นของ ท�ำเลศักยภำพอย่ำงอำรีย์ ที่รำยล้อม สิ่ ง อ� ำ นวยควำมสะดวกรอบโครงกำร ทั้ ง คำเฟ่ ร้ ำ นค้ ำ อำคำรส� ำ นั ก งำน สถำนศึกษำ และสถำนพยำบำล ทีร่ งั สรรค์ มำเพื่อตอบโจทย์ควำมต้องกำรของคน รุน่ ใหม่ทไี่ ม่หยุดนิง่ นอกจำกนีต้ วั โครงกำร ครบครันเหมือนอยู่บ้ำนด้วยห้องขนำด ใหญ่สดุ Private และยังสะท้อนเอกลักษณ์ ของกำรดีไซน์ทปี่ ระณีตและมีสไตล์ สนใจ ลงทะเบียนที่ www.savvicondo.com/ari4/ หรือโทร. 09-4528-5444


21 อั พ เดตแวดวงข่าว สั ง ค ม ที่น่าสนใจ ในรอบสัปดาห์ ‘เอไอเอส’ จัดแฟนมีต เป๊ก ผลิตโชค X แบมแบม GOT7 ครั้งแรก ติดอันดับ 1 บนทวิตเตอร์เทรนด์ไทยอีกครัง้ กับกระแสแฮชแท็ก #AISNEXTGxPECKBAMBAM ทีเ่ ปิดตัว ‘แบมแบม GOT7’ ในฐำนะพรีเซ็นเตอร์ ล่ำสุดของเอไอเอส และยังได้ฟเี จอริงกับขวัญใจ มหำชน ‘เป๊ก’ - ผลิตโชค อำยนบุตร มำร่วมงำนกัน ในแคมเปญ AIS NEXT G จนท�ำเอำโลกโซเชียลเน็ตเวิรก์ ถล่มทลำย ล่ำสุด เอไอเอสเลยขอทุม่ ทุน สร้ำงจัดงำนแฟนมีตติง้ MISSION 7 : AIS NEXT G x PECK BAMBAM THE 1ST TIME IN BANGKOK เอำใจเหล่ำนุชและอำกำเซ และลูกค้ำเอไอเอส ให้ได้พบกับสองพรีเซ็นเตอร์สดุ ฮอตแบบใกล้ชดิ พร้อมร่วมกิจกรรมฟินๆ ทีห่ ำทีไ่ หนไม่ได้ ตอกย�ำ้ ผู้น�ำเครือข่ำยของเอไอเอส ตัวจริงที่ 1 ของไทย ณ ลำนกิจกรรม หน้ำศูนย์กำรค้ำเซ็นทรัลเวิลด์ C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

Green Global Project... We love Thailand ครัง้ ที่ 11

Adrift Love Win Quote มอบเงินสมทบทุน แก่สภากาชาดไทยช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยทั่วประเทศ

‘ ยุ้ ย -ธัญญ์’ ควงคู่ร่วมท�า กิจกรรมเพือ่ สังคมให้บา้ นเกิด

บริ ษั ท ไทยซั ม ซุ ง ประกั น ชี วิ ต จ�ำกัด (มหำชน) น�ำพนักงำนจิตอำสำของ ไทยซั ม ซุ ง ประกั น ชี วิ ต และพนั ก งำน จิตอำสำของซัมซุงประกันชีวติ จำกประเทศ เกำหลี รวมกว่ำ 50 ชีวิต ร่วมปลูกป่ำ ชำยเลนถำวร ณ สถำนีพฒ ั นำทรัพยำกร ป่ำ ชำยเลนที่ 6 จ.เพชรบุรี ในโครงกำร Green Global Project... We love Thailand ครัง้ ที่ 11 ซึง่ จัดขึน้ อย่ำงต่อเนือ่ งเป็นประจ�ำ ทุกปี ทีผ่ ำ่ นมำ โครงกำรนีจ้ ดั ขึน้ มำแล้ว 10 ครัง้ ได้ปลูกพันธุไ์ ม้ปำ่ ชำยเลนต่ำงๆ ไปแล้วกว่ำ 7,900 ต้น ส�ำหรับครัง้ นีไ้ ด้ปลูก ต้นโกงกำงรวม 2,000 ต้น ด้วยควำมหวัง เป็ น อย่ำงยิง่ ว่ำโครงกำรฯ จะก่อให้เกิด ประโยชน์แก่ชมุ ชนทีอ่ ยูโ่ ดยรอบป่ำชำยเลน แห่งนีใ้ นระยะยำว

ภำพยนตร์มหันตภัยที่สร้ำงจำก เรื่ อ งจริ ง Adrift รั ก เธอฝ่ ำ เฮอร์ ริ เ คน จั ด โครงกำร Adrift Love Win Quote คัด 15 ถ้อยค�ำจำก 15 คนดัง ทีก่ ลัน่ กรอง ควำมรู ้ สึ ก จำกใจต่ อ มุ ม มองที่ ว ่ ำ ‘ควำมรักเอำชนะอุปสรรคได้อย่ำงไร’ โดย ทุก 1 แชร์ เป็นเงินเท่ำกับ 3 บำท รำยได้ จำกกำรแชร์ทั้งหมดมอบให้ส�ำนักงำน บรรเทำทุกข์ และประชำนำมัยพิทักษ์ สภำกำชำดไทย เพื่อสมทบทุนจัด ซื้อ ชุดธำรน�้ำใจฯ แก่ผู้ประสบภัยธรรมชำติ ล่ำสุดได้นำ� รำยได้จำกโครงกำรเป็นจ�ำนวน 30,000 บำท มอบให้แก่ เภสัชกรหญิง จิรำวรรณ สันติพทิ กั ษ์ ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยกำรฯ ซึ่งเป็นตัวแทนรับมอบในครั้งนี้

‘ยุ้ย - จีรนันท์ มะโนแจ่ม ควงคู่ ธัญญ์ ธนำกร และบริษทั จระเข้ คอร์ปอเรชัน่ ผูผ้ ลิตและจัดจ�ำหน่ำยผลิตภัณฑ์กำวซีเมนต์ กำวยำแนว คัลเลอร์ซเี มนต์ และผลิตภัณฑ์ วัสดุกอ่ สร้ำงแบรนด์ชำละวัน ได้ชวนคูร่ กั คู่นี้ร่วมกิจกรรมส่งต่อสิ่งดีๆ สู่บ้ำนเกิด กับกิจกรรมเพือ่ สังคมปูกระเบือ้ งเพือ่ พัฒนำ ลำนอเนกประสงค์ โดยชำละวัน ให้กับ สถำนคุม้ ครองผูย้ ำกไร้ทบั กวำง เมือ่ วันที่ 24 สิงหำคมทีผ่ ่ำนมำ ณ สถำนคุ้มครอง ผู้ยำกไร้ทับกวำง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี ติดตำมสำระควำมรู้ นวัตกรรมวัสดุกอ่ สร้ำง ใหม่ๆ รวมทัง้ กิจกรรมดีๆ โดย ‘ชำละวัน’ ได้ ที่ www.jorakay.co.th และ www. facebook.com/JorakayPage


a day BULLETIN

LIFE

เรื่อง : ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล, พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ และแฟ้มภาพสวนสัตว์ดุสิต

22

issue 554 03 SEP 2018


23

DISCONNECT TO RECONNECT ตัง ้ แต่เด็ก เราคุน ้ เคยกับการไปเทีย ่ ว สวนสัตว์ในประเทศไทยมาอย่างยาวนาน เนือ ่ งจากเป็นแหล่งเรียนรูช ้ ว ี ต ิ สัตว์ปา่ และ ธรรมชาติ ที่ ใ กล้ ตั ว เรามากที่ สุ ด แต่ เ มื่ อ เวลาผ่านไป สวนสัตว์ก็ต้องเปลี่ยนแปลง เพือ ่ การพัฒนาตามวัตถุประสงค์ในแต่ละยุค เริ่มตั้งแต่สมัยยุคล่าอาณานิคม จากเดิม สวนสั ต ว์ คื อ สถานที่ ที่ เ ก็ บ สมบั ติ ข อง ประเทศเจ้าอาณานิคมที่ไปล่ามาได้ และใช้ เก็บสิ่งของมีค่า โดยเฉพาะสัตว์ป่าต่างๆ ทีป ่ ระเทศราชได้สง ่ มาเป็นของบรรณาการ น� า มาจั ด แสดงรวมกั น ไว้ ใ นที่ เ ดี ย ว อาทิ สิ ง โตและเสื อ โคร่ ง ที่ ม าจากคนละทวี ป เสมื อ นเป็ น การเก็ บ แสตมป์ ส ะสมเพื่ อ ให้ เข้าชุด รวมทั้งน�าคนป่าหรือชนเผ่ามาโชว์ ในที่แห่งเดียวกัน ซึ่งในเวลานั้นคุณค่าของ สัตว์ปา่ และคนป่าทีม ่ ช ี วี ต ิ เป็นแค่ของแปลก ต่อมาเมื่อมนุษย์เริ่มมองเห็นคุณค่า ของสัตว์ปา่ มากขึน ้ จึงเริม ่ แยกสัตว์แต่ละทวีป แต่ ล ะสายพั น ธุ์ อ อกจากกั น ตาม Geographical Zoning หลังจากนั้นไม่นาน สวนสัตว์ที่เป็นแค่การจัดแสดงโชว์ก็เริ่ม เปลีย ่ นแปลง และเพิม ่ ภารกิจหน้าทีม ่ ากขึน ้ เมือ่ สัตว์บางชนิดเริม ่ สูญพันธุด ์ ว้ ยภัยธรรมชาติ โรคระบาด สัตว์หลายๆ ชนิดเริม ่ หายไป แต่ โชคดียง ั มีสต ั ว์บางชนิดเหลือรอดอยูภ ่ ายใน สวนสัตว์ และได้ทา� การน�าพวกมันไปปล่อย คื น สู่ ป่ า สวนสั ต ว์ จึ ง กลายเป็ น สถานที่ เก็บรักษาพันธุ์สัตว์ป่าไปโดยปริยาย จนกระทัง่ มาถึงการเป็น Modern Zoo ทีม ่ ขี อ ้ ก�าหนดหลักส�าคัญ 4 เรือ ่ งคือ อนุรก ั ษ์ ให้ ก ารศึ ก ษา วิจัย และพักผ่อ นหย่อ นใจ เพือ ่ ให้คนมาได้ใกล้ชด ิ กับธรรมชาติในเมือง มากขึน ้ รวมทัง ้ Zoological Park สวนสัตว์ และสวนสาธารณะทีม ่ ส ี ต ั ว์ปา่ ให้ชม มีพน ั ธุไ์ ม้ ให้ ศึ ก ษา มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ ใ ห้ ติ ด ตาม ซึ่ ง กลายเป็ น มาตรฐานใหม่ ข องสวนสั ต ว์ ที่มีอยู่ในทุกประเทศทั่วโลก “ส� า หรั บ ประเทศไทยที่ ไ ม่ เ คยท� า เรื่องสวนสัตว์แบบเฉพาะตัวมาก่อน แต่ เป็ น การรั บ วั ฒ นธรรมต่ า งชาติ เ ข้ า มา อย่ า งเขาดิ น ที่ เ พิ่ ง จะครบ 80 ปี ใ นปี นี้ เท่ากับว่าเราเพิ่งหัดท�าสวนสัตว์มาได้แค่ 8 ทศวรรษเท่านั้น แต่เป็นช่วงเวลาที่เรา ได้ เ รี ย นรู้ ได้ พ บกั บ บุ ค ลากรที่ จ บจาก ต่างประเทศมาช่วยงาน มีการส่งบุคลากร ไปดู ง านต่ า งประเทศเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง และ ต่อยอดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการท�า สวนสัตว์ให้ดขี น ึ้ ดังนัน ้ วันนีเ้ ราพร้อมแล้ว ทีจ่ ะพัฒนาสวนสัตว์ตอ่ ไป” นีค ่ า� ตอบเบือ้ งต้น ของ ‘หมอต้อม’ - น.สพ. ดร. บริพัตรศิริ อรุ ณ รั ต น์ ผู้ อ� า นวยการส� า นั ก อนุ รั ก ษ์ วิ จั ย และการศึ ก ษา องค์ ก ารสวนสั ต ว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งค�าตอบของหมอต้อมชวนให้เรา ตั้ ง ค� า ถามถึ ง ทิ ศ ทางการเปลี่ ย นแปลง ครั้งใหม่ของสวนสัตว์ในอนาคต ว่าจะช่วย สร้างคุณค่าให้กบ ั ผูค ้ น สัตว์ปา่ สิง่ แวดล้อม และสังคมไทยได้อย่างไร


