a day BULLETIN 555

Page 1

556 555 554

TODAY EXPRESS PRESENTS

10 SEP 2018

WHEN FALLING INTO A DEEP HOLE, YOU HAVE TWO CHOICES: SHUT YOURSELF IN THE HOLE FOREVER OR FIGHT BACK AND

CLIMB

OUT

THE LIGHT

TO


02

CONTENTS

ISSUE 555 10 SEP 2018

THE CONVERSA TION ‘หลุม’ ในแต่ละช่วงชีวิต และการออกไปค้นหา ความสุขจากส่วนเล็กๆ ในโลกของ ‘เคน’ ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์

SHE SAID หญิงสาวผู้มาพร้อมกับ พลังงานเชิงบวก ‘กุ๊ก’ - ชนิดา วรพิทักษ์ ดีไซเนอร์เจ้าของแบรนด์ Cuscus the Cuckoos

PRESENTS

10 SEP 2018

ISSUE 555

556 555 554

TODAY EXPRESS

LIFE ชีวิตบนคลื่นทะเลและ สายลม ผ่านมุมมองของ 3 นักแล่นเรือใบมืออาชีพ

SPACE & TIME Joy Table คาเฟ่กลิน ่ อาย

WHEN FALLING INTO

ญี่ปุ่นสุดอบอุ่นในสวนผัก สีเขียว

A DEEP HOLE, YOU HAVE

M

Y

TWO CHOICES: SHUT FOREVER OR FIGHT BACK AND

CLIMB

OUT

TO

THE LIGHT

SELECTIVE

CM

ตามไปดูสิ่งของประจ�าตัว

MY

ของ ‘เอฟ’ - วิทิต

‘เคน’ - ธี ร เดช วงศ์ พั ว พั น ธ์

YOURSELF IN THE HOLE

ชัยสัมฤทธิ์โชค ดีไซเนอร์ และนักบริหารของ สตูดิโองานไม้ MHOE

A THOUSAND WORDS THE INVESTOR ผลงาน

หลังเห็นโปสเตอร์และเรื่องย่อภาพยนตร์เรื่องใหม่ในรอบ 9 ปี ของ ‘เคน’ - ธี ร เดช วงศ์ พั ว พั น ธ์ อย่ า ง The Pool นรก 6 เมตร

ภาพวาดสีนา�้ มันบนผ้าลินน ิ โดย นที อุตฤทธิ์

พร้ อ มกั บ ประเด็ น ที่ เ ราอยากจะคุ ย กั บ เขาในวั น นั้ น เป็ น เรื่ อ งราว อีกมุมหนึ่งของชีวิตพระเอกหนุ่มในด้านที่เรียกว่าเป็น ‘หลุมของชีวิต’ และเรื่องราวเส้นทางการค้นหาวิธีออกมาจากหลุมนั้น เราจึ ง ตกลงกั น ว่ า มู้ ด แอนด์ โ ทนของภาพถ่ า ยคุ ม โทนมื ด ขรึ ม เร่งคอนทราสต์จัดๆ กับ เคน ธีรเดช ในชุดสูทเข้มๆ ก็ท�าให้เราได้ภาพ เซตนี้ออกมาซึ่งคิดกันว่าสามารถสื่อสารเนื้อหาของเราออกมาได้อย่าง สมบูรณ์

C

EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิการ ทัศนคติต่อชีวิตและ สังคมผ่านสายตา วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ

ทีป ่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการทีป ่ รึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผูพ ้ ม ิ พ์ผโู้ ฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒช ิ ย ั กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล พัทธมน วงษ์รัตนะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นักเขียน/ผู้ประสานงาน ตนุภัทร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ คเชนทร์ วงศ์แหลมทอง หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกต ิ ติบต ุ ร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ิ สกุล ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสจู น์อก ั ษร/ผูด ้ แ ู ลสือ ่ ออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภูท ่ อง บรรณาธิการดิจต ิ อลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วด ิ โี อ วงศกร ยีด ่ วง กวินนาฏ หัวเขา ทีป ่ รึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจิ รรยากุล ผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุง ่ รัตนสิทธิกล ุ 08-4491-9241 ผูช ้ ว่ ยผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา ธนาภรณ์ ศรีจฬ ุ างกูล 08-1639-1929, พงศ์ธด ิ า อังศุวฒ ั นากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, พรอารีย์ ต้นคชสาร 08-8882-1645 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว ผู้ผลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@ adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com

CY

CMY

K


H&åH&å %ï%ï==$ )ý $ )ý .D.Dï ï < < $<$< &.;ý=5< &.;ý=5<,,)<)<$$#ò#ò @H@H î î$$ ¦§ §ÄÜ ¦§ §ÄÜ

öěĥöěĥāāijüþĬ ijüþĬĕĕþč þč

$= 5=22 $= 5=22?-= /=ý= ?-= /=ý=

$= 5=2J5+@ $= 5=2J5+@ %C p %Cp 3?.3?? .?

$< $<2? ý2?= =.)< ý= =.)< $=ýC $=ýC ,ý$ýU ,ý$ýU =$=p =. =$=p =. 5U=5U$<= $< =$)< =$)< $=ýC $=ýC ,ý$ ,ý$ < <62< 62< $ .52.. ò $ .52.. ò ĖĪĈĖĪğęĥ Ĉğęĥ õėĤİĎĩ õėĤİĎĩ ĖĎ øěĦĕĊĭ ĖĎ øěĦĕĊĭ õĉŖõġĉŖû ıęĤõĦėĕĩ ġû ıęĤõĦėĕĩ Ğěŕ Ğčėŕěŕ čėŕ ěĕěĕ öġûďėĤþĦþč ĞėŖ öġûďėĤþĦþč ĞėŖ ĦûďėĤIJĖþčř ĦûďėĤIJĖþčř Ğûĭ ĞĞĬûĭĈĞĬõĥĈĎõĥċĬĎõċĬĔĦøĞŕ õĔĦøĞŕ ěčěč

$=, 5åö$,5$,=, -ò5-C ò5$C #$ò #&ò åö$&=p "?)"?) 5=2 5=2 =. =. $= $= =p $ $ = = ýU ýU C,ý$ C,ý$ $=ý $=ý < < $= < $= < $".< $".<$ò $òJ ,$? J ,$? #? #.=$$"ò ? .=$$"ò

$< $<2? ý2?= =.)< ý= =.)< $=ýC $=ýC ,ý$ýU ,ý$ýU =$=p =. =$=p =. 5U=5U$<= $< =$)< =$)< $=ýC $=ýC ,ý$8U ,ý$8U =H+85< =H+85< $&é$=&é=8 8 < <62< 62< Hý@ -Hý@ K6,î - K6,î øěĦĕİĒĩ øěĦĕİĒĩ Ėė čĽ Ėė čĽ ĦĕĦÿĪ ĦĕĦÿĪ ûĸ øěĦĕĞĽ ûĸ øěĦĕĞĽ ĦİėķĦüİėķ ü

)) =.=. ý= $< $2?< ý2?= C,ý$ C,ý$ $=ý $=ý ) )< $ $ = = 5U=5$U=< $< < @ @ =$ =$ # # .ò .ò øûř øĦčûř Ħč < <6 2<6 2<5 C.5=4C.=4 ĦûĦč ėėėė ėŖĦûĞ ėŖĦûĞ Ğ Ğ Ħč Ħû č č ĥ ĥ Ć Ć Ē Ē Ī Ī û û Ċ Ċ Ħ Ħ İöĦŖİöijüĦŖ İijüöŖ İöŖ Ĭ øĩ øć Ĭ Ħŕ øĦŕ øĩ ć Ħŕ ûĕĦŕ ûĕ ġĖġĖ

$=-ýC $=-ýC ,)0 %C ,)0 %C pp I$îI$î $ $

$< $<2? ý2?= =.)< ý= =.)< $=ýC $=ýC ,ý$& ? ,ý$& ? %< %? < =.? =. 5U=5U$<= $< =$)< =$)< $=ýC $=ýC ,ý$8U ,ý$8U =H+8H,B =H+8H,B 8 I).î 8 I).î < <62< 62< I).î I).î øĨĈøĨijğŖĈijğŖ İĖġĤ ċĽ İĖġĤ ċĽ ĦijğŖĦijğŖ İďŝİčďŝ ġŕ č ġŕ ĦčijğŖ ĦčijğŖ öĦĈ ĉŖ öĦĈ ĉŖ ġûõęŖ ġûõęŖ ĦċĩĦüĸ ċĩĤüĸ Ĥ İďęĩİďęĩ Ėĸ čıďęû Ėĸ čıďęû

C$$=$"$ò "ò .< =. H= H?, ?,C$ ==p < ) C ) C 5 5 2 2 = = =. =. 5 5 = = $$ C,ýC,$ýý$U=ý$U=$=p $=ý$=ý ="=" )< )<

$< $<2? ý2?= =.)< ý= =.)< $=ýC $=ýC ,ý$& ? ,ý$& ? %< %? < =.? =. 0C 0C î,)<î, )< $=.;%%%.? $=.;%%%.? 6=.6=. İöŖĦİöŖijüþĬ ĦijüþĬ ĕþč ĈŖ ĕþč ĈŖ ěĖõĦėİöŖ ěĖõĦėİöŖ ĦĊĪĦûĊĪþĬûĕþĬþč ĕþč İĒīİĒī ġĸ Ēĥġĸ ĆĒĥčĦþĬ ĆčĦþĬ ĕþčĞĭ ĕþčĞĭ øŕ ěĦĕĖĥ øŕ ěĦĕĖĥ ûĸ Ėīûĸ čĖīč

$=$= 5 5 =2=2 pp = = =+=+ = = 6 6

8,8, 6262 0 0 )< )< $=$= = = .8.8 U=H+U=H+ 8"8" Cî 3.Cî 3. @8C @8, C , 5U=5U$<= $< =$ =$ )< )< $=$= ýC,ýCý$ ,ý$ 8U=8UH+=H+ 8"8" Cî 3.Cî 3. @8C @8,C , < <62 62 < 8C< %8C0. %0. =ý=ý #=#= $@ $@ ĕĬûŕ ĕĬĕĥûŕ čĸ ĕĥ ĉčĸ ĉ ûĥĹ ijü ûĥĹ ijü ďăďă ĎĨ ĉĥ ĎĨ ûĨ ĉĥ ĦčûĨ Ħč IJĈIJĈ ĖĖĖĖ ĈĪ ĕĥĈĪ čĸ ĕĥ õčĸ Ħė õĦė ċĽĦċĽûĦč ĦûĦč õĥĎõĥĎ þĬĕþĬþč ĕþč ĉŖġĉŖûİė ġûİė ĨĸĕĉŖĨĸĕčĉŖüĦ čüĦ õøõø ěĦěĦ ĕĉĕĉ Ŗġûõ Ŗġûõ Ħė Ħė öġ öġ ûþ ûþ Ĭ Ĭĕþč ĕ þč ıęıę ĤøĤø ěĦěĦ ĕĞĕĞ ĕĥøĕĥėijøüö ėijüö ġûġû þĬĕþĬþč ĕþč õŕġõŕč ġč üĪûüĪİėĨûĸĕİėĨİöĸĕİö Ŗ Ħ ĞĭŖĦŕ Ğĭŕ õėõė ĤĎĤĎ ěčěč õĦõĦ ėċėċ ĦĽ ûĦč ĦĽ ûĦč ėŕěėŕĕõ ěĕõ čĥ İĒ čĥ İĒ ġīĸ ijğġīĸ ijğ İŖ õĨĈİŖ õĨõĦ ĈõĦ ėıėı õŖĴõŖöĴö ďśāďśğĦ āğĦ ğėğė ġī ċĽġī ĦċĽõĨĦüõĨõėüõė ėĕėĕ ĒĥĆĒĥčĦ ĆčĦ IJĈIJĈ ĖþĖþ ĕĬ þč ĕĬ þč İġûİġû

<-$<-$ =.=. B8 ýB8 ý $< $2< ?ý2= ?ý= C,ýC,$ý8$U=8H+U=8H+H,8H, $=ý$=ý < < ) ) $ $ = = < < $ $ 5U=5U= $=" ĞŖ čĞŖ õĬ č õĬ čijğ ĦĽ ûĦĦĽ čûĦijğ < <6 26< 2ý< <-ý$<-=" ęĤċ ęĤċ č ı ċĦĽ ċûĦĦĽ čûĦ ı Ħė Ħė õ õ Ė Ė ŕ ŕ Ħ Ħ čþč ö ö þ ġ ġ Ĭ Ĭ ĕ ĕ ėī ėī ø ø ûþ ûþ ėŖĦûİ ĞėŖĞĦûİ þčþĞř čûĭ Ğř ûĭ ĈĬ ĞöĈĬ ġöġ IJĖIJĖ ĕĞĕöĬ Ğ İöĬ č İčŖ čďčŖ ėĤďėĤ ĩĕ ĕěĦøĩ ěĦ ø

$= $< $= $< -$<-$$<"ò$ "ò ýD ýD 5 C50 C$?0$??5?$5#ò?$ #ò $=- ? $=- ? .$$"ò .$$"ò 8=-C 8=-C =. =.

$< $<2? ý2?= =.)< ý= =.)< $=ýC $=ýC ,ý$ýU ,ý$ýU =$=p =. =$=p =. 5U=5U$<= $< =$)< =$)< $=ýC $=ýC ,ý$8U ,ý$8U =H+86$8 &.B =H+86$8 &.B 88 < <62< 62< =p $%C =p $%C .@ .@ ĜĪõĜĪĝĦĒī õĝĦĒī ĹčċĩĹčĸıċĩęĤĐĭ ĸıęĤĐĭ ŖčĽĦŖč đŎ ĽĦ đŎ õđčıęĤďăĨ õđčıęĤďăĨ ĎĥĉĎĨ ĥĉĒĥĨ ĆĒĥčĦ ĆčĦ ĉčİġûİĞĕġ ĉčİġûİĞĕġ

? ? ò ,=$; -ò -,=$; .@ .@ =28< =28< $= 5 $= 5

?%< ?%? < =.? =. ,ý$& ,ý$& $=ýC $=ýC < < ý= =.) $< $<2? ý2?= =.) ,ý$ ,ý$ $=ýC $=ýC < < =$) 5U=5U$<= $< =$) .=,.=, ".5 ".5 5,C 5,C 62< < <62< čč ďėĤþĦþ ďėĤþĦþ Ĉıõŕ Ğûĭ ĞĞĬûĭ ĈĞĬıõŕ þčřþčř ġĸ ďėĤIJĖ ġĸ ďėĤIJĖ ĕċĩĕ ĸ ċĩİĒī ĸ İĒī Ħûİĉķ Ħûİĉķ ċĽĦċĽġĖŕĦġĖŕ

$= C $= C 7=). %C 7=). %C )) '=H ý '=H ý

H ï=H ï)$< =)$< =$)< =$)< $=ýC $=ýC ,ý$ýU ,ý$ýU =$=p =$ =$=p =$ 5U 5U =$<= $< =$)< =$)< $=ýC $=ýC ,ý$8U ,ý$8U =H+86ï =H+86ï 2-H,O 2-H,O < <62< 62< =75? =75? $#C$ò #Cò ĕĩøĕĩěĦĕİöŖ øěĦĕİöŖ Ħijüõĥ Ħijüõĥ ĎûĦčċĩ ĎûĦčċĩ ċĸ ĦĽ ċĸ ĞėŖ ĦĽ ĞėŖ ĦûĔĦøĩ ĦûĔĦøĩ İøėīİøėī ġöŕġĦöŕĖijč ĦĖijč õĦėċĽ õĦėċĽ ĦûĦč Ēĥ ĦûĦč Ēĥ ĆčĦıĎĎĕĩ ĆčĦıĎĎĕĩ ĞŕěĞčėŕ ŕěčėŕ ěĕİĒī ěĕİĒī ĸġčĽĸġĦčĽĴďĞĭ ĦĴďĞĭ ŕ ŕ þĬĕþĬþčċĩ ĕþčċĩ İĸ öŖĕİĸ öŖıöķ ĕıöķ ûû

3ò 3ò 2 .? .?2 ;H5;H5 &.&. ).). 5,5, =2=2 5 5 $=$= =. =. =$=p ýU=ýU$=p

$= 5=22< $= 5=22< $H)O $H)O pp 8 U 8 U = =

$< $<2? ý2?= =.)< ý= =.)< $=ýC $=ýC ,ý$& ? ,ý$& ? %< %? < =.? =. 5U=5U$<= $< =$)< =$)< $=ýC $=ýC ,ý$8U ,ý$8U =H+83.@ =H+83.@ #=#=C C < <62< 62< 8C 8C.#=$@ .#=$@ İþīġĸİþīĕĥġĸ čĸ ĕĥ Ĝėĥ čĸ Ĝėĥ ċČĦ Ēĥ ċČĦ Ēĥ ĆčĦ ĞėŖ ĆčĦ ĞėŖ ĦûĔĦĒęĥ ĦûĔĦĒęĥ õĝćř õĝćř ijğŖijğŖ ġûøřġûøř õėĴĈŖ õėĴĈŖ

$= $C $= $C ý$=! $20K- ý$=! $20K-

$< $<2? ý2?= =.)< ý= =.)< $=ýC $=ýC ,ý$ýU ,ý$ýU =$=p =. =$=p =. 5U=5U$<= $< =$)< =$)< $=ýC $=ýC ,ý$ ,ý$ < <62< 62< $.=#? $.=#? 2=5 2=5 İöŖ İöŖ Ħijü İöŖ Ħijü İöŖ ĦĊĪĦûĊĪ Ēĥû Ēĥ ĆčĦy õĦėċĽ ĆčĦy õĦėċĽ ĦûĦčĈŖ ĦûĦčĈŖ ěĖěĖ øěĦĕüėĨ øěĦĕüėĨ ûijü ĕĬ ûijü ĕĬ ûŕ ĕĥûŕ čĸ ĕĥıęĤĞėŖ čĸ ıęĤĞėŖ Ħûİøėī Ħûİøėī ġöŕġĦöŕĖĦĖ ijčûĦčĒĥ ijčûĦčĒĥ ĆčĦþĬ ĆčĦþĬ ĕþč ĕþč

@P- @P- . . -ò -òH" H" ?)?) ."." ) ) $=$= ?%< ?%? < =$? =$ & & A 4= A 4=

$< $<2? ý2?= =.)< ý= =.)< $=ýC $=ýC ,ý$ýU ,ý$ýU =$=p =. =$=p =. 5U=5U$<= $< =$)< =$)< $=ýC $=ýC ,ý$ ,ý$ < <62< 62< 8C 8C. ?. ?!ò !ò ûĦčğčĥ ûĦčğčĥ õ ûĦčĖĦõ øī õ ûĦčĖĦõ øī ġ ûĦčċĩ ġ ûĦčċĩ ċĸ ĦŖ ċĸ ċĦĖ ĦŖ ċĦĖ

$= 5=20< $= 5=20< = 3.@ = 3.@ %C.%,-ò C.,-ò

$< $<2? ý2?= =.)< ý= =.)< $=ýC $=ýC ,ý$ýU ,ý$ýU =$=p =. =$=p =. 5U=5U$<= $< =$)< =$)< $=ýC $=ýC ,ý$ ,ý$ < <62< 62< $ .)$, $ .)$, İďŝİďŝ čøčċĩ čøčċĩ ĸİėĩĖĸİėĩčėĭ Ėčėĭ ŖıęĤĉĨ ŖıęĤĉĨ ĈĉĦĕöŕ ĈĉĦĕöŕ ĦěĞĦėİċøIJčIJęĖĩ ĦěĞĦėİċøIJčIJęĖĩ ĉęġĈİěęĦ İĒī ĉęġĈİěęĦ İĒī ĸġčĽĸġĦčĽĕĦďėĥ ĦĕĦďėĥ ĎijþŖ ĎijþŖ ıęĤğĦþŕ ıęĤğĦþŕ ġûċĦû ġûċĦû Ğīĸ ġĞīĞĦėõĥ ĸ ġ ĞĦėõĥ Ď ĞĦČĦėćþč ĉęġĈüčĞėŖ Ď ĞĦČĦėćþč ĉęġĈüčĞėŖ Ħ ûøěĦĕ Ħ ûøěĦĕ ĞĥĕĞĥĒĥĕčĒĥČřčġČřĥčġĈĩĥčõĈĩĥĎõĞīĥĎĸġĞīĕěęþč Ğŕ ĸġĕěęþč Ğŕ ûöŕûĦöŕěĞĦėĊĭ ĦěĞĦėĊĭ õĉŖõġĉŖû ġû øėĎĊŖ øėĎĊŖ ěč ėěĈİėķ ěč ėěĈİėķ ě ċĥ ě ċĥ čijü İĒī čijü İĒī ĸġĞėŖ ĸġĞėŖ ĦûĔĦĒęĥ ĦûĔĦĒęĥ õĝćř õĝćř ċĩĈĸ ċĩĉĩ Ĉĸ ġŕ ĉĩ õėĕõĦėĒĥ ġŕ õėĕõĦėĒĥ ĆčĦþĬ ĆčĦþĬ ĕþčĉŕ ĕþčĉŕ ġĴďġĴď

3$3 J5J5"<3"<$3 < =$ < =$ =)$ H ï=H ï)$ .@,.@=,= =ý3 =ý3 .... $ $ ,ý$ ýC,ýCý$ $= $= < < ;) ;) I0 I0 A 4= 3D$3D-ò$3-òA 34= ĞĽĦĞĽøĥĦāøĥā ěĦĕ ěĦĕ ø ø Ŗ Ŗ ijğ ijğ Ħč Ħč ĕû ĕû ě ě ŕ ŕ īĸġčė īĸġčė İĒ İĒ ĽĦûĦč ĽĦûĦč ĦėċĦėċ ŕijüõŕijüõ ijĞijĞ ĩ ĩ ŕĦûĕŕĦûĕ ġĖ ĽĦûĦč ĽĦûĦčġĖ ėċėċ ŖčõĦ ŖčõĦ İč İč Ĭõøč Ĭõøč ûċûċ Ĉöġ øĨĈøĨöġ ĦĕĦĕ ġøě ĉŕġĉŕøě þŕ ŕ ij ijŕ þŕ Ĵĕ Ĵĕ øč øč Ĭ Ĭ õ õ ĦĤċ ĦĤċ İĒėİĒė ĞĽĦĞĽİėķĦüİėķİõĨüĈİõĨöĪĈčĹ öĪĴĈŖčĹ ĴĈŖ ěĦĕěĦĕ ěŕ ĕ ø ěŕ ĕ ø ĞŕěĞŕčėěčė ûĪĸ ûĪĸ ğčğč øčøč ijĈijĈ øčøč ijøėijøė

$= 3C $= 3C +. = < +. = < .2? .2? ., .,

$< $<2? ý2?= =.)< ý= =.)< $=ýC $=ýC ,ý$ýU ,ý$ýU =$=p =. =$=p =. 5U=5U$<= $< =$)< =$)< $=ýC $=ýC ,ý$ ,ý$ < <62< 62< $ .$=- $ .$=- ĜĪõĜĪĝĦ ĞėŖ õĝĦ ĞėŖ ĦûĞėėøř ĦûĞėėøř ĉĥ ûĹ ĉĥijü ıęĤĕĩ ûĹ ijü ıęĤĕĩ øěĦĕĞĬ øěĦĕĞĬ öö õĥĎõĥõĦėċĽ ĎõĦėċĽ ĦûĦčĒĥ ĦûĦčĒĥ ĆčĦþĬ ĆčĦþĬ ĕþč ĕþč

$=-5$< $=-5$< P$3<P$ 3< ? T ?5,"8 T 5,"8 -$ -$ U= UH @=H @ - - U=$2 U=$2 -8-8 $=$= =. =. =$=p ýU=ýU$=p C,ý$ C,ý$ $=ý $=ý < < .).) ý= = $< $<2? ý2?= = C,ý$ C,ý$ $=ý $=ý )< )< =$ 5U=5U$<= $< =$ , , .&.& < $ < $ 62 < <62

ĕĬ þč ĕĬ þč ĥ čĦþ ĥ čĦþ Ć Ć č Ē č Ē ĥ čĦĉ ĥ čĦĉ Ć Ć ijŕ ü Ē ijŕ ü Ē čĸ ijĞ ĕĬûŕ ĕĬĕĥûŕ čĸ ĕĥ ijĞ

