TODAY EXPRESS PRESENTS
LIFE IN FULL SWING ISSUE 428 I 3 - 9 OCTORBER 2016
EDITOR’S NOTE Begin Again and Again
เมื่อไหร่ที่มีโอกาสนั่งพูดคุยกับพี่ๆ เพื่อนๆ ในแวดวง ธุรกิจ ไม่มากก็น้อย ผู้เขียนต้องได้ยินค�าว่า ปรับตัว และ เปลี่ยนแปลง ผสมกลมกลืนอยู่ในบทสนทนา หลายคน ปรับและเปลีย่ นรูปแบบการท�าธุรกิจมาไม่ร้กู รี่ อบต่อกีร่ อบ จนเจ้าตัวเองก็แทบจ�าไม่ได้ แหกกฎทุกกฎทีว่ า่ ด้วยการเลือก วิธีที่ถูกที่สุดแล้วปักหลักท�าไปจนกว่าจะล้มหายตายจาก เพราะวันนีโ้ ลกหมุนเวียนเปลีย่ นไปจนมาถึงจุดทีก่ ารปรับตัว และเปลี่ ย นแปลงไปตามเงื่ อ นไขที่ จ� า เป็ น ต่ า งหาก ทีจ่ ะท�าให้เราอยูไ่ ด้อย่างยัง่ ยืน เพราะกระแสการเปลีย่ นแปลง ทุกวันนี้เชี่ยวกรากจนการฝืนต้าน อาจกลายเป็นการท� า ลายตั ว เองไปเปล่ า ๆ หรื อ มิ เ ช่ น นั้ น ก็ ท� า ให้ ตั ว เอง หมดเรี่ยวแรงโดยเปล่าประโยชน์ เปลี่ ย นรู ป แบบ ไม่ ไ ด้ เ ปลี่ ย นเนื้ อ หาสาระส� า คั ญ คือสิ่งที่ทุกคนพยายามย�้ากันในวงสนทนา เพราะเชื่อว่า หากคนเราหาแก่นแท้ของตัวเองได้แล้ว ก็อย่าไปกังวลกับ การปรับเปลี่ยนด้านอื่นๆ ถือเสียว่าการเปลี่ยนแปลงก็คือ การสลัดภาพเดิม เติมความสดชื่น และปรับมุมมองใหม่ๆ ที่เราอาจไม่เคยมองมาก่อน แม้ความเคยชินจะท�าให้ คนเรารู้สึกสบายอกสบายใจ แต่การเลือกที่จะมองในมุม ที่เคยชินแต่เพียงมุมเดียว ก็ต้องระวังว่ามันอาจจะท�าให้ เราผลิตแต่ความคิดที่เคยชิน เราอาจจะสบายใจก็จริง แต่คนอื่นอาจจะเบื่อแล้วไม่บอกก็ได้ใครจะไปรู้ เกริ่นมาทั้งหมดนี้ เพื่อจะน�าไปสู่ประเด็นที่ว่า a day BULLETIN และ a day BULLETIN LIFE จะเริ่ ม ต้ น เปลี่ยนแปลงตั้งแต่ในฉบับนี้เช่นกัน เป็นการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้ทันกับความต้องการรับรู้ข่าวสารและประเด็นต่างๆ ในสังคมที่ล้วนแต่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไปอย่างรวดเร็ว ความท้าทายของสื่ออย่างเราคือ ท�าอย่างไรจึงจะหยิบฉวย เรือ่ งทีเ่ ป็นประเด็นในสังคมในขณะทีม่ นั เกิดขึน้ และตัง้ อยู่ ได้ อ ย่ า งทั น ท่ ว งที ไม่ ใ ช่ หั น มาอี ก ที ก็ ดั บ วู บ ไปแล้ ว ด้วยเหตุนี้ เราจึงตัดสินใจที่จะปรับเปลี่ยนนิตยสาร a day BULLETIN จากที่เคยเป็นนิตยสารรายสัปดาห์ ที่เจอกัน สั ป ดาห์ ล ะครั้ ง ให้ ก ลายเป็ น นิ ต ยสารราย 3 วั น หมายความว่า ต่อไปนี้ คุณผู้อ่านจะได้เจอกับพวกเรา ทุกวันจันทร์และวันศุกร์ของทุกสัปดาห์ ส่วนนิตยสารอีกเล่ม คือ a day BULLETIN LIFE ก็จะกลายเป็นส่วนหนึ่งของ a day BULLETIN และจะมีสกู๊ปชวนรื่นรมย์ตามแบบฉบับ ของ LIFE ให้คุณอ่านอย่างจุใจกันสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