a day BULLETIN

24

Learning, Appreciation, Behavioral Change

Modern Zoo

02

01

04 03 05 06

01 การถ่ายท�ารายการทีวี บริเวณศาลา 8 เหลีย ่ ม (ปัจจุบน ั เสียหายและรือ ้ ถอน ไปแล้ว) ตรงข้ามหลุมหลบภัย 02 ส่วนจัดแสดงยีราฟ ม้าลาย 03 ขบวนพาเหรดสัตว์ปา่ บริเวณสะพาน ข้ามเกาะนกปัจจุบัน 04 อาคารเรือนกระจกหลากสี ห้องจัดแสดง ภาพปัจจุบน ั 05 น�า้ พุแมวน�า้ ตรงข้ามบ่อฮิปโปปัจจุบน ั 06 ท่าช้างอาบน�า้ บริเวณสวนสัตว์เด็ก

issue 554 03 SEP 2018

Timeline

พ.ศ. 2438 พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสวนดุสต ิ หรือเขาดินวนา ขึ้ น ห ลั ง จ า ก ที่ พ ร ะ อ ง ค์ ไ ด้ ท อ ด พ ร ะ เ น ต ร กิ จ ก า ร สวนพฤกษชาติของต่างประเทศ

ภาพจ�าในอดีตของใครหลายๆ คน สวนสัตว์คอื หนึง่ ในสถานทีท่ แี่ ค่นา� สัตว์มาขังไว้ให้คนดู แต่เพือ่ ปรับความเข้าใจ ใหม่ทงั้ หมด หมอต้อมอธิบายมิชชันสมัยใหม่ให้ฟงั ว่า “แน่นอนว่าอะไรก็ตามทีม่ รี วั้ รอบขอบชิด มีคนเลีย้ ง และเอาอาหารให้กิน เรียกว่าสภาพการกักขัง นั่นฟังแล้ว อาจดูโหด แต่นคี่ อื ‘ความจริง’ ซึง่ ไม่ตา่ งจากการท�าฟาร์ม เลีย้ งหมู เลีย้ งไก่ แต่จดุ แตกต่างคือวัตถุประสงค์ สวนสัตว์ ได้สร้างขึ้นเพื่อเป็นสถาบันแห่งการเรียนรู้หนึ่งในสังคม มีหน้าทีบ่ ริการความรู้ และการพักผ่อนหย่อนใจควบคูก่ นั “การเรียนรู้ในสวนสัตว์ไม่ได้มีแค่เรื่องของสัตว์ป่า พืชพันธุ์ แต่ยงั เป็นหน่วยย่อยของการสือ่ สารเรือ่ งสิง่ แวดล้อม รอบด้าน ไม่วา่ จะเป็นพลังงานสีเขียว โลกร้อน การรีไซเคิล หรือแม้กระทั่งขยะทะเล ขึ้นอยู่กับเราว่าจะเล่าเรื่องอะไร ในรูปแบบไหน และน่าสนใจอย่างไร นอกจากนีย้ งั สามารถ สอนถึงต้นทางของธรรมชาติ สรรพสิง่ หรือแม้กระทัง่ เรือ่ ง อาหารได้ อย่างที่ National Zoo สวนสัตว์ในวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา เมือ่ ชาวอเมริกนั และสภาคองเกรสมีความเห็น ตรงกันว่าเด็กอเมริกนั ไม่รวู้ า่ พิซซ่าท�ามาจากอะไร แป้ง ชีส มะเขือเทศ โบโลเนสมาจากไหน ก่อนจะมอบภารกิจนี้ให้ สวนสัตว์ท�าหน้าที่เป็นแหล่งเพิ่มพูนและเผยแพร่ความรู้ ให้กบั มนุษยชาติ” เมือ่ มองกลับมาทีเ่ มืองไทย เด็กๆ ในยุคปัจจุบนั ไม่รวู้ า่ ข้าวมาจากไหนเช่นกัน ต่อจากนีส้ วนสัตว์สมัยใหม่ในบ้านเรา อาจจะใส่ดเี ทลเล็กๆ ทีย่ งิ่ ใหญ่เหล่านีล้ งในภารกิจหนึง่ ของ สวนสัตว์ เพือ่ ให้เป็นคุณครูอกี คนทีส่ อนวิชาธรรมชาติวทิ ยา อีกทาง

ทุกวันนี้สวนสัตว์ไม่ได้ท�าหน้าที่แค่บอกผู้คนว่าสัตว์ตัวนี้มาจากไหน ออกลูกกีต่ วั เรือ่ งราวเหล่านีท้ กุ คนสามารถหาได้จากช่องทางอืน่ ๆ มากมาย แต่ความพิเศษของสวนสัตว์มีมากกว่านั้น เมื่อในวันที่คนคนหนึ่งได้จ้องตา กับสัตว์ปา่ ตัวหนึง่ จริงๆ เขาจะรูส้ กึ ตืน่ เต้น เกิดความสงสัย อยากรูจ้ กั จนเกิด เป็นความประทับใจ กลายเป็นความรัก ความหลงใหลอย่างไม่รตู้ วั แต่เชือ่ หรือไม่วา่ สิง่ ต่างๆ เหล่านีส้ ามารถเปลีย่ นทัศนคติ สร้างจิตส�านึก เรือ่ งการอนุรกั ษ์ธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม หรือสัตว์ปา่ ในอนาคตได้อย่างแนบเนียน “เมื่อมาถึงสวนสัตว์ สิ่งแรกที่คุณจะต้องเจอคือ ความประทับใจ ในตัวสัตว์ และเกิดเป็นความรักความเมตตา จากนัน้ เจ้าหน้าทีจ่ ะค่อยๆ สร้าง ความเข้าใจว่าเขาคืออะไร อย่างตัวนิม่ ไม่ใช่ตวั กินมด สมเสร็จก็ไม่ใช่ตวั กินมด มีความน่ารักแค่ไหน บ้านของเขาอยูไ่ หน เขาก�าลังเผชิญปัญหาตามธรรมชาติ อะไรอยู่หรือเปล่า หรือเขาอาจจะก�าลังโดนล่า ที่สวนสัตว์จะต้องอธิบาย เรื่องราวให้ฟังเพิ่มเติม และต้องใช้วิธีการน�าเสนอในรูปแบบที่เข้าถึงชีวิต ประจ�าวันของผูค้ น” เพือ่ ให้เห็นภาพชัดเจนขึน้ หมอต้อมได้เล่าถึงไอเดียเจ๋งๆ ของสวนสัตว์ โอคลาโฮมาทีอ่ เมริกา และสวนสัตว์เมลเบิรน์ ทีป่ ระเทศออสเตรเลียให้ฟงั ว่า “อย่างกรงลิงอุรงั อุตงั ซึง่ พวกมันก�าลังเผชิญหน้ากับความตายจากการเผาป่า ธรรมชาติบนเกาะบอร์เนียว ประเทศอินโดนีเซีย เพือ่ ปลูกปาล์มท�าเป็นธุรกิจ ปั๊มน�้ามัน เขาใช้วิธีการเปลี่ยนทัศนคติคนด้วยการสร้างซูเปอร์มาร์เกต ขนาดเล็กไว้ขา้ งๆ กรงสัตว์ บนชัน้ วางมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกมากมาย ใกล้ๆ กัน จะมีเครื่องอ่านบาร์โค้ด สแกนยี่ห้อแล้วเทียบดูว่าเลเวลของผลิตภัณฑ์ ที่เป็นมิตรต่อสัตว์และสิ่งแวดล้อมแค่ไหน เมื่อปรากฏสีเขียวคือเป็นมิตร สีสม้ คือแหล่งทีม่ าไม่ชดั เจน สีแดงคือไม่เป็นมิตร เพราะฉะนัน้ ทุกคนสามารถ ตัดสินใจสนับสนุนผลิตภัณฑ์ยหี่ อ้ นัน้ ต่อหรือไม่ได้ทนั ที” ตัวอย่างของลิงอุรงั อุตงั อาจเป็นเพียงส่วนหนึง่ ยังมีสตั ว์ปา่ อีกมากมาย ที่ตายหรือสูญพันธุ์ไป เพียงเพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ และปรับเปลีย่ นแนวคิดต่อโลกใบนีอ้ ย่างจริงจัง “เมือ่ ทุกคนได้เจอสัตว์ตวั จริง และรับรูถ้ งึ ปัญหา ค�าถามในใจจะเกิดขึน้ เช่น ช้างก�าลังโดนล่าอย่างหนัก เรายังจะใส่ก�าไลงาช้างไหม เห็นข่าวการตาย ของเต่าทะเลทีก่ นิ ขยะพลาสติกจนเต็มท้อง ยังจะใช้ถงุ พลาสติกอยูห่ รือเปล่า ค�าถามนี้จะเป็นจุดเล็กๆ ที่ช่วยสร้างจิตส�านึก กระทั่งเมื่อกลับถึงบ้าน อาจจะพบค�าตอบทีน่ า� ไปสูก่ ารเปลีย่ นพฤติกรรมตัวเองได้ เราอาจจะเลิกใช้ พลาสติก พกตะเกียบและหลอดที่ล้างได้ หรือพกถุงผ้า ทั้งหมดเรารู้ดีว่า ไม่ได้ทา� เพือ่ ตัวเอง แต่เราจะท�าเพือ่ อนุรกั ษ์ธรรมชาติและสัตว์ปา่ ทางอ้อม” และนีค่ อื วิธกี ารทีส่ วนสัตว์เจาะลงไปในใจผูค้ น เพือ่ ให้ทกุ คนรักและเห็นคุณค่า และพร้อมทีจ่ ะลุกขึน้ มาปกป้องสิง่ เหล่านีด้ ว้ ยสองมือของตัวเอง