$< $<2? ý2?= =.)< ý= =.)< $=ýC $=ýC ,ý$& ? ,ý$& ? %< %? < =.? =. 5U=5U$<= $< =$)< =$)< $=ýC $=ýC ,ý$8U ,ý$8U =H+8 C =H+8 C .;%C.;%C .@ .@ < <62< 62< )< )< = = ğčŖğčŖ ĦċĩĦöĸ ċĩġûİėĦøī öĸ ġûİėĦøī ġ ėĥġ ėĥ ĎijþŖĎijþŖ ďėĤþĦþčĈŖ ďėĤþĦþčĈŖ ěĖøěĦĕĉĥ ěĖøěĦĕĉĥ ûĹ ijü ûĹ ijü ĕĬûŕ ĕĬĕĥûŕ čĸ ĕĥ ıęĤİġĦijüijĞŕ čĸ ıęĤİġĦijüijĞŕ ďėĤþĦþčİďŝ ďėĤþĦþčİďŝ čĞĽčĦĞĽøĥĦāøĥ øī ā øī ġĉŖġġĉŖûġû İöŖĦİöŖijü İöŖ Ħijü İöŖ ĦĊĪĦûĊĪ Ēĥû Ēĥ ĆčĦ ĞėŖ ĆčĦ ĞėŖ ĦûĞėėøř ĦûĞėėøř

C,ý$ C,ý$ $=ý $=ý < < .).) ý= = $< $<2? ý2?= = ý$ ý$ , C , C $=ý $=ý )< )< =$ 5U=5U$<= $< =$ ò ò ". ". $ ? $ ? . . 5C 5C < < 62 62 < < ĨĈ ĨĈ ü Ĥİõ Ĩĸ û čĥĨĸ ûĹ ččĥõķĹ čüõķĤİõ ûĞûĞ ĭ õ ċĦ ĭ ŕ Ċĭ õĭ ŕ Ċċĩĭ õĸ Ċċĩĭ õĸ ĊċĦ Ħ ġĖ ĊŖ ĦĊŖġĖ ķ ĉ Ħĕ ķ ĉ Ħĕ ĴėõĴėõ ġĤġĤ Ĉĩ Ĉĩ ijğŖ ijğŖ č č Ĺ Ĺ čĥ čĥ û û ĸ ĸ ĞĨ ĞĨ Ħ Ħ Ľ Ľ ċ ċ ķ ķ ĴėõĴėõ ġĤġĤ ĦčĦč ĎûĎû Ĉþġ ř ėĥř ĎėĥĐĨĎĈĐĨþġ þčþč ĤIJĖĤIJĖ ďėďė öĞĬö ĞĬ ěĦĕ ěĦĕ ĩ ĩ ø ø čĕ čĕ þĦþ þĦþ ďėĤ ďėĤ ġĸ ġĸ ŕĭ İĒī ŕĭ İĒī čī ġĖ čī ġĖ İĸ ėĦĖ ĈĬ ċĩĈĬ İĸ ċĩėĦĖ ĕüĕü ĈĬ ĉĦ ċĩĞĸ ċĩĈĬ Ğĸ ĉĦ čĦ čĦ Ć Ć Ēĥ Ēĥ ĥ ĥ õ õ ġûč ġûč ĕöĕö ĦĖĦĦĖĦ ĒĖĒĖ ěĦĕěĦĕ ěĖø ĈŖěĈŖĖø

I Iî.<,î.-ò<, -ò K K =,=, 5,5, =2=2 5 5 $=$= ?%< ?%? < =.? =. & &

C,ý$ C,ý$ $=ý $=ý < < .).) ý= = $< $<2? ý2?= = 8 8 $"$" )=)= =H+8 8U=8UH+8 C,ý$ C,ý$ $=ý $=ý )< )< =$ 5U=5U$<= $< =$ %C.%C@ .@ < ý0 < ý0 62 < <62 øĬ øę øĬ øę č Ďč Ď þĦþþĦþ ĸ ďėĤ ĦŖ ĊĪĦŖ ûĊĪĒīûčĹ ĒīċĩčĹ ĸ ċĩďėĤ ĦĽ İöĦĽ İö üĩĸ Ĥċ üĩĸ Ĥċ čċčċ čûĦčûĦ Ħijüij İöŖĦİöŖijüij čěŕ č ŕ ě Ğ Ğ Ľ Ľ Ħ Ħ ĸ ĸ ċ ċ ċĩ ċĩ ûĦčûĦč ĥ čĦ ĥ čĦ Ć Ć õĩ ĦėĒ õĩ ĦėĒ ĤĕĤĕ ıęıę ėŕěėŕĕ ěĕ ĦĽ ûĦč ĦĽ ûĦč üĸ Ĥċ ċĩüĸ ċĩĤċ ġøī ġ øī Čř Čř č č Ēĥ Ēĥ ĕ ĕ ĦĞĥ ĦĞĥ Ĥþ Ĥþ ďėďė ĽĦûĦč ĽĦûĦč Ħėċ Ħėċ ijčõ ijčõ õõĦė ęĥõęĥõĦė ûğûğ öġöġ ĕģ ĕģ ûõė ûõė öġ öġ ř ř ĝć ĝć õ õ ęĥ ęĥ ĔĦĒ ĔĦĒ ř ř õĝć øīġøī ġĥġĉ ġĥęĥĉõęĥĝć Ħė Ħė ĆčĦõ ĒĥĆĒĥčĦõ Ĭ Ĉ ĸ ĩ ĸ ĩ Ğ Ğ ĩ ĩ ċ ċ Ŗ Ŗ Ĉ Ĉ ĴĈ ĴĈ ĈĬ ĕģĕģ ûõėûõė öġöġ ĦĽ ûĦč ĦĽ ûĦč õĦėċ ĕĒĥĕčĒĥČřčõČřĦėċ ĦĞĥĦĞĥ ďĸ ėĤþ ċĩďĸ ċĩėĤþ þ^ øĸ č Ēþ^ ĦŖ ċĩĦŖ øĸ ċĩč Ē ġğč Ĉ ĩ Ĉøī ĩ ġøīğč õėĈĭ øřõøřėĈĭ Ħŕ ġû Ĉĥûĸ ĈĥøĽûĸ ĦøĽċĩĦěĸ ċĩĦŕ ěĸ ġû

^ ūŭŲŬ ^ŭ a ŭÑÑ ^ ūŭŲŬ ^ŭ a ŭÑÑ õėĕõĦėĒĥ õėĕõĦėĒĥĆĆčĦþĬ čĦþĬĕĕþč Ĕĭ þč ĔĭĕĕĨijüċĩ ĨijüċĩĩĸĕĩĸĕĞĩĞŕěčĞčĥ ŕěčĞčĥĎĎĞčĬ ĞčĬččijğŖijğŖİĜėĝĄõĨ İĜėĝĄõĨüüĄĦčėĦõĕĥ ĄĦčėĦõĕĥĸčĸčøû ıęĤþĬ øû ıęĤþĬĕĕþčĒĪ þčĒĪĸûĉčİġûĴĈŖ ĸûĉčİġûĴĈŖ


04 เรื่อง

ภาพ

พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai

DATA BA S E

สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรมอาวุโส IG : Ponyo_thesea

ISSUE 555 10 SEP 2018

เชือ ่ ว่าหลายคนคงเคยเกิดอาการท้องร้องตอนดึก จนหน้ามืดคว้าของอร่อยในตูเ้ ย็นออกมากินอย่างเลีย ่ งไม่ได้ แต่จริงๆ แล้วการกินดึกไม่ได้สง ่ ผลเสีย แค่นา�้ หนักขึน ้ เร็วเท่านัน ้ เพราะยังมีสว ่ นท�าให้เกิดโรคร้ายต่างๆ ตามมามากมาย เหมือนกับทีผ ่ เู้ ชีย ่ วชาญด้านอาหารและโภชนาการในสหรัฐอเมริกา กล่าวว่า “สิ่งส�าคัญไม่ใช่การกินอะไร แต่เป็นการกิน ‘ตอนไหน’ มากกว่า”

5

1955 โรคติดกินดึก หรือ Night Eating Syndrome (NES) หมายถึงพฤติกรรม การกินอาหารมากเกินไป ในตอนกลางคืน จนเกิด ผลเสียต่อการนอนหลับ และสุขภาพ พบครัง้ แรก ในปี 1955 โดย ดอกเตอร์อล ั เบิรต ์ เจ. สตันคาร์ด

1

4

โรคไขมัน ใน เส้นเลือด

2

โรคเบา หวาน

5

โรคกรด ไหลย้อน

โรคอ้วน ผิวเหีย ่ วย่น ก่อนวัยอันควร

การกินดึกทำาให้ตอ ้ งรออาหารย่อยกว่า 1-2 ชัว่ โมงกว่าจะนอนหลับสนิท ส่งผลให้ โกรทฮอร์โมน ซึง่ มีสว่ นสำาคัญในการเจริญเติบโตของร่างกายและซ่อมแซมส่วนที่ สึกหรอ หลัง่ ออกมาผิดปกติหรือลดน้อยลง ร่างกายจึงอ่อนแอและมีภม ู ค ิ ม ุ้ กันตำา่ ลง

LATE - NIGHT EATING

87

เมนูทน ่ี ก ั โภชนาการ แนะนำา หาก ทนหิว ยามดึกไม่ได้ จริงๆ

1

3

2

ผลไม้แช่แข็ง ถัว่ พิสตาชิโอ

3

กรีกโยเกิรต ์

4

เนยถัว่

5

แครกเกอร์

จากผลสำารวจ ของ GrubHub นักศึกษา มหาวิทยาลัย คือ กลุ่มคนที่ชอบ สัง่ อาหารมากิน ตอนดึกมากกว่า คนช่วงอายุอื่นๆ ถึงร้อยละ 87

PIZZA DELIVERY

7 PM – 2 AM ในออสเตรเลีย สหรัฐฯ อังกฤษ แคนาดา แ ละอินเดีย ความนิยมของการเสิร์ช คำาว่า ‘Pizza delivery’ และ ‘Chinese delivery’ จะเพิม ่ สูงขึน ้ ตัง้ แต่ชว่ งเวลา 1 ทุ่มถึงตี 2

ที่มา : www.huffingtonpost.com, www.sbs.com, www.webmd.com, www.weightwatchers.com, www.ncbi.nlm.nih.gov

1-2

อาการทีพ ่ บบ่อยในคนติดกินดึก



06 ISSUE 555 10 SEP 2018

AGENDA

01

02

WWW.HUFFINGTONPOST.COM

HTTPS://ABCNEWS.GO.COM

ENTERTAINMENT

PEOPLE

Pink หยุดเล่นคอนเสิรต ์ กลางคัน เพือ ่ ลงไปกอดแฟนเพลงวัย 14 ปี ทีเ่ พิง่ เสียแม่ไป

บทลงโทษน่ า รั ก ๆ เมื่ อ ลู ก สาว วั ย 6 ขวบแอบสั่ ง ของเล่ น จาก Amazon

เป็นช่วงเวลาทีอ่ บอุน่ และน่าประทับใจอย่างมาก เมือ่ Pink นักร้องสาวเพลงพ็อพสัญชาติอเมริกัน หยุดเล่น คอนเสิรต์ กลางคัน ในขณะก�าลังร้องเพลง What about us ที่เมืองบริสเบน ประเทศออสเตรเลีย เพราะเธอ เหลือบไปเห็นป้ายของแฟนเพลงสาวคนหนึง่ ทีเ่ ขียนว่า “ฉันเพิง่ เสียแม่สดุ ทีร่ กั ไปเมือ่ เดือนทีแ่ ล้ว กอดฉันหน่อย เถอะนะ” เธอจึงไม่รอช้า ลงจากเวทีไปกอด ลีอาห์ เมอร์ฟีย์ แฟนเพลงวัย 14 ปีอย่างอบอุ่นและเนิ่นนาน พร้อมกับบอกเธอว่า “อย่าร้องไห้ แล้วทุกๆ อย่างจะ ดีขนึ้ ” ทัง้ ยังยืน่ มือออกไปถ่ายรูปเซลฟีอย่างเป็นกันเอง โดยก่อนหน้านี้ แม่ของลีอาห์ได้ซื้อบัตรคอนเสิร์ตของ Pink ทีซ่ ดิ นียเ์ อาไว้ แต่กลับถูกยกเลิกเนือ่ งจากปัญหา สุขภาพของนักร้องสาวเอง น้าของลีอาห์จึงซื้อบัตร ใบใหม่ให้เธอ เพือ่ มาดูคอนเสิร์ตครัง้ นีท้ บี่ ริสเบนแทน

แคเธอรีน ลันต์ บอกเคตลีน ลูกสาววัยหกขวบของเธอ ว่า ถ้าท�างานบ้านมากกว่าเดิม จะสามารถกดสัง่ ตุก๊ ตา บาร์บี้จากเว็บไซต์แอมะซอนได้ 1 ตัว แต่ปรากฏว่า เคตลีนแอบใช้แอ็กเคานต์แม่ของเธอกดสัง่ ตุก๊ ตาบาร์บี้ และของเล่นอื่นๆ เพิ่มเติมอีกหลายชิ้น รวมแล้วเป็น จ�านวนเงินถึง 350 เหรียญสหรัฐฯ และแม้แคเธอรีน จะมาทราบภายหลังและกดยกเลิกไปบ้าง แต่ของเล่น จ�านวนมากก็ได้มาส่งถึงหน้าประตูบา้ นแล้ว ซึง่ แทนที่ เธอจะดุลูก และขอเงินรีฟันด์ของเล่นคืน เธอกลับ สอนลูกด้วยเหตุผล และพาเคตลีนไปบริจาคของเล่น ทั้ ง หมดให้ กั บ โรงพยาบาลเด็ ก ในรั ฐ ยู ท าห์ แ ทน เพื่อให้เธอเห็นว่าไม่ควรกดสั่งของพร�่าเพรื่อ เพราะ ยังมีเด็กคนอื่นๆ ต้องการสิ่งของเหล่านี้อีกมาก

03

04

QUOTE

“To live is to choose. But to choose well, you must know who you are and what you stand for, where you want to go and why you want to get there.” โคฟี อันนัน, อดีตนักการทูตชาวกานา เลขาธิการยูเอ็นคนที่ 7 และเจ้าของรางวัลโนเบลสันติภาพ

05

WWW.SUNNYSKYZ.COM

WWW.HUFFINGTONPOST.COM

WWW.DEZEEN.COM

LIFESTYLE

ENVIRONMENT

TECHNOLOGY

เค้ ก แต่ ง งานสุ ด เก๋ ! รู ป ยาน มิลเลนเนียม ฟาลคอน

นั ก ด� า น�้ า สเปนช่ ว ยชี วิ ต ฉลาม จากเน็ตจับปลาพลาสติก

ขณะเรียนไฮสกูล แมดดี คาร์ลอส ลองอบคัพเค้กเล่นๆ และโพสต์รปู ขนมทีเ่ ธออบลงในเฟซบุก๊ ส่วนตัว แต่ปรากฏ ว่าหลังจากเปิดให้ออร์เดอร์ ก็มคี นสัง่ เข้ามาจ�านวนมาก จนพืน้ ทีใ่ นห้องครัวทีบ่ า้ นไม่เพียงพอ เธอจึงตัดสินใจเปิด ร้านเบเกอรีเพื่ออบขนมโดยเฉพาะในชื่อ Something Sweet by Maddie Lu และไม่นานมานีเ้ ธอก็ได้รบั ออร์เดอร์ สุดประหลาดจากคูแ่ ต่งงานคูห่ นึง่ ว่าพวกเขาอยากได้ เค้กแต่งงานเป็นรูปยานมิลเลนเนียม ฟาลคอน จาก ภาพยนตร์เรือ่ ง สตาร์วอร์ส ด้วยความตืน่ เต้น เธอและ เพือ่ นร่วมงานในร้านจึงร่วมมือท�าเค้กกันอย่างสุดความสามารถ เพื่อสร้างเค้กก้อนโตก้อนนี้ออกมาอย่าง สมบูรณ์แบบทั้งสัดส่วน สีสัน จนไปถึงรายละเอียด เล็กๆ น้อยๆ ทีแ่ ฟน สตาร์วอร์ส เห็นแล้วต้องยกนิว้ ให้

นักด�าน�า้ สกูบาชาวสเปน Inaki Aizpun ตัง้ ใจมาใช้เวลา วันหยุดเพื่อว่ายน�้ากับฉลามในอาวไบรอน ประเทศ ออสเตรเลี ย แต่ ทั น ที ที่ เ ขาและเพื่ อ นด� า น�้ า ลงไป กลับเจอปลาฉลามพยาบาลขนาดใหญ่ถึง 6 ฟุตครึ่ง ตัวหนึง่ ก�าลังว่ายน�า้ อย่างทุรนทุราย เพราะมีเน็ตพลาสติก ติดอยู่ที่กราม ซึ่งหากไม่ได้รับการช่วยเหลือโดยเร็ว ฉลามตัวนีก้ จ็ ะไม่สามารถกินอาหารได้และตายในทีส่ ดุ เขาจึงตัดสินใจว่ายน�้าเข้าไปใกล้ตัวมันมากขึ้น และ พยายามดึงเชือกที่ติดกับเน็ตออก แม้ตอนแรกฉลาม จะท�าท่าทีขดั ขืนและดูเกรีย้ วกราด แต่ Inaki ก็ตอ่ สูก้ บั ความกลัวเพื่อช่วยชีวิตมัน สุดท้ายเขาก็สามารถดึง ตาข่ายออกมา และเจ้าฉลามก็ได้รับอิสรภาพอีกครั้ง

ห้ อ งสมุ ด ประชาชนนิ ว ยอร์ ก เปิดตัว Insta Novels ให้ผค ู้ น เข้าถึงวรรณกรรมได้งา่ ยขึน ้ ห้องสมุดประชาชนนิวยอร์ก ปิง๊ ไอเดียท�าโปรเจ็กต์ Insta Novels น�าเนื้อหาของวรรณกรรมคลาสสิกมาเผยแพร่ ในรูปแบบอีบุ๊กบนอินสตาแกรมสตอรี และเก็บไว้ที่ Highlights เพื่อให้ผู้อ่านยุคดิจิตอลได้มีโอกาสเข้าถึง งานวรรณกรรมได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น แถมเชิญศิลปิน หลายท่านมาช่วยออกแบบเลย์เอาต์ในแต่ละบทของ หนังสือให้น่าอ่านและมีสีสันสะดุดตา โดยตอนนี้ได้ เปิดตัวหนังสือเล่มแรก คือ อลิซในดินแดนมหัศจรรย์ และเร็วๆ นี้ก็จะตามมาด้วย The Yellow Wallpaper และ The Metamorphosis หากใครอยากเปิดประสบการณ์ การอ่านแบบใหม่ เชิญเข้าไปฟอลโลว์อินสตาแกรม ของ NYPL ได้เลย



08

T H E C O N V E R SAT I O N

เรื่อง

ภาพ ปริญญา ก้อนรัมย์ บรรณาธิการบทความ kuzher_@hotmail.com

กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร หัวหน้าช่างภาพ kritdhakorn@gmail.com

ISSUE 555 10 SEP 2018

WHEN FALLING I

A DEEP HOLE, YOU H TWO CHOICES: S

YOURSELF IN THE H

FOREVER OR FIGHT B AND เราไม่ ไ ด้ เ ห็ น ผลงานของ ‘เคน’ - ธี ร เดช วงศ์ พั ว พั น ธ์ บนจอภาพยนตร์ ม านานกว่ า 9 ปี นับตั้งแต่บทบาทพระเอกหล่อทะลุแป้งในภาพยนตร์ เรื่ อ ง รถไฟฟ้ า ... มาหานะเธอ และตื่ น เต้ น มากๆ ที่เขามารับบทบาทในภาพยนตร์เรื่องใหม่ของ พิง ล�าพระเพลิง เรื่อง The Pool หนังทริลเลอร์พล็อตลึกซึง ้ ของผูช ้ ายคนหนึง ่ ทีต ่ กไปในสระว่ายน�า้ ลึก 6 เมตร พร้อมต้องเจอสภาวะ ที่ ตั ว เขาต้ อ งจั ด การกั บ หลายสิ่ ง หลายอย่ า งที่ เ ขา ควบคุมไม่ได้ ช่วงเวลา 9 ปีที่ผ่านมา มีหลายสิ่งหลายอย่าง เปลี่ยนไปในชีวิตเขา ทั้งบทบาทของสามี บทบาทของ คุณพ่อลูกสอง งานเบื้องหลังกับการเป็นผู้จัดละคร คู่กับ ‘หน่อย’ - บุษกร วงศ์พัวพันธ์ ภรรยาของเขา ซึ่งเส้นทางชีวิตและผลงานที่ผ่านมา เราคงไม่ต้อง ตั้งค�าถามกับฝีมือการแสดง และการวางตัวยืนระยะ ในวงการของเขาอีกต่อไปแล้ว สิ่งที่เราสนใจและอยากพูดคุยกับเขาในวันนั้น จึงเป็นเรื่องอีกมุมหนึ่งในชีวิต ที่เขาเรียกมันว่าเป็น ‘หลุม’ ในแต่ละช่วงชีวต ิ ไล่ไปตัง ้ แต่จด ุ เริม ่ ต้นเส้นทาง นักแสดง ทีเ่ ขาบอกกับเราว่าไม่ได้เริม ่ ต้นจากความรัก ด้วยซ�า้ ความรูส ้ ก ึ ว่างเปล่าในวันทีป ่ ระสบความส�าเร็จ สูงสุดกับการแสดง การออกไปค้นหาและการมอง ความสุขจากส่วนเล็กๆ ในโลกของเขาอีกครั้ง ลองไปอ่านบทสัมภาษณ์ชน ิ้ นีข ้ องเขา เพือ ่ รูจ้ ก ั ผู้ชายคนนี้ให้ดีขึ้น

CLIMB

OUT

THE LIGHT


09 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

NTO

HAVE HUT

HOLE

BACK TO


เก้าปีทห ่ี า่ งหายไปจากวงการภาพยนตร์ คิ ด ถึ ง บรรยากาศอะไรถึ ง กลั บ มารั บ งานแสดงอีกครั้ง

จริ ง ๆ อยากเล่ น อยู ่ ต ลอดนะ เพราะหนังมันพาเราเปลี่ยนบรรยากาศ เปลีย่ นมุมมอง ได้ไปเจอกับคนใหม่ๆ ทีเ่ รา ไม่เคยเจอ แต่เหมือนกับว่าที่ผ่านมาไม่มี หนังทีเ่ ราอยากเล่น แล้วถ้าจะรับก็อยากจะ เล่นบทที่แตกต่างจากเดิมที่เคยท�า หนังที่ ติดต่อเข้ามาก็จะเป็นแนวโรแมนติกคอเมดี้ เสียส่วนใหญ่ ซึ่งผมก็รู้สึกเฉยๆ เพระว่า ในละครผมก็เล่นแบบนัน้ อยูแ่ ล้ว คือการที่ ท�าสิง่ เดิมมันก็มที งั้ ข้อดีขอ้ เสีย ถ้าท�าสิง่ เดิม แน่นอนว่าเราก็คงถนัดอยูแ่ ล้ว แต่วา่ แพสชัน หรื อ ความอยากที่ มี ใ นตั ว มั น ก็ ส ามารถ หมดไปได้ แต่ถา้ เราท�าสิง่ ใหม่ ความท้าทาย ที่เข้ามามันก็ทา� ให้เราตื่นเต้นอีกครั้ง ตอนที่เขาบอกว่ามีหนังของ พี่พิง ล�าพระเพลิง ติดต่อมา ผมก็ถามว่าเกีย่ วกับ อะไร เขาบอกว่าบทของผมเป็นเรื่องของ คนที่ติดอยู่ในสระว่ายน�า้ ผมก็ เฮ้ยเหรอ น่าสนใจ ฟังคอนเซ็ปต์ว่าผมต้องติดใน สระว่ายน�้ากับแฟนแล้วขึ้นมาไม่ได้ ก็รู้สึก สนใจเลยว่าท�าไมวะ เหตุการณ์นี้มันคือ อะไร เอาเป็นว่าไม่รสู้ กึ ตืน่ เต้นอย่างนีม้ านาน หลายปีแล้ว

สภาวะของตั ว ละครที่ เ จอในเรื่ อ งเป็ น อย่างไร

เหมื อ นกั บ ว่ า คนเราช็ อ กแหละ ว่าสิ่งนี้มันเกิดขึ้นกับเราได้ยังไงวะ ซึ่งพอ เกิดขึ้นแล้วยังไงเราก็ต้องเอาตัวรอดให้ได้ มันคือสภาวะที่คนต้องหาทางออกให้ได้ เรือ่ งทีต่ วั ละครพูดมันคือการบอกว่า ก่อนที่ คนเราจะผ่านอุปสรรคอะไรต่างๆ ได้ เราต้อง เอาชนะใจตัวเองก่อน คือตัวละครนี้มันมี ปมที่รู้สึกว่าชีวิตตัวเองไม่มีคุณค่า หน้าที่ การงานก็ไม่ดี ท�าอะไรก็ไม่ส�าเร็จสักอย่าง เป็นคนทีม่ ปี มด้อยอยู่ ซึง่ การทีเ่ ราติดอยูใ่ น สระว่ายน�า้ มีจระเข้ มีอปุ สรรคอะไรก็แล้วแต่ สิ่งที่จะท�าให้เราข้ามผ่านมาได้คือเราต้อง เห็นคุณค่าของชีวิตก่อน เพราะต่อให้เรา ไม่ติดอยู่ในสระว่ายน�้า แต่ถ้าเราไม่เห็น คุณค่าของตัวเราเอง ก็เหมือนว่าเราก�าลัง ตายทั้งเป็นอยู่แล้วหรือเปล่า ตรงนี้มันคือ บททดสอบที่ทา� ให้เราตื่นขึ้น