เช่นเดียวกัน พูดง่ายๆ ว่าด้วยวิธีเช่นนี้ ทีมงานของเรา จะสามารถน�าเสนอบทสัมภาษณ์ผคู้ นทีน่ า่ สนใจ หยิบจับ หลากหลายประเด็ น ที่ ทั้ ง เข้ ม ข้ น และรื่ น รมย์ กั บ ชี วิ ต มาให้ คุ ณ ติ ด ตามอ่ า นได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ทั น เหตุ ก ารณ์ มากขึ้ น ขณะเดี ย วกั น เราก็ ไ ม่ ไ ด้ ล ะทิ้ ง ความลึ ก ซึ้ ง รอบด้าน รวมทั้งมุมมองต่อประเด็นต่างๆ ในเชิงสร้างสรรค์ และสร้างแรงบันดาลใจเหมือนที่เราเคยเป็นตลอดมา นอกจากนัน้ เราก็ได้มกี ารปรับและปรุงอีกหลายคอลัมน์ ในเล่มเพื่อให้เหมาะกับการน�าเสนอเรื่องราวที่รวดเร็ว และกระชับมากขึ้น ส่วนการออกแบบในแต่ละคอลัมน์นั้น อาร์ตไดเร็กเตอร์และทีมงานของเราก็ท�าการบ้านมาอย่าง หนั ก เพื่ อ สร้ า งสรรค์ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ใ ห้ ยั ง คงมี เ สน่ ห ์ แ ละ สื่อสารกับคนอ่านได้อย่างคมคายเหมือนเคย พูดกันตรงๆ พวกเราทุกคนก็ยังคงเชื่อในพลังของสื่อสิ่งพิมพ์ที่สามารถ ท�างานกับความรูส้ กึ ของคนอ่านได้ในแบบทีห่ าสือ่ ชนิดอืน่ มาทดแทนได้ยาก วั น นี้ ท่ า มกลางการแข่ ง ขั น ที่ ดุ เ ดื อ ดในทุ ก วงการ โดยเฉพาะวงการสือ่ สิง่ พิมพ์ การปรับตัวและการเปลีย่ นแปลง ไม่ควรจะเป็นแค่ค�าถามให้เลือกว่าจะท�าหรือไม่ แต่มัน ควรจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการในชีวิตไปแล้ว ด้วยซ�า้ เพราะไม่มชี วี ติ ใดด�ารงอยูไ่ ด้โดยปราศจากการปรับตัว และการเปลีย่ นแปลง ค�าถามส�าคัญคือ เราจะเปลีย่ นอะไร และไม่เปลี่ยนอะไรต่างหาก การเปลี่ยนในสิ่งที่ไม่ควร เปลี่ยน อันตรายมากพอๆ กับการไม่เปลี่ยนในเรื่องและ เวลาที่ควรเปลี่ยน เพราะมันหมายถึงความเสี่ยงที่จะถูก สถานการณ์ ร อบตั ว เปลี่ ย นให้ เ รากลายเป็ น คนละคน ในแบบที่ เ ราไม่ ต ้ อ งการ ทั้ ง หมดนี้ เ ป็ น ศิ ล ปะของ การเปลี่ยนแปลงที่ทุกคนต้องเรียนรู้และยอมรับไม่มาก ก็น้อย แต่ที่แน่ๆ ขอให้รู้ว่า เราเลือกที่จะเปลี่ยนแปลง เพื่อเป็นสื่อที่อ่านสนุกและเปี่ยมด้วยเนื้อหาสาระที่คุณ เชื่อมั่นได้เช่นเคย
ทีป่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผูพ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย บรรณาธิการอ�านวยการ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ บรรณาธิการบริหาร วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม รองบรรณาธิการ วสิตา กิจปรีชา บรรณาธิ ก ารบทความ วรัญ ญู อิน ทรก�า แหง ห้ ว หน้ า กองบรรณาธิ ก าร วรรณวนัช ท้ ว มสมบู ร ณ์ กองบรรณาธิ ก าร ทรรศน หาญเรื อ งเกี ย รติ ปริ ญ ญา ก้ อ นรั ม ย์ พิ ม พ์ อ ร นทกุ ล มิ่ ง ขวั ญ รั ต นคช กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ประสานงาน / นักเขียน ตนุภัทร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ นิติพัฒน์ สุขสวย ช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ภาสกร ธวัชธาตรี วงศกร ยี่ดวง มณีนุช บุญเรือง บรรณาธิการศิลปกรรม วีระยุทธ คงเทศน์ ศิลปกรรม เอกพันธ์ ครุมนต์ตรี ชยุตม์ คชโกศัย อรณัญช์ สุขเกษม พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง ทศพล บุญคง ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 09-2964-1635, มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา วาณี กนกวิลาศ 09-5592-9419, มาสสุภา เอี่ยมมงคลศิลป์ 08-5056-0083, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, สุธาวัลย์ สุวรรณสิงห์ 08-1304-7070, ดวงใจ ดวงจังหวัด 08-6802-9996 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ผู้จัดการ จัณฑรัศมิ์ เกียรติยศ ผู้ช่วยผู้จัดการ ณัฐธยาน์ อึ้งตระกูลนิธิศ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ผู้ผลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com เว็บไซต์ www.daypoets.com, www.godaypoets.com นักศึกษาฝึกงาน ชัญญานิษฐ์ ชัยณรงค์สิงห์
วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม บรรณาธิการบริหาร Twitter : @khaopan
CONTENTs
ปีที่ 9 ฉบับที่ 428 วันที่ 3 - 9 ตุลาคม 2559
20 ALL ABOUT BIZ
เติมไฟในการท�าธุรกิจไปกับแนวคิด ดีๆ ของ เทพประทาน เหมเมือง ผู้ก่อตั้ง ‘กาแฟเทพประทาน’
22 SOCIAL IMPACT ส�ารวจความเคลื่อนไหวต่างๆ รอบตัว ที่สร้างความเปลี่ยนแปลง ในทางบวกให้กับสังคม
06 GOODNEWS
ติดตามข่าวสารดีๆ รอบโลก ประจ�าสัปดาห์ ได้ในห้องข่าวแห่งนี้
24 THE GUEST
เอ็มโซเฟียน เบญจเมธา ศิลปินเจ้าของงานเซรามิกที่เปี่ยม ไปด้วยความคิดสร้างสรรค์ และศรัทธาที่มีต่อศาสนา
10 INTERVIEW
คุยกันแบบสบายๆ กับนักกอล์ฟหญิง ชาวไทยมือวางอันดับ 2 ของโลก ‘โปรเม’ - เอรียา จุฑานุกาล
16 SHOPPING
Velvet เทรนด์ที่มาแรงสุดส�าหรับ ฤดูกาล Fall/Winter นี้
18 A MUST
สัปดาห์นี้มีอะไรบ้างที่น่าติดตาม สิ่งต่างๆ เหล่านี้เราเลือกสรร มาไว้เพื่อคุณ
LIFE
มาช่วยกันส�ารวจความเป็นไป ในพิพิธภัณฑ์ แล้วคุณจะพบว่า จริงๆ แล้วความสนุกนั้น แอบซ่อนอยู่ทุกซอกมุมจริงๆ
LETTER