พ.ศ. 2497

พ.ศ. 2481 เทศบาลนครกรุ ง เทพ ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต ดัดแปลงบริเวณ สวนสัตว์ดส ุ ต ิ เป็นสวนสาธารณะ เ ปิ ด ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ไ ด้ ใ ช้ เ ป็ น ที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ มี เ นื้ อ ที่ ตามโฉนด 181 ไร่ 2 งาน 66 ตารางวา

พ.ศ. 2485 เ กิ ด อุ ท ก ภั ย ค รั้ ง ใ ห ญ่ สวนสัตว์ดส ุ ต ิ ได้รบ ั ความเสียหาย มาก สั ต ว์ ห ลายชนิ ด สู ญ หาย หรือว่ายน�า้ หนีออกไป เหลือเพียง บางส่ ว น จึ ง ต้ อ งหยุ ด บริ ก าร ประชาชนระยะเวลาหนึง ่

มีการน�าหมีขาวมาอาศัย อยูใ่ นเขาดินเป็นครัง ้ แรก โดย ใช้วิธีเลียนแบบอากาศหนาว ของขัว ้ โลกเหนือด้วยการวาง น�้ า แข็ ง ก้ อ นใหญ่ ไ ว้ ใ นส่ ว น จั ด แสดงทุ ก วั น แต่ สุ ด ท้ า ย ไม่สามารถเพาะพันธุห ์ มีขาวได้ ท�าให้พวกมันล้มตายไปตาม ธรรมชาติ


25

Conserving Wildlife and Building Capacity เบื้ อ งหน้ า ของสวนสั ต ว์ มี ห น้ า ที่ แ ละ ภารกิจหลักที่ยิ่งใหญ่ให้ท�าทุกวัน ในขณะที่ เบื้ อ งหลั ง ก็ มี ผู ้ ค นอี ก มากมายที่ มี ส ่ ว นร่ ว ม ในการขับเคลือ่ นสวนสัตว์ในอีกมิตหิ นึง่ นัน่ คือ นักวิจยั ทีม่ าพร้อมกับโครงการอนุรกั ษ์ทที่ รงคุณค่า อีกหลายชิน้ แต่ทสี่ ร้างรอยยิม้ กว้างๆ ให้หมอต้อม ทุกครัง้ ทีเ่ อ่ยได้นนั้ ก็คอื โครงการปล่อยนกกระเรียน คืนสูป่ า่ ธรรมชาติ “นกกระเรี ย นไทยสู ญ พั น ธุ ์ ไ ปจาก ป่าธรรมชาติไทยกว่า 50 ปีมาแล้ว แต่มอี ยูใ่ น สวนสัตว์ เป็นโครงการที่รุ่นพี่ของเราเคยท�า

มาก่อนเมือ่ ประมาณปี 2530 ทีภ่ เู ขียว แต่ไม่สา� เร็จ เราเว้นมา 20 ปี แล้วมาเริม่ ท�าใหม่ เมือ่ เรามี จ�านวนนกเพียงพอ ผ่านไป 10 ปี นกกระเรียน ทีเ่ ราปล่อยไปตามธรรมชาติได้ให้กา� เนิดลูกนก จนกลายเป็นสัตว์ปา่ ตามธรรมชาติได้จริงๆ” แต่ยิ่งไปกว่าการอนุรักษ์สัตว์ป่าใกล้ สูญพันธุ์ คือการได้สร้างและพัฒนาบุคลากร ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสัตว์แต่ละชนิดให้เกิดขึ้น ในประเทศไทย นีค่ อื สิง่ ท�าให้หมอต้อมมัน่ ใจว่า สิ่งที่ท�ามาเนิ่นนานนั้นไม่มีอะไรที่สูญเปล่า แม้กระทัง่ ความล้มเหลว

“ในทุกๆ โครงการ เราได้สร้างดอกเตอร์ ผู้เชี่ยวชาญรุ่นใหม่ เรามีดอกเตอร์กระเรียน 2 คน ดอกเตอร์กวางผา 2-3 คน รวมทั้ง ดอกเตอร์เสือลายเมฆและละมั่ง หลายคน ท�างานในองค์กรของภาครัฐ บางคนไปเป็น อาจารย์ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ หรื อ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มอบความรูใ้ ห้กบั นิสิตนักศึกษาต่อไป “รวมทั้งการพัฒนาเจ้าหน้าที่ให้เป็น ผู้เชี่ยวชาญ ว่าจะเป็นคนเลี้ยงเสือ เลี้ยงลิง เลีย้ งเมียร์แคต เลีย้ งนก เขาต้องเก่งขึน้ ทุกวัน

พ.ศ. 2512

พ.ศ. 2506 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ทรงรับ องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีชื่อว่า องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (อสส.)

พ.ศ. 2510 แม่ ม ะลิ ฮิ ป โปโปเตมั ส ดาวเด่นจากสวนสัตว์ทีลเบิร์ก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้ก้าว เข้ามาอยู่ในสวนสัตว์ดุสิตด้วย วัยเพียง 1 ขวบ ปัจจุบน ั กลายเป็น ฮิ ป โปโปเตมั ส ที่ อ ายุ ยื น ที่ สุ ด ในประเทศไทย

องค์การสวนสัตว์เห็นว่า สวนสัตว์ดส ุ ต ิ มีพน ้ื ทีน ่ อ ้ ย สัตว์ อยูอ ่ ย่างหนาแน่นแออัด ไม่เป็น ธรรมชาติ จึงเริม ่ เปิดสวนสัตว์ ใหม่ในจังหวัดต่างๆ เช่น สวนสัตว์ เชียงใหม่ สวนสัตว์นครราชสีมา สวนสั ต ว์ ส งขลา อุ ท ยานป่ า อี ส านตอนบน ขอนแก่ น อุ ด ร ธ า นี อุ ท ย า น สั ต ว์ ป่ า อุ บ ลราชธานี และโครงการ คชอาณาจักร จังหวัดสุรน ิ ทร์

สัตวแพทย์เองก็ต้องเก่งขึ้น แพทย์ดมยาสลบ สัตว์กต็ อ้ งช�านาญมากขึน้ เพราะไม่ใช่แค่นา� มา ใช้ในสวนสัตว์ แต่ยงั สามารถช่วยเสริมทีมให้กบั ภารกิจหลักของหน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องได้ สุดท้ายทั้งเรื่องของการอนุรักษ์และวิจัยได้ กลายเป็นวิสยั ทัศน์หนึง่ ขององค์การสวนสัตว์ฯ ไปแล้ว” หมอต้อมกล่าวอย่างภาคภูมใิ จ

พ.ศ. 2560 นายกรัฐมนตรี พลเอก ป ร ะ ยุ ท ธ์ จั น ท ร์ โ อ ช า รั บ พระราชทานโฉนดที่ ดิ น บริเวณต�าบลคลองหก อ�าเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี จ� า นวน 300 ไร่ เพื่ อ ย้ า ย ส ว น สั ต ว์ ดุ สิ ต ไ ป ยั ง ที่ ใ ห ม่ โดยสวนสัตว์ที่เก่าเปิดด�าเนิน กิจการเป็นวันสุดท้ายในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2561


a day BULLETIN

26

03 SEP 2018

ต้องเล่าออกไป “รวมทั้ ง การจั ด การเรื่ อ งพื้ น ที่ บางคนบอกว่ า สั ต ว์ อ ยู ่ ไ กลเห็ น ไม่ ชั ด แต่จริงๆ แล้วสัตว์เขาก็ตอ้ งการพืน้ ที่ มีจดุ ให้นอน ให้หลบจากสายตาคน มีถา�้ ให้หลบ จากเสียงริงโทนจากมือถือ หรือเสียงคน คุย กัน ตลอดเวลา เพื่อให้ เ ขาไม่ เ ครีย ด ดังนั้น การออกแบบสวนสัตว์ก็เปลี่ยนไป ถ้าเราคิดให้สตั ว์มคี วามสุขเป็นหลัก” หมอต้อมเล่าให้เราฟังว่า สวนสัตว์ ทีใ่ ห้ความส�าคัญกับสัตว์ จะค�านึงถึงหลักการ 5 Domains Model หรือหลักสวัสดิภาพสัตว์ อันเป็นที่ยอมรับในสวนสัตว์ระดับสากล ซึ่งเป็นการประเมินด้านโภชนาการ ด้าน สภาพแวดล้อม ด้านสุขภาพกาย ด้านการแสดงออกทางพฤติกรรม และด้านจิตใจ ของสัตว์ โดยจะต้องมีการตรวจสุขภาพสัตว์ ตรวจสอบสวนสั ต ว์ พร้ อ มทั้ ง ระบุ ถึ ง การแก้ไขอย่างเร่งด่วนเพือ่ ให้ทดั เทียมระดับ คุณภาพ ISO “หลักของ Animal Welfare เหล่านี้ จึงเป็นตัว๋ ทีท่ า� ให้เกิดมาตรฐานของสวนสัตว์ ที่ดี เพื่อท�างานวิจัยหรืออนุรักษ์สัตว์ป่า ต่อไปได้” หมอต้อมอธิบายให้เราฟังอย่าง ใจเย็ น เพื่ อ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง บทบาทและ มาตรฐานหลายมิติขององค์การสวนสัตว์