สนใจสภาวะการติ ด อยู่ ใ นหลุ ม แคบๆ แบบนัน ้ ถ้าเปรียบเทียบกับชีวต ิ ของคุณ ในแต่ละช่วงวัย เหมือนหรือแตกต่างกัน บ้างไหม

ผมว่านะ ในแต่ละช่วงวัยมันก็จะ มี ป ั ญ หาในแต่ ล ะสภาวะไม่ เ หมื อ นกั น ในตอนวัยรุน่ ก็อาจเป็นเรือ่ งความรัก พอโต ขึ้นมาก็เป็นเรื่องการงานที่มันเป็นปัญหา

กับเรา ปัญหามันอาจจะคนละรูปแบบ แต่ วิธีแก้ผมว่ามันมีอยู่ทางเดียว เราต้องมอง ไปในใจเราให้ได้กอ่ น เราต้องยอมรับตัวเอง ให้ได้ก่อน ให้อภัยตัวเองและเห็นคุณค่า ของตัวเอง เพราะสุดท้ายสิง่ ทีอ่ ยูร่ อบนอก มันก็ไม่สา� คัญเท่ากับความรูส้ กึ นึกคิดของ เรา สิง่ ทีอ่ ยูร่ อบข้างมันตัดสินความเป็นคน ของเราไม่ได้หรอก ต่อให้คนบอกว่าเราดี เราเก่ง แต่ถ้าตัวเราไม่ได้พอใจตัวเราเอง เราก็ไม่มีความสุขในชีวิตอยู่ดี แต่ถ้าเรา มองให้แคบลง เพื่อน ครอบครัว คนรัก สิ่งเหล่านี้ต่างหากที่ส� าคัญกว่าสังคมที่ ครอบอยู่ แล้วชีวต ิ คุณล่ะ ตอนเด็กๆ ติดอยูใ่ นหลุม อะไร

จริ ง ๆ ผมเริ่ ม ท� า อาชี พ นั ก แสดง เพราะว่าอยากได้เงิน ผมไม่ได้เป็นนักแสดง เพราะว่าผมรักอาชีพนี้ ทีจ่ ริงผมอยากกลับ ไปเรียนต่อ ผมเรียนภาพยนตร์ ผมชอบ ถ่ายภาพ แล้วตอนนั้นไม่มีเงินไปเรียนต่อ แล้ ว คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ บ อกว่ า ไม่ ส ่ ง แล้ ว เศรษฐกิจมันไม่ดี ถ้าจะไปเรียนต่อต้อง หาเงิ น ไปเอง คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ เ ลยเสนอ ทางเลือก เพราะท่ า นเคยอยู ่ ในวงการ มาก่อน ท่านบอกว่า งัน้ มาท�างานก่อนไหม แล้วถ้ามีเงินค่อยกลับไปเรียน เราก็เลยมา ท�างานเพราะว่าอยากได้เงิน แต่อีกสิ่งหนึ่งที่เราแสวงหาต่อมา ก็คือ พอเราท�างานตรงนี้มันมีเรื่องของ บุคคลภายนอกค่อนข้างเยอะ เพราะงานเรา มันเป็นตัวตัดสินชีวิตเราเหมือนกัน แม้ว่า เราจะอยากได้แค่เงินเท่านั้นก็เหอะ แต่ สุดท้ายเสียงตอบรับตอนนัน้ มันออกมาว่า เราท�าได้ไม่ดี ตั้งแต่ช่วงแรกๆ เลยที่เรา ได้ยนิ แบบนัน้ สิง่ แรกๆ ทีเ่ ราวิง่ หาตอนนัน้ เลยคื อ ผมอยากได้ ก ารยอมรั บ จากคน ทัว่ ไป เราอยากให้คนเปลีย่ นค�าพูดถึงเรา ว่ า ในฐานะนั ก แสดง เราก็ ใ ช้ ไ ด้ นี่ ห ว่ า ไม่อยากให้คนบอกว่าเล่นได้ไม่ดี เลยเริ่ม ตั้งใจกับอาชีพนี้มากขึ้น หาวิธีว่าจะท�า ยังไงเมื่อเราต้องอยู่กับสิ่งนี้ แม้ว่าจะเป็น สิ่งที่เราไม่ได้อยากตั้งแต่แรก แต่เราต้อง หาวิธเี พือ่ ดีลกับมันให้ได้ อย่างน้อยเราต้อง ท�าให้คนยอมรับเราให้ได้ว่าเราโอเค

ชีวิตแบบนั้นแลกมาด้วยอะไรบ้าง

ผมไม่เคยมองตัวเองว่าต้องมาพูด โปรโมตแบบนี้ ต้องมาขายของ ต้องมา ออกรายการ ต้องมาพูดเพือ่ ให้คนมาสนใจ เรา ต้ อ งมาท� า ในสิ่ ง ที่ เ ราฝื น ใจตั ว ตน ของเรา เพราะจริงๆ เราไม่ใช่คนแบบนี้ เราไม่อยากพูดถึงใคร (หัวเราะ) เราก็คง อยากจะพู ด กั บ คนที่ เ ราอยากคุ ย ด้ ว ย

คือสภาวะของการเป็นนักแสดงมันไม่ใช่ ธรรมชาติของเราดีกว่า เราต้องแลกด้วย การฝืนธรรมชาติของตัวเองตัง้ แต่เริม่ ท�างาน แล้วก็เหมือนกับว่าเราเอาตัวตนของเรา บางอย่าง เอาแพสชันของเราบางอย่าง เก็บมันไป พับเข้าลิน้ ชักไว้กอ่ น ซึง่ ในวัยหนึง่ มันก็ทรมานนะ คือหนุ่มๆ เรามีไฟ แต่ไฟ ของเราต้องเอาไปไว้ในนัน้ ก่อน แล้วท�าอีก สิ่งหนึ่งขึ้นมา แล้วสิง่ ทีค ่ ณ ุ ท�าได้คอ ื อะไร นัง่ มองแพสชัน ของตัวเองถูกแช่ไว้ในลิน ้ ชักอย่างนัน ้ เหรอ

คือมันก็ค่อยๆ คลาย ช่วง 5 ปีแรก ที่ เ ริ่ ม ท� า งาน เราก็ รู ้ สึ ก ว่ า ไอ้ แ พสชั น พวกนี้ การถ่ายภาพ ท�าภาพยนตร์ เดี๋ยว เราจะกลับมาท�ามัน แต่พอมันเริ่มผ่าน 5 ปีแรกของการท�างานไป มาเข้า 5 ปีหลัง บางทีเราเองก็เหมือนลืมไปเหมือนกันว่า เราเคยอยากท�าสิ่งนี้เว้ย เราเคยเป็นคน แบบนี้เว้ย เราไม่จา� เป็นต้องท�าสิ่งนั้นแล้ว ก็ได้มงั้ มันเป็นช่วงทีเ่ รามีเงิน เราอยากท�า อะไรเราก็ท�าได้ ซึ่งมันก็ตอบโจทย์ชีวิต อีกแบบหนึ่ง ว่าชีวิตผมก็มีอิสระในแบบ ที่เพื่อนในวัยเดียวกันบางคนเขาก็ยังท�า ไม่ได้ แต่ผมท�าได้แล้ว แต่ในขณะเดียวกันก็มชี ว่ งทีเ่ หมือน กั บ ว่ า เราประสบความส� า เร็ จ ทุ ก อย่ า ง เรามีชื่อเสียง แต่เรากลับไม่รู้สึกแฮปปี้ ถามตัวเองว่านีเ่ ราก�าลังท�าอะไรอยูว่ ะเนีย่ เหมือนเรา lost เราไม่มคี วามสุขในสิง่ ทีไ่ ด้ มา คือมีช่วงหนึ่งทีเ่ ราก็เคยคิดแบบนั้นนะ ว่าเราหาเงินเยอะเพือ่ เป็นอิสระจากทุกอย่าง แต่วันนี้ไม่ได้คิดแบบนั้นแล้ว ไม่ได้อยาก จะนั่งอยู่เฉยๆ เพราะเราก็ตั้งค�าถามกับ อิสระด้วยนั้นไง โอเค ถ้าเรามองว่าถ้าเรา มีเงินเพือ่ ทีจ่ ะได้ไม่ตอ้ งเป็นทาสของระบบ แต่จริงๆ แล้วมันก็ไม่ใช่อยู่ดี ถ้าถามผม คนเราถ้าได้ทา� ในสิ่งที่รัก ตรงนั้นต่างหาก ทีค่ อื อิสระ ในวัยหนึง่ เราอาจจะคิดว่ามีเงิน แล้วจะแลกมากับค�าว่า freedom ได้ แต่ มันไม่ใช่ เฮ้ย เราต้องได้ท�าอย่างที่เรารัก ด้วย เรามีชวี ติ อย่างทีเ่ ราอยากเป็นหรือยัง เรามีสุขภาพดี ครอบครัวเรามีความสุข หรื อ ยั ง ตรงนี้ แ หละที่ ท� า ให้ เ ราเชื่ อ ว่ า คืออิสระในชีวิต ไม่ใช่ว่าเราต้องหยุดงาน เราต้ อ งออกไปนั่ ง เรื อ ยอชต์ ส ามเดื อ น ไม่ใช่เลย

ISSUE 555 10 SEP 2018

“ในขณะเดียวกันก็มีช่วงที่เหมือนกับว่าเราประสบความส�าเร็จทุกอย่าง เรามีชื่อเสียง แต่เรากลับไม่รู้สึกแฮปปี้ ถามตัวเองว่านี่เราก� าลังท�าอะไรอยู่ วะเนี่ย เหมือนเรา lost เราไม่มีความสุขในสิ่งที่ได้มา”

JUMPING INTO THE DEEP HOLE

10


11 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

CLIMBING OUT OF THE DARKNESS มันเหมือนตัวเองออกมาจากหลุม หนึ่ง เพื่อไปสู่อีกหลุมหนึ่ง

ใช่ๆ (หัวเราะ) คือตอนนีผ้ มรูแ้ ล้ว ว่ า ในงานหลายๆ อย่ า งที่ ผ มท� า อย่างงานผู้จัดละครที่เพิ่งมาท�ากับ คุณหน่อยก็มบี ทละครทีผ่ มต้องเทสต์ เยอะแยะมาก มี ห ลายเหตุ ก ารณ์ มีหลายสิ่งที่ต้องท�าทั้งที่ไม่ชอบ คือ พอผ่ า นมาถึง จุดหนึ่ง ผมแต่ ง งาน เป็นสามีภรรยากับคุณหน่อย แล้ว คุณหน่อยต้องการอีกความท้าทาย หนึ่งในชีวิตด้วยการเป็นผู้จัดละคร แต่ผมก็ไม่อยากท�าไง คือเราเพิง่ ดีลกับ อาชีพนักแสดงของตัวเองได้ด้วยซ�้า ผมก็ ป ฏิ เ สธภรรยาตลอดเวลาว่ า อย่าท�า ไม่อยากท�า มันเป็นสิ่งที่ วุน่ วาย แต่ในฐานะสามีภรรยา ถ้าเรา อยากมีชวี ติ ทีร่ าบรืน่ ผมต้องเสียสละ แล้วเลือกที่จะท�า ซึง่ ในช่วงแรกทีท่ า� มันท�าให้ผม ไม่มคี วามสุขกับงานเลย แต่มาถึงวันนี้ ผมเริม่ หาจุดทีผ่ มเริม่ รูแ้ ล้วว่าในฐานะ ผูจ้ ดั ละครผมสนุกกับอะไรได้บา้ ง อ๋อ ผมดูตรงนีไ้ ด้เว้ย ผมท�าสิง่ นีแ้ ล้วมีไฟว่ะ ยิ่งพอเราโตขึ้น ผมยิ่งรู้สึกว่าแพสชัน ในชี วิ ต มั น เป็ น สิ่ ง ที่ ส� า คั ญ มาก ส�าหรับใครก็ตาม คือถ้าเราปล่อยให้ แพสชันเราดับไปเรื่อยๆ ชีวิตเราจะ ไม่ มี ค ่ า แต่ ถ ้ า เราต้ อ งอยู ่ กั บ สิ่ ง ที่ เราไม่ อ ยากท� า ก็ จ งหาแพสชั น หาประโยชน์ ข องตั ว เองให้ เ จอ เพื่ อ ที่ จ ะเข้ า ไปท� า สิ่ ง นั้ น มั น ก็ มี ความสุขได้เหมือนกัน

จริงๆ ทุกช่วงเรามีโอกาสเจอหลุม ในชี วิ ต อย่ า งนี้ อ ยู่ แ ล้ ว หรื อ เปล่ า อยู่ที่เราจะออกมาได้หรือไม่ได้

ตั้งแต่เด็กๆ ผมเชื่อว่าทุกคน อยากทีจ่ ะมี อยากทีจ่ ะเป็น อยากทีจ่ ะ ก้าวหน้าขึ้นๆ แล้วเราก็ได้ท�าสิ่งนั้น ท�าสิง่ นี้ ความอยากมันก็พาเราไปถึง จุดหนึ่งที่อยากจะเป็นได้ แต่สุดท้าย บางอย่างมันอาจเกิดขึ้นเร็วเกินไป เราต้ อ งกลั บ มามองก่ อ นว่ า เฮ้ ย ลึกๆ แล้วตัวเราต้องการอะไรวะ เราต้อง ไม่ลมื ความสุขลึกๆ ว่าแพสชันทีต่ วั เรา ต้องการหรืออยากจะมีจริงๆ แล้วมัน คืออะไร บางทีเราไปท�าบางอย่าง มากเกิ น ไป เสี ย ความเป็ น ตั ว ตน มากเกินไป ลึกๆ มันก็บั่นทอน เอ๊ะ พอเรากลับมานั่งย้อนเราถึงรู้ว่า อ๋อ ทีค่ วามสุขเราหายไปเพราะเราลืมท�า อย่างนู้น เราลืมท�าในสิ่งนี้ มันเป็นแค่หลุมทีเ่ หมือนกับว่า

เราเอาขาของเราลงไปในสิ่งนี้ แล้วก็ แช่มนั อยูอ่ ย่างนัน้ อาจจะไม่ตอ้ งเป็น สระว่ า ยน�้ า ลึ ก หกเมตรแบบที่ ผ ม ติดอยูเ่ หมือนในหนังก็ได้ อาจจะเป็น แค่ ห ลุ ม หนึ่ ง ที่ ลึ ก เท่ า เข่ า เราหรื อ เท่าเอวเราก็ได้ เราจะปีนมันขึ้นมา ได้ไหม ได้ แต่ด้วยอะไรก็ตามที่มัน บังตาเราอยู่ หรือท�าให้เราคิดไม่ออก เราก็เลือกที่จะไม่ขึ้นมาเอง ก็จมอยู่ ในนั้น ง่ายๆ ก็ปีนออกมาสิ ถ้าเป็น ธรรมะ เขาบอกว่าถ้าเราแบกของ หรือถือของไว้มนั ก็หนัก เราเลือกทีจ่ ะ ถือของสิ่งหนึ่งแล้วมันเริ่มเยอะขึ้น เรื่อยๆ มันก็หนักขึ้นไปเรื่อยๆ ถ้าถือ ไม่ไหวเขาก็บอกให้ปล่อยวาง เราก็เลือก วางบางชิน้ ไหม ไม่ตอ้ งถือทุกอย่างไง เพราะเราถือไม่ไหว

กั บ คนอื่ น สมมติ บ อกว่ า ตั ว เอง เป็นช่างภาพ เป็นศิลปิน แต่ถ้าเรา อยากได้เงินเราต้องถ่ายอะไร เราก็ตอ้ ง ถ่ายสิ่งที่สปอนเซอร์เขาก�าหนดมา หรือเปล่า ทุกอย่างมันมีกรอบของมัน อยู่ ทุกสิ่งที่เราคิดฝันมันก็ต้องถูก ตั ด ทอนลงไป ไอเดี ย แบบนี้ มั น ไม่เวิร์ก มันไม่ขาย มันมีเรื่องที่มา บั ญ ญั ติ อี ก มากมาย สุ ด ท้ า ยแล้ ว ก็คืองาน เราต้องหาข้อดีของงาน ให้ได้ หาแพสชันจากสิ่งที่เราไม่ถนัด ให้ได้ แต่ในขณะเดียวกันเราก็ต้อง ยอมรับและปรับตัวให้ได้ว่าในโลก ความเป็นจริงมันเป็นแบบนีว้ ะ่ เราจะ เอาแพสชันของเราใส่ไปทัง้ หมดไม่ได้ บางอย่ า งเราก็ ต ้ อ งยอมรั บ ความคิดเห็นของคนอื่น

มาค้นพบวิธีปีนออกมาตอนไหน

การมองอะไรแบบเหมารวมมันท�าให้ ชีวิตเราขาดรายละเอียดไปใช่ไหม

ไม่กี่ปีมานี้เองนะ เพราะมันก็ มีชว่ งหนึง่ ทีผ่ มท�างานน้อยลง เราคิด แล้ ว ว่ า ถ้ า เรามี เ งิ น และเราท�า งาน น้อยลง ถ้ามาชัง่ น�า้ หนักดูมนั เหมือน ว่าเรามีอสิ ระมากขึน้ คิดแบบนัน้ เพือ่ ให้มันเป็นรูปธรรมขึ้นมา แต่อย่างที่ บอกว่ามันอาจจะยังไม่ใช่คา� ตอบทีเดียว เพราะค�าตอบมันคืองานเยอะงานน้อย ไม่เกีย่ ว เราได้ทา� ในสิง่ ทีเ่ รารักหรือยัง เราได้เป็นคนทีเ่ ราอยากเป็นหรือเปล่า ตรงนี้ต่างหากที่ท�าให้คนเราแฮปปี้ หรือไม่แฮปปี้ เพราะตอนแรกเราไป คิดว่าหรือเราท�างานเยอะไป มัวแต่ หาเงินไม่ได้ใช้ชีวิต เรารู้สึกว่าต้อง ท�างานให้นอ้ ยลง แล้วก็เทีย่ วให้มากขึน้ ใช้ชวี ติ ให้มากขึน้ มันก็ดใี นอย่างหนึง่ แต่สุดท้ายแล้วมันก็ไม่ได้ตอบโจทย์ ขนาดนัน้ แล้วความสุขมันคืออะไรวะ ความสุขมันคือการทีเ่ ราต้องไม่โกหก ตัวเองก่อน ว่าเราอยากท�าอะไรวะ สิง่ ไหนทีเ่ ราท�าแล้วมีความสุข เราต้อง เอาสิ่งนั้นกลับมาท�าหรือเปล่า คื อ บางที เ ราอาจจะไปมอง องค์รวมใหญ่ของมันว่าอาชีพนี้เรา ไม่ อ ยากท� า แต่ นั่ น คื อ องค์ ใ หญ่ ของมัน แต่สุดท้ายแล้วอาชีพแต่ละ อาชี พ มั น มี ข ้ อ จ� า กั ด ของมั น อยู ่ ผมเคยคุยกับเพื่อนที่ผมรู้สึกว่าเขา ได้ท�าแพสชันของเขา เรียนมาพอจบ ก็ไปท�าอาชีพนี้เลย ผมก็ถามเขาว่า เป็นยังไงวะ การทีเ่ ราได้ทา� ในสิง่ ทีเ่ รา อยากท�า เขาก็บอกว่า กูไม่ได้มคี วามสุขกว่ามึงหรอก (หัวเราะ) เพราะ ทุกอาชีพมันมีขอ้ จ�ากัด พอเราท�างาน มันมีระบบ มันมีสิ่งที่ต้องเกี่ยวข้อง

สุดท้ายมันไม่เวิรก์ รายละเอียด มันเป็นสิ่งส�าคัญไง ยิ่งรายละเอียด เล็กๆ น้อยๆ มันยิ่งท�าให้สิ่งใหญ่ๆ ดีขึ้น


12 ISSUE 555 10 SEP 2018


FINDING YOUR OWN QUALITY OF LIFE

13 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

“แต่ถ้าเราต้องอยู่กับสิ่งที่เราไม่อยากท�า ก็จงหาแพสชัน หาประโยชน์ของตัวเองเจอเพื่อที่จะเข้าไปท�าสิ่งนั้น มันก็มีความสุข ได้เหมือนกัน”

เราถูกสอนว่าโตขึ้นต้องเรียนจบ มีงานท�า แต่ ง งาน มี ลู ก คุ ณ คิ ด ว่ า อะไรที่ ส� า คั ญ ในการท�าให้ชีวิตเราสมบูรณ์

ยิง่ โตขึน้ เรายิง่ รูว้ า่ ชีวติ คนเรามันไม่ควร สมบูรณ์ (หัวเราะ) ชีวิตมันต้องมีแย่ มีดี เพราะว่าสิง่ เหล่านัน้ มันท�าให้เราโตขึน้ ถ้าเรา ไม่มีบทเรียนอะไรเลย ชีวิตคุณอาจเป็นคน โชคดี ก็ ไ ด้ แต่ มั น ไม่ ท� า ให้ เ ราเรี ย นรู ้ อ ะไร หรือเปล่า ในบางทีมนั ก็ตอ้ งเจอให้ครบทัง้ สอง อย่าง แต่แน่นอน คนเราก็มุ่งหวังให้เกิดแต่ สิ่งดีๆ ในชีวิตเรา ไม่มีใครอยากให้เกิดสิ่ง ร้ายๆ เรามองโลกในแง่บวก มองโลกในแง่ดี แต่ในขณะเดียวกันเราต้องเผื่อพื้นที่เอาไว้ว่า ในความหวังหรือความฝันของเรา สุดท้ายแล้ว บางครั้งมันอาจจะเป็นจริง แต่บางครั้งมันก็ ไม่เป็นจริงไง ซึ่งเราก็ต้องเรียนรู้กับมันแล้ว ก็เดินหน้าไป คือพอเราหวังว่ามันจะดีแล้ว กลับไม่เป็นอย่างหวัง จนเรากลายเป็นคน มองโลกในแง่ร้ายไปเลยมันก็ไม่ถูกนะ ยังไง เราก็ต้องคิดบวกเอาไว้ ผลลัพธ์มันเป็นยังไง ก็ต้องเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ต้องยอมรับ

แสดงว่าใช้ค�าว่าชีวิตที่สมบูรณ์กับมนุษย์ อาจจะเกินไป เราควรใช้ค�าว่าอะไร ชีวิตที่มี คุณภาพเหรอ

ใช่ ชีวิตที่มีคุณภาพ อย่างวันนี้ผมให้ ความส�าคัญกับครอบครัวก่อน สุดท้ายแล้ว ครอบครัวคือคนที่ตัดไม่ขาด ยังไงเราต้องอยู่ กับคนเหล่านีต้ ลอดชีวติ แม้เราจะรูส้ กึ น้อยใจ โกรธ หรือเบื่อ แต่เราจะรู้ว่าชีวิตต้องเป็น อย่างนี้ และคนเหล่านี้คือคนที่ส�าคัญกับเรา ทีส่ ดุ ไม่วา่ อะไรจะเกิดขึน้ อย่างน้อยมันมีพนื้ ที่ ปลอดภัยของเรา ถ้าครอบครัวดี มันเหมือน พื้นฐานเราดีแล้ว เรื่ อ งต่ อ มาที่ ส� า คั ญ คื อ เรื่ อ งสุ ข ภาพ มันจริงนะ เวลาทีเ่ ราป่วยหรือเป็นอะไร เราจะ คิดว่ามันไม่มีประโยชน์เลย บางทีท� างาน ไปเยอะๆ แล้วต้องมาเป็นแบบนี้มันไม่สนุก นีเ่ ป็นบทเรียนเลยตอนทีพ่ อ่ ผมป่วย และเรารู้ เลยว่าไม่มีคนป่วยคนไหนที่รู้ว่าตัวเองป่วย แล้วมานั่งมองย้อนไปแล้วคิดว่า โธ่ รู้อย่างนี้ เราท�างานมากกว่านี้ดีกว่า ไม่มี ผมไม่เชื่อ และไม่ คิ ด ว่ า พ่ อ ของผมคิ ด อย่ า งนั้ น นะ แต่สงิ่ ทีพ่ อ่ และผมคิดคือ รูอ้ ย่างนีเ้ ราน่าจะใช้ เวลาด้วยกันมากกว่านีน้ ะ คือตรงนีม้ นั ส�าคัญ กว่า เราได้รู้ว่าการใช้ชีวิตมากไปอย่างไม่มี ประโยชน์ ท�างาน ปาร์ตี้ กินเหล้า ดูดบุหรี่ ใช้ ชี วิ ต โหด คื อ ตอนหนุ ่ ม ๆ อาการเรายั ง ไม่แสดงออกไง เด็กๆ เราก็ทา� งานแล้วก็ไม่เห็น เหนือ่ ย ไม่นอนก็ไม่เห็นเป็นไร ยังไปท�างานต่อ ได้ แต่พอโตขึน้ ก็เริม่ เห็นผลแล้ว เราก็ตอ้ งรูต้ วั เดี๋ยวแต่ละคนก็ต้องรู้ รู้เร็วหรือช้า ถ้ารู้เร็ว ก็โชคดีไป มันก็มีประโยชน์กับตัวเรา