เราติดตาม a day BULLETIN มาตัง้ แต่ชว่ งเรียนมหาวิทยาลัย จนตอนนีเ้ ริม่ ท�างานแล้ว เห็นการเปลีย่ นแปลงทีด่ ขี องนิตยสารทีเ่ รารักมาตลอด ตอนนีไ้ ด้ขา่ วการปิดตัวของนิตยสารหลายๆ ฉบับด้วยเหตุผลใดๆ ก็แล้วแต่ แต่เราไม่อยากให้ a day BULLETIN ต้องเกิดปัญหาอย่างนัน้ เราเองคงช่วยอะไรไม่ได้มาก ได้แต่คอยสนับสนุนด้วยการรับนิตยสารและอ่านทุกฉบับเท่านัน้ ขอบคุณกองบรรณาธิการทีต่ งั้ ใจท�านิตยสารดีๆ มาหลายปี และขอเป็นหนึ่งก�าลังใจให้ a day BULLETIN ยืนหยัดอยู่ในโลกสิ่งพิมพ์ของเมืองไทยได้อย่างสง่างามเหมือนที่เคยเป็นมา และตลอดไปนะคะ - Fafay ส่งความคิดเห็น ค�าติ-ชม หรือข้อเสนอแนะที่มีต่อ a day BULLETIN ได้ที่ บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 หรือทางอีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com กรุณาเขียนชื่อ-นามสกุลจริง และทีอ่ ยูม่ ากับจดหมาย เพือ่ ความสะดวกในการจัดส่งของรางวัลไปให้ และบรรณาธิการขออนุญาตตัดทอนจดหมายตามสมควร พิเศษ! จดหมายที่ได้รับเลือกลงตีพิมพ์ในช่วงเดือนนี้จะได้รับหนังสือดีๆ จากส�านักพิมพ์ ส่งไปให้ถึงบ้าน
DATABASE
TREND
VEGAN WE CAN
กระแสรักสุขภาพของคนเมืองที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้อาหารมังสวิรัติได้รับความนิยมมากขึ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา แต่จริงๆ แล้วแนวคิดการรับประทานมังสวิรัตินั้นเริ่มต้นมานานแล้ว ซึ่งก็มีหลายแง่มุมที่ผู้คนถกเถียงกันอยู่ว่า แท้จริงแล้วการใช้ชวี ติ ในแบบ ‘Vegan’ นัน้ มีประโยชน์และส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมสักแค่ไหน ซึง่ หากคุณสนใจทีจ่ ะเริม่ รับประทานมังสวิรัติ เราขอให้ลองส�ารวจข้อมูลเหล่านี้ดูก่อน เพื่อให้คุณรู้จักโลกของผู้ที่ปฏิเสธเนื้อสัตว์มากขึ้นอีกนิด
39 vs 1,850 การผลิตเนือ้ สัตว์ 1 ปอนด์ ต้องใช้ น�า้ ถึง 1,850 แกลลอน ในขณะที่ การผลิตพืชผัก 1 ปอนด์ ใช้น�้า 39 แกลลอน ดังนัน้ การกินมั ง สวิ รั ติ จึ ง ช่วยลดการใช้น�้าได้ จ�านวนมาก
1
Meatless Monday คื อ ความเคลื่อนไหวระดับสากล ที่ ร ณรงค์ ใ ห้ ง ดการบริ โ ภค เนือ้ สัตว์สปั ดาห์ละ 1 วัน โดย เลื อ กวั น จั น ทร์ ข องแต่ ล ะ สั ป ดาห์ เ ป็ น วั น ที่ จ ะทาน มังสวิรตั ิ เพือ่ สุขภาพทีด่ แี ละ ผลดีตอ่ โลกของเราด้วย ผูส้ นใจ สามารถหาข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ www.meatlessmonday.com
ทีมวิจยั จากมหาวิทยาลัยโลมาลินดา ในแคลิฟอร์เนีย พบว่า ผู้รับประทานมังสวิรัติแบบวีแกนมีโอกาสเป็นมะเร็งน้อยกว่า ผู้บริโภคเนื้อสัตว์ ผลการทดลองยังระบุอีกว่า ผู้หญิงที่เป็น วีแกน มีอัตราการเป็นมะเร็งที่พบในสตรี เช่น มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งรังไข่ ต�า่ กว่าผู้หญิงปกติถึง 34%