“ทุ ก วั น นี้ ไ ลฟ์ ส ไตล์ ข องเรามั น ท� า ให้ ข าดการเชื่ อ มโยงกั บ ธรรมชาติ อ ยู่ แ ล้ ว ตั้ ง แต่ ตื่ น จนหลั บ ถ้ า เราไม่ เ คยเห็ น ภาพสั ต ว์ ป่ า สั ก ตั ว หนึ่ ง ผ่ า นนิ ว ส์ ฟี ด ผ่านแบนเนอร์ ผ่านบิลบอร์ด หรือสายตาเราไม่ได้ปะทะกับอะไรที่เป็นต้นไม้เลย แล้วเราจะไปคิดถึงสิ่งเหล่านี้ไหม เพราะแบบนี้สวนสัตว์เองก็อาจจะต้อง พยายามเปลี่ยนบทบาทในอนาคต”

issue 554

หน้ า ที่ ข องสวนสั ต ว์ แ ละความภาคภูมิใจของหมอต้อมที่กล่าวมาข้างต้น นัน้ จะเกิดขึน้ ไม่ได้เลยหากสวนสัตว์ไม่ได้มี มาตรฐานตาม International Standard ทีค่ า� นึงถึงความสุขและสวัสดิภาพของสัตว์ เป็นส�าคัญ และในทุกวันนี้ สวนสัตว์จา� นวน 5 จาก 7 แห่งขององค์การสวนสัตว์ฯ รวมทัง้ สวนสัตว์เขาดิน ได้ก้าวเข้าเป็นหนึ่งใน สมาชิกสมาคมสวนสัตว์และอควาเรียมโลก (World Association for Zoos and Aquariums (WAZA)) และยังได้รับเกียรติในการเป็น เจ้าภาพจัดประชุมประจ�าปี 2018 “ผู้อ�านวยการสวนสัตว์ระดับท็อป กว่า 300 คนทัว่ โลกจะมาประชุมทีเ่ มืองไทย เพราะฉะนัน้ องค์การสวนสัตว์ของเราถือว่า อยูใ่ นพรีเมียร์ลกี เมือ่ เราอยูใ่ นครอบครัวนี้ แล้ ว ก็ ต ้ อ งมี ม าตรฐานและใส่ ใ จเรื่ อ ง สวัสดิภาพสัตว์อย่างดีที่สุด เพราะทุกคน ตรวจสอบและแสดงความคิดเห็นกับเราได้ อย่างบางคนเห็นเรามีสตั ว์สามขา แล้วเขา มาท้วงว่าคุณเอามาโชว์เรียกความสงสาร เหรอ ทรมานมันหรือเปล่า ซึง่ จริงๆ แล้วเรา ไปช่วยมันจากพรานทีด่ กั สัตว์ไว้ได้ และเรา คิดว่าสวนสัตว์ของเรามีพนื้ ทีท่ เี่ พียงพอ เพือ่ ให้สตั ว์ตวั นีอ้ ยู่ ซึง่ นายพรานคนนัน้ อาจเป็น คนยากจน เขาล่าเพือ่ ด�ารงชีวติ เพราะคน ไม่ได้เหมือนหรือมีเท่ากันหมด นีค่ อื สิง่ ทีเ่ รา

‘หมอต้อม’ - น.สพ. ดร. บริพัตร ศิริอรุณรัตน์ ผู้อ�านวยการส�านักอนุรักษ์ วิจัย และการศึกษา องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์

Make a Stand For Animal Welfare


27

Brighter Tomorrow เมื่อคิดถึงประโยชน์ การพัฒนา และความสุข ของสัตว์นอ้ ยใหญ่ทจี่ ะได้เคลือ่ นย้ายไปอยูใ่ นทีก่ ว้างๆ แล้ว การย้ายสวนสัตว์ดุสิตจึงไม่ใช่เรื่องน่าเศร้าแต่อย่างใด นอกจากนี้ การได้รบั ทีด่ นิ จ�านวนกว่า 300 ไร่ ยังเป็นการรีเซต สวนสัตว์ใหม่ตั้งแต่ต้นกระบวนการอีกครั้ง ซึ่งจะท�าให้ เกิดเป็นสวนสัตว์ทมี่ รี ะบบจัดการและการดีไซน์ทดี่ ยี งิ่ ขึน้ “ทีผ่ า่ นมามีหลายปัจจัยทีเ่ ป็นข้อจ�ากัดในการท�า สวนสัตว์แบบทีเ่ ราอยากท�า การย้ายไปทีใ่ หม่จงึ ถือว่าเป็น โอกาสส�าหรับองค์การสวนสัตว์ทมี่ ปี ระสบการณ์กว่า 80 ปี ในการท�าสวนสัตว์มา 7 ที่ ที่จะถ่ายทอดออกมาเป็น การสร้างสวนสัตว์ระดับชาติหรือระดับโลก และเป็นโอกาส ให้เราได้เริม่ ดีไซน์จากศูนย์ ตัง้ แต่พนื้ ทีว่ า่ งๆ ได้คดิ เนรมิต วางผั ง พาสถาปนิ ก และวิ ศ วกรมาดู เ รื่ อ งกฎหมาย และการออกแบบ นับว่ าเป็น ครั้ง แรกที่จะได้ เ ริ่ม ท�า โดยปราศจากแรงกดดันด้านเวลา” หมอต้อมบอกกับเรา อย่างสดใสถึงความหวังและความเป็นไปได้ในอนาคต สวนสัตว์ที่ใหม่มีเนื้อที่มากกว่าที่เก่าเป็นเท่าตัว ยังท�าให้องค์การสวนสัตว์ฯ สามารถออกแบบพื้นที่ จัดแสดงได้อย่างมีประสิทธิภาพ “ปัจจุบนั เรามีฐานข้อมูล เยอะมากว่าจะสร้างคอกหมีให้ดีที่สุดอย่างไร คอกเสือ ต้องท�าอย่างไร ตอนนีจ้ งึ อยูใ่ นขัน้ ตอนการวาง Master Plan อย่างจริงจัง โดยฟังทั้งเสียงของคนใน และผู้เชี่ยวชาญ ด้านอืน่ มาประกอบกัน หลังจากนัน้ จึงเข้าสูก่ ระบวนการ การออกแบบและก่อสร้าง ซึ่งจะต้องมีผู้เชี่ยวชาญของ สัตว์แต่ละชนิดมาร่วมออกแบบด้วย” หมอต้อมยกตัวอย่างให้เราฟังถึงสวนสัตว์ในญีป่ นุ่ ที่ใช้เวลาวางแผนและออกแบบคอกยีราฟนานถึง 2 ปี แต่ก่อสร้างเสร็จภายในวันเดียว การสร้างสวนสัตว์ ที่ มี คุ ณ ภาพจึ ง เป็ น กระบวนการที่ ไ ม่ เ ร่ ง รี บ ใช้ เ วลา ตามธรรมชาติอย่างทีม่ นั ควรจะเป็น “ทุกวันนี้ไลฟ์สไตล์ของเรามันท� าให้ขาดการเชื่อมโยงกับธรรมชาติอยู่แล้ว ตั้งแต่ตื่นจนหลับ ถ้าเรา ไม่ เ คยเห็ น ภาพสั ต ว์ ป ่ า สั ก ตั ว หนึ่ ง ผ่ า นนิ ว ส์ ฟ ี ด ผ่านแบนเนอร์ ผ่านบิลบอร์ด หรือสายตาเราไม่ได้ปะทะ กับอะไรที่เป็นต้นไม้เลย แล้วเราจะไปคิดถึงสิ่งเหล่านี้ ไหม เพราะแบบนี้สวนสัตว์เองก็อาจจะต้องพยายาม เปลี่ยนบทบาทในอนาคต “แน่นอนว่าต้องมีคณ ุ ภาพมากขึน้ และสามารถ ท�าให้คนว้าว แต่กต็ อ้ งกลายเป็น story teller ทีม่ วี ธิ บี อก คนทั่วไปด้วยว่าเขาจะช่วยรักษาธรรมชาติและรักษา สั ต ว์ ป ่ า ได้ อ ย่ า งไร ท� า ให้ ค นได้ เ กิ ด ความตระหนั ก เกิดความรัก และความเข้าใจทีจ่ ะเชือ่ มโยงกับธรรมชาติ นอกจากนี้เราก็ยังต้องพัฒนางานวิจัยต่อไป ทั้งเรื่อง การรักษา การฉีดยาสลบ การเคลือ่ นย้าย เพือ่ คงความหลากหลายของสัตว์เอาไว้ และน�าเรื่องราวนี้ถ่ายทอด ไปยังคนหมู่มากให้มากขึ้น” ทัง้ หมดนีค้ อื หัวใจส�าคัญของสวนสัตว์เพือ่ เชือ่ มโยง ให้เราได้เห็นคุณค่าที่มีต่อคน สังคม และสัตว์ป่า ผ่าน สวนสัตว์ดสุ ติ ทีจ่ ะย้ายไปตัง้ อยูบ่ ริเวณคลองหก ฝัง่ ตะวันออก จังหวัดปทุมธานี และสวนสัตว์อีก 6 แห่งทั่วประเทศ


a day BULLETIN

SPACE & TIME เรื่อง : มณิสร สุดประเสริฐ ภาพ : ณัฐริกา มุค�า

28

“เสรีภาพเกิดไม่ได้ถา้ ไม่มค ี วามจริง ซึง่ ความจริงจะเกิดขึน ้ ไม่ได้ถา้ ไม่เข้าใจประวัตศ ิ าสตร์ และความเข้าใจประวัตศ ิ าสตร์จะเกิดขึน ้ ได้ยงั ไง ถ้าขาดคนคอยบันทึก ส�าหรับเรา การบันทึกและถ่ายทอดออกมาในวิธท ี ส ี่ นุกทีส ่ ด ุ คือการท�าภาพยนตร์” สมานรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์

BIG FREEDOM IN A LITTLE CINEMA โอเอซิสแห่งความหวัง ของนักท�าหนังอิสระ

CINEMA OASIS, SUKHUMVIT 43 HOURS : WED-SUN 10.00 AM-7.00 PM

อาจพูดได้วา่ ซีกโลกตะวันตกคือแหล่งอุดมสมบูรณ์ทางศิลปะทีเ่ หล่าศิลปินไม่ถก ู ตีกรอบด้วยข้อจ�ากัดในการสร้างสรรค์ผลงาน แต่เมือ ่ ย้อนกลับมามองบ้านเรา เสรีภาพของศิลปะอาจถูกจ�ากัดเพียงเพราะผลงานชิน ้ นัน ้ ๆ วิพากษ์วจิ ารณ์สง ั คมในแง่มม ุ ทีต ่ า่ งออกไป ซึง่ ก็ไม่ตา่ งอะไรกับทะเลทรายอันแห้งแล้งทางเสรีภาพในการแสดงออก แต่ในดินแดนทีแ่ ร้นแค้นนี้ เหล่าผูห ้ ลงทางยังไม่หมดหวังเพราะ ยังมีบอ ่ น�า้ เล็กๆ ทีช ่ อ ื่ ว่า Cinema Oasis ทีส ่ ร้างมาจากความตัง ้ ใจของ ‘อิง ๋ ’ - สมานรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์ เพือ ่ ให้เหล่าคนท�าหนัง และคนดูได้พก ั พิง เป็นแหล่งน�า้ ทีเ่ ราได้แต่หวังว่าสักวันจะขยายใหญ่และเปลีย ่ นทะเลทรายนีใ้ ห้สมบูรณ์ยง ิ่ ขึน ้