แล้วมีเรื่องอื่นอีกไหม

ที่เหลือก็เป็นเรื่องงานแล้ว เราได้ท�า สิ่งที่เราชอบหรือเปล่า ทุกวันนี้งานอดิเรก อย่างการถ่ายรูปมันคือแพสชันของผม ผมก็ เอามาท�าอย่างเต็มที่ มันคือความสุขเลยล่ะ ไม่ใช่งาน ผมจะไม่ลมื ความเป็นตัวตนของผม ไปว่าผมชอบถ่ายรูปนะ ผมชอบเที่ยว ผมก็ เดินทาง แต่พอตอนนี้มีครอบครัวแล้วเราก็ เอาครอบครัวเราไปด้วย ท�าให้เรารูส้ กึ ว่า เออ เราไม่ ข าด เราเป็ น คนแบบนี้เ ราไม่ ห ลอก ตัวเองว่าเราชอบอะไร

พู ด ถึ ง ชี วิ ต ครอบครั ว บ้ า ง ผู้ ช ายทุ ก คน ควรสัมผัสไหมชีวิตแบบนี้

ไม่นะ ผมไม่ได้บอกว่าเป็นแบบไหน แล้วดี ก่อนหน้านีเ้ รือ่ งลูกเองผมก็ไม่ได้มองว่า ตัวเองจะเป็นพ่อคนได้นะ แต่ผมมองตัวเอง ว่าผมเป็นคนที่ต้องมีชีวิตคู่ ผมไม่ใช่ผู้ชาย ที่อยากจะใช้ชีวิตไปเรื่อยๆ โดยที่ไม่มีใคร อย่างนั้นไม่ใช่แน่ๆ แต่พอผมแต่งงานปุ๊บ กลายเป็ น ว่ า คุ ณ หมอบอกว่ า ภรรยาผม มีลูกยาก เพราะว่าเขามีปัญหาเรื่องระบบ ภายใน ถ้าแต่งงานเมื่อไหร่ไม่ต้องคุมก�าเนิด เลย ทันทีทผี่ มจดทะเบียนกันทีอ่ า� เภอ เราก็เลย หยุ ด การคุ ม ก� า เนิ ด จดทะเบี ย นตุ ล าคม เดื อ นธั น วาคมคุ ณ หน่ อ ยท้ อ ง (หั ว เราะ) คุณหมอ... (ลากเสียงยาว) เรื่องลูก ผมไม่ได้ แพลน ไม่ได้มองตัวเองเลยว่าจะเป็นพ่อคน คนชอบถามผมว่ า ตอนพบหน้ า คุณหน่อยแล้วรูเ้ ลยใช่ไหมว่านีค่ อื ผูห้ ญิงทีผ่ ม ต้องอยูด่ ว้ ย ผมบอกว่า ผมไม่รวู้ ะ่ มันไม่เหมือน ในละคร ผมรู้แค่ว่าวันที่เราคบกันอยู่ เรามี ความสุขกับเขา ปัญหามีไหม มี ทะเลาะกันไหม มี แต่ผมรู้สึกลึกๆ ในใจ ไม่ว่าผมทะเลาะ กั บ เขามากแค่ ไ หน ผมก็ ไ ม่ อ ยากเลิ ก กั บ ผู ้ ห ญิ ง คนนี้ ผมเลยรู ้ สึ ก ว่ า สามารถที่ จ ะ ใช้ชีวิตกับผู้หญิงคนนี้ได้ นี่คือคู่ชีวิตของเรา

การมีลูกล่ะเปลี่ยนคุณไหม

เรื่ อ งลู ก ผมค่ อ ยมาเรี ย นรู ้ ที ห ลั ง คือผู้ชายเราไม่ได้อุ้มท้อง เราก็จะไม่รู้สึกถึง ความผูกพันเท่ากับคนเป็นแม่ คุณหน่อย เขาก็จะมีความรู้สึกมากกว่าตอนตั้งท้องนะ ตอนทีล่ กู ออกมาผมก็องึ้ ๆ ว่านีล่ กู เราเหรอเนีย่ เราเป็นพ่อคนแล้วเหรอ มันไม่ได้เหมือนใน ละคร ที่เห็นผลอัลตราซาวนด์แล้วน�้าตาเล็ด ผมไม่เป็นนะ ทันทีที่ลูกคลอดผมก็รู้สึกว่า เออ ลูกเราว่ะ จากนัน้ ค่อยมาท�าความรูจ้ กั กัน ข้างนอก จากการทีเ่ ราเลีย้ งเขา ใช้เวลากับเขา อีกสิ่งที่ผมเรียนรู้ คือเรื่องที่คนอาจจะ คิดว่ามีลูกต้องมีเงิน แต่ผมไม่ได้เชื่อเรื่องนั้น นะ เพราะถึงเป็นคนที่มีเงิน พอมีลูก เขาก็จะ บอกว่ามีลูกมันเปลืองอยู่ดี แต่สุดท้ายแล้ว สิง่ เหล่านัน้ เป็นข้ออ้างทีเ่ ราเอามาบอกตัวเอง

ทั้งที่มันไม่จริงเลย ลูกก็คือเรานี่แหละ แต่ว่า เราต่ า งหากที่ ไ ปบอกว่ า ถ้ า เป็ น ลู ก เรานะ ต้องเป็นอย่างนั้น ต้องเรียนที่นี่ ต้องกินอันนี้ แต่เด็กไม่รู้เรื่องหรอก มันอยู่ที่เราป้อนอะไร ให้ เ ขา เขาไม่ รู ้ ห รอกว่ า สิ่ ง ไหนดี ห รื อ ไม่ ดี ความรั ก ส� า คั ญ กว่ า การดู แ ลส� า คั ญ กว่ า บางคนบอกว่าลูกออกมาต้องส่งเรียนโรงเรียน นานาชาติเทอมละสองสามแสน เป็นสิ่งที่ สิ้นเปลืองแน่ๆ แต่อย่างลูกผมก็ไม่ได้เรียน โรงเรียนนานาชาติ เรียนโรงเรียนธรรมดาๆ มันอยู่ที่เราให้อะไรกับลูก สิ่งที่เราให้กับลูก มันไม่ได้ตัดสินกันด้วยมูลค่าของเงิน แต่มัน ตัดสินกันด้วยเวลา เรามีเวลาให้เขาหรือเปล่า อย่ า งนี้ ดี ก ว่ า อย่ า ไปพู ด เรื่ อ งเงิ น ที่ จ ะซื้ อ เสือ้ ผ้าสวยๆ ให้เขา คุณเลีย้ งคุณเองหรือเปล่า

มองชีวต ิ คูเ่ ป็นอีกหลุมหนึง ่ ของชีวต ิ มนุษย์ หรือเปล่า

ไม่ๆ มันเป็นข้ออ้าง เพราะคนเรากลัว และไม่รวู้ า่ จะเกิดอะไรขึน้ ต่างหาก หรือบางคน อาจจะเคยเห็นตัวอย่างมาก่อนจากชีวิตคู่ พ่อหรือแม่ แต่อย่างที่บอกว่าไม่ได้แปลว่า ทุกคนต้องมีชีวิตคู่ บางคนอาจจะแฮปปี้กับ การมีชีวิตคนเดียว แล้วมีความสุขได้จาก สิ่งที่เป็นก็ได้ ในเรื่องของครอบครัว ผมไม่เคยรู้สึก เลยว่าตกไปอยูใ่ นหลุมหรือบ่อของอะไร ไม่ได้ รู้สึกแบบนั้น แต่ครอบครัวมันท�าให้ผมลดทิฐิ ในตัวลงได้ ลดความคาดหวัง ที่เรายึดถือ ยึดมัน่ ว่า เฮ้ย นีต่ วั เราเป็นแบบนีน้ ะ ทีม่ นั มาก เกินไป ท�าให้ผมลดลงมาได้ และก็ยอมรับ กับสิ่งที่เป็นได้ ยอมรับความจริงได้ แล้วลูกก็ สะท้อนให้เราเห็นอะไรหลายอย่างในตัวเอง บางทีเราดุลกู มากเกินไป เรามองย้อนกลับไป ตอนเด็กๆ ก็เป็นแบบนี้นี่หว่า บางทีลูกเรา แม่งดีกว่าเราอีก (หัวเราะ) มันก็ท�าให้เรา มองเห็นตัวเองมากขึ้น ลูกก็เหมือนกระจก ทีส่ ะท้อนตัวของพ่อแม่ออกมา บางทีผมท�าผิด ผมก็เดินไปบอกลูกว่าขอโทษนะ มันท�าให้ผม ไม่ต้องปิดบัง ไม่ต้องท�าตัวให้เขาคิดว่าพ่อ ต้องเป็นฮีโร่ทา� ถูกเสมอ เพราะลูกอะ ยังไงเขา ก็มองว่าเราเป็นฮีโร่อยูแ่ ล้ว ผมคิดอย่างนัน้ นะ ลูกเขาจะคิดว่าผมดีทสี่ ดุ เก่งทีส่ ดุ โห พ่อแข็งแรง จังเลย แต่พอเขาโตขึ้น เขาจะเริ่มยอมรับว่า พ่อเขาไม่ได้เก่งทีส่ ดุ ว่ะ บางทีเขาเห็นลุงอาร์ต เพือ่ นพ่อตัวสูงกว่าพ่ออีก ใช่ มีคนทีส่ งู กว่าพ่อ แข็งแรงกว่าพ่อ เก่งกว่าพ่อ เราก็ท�าให้เขา ยอมรั บ ตรงนี้ ไ ด้ แล้ ว เราก็ จ ะรู ้ จั ก ตั ว เอง ไปในตัวด้วย


C A P T U R I N G

14 ISSUE 555 10 SEP 2018

MOMENTS THAT MATTER พู ด ถึ ง แพสชั น เรื่ อ งกล้ อ งฟิ ล์ ม บ้ า ง ทุกคนฮือฮากับไอจีลับของคุณมาก

(หัวเราะ) คือผมถ่ายรูปมานานแล้ว ด้ ว ยความที่ ถ ้ า ผมไม่ ไ ด้ เ อามาลงใน อินสตาแกรมก็คงไม่มีคนรู้มั้ง เพราะว่า ผมไม่ค่อยได้มีตัวตนในโลกโซเชียลมีเดีย เท่าไหร่ ไม่ค่อยมีค�าจ�ากัดความว่า เคน ธี ร เดช เป็ น อย่ า งนี้ ๆ คนก็ เ ลยอาจจะ ไม่ค่อยรู้ ก็จะมีแต่คนรอบตัว ครอบครัว เพือ่ นทีร่ ู้ แต่จริงๆ เราถ่ายฟิลม์ มานานแล้ว ตอนนีเ้ ราก็อยากโชว์แพสชันของเราให้คน เห็นแหละ เคยคิดว่าเราอยากจะเอามา รวมเล่มแต่ก็ไม่มเี วลาสักที จริงๆ อินสตาแกรมแรกๆ เราก็ไม่ได้เล่น ไม่ชอบ มันคือ อะไรว้า แต่มองไปมองมาเราหาประโยชน์ หาความสุขกับมันได้นนี่ า ถ้าเราเอารูปถ่าย ของเราทีเ่ ป็นฟิลม์ มาลงในอินสตาแกรมได้ มันก็ท�าให้คนเห็นเหมือนกัน เราก็ไม่ต้อง มาห่ ว งเรื่อ งส� า นัก พิม พ์ เ รื่ อ งท� า หนั ง สื อ อะไรเลย มันก็เป็นพื้นที่ส่วนตัวที่เราจะ เอาสิ่งนี้ออกมาโชว์ ผมคิดว่าเป็นเหมือน งานศิ ล ปะของผมที่ อ ยากจะโชว์ ค น ก็น่าจะมีคนที่สนใจบ้างแหละวะ

คุณเคยถ่ายดิจิตอลหรือเปล่า

เคยครับ แต่ผมไม่ชอบ แล้วผมก็ ขีเ้ กียจตาม คือพอซือ้ แล้วก็ต้องซือ้ รุ่นใหม่ ไปเรื่อยๆ ก็เลยรู้สึกว่าไม่ซื้อแล้วละกัน เพราะว่ากล้องฟิลม์ ผมก็ยงั ใช้กล้องตัวเดิม มีแค่ฟิล์มก็ถ่ายได้แล้ว ซึ่งที่ใช้อยู่บ่อยๆ จะมี Contax T3 ทีเ่ ป็นคอมแพ็ค กับ Contax ที่เป็น SLR และก็ Leica MP ใช้อยู่แค่นี้

การถ่ายรูปมีเสน่ห์ส�าหรับคุณยังไง

มันเหมือนกับว่า เราได้ เข้ าไปอยู ่ อีกโลกหนึ่ง เวลาที่ถ่ายรูปเราจะมีสมาธิ เหมือนว่าเราสร้างโลกขึ้นมา เป็นเหมือน การหนีอย่างหนึง่ เวลาถ่ายรูปเราจะเลือก สิ่งที่เราต้องการไว้ในสี่เหลี่ยมนี้ แล้วตัด สิง่ ทีเ่ ราไม่ตอ้ งการออกไป แรกๆ มันเหมือน กับการหนีส�าหรับผมนะ หนีจากความวุน่ วาย หนีจากสิง่ ทีเ่ ราไม่ชอบท�าในเวลานัน้ ถ้าเราจะถ่ายรูปเราต้องปิดตาข้างหนึ่ง และสิ่งที่เราเห็นคือสิ่งที่เราเลือกสรรแล้ว ว่าเราอยากจะมองอยากจะเป็น ถ้าพูดแบบ ธรรมะอาจะเป็นเหมือนธรรมะเบื้องต้น ที่ท�าให้เรามีสมาธิกับมันจริงๆ โดยที่เรา ไม่สนใจอย่างอื่นก็ได้

ส่วนใหญ่คุณถ่ายรูปอะไร

สมั ย ก่ อ นจะไม่ ค ่ อ ยได้ ถ ่ า ยคน ถ่ายวิวถ่ายภาพอย่างอื่นประมาณ 80%

แต่พอมามีครอบครัว ตอนนีเ้ ป็นครอบครัว 80% อย่างอื่น 20% (หัวเราะ) สมัยก่อน เวลาที่ผมเดินทางผมจะไปคนเดียว ไม่มี คนไปด้วย สิ่งที่ถ่ายก็จะเป็นสิ่งที่ผมเห็น จริงๆ เท่านั้น แต่ตอนนี้เวลาผมเดินทาง ผมก็เอาครอบครัวผมไปด้วย สิ่งที่เราเห็น ทุ ก วั น นี้ ก็ คื อ ครอบครั ว และสถานที่ ผมเป็ น คนบ้ า แสง ชอบแสง ชอบเงา ผมจะไม่ชอบถ่ายรูปในวันที่แสง overcast ชอบให้มีพระอาทิตย์ออกมาตอนบ่ายๆ ชอบแสงตอนบ่ายๆ แก่ๆ ผมจะชอบอะไร ที่เป็นแบบนี้ เพราะว่ามันอบอุ่น

คิดหรือเปล่าวะ อันนีท้ กี่ ตู งั้ ใจจะให้มนั สวย แม่ ง ไม่ ส วยเลย เสน่ ห ์ มั น อยู ่ ต รงนี้ น ะ บางสิ่ ง ที่ เ ราคาดเดาบางครั้ ง แม่ ง ก็ ผิ ด แต่บางครั้ง อ้าว รูปนี้เราไม่ได้คิดอันนี้ สวยสาด... แต่ทุกวันนี้เทคโนโลยีมันก็ย่นเวลา เราถ่ายรูปก็รู้เดี๋ยวนั้นแหละ ว่ารูปไหนทิ้ง ใช้ไม่ได้ รูปไหนเอา มันก็มปี ระโยชน์คนละ แบบ ในการท�างานมันท�าให้เราไม่เปลือง เรารู้ ถ่ายน้อยลง ตัดสินใจได้เร็วขึ้น แต่ ส�าหรับผมที่ไม่ได้เอามาท�างาน สิ่งนี้เป็น แพสชันร้อยเปอร์เซ็นต์ ผมก็ยังสนุกกับ

แล้วที่เลือกลงในอินสตาแกรมล่ะ

แล้วรูปที่ผมลงส่วนใหญ่ผมจะลง สถานที่แล้วก็ลงปี มันท�าให้ผมต้องย้อน กลับไปแล้วหาค�าตอบ ว่าเอ๊ะตอนนัน้ มันปี อะไรวะ ท� า ให้ ผ มเกิ ด การเชื่ อ มต่ อ กั บ ความทรงจ�าที่ลืมไปแล้ว เฮ้ย ปีนั้นนี่หว่า ที่เราไปที่นั่นไปที่นี่ แล้วบางทีผมก็เอามา คุ ย กั บ คุ ณ หน่ อ ย มั น ก็ เ หมื อ นการเปิ ด ไดอารี ว่าครั้งหนึ่งเราเคยลืมมันไปแล้ว รูปนี้ท�าให้เราย้อนนึกถึงความทรงจ�านั้นๆ ไว้ เฮ้ย วันนัน้ เราขับรถไปถึงแล้วน�า้ มันหมด ปัม๊ น�า้ มันก็ปดิ มันเกิดเรือ่ งราวอะไรตามมา ซึง่ ผมใช้ฟลิ ม์ ถ่าย แล้วเวลาลงรูปผมไม่เคย แต่ ง สี รู ป เลย แต่ รู ป ผมทุ ก รู ป มั น ดู เหมือนกันหมดเลย มันมีอะไรบางอย่าง ที่ ท� า ให้ ผ มรู ้ สึ ก ว่ า รู ้ ผ มทุ ก รู ป มั น เป็ น รูปแบบเดียวกันหมดเลย โดยที่ผมไม่ได้ ไปท�าอะไรกับมัน มันเป็นรูปที่เป็นแบบนี้ แค่ผมเอามันออกมาวางไว้เฉยๆ แต่มันดู เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยที่ไม่ได้ตั้งใจ ไม่ต้องไปบังคับมัน ผมจะเอารูปมาลง ตอนไหนก็ได้ รูปนี้ห่างกันสิบปี สิบห้าปี แต่ ทุ ก รู ป มั น เหมื อ นกั บ ว่ า มั น ไม่ มี เ วลา ถ้ า ไม่ เ ห็ น ว่ า คนนี้ เ ด็ ก ขึ้ น หรื อ แก่ ล ง รู ป ของผมมั น อยู ่ เ หนื อ การเวลาตรงนั้ น คุณค่าที่ผมเห็นหรือว่าความรู้สึกที่ได้มา มันเท่ากันไม่ว่าจะลงภาพก่อนหรือหลัง

ค ว า ม ส นุ ก ข อ ง ก า ร ถ่ า ย ภ า พ แ บ บ แอนะล็อกมันคืออะไรบ้าง

ถ้าเป็นสมัยก่อนความระทึกของมัน เลยก็คือ คนถ่ายไม่รู้ร้อยเปอร์เซ็นต์ว่า รู ป จะออกมาเป็ น ยั ง ไง ได้ แ ค่ ค าดเดา คือคนถ่ายต้องอาศัยประสบการณ์ว่ารูปที่ ถ่ายมันน่าจะเป็นประมาณนี้เว้ย จะมารู้ อีกทีตอนที่เราเอาฟิล์มมาล้าง คือวันที่ไป รับฟิล์มนี่มันสนุกที่สุด มันตื่นเต้นว่ารูป ออกมาจะเป็นยังไงวะ มันสวยอย่างที่เรา

สไตลิสต์ : Anne-Marie P. POJANANOND ขอบคุณเสื้อผ้าจาก GIVENCHY และ Coach

สิ่งเหล่านี้ได้อยู่ โห ภาพที่เราถ่ายแม่งห่วยสัส อันนี้แม่งสุดยอดเลย ก็ยังสนุกอยู่ เวลาลงรูปพี่หน่อยต้องช่วยเลือกไหม

ไม่ๆ ผมลงเลย เพราะส�าหรับผมอันนี้ ผมมองว่ามันเป็นงานศิลปะของผม บางครั้ง เขาก็บ่น ไม่เห็นสวยเลย ก็ไม่ได้มองตรงนั้นนี่ เรามององค์ ร วมของมั น ต่ า งหาก (หั ว เราะ) เราก็เนียนๆ ไป


15 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

ภาพถ่ายฟิล์มโดย : เคน ธีรเดช


16 ISSUE 555 10 SEP 2018

A MUST R E S TAU R A N T

ud o n Gy

Om u

ข้าวหนา้ แซ

ABOUT B

ที่เสิร์ฟเคียงมาในกล่อง หรือจะเปลี่ยน เมนูขา้ วเป็นเมนูเส้นก็มใี ห้เลือก เมนูโดนๆ ‘Udon Padthai’ ผัดไทยกุง้ สดทีใ่ ช้เส้นอุดง้ นุม่ ๆ ให้สมั ผัสเหนียวหนึบแทนเส้นจันทน์ ที่คุ้นเคย นอกจากนี้ ยั ง มี เ มนู ข องกิ น เล่ น อีกเพียบ ไม่ว่าจะเป็น ‘หมูตุ๋นมันฝรั่ง’ ทีใ่ ช้เวลาเคีย่ วนานถึง 12 ชม. แต่ราคาแค่ 40 บาท หรือเกีย๊ วซ่ากรอบนอกนุม่ ใน 5 ชิน้ 50 บาท และอืน่ ๆ ทีร่ อให้สายกินตามไปชิม จนครบ ร้าน Don Don ตั้งอยู่ระหว่าง ซ.อารียส์ มั พันธ์ 5-6 ถ.พระราม 6 เปิดทุกวัน ตั้ ง แต่ เ วลา 8.00-20.00 น. สอบถาม รายละเอียดเพิม่ เติมได้ทโี่ ทร. 08-2442-5654 หรือ www.facebook.com/DonDonBento

คนรักชาห้ามพลาด เวิร์กช็อป อิงธรรมชาติและชา Natural Craft Tea รุน่ 5 โดยกูรดู า้ นการเบลนด์ชาสมุนไพร ธรรมชาติ ‘โต’ Sawanbondin Farm & Home Stay และ ‘เปิล้ ’ ผูก้ อ่ ตัง้ ไร่รนื่ รมย์ ที่จะมาแชร์ประสบการณ์ ความรู้ด้าน Sensory Tasting ให้ฟงั พร้อมไปชิมและ เก็บใบชา เรียนรู้เคล็ดลับการเบลนด์ ชาสมุนไพรธรรมชาติ สนุกกับศิลปะ การท�าชาครบรูปแบบ ออกแบบสูตร และรสชาติ ช าของตั ว เอง จบด้ ว ย การเรียนรูเ้ รือ่ งเกษตรอินทรีย์ เป็นเวลา 3 วัน 2 คืน ราคาคอร์สละ 7,500 บาท รวมที่พัก อาหาร 7 มื้อ ของว่าง 4 มื้อ รถ-รับส่งจากสนามบินแม่ฟ้าหลวงไร่รื่นรมย์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ Line@: @rrr.ch หรือทาง www.facebook. com/rairuenrom

CON CER T

เบนโตะ

หรือ กล่องข้าวกลางวัน ของชาวญีป ่ น ุ่

มีเอกลักษณ์และเรื่องราวมาอย่างยาวนาน เริ่ม แพร่หลายตั้งแต่ปลายสมัยเมจิ (ปี 1868-1912) และต้นสมัยไทโช (ปี 1912-1926) แต่ละภูมภ ิ าคจะมี เบนโตะทีม ่ เี อกลักษณ์เฉพาะของตัวเอง ในหนึง่ กล่อง อัดแน่นไปด้วยปริมาณและโภชนาการทีค ่ รบถ้วน และยังเป็นตัวแทนของความรักและความห่วงใย จากคนท�าสูค ่ นกินมาตัง ้ แต่แรกจนถึงทุกวันนี้