34
100
6
อาหารมังสวิรัติที่ให้โปรตีนสูงสุด ในปริมาณ 100 กรัม 36 กรัม 26 กรัม 19 กรัม 11 กรัม 9 กรัม
5. ถั่วเลนทิล 7. เต้าหู้ 8. ถั่วลันเตา 9. เคล 9. ถั่วงอก
#ทศกัณฐ์
14.9K Tweets มิวสิกวิดีโอเพลง เที่ยวไทยมีเฮ ซึ่งใช้ ‘ทศกั ณ ฐ์ ’ ตั ว ละครในวรรณคดี เ ป็ น คาแร็กเตอร์หลัก ได้กลายเป็นประเด็นโต้เถียงถึงเรือ่ งความเหมาะสมทางวัฒนธรรม
Facebook #ช่วยน้องด้วยนะคะ
1,000 people talking about this ปลิวไปอยูพ ่ กั หนึง่ ส�าหรับเพจโซเชียลมีเดีย สุดฮิตอย่าง ‘น้อง’ ก่อนจะกลับมาพร้อม ง.งู อีกตัว
#Brangelina
Ranking
1. ถั่วเหลือง 2. ถั่วลิสง 3. เมล็ดฟักทอง 4. ถั่วแระญี่ปุ่น 5. ข้าวโพด
ในแต่ละปี สัตว์กว่าหมืน่ ล้าน ชีวติ ถูกฆ่าเพือ่ น�ามาประกอบ อาหาร ถ้ า คุณ กิน มัง สวิรัติ 1 ปี คุณจะช่วยชีวติ สัตว์กว่า 100 ชีวติ ถ้าคุณกินมังสวิรตั ิ ตลอดชีวิต คุณจะช่วยรักษา ชีวติ สัตว์ได้นบั พัน
9 กรัม 8 กรัม 5 กรัม 4 กรัม 4 กรัม
หลายคนเข้าใจว่า วีแกน (Vegan) กั บ มั ง สวิ รั ติ (Vegetarian) คือสิง่ เดียวกัน แต่ความจริงแล้วการทาน มังสวิรตั แิ บ่ง 6 ระดับ ได้แก่ Vegan, Lacto vegetarian, Ovo-vegetarian, Lacto-Ovo vegetarian, Pollotarian และ Pescatarian โดย Vegan คือระดับเคร่งครัด สูงสุด ซึ่งจะไม่กินเนื้อสัตว์และไม่บริโภคผลิตผล จากสัตว์ทกุ ชนิด นอกจากนีย้ งั มีคนทีเ่ ป็น Flexitarian ซึง่ กินเนือ้ บ้างเป็นครัง้ คราวแต่กไ็ ม่นบั ว่าเป็นวีแกน เสียทีเดียว
86,866 people talking about this ช็อกทัง้ วงการกับการเลิกราของ แบรด พิตต์ - แองเจลินา โจลี หลังจากใช้ชวี ติ คูม่ า 12 ปี
YouTube The Voice USA
1,704,578 views at 22 Sep 2016 ซีซันที่ 11 เริ่มแล้ว พร้อมสองโค้ชใหม่ มากฝีมือ อลิเซีย คีย์ส และ ไมลีย์ ไซรัส ทีท่ า� ให้เทปแรกทัง้ ฟิน ข�า และซึง้ จนน�า้ ตาไหล
Black is now
152,455 views at 22 Sep 2016 ไม่ ใ ช่ แ ค่ ไ อโฟนอย่ า งเดี ย วที่ เ ป็ น สี ด� า เพราะเตาบาร์ บี คิ ว พลาซ่ า ก็ Black ไม่แพ้กัน
GOODNEWS
เจ้ า หมาหน้ า นิ่ ง ตั ว นี้ นั่งรถมากับเจ้าของ แต่มา โดนคุ ณ ต� า รวจประจ� า กรุงเคียฟ ประเทศยูเครน โบกเรียก ก็เลยได้ภาพฮาๆ ที่ดูเหมือนว่าเจ้าหมาน้อย เป็นคนขับรถคันนี้เสียเอง - Reuters / Gleb Garanich
POLITICS
สหประชาชาติ เห็นชอบปฏิญญานิวยอร์ก ว่าด้วยเรือ่ งผูอ้ พยพลีภ้ ยั Society
MOMENT OF THE WEEK