issue 554 03 SEP 2018

“เหมือนจะพูดได้ว่าเชกสเปียร์สร้างโรงหนังแห่งนี้ เพราะเราท�าเรื่อง เชกสเปียร์ต้องตาย (Shakespeare Must Die) แต่ถูกแบนห้ามฉาย หลังจากนั้น คุณมานิต ศรีวานิชภูมิ ก็ทา� สารคดีเรือ่ ง เซ็นเซอร์ตอ้ งตาย (Censor Must Die) ทีส่ ร้างจากเหตุการณ์จริง แต่กไ็ ม่มโี รงหนังทีไ่ หนกล้าฉายอยูด่ ี เลยคิดว่าน่าจะมีคนทีต่ กอยูส่ ถานการณ์เดียวกับเราพอสมควร จึงเป็นแรงจูงใจให้มาสร้าง Cinema Oasis ขึน้ เพราะถ้าหากไม่มที ข่ี องความอิสระจริงๆ ก็ไม่มที ใี่ ห้หนังทางเลือกพวกนี”้ สมานรัชฎ์กล่าวถึงจุดเริม่ ต้นให้เราฟัง ความประทับใจแรกทีไ่ ด้เข้ามายังทีแ่ ห่งนี้ คือการรูส้ กึ ได้วา่ เราก�าลังอยูใ่ นโรงภาพยนตร์ทไี่ ด้มาตรฐานชัน้ เยีย่ มจริงๆ มีเก้าอีก้ า� มะหยีค่ ณ ุ ภาพจ�านวน 48 ทีน่ งั่ พร้อมจอซิเนมาสโคป 5.1 ระบบเสียง Dolby 5.1 โดยสมานรัชฎ์ได้อธิบายว่า “ด้วยความทีเ่ ราเป็นคนท�าหนัง ข้อทีส่ า� คัญทีส่ ดุ คือต้องท�าให้ผกู้ า� กับรูส้ กึ ว่าเราให้เกียรติหนังของเขา คือระบบฉายต้องดีทสี่ ดุ ฉาย DCP ได้ เสียงต้องดีทสี่ ดุ ในส่วนของเก้าอีก้ น็ า่ สนใจมากเพราะเก้าอีท้ ใี่ ช้ชอื่ ว่า ‘Hollywood’ และต้องเป็นเก้าอีส้ แี ดงก�ามะหยีด่ ว้ ยถึงจะคลาสสิก” ด้วยความทีต่ งั้ อยูใ่ นย่านสุขมุ วิท จึงต้องท�าให้โรงภาพยนตร์กลมกลืนไปกับผูท้ อี่ าศัยอยูใ่ นย่านนีด้ ว้ ย “การท�าให้โรงหนังไม่แปลกแยกไปจากชุมชนคือสิง่ ทีย่ าก แต่เนือ่ งจากเรา อยูต่ รงนีม้ าตลอดชีวติ คนรูจ้ กั เราก็ชว่ ยได้ในระดับหนึง่ เวลาเลือกหนังทีจ่ ะมาฉายก็พยายามเลือกให้คนในแถวนีส้ ามารถเข้าถึงได้” ถึงแม้ Cinema Oasis จะเพิง่ เปิดมาได้ไม่นาน แต่สมานรัชฎ์ได้บอกเล่าถึงสิง่ ทีท่ า� ให้เธอมีกา� ลังใจในการท�าโรงภาพยนตร์แห่งนีว้ า่ “คนดูนแี่ หละทีท่ า� ให้เรามีกา� ลังใจทีจ่ ะท�าสิง่ นีต้ อ่ หลายคนมาไกลมาก แล้วก็จะดูยาวเลยทัง้ วัน ซึง่ มันท�าให้เราสัมผัสได้วา่ เขาตัง้ ใจมากันจริงๆ”


29

FOODIE

เรื่อง : ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์

ARPHASIRI VILAIPUN OWNER OF NOMWOW

S W E E T TOA S T S & SAVO U RY TOA S T S

ทุกวันตั้งแต่ 10.00 - 22.00 น.

สาขาซอยรามค�าแหง 53 ตรงข้ามมหาวิทยาลัย รามค�าแหง

Lï evel of Crispness : ï4 / 5

รสสัมผัสของขนมปังที่กินง่าย เข้าได้กับของหวานและของคาวนานาชนิด ท�าให้ขนมปังปิ้งในบ้านเราขึ้นแท่นเป็นของกินเล่นที่หลายคนติดอกติดใจ แต่ในทางตรงกันข้าม ทางฝัง่ อเมริกาหรือยุโรป ขนมปังปิง้ หรือ toast นัน ้ ถูกยกให้เป็นเมนูหลักยามเช้าไปโดยปริยาย และเพือ ่ ให้เราได้ลองชิมวัฒนธรรมขนมปังแบบกินหนึง่ อิม ่ ‘ปัณ’ - อาภาศิรย ิ ์ วิไลพันธ์ เจ้าของร้าน Nomwow จึงผุดสารพัดท็อปปิ้งคาวหวานแบบจัดเต็มแผ่นเดียวอยู่ขึ้นมา

ที่บ้านชอบกินขนมและของหวาน เรากับคุณแม่ชอบกินสังขยา น้องชาย ชอบช็อกโกแลต และสปาเกตตีคาโบนารา เราจึงคิดเมนูขนมปังปิง้ ทีม ่ ท ี อ ็ ปปิง้ จากความชอบของทุกคน แล้วเราชอบกินขนมปังทีก ่ รอบนอกนุม ่ ใน จึงท�า ขนมปังทีไ่ ม่มส ี ว่ นผสมของไข่ ไม่ใส่สารกันบูด ตัดให้ได้ความหนา 2.5 เซนติเมตร อบแล้วทุกอย่างลงตัว แล้วเราก็ทา� ซอสเอง ทัง ้ บานอฟฟีทเี่ ลือกใช้ผงโกโก้ 58% สังขยาทีต ่ จี ากกะทิคน ั้ สด และซอสเบชาเมลหรือซอสขาวทีใ่ ช้ในผักโขม อบชีส เราเชือ ่ ว่าทุกอย่างทีต ่ วั เองชอบ ลูกค้าก็คงชอบไม่ตา่ งกัน

TASTE

INSPIRATION

65-75 บาทต่อแผ่น

INGREDIENTS

PRICE

65

ขนมปังบานอฟฟี / ขนมปังสังขยา ใบเตยฝอยทอง / ขนมปังผักโขม อบชีส / ขนมปัง คาโบนาราแฮมไก่ และเห็ด

ขนมปังบานอฟฟีที่เสิร์ฟพร้อมวิปครีมฟูหนา ซอสโกโก้สุดเข้ม ตัดรสหวานอ่อนๆ ของกล้วยได้เป็นอย่างดี ส่วนสังขยาใบเตย มีรสหอมมัน กินคู่กับฝอยทองพร้อมขนมปังกรอบนอกนุ่มใน ท�าให้ลม ื ขนมปังนึง ่ จิม ้ สังขยาไปเลย ต่อด้วยขนมปังชีสสามอย่าง กั บ ปริ ม าณผั ก โขมที่ กิ น เพลิ น กว่ า ผั ก โขมอบชี ส ปกติ เ สี ย อี ก จบด้วยคาโบนาราแฮมไก่และเห็ด มีกลิ่นหอมผสมกับรสละมุน จากครีมซอส แม้เรากินอย่างละสามค�า แต่ก็ฟินจนจุก


a day BULLETIN

BREATHE IN

30

เรื่องและภาพ : สีตลา ชาญวิเศษ, พชร สูงเด่น

ถ้าเปรียบชีวิตคุณตอนนี้เป็นฤดู ฤดูกาลของคุณตอนนี้เป็นแบบไหน? ถ้าถามเราตอนนี้ ฤดูกาลของเราคือการเริ่มต้นใหม่ มันเป็นฤดูกาลที่อยู่ๆ เรา ก็อยากลุกขึน ้ มาท�าอะไรใหม่ๆ ให้ตว ั เอง ซึง ่ รวมไปถึงการเขียนบทความรักลงใน a day BULLETIN ทีเ่ ขียนเป็นประจ�ามาตัง ้ แต่ปลายปีทแ ี่ ล้ว (2560)

BREATHE IN : สีตลา ชาญวิเศษ ่ ง ก่อนหน้านีเ้ คยเขียนบทความความรักและความสัมพันธ์มาก่อน นักเขียน คนท�างานด้านวางแผนคอนเทนต์ นักบรรยายด้านการตลาดสร้างสรรค์และการเล่าเรือ แต่ถึงจุดอิ่มตัวเลยผันมาเขียนเล่าเรื่อง 'หนังสือ' ที่ชอบอ่านแทน นอกจากนี้ยังเป็นคนใช้ชีวิตแต่ละวันเสมือนการเดินทางทางจิตวิญญาณ