E X H IBIT IO N

いただきます’LET’S EAT!’ หากคุณเป็นคนหนึ่งที่ชื่นชอบและหลงใหลในวัฒนธรรมญี่ปุ่น อยากให้ไปร่วมสัมผัสค�าพูด ประจ�าภาษาญี่ปุ่นที่ว่า ‘อิตาดาคิมัส’ ส�านวนที่มักพูดพร้อมยกมือพนมก่อนกินอาหารทุกครั้ง เพือ่ แสดงออกถึงความขอบคุณต่อสัตว์และพืช รวมถึงชาวนา ชาวไร่ ชาวสวน ชาวประมง คนเลีย้ งสัตว์ และผูท้ ปี่ รุงอาหาร เรือ่ งราวน่ารักแบบนีท้ า� ให้ศลิ ปินสาวชาวญีป่ นุ่ ริเอะ ทาคาโนะกุระ ได้ใช้สา� นวนนี้ แปรเปลีย่ นมาเป็นงานศิลปะในนิทรรศการเดีย่ วของตัวเอง งานจัดแสดงตัง้ แต่วนั นีถ้ งึ 25 กันยายน 2561 ที่ Rebel Art Space ซ.สุขุมวิท 67

JAM FEST 2018

TO EN

ลม

ิ ย า กิ สเทร ซอ อน

ce Ri

ไฮไลต์ ของ Don Don คื อ 10 ข้ า วหน้ า ต่ า งๆ ในสไตล์เบนโตะที่มีคอนเซ็ปต์ว่ากินง่าย สะดวกซือ้ อร่อยแบบไซซ์อมิ่ ท้องก�าลังพอดี อาทิ เมนูซิกเนเจอร์ตัวท็อป ‘ข้าวหน้า แซลมอนซอสเทริยากิ’ ราคา 135 บาท เสิร์ฟแซลมอนย่างชิ้นโตพร้อมผักสลัด

สดๆ เมือ่ ตักค�าแรกเจอหนังปลาแซลมอน กรุบกรอบ ผ่านเนื้อสีส้มอ่อนๆ ที่สุกได้ที่ พร้อมข้าวปัน้ พอดีคา� ในหนึง่ กล่องมี 6 ค�า เหมาะส�าหรับผูห้ ญิงทีต่ อ้ งการควบคุมคาร์บ แต่หากเป็นผู้ชายแนะน�าว่าต้องขอสอง ส่วนอีกเมนูที่น�าเสนอคือ ‘Omu Rice ข้าวหน้าไข่ออมเล็ต’ ที่เอาใจคนรัก เมนูไข่ ในราคา 65 บาท เสิร์ฟมาพร้อม ข้าวปัน้ 6 ค�า เนือ้ ไข่เนียนๆ ได้รสไข่เต็มค�า หากใครที่ติดรสเค็มแนะน�าให้เหยาะโชยุ ได้เล็กน้อย แต่เพือ่ สุขภาพ การกินอาหาร รสกลางๆ ก็จะดีที่สุด ส่วนสายเนื้อวัว ก็ต้องไม่พลาด ‘Gyudon ข้าวหน้าเนือ้ ’ จากฟาร์มท้องถิน่ ในประเทศไทย ราคา 95 บาท เนือ้ วัวชิน้ บาง ผัดกับหอมใหญ่สุกก�าลังดี กินคู่กับสลัด

WOR K S H OP NATURAL CRAFT TEA

DON

ต้อนรับสายตระเวนชิมกันอีกครั้งในย่านอารีย์ กับร้านอาหารญีป ่ น ุ่ เปิดใหม่ลา่ สุดชือ ่ ว่า Don Don ร้านเล็กๆ ริมถนนที่โดดเด่นด้วยโครงไม้เนื้ออ่อน สไตล์เจแปน ด้านหน้าเป็นเคาน์เตอร์โค้งมนสีขาว ขนาดใหญ่สา� หรับสัง่ อาหาร พร้อมเสิรฟ ์ แบบเทกโฮม แต่สว่ นใหญ่ มักหามุมนั่งกินบริเวณด้านหลังของร้าน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ พืน ้ ทีร ่ า้ นกาแฟ SATI Handcraft Coffee และสตูดโิ อเวิรก ์ ช็อป งานไม้ MHOE (Made Here on Earth)

เอาใจเด็ ก แนวตั ว จริ ง ด้ ว ย เทศกาลดนตรีและศิลปะทีน่ า่ จับตามอง มากที่สุด แจ่มเฟส จัดโดยค่ายเพลง What The Duck ล่าสุดประกาศอัพเดต ศิลปินบางส่วนมาเรียกน�้าย่อย อาทิ Flure / Noi Pru / 2 Days Ago Kids / Monotone พร้ อ มด้ ว ยศิ ล ปิ น อิ น ดี้ จากเวที DOOD Stage อาทิ mints / De Flamingo / Stoic / Yented / Old Fashioned Kid งานนีอ้ ย่ารอช้า ซือ้ บัตร Early JAM ในราคา 500 บาทได้แล้ว วั น นี้ ท าง www.facebook.com/ jamfestbkk


17 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

AC C E SS O RIE S

JA SMIN พบกับความหรูหราที่มาพร้อมความทันสมัยกับจิวเวลรี คอลเล็กชัน The Beginning Collection จากแบรนด์ JASMIN เป็นไอเดียการออกแบบมาจากท่วงท่าทีเ่ คลือ่ นไหวขณะเปิดฟลอร์ เต้นร�า เครือ่ งประดับทุกชิน้ แหวน ต่างหู สร้อยคอ และสร้อยข้อมือ ประดับด้วยเพชรน�้าดีสีเหลือง หรือพลอยมรกต ท�าให้ทุกการเคลื่อนไหวในชีวิตประจ�าวัน ออกงานสังคม ไปงานปาร์ต้ี ก็ช่วย เสริมลุกส์ให้กบั ผูห้ ญิงได้ดมู เี สน่ห์ มีคณ ุ ค่าในแบบฉบับของตัวเอง สามารถไปสัมผัสจิวเวลรีคอลเล็กชันนีไ้ ด้ที่ JASMIN สาขาโรงแรม อนันตรา สยาม กรุงเทพฯ

B O OK

SEE YOU IN THE COSMOS แล้วเจอกันในจักรวาล วรรณกรรมเยาวชนจากโดย Jack Cheng ว่าด้วยเรือ่ งของอเล็กซ์ เด็กชาย วัย 11 ปีที่สูญเสียพ่อและมีแม่ผู้เหม่อลอย จนเขาไม่แน่ใจว่าความรักทีม่ ีนั้นหน้าตาเป็นอย่างไร วันหนึ่ง เขาได้หลงรักอวกาศ และอยากเป็นคนผลิตจรวด เขาอยากสือ่ สารกับคนบนดาวอืน่ จึงเล่าทุกอย่างทีเ่ จอ ใส่ไอพ็อดเก่าๆ ไว้ เพื่อผูกติดจรวดแล้วส่งขึ้นสู่อวกาศ พร้อมสุนัขของเขา คาร์ล ซาแกน เพื่อค้นหา ค�าตอบและรอใครสักคนรับฟังเรือ่ งราวทีเ่ ขาอยากจะบอกเล่าเหลือเกิน (ส�านักพิมพ์แพรวเยาวชน / ราคา 275 บาท)

C

M

Y

S E R IE S

CM

MY

MR. SUNSHINE

CY

CMY

แฟนคลับซีรีส์เกาหลี ถ้ายังไม่ได้ดูเรื่อง Mr. Sunshine ถือว่า พลาดมากๆ เป็นเรือ่ งราวสมัยปลายศตวรรษที่ 19 หรือช่วงชินมิยงั เกียว (Shinmiyangyo) ซึ่งเป็นช่วงที่ทหารอเมริกันเข้ามาในประเทศเกาหลี เป็นจ�านวนมาก เนื้อเรื่องเกี่ยวข้องกับทหาร การเมืองการปกครอง ความเป็นชาติเกาหลี และความรักต่างชนชัน้ กับปมขัดแย้งในใจของ ตัวละครหลักแต่ละตัว ที่จัดเต็มทั้งความสนุกของเนื้อหา บทละคร และการด�าเนินเรื่อง พร้อมภาพสวยๆ และความน่ารักของนางเอก ที่เป็นหญิงชนชั้นสูงของเกาหลี กับมาดเข้มของพระเอกสายเลือด เกาหลี แ ต่ สุ ด ท้ า ยเขาก็ คื อ นายทหารประจ� า กองทั พ เรื อ สหรั ฐ ฯ หากใครยังไม่ได้ดู รีบเข้าไปชมกันได้ทาง Netflffllix เท่านั้น

M OV IE

SWEET

見栄を張る MIE WO HARU

PIE FACE HAWAIIAN PIZZA PIE

ส�าหรับคนทีต่ ดิ ตามวงการภาพยนตร์ญปี่ นุ่ มาอย่างต่อเนือ่ ง คงต้องจดจ่อรอคอยภาพยนตร์ครอบครัวอบอุ่น เอริโกะ รับจ้าง ร้อง จากฝีมือก�ากับ ของ อากิโยะ ฟูจิมูระ กันอยู่บ้าง ซึ่งเป็น เรื่องราวของเอริโกะ นักแสดงสาวที่ออดิชันบทละครดรามา ไม่เคยผ่านเพราะเธอร้องไห้ไม่ได้ จนวันหนึ่งพี่สาวของเธอ เสียชีวิตกะทันหัน เธอจึงลองรับช่วงต่องานของพี่สาวที่ท�างาน เป็นคนรับจ้างร้องไห้ในงานศพ เรือ่ งราวจะชวนน�า้ ตาไหลแค่ไหน สามารถติดตามต่อกันได้แล้ววันนี้ เฉพาะทีโ่ รงภาพยนตร์เอสเอฟ เวิลด์ ซีเนมา, พารากอน ซีนเี พล็กซ์, ควอเทียร์ ซีเนอาร์ต, เฮาส์ อาร์ซีเอ และ Bangkok Screening Room เท่านั้น

Pie Face พายสู ต รลั บ อารมณ์ ดี ส ไตล์ โ ฮมเมดจาก ออสเตรเลีย ที่ล่าสุดจับคู่ความอร่อยทั้งแป้งพายเนื้อละมุนกับ ความอร่อยของซอสพิซซ่า กลายเป็น Hawaiian Pizza Pie ที่มีให้ เลือกถึง 3 รสชาติ ทั้ง Mini Hawaiian Pizza Pie แฮม เบคอน สับปะรด และชีส Mini Crabstick Pizza Pie อัดแน่นด้วยปูอัด เบคอน สับปะรด และ Mini Chicken & Mushroom Pizza Pie อร่อยไปกับไก่และเห็ด ในราคาชิ้นละ 40 บาท เฉพาะตลอด เดือนกันยายนนี้ ทีช่ นั้ G สยามพารากอน, ชัน้ 1 เซ็นทรัล เวสต์เกต, ชัน้ G วิกตอเรีย การ์เดนส์ และชัน้ 2 Main Terminal ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ

K


18 เรื่อง

SHE SAID

ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล กองบรรณาธิการ FB : sarunya.magazine@gmail.com

ISSUE 555 10 SEP 2018

WE BRING ART INTO LIFE เพราะชี วิ ต คื อ ศิ ล ปะอย่ า งหนึ่ ง ทุกสิง่ รอบตัวของคุณจึงถูกกระตุน ้ ด้วยศิลปะแขนงต่างๆ ได้ไม่ยาก นี่ คื อ แรงบั น ดาลใจส� า คั ญ ของ ‘กุก ๊ ’ - ชนิดา วรพิทก ั ษ์ ดีไซเนอร์ และศิลปินเจ้าของแบรนด์ Cuscus the Cuckoos หญิงสาวผูม ้ าพร้อม กับพลังงานเชิงบวกสะท้อนการอยู่ ร่วมกันระหว่างศิลปะและการใช้ชวี ต ิ ได้อย่างลงตัว เธอจึงถูกเชื้อเชิญ ให้เข้าร่วมเป็นหนึ่งในศิลปินของ งาน ‘Art Dialogue’ ซึ่งจัดขึ้นที่ ห้ า งสรรพสิ น ค้ า เอ็ ม โพเรี ย ม ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ ตลอดเดือน กันยายนนี้

เพราะทุกชีวต ิ ล้วนเป็นศิลปะ มาร่วมสร้างพลังแห่งศิลปะของ การใช้ชวี ต ิ แลกเปลีย ่ นมุมมองกับ กลุม ่ ศิลปินของไทย เข้าร่วมกิจกรรม ที่ ผ่ า นการคั ด สรรมาเป็ น พิ เ ศษ เ พื่ อ ก ร ะ ตุ้ น พ ลั ง ค ว า ม อ า ร์ ต ในตัวคุณผ่าน 4 กิจกรรมศิลป์ตลอด เดื อ นกั น ยายนนี้ ที่ เ อ็ ม โพเรี ย ม ดี พ าร์ ท เม้ น ท์ ส โตร์ ตั้ ง แต่ วั น นี้ ถึง 3 ตุลาคม 2561

Art and Life… ชีวิตของเรา

คลุ ก คลี แ ละเห็ น งานศิ ล ปะมาตั้ ง แต่ เ ด็ ก ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะทุกครั้งตอนปิดเทอม เราต้องตามคุณพ่อไปทีส่ า� นักงานป่าไม้จงั หวัด จันทบุรีอยู่บ่อยๆ ระหว่างที่รอคุณพ่อท�างาน เราจะชอบอ่านหนังสือหรือดูสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ ทัง้ สิง่ พิมพ์การรณรงค์เรือ่ งห้ามล่าสัตว์ เรือ่ งของ ต้นไม้นานาชนิด ทัง้ หมดจะมาในรูปแบบของ Information Graphic นัน่ ท�าให้เราซึมซับลักษณะ งานและคาแร็กเตอร์ของสัตว์ปา่ เรือ่ ยมา

Art Collaborations : ซึมซับ ประสบการณ์ศล ิ ป์ตลอดหนึง ่ เดือน ด้ ว ยผลงานศิ ล ปะที่ จ ะไปกระตุ้ น พลั ง บวกของคุ ณ ให้ ลุ ก โชนจาก ‘กุ๊ ก ’ - ชนิ ด า วรพิ ทั ก ษ์ ศิ ล ปิ น เจ้ า ของแบรนด์ Cuscus the Cuckoos

Art Styles Explained…

เราเป็นคนชอบอ่านนิทานทีม่ ตี วั ละครเป็นสัตว์ปา่ บางเรือ่ งก็จบเศร้า บางเรือ่ งก็ท�าให้สตั ว์บางตัว ดูดรุ า้ ย แต่เราไม่อยากให้เป็นแบบนัน้ เราจึงปรับ รูปร่างหน้าตาให้กลายเป็นตัวการ์ตูนในโลก ของเรา เติมความชอบส่วนตัว เช่น ของสะสม โบราณ น�ามามัดรวมกันกลายเป็นงานคอลลาจเก่า ผสมใหม่ ใส่ไทโปแบบโบราณเข้าไปอีกนิด ซึ่งจะสอดคล้องกับไลฟ์สไตล์ของลูกค้า สาดสีทกุ สีทมี่ เี พือ่ กระตุน้ พลังงานเชิงบวกเข้าไป อีกเยอะๆ ท้ายสุดก็เป็นสไตล์งานศิลปะของเรา Art in Everyday… เมื่อทาง ไปโดยปริยาย ห้างเอ็มโพเรียมมีคอนเซ็ปต์แบบนี้ เราเองก็ เห็นด้วย เพราะจริงๆ แล้วศิลปะก็เข้ามาอยู่ใน Art Dialogue… เมือ่ ผลงานของเรา ชีวิตประจ�าวันของเรา ถือว่าเป็นสิ่งเดียวกัน เริ่มเป็นที่รู้จัก บวกกับความโชคดีที่ได้พบคุณ และไปด้วยกันเสมอโดยที่เราไม่รู้ตวั เรามองว่า Simon Pillard GM ฝ่ายครีเอทีฟ & อาร์ตไดเร็กเตอร์ การท�าให้กลมกลืนไปกับสถานที่ คือการสร้าง ที่ ดู แ ลด้ า นการตกแต่ ง ภายในเอ็ ม โพเรี ย ม คุณค่าและประสบการณ์ที่ดีให้ผู้คนได้อย่าง ทัง้ หมด ซึง่ ได้ซอื้ ผ้าพันคอของเรา เขาสนใจผลงาน แนบเนียนมากที่สุด ของเรามาก จึงน�าไปคุยกับทางทีมงานก่อนมาคุย กับเราและหลังจากนั้นโปรเจ็กต์ Art Dialogue Inspired by Art… ผลงานของ จึงเกิดขึ้น เราที่น�าไปจัดแสดงภายในงาน ส่วนหนึ่งเป็น ภาพเดิมที่มีอยู่แล้ว บางชิ้นท�าขึ้นมาใหม่โดย Art of Living… ทางห้ า งฯ ต่อยอดจากของเดิม เติมความสุข สดชื่น จาก อยากให้มกี ารเปลีย่ นแปลงมุมมองของคนทีม่ า ตัวเราเอง เพราะบางอย่างชีวิตเราก็ไม่ต้อง ช้อปปิ้งที่ห้างฯ เราได้ทา� งานร่วมกับทีมตกแต่ง ซีเรียสมากก็ได้ เราต้องการสื่อสารออกไปเพื่อ ด้านศิลปะ ช่วยกันวางแผนว่าของแต่ละชิน้ ควร ให้ใครก็ตามที่เห็นได้รู้สกึ สนุก สดชื่น ในขณะที่ น�าไปวางจุดไหนของห้างฯ เพือ่ สร้างคุณค่าของ บางภาพน�าไปขยายให้มขี นาด 3-6 เมตร เพราะ ทีน่ ใี่ ห้เป็นมากกว่าแค่พนื้ ทีค่ า้ ขาย ผ่านมุมต่างๆ เราเชื่อว่าผลงานเหล่านี้จะสามารถส่งพลังงาน ของการใช้ ชีวิต ทั้ง แฟชั่น บิว ตี้ และลิฟ วิ่ง เชิงบวกออกไปได้อย่างเต็มที่ ภาพ The Emporium

Art Collaboration… จาก การได้ร่วมงานกับเอ็มโพเรียม ท�าให้เราได้เจอ กลุม่ ศิลปินมากมาย ยิง่ ช่วงนีม้ งี าน Bangkok Art Biennale ห้างเอ็มโพเรียมก็เป็นส่วนหนึง่ ทีท่ า� ให้ เราได้เจอเพื่อนศิลปินจากต่างชาติ และได้รับ ประสบการณ์ที่ดี จนเรารู้สึกว่าอยากท�างาน ให้ดมี ากยิง่ ๆ ขึน้ ไป หรือเรียกง่ายๆ ว่า ‘ของขึน้ ’ ได้เลย (หัวเราะ) Art as Experience… เรา คาดหวังว่าคนทีไ่ ด้มาเห็นศิลปะในงาน Art Dialogue จะเกิดแรงบันดาลใจที่อาจท�าให้คุณรู้สึกอยาก หยิบดินสอขึ้นมาวาดรูป สะบัดพู่กันลงสีตาม จินตนาการ ท�างานศิลปะอะไรสักอย่างตามทีถ่ นัด หรื อ อาจจะท�า ให้ ค นที่ช อบช้ อ ปปิ ้ ง ออนไลน์ อยากจะผละจากหน้าจอ แล้วไปช้อปปิ้งใน ห้างสรรพสินค้าที่เต็มไปด้วยงานศิลปะ เพราะ หากคุณอยูแ่ ต่ในบ้าน คุณก็จะไม่มที างได้พบกับ ประสบการณ์ดๆี แบบนี้แน่นอน

Art Creations : ร่วมสนับสนุน กลุม ่ ดีไซเนอร์ไทยด้วยการขยายโซน Thai Designers the Ground Floor & The First Floor ให้เป็น บ้านใหม่ของแบรนด์ไทยดีไซเนอร์ ก ว่ า 4 0 แ บ ร น ด์ ที่ ม า ร่ ว ม สร้ า งสรรค์ ผ ลงานคอลเล็ ก ชั น เ อ็ ก ซ์ ค ลู ซี ฟ ใ ห้ คุ ณ เ ลื อ ก ช้ อ ป ก่อนใคร เฉพาะทีเ่ อ็มโพเรียม Art Conversation : เอ็มโพเรียม จับมือกับ Farmgroup เพือ ่ ผลักดัน พลั ง ความอาร์ ต ในตั ว คุ ณ ด้ ว ย การแลกเปลีย ่ นบทสนทนาครีเอทีฟ ในจุดกิจกรรม Let’s Talk Art บริเวณ Thai Designers ชั้น 1 พบกั บ นิทรรศการภาพศิลปะอินสตาแกรม ครัง้ แรกในไทยทีร่ ว่ มสร้างสรรค์โดย กลุ่มศิลปินไทยและคนเอ็มโพเรียม ก ว่ า 2 0 ท่ า น ที่ ม า ร่ ว ม แ ช ร์ ประสบการณ์อย่างเต็มอิ่ม ARTIivity : สนุกไปกับกิจกรรม ป๊ อ ปอั พ และเวิ ร์ ก ช็ อ ปเกี่ ย วกั บ Fashion, Beauty, Living และ Art and Craft สุ ด ครี เ อที ฟ แบบจัดเต็มได้ตลอดทัง ้ เดือน

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K



20 ISSUE 555 10 SEP 2018

CALENDAR

นิ ท รรศการ ‘ชายคา เดียวกัน’ โดย กิติศกั ดิ์ และ กิตพิ งษ์ เพรชแวว พีน่ ้องฝาแฝดทีช่ นื่ ชอบ ในสิ่งเดียวกัน นั่นคือ ศิ ล ปะ แต่ นิ สั ย และ ประสบการณ์ของชีวิต ทีไ่ ด้สมั ผัสมาทีแ่ ตกต่าง กัน ส่งผลให้เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ ง านศิ ล ปะย่ อ ม แตกต่ า งกั น ไป ทั้ ง ค ว า ม คิ ด แ ล ะ วิ ธี การน� า เสนอ วั น นี้ ถึ ง 30 กั น ยายน 2561 ณ หอศิลป์กรุงเทพฯ

ภาพยนตร์แนวจิตวิทยา สัน่ ประสาทสุดคลาสสิก และเป็นต้นแบบให้กับ ภาพยนตร์หลายเรื่อง ในยุคต่อๆ มา ‘Diabo lique’ มิแชล ชายหนุ่ม ผู้มีรสนิยมซาดิสต์ ได้ ทารุณทั้งภรรยาหลวง และภรรยาลับ ความเกลียดชังจึงกลายเป็น แรงผลักดันให้ทั้งสอง ร่วมมือกันแก้แค้นเขา วันนี้ เวลา 19.00 น. ณ สมาคมฝรั่ ง เศส กรุงเทพ (บัตรราคา 120 บาท)

โอเปราอมตะ ‘คาร์เมน’ อุปรากร 4 องก์ ผลงาน สะเทื อ นอารมณ์ ข อง จอจ์ช บิเซต์ โดยคณะ Teatro di San Carlo แห่ ง เมื อ งเนเปิ ล ส์ อิตาลี ร่วมด้วยนักร้อง อุ ป ร า ก ร ร ะ ดั บ โ ล ก วันนี้ และ 14 กันยายน 2561 เวลาแสดง 19.30 น. ณ หอประชุ ม ใหญ่ ศู น ย์ วั ฒ นธรรมแห่ ง ประเทศไทย จ�าหน่าย บัตรทีไ่ ทยทิกเก็ตเมเจอร์

SYMPHONY CONCERT PROGRAMME I

‘ซิ ม โ ฟ นี ค อ น เ สิ ร ์ ต การแสดงล� า ดั บ ที่ 1’ โดยวงดุริยางค์ซิมโฟนี ออร์เคสตราแห่ง Teatro di San Carlo ประเทศ อิตาลี น�าเสนอผลงาน การประพันธ์อมตะของ ลุควิก ฟาน เบโธเฟน สองผลงาน คือ Leonore Overture หมายเลข 3 และซิมโฟนีหมายเลข 9 วันนี้ เวลาแสดง 19.30 น. ณ หอประชุ ม ใหญ่ ศู น ย์ วั ฒ นธรรมแห่ ง ประเทศไทย จ�าหน่าย บั ต ร ที่ ไ ท ย ทิ ก เ ก็ ต เมเจอร์

WHERE THE CONVERSATIONS BEGIN

SA 16

S

MI4DX

MANGOSTEEN MUSIC FESTIVAL 2

STUNNING VIRTUOSITY

ปรากฏการณ์ความสนุก ‘LEO Presents MI4DX Concert’ จากวงมายด์ จัดเต็มให้ทุกคนได้มัน แบบเต็มสูบ ทั้งแสง สี เสียง ทะลุมติ แิ บบ 4DX พร้อมกับความอลังการ ของเวทีทมี่ คี วามล�า้ สมัย ทีจ่ ะเปิดสัมผัสการรับชม ให้แฟนเพลงได้เข้าถึง ในทุ ก ประสาทสั ม ผั ส วันนี้ เวลา 20.00 น. ณ ธันเดอร์โดม เมืองทองธานี จ� า หน่ า ยบั ต รที่ ไทยทิกเก็ตเมเจอร์