Adam Lancia นักกีฬาวีลแชร์บาสเกตบอลชายจากแคนาดา จุมพิตอย่างดูดดื่มกับ Jamey Jewells นักกีฬาวีลแชร์บาสเกตบอลหญิงซึ่งเป็นภรรยาของเขาเอง หลังสิ้นสุด การแข่งขันรอบตัดเชือก ซึ่งทีมวีลแชร์บาสเกตบอลหญิง จากแคนาดาเป็นฝ่ายเอาชนะทีมจีนได้ดว้ ยสกอร์ 63 ต่อ 52 ส่งผลให้ทมี วีลแชร์บาสเกตบอลหญิงจากแคนาดา ได้ครองล�าดับที่ 5 ในพาราลิมปิกเกมส์ 2016 ณ เมืองรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล ที่มา : Reuters
บรรดาผู้น� าจากประเทศสมาชิก สหประชาชาติ 193 ประเทศ เห็นชอบ ร่างปฏิญญาร่วมแก้ปัญหาผู้ลี้ภัยใน การประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติทมี่ หานครนิวยอร์ก โดยได้มคี วามพยายามให้มีการก� าหนดมาตรฐาน ในการตอบสนองต่อสถานการณ์ด้าน ผู้ลี้ภัย ซึ่งปัจจุบันทั่วโลกมีทั้งผู้อพยพ ผู ้ พ ลั ด ถิ่ น และผู ้ ลี้ ภั ย รวมกั น แล้ ว ประมาณ 65.3 ล้านคน โดยจะหาทาง เพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้แก่เด็กๆ และเพิม่ โอกาสด้านการประกอบอาชีพ แก่ผู้ลี้ภัย พร้อมทั้งก�าหนดแนวทาง ในการต่อสูก้ บั ความเกลียดกลัวผูล้ ภี้ ยั และชาวต่ า งชาติ นายบั น คี - มู น เลขาธิการยูเอ็น กล่าวว่า จะหาหนทาง เปลีย่ นแปลงความกลัวนัน้ ให้กลายเป็น ความหวัง ที่มา : www.nytimes.com
นักวิจัยค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างดวงจันทร์และแผ่นดินไหว
Did You Know?
จากการรายงานของนักวิจัยมหาวิทยาลัยโตเกียว ในวารสาร Nature Geoscience เปิดเผยว่า ‘เสี้ยวของดวงจันทร์’ หรือว่าวันข้างขึ้นข้างแรม มีความเชื่อมโยงบางส่วนกับ ความรุนแรงของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นบนโลก โดยในรายละเอียดระบุว่า แผ่นดินไหว ครั้งใหญ่มักจะเกิดขึ้นในช่วงขึ้น 1 ค�่า และขึ้น 15 ค�่า ของแต่ละเดือน ซึ่งคลื่นจะมี ความสู ง ที่ สุ ด เนื่ อ งจากการที่ ด วงจั น ทร์ ดวงอาทิ ต ย์ และโลกเรี ย งกั น เป็ น เส้ น ตรง ท�าให้ดวงจันทร์มีแรงดึงดูดต่อโลกมากขึ้น ที่มา : www.voathai.com
บ้านพักคนชรา ในเนเธอร์แลนด์ เปิดที่พักฟรี ให้กับนักศึกษา แลกกับการช่วยงาน
Humanitas บ้านพักคนชราเอกชนในเมืองเดเวนเตอร์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีโควตาที่พักฟรีส�าหรับนักศึกษา ระดับมหาวิทยาลัย แลกกับการช่วยเหลืองานเล็กๆ น้อยๆ และใช้เวลาร่วมกับเพือ่ นบ้านสูงอายุเพียง 30 ชัว่ โมงต่อเดือน เป็นอย่างน้อย สิ่งที่พวกเขาต้องท�าแลกกับที่พักฟรีก็แค่ ท�าตัวเป็นเพือ่ นบ้านทีด่ สี า� หรับผูช้ ราทุกคน ร่วมฉลองวันเกิด รับประทานอาหารเย็น เป็นเพื่อนดูการแข่งขันกีฬา หรือ อยูเ่ ป็นเพือ่ นในยามเจ็บป่วยซึง่ มักเป็นช่วงเวลาทีผ่ ชู้ รารูส้ กึ โดดเดีย่ วและอ่อนแอทีส่ ดุ เหล่าผูส้ งู อายุกล่าวว่า