issue 554 03 SEP 2018

ไม่นานมานี้ เราเพิง่ สัมผัสกับความรูส้ กึ ของการเปลีย่ นแปลงในชีวติ หากดูภายนอก ทุกอย่างในชีวติ เรายังเหมือนเดิม ไม่วา่ จะเป็นงาน ครอบครัว เพือ่ น หรือการใช้ชวี ติ ในแต่ละวัน เพียงแต่สงิ่ ทีเ่ ปลีย่ นไปมันเกิดขึน้ ภายใน และมันไม่ได้เกิดแบบ ปุบปับ แต่มสี ญ ั ญาณแจ้งเตือนมาสักระยะหนึง่ แล้ว เพียงแต่ ตอนนั้ น เราจั บ สั ญ ญาณและตี ค วามมั น ไม่ ไ ด้ ชั ด ว่ า ชี วิ ต ก�าลังบอกอะไรเราอยู่ เรารู้แต่ว่าทุกครั้งที่เราต้องลงมือเขียน บทความรัก เราคิดอะไรไม่ออก เราหมดมุก เราตันไอเดีย และมันก็กลายเป็นสิ่งที่ไม่สนุกอีกต่อไป จนกระทัง่ เราเดินทางคนเดียวเมือ่ เดือนทีผ่ า่ นมา และ การเดินทางรอบนี้ก็เหมือนกับการรีเซตตัวเองใหม่ เราค่อยๆ เข้าใจว่า การทีเ่ ราไม่อยากเขียนเรือ่ งความรักไม่ใช่เรือ่ งแปลก จริงๆ เราเคยผ่านมันมาแล้ว แต่แค่เป็นเรื่องอื่น เหมือนกับ ตอนทีเ่ ราไม่สามารถกลับไปยืนกรีด๊ รุน่ พีใ่ นโรงเรียนได้อกี แล้ว ไม่ใช่เพราะรุ่นพี่เปลี่ยนไป แต่เป็นเพราะวัยเราเปลี่ยนไป ต่างหาก เราโตขึ้นจนรู้สึกว่า นี่ไม่ใช่เรื่องที่กูควรท�าเลย และ นี่ก็ไม่ใช่สเปกกูเลย แล้วมันก็จบดื้อๆ แบบนั้น เหมือนกันกับเรือ่ งเมือ่ เดือนก่อน ทีเ่ รารูส้ กึ ว่ามันเลยวัย ที่เราสนุกกับการเขียนเรื่องความรัก แต่ไม่ใช่เพราะหมดหวัง ในความรักนะ จริงๆ การเขียนเรือ่ งความรักมาตลอดหลายเดือน เป็นการตอกย�า้ เราด้วยซ�า้ ให้เรามีความหวังในความรัก ดังนัน้ ความรักไม่ใช่เหตุผลที่เราหยุดเขียน แต่เราเชื่อว่ามันเป็น เพราะวัยมากกว่า ซึง่ ไม่แน่วา่ วันหนึง่ ถ้าเกิดการเปลีย่ นแปลง ภายในตัวเราเองอีก บางทีเราอาจอยากกลับมาเขียนความรัก อีกครั้งก็ได้ ใครจะรู้ แต่ทีนี้ เราไม่ได้จากคุณไปไหน สิ่งที่คุณผู้อ่านจะพบ ถัดไปจากนี้ เป็นสิ่งที่เราเองอยากท�ามานาน แต่เราก็ไม่เคย รู้ตัวว่าเราอยากท�า จนวันที่เราสารภาพกับพี่อ๋อง บก. a day BULLETIN ว่าเราอยากหยุดเขียนเรื่องความรัก ก็เป็นพี่อ๋อง นีแ่ หละทีบ่ อกเราว่า งัน้ ส้มลองเขียนเรือ่ งหนังสือไหม? เพราะ พี่เคยเห็นเราตั้งสเตตัสเล่าเรื่องหนังสือในเฟซบุ๊กส่วนตัวอยู่ บ่อยๆ ซึง่ ปรากฏว่าสิง่ ทีพ่ อี่ ๋องแนะน�ามันคือสิง่ ทีเ่ ราอยากท�า มาตลอด แต่แค่เรานึกไม่ออกเท่านั้นเอง ดังนั้น จากนี้ต่อไป คุณผู้อ่านจะได้เป็นสักขีพยานให้ ปฐมบทใหม่ของชีวิตเรา ที่เราจะเล่ามุมมองของเราที่มีต่อ หนังสือทีไ่ ด้พบเจอ ซึง่ อาจจะเป็นในมุมความรัก มุมการท�างาน มุมธุรกิจ มุมการใช้ชีวิต หรือมุมทางจิตวิญญาณ ก็สุดแท้ แล้วแต่ทโี่ ชคชะตาจะพาเราไปเจอหนังสือแต่ละเล่มเหล่านัน้ ... และส�าหรับบทความนี้ ในฐานะทีม่ นั เป็นบทความของ การเปลี่ยนผ่านจากคอลัมน์รักไปสู่คอลัมน์หนังสือ เราเลย อยากเขียนถึงเรื่องความรักและหนังสือไปพร้อมๆ กัน ก็เลย เลือกหนังสือเล่มหนึง่ ทีเ่ ปลีย่ นชีวติ เราเมือ่ สองปีกอ่ น มาเล่าสู่ กันฟัง โดยหนังสือทีว่ า่ นีค้ อื No More Mr. Nice Guy พอกันที!!

ผู้ชายแสนดี เขียนโดย ดร. โรเบิร์ต โกลฟ์เวอร์ ซึง่ ต้องขอย้อนความก่อนว่า เมือ่ สองปีกอ่ น นักเขียน คอลัมน์รกั ทีค่ ณ ุ ก�าลังอ่านอยูน่ เี้ ป็นมนุษย์คนละคนกับเวลานี้ เลย ในเวลานั้นเราเป็นคนที่ไม่เข้าใจตัวเองและรักตัวเอง ไม่มากพอ ซึง่ ในวันนัน้ เราไม่รทู้ นั ปัญหาข้อนีเ้ ลย จนหลังจาก เลิกกับแฟนเก่านั่นแหละ เราถึงค่อยเข้าใจ โชคชะตาท�าให้เราเจอหนังสือเล่มนีโ้ ดยบังเอิญ และตอน ทีเ่ ราอ่าน จ�าได้วา่ ใช้เวลาเพียงสองชัว่ โมงเท่านัน้ ในการอ่าน หนังสือเล่มนี้จนจบ หนังสือเล่มนี้ตอบค�าถามในใจเราหลาย อย่าง มันเหมือนกับการค้นหาปริศนาอะไรสักอย่างมาหลาย สิบปี แล้วอยู่ๆ ปริศนาก็เฉลยออกมาผ่านหนังสือเล่มนี้ สิง่ ทีห่ นังสือเล่มนีบ้ อกคือ มีคนจ�านวนมากบนโลกไม่รู้ ว่าตัวเองเป็นคนทีข่ าดความรัก และเมือ่ ขาดความรัก หลายคน จึงอยากทีจ่ ะถูกรัก (be loved) ด้วยการไขว่คว้าและวิง่ ไล่หาใคร สักคนมาเติมเต็มช่องว่างภายในใจของตัวเอง โดยวิธีการที่ พวกเขาท�าเพือ่ ให้ได้รบั ความรักก็คอื การท�าตัวเป็นคนแสนดี (เกินเหตุ) เพราะเชือ่ ว่าถ้าท�าดี ก็จะได้รางวัลเป็นการถูกรักไปตลอด ดังนัน้ ภายนอกพวกเขาดูเป็นคนแสนดี อบอุน่ โรแมนติก เอาใจใส่ ดูแลคนรักเป็นอย่างดี แถมพร้อมทีจ่ ะปรับและเปลีย่ น ทุกอย่าง แม้กระทั่งตัวเองเพื่อ ‘เอาใจ’ คนรัก โดยที่พวกเขา หารู้ไม่ว่า พวกเขาไม่ได้รักคนรักจริงๆ หรอก พวกเขาท�าไป เพราะเขาเชือ่ ว่า เมือ่ เขาดูแลคนรักอย่างดีแล้ว ความดีจะเป็น

หนั ง สื อ และ การเริ่ ม ต้ น ใหม่ : เปลี่ ย นคนไม่ รั ก ตั ว เอง ให้ รู้ จั ก รั ก ตั ว เอง พันธนาการขังให้คนรักอยู่กับเขาไปตลอด คนภายนอกเลย มักมองว่าใครก็ตามที่ได้พวกเขาเป็นแฟนถือว่าช่างโชคดี เหลือเกิน แต่คนที่เป็นแฟนพวกเขาจริงๆ ต่างรู้สึกอึดอัด เพราะรูด้ วี า่ พวกเขาฝืนดีและก�าลังใช้ความดีเป็นเหมือนบุญคุณ ที่ท�าให้คนรักต้องรู้สึกผิด ถ้าคิดจะเดินจากไป

แน่นอนว่าตอนเราอ่านหนังสือเล่มนี้ เราเหมือนเห็น ตัวเองอยู่ในกระจก เพราะนี่คือตัวเราเลย ให้ตายสิ!! จริงๆ ที่ผ่านมาแฟนเก่าพยายามบอกเราหลายที แต่เราไม่เข้าใจ จนกระทั่งวันที่เราอ่านหนังสือเล่มนี้นี่แหละ เราถึงรู้ตัวว่าเรา เป็นคนขาดความรัก และเราก็ใช้การท�าตัวเป็นคนดีเกินกว่า ที่เราเป็นจริงๆ เพื่อสร้างพันธนาการกับแฟนเรา นั บ จากนั้ น เป็ น ต้ น มา เราเลยบอกตั ว เองเสมอว่ า เราต้องรู้จักรักตัวเองให้เป็น และพยายามรู้ทันตัวเองให้ได้ และให้ทนั โดยเฉพาะเมือ่ ไหร่กต็ ามทีเ่ ราพยายามเปลีย่ นตัวเอง เพื่อใครสักคน เพราะนั่นคือ ‘ระเบิดเวลา’ กล่าวคือ เราต้อง ยอมรับก่อนว่าเราเปลี่ยนตัวเองไม่ได้ตลอด การฝืนเปลี่ยน ตัวเองไปเรือ่ ยๆ เหมือนการสัง่ สมความไม่พอใจ พอถึงวันหนึง่ ที่เราผิดหวังกับใครก็ตามที่เราอุตส่าห์ยอมเปลี่ยนตัวเอง แต่ไม่เกิดผลตามที่เราหวัง ผลที่ตามมาคือ เราก็จะระเบิด ความไม่พอใจนัน้ ออกมา เพราะจริงๆ แล้วเราไม่ได้ทา� เพราะ รัก แต่เราท�าเพราะเราคาดหวังอะไรบางอย่างจากคนคนนั้น และนี่เรียกว่า หายนะของการฝืนท�าดี และไม่น่าเชื่อว่าหลังจากอ่านหนังสือเล่มนี้ เราก็มี ทัศนคติชีวิตและความรักเปลี่ยนไป ซึ่งแน่นอนว่ามันไม่ได้ เปลีย่ นแบบใหม่หมดจด 100% แต่กถ็ อื ว่าเปลีย่ นไปพอสมควร จากเดิมทีเ่ ราเป็นคนวิง่ หาความรัก เราก็นง่ิ มากขึน้ เมือ่ ใดก็ตาม ทีค่ นทีเ่ ราชอบดูจะไม่ชอบเรา เราก็แค่ทา� ใจว่าเขาแค่ไม่ชอบเรา แต่ก็ไม่ใช่เรื่องที่เราจะต้องไปเอาใจหรือยอมคนคนนั้นไปซะ ทุกเรือ่ ง และถ้าใครก็ตามรักเรา เขาก็ตอ้ งรักเพราะเห็นคุณค่า ในตัวเรา รวมทั้งมุมแย่ๆ ของเราด้วย ฉะนั้น ไม่ใช่เรื่องที่จะ ต้องไปพรีเซนต์วา่ เราเป็นคนดีแบบนัน้ แบบนี้ และก็ไม่ใช่เรือ่ ง ที่เราต้องมานั่งปิดบังว่าเราทุเรศแบบนั้นแบบนี้นะ ว่าง่ายๆ ถ้ารักกันจริง เธอก็ต้องรับและรักฉันอย่างที่ฉันเป็น สิ่งที่เกิดขึ้นคือ พอเราคิดแบบนี้แล้ว เราก็ชอบตัวเอง ขึ้นมา เราค่อยๆ เข้าใจว่าการรักตัวเองมันเป็นแบบนี้นี่เอง และแน่นอนว่าพอรักตัวเองเป็น เราก็เรียนรู้ที่จะรักคนอื่นได้ ดีขนึ้ เพราะเราไม่ได้คดิ จะเอาการท�าดีมาเป็นห่วงโซ่ขงั อิสรภาพ ของคนอืน่ และเราเรียนรูท้ จี่ ะตัดอะไรทีไ่ ม่ดกี บั ตัวเองออกไป ได้งา่ ยขึน้ และก็เรียนรูท้ จี่ ะเปิดตัวเองให้สงิ่ ใหม่ๆ ได้งา่ ยและ เร็วขึ้น ซึ่งถ้าถามว่ามันมาจากอะไร มันก็มาจากการเริ่มต้น รักตัวเองเป็นนี่แหละ ฉะนัน้ ถ้าถามว่าการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อจากนี้ มาจากอะไร ก็คงต้องบอกว่า ส่วนหนึง่ มันมาจากหนังสือเล่มนี้ ที่ท�าให้รู้จักตัวเองและรักตัวเอง และนี่ก็คือบทความของ การเปลีย่ นผ่าน ทีน่ �าหนังสือทีม่ สี ว่ นในการเปลีย่ นแปลงชีวติ เราเมื่อสองปีก่อนมาเล่าสู่กันฟัง หลังจากนี้เป็นต้นไป ก็จะ เข้าสู่ปฐมบทซีรีส์คอลัมน์ใหม่ ยังไงก็ฝากเนื้อฝากตัวกับ คุณผู้อ่านไว้ตรงนี้ด้วยนะ :)