ค� า รามกั น ให้ สุ ด เสี ย ง ไปกั บ เพลงร็ อ กรสจั ด ของวงอั ล เทอร์ เ นที ฟ เลือดอิงลิช Wolf Alice ในงาน ‘Mangosteen Music Festival ครัง้ ที่ 2’ พร้อมด้วยศิลปินเพื่อน หญิงพลังหญิงสัญชาติ ไทย ที่ท�าเพลงพ็อพได้ เปรีย้ วจีด๊ ไม่แพ้กนั Yellow Fang และ วิโอเลต วอเที ย ร์ วั น นี้ เวลา 18.30 น. ณ Voice Space จ�าหน่ายบัตรที่ Ticketmelon.com

การแสดงจากคณะ ‘Stunning Virtuosity’ กลุ ่ ม เครื่ อ งเคาะและ เครื่ อ งกระทบอั น ทรง พลังจากประเทศไต้หวัน น�าเสนอผลงานการแสดง เครือ่ งกระทบทีโ่ ดดเด่น ของวงตลอดระยะเวลา 30 ปี อันเต็มไปด้วยงาน ดนตรีร่วมสมัย ดนตรี ทดลอง วันนี้ เวลาแสดง 19.30 น. ณ หอประชุมใหญ่ ศู น ย์ วั ฒ นธรรมแห่ ง ประเทศไทย จ�าหน่าย บัตรทีไ่ ทยทิกเก็ตเมเจอร์

adaybulletin

BTS หมอชิต

จุดแจกนิตยสาร a day BULLETIN เฉพาะสถานีรถไฟฟ้า BTS ทุกวันจันทร์ เวลา 17.30 น. เป็นต้นไป (แจกให้ผู้รับได้คนละ 1 ฉบับ)

BTS อารีย์

BTS อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ชิดล

ินจิต

CARMEN

F 15

เพล

DIABOLIQUE

FIND US

SAME HOUSE

TH 14

BTS

W 13

BTS

12

T

สยา

M 11

BTS

10

BTS อโศก BTS ศาลาแดง

BTS พร้อมพงษ์

BTS ช่องนนทรี BTS สะพานตากสิน

BTS อ่อนนุช



22 ISSUE 555 10 SEP 2018

BULLETIN BOARD

TA L K O F T H E T O W N ท ทท. จัดทริปท�าบุญ น�าสมาชิก M Card แอ่วเหนือ เสริมสิริมงคล ให้กับชีวิต ​กำรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย​จัดโครงกำร​ ‘พำเทีย่ วข้ำมภำคสนุกสุขสันต์​กับ​อ.คฑำ’​ร่วมมือกับ พันธมิตรยักษ์ใหญ่อย่ำงบริษทั ​เดอะมอลล์​กรุป๊ ​จ�ำกัด,​ โมโน​กรุป๊ ,​โรงแรมในเครือฟอร์จนู ​กรุป๊ ​และภัตตำคำร ฮองมิน​น�ำสมำชิก​M​Card​เดอะมอลล์​กรุ๊ป​เดินทำง ท่องเที่ยวเพิ่มเติมพลังแห่งควำมสุข​ทั้งทำงกำย​และ ทำงใจ​โดยมี​อ.​คฑำ​ชินบัญชร​ร่วมน�ำขอพรจำก สิ่งศักดิ์สิทธิ์​ พร้อมพำเที่ยวสัมผัสกับมนต์เสน่ห์ของ จังหวัดเชียงใหม่​และล�ำพูน​โดยโครงกำรนีจ้ ดั ขึน้ เพือ่ เป็นกำรต่อยอดโครงกำร​‘12​เมือง​ต้องห้ำม...​พลำด​Plus’​ ท่องเทีย่ ววิถไี ทยเก๋ไก๋ไม่เหมือนใคร​ชวนเทีย่ วเมืองไทย พลัสควำมสุขยกก�ำลังสอง​และสัมผัสกับควำมงดงำม ของสถำนทีท่ อ่ งเทีย่ วเชิงศำสนำ​อีกทัง้ ยังเป็นกำรสร้ำง ประสบกำรณ์ทอ่ งเทีย่ วใหม่ๆ​และส่งเสริมกำรท่องเทีย่ ว ภำยในประเทศ​ผู้ทสี่ นใจสำมำรถติดตำมกิจกรรมดีๆ​ แบบนี้ได้ทำง​www.facebook.com/mcardforall​หรือ​ www.mcardmall.com​สอบถำมรำยละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่​M​Card​Call​Center​0-2789-5555​​

‘เอส แอนด์ พี NO BAG MORE POINTS’ งดรั บ ถุ ง พลาสติ ก รั บ แต้ ม เพิ่ ม 10 คะแนน! ​บ ริ ษั ท ​เอส​แอนด์ ​พี ​ซิ น ดิ เ คท​ จ�ำกัด​(มหำชน)​น�ำโดย​ประเวศวุฒิ​ไรวำ​ ประธำนกรรมกำรบริหำร​ เกษสุดำ​ ไรวำ​ ประธำนเจ้ำหน้ำที่บริหำร​ก�ำธร​ศิลำอ่อน​ กรรมกำรผู้จัดกำรใหญ่สำยกำรผลิตและ กำรเงิน​และ​มณีสุดำ​ศิลำอ่อน​ผู้จัดกำร ฝ่ำยสื่อสำรองค์กร​ปลุกกระแสรักษ์โลก​ จัดแคมเปญ​‘NO​BAG​MORE​POINTS’​ มอบคะแนน​S&P​Joy​Card​10​คะแนน​แก่ สมำชิก​S&P​Joy​Card​ทีไ่ ม่รบั ถุงพลำสติก​ เพื่ อ รณรงค์ ล ดปั ญ หำขยะพลำสติ ก ใน ประเทศไทย​และช่วยสร้ำงจิตส�ำนึกรักษำ สิ่งแวดล้อม

โตเกียวกับความสุขทีร ่ อคุณ มาสัมผัส

เ มืองไทยประกันชีวต ิ มอบ เงินแก่มล ู นิธเิ มืองไทยยิม ้

องค์กรกำรท่องเทีย่ วแห่งกรุงโตเกียว​ Tokyo​Convention​&​Visitors​Bureau​จัด กิจกรรม​TOKYO​Tourism​Seminar​2018​ ภำยใต้หวั ข้อ​‘โตเกียวยังมีอกี หลำยควำมสุข...​ ทีร่ อคุณมำสัมผัส’​น�ำเสนอเสน่หข์ องสถำนที่ ท่องเทีย่ วยอดนิยม​และแหล่งท่องเทีย่ วใหม่ๆ​ ของโตเกียว​ภำยในงำนมีกำรจัดกิจกรรม ลุน้ รำงวัล​ของทีร่ ะลึกจำกโตเกียว​สร้ำงควำมสนุ ก สนำนให้ กั บ ผู ้ เ ข้ ำ ร่ ว มงำน​โดยได้​ ปำล์ม​Instinct​นักร้องชื่อดังที่เคยใช้ชีวิต ในเมืองโตเกียวมำกว่ำ​3​ปี​ร่วมสร้ำงสีสัน และแชร์ประสบกำรณ์​เพื่อเป็นแนวทำง กำรน�ำเทีย่ วให้กบั ตัวแทนจำกบริษทั น�ำเทีย่ ว ญีป่ นุ่ ทีเ่ ข้ำร่วมงำนกว่ำ​40​บริษทั ​ณ​โรงแรม เชอรำตัน​แกรนด์​สุขมุ วิท,​เอ​ลักซ์ชรู ​ี่ โฮเท็ล​ กรุงเทพฯ​

บริษทั ​เมืองไทยประกันชีวติ ​จ�ำกัด​ (มหำชน)​โดย​พิตรำภรณ์​บุณยรัตพันธุ​์ รองกรรมกำรผู้จัดกำรอำวุโส​เป็นผู้แทน มอบเงิ น บริ จ ำคซึ่ ง ได้ จ ำกกำรประมู ล ของที่ระลึกของ​เป๊ก​ผลิตโชค​ในงำน มินิคอนเสิร์ต​‘เป๊ก​ผลิต​Love​Presented​ by​เมื อ งไทยประกั น ชี วิ ต ’​ให้ แ ก่ มู ล นิ ธิ เมืองไทยยิม้ ​เพือ่ โครงกำร​‘ตรวจวัดสำยตำ ประกอบแว่น​ฟรี’​โดยมี​ปุณฑริกำ​ใบเงิน​ กรรมกำรมูลนิธเิ มืองไทยยิม้ ​เป็นผูร้ บั มอบ​ ทัง้ นี​้ มูลนิธเิ มืองไทยยิม้ ได้ดำ� เนินโครงกำร ตรวจวัดสำยตำประกอบแว่น​ฟรี​ต่อเนือ่ ง เป็นปีท​ี่ 2​โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ช่วยเหลือ ผู้สูงอำยุที่ยำกไร้ซ่ึงอยู่ในพื้นที่ห่ำงไกล​ และไม่สะดวกในกำรเดินทำงไปตรวจวัด สำยตำ​ได้มคี วำมสุขและรอยยิม้ ผ่ำนกำรมองเห็นที่ชัดเจนอีกครั้ง

มิ ต ซู บิ ชิ เ อ ล เ ล เ ว เ ต อ ร์ (ประเทศไทย) เปิดโลกการเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ ใ ห้ แ ก่ เด็กไทย มูลนิธมิ ติ ซูบชิ ​ิ อิเล็คทริคไทย​ร่วมกับ บริษทั ​มิตซูบชิ ​ิ เอลเลเวเตอร์​(ประเทศไทย)​ จ�ำกัด​น�ำโดย​มร.​มุเนฮิสะ​โอกำโมะโตะ​ กรรมกำรผู้จัดกำร​พร้อมด้วยเจ้ำหน้ำที่ วิศวกรจำกกลุม่ บริษทั ​ Mitsubishi​ Electric​ ประเทศไทย​จัดกิจกรรมห้องเรียนวิทยำศำสตร์ ให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษำชั้นปีที่​4​ และ​5​จำกโรงเรียนสำธิตบำงนำ​จ�ำนวนกว่ำ​ 200​คน​ด้วยกิจกรรมสนุกๆ​ที่สอดแทรก แนวคิดด้ำนวิทยำศำสตร์​อำทิ​กำรทดลอง เรื่องกำรถ่ำยเทควำมร้อน​(Heat​Transfer)​ สร้ำงหอคอยไข่​วงจรไฟฟ้ำมหำสนุก​โดย มุง่ เน้นให้เด็กๆ​ได้ทดลองท�ำจริง​ฝึกทักษะ กำรท�ำงำนร่วมกันเป็นทีม​พร้อมทัง้ ปลูกฝัง ให้เด็กมีแนวควำมคิดสร้ำงสรรค์​โดยจัดขึน้ ​ ณ​บำงนำคอนเวนชั่น​เซ็นเตอร์​โรงแรม บำงนำไพรด์​กรุงเทพฯ


23 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

อั พ เ ด ต แ ว ด ว ง ข่ าวสังคมทีน ่ า่ สนใจ ในรอบสัปดาห์

Singing in the Rain 3: Good Old Days จบลงไปอย่ ำ งชุ ่ ม ฉ�่ ำ แล้ ว กั บ เทศกำลดนตรี ไม่กลัวฝน​ในงำน​Chang​Music​Connection​Presents​ Singing​in​the​Rain​3:​Good​Old​Days​ไม่อยำกเป็นเด็ก​ แต่ก็ไม่อยำกโตเลย​ณ​แรนโช​ชำญวีร์​รีสอร์ท​แอนด์​ คันทรี​คลับ​เขำใหญ่​จังหวัดนครรำชสีมำ​บรรยำกำศ ภำยในงำนเต็มไปด้วยควำมสนุกและควำมสุข​จำก กำรแสดงของศิลปินทัง้ ​11​ชีวติ ​เป็นเวลำกว่ำ​11​ชัว่ โมง​ ได้แก่​The​Toys,​25​Hours,​Stamp,​Superbaker,​ URboyTJ,​Wan​Thanakrit,​Ink​Waruntorn,​Earth​ Patravee,​Image​Suthita,​Polycat​และ​Slot​Machine​ นอกจำกนี้ยังมีโชว์พิเศษจำก​3​สำว​Ink​&​Earth​&​ Image​ทีม่ ำเซอร์ไพรส์หนุ่มๆ​หน้ำเวที​เรียกว่ำละลำย เพรำะควำมน่ำรักของสำวๆ​กันเป็นแถว​ส�ำหรับใครที่ อยำกติดตำมคอนเสิรต์ ดีๆ​แบบนีอ้ กี ​สำมำรถดูขำ่ วสำร กำรจัดงำนได้ท่​ี www.createintelligence.co.th

ลีสซิง่ กสิกรไทย จัดแคมเปญ สินเชือ ่ รถครบทุกด้าน

ซั นไบทส์ พลัส ขนมข้าวอบ กรอบ ผสมข้ า วไรซ์ เ บอร์ รี่ อร่อย... ไม่รู้สึกผิด

SEPHORA เปิดปรากฏการณ์ ความงามสาขาใหม่ ทีเ่ ซ็นทรัล พลาซ่า บางนา

‘ติ ด ตลก’ เพลงใหม่ โอ๊ ต ปราโมทย์ ดึง เจน BNK48 มาเป็นนางเอก

​กติ ติชำติ​ด่ำนวชิระกุล​รองกรรมกำรผู้จัดกำร​บริษัท​ลีสซิ่งกสิกรไทย​จ�ำกัด​ เปิ ด ตั ว แคมเปญ​‘KLeasing​สิ น เชื่ อ รถ ครบทุกด้ำน’​ส�ำหรับลูกค้ำทีม่ บี ญ ั ชีเงินเดือน กับธนำคำรกสิกรไทย​เมื่อสมัครสินเชื่อ รถใหม่​รับดอกเบีย้ ต�ำ่ พิเศษเริม่ ต้น​1.89%​ ต่อปี​ไม่ตอ้ งมีผคู้ ำ�้ ประกัน​หรือสมัครสินเชือ่ รถช่วยได้กสิกรไทย​รับส่วนลดดอกเบี้ย​ 0.55%​ต่อปี​ด้วยอัตรำดอกเบีย้ แบบลดต้น ลดดอก​และรับเพิ่มฟรี​ตู้แช่เก็บอุณหภูมิ ติดรถยนต์มูลค่ำ​2,990​บำท​เมื่อสมัคร ภำยในวันที​่ 31​ธันวำคม​2561​และออกรถ หรือเบิกใช้วงเงินภำยในวันที่​31​มกรำคม​ 2562

‘​ซั น ไบทส์ ’ ​แบรนด์ ข นมขบเคี้ ย ว เพื่อผู้บริโภคที่ใส่ใจในสุขภำพ​โดยบริษัท​ เป๊ปซี่-โคล่ำ​(ไทย)​เทรดดิ้ง​จ�ำกัด​เปิดตัว ผลิตภัณฑ์ล่ำสุด​‘ซันไบทส์​พลัส​ขนมข้ำว อบกรอบ​ผสมข้ำวไรซ์เบอร์ร่’ี ​ด้วยรสชำติ เข้มข้นอร่อยเต็มค�ำของขนมข้ำวอบกรอบ​ พร้อมผสมข้ำวไรซ์เบอร์รแี่ บบเต็มๆ​ซึง่ เป็น แหล่งของสำรต้ำนอนุมูลอิสระและวิตำมิน ต่ำงๆ​อำทิ​เบตำแคโรทีน​วิตำมินอี​วิตำมิน บี​1​โอเมกำ-3​ผ่ำนกรรมวิธีกำรอบแทน กำรทอด​จึงท�ำให้มปี ริมำณไขมันน้อยกว่ำ​ 40%​มำพร้อมอีกหนึง่ รสชำติอย่ำง​‘ซันไบทส์​ พลั ส ​ขนมข้ ำ วอบกรอบ​ผสมสำหร่ ำ ย’​ วำงจ�ำหน่ำยแล้ววันนีใ้ นขนำด​56​กรัม​รำคำ​ 20​บำท​ในร้ำนสะดวกซื้อ​ซูเปอร์มำร์เกต​ และห้ำงสรรพสินค้ำชั้นน�ำทั่วประเทศ

S​ EPHORA​(เซโฟรำ)​ผู ้ น� ำ ด้ ำ น ควำมงำมระดับโลก​เปิดสำขำล่ำสุดซึง่ เป็น สำขำที่ ​8​ณ​เซ็ น ทรั ล ​พลำซำ​บำงนำ​ เอำใจบิวตี้เลิฟเวอร์สและนักช้อป​จัดเต็ม เมกอั พ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ด ้ ำ นควำมงำม แบรนด์ดงั จำกทุกมุมโลก​ในบรรยำกำศและ ประสบกำรณ์ช้อปปิ้งที่แตกต่ำง​ให้ลูกค้ำ สนุกกับกำรเลือกลองสินค้ำได้ตำมต้องกำร​ พร้อมพนักงำนทีใ่ ห้บริกำรจำกประสบกำรณ์ จริง​มุ่งสร้ำงให้​SEPHORA​เป็นคอมมูนติ ี้ ด้ำนควำมงำมที่ลูกค้ำคนรักควำมงำม ต้องมำ​(SEPHORA​The​Most​Loved​Beauty​ Community)

‘​โอ๊ต’​-​ปรำโมทย์​ปำทำน​นักร้อง นักเอนเตอร์เทนเนอร์หนุ่ หมีอำรมณ์ดแี ห่ง บ้ำนไวท์มวิ สิค​ในเครือจีเอ็มเอ็มแกรมมี่ฯ​ เปิดตัวเพลงใหม่​ติดตลก​จำกกำรเขียน เนือ้ เพลงโดย​อะตอม​ชนกันต์​ทีถ่ ำ้ ใครฟัง แล้วต้องเข้ำใจอำรมณ์​#ตลกแต่ไม่ตลอด​​ และควำมพิเศษคือกำรร่วมงำนกับศิลปิน ดำวรุง่ พุง่ แรงอย่ำง​เจน​BNK48​ติดตำมฟัง และชมมิวสิกวิดโี อเพลงติดตลก​พร้อมควำมเคลือ่ นไหวได้ท​ี่ FB​:​Whitemusicrecords​/​ IG​@oatpramote​/@whitemusicrecord​


24

LIFE

เรื่อง

พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai

ภาพ

ธนดิษ ศรียานงค์ ช่างภาพ thanadis@gmail.com

ISSUE 555 10 SEP 2018


25 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

IF THE WIN D IS R IGHT, YOU CAN S AIL AWAY AND FIND TRANQUI LI T Y การรอ คือสิง่ ทีง่ า่ ยทีส ่ ด ุ และยากทีส ่ ด ุ ในเวลา เดียวกัน เรามาถึงภูเก็ตในวันฝนตกหนัก ขัดกับ ควา มตั้งใจในการมาชมการแข่ ง ขั น เรื อ ใบ Phuket Raceweek 2018 ที่จะมีขึ้นในวัน รุ่ งขึ้ นเสี ยเหลื อ เกิ น หากสภาพอากาศยั ง เป็นแบบนี้ เห็นทีการแข่งขันอาจจะต้องเลือ ่ น ออกไปจนกระทั่งฟ้าฝนเป็นใจ ยิ่ ง เห็ น ภาพนั ก กี ฬ านั่ ง เล่ น ริ ม หาด เพือ ่ หวังจะออกเรือแล้ว ก็ยงิ่ ท�าให้เกิดค�าถาม ขึ้นว่า ในโลกที่มีเทคโนโลยีมากมายซึ่งท�าให้ เราสามารถเดินทางไปทีต ่ า่ งๆ ด้วยเวลาอัน รวดเร็ว แต่ท�าไมคนกลุ่มหนึ่งยังคงเชื่อมั่น ทีจ่ ะใช้เรือใบเป็นยานพาหนะอันแสนเชือ ่ งช้า และมีข้อจ�ากัดด้านธรรมชาติมากขนาดนี้ คนเมืองผูไ้ ม่มท ี ก ั ษะการรอคอยอย่างเรา รีบคว้าโทรศัพท์ขน ึ้ มาตรวจสอบสภาพอากาศ ของวันรุง ่ ขึน ้ ส่วนบางคนก็มน ี า�้ เสียงกังวล ว่าเหล่านักกีฬาจะได้ลงแข่งกันหรือไม่ แต่หาก มองไปทีน ่ ก ั แข่งเรือใบทีม ่ าจากหลายประเทศ ทัว่ โลก พวกเขาก็ยง ั คงนัง ่ ชิลอยูร ่ ม ิ หาดด้วย สีหน้าเรียบเฉย บ้างก็นง ั่ จิบเบียร์เย็นๆ หรือ อ่า นหนังสือเล่มหนา ราวกับการเลื่อนหรือ ยกเลิกการแข่งขันเป็นทีเ่ กิดขึน ้ อยูเ่ ป็นประจ�า “เรื อ ใบเป็ น กี ฬ าที่ ส อนให้ รู้ จั ก การรอคอย” นักกีฬาคนหนึ่งบอกกับเราขณะ ที่ ลมก�าลังพัดอย่างรุนแรง ดูเหมือนว่าเขา จะเข้าใจกฎเกณฑ์ธรรมชาติและการรอคอย มากกว่าเราหลายเท่า เนือ ่ งจากมีชวี ต ิ ทีค ่ น ุ้ เคย กับ ความเอาแต่ใจของแรงลมและกระแสน�้า มาเป็นเวลาหลายปี ในระหว่างรอให้ท้องฟ้ากลับมาสดใส อีกครั้ง เราจึงถือโอกาสพูดคุยกับหนึ่งอดีต นัก กีฬาเรือใบทีมชาติไทย และสองนักแล่น เรื อ ใบหญิ ง จากประเทศออสเตรเลี ย ถึ ง ประสบการณ์การเล่นเรือใบที่เริ่มจากกีฬา และงานอดิเรก ไปสู่การค้นพบความหมาย ของชีวต ิ และธรรมชาติ ท่ามกลางเสียงคลืน ่ สายลม และสัตว์นา�้ น้อยใหญ่ทโี่ ผล่พน ้ น�า้ ขึน ้ มาทักทายในบางจังหวะเวลา ซึง ่ ท�าให้การรอ ทุ ก วิ น าที ข องพวกเขาล้ ว นมี ค วามหมาย พลั น ท� า ให้ เ รานึ ก ถึ ง เพลง Sailing ของ คริสโตเฟอร์ ครอสส์ ที่เคยได้ยินมาตั้งแต่ เด็ก

And if the wind is right, you can sail away and find tranquility Oh, the canvas can do miracles, just you wait and see. Believe me


26 ISSUE 555 10 SEP 2018

INTO THE MYST IC และธรรมชาติ​อย่างเช่น​ลิน​อีวานส์​นักแล่นเรือใบหญิง ล�านัน้ ออกทะเลเป็นครัง้ แรก​ทัง้ ๆ​ทีพ่ วกเราก็ไม่รวู้ ธิ ที ถี่ กู ต้อง อารมณ์ดจี ากซิดนีย​์ ออสเตรเลีย​ทีต่ กหลุมรักชีวติ ท่ามกลาง หรอก​เราแค่ ล องผิ ด ลองถู ก ไปเรื่ อ ยๆ​แต่ ป รากฏว่ า มั น เป็นช่วงเวลาที่ดีมาก​แล้วฉันก็ตกหลุมรักการแล่นเรือใบ สายลมและเสียงคลื่นมายาวนานกว่า​40​ปี มาตั้งแต่วนั นั้น​พร้อมกับศึกษาวิธีแล่นเรือมาเรื่อยๆ” “ฉัน เริ่ม แล่น เรือ ใบตั้ง แต่อ ายุ ​5​ขวบ”​เธอค่อ ยๆ​ ​คงจะไม่ผิดนัก​หากพูดว่าสิ่งที่พ่อของเธอทิ้งไว้ให้ เล่าถึงจุดเริ่มต้นในการแล่นเรือใบสมัยยังเป็นเด็กหญิง ตัวเล็กที่ท�าเอาพวกเราหัวใจพองโตไปตามๆ​กัน​“มันเริ่ม ได้เปลี่ยนชีวิตของเธอไปตลอดกาล​โดยนอกจากการเป็น มาจากว่าพ่อของฉันต่อเรือเป็นงานอดิเรก​แล้วเขาก็สร้าง นักกีฬาในรายงานแข่งขัน​(Regatta)​ต่างๆ​แล้ว​เธอยังเคย ​แต่เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนผ่าน​ผู้คนได้ค้นพบวิธีการ เรื อ ล� า หนึ่ ง ให้ ค รอบครั ว ​แต่ แ ล้ ว วั น หนึ่ ง เขาก็ ป ่ ว ยหนั ก แล่นเรือใบเพือ่ การผจญภัยและความเพลิดเพลินข้ามมหาสมุทร แปซิฟิกมาแล้วด้วย เดินทางใหม่ๆ​ที่ง่ายดายและรวดเร็วขึ้น​การแล่นเรือใบ และจากไป​โดยไม่ทนั ได้น�าเรือล�านั้นออกไปแล่น จึงค่อยๆ​เปลีย่ นบทบาทจากพาหนะไปในการเดินทางมาสู่ “ด้วยความคิดถึงพ่อ​ฉันกับแม่จึงตัดสินใจน�าเรือ กีฬาและงานอดิเรกในหมูค่ นทีร่ กั กิจกรรมแนวแอดเวนเจอร์ ​ไม่มีใครรู้แน่ชัดว่าการแล่นเรือใบครั้งแรกของโลก เกิดขึ้นเมื่อไหร่​แต่ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์​มนุษย์ ได้ใช้กระแสน�า้ และทิศทางลมมาเป็นเครือ่ งมือในการเดินทาง มายาวนานกว่าหลายพันปี​เช่น​1,200​ปีก่อนคริสตกาล​ ที่ กรีซแล่นเรือกว่า​1,000​ล�า​ไปท�าสงครามที่กรุงทรอย​ หรือชาวไวกิ้งที่แล่นเรือไปยังทวีปอเมริกาเหนือเมื่อราว​ 1,000​กว่าปีท่แี ล้ว