31 ฉาก ‘milk bar’ (bar mleczny) ห้องเดี่ยวหลังคาทรงเตี้ย ท่ามกลางตึกอาคารสูงในกรุงวอร์ซอ เป็นฉากที่ดูคล้ายผิดที่ผิดทาง แตกต่างไปจาก สิ่งปลูกสร้างในยุคปัจจุบัน กับผ้าม่านลูกไม้สีเทาหม่นๆ คล้ายกลางวันในฤดูหนาว โคมไฟดิสโก้บอลที่คงเป็นแชนเดอเลียร์โมเดิร์นในวันที่มันถูกยก จับขึ้นไปบนเพดานนั่น หากเป็นดั่งของเก่าเข้ากรุเครื่องตกแต่งแห่งวันวาน อุปกรณ์ในร้านดูสงวนไว้ราวกับนั่งไทม์แมชชีนย้อนกลับไปก่อนปี 1989 ก่อนคอมมิวนิสต์จะล่มสลาย ผู้หญิงวัยปลายเกษียณโพกผ้ากันเปื้อนสีขาวหลังเคาน์เตอร์บาร์ก�าลังยืนตักก้อนมันฝรั่งพูนๆ และซุปบีตรูตสีชมพู ลงถาด - อาหารโปลิชบ้านๆ สตูร้อนๆ ในฤดูหนาว หรือจะ Pierogi คาวหวานในราคาไม่กี่ยูโร

ผลกระทบต่อสังคม วัฒนธรรมมากกว่าแง่มุมทางเศรษฐกิจ การท�าให้มิลค์บาร์ค่อยๆ หายไป ไม่ใช่เพียงแค่การสูญเสีย วัฒนธรรมชิน้ ใหญ่ทจี่ บั ต้องได้ของโปแลนด์ หากยังหมายถึง การที่นักศึกษา ผู้มีรายได้น้อย คนวัยเกษียณที่ใช้ชีวิตไปใน ยุคคอมมิวนิสต์ จะไม่สามารถเข้าถึงช่องทางอาหารคุณภาพดี ทีจ่ บั ต้องได้ในวันทีเ่ มืองหลวงเต็มไปด้วยฟาสต์ฟดู้ นานาชาติ ภัตตาคารที่มีไว้บริการนักท่องเที่ยว ไม่ใช่คนท้องถิ่น

ประวั ติ ศ าสตร์ ทานได้ และนัยยะ ใหม่ ข องความเท่ า เที ย มในร้ า น อาหารโปแลนด์ เรายืนอยู่หน้าเคาน์เตอร์บาร์ พยายามชะเง้อดูคนมา ก่อนหน้าว่าสั่งอะไรเพราะป้ายนั้นไม่มีภาษาอังกฤษติดอยู่ จนป้าที่ยืนหน้าเคาน์เตอร์เริ่มเท้าเอวกับการรอรับออร์เดอร์ ความรูส้ กึ กดดันพลันท�าให้ชไี้ ปทีซ่ ปุ บีตรูตสีชมพูทดี่ จู ะอยูใ่ น ถาดของทุกคน แต่พอชิมเข้าไปค�าแรกแล้วต้องประหลาดใจ

กับความเย็นของซุป จนเพือ่ นโปลิชข�าและบอกว่าซุปบีตรูตเย็น คืออาหารส�าหรับฤดูร้อน หากเมนูจะเปลี่ยนไปเป็นซุปร้อนๆ แบบอื่นในวันที่ข้างนอกอากาศหนาว ปึง! จังหวะที่ก�าลังตักซุปเย็นเข้าปาก แก้วมัคสองใบก็ถูก กระแทกวางลงตรงหน้า เพื่อนชาวโปลิชข�า บอกว่าไม่ต้อง ประหลาดใจ และอธิบายต่อว่า การบริการนัน้ ไม่ได้อยูใ่ นแนวคิด เศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ในช่วงทีม่ ลิ ค์บาร์ถกู พัฒนาขึน้ มา ในยุคทีค่ วามหิว ความอยูร่ อดเป็นสิง่ ทีต่ อ้ งคิด ในวันทีข่ า้ วของ เครื่องใช้ อาหารถูกสนับสนุน ควบคุมโดยรัฐ ไม่ว่าจะขาย ได้เท่าไหร่ รายได้ก็ต้องถูก ‘rationed’ จัดสรรปันส่วนเข้าคลัง รวม ความสุภาพก็ดเู ป็นความพยายามทีอ่ อกจะเกินความจ�าเป็น แต่ถงึ จะไม่มกี ารบริการ แค่เพียงอาหารและบรรยากาศ ในมิลค์บาร์ทเี่ สียงดังไปด้วยบทสนทนาระหว่างโต๊ะผูใ้ ช้แรงงาน จากไซต์ก่อสร้างข้างๆ คนท�างานในย่านนั้นๆ คนวัยเกษียณ จับกลุ่มนั่งคุยกัน บ้างอ่านหนังสือพิมพ์ ปะปนกับนักศึกษา วัยรุ่นที่ทานไปสไลด์มือถือไป เป็นภาพพื้นที่กลางเมือง ในแต่ละย่านที่ใครก็เข้าถึงได้ ไม่ว่ามาจากชนชั้นไหน ในวันทีม่ ลิ ค์บาร์ไม่ได้เป็นแค่เครือ่ งมือในการด�ารงอยู่ เพือ่ อุดมการณ์แห่งความเท่าเทียม ทีป่ ระวัตศิ าสตร์บางอย่าง เผยให้เห็นว่ามันไม่มอี ยูจ่ ริง หากแต่มลิ ค์บาร์อาจก�าลังนิยาม อุดมการณ์ขนั้ พืน้ ฐานใหม่ กับนัยยะทีว่ า่ หากแม้ไม่เท่าเทียม อย่างน้อยความต้องการขัน้ พืน้ ฐาน ความเป็นพืน้ ทีส่ าธารณะ ก็ควรเป็นสิ่งที่เข้าถึงได้ส�าหรับทุกคน

BREATHE IN : พชร สูงเด่น อาชีพ : นักศึกษาทุน Erasmus Mundus ด้านการศึกษาเพื่อการพัฒนา ก�าลังอยู่ในช่วงชีวิตที่ต้องวุ่นๆ สลับไปมา ระหว่างนั่งเขียนรายงานในห้องสมุด อบขนมในห้องครัว เรียนรู้ นอกห้องเรียนด้วยการเดินทางไปยังเมืองต่างๆ ในยุโรป และการนั่งเขียนบันทึกเรื่องราวทั้งหมดส่งมาให้ a day BULLETIN ที่ก�าลังจะน�ามาทยอยลงเป็นตอนๆ ทางออนไลน์ของเรา

มิลค์บาร์ รสชาติคอมมิวนิสต์ทยี่ งั หาทานได้ในปัจจุบนั เป็นรูปแบบร้านอาหารที่เกิดขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 มิลค์บาร์เริ่มจากการเป็นร้านขายนมสด สถานที่แฮงเอาต์ ที่พอเข้าถึงได้ในสมัยนั้น จนรัฐบาลคอมมิวนิสต์มองเห็น ช่องทางในการสถาปนามิลค์บาร์ให้เป็นเครื่องมือแทรกแซง อุดมการณ์คอมมิวนิสต์ในชีวติ ประจ�าวัน ด้วยการอุดหนุนเงิน ผ่านระบบจัดสรรปันส่วนการเข้าถึงอาหารของประชาชน ผ่านมิลค์บาร์ จนพัฒนาจากร้านขายนม มาเป็นร้านขายอาหาร และเริ่มเพิ่มจ�านวนมากขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงหลังสงครามโลก กับความเป็นร้านอาหารราคาถูกในยุควิกฤตเศรษฐกิจ สังคม จนกลายเป็นหนึ่งในวัฒนธรรมกระแสหลักของโปแลนด์ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน เพือ่ นนักศึกษาโปลิชเล่าว่า ในแต่ละย่านจะมีมลิ ค์บาร์ ที่ ค นท้ อ งถิ่ น รู ้ กั น ว่ า จะหาอาหารราคาถู ก รสชาติ ค ล้ า ย มือคุณย่าได้จากที่ไหน มิลค์บาร์จึงเป็นมากกว่าร้านอาหาร หากยังเป็นพื้นที่ประคองวัฒนธรรมท้องถิ่นไว้ และในยุค คอมมิวนิสต์น้ัน ก็อาจกล่าวได้ว่ามิลค์บาร์เป็นดั่งเครื่องมือ เป็นสถาบันการเมืองเศรษฐกิจริมท้องถนนทีท่ า� ให้ผคู้ นยังอยู่ ภายใต้ระบบกันต่อไปได้ ตราบใดทีย่ งั มีคนการันตีวา่ อย่างน้อย ท้องพวกเขาจะยังอิม่ จนไม่หวิ โหยถึงเสรีภาพทางเลือกอืน่ ไป มิลค์บาร์นา่ จะเป็นไม่กผี่ ลผลิตของความเป็นคอมมิวนิสต์ ทีค่ นยังหวงแหน ในวันทีท่ นุ นิยมเข้ามาแทน โปแลนด์เป็นประเทศ ในกลุ่มคอมมิวนิสต์เก่าที่มีอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจ สูงสุด เมืองหลวงอย่างวอร์ซอเองมีร้านฟาสต์ฟู้ด ภัตตาคาร เกิดใหม่เป็นจ�านวนมาก จนเริม่ เข้ามาแทนทีร่ ปู แบบร้านอาหาร เก่าอย่างมิลค์บาร์ไป และรัฐเองก็เริม่ ตัดสินใจทีจ่ ะค่อยๆ ลด การสนับสนุนมิลค์บาร์ลงตามกลไกของทุนนิยม แม้ ว ่ า รั ฐ บาลจะออกมาชี้ แ จงว่ า การตั ด งบส่ ว นนี้ ไม่สง่ ผลกระทบอย่างแน่นอน แต่สงิ่ ทีช่ าวโปลิชกังวลดูจะเป็น


a day BULLETIN

,

EDITOR S NOTE

32

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

CBD

issue 554 03 SEP 2018

หลังจากทีเ่ พิง่ ซือ้ คอมพิวเตอร์โน้ตบุก๊ เครื่องใหม่ กิจวัตรที่เพิ่มเข้ามาอีกหนึ่งอย่าง ในแต่ละวันๆ ก็คอื การนัง่ กดอัพเดตซอฟต์แวร์ ไปซ�้าแล้วซ�้าเล่าอย่างมิอาจจะหักห้ามใจ ไม่รู้ว่าคนอื่นเป็นแบบนี้กันบ้างหรือเปล่า พอกดโอนเงินหลักหมื่นไปเข้าบัญชี ธนาคารของทางร้าน คนขายก็ไปหยิบกล่อง สินค้าออกมา แกะกล่องสภาพเอี่ยมอ่อง ห่อกระดาษและฟองน�้ากันกระแทกข้างใน โชยกลิ่นสารเคมีหอมฉุนระเหยมากระทบ จมูก เปิดฝาขึ้นมาแล้วกดปุ่มพาวเวอร์เป็น ครั้งแรก บนหน้าจอสว่างสดใสก็มีค�าร้องขอ ให้เราเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เพื่อลงทะเบียน ระบบปฏิบัติการและตั้งค่าผู้ใช้ ช่วงเวลาหลังจากนัน้ มา มันคือความหฤหรรษ์อย่างน่าประหลาด เมื่อโน้ตบุ๊ก เครือ่ งใหม่นา� พาผูใ้ ช้เข้าสูว่ งั วนแห่งการอัพเดต ต่างๆ นานา ไดรเวอร์ เฟิร์มแวร์ แอนตี้ไวรัส ยูทิลิตี้ แอพพลิเคชัน ฯลฯ หรือแม้กระทั่ง ไบออสบนเมนบอร์ด ซึ่งเป็นสิ่งที่อยู่ลึกที่สุด ในระบบการท�างาน หน้าต่างป๊อปอัพขึ้นมา อันแล้วอันเล่า ถามว่าจะอัพเดตนั่นไหม อัพเดตนี่ไหม เราสามารถกดปุ่มโอเคยอมรับการอัพเดตไปเรือ่ ยๆ ความสุขและความพึงพอใจ เกิดขึ้นเมื่อได้เห็นแถบบาร์บอกระยะเวลา ของการดาวน์ โ หลดสิ่ ง ที่ ป รั บ ปรุ ง ใหม่ เพิ่มเข้ามา มีไอคอนวงกลมหมุนติ้ว เหมือน เครื่อ งก� า ลัง คิด ค� า นวณและจัด การติด ตั้ง พวกมันเข้ามาภายใน นั่งง่วนอย่างนั้นอยู่ เนิ่นนาน เวลาผ่านไปแค่ไหนไม่ทันสังเกต จนคนขายแนะน�าอย่างอ้อมแอ้มและเกรงใจ ว่าคุณลูกค้าสามารถเอากลับไปท�าต่อเอง ที่บ้านก็ได้

แล้ ว ชี วิ ต ประจ� า วั น หลั ง จากนั้ น มา ก็ เ หมื อ นหลุ ด เข้ า ไปอยู ่ ใ นเขาวงกตของ การอัพเดตไปเรือ่ ยๆ มันเหมือนมีแรงผลักดัน อันแรงกล้าจากภายใน ที่ก้นบึ้งของหัวใจ ผุดขึน้ มาบอกว่าสถานะปัจจุบนั ของเครือ่ งนัน้ ยังไม่ดีพอ มันยังสามารถจะดีกว่านี้ได้อีก เราต้องพัฒนา ต้องปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เพิม่ เติม แก้ไข ด้วยการก็กดปุม่ อัพเดตซ�า้ แล้ว ซ�้าเล่า โดยไม่ตอ้ งอ่านรายละเอียด ไม่จา� เป็น จะต้องเข้าใจหรือรูถ้ งึ หลักการท�างานเบือ้ งหลัง ของมันแต่อย่างใด โลกทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหลังหน้าจอ นั้น ช่างกว้างใหญ่ไพศาลไม่รู้จบ มีสิ่งใหม่ ที่ดีกว่าตลอดเวลา ซึ่งเราต้องพยายามสูบ หรือดูดมันเข้ามา เพื่อให้โลกที่อยู่ภายใน กรอบบอดี้ตัวเครื่องนี้ดีขึ้นไปเรื่อยๆ เงินหลักหมืน่ ทีจ่ า่ ยไป ไม่ใช่เพียงเพือ่ ซื้อเจ้าเครื่องนี้มาใช้งาน ซื้อมาแล้วก็จบกัน แค่นั้น แต่ซื้อการพัฒนาและปรับปรุงอย่าง ต่อเนือ่ งไปเรือ่ ยๆ เหมือนเป็นอีกงานหนึง่ ซึง่ เรา ต้องท�า ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในทุกวันนี้ มักเป็นเช่นนี้ ไม่ต่างจากโทรศัพท์มือถือ ทีวี หรือแม้กระทั่งรถยนต์ที่มีหน้าจอสมาร์ตทัช ต่างๆ ซึง่ เราซือ้ หามาด้วยเงินทีเ่ ก็บหอมรอมริบ นานปี ผ่านไปหลายวัน หลังจากกดปุม่ อัพเดต ครัง้ แล้วครัง้ เล่า จนพบว่ามันไม่มกี ารพัฒนา อะไรใหม่ๆ เพิ่มเข้ามาให้ดาวน์โหลดอีกแล้ว ทุกอย่างภายในเครื่องใหม่ ล้วนใหม่หมด ครบถ้วนหมด ใช้งานได้ราบรื่นเป็นปกติ แต่ตวั เราแทบไม่ได้มสี มาธิกบั การใช้งานมัน เพื่ อ ท� า งานจริ ง ๆ มี เ พี ย งแค่ ก ารอั พ เดต ดาต้าเบสโปรแกรมแอนตี้ไวรัสแบบเล็กๆ น้อยๆ ประจ�าวัน

ฉับพลันรู้สึกว่างเปล่าขึ้นมาอย่างน่า ประหลาดใจ ประหลาดดีทหี่ ลายวันทีผ่ า่ นมา เราใช้งานมันเพือ่ อัพเดตตัวมันเองอยูแ่ บบนัน้ การอัพเดตกลายเป็นงานในตัวมันเอง ลองหยิ บ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ เครื่อ งเก่ า ขึ้นมา พยายามอัพเดตแอพพลิเคชันต่างๆ จนครบถ้วนแล้วแต่กย็ งั รูส้ กึ ถึงความว่างเปล่า ของชีวิต โทรศัพท์รุ่นเก่าหลายปีจนบริษัท ผู้ผลิตเลิกอัพเดตเฟิร์มแวร์มันมานานแล้ว และน่าจะถึงคราวที่ต้องซื้อเครื่องใหม่เสียที รีบถอยรถยนต์ทเี่ พิง่ ซือ้ มาใหม่ไม่ถงึ ปี แล้ ว ก็ จั ด การอั พ เดตเฟิ ร ์ ม แวร์ ห น้ า จอ สมาร์ ต ทั ช ไปเรี ย บร้ อ ย เปลี่ ย นล้ อ แม็ ก เปลี่ยนน�้ามันเครื่อง น�า้ มันเกียร์ บึ่งออกไป งานมหกรรมลดราคาหนังสือต่างประเทศ หนังสือต่างประเทศกองพะเนินไกล สุดลูกหูลกู ตา คนส่วนใหญ่มาซือ้ หาหนังสือเด็ก เพื่ อ ไปเสริ ม สร้ า งพั ฒ นาการให้ ลู ก หลาน ส่วนผมเดินมุ่งไปส่วนหนังสือนอนฟิกชัน แนวการพั ฒ นาตั ว เอง จิ ต วิ ท ยาองค์ ก ร หลักการตลาดยุคใหม่ เริ่มต้นธุรกิจยิ่งใหญ่ ได้ดว้ ยตัวเอง การเปลีย่ นนิสยั เปลีย่ นตัวคุณ ใหม่ เริ่มต้นชีวิตใหม่ ฯลฯ อ่านชือ่ บนปกหนังสือเล่มแล้วเล่มเล่า จากราคาหลักพันลดเหลือแค่หลักร้อยกว่าบาท พวกมันถูกฉวยคว้ามาใส่รถเข็น เพื่อถมใส่ ความว่างเปล่าภายใน เดินเตร็ดเตร่อยูเ่ นิน่ นาน จนหนังสือเต็มรถเข็น เวลาผ่านไปแค่ไหน ไม่ทันสังเกต น่าจะกลับบ้านกลับช่องเสียที เข็นรถออกมาถึงช่องช�าระเงินเรียงต่อกันไกล สุดลูกหูลูกตา มีลูกค้าต่อแถวยาวเหยียด ทุกช่อง ในรถเข็นของลูกค้าทุกคนมีหนังสือ กองเต็มเอี้ยดทุกคัน พลันนึกขึน้ มาได้วา่ หนังสือทีม่ าซือ้ ไป

จากงานนีเ้ มือ่ ปีกอ่ น ยังไม่ได้อา่ นเลยสักเล่ม แม้กระทั่งยังไม่ได้แกะห่อพลาสติก และ ตอนนี้มันวางไว้ตรงจุดไหนในห้องเก็บของ ยังไม่จ�าไม่ได้ การเดินซื้อหนังสือกลายเป็น ความหฤหรรษ์ในตัวมันเอง หนังสือไม่ได้ซื้อ ไปเพือ่ อ่าน เช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์โน้ตบุก๊ ที่ซื้อไปแล้วไม่ได้ใช้ท�างาน โลกดิจิตอลขับเคลื่อนไปด้วยกระแส ไฟฟ้าเปิดๆ ปิดๆ วิ่งวนบนแผงวงจรขนาด เล็กจิ๋ว ที่เส้นทางของมันสามารถแปรผัน ไปได้เรื่อยๆ ตามชุดค�าสั่งที่ใส่เพิ่มเข้ามา เพือ่ แก้ไข เพิม่ เติม ปรับแต่งให้เรารู้สกึ ว่ามัน สามารถดีกว่าเดิม เหนือกว่าเดิม พัฒนา ขึ้นไปเรื่อยๆ เมืv่ vvzอเทคโนโลยีเปลีย่ น ส�านึกทีเ่ รา มีต่อชีวิตก็เปลี่ยน ในร่างเดิมตั้งแต่เกิด เรา มีความรู้สึกว่าต้องอัพเดต อัพเกรด หรือ ดาวน์โหลดอะไรมาอินสตอลใส่เข้าไป ทุกวันนี้ เราหมกมุน่ อยูก่ บั การปรับปรุง เปลีย่ นแปลง พัฒ นา จนความหมกมุ่ น นี้เ ป็ น จุด หมาย ในตัวมันเอง ไม่เคยมียุคไหนสมัยไหนที่พวกเรา จะรูส้ กึ ขาดพร่อง ไม่พอใจกับตัวเอง และรูส้ กึ ว่าต้องปรับเปลี่ยนตัวเองตลอดเวลา กดดัน กับตัวเองเพือ่ เทียบกับโลกภายนอกอันยิง่ ใหญ่ ไพศาลขนาดนี้มาก่อน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.