3

BASIC SAILING TECHNIQUES เรียนรู้ 3 วิธพ ี น ื้ ฐานของการแล่นเรือใบ

1. Beating (วิ่งทวนลม / วิง่ ก้าว) : ใช้หว ั เรือเฉียง เข้าหาลมประมาณ 45 องศา หรือน้อยกว่า

2. Reaching (วิ่งขวาง ลม) : ใช้ หั ว เรื อ ตั้ ง ฉาก กับลมประมาณ 90 องศา

3. Running (วิ่ ง ตาม ลม) : ใช้หว ั เรือวิง ่ ตามลม ให้ลมเข้าทางท้ายเรือ


27 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

LS MAN I A S AG ER ​ไม่ต่างจาก​‘ครูยอด’​-​ศุภกิจ​ด้วงเงิน​ อดีตนักกีฬาเรือใบทีมชาติ​และประธานสโมสร เรือ ใบสมุย ยอร์ ช คลับ ​ผู ้ เ ติบ โตมากับ สโมสร เรือใบฐานทัพสัตหีบ​จนซึมซับวัฒนธรรมและ ทักษะการแล่นเรือใบมาตั้งแต่เด็กๆ​“ผมเห็น เพื่ อ นๆ​ของพ่ อ เป็ น นั ก แข่ ง เรื อ ใบที ม ชาติ​ ก็รู้สึกว่ามันเท่มาก​ได้ไปแข่งหลายที่​จนอยาก เป็นแบบเขาบ้าง”

8

MAIN PA R T S OF SAILING B OAT

​แต่แน่นอนว่าการเริ่มเล่นเรือใบช่วงแรก อาจไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งง่ า ยนั ก ​เนื่ อ งจากเป็ น กี ฬ าที่ ควบคุมยากและใช้ทักษะหลายส่วน​ “ในช่วงเริม่ ต้น​เราต้องเรียนรูจ้ ากลมและ บัง คับ ให้ ไ ด้​มือ ต้ อ งควบคุม เชือ กและบัง คับ หางเสื อ ​ส่ ว นตาต้ อ งมองเส้ น ทางข้ า งหน้ า​ หัวสมองต้องคิดว่าเราจะปรับมันยังไงให้แล่น ได้เร็วทีส่ ดุ ​ต้องประมวลผลหลายทาง​แต่พอเล่น ไปนานๆ​แล้วอยากเล่นให้เก่ง​ความยากมันจะ เป็นการค�านวณลมและกระแสน�้าแทน “มั น เป็ น ศาสตร์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงทุ ก วั น​ อย่างว่ายน�า้ ​เราจะรูว้ า่ เราว่ายในลู​่ น�า้ เป็นน�า้ นิง่ ​ หรือฟุตบอลเราก็เตะกันในสเตเดียม​มีขอ้ จ�ากัด ชัดเจน​แต่สนามแข่งขันเรือใบมันไม่ได้สร้าง มาจากฝีมือมนุษย์​ต่อให้ทุ่มเงินพันล้านก็สร้าง เกาะ​สร้ า งทะเลไม่ ไ ด้ ​มี ทั้ ง วั น ที่ ล มแรงและ ไม่มีลม​มีคลื่นใหญ่​คลื่นเล็ก​ฝนตก​พายุเข้า​ กระแสน�้ า มั น เปลี่ ย นตลอด​ทิ ศ ทางการเล่ น ก็ตอ้ งปรับแต่งเสมอ​ท�าให้เป็นกิจกรรมทีท่ า้ ทาย และเรียนรู้ได้ไม่รู้จบ” เมื่อเราเอ่ยถามว่านักกีฬาฝีมือดีอย่าง ครูยอดเคยเรือล่มหรือไม่​เขาก็หัวเราะออกมา อย่างอารมณ์ดีพร้อมกับเน้นเสียงว่า​“เคยสิ​ ถ้าเล่นเรือใบ​ทุกคนต้องเคยเรือล่มกันมาทัง้ นัน้ ​ เป็นเรือ่ งธรรมดามากและเป็นบทเรียนแรกทีต่ อ้ ง รูเ้ ลย​เพราะนอกจากจะบังคับเรือได้แล้วเราก็ตอ้ ง กูเ้ รือเป็นด้วย​ส่วนใหญ่ทลี่ ม่ ก็เพราะลมแรงมาก จนเรือเอียงและควบคุมไม่ไหว”

8 ส่วนประกอบส�าคัญของเรือใบ

ใบเรือ (Sail)

7

1

เสากระโดง (Mast)

ไม้ส�าหรับ ตรึงผ้าใบเรือ 2 (Batten) 8

เชือกดึงใบ (Forestay)

3

พังงา (Tiller) 4

ล�าตัวเรือ (Hull)

5

หางเสือ (Rudder)

6

คัดแคง (Center board)

THROUGH THE STORM ​เรือ่ งราวของมนุษย์ตวั เล็กๆ​ทีต่ อ้ งต่อสูก้ บั ความยิง่ ใหญ่ของมหาสมุทรและธรรมชาติ​ ชีวิตเราขึ้นอยู่กับธรรมชาติอย่างเดียว​ถามว่าเหนื่อยไหม​ก็เหนื่อย​เพราะถ้าเทียบกับ ท�าให้เราเผลอนึกถึงภาพยนตร์เรื่อง Life of Pi​ที่แสดงให้เห็นถึงภัยอันตรายเกินคาดเดา คนทั่ วไป​เวลาท�างานเสร็จก็กลับบ้านไปพัก​แต่เมือ่ เราอยูบ่ นเรือ​เราต้องผลัดกันเปลีย่ นกะ ประมาณคนละ​4​ชั่วโมง​และแล่นตลอดเวลา​24​ชั่วโมง​ไม่หยุด​แต่ทันใดที่พระอาทิตย์ ของกระแสน�้าและคลื่นลม​ซึ่งลินได้เล่าประสบการณ์สดุ ระทึกให้เราฟังว่า ขึ้นที่ขอบฟ้า​ความเหนื่อยล้านั้นจะหายไป​และกลายเป็นความรู้สกึ เป็นหนึ่งกับธรรมชาติ “การแล่นเรือใบก็เป็นกีฬาทีเ่ รียกได้วา่ อันตรายมาก​มีหลายครัง้ ทีเ่ ราออกเรือไปแล้ว แทน”​เธอยิ้มและพูดต่อ​“การได้เห็นพระอาทิตย์ข้นึ จากมหาสมุทรติดต่อกันถึง​6​สัปดาห์ ดันเกิดพายุ​มีคลื่นลูกใหญ่​แล้วเราต้านไม่ไหวจนสุดท้ายเรือล่ม​ทั้งๆ​ที่เราออกจากฝั่ง เป็นความทรงจ�าที่ดีมาก” ไปแค่นดิ เดียว​แต่ทกุ อย่างมันมืดไปหมดจนเรามองไม่เห็นชายฝั่งด้วยซ�้า​ไม่ร้เู ลยว่าตัวเอง นอกจากการได้เข้าใจธรรมชาติแล้ว​ลินยังกล่าวว่าการแล่นเรือใบยังน�าไปสูบ่ ทสนทนา อยู่ตรงไหน​แต่พออยู่กับเพื่อนๆ​เราก็ช่วยกันดึงสติว่าทางนี้นะเกาะที่เรามา​ค่อยๆ​เซตอัพ ที่ดีเสมอ​เพราะกลางทะเลไม่ได้มีสิ่งให้ความบันเทิงอื่นๆ​นอกจากการพูดคุยกับเพื่อน กันใหม่​แล้วแล่นกลับเข้าฝั่งให้เร็วที่สุด ร่วมท างและแลกเปลี่ยนเรื่องราวในชีวิตของกันและกัน​ “การแล่นเรือคือบทสนทนา​ “ครั้งหนึ่งเราได้แล่นเรือใบจากซิดนีย์ไปคิวบากัน​3​คน​ซึ่งเป็นเวลา​6​สัปดาห์เต็ม คือมิตรภาพ​คือการรู้จักและเข้าใจเพื่อนที่ออกเรือไปด้วยกัน”​เธอย�้าด้วยน�า้ เสียงสดใส ที่เราลอยอยู่แต่บนทะเลโดยไม่ได้ข้นึ ฝั่งเลย​มันอันตรายมาก​เพราะเราคาดเดาอะไรไม่ได้​


28 ISSUE 555 10 SEP 2018

WH

ในฐานะอดีตนักกีฬาทีมชาติที่ต้องพาเรือใบไปถึงเส้นชัยให้เร็วที่สุด​ ครูยอดยอมรับว่า​ในช่วงแรกเขาเคยคิดว่าการแล่นเรือใบคือการควบคุม ธรรมชาติ​แต่จริงๆ​แล้วความคิดนั้นกลับกลายเป็นขั้วตรงข้ามอย่างสิ้นเชิง​ เพราะสุดท้ายแล้วมักเป็นธรรมชาติมากกว่าที่ควบคุมสิ่งมีชีวิตตัวเล็กๆ​ อย่างเรา​และสิ่งที่ดีที่สุดที่มนุษย์ท�าได้​คือการควบคุมจิตใจของตัวเอง “ผมเรียนรู้ว่าเราแทบจะควบคุมธรรมชาติไม่ได้เลย​เราไม่มีทางรู้ว่า วันนีล้ มจะแรงขึน้ ไหม​หรือมันจะเบาลง​สิง่ ทีเ่ ราท�าได้มนั เป็นแค่การคาดคะเน​ แล้วปัดตัวเราให้เป็นส่วนหนึง่ ของธรรมชาติ​อย่างเวลาแล่นเรือแล้วลมมันเบา​ แต่เ ราจะไปใจร้อน​มันก็ไม่มีป ระโยชน์​ บางทีก ว่าจะสตาร์ทได้ต้อ งรอ ครึง่ ชัว่ โมง​สีส่ บิ นาที​เราอารมณ์รอ้ นไม่ได้​แต่ถา้ เราผ่อนคลาย​แล้วเราเข้าใจ กฎเกณฑ์ท่เี ปลี่ยนแปลงไม่ได้​เราจะไม่ล�าบากใจที่จะรอ “​ กีฬาเรือใบมันสอนให้คนรอเป็น​ทุกวันนีค้ นไม่คอ่ ยรอกัน​ต้องได้ทกุ ๆ​ อย่างในเวลาที่เร็วที่สุด​จนบางทีเราก็หลงลืมไปว่าบางอย่างมันต้องรอเวลา ที่ถูกต้องเหมาะสม​อีกอย่างที่ผมชอบในเรือใบคือ​มันท�าให้ผมได้ห่างจาก โลกออนไลน์​เราอยู่กลางทะเล​ส่วนใหญ่กไ็ ม่ได้พกมือถือกันอยู่แล้ว​ทุกคน ต้องมีสมาธิกับหน้าที่ของตัวเอง”​ ค�าพูดของครูยอดท�าให้เราเข้าใจทันทีว่า ท�าไมนักกีฬาเรือใบส่วนใหญ่ถงึ ไม่ได้รสู้ กึ ร้อนรนกับสภาพอากาศในวันทีผ่ า่ นมา เท่าคนเมืองอย่างเรา ​ส่วน​ซูซาน​ปาร์กเกอร์​นักแล่นเรือใบหญิงจากเมืองเพิร์ท​ประเทศ ออสเตรเลีย​ยังเสริมว่า​ความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกับสายลมและสายน�้า​ ท�าให้เธอรู้สึกอยากรักษาความสวยงามนี้ไปตลอด​“ฉันอยากเห็นน�้าทะเล ใสๆ​แบบนี้ไปเรื่อยๆ​บางครั้งเราแล่นเรือใบออกไปก็ได้เห็นโลมา​เต่าทะเล​ และนกกระทุง​มันเป็นความรู้สกึ ที่ยิ่งใหญ่มาก”

O WA I T

PROFILE

THOS R O F E

01

‘ครู ย อด’ - ศุ ภ กิ จ ด้ ว งเงิ น อดี ต นั ก กี ฬ า เรื อ ใบที ม ชาติ แ ละประธานสโมสรเรื อ ใบ ส มุยยอร์ชคลับ ผู้มีประสบการณ์การแล่น เรือใบมากว่า 25 ปี

02

ลิน อีวานส์ นักแล่นเรือใบหญิงอารมณ์ดี จ ากซิดนีย์ ผู้เคยแล่นเรือจากออสเตรเลีย ไปยังคิวบาพร้อมกับเพื่อนร่วมทีมอีก 3 คน

03

ซู ซ าน ปาร์ ก เกอร์ นั ก แล่ น เรื อ ใบหญิ ง จากเพิรท ์ ออสเตรเลีย ทีม ่ าเข้าร่วมการแข่งขัน Phuket Raceweek เป็นครั้งแรก


29 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

THE SEAMANSHIP ​วันสุดท้ายก่อนกลับ​เราได้แวะไปเดินเล่นบริเวณ ชายหาดพันวา​ที่ขณะนี้กลายเป็นลานจอดเรือหลายสิบล�า​ เนื่องจากสภาพอากาศที่กา� ลังดี​ มีแดดอ่อนๆ​และสายลม พัดไม่ขาดสาย​กลุม่ นักกีฬาตัง้ แต่วยั เด็ก​วัยผูใ้ หญ่​จนไปถึง วัยเก๋า​ จึงออกมาเตรียมการแข่งขันอย่างขะมักเขม้นกัน ตั้งแต่เช้าตรู่ “เรื อ ใบเป็ น กี ฬ าที่ คุ ณ เล่ น ได้ ต ลอดชี วิ ต ​ในกลุ ่ ม ของเรา​มีคุณยายคนหนึ่งอายุตั้ง​72​ปีแล้ว​แต่เธอก็ยัง แล่นเรือใบอยู่เสมอ​และไม่ว่าคุณจะเป็นผู้หญิงหรือผู้ชาย​ คุณก็สามารถเล่นกีฬานี้ท้งั นั้น​ในออสเตรเลียเรามีศูนย์ฝึก เด็ ก ผู ้ ห ญิ ง ตั้ ง แต่ ​6​ขวบ​จนไปถึ ง วั ย รุ ่ น และวั ย ท� า งาน​ แต่ในวันทีล่ มแรงมากๆ​ผูห้ ญิงทีแ่ ล่นเรือก็อาจจะล�าบากกว่า

​“คนเขาบอกกันว่า​คนเล่นเรือใบได้ต้องรวยและต้อง ผู้ชายนิดนึง​เพราะต้องใช้พลังเยอะ​เราจึงต้องคิดวางแผน​ คิดกลยุทธ์ต่างๆ​กันมากกว่าเดิม”​ซูซานกล่าว​พลางมอง ว่าง​แต่มันก็ไม่จริงเสมอไปเพราะผมก็ไม่ได้รวย​(หัวเราะ)​ ที่บอกว่ารวย​ น่าจะต้องเป็นเจ้าของเรือมากกว่า​ แต่อย่าง ไปที่เพื่อนร่วมการแข่งขันจากหลายประเทศ ผมเองและนักกีฬาคนอื่นๆ​ก็ไม่ได้มีใครเป็นเจ้าของเรือ​ ทั้งเธอ​ ลิน​ และครูยอด​ ก็ล้วนมีปณิธานแน่วแน่ว่า เราสามารถไปลองเล่นทีส่ โมสรได้​ไปแข่งได้​โดยไม่ตอ้ งมีเรือ เรือใบจะเป็นกีฬาทีพ่ วกเขาจะยึดมัน่ ต่อไปจนถึงวันสุดท้าย เป็นของตัวเอง​เราก็ได้เรียนรู้เหมือนกัน”​ครูยอดกล่าว ของชีวติ ​“โดยส่วนตัวผมคงแล่นเรือไปจนตาย​แล้วผมก็อยาก ​คลื่นทะเลซัดเข้าฝั่งอย่างสม�่าเสมอ​เป็นสัญญาณ ส่งต่อทักษะตรงนี้ให้เด็กๆ​รุ่นต่อไปด้วย​อย่างปัจจุบัน ผมเป็นประธานชมรมเรือใบในสมุย​ชื่อว่าสมุยยอร์ชคลับ​ บอกว่าวันนี้ลมเป็นใจให้นกั กีฬาได้ออกไปผจญภัยกันแบบ และมี เ พจ​SEA​HUB​ที่ ใ ห้ ค วามรู ้ เ รื่ อ งเรื อ ใบและข้ อ มู ล ไม่ต้องรอนานนัก​แต่พวกเขาก็บอกว่าไม่จ�าเป็นต้องไป ข่าวสารต่างๆ​เพื่อเป็นช่องทางให้เด็กๆ​และเยาวชนหันมา คาดหวังมากนักหรอก​ต่อให้ยังไม่มีลม​พวกเขาก็รอได้ สบายมาก​ เล่นเรือใบกันมากขึ้น


30

S PA C E & T I M E

ISSUE 555 10 SEP 2018

“การท�าอาหาร ส�าหรับเราเปรียบ เสมือนการวาดรูป เพราะการท�าอาหาร เหมือนเป็นศิลปะอย่าง หนึง่ เวลาทีไ่ ด้หยิบจับ จัดวาง ค่อยๆ ประดิษฐ์ แล้วได้เห็นสีหน้าลูกค้า มีความสุข เราก็มี ความสุขไปด้วย”

จุฑามาส ชัยเมือง

HOME COOKING CAFÉ IN JAPANESE VIBES คาเฟ่กลิน ่ อายญีป ่ น ุ่ สุดอบอุน ่ ในสวนผักสีเขียว

JOY TABLE, LADPRAO 64 HOURS : THU-FRI 9.00 AM-5.00 PM, SAT-SUN 9.00 AM-7.00 PM

เสียงใสๆ ของเจ้าของร้านทักทายเราทันทีทเี่ ดินเข้าร้าน Joy Table คาเฟ่หลังเล็กสีขาวในแปลงปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ทซี่ อ ่ นตัวอยูใ่ นย่านลาดพร้าว ของ ‘จอย’ - จุฑามาส ชัยเมือง ผูต ้ งั้ ใจท�าสถานทีแ่ ห่งนีใ้ ห้มก ี ลิน ่ อายของความเป็นญีป ่ น ุ่ ทีเ่ รียบง่าย ให้บรรยากาศของความเป็นกันเองเหมือนมานัง่ ทานอาหารบ้านเพือ ่ น ด้วยเมนูอาหารธรรมดาๆ ไม่ปรุงแต่งมาก ท�าให้ระหว่างทีน ่ ง่ั อยูใ่ นร้านเรารูส ้ ก ึ เห็นด้วยกับประโยคทีเ่ คยมีคนพูดว่า ‘บทสนทนา และอาหารดีๆ ท�าให้วน ั วันดีๆ ขึน ้ ได้’ ​“เราใฝ่ฝนั อยากมีคาเฟ่มานานแล้ว​แต่ถา้ ถามถึงแรงบันดาลใจจริงๆ​มาจากการดูหนังเรือ่ ง​Little Forest​แล้วชอบมากจนอยากใช้ชวี ติ แบบนีใ้ นพืน้ ทีเ่ ล็กๆ​ของเราเอง”​เธอบอกเราในขณะมองไป รอบๆ​ตัวร้านทีต่ กแต่งด้วยสไตล์เรียบง่าย​ใช้เฟอร์นเิ จอร์ไม้สนี �้าตาลอ่อน​มีเก้าอีม้ อื สองจากโกดังญีป่ นุ่ ​โทนสีของร้านเป็นสีขาว-น�้าตาล​เพือ่ ให้คนทีเ่ ข้ามารูส้ กึ อบอุน่ และรับรูก้ ลิน่ อายของความเป็นญีป่ นุ่ แสนละมุนละไม มองออกไปนอกหน้าต่างของร้าน​จะเห็นแปลงปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ปลอดสารพิษเรียงรายกันอย่างสวยงาม​เพราะนอกจากบทบาทการเป็นเจ้าของร้านแล้ว​คุณจอยยังรับบทเป็นผู้ช่วยดูแล ฟาร์มผักไฮโดรโปนิกส์แบรนด์​‘ต้นผักแมวน�า้ ’​ด้วย “เราสนใจการท�าฟาร์มผักเพราะชอบเห็นสีเขียวๆ​ท�าให้รสู้ กึ สบายใจ​แต่ปญ ั หาหลักๆ​ทีเ่ จอคือผักพวกนีเ้ ป็นผักฤดูหนาว​เวลาทีเ่ จออากาศแปรปรวนก็จะตาย​เป็นปัญหาตามฤดูกาลทีต่ อ้ งดูแล กันไป”​​​​ ​สา� หรับ เมนูอาหารของทีร่ า้ นจะใช้ผกั ทีป่ ลูกเองเป็นวัตถุดบิ ในการประกอบอาหาร​เน้นสลัดต่างๆ​เช่น​สลัดแซลมอนรมควัน​สลัดเต้าหูย้ า่ ง​สลัดกุง้ เนยกระเทียม​สลัดอกไก่และขนมปังกระเทียม​ ซึง่ ความพิเศษคือเป็นเมนูสขุ ภาพ​ปรุงแต่งน้อยทีส่ ดุ ​เรียบง่าย​ท�าง่าย​และกินง่ายตามคอนเซ็ปต์ของร้าน ​“การท�าร้านเหมือนเป็นชีวิตของเรา​ก่อนที่จะมีร้านเราก็ยังคิดอะไรสะเปะสะปะ​ชอบท�าอาหารก็ท�า​ถ่ายรูปก็ถ่าย​แต่พอมีร้านแล้วเราก็มีความสุขกับมันมาก​ลูกค้าบางคนกลายเป็นเพื่อนเที่ยว​ เพือ่ นกินของเราไปเลย​เพราะมีความสนใจอะไรคล้ายๆ​กัน​มีการพูดคุยแลกเปลีย่ นกันตลอด​การเปิดร้านนีเ้ ลยท�าให้ได้เจอคนดีๆ​ซึง่ เป็นประสบการณ์ทดี่ มี าก” เรื่อง : มณิสร สุดประเสริฐ ภาพ : ณัฐริกา มุค�า


31 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

เรื่อง

ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล บรรณาธิการ sarunya.magazine@gmail.com

ภาพ

กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร หัวหน้าช่างภาพ kritdhakorn@gmail.com

THE STORY OF STUFF

หลายคนอาจชืน ่ ชอบบันทึกการเดินทางท่องเทีย ่ ว บันทึกเรือ ่ งราวชีวต ิ ผ่านการเขียนลงในสมุด แต่ยง ั มีอก ี หนึง ่ วิธท ี ส ี่ ามารถ บั น ทึก เรื่องราว ประสบการณ์แ ละความชื่นชอบตั้ งแต่ เด็ ก จนกลายมาเป็ น ตั ว ตนในปั จ จุ บั น ได้ อย่ า งที่ ‘เอฟ’ - วิทิต ชัยสัมฤทธิโ์ ชค ดีไซเนอร์และนักบริหารของสตูดโิ องานไม้ MHOE (MADE HERE ON EARTH) ใช้ คือการบันทึกชีวต ิ ความคิด และไอเดียด้วยตัวแทนข้าวของที่พกติดตัว รวมทั้งสิ่งของที่เขาได้สร้างขึ้นจนเห็นเป็นรูปธรรมจับต้องได้

01 02 03

08

07

04

06

05

วิทต ิ ชัยสัมฤทธิโ์ ชค

MY PA ST, MY PRESENT, MY FUTURE

1. แก้วทัมเบลอร์ “เพือ่ นทีท ่ ำ� งำนทีร่ ำ้ นสตำร์บคั ส์ให้ไว้ตงั้ แต่ 10 ปีทแี่ ล้ว ส�ำหรับใส่กำแฟไว้ดมื่ แทนกำรใช้แก้วพลำสติก เรำยังใช้อยู่ และใช้ได้ดจี นถึงทุกวันนี้ 2. ‘น้อม’ Drip Stand “ผลงำนออกแบบชิน้ ล่ำสุด ทีใ่ ช้จริงในร้ำนกำแฟ SATI ซึง่ ได้รบั รำงวัล DEmark Award 2018 ประเทศไทย เป็นชิน้ งำนทีร่ วบรวมควำมคิดและประสบกำรณ์เสมือนสมุดบันทึกของเรำ แต่มำในรูปสิง่ ของแทนทีจ่ ะเป็นกระดำษ” 3. Dripper “ผมเคย ท�ำงำนออกแบบกับเพือ่ นทีช่ ำมเริญสตูดโิ อ เขำท�ำงำนเซรำมิก เรำท�ำงำนไม้ และมีแท่น Drip Stand ไม้ทตี่ อ้ งใช้คกู่ นั เรำถือว่ำสิง่ นีเ้ ป็นตัวแทนของมิตรภำพทีด่ ขี องพวกเรำ” 4. เครือ่ งบดแบบมือหมุน “เป็นของทีอ่ ยู่ ในรถ ขนำดก�ำลังพอดี ใช้งำ่ ย สำมำรถบดกำแฟได้หนึง่ แก้ว เรำจึงต้องพกติดตัวไว้ โดยเฉพำะเวลำไปท�ำงำนนอกสถำนทีห่ รือไปเทีย่ วในทีท่ หี่ ำกำแฟดืม่ ไม่ได้” 5. CWC “เรือนนีผ้ ลิตในยุค 80s เป็นรุน่ พิเศษทีท่ ำ� ขึน้ เพือ่ มอบให้กบั ทหำรสัญญำบัตรของนำวิกโยธินชำวอเมริกนั และเรำก็ชอบดูนำฬิกำข้อมือ เพรำะเมือ่ เห็นตัวเลขก็จะรูว้ ำ่ ยังมีอะไรทีท่ ำ� ในช่วงเวลำถัดไป” 6. ประแจเลือ่ น “ตัวแทนเครือ่ งมือทีบ่ ง่ บอกควำมเป็นเรำ ได้มำกที่สุด เพรำะของเล่นตอนเด็กคือเครื่องมือช่ำงที่แอบหยิบของพ่อและพกใส่กระเป๋ำติดตัว เรำเอำไปเปิดเพื่อรื้ออุปกรณ์อื่นๆ ดูระบบข้ำงในจนรู้และเข้ำใจได้เอง” 7. ZIPPO “ไฟแช็กสุดเท่ในควำมคิด ตอนเด็ก เพรำะเห็นจำกฉำกพีกในหนังเวลำตัวละครรำดน�้ำมัน เปิดฝำ จุดไฟดังแฉ้ง! แล้วโยนทิ้ง ก่อนเดินจำกไป เรำเลยบอกตัวเองว่ำสักวันต้องมีให้ได้” 8. เครื่องหนัง “องค์ควำมรู้เดิมจำกสมัยเรียน ชั้นประถมที่โรงเรียนวัดพลับพลำไชย มีสอนวิชำท�ำเครื่องหนังและฟอกหนัง มันยังคงชัดเจนอยู่ จนวันที่เรำท�ำงำนออกแบบ ควำมรู้นี้จะช่วยต่อยอดไอเดียให้เรำได้มำกมำย”


32

A THOUSAND WORDS

เรื่อง

ทรรศน หาญเรืองเกียรติ บรรณาธิการบทความ TWITTER : @Matt_Doraemon

THE INVESTOR

ISSUE 555 10 SEP 2018

NATEE UTARIT OIL ON LINEN, 2015 50 X 40 CM.

“INNOCENEC IS UNDERATED” ABOUT NATEE UTARIT

นที อุตฤทธิ ์ ส�ำเร็จกำรศึกษำจำกคณะจิตรกรรม ประติมำกรรมและภำพพิมพ์ มหำวิทยำลัยศิลปำกร ปี พ.ศ. 2534 เขำสนใจภำพวำด เกีย ่ วกับศำสนำในโลกตะวันตกและศิลปะคลำสสิก งำนหลำยชิน ้ ของเขำน�ำไปสูก ่ ำรน�ำเสนอโลกปัจจุบน ั ผ่ำนมุมมองด้ำนปรัชญำ สังคม กำรเมือง และศำสนำ ด้วยมุมมองของคนเอเชีย ซึง ่ เขำได้รบ ั กำรยกย่องให้เป็นบุคคลส�ำคัญแห่งวงกำรศิลปะเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เคยจัดแสดงผลงำน ในพิพิธภัณฑ์ระดับนำนำชำติ อำทิ นิทรรศกำร Optimism is ridiculous: The Altarpieces ณ Ayala Museum กรุงมะนิลำ ประเทศ ฟิลป ิ ปินส์, นิทรรศกำร Hermann Nitsch & Natee Utarit: Existence & Senses ณ Galerie Zimmermann Kratochwill ประเทศออสเตรีย และนิทรรศกำร Thai Eye ณ Saatchi Gallery กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เป็นต้น


33 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

สีตลา ชาญวิเศษ นักเขียน คนท�างานด้านวางแผนคอนเทนต์ นักบรรยายด้านการตลาดสร้างสรรค์และการเล่าเรื่อง ก่อนหน้านี้เคยเขียนบทความความรักและความสัมพันธ์ มาก่อน แต่ถึงจุดอิ่มตัวเลยผันมาเขียนเล่าเรื่อง ‘หนังสือ’ ที่ชอบอ่านแทน นอกจากนี้ยังเป็นคนใช้ชีวิตแต่ละวันเสมือนการเดินทางทางจิตวิญญาณ

เรื่อง

B R E AT H E I N

เร าเป็นคนหนึ่งที่ชอบซื้อหนังสือเป็นของฝาก เหตุผลเพราะเป็นคนชอบหนังสือ และคิดว่าหนังสือเป็นเหมือนเพื่อนคนหนึ่ง ฉะนั้น เวลาเราให้ หนังสื อ ใคร ก็ เ หมื อ นเราพาเพื่ อ นใหม่ ไปให้ เขาคนนั้ น รู้ จั ก และเรามั ก หวั ง เล็ ก ๆ ในใจเสมอว่ า ขอให้ เ พื่ อ นใหม่ เ ล่ ม นั้ น เล่ ม นี้ ม อบเรื่ อ งเด็ ด โดนใจ ให้คนอ่านบ้าง อย่างน้อยสักนิดหนึ่งก็ยังดี

แต่เราก็ไม่ใช่คนให้หนังสือคนซี้ซั้วโดยไม่ดูตาม้าตาเรือ เพราะเอาเข้าจริงหนังสือคล้ายกับยา แม้จะรักษาโรคหรืออาการ เจ็บปวดได้ แต่ขอ้ เสียคือมันเป็นของขม มันหนา มันต้องใช้เวลา และความตั้งใจในการอ่าน ฉะนั้น เวลาเราเลือกหนังสือให้ใคร เกณฑ์แรกที่ดูคือ มันต้องสนุกและไม่ทรมานคนอ่านจนเกินไป ล่าสุดเราหาหนังสือไปให้น้องวัยรุ่น ตอนแรกคิดอยู่นาน ว่ า เอาเล่ ม ไหนดี สุด ท้ ายก็เ ลือ กหนังสือ วัยรุ่ นที่ค รองแชมป์ ขายอยู่ในร้านหนังสือไทยหลายปี นั่นคือหนังสือแปลเกาหลีช่อื เพ ราะเป็นวัยรุ่นจึงเจ็บปวด เขียนโดยอาจารย์มหาวิทยาลัย คิมรันโด คว ามน่าสนใจที่ท�าให้เราชอบหนังสือเล่มนี้ คือมันเป็น หนังสือของคนเกาหลีใต้ ประเทศที่มีบริบทการเลี้ยงดูลูกหลาน คล้ายกับไทย ถ้าทีไ่ ทยมีคา่ นิยมอยากให้ลกู หลานเอ็นท์ตดิ จุฬาฯ ธรรมศาสตร์ ที่เกาหลีใต้กม็ ี ‘SKY’ คือ ม.โซล (Seoul) ม.โคเรีย (Korea) และ ม.ยอนเซ (Yonsei) ซึง่ แน่นอนว่าแค่คา่ นิยมเรือ่ งเดียว ก็พอบอกได้เลยว่าทีเ่ หลือเป็นอย่างไร เด็กเกาหลีใต้จนถึงผูใ้ หญ่ เป็นประสาทกับค่านิยมสอบเข้ามหาวิทยาลัยดังๆ เด็กเกาหลี เล ยต้องฟิตติวหนังสือหามรุ่งหามค�า่ แบกความกดดันว่าต้อง สอ บเข้า SKY ให้ได้ แล้วพอสอบไม่ได้ ก็เหมือนชีวิตล้มเหลว ส่วนพ่อแม่กไ็ ม่มีเรื่องให้ภาคภูมใิ จ ในท�านองเดียวกัน การเลีย้ งดูเพือ่ ให้ลกู เป็นอย่างนัน้ อย่างนี้ ตามทีพ่ อ่ แม่หวัง เลยไม่ตา่ งกับของไทย ดังนัน้ วัยรุน่ ที่ คิมรันโด เขียนถึง จึงเป็นวัยรุน่ ทีแ่ บกความกดดันและความเจ็บปวดคล้าย กั บ วัยรุ่นบ้านเรา ที่ต่างมีความกลัวและค�าถามชีวิตที่ใกล้เคียง กัน ได้แก่ 1. ไม่รู้ว่าต้องใช้ชีวิตอย่างไร

เวลาอ่านหนังสือเล่มนี้ จะสังเกตได้ว่า คิมรันโด พูดอยู่ ไม่กี่เรื่อง เรื่องหนึ่งเลยคือ การให้ความมั่นใจในการใช้ชีวิตด้วย ตัวเอง เหตุผลก็เพราะวัยรุน่ เกาหลีเติบโตมาในครอบครัวทีพ่ อ่ แม่ ดูแลและวางแผนทุกอย่างมาตั้งแต่เด็ก ฉะนั้น พอถึงวันที่วัยรุ่น ต้องคิดหรือท�าอะไรเอง ว่าง่ายๆ คือเริ่มใช้ชีวิตตัวเองจริงๆ เช่น เรี ย นมหาวิทยาลัยหรือเข้าท�างาน พวกเขาหลายคนมักกลัว และงุนงง เพราะพ่อแม่ไม่ได้บอกว่าต้องท�าอย่างไรต่อ เพราะโลกความเป็นจริงมีทงั้ ความผิดหวัง ความเจ็บปวด ความโหดร้ายที่พ่อแม่อาจไม่ได้เตือนหรือบอกได้ทุกอย่าง ซึ่งนี่

คือชีวติ ของผู้ใหญ่ คือชีวติ ทีต่ ้องเรียนรู้เอง ตัดสินใจเอง เจ็บเอง แล ะ เ ยียวยาตัวเองเอง วัยรุ่นจึงมักกลัวการใช้ชีวิตด้วยตัวเอง กลัวว่าตัวเองจะคิดผิด กลัวตัวเองตัดสินใจผิด โดยเฉพาะกลัว ความผิดพลาด เพราะคิดว่ามันคือความล้มเหลว แต่ ห นังสือเล่มนี้ คิมรันโดจะยกตัวอย่างและข้อคิด มา ก ม ายเพื่อยืนยันให้วัยรุ่นมั่นใจในตัวเองและมีแรงใจที่จะ ใช้ชีวิต

บางคนใช้ชีวิตโดยหลงลืมคนที่พวกเขารัก บางคนหมดเวลา แทบจะทัง้ ชีวติ ไปกับคนทีไ่ ม่เหมาะกับตัวเอง บางคนจมปลักกับ ทัศนคติลบๆ จนพลาดโอกาสดีๆ หลายต่อหลายครั้ง เป็นต้น ฉะ นั้ น สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ค นเก่ า มั ก สอนคนใหม่ อ ยู ่ เ สมอคื อ อย่าพลาดอะไรบ้าง เพราะเวลาที่พลาดไปแล้ว มันน่าเสียดาย และเจ็บปวดมาก เช่นกันกับหนังสือเล่มนี้ คิมรันโด พยายาม บอกวัยรุน่ ว่า พวกเขาควรลงทุนกับอะไร ควรให้ความส�าคัญกับ อะไร และควรใช้เวลาและพลังงานไปกับอะไร จะได้ไม่ต้องมา เจ็บปวดเมื่อเป็นผู้ใหญ่ว่า “รู้ง้ี ฉันน่าจะ... ไปแล้ว” 3. ไม่รู้จะปลดล็อกความทุกข์ตัวเองอย่างไร

เมื่ อ ต้ อ งเลื อ ก หนั ง สื อ สั ก เล่ ม ให้ วั ย รุ่ น : วั ย รุ่ น กลั ว อะไร?

2. ไม่รู้ว่าต้องให้ความส�าคัญกับอะไร

เนือ่ งจากหนังสือเล่มนีเ้ ป็นหนังสือที่ คิมรันโด ตัง้ ใจเขียน ให้ลูกตัวเอง ดังนั้น หลายบทในหนังสือจึงเป็นเนื้อหาที่เขาหยิบ ประสบการณ์ทั้งดีและไม่ดีของตัวเขามาสอนลูก ซึ่งเรื่องหนึ่งที่ คิมรันโด ดูจะเป็นกังวลมากเป็นพิเศษก็คอื กลัวว่าลูกจะซ�า้ รอยเดิม กับสิ่งที่ผู้ใหญ่ท่เี คยเป็นวัยรุ่นมาก่อนได้พลาดไปแล้ว เพราะผูใ้ หญ่หลายคนมักมารูต้ วั ตอนสายว่า ตัวเองใช้ชวี ติ ไม่คมุ้ ค่าหรือใช้ชวี ติ ไปอย่างน่าเสียดาย เช่น บางคนดับฝันตัวเอง กลางคันและใช้ชวี ติ อย่างค้างคาใจว่าชีวติ นีฉ้ นั ไม่ได้ทา� ตามฝัน

เรือ่ งใหม่และเรือ่ งใหญ่ของการเป็นวัยรุน่ คือ พวกเขา ค่ อ ยๆ พบสัจธรรมด้านลบบนโลกนี้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น คว า ม ผิดหวัง การผิดพลาด การรอคอย การถูกปฏิเสธ ความอับอาย ความเคียดแค้น ความสับสน ความไม่ยตุ ธิ รรม แล ะ ส ารพัดต่างๆ นานาที่ทา� ให้ทกุ ข์ใจ และเมื่อพบเรื่อง เห ล่ านี้ ก็จะเกิดเป็นค�าถามในใจว่า พวกเขาควรรับมือ อย่างไร พวกเขาควรเข้าใจมันอย่างไร ซึ่งเอาเข้าจริง ไม่ใช่ แค่ วัยรุ่นเท่านั้นที่ถาม แต่ผู้ใหญ่หลายคนก็ยังถามด้วย เช่นกัน หนังสือเล่มนีก้ จ็ ะสอดแทรกมุมมองทีช่ ว่ ยให้คนอ่าน ได้ เ ห็นอีกมิติของความทุกข์ ซึ่งส่วนตัว เราชอบวิธีอธิบาย ของ คิมรันโด เพราะเขาไม่ได้บอกว่าวิธขี องเขาคือการก�าจัด คว า ม ทุกข์ แต่เป็นการใช้ชวี ติ อยู่กับความทุกข์อย่างสันติ ต่างหาก และจริงๆ ความทุกข์กไ็ ม่ได้แย่ เพราะคนเราส่วนใหญ่ เติ บ โตขึ้นจากความทุกข์ ไม่ใช่เพราะความสุขหรือความส�าเร็จ และ ทั้ ง หมดนี้ ก็ คื อ ข้ อ สั ง เกตและเหตุ ผ ลที่ เ ราเลื อ ก หนังสือเล่มนี้ไปฝากน้องๆ วัยรุ่น อย่างแรกคือ คิมรันโด เล่าได้ สนุ ก ไม่น่าเบื่อ คือเขียนเป็นตอนสั้นๆ ถัดมาคือ หนังสือเล่มนี้ คุย กั บวัยรุ่นที่มีพื้นฐานคล้ายๆ กับวัยรุ่นไทย และสามคือ หนังสือเล่มนี้ตอบค�าถามในใจของวัยรุ่นได้เป็นอย่างดี ซึ่ ง เ ราเชื่อว่า ถ้าใครได้หนังสือเล่มนี้ไปเป็นเพื่อนใหม่ อย่างน้อยก็คงได้ข้อคิดอะไรสักอย่างติดชีวติ และติดตัวแน่ๆ

หมา ย เ หตุ ส�าหรับใครที่อยากได้หนังสือ ‘เพราะเป็นวัยรุ่นจึงเจ็บปวด’ เล่มนี้เขียนอีเมลมาคุยกันหน่อยว่า คุณอยากมอบหนังสือเล่มนี้ให้ใคร? แล้วท�าไมคุณถึงอยากมอบให้เขา? ส่งมาที่อีเมล seetala.ch@gmail.com ใครที่เราประทับใจ ขอมอบหนังสือเล่มนี้ให้ 1 เล่ม


34

, EDITOR S NOTE

IN DEEP SH*T

เรื่อง

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

ช่ ว งอาทิ ต ย์ ห น้ า หนั ง สื อ เล่ ม ใหม่ ข องผม ก็จะเริ่มวางแผง มันเป็นการรวมบทบรรณาธิการ ในนิตยสาร a day BULLETIN ช่วงสองปีที่ผ่านมา ซึง่ น่าจะถือว่าเป็นช่วงเวลาทีห่ นักหน่วงทีส่ ดุ ในทุกมิติ ของชีวิต ทั้งเรื่องการงาน ครอบครัว มิตรภาพ และ ความเปลี่ยนแปลงทางความคิดของตัวเอง บรรณาธิการส�านักพิมพ์ a book ช่วยคัดเลือก และรวบรวมขึน้ มาบางส่วน แล้วน�ามาให้ผมลองอ่าน ดูอีกครั้ง ท�าให้รู้สึกเหมือนได้ย้อนไปทบทวนชีวิต ผ่านงานเขียนแต่ละชิ้นๆ ของตัวเองตลอดสองปี ที่ผ่านมา มีหลายตอนที่อ่านแล้วรู้สึกอึดอัด คับข้องใจ อย่างบอกไม่ถกู เพราะรูสู้ กึ เหมือนตัวเองก�าลังสัง่ สอน เทศนา เป็นคนชอบเจ้ากี้เจ้าการกับผู้คนหรือกับ เรื่องราวที่ผ่านเข้ามาในชีวิต เหมือนอวดตัวว่าเป็น ผู้รู้เรื่องนั้นเรื่องนี้เสียเต็มประดา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรื่องปรัชญาชีวิต ในขณะที่มีบางตอนที่เมื่อได้อ่านมันอีกครั้ง ก็ยังรู้สึกตื่นเต้นและสดใหม่ เหมือนเพิ่งเขียนเสร็จ เคาะแป้นตัวอักษรสุดท้ายลงไป ใจยังคงสัน่ ๆ หวาดกลัว วิตกกังวล และความโศกเศร้าทัง้ ปวง น�า้ ตายังคงคลอๆ กับความรู้สึกที่ฝังแฝงอยู่ในแต่ละค�า แต่ละย่อหน้า แต่ละเรื่อง มีเพื่อนหลายคนมาบอกว่าผมเขียนหนังสือ สะเทื อ นใจเกิ น ไป โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ส� า หรั บ ในบริบทนิตยสารส�าหรับคนรุ่นใหม่ ที่ใช้ชีวิตและ ท�างานอย่างมีความสุขความส�าเร็จในเมืองใหญ่ ผมเองก็ไม่แน่ใจเหมือนกัน ว่าบทบรรณาธิการ เหล่านัน้ จริงๆ แล้วผมเขียนขึน้ มาเพือ่ เป็นการเกริน่ น�า เข้าสู่เนื้อหาภายในเล่ม หรือว่าเขียนเพื่อแบ่งปัน ความรูส้ กึ ภายในใจให้กบั ผูอ้ า่ นกลุม่ เล็กๆ ของตัวผมเอง เข้ามาสัมผัสมัน ขนบของนิตยสารแต่เดิมนัน้ เหมือนเป็นการบอก การสอน เพราะโลกของสื่อแบบเก่านั้นผู้คนยังขาด ข้อมูลข่าวสารและความรู้ จึงต้องพึ่งพาสื่อที่จะมา คอยบอกว่าเราจะต้องท�าอย่างไร อย่างเช่นนิตยสาร แนวไลฟ์สไตล์ ที่จะต้องเป็นตัวแทนของผู้รู้ สามารถ บอกได้ว่าช่วงนี้ ผู้อ่านควรจะต้องรู้เรื่องอะไรและ ด�าเนินชีวิตไปอย่างไร เทียบกับสังคมในปัจจุบันที่เทคโนโลยีเปลี่ยน สือ่ ก็เปลีย่ นไป ข้อมูลข่าวสารและความรูแ้ พร่กระจาย ออกไปทุกทิศทุกทาง เนือ้ หาทีพ่ วกเราต้องการก็นา่ จะ เปลี่ยนแปลงไป ผูค้ นส่วนใหญ่เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้งา่ ย และ สามารถบอกเล่าเรื่องราวและความรู้สึกของพวกเขา ออกมาผ่านช่องทางสื่อใหม่ได้มากมาย ทุกวันนี้ จึงมีเรื่องราวแห่งความสุขความส�าเร็จ มหาสมุทร ดิจิต อลคอนเทนต์ ท ่ ว มท้ น ไปด้ ว ยค� าสอน ค� า คม ปรัชญา แรงบันดาลใจ สลับแซมด้วยภาพถ่ายกับ คนดัง อาหารหยาดเยิ้ม น่ า กิน และการเดิน ทาง ท่องเที่ยวผจญภัยแปลกใหม่และท้าทาย หน้าจอ บนฝ่ามือของเราจึงเหมือนเป็นนิตยสารในตัวมันเอง อยู่แล้ว เวลาผ่านไป ตัวเราเติบโตขึ้น ความคิดอ่าน ก็เปลี่ยนแปลงไป แต่สิ่งที่คงอยู่ทนทานและเนิ่นนาน อย่างแท้จริงนั้นคือเรื่องราวและความรู้สึก ผมคิดว่า ทุกวันนีเ้ ราเชือ่ มโยงถึงกันด้วยเรือ่ งราวและความรูส้ กึ มากกว่าจะด้วยความคิดเห็นและข้อมูลข่าวสาร ดังนั้น เมื่อย้อนไปอ่านต้นฉบับเก่าในช่วง สองปีที่ผ่านมาของตัวเอง ผมกลับชอบงานที่เพื่อนๆ บอกว่ามันสะเทือนใจเกินไป เพราะมันให้ความรู้สึก ที่ยอดเยี่ยมมากกว่า เมื่อได้แบ่งปันกับผู้อ่านของผม อย่างที่บอกไว้ตอนต้น ว่ามันเป็นช่วงเวลาที่ หนักหน่วง เข้มข้น และเต็มไปด้วยสีสนั มีบางสัปดาห์

ISSUE 555 10 SEP 2018

ทีส่ นุกสนานรืน่ เริง และมีบางสัปดาห์ทจี่ ติ ใจก�าลังทิง้ ดิง่ ลงไป พร้อมกับปัญหาในชีวิตส่วนตัว และแรงกดดัน จากการงาน ทีป่ ระเดประดังเข้ามา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในบทความตอนถูกน�ามาใช้เป็นหนังสือเล่มนี้ ณ จุดที่ย�่าแย่ที่สุด ผมกอบเก็บชิ้นส่วนของ ตัวเอง แล้วป่ายปีนกลับขึ้นมา ด้วยวิธีการลึกลับ อันเป็นต�ารับส่วนตัว คือการหามุมมืดๆ ในออฟฟิศ นั่งเงียบๆ อยู่คนเดียว เผชิญหน้ากับหน้าจอและ เดดไลน์โรงพิมพ์ แล้วพยายามเขียนอะไรบางอย่าง ออกมาให้ส�าเร็จ รายละเอียดของเรื่องราวจะถูกซุกซ่อนไว้ใน รหัสลับบางอย่าง บางค�า บางวรรค บางย่อหน้า เมื่อย้อนกลับไปอ่านเจอตรงจุดนั้นอีกครั้ง ก็เหมือน เรือ่ งราวและความรูส้ กึ เหล่านัน้ ตลอดสองปีทผี่ า่ นมา ฉายขึ้นจออยู่เบื้องหน้า เรือ่ งราวผ่านเลยไป ความรูส้ กึ ยังคงเหมือนเดิม อย่างครบถ้วน ดีใจที่ได้เขียนมันออกมา และหวังว่า ผู้อ่านของผมจะสัมผัสมันได้ ถึงแม้เรื่องราวในชีวิต ของเราจะแตกต่างหลากหลายกัน แต่ผมเชื่อว่าเรา ทุกคนคงต้องเคยเผชิญหน้ากับจุดตกต�่าย�่าแย่ที่สุด และความรูส้ กึ ทีเ่ รามีตอ่ ชีวติ ในตอนนัน้ ไม่นา่ จะต่างกันมาก และคุณก็น่าจะชอบอ่านเรื่องราวเหล่านี้เช่นกัน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.