นักศึกษา หนุ ่ ม สาวเหล่ า นี้ น� า ความสดใสของโลกภายนอกมาสู ่ บ้านพักที่เงียบเหงาของพวกเขา ขณะที่เหล่านักศึกษา ก็กล่าวว่า พวกเขาได้เรียนรูห้ ลายสิง่ จากเพือ่ นบ้านผูส้ งู วัย เช่นเดียวกัน โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งเพื่อช่วยปรับเปลี่ยน แนวคิดเกี่ยวกับความชราและผู้สูงอายุในสังคม ที่มา : www.pbs.org
เสือ้ ชูชพี เหล่านีค้ อื เสือ้ ชูชพี ที่ผู้ลี้ภัยใช้ระหว่างเดินทางมา จากตุรกีเพือ่ ไปขึน้ ฝัง่ ทีป่ ระเทศ กรีซ โดยกิจกรรมนีจ้ ดั ขึน้ ทีจ่ ตั รุ สั รัฐสภา ใจกลางกรุงลอนดอน โดยองค์กรการกุศล เพือ่ เชิญชวน ให้ผคู้ นให้ความส�าคัญกับการประชุมสหประชาชาติว่าด้วย ผู้อพยพและผู้ลี้ภัย - Reuters / Stefan Wermuth
Lifestyle
สถาปนิกน�าสนามกีฬาเก่า มาสร้างประโยชน์อย่างทีใ่ ครก็คาดไม่ถงึ Quote OF THE WEEK “พวกที่คร�่าครึโดยไม่จ�าเป็น อย่าพูดอะไรอีกเลยจ้ะ... ครูโขน ศิลปินแห่งชาติ เขาไม่ได้ คิดแบบนี้จ้ะ... เขาอยากให้ ศิลปะไทย โขนไทยได้ทนั สมัยจ้ะ เขาอยากให้โขนไทยเปลี่ยน ตามสมัยจ้ะ แอนะล็อกสู่ ดิจิตอลจ้ะ แต่เนื้อหา โครงสร้าง พื้นฐาน ฯลฯ ยังอยู่เหมือนเดิม ต่อชีวิตของ ศิลปะโขนไทยด้วยวิถีดิจิตอล สิ่งที่ถูกคือการขุดค้น ประวัติศาสตร์ด้วยเทคโนโลยี ที่ดีที่สุด ที่จะไม่ท�าให้ ประวัติศาสตร์เสียหาย”
หลายครั้งที่เรามักเห็นสถานที่เก่าถูกทิ้งร้างไป โดยไม่ได้ใช้ประโยชน์ เหมือนกับที่สนามกีฬาเก่า RCA Dome ในเมืองอินเดียแนโพลิส สหรัฐอเมริกา แต่เมื่อเร็วๆ นี้ ไมเคิล บริกเกอร์ สถาปนิกหนุ่ม ได้มอบชีวิตใหม่ให้กับสนามกีฬาเก่าแห่งนี้อีกครั้ง ด้วยการถอดชิ้นส่วนต่างๆ ของสนามกีฬาแห่งนั้น ทีเ่ ปรียบเหมือนกระดูกทีละชิน้ ๆ และน�าไปแปรสภาพ เป็นสิง่ ต่างๆ เพือ่ สร้างประโยชน์ให้กบั ชุมชน โดยเขาได้ น�าชิ้นส่วนอย่างเก้าอี้นั่งบนอัฒจันทร์มาสร้างเป็น ที่นั่งในสวนสาธารณะและที่นั่งรอรถเมล์ในเมือง หรือน�าผ้าใบกันความร้อนที่คลุมสนามมาเปลี่ยน เป็นกระเป๋าสตางค์ และออกจ�าหน่ายเพือ่ น�ารายได้ กลับคืนสู่ชุมชนอีกด้วย “จริงๆ สิ่งที่พวกเราท�าเป็น หนทางหนึง่ ในการมองคุณค่าทีแ่ ท้จริงของทรัพยากร ที่มีอยู่ นอกเหนือไปจากการที่เราวางแผนว่าจะน�า สิ่งเหล่านั้นไปฝังกลบอย่างไร” ไมเคิลกล่าว ที่มา : www.huffiffiingtonpost.com
นิติพงษ์ ห่อนาค นักแต่งเพลง
ที่มา : www.facebook.com/nitipong.honark วันที่ 22 กันยายน 2559
LGBT
SCIENCE
มนุษย์อวกาศทดสอบสภาวะไร้น�้าหนัก
จากโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาไทย เป็นอีกหนึ่งความน่าภาคภูมิใจ หลังจากที่ โครงงานทางด้านวิทยาศาสตร์ของเด็กไทยอย่าง วรวุฒิ จันทร์หอม นักศึกษาชั้นปีที่ 2 ภาควิชา วิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี ได้รบั การคัดเลือกจาก Japan Aerospace Exploration Agency (JAXA) องค์การ ส�ารวจอวกาศ ให้น�าขึ้นไปทดลองในสภาวะ ไร้แรงโน้มถ่วงบนสถานีอวกาศนานาชาติ โดย โอนิชิ ทาคุยะ มนุษย์อวกาศชาวญี่ปุ่น โดย ไอเดียโครงการ Capillary in Zero Gravity ของ วรวุฒินั้นมาจากการทดลองในห้องเรียน ที่ได้ สังเกตว่าของเหลวที่อยู่ในภาชนะที่มีลักษณะ เป็นหลอด ผิวของน�้าจะมีลักษณะแตกต่างกัน ซึ่ ง แนวคิ ด ดั ง กล่ า วจึ ง เป็ น ที่ ม าในการน� า ไป ทดลองบนอวกาศว่ามีผลลัพธ์แตกต่างจากบน โลกแค่ไหน ซึ่งเจ้าของโครงงานวิทยาศาสตร์ ดังกล่าวยังได้พูดคุยกันผ่านระบบการสื่อสาร จากสถานีอวกาศเป็นเวลาราวๆ 5 นาทีอีกด้วย ที่มา : www.matichon.co.th
ที่มา : www.hufffiifingtonpost.com
เตรียมปรับกฎให้บา้ นพักพิงเหมาะส�าหรับ คนไร้บา้ นข้ามเพศมากขึน้
เราคงคุ้นเคยกับมาตรการช่วยเหลือคนไร้บ้านในต่างประเทศ อย่างเช่นศูนย์พักพิงช่วยเหลือต่างๆ กันดี แต่ในวันนี้แนวคิดใน การช่วยเหลือเหล่านัน้ ได้กา้ วหน้าไปอีกขัน้ โดยกระทรวงการเคหะและพัฒนาเมือง สหรัฐอเมริกา (HUD) ได้เริม่ มีการสร้างข้อก�าหนด บางประการ เพื่อการันตีว่าชาว LGBT ที่เป็นคนไร้บ้าน จะได้รับการต้อนรับและความช่วยเหลือไม่ต่างจากคนไร้บ้านอื่นๆ ซึ่งกฎ ดังกล่าวจะออกมาเพือ่ ท�าให้ศนู ย์พกั พิงเพือ่ คนไร้บา้ นในสหรัฐอเมริกาทุกทีม่ มี าตรฐานเดียวกัน “ส�าหรับชาว LGBT มันเป็นสิง่ ส�าคัญ ที่จะระบุและยอมรับความเป็นตัวตนที่แท้จริงของพวกเขา รวมทั้งการเปิดโอกาสให้เข้าถึงการช่วยเหลือที่เท่าเทียมกัน และนั่นคือ สิ่งที่ข้อบังคับนี้จะท�าให้เกิดขึ้น” เดวิด สเตซี ผู้อ�านวยการ Human Rights Campaign ผู้อยู่เบื้องหลังโครงการกล่าว
INTERVIEW
ขอบคุณสถานที่ : โรงแรม Lebua at State Tower
เรื่อง : วรัญญู อินทรก�ำแหง, วสิตำ กิจปรีชำ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร สไตลิสต์ : Hotcake
Life In Full Swing
แม้ จ ะมี เ หตุ ผ ลจ� ำ เป็ น ที่ ต ้ อ งถอนตั ว ออกจำกกำรแข่ ง ขั น กี ฬ ำโอลิ ม ปิ ก ใน ‘รี โ อเกมส์ ’ ที่ เ พิ่ ง ผ่ ำ นมำก็ ต ำม ซึ่งคงจะท�ำให้แฟนกีฬำหลำยคนต้องอกหักไปตำมๆ กัน แต่คงจะปฏิเสธไม่ได้ และคงไม่เป็นกำรกล่ำวเกินไปนัก หำกจะบอกว่ำ ‘โปรเม’ - เอรียา จุฑานุกาล นั้นเป็น ‘ดำว’ จรัสแสงที่สุดดวงหนึ่งของแวดวงกีฬำในช่วงปีที่ผ่ำนมำ ไม่ว่ำจะด้วยผลงำนกำรคว้ำแชมป์กอล์ฟระดับเมเจอร์ รำยกำร Ricoh Women’s British Open 2016 ซึ่งส่งผล ให้เธอไต่ขึ้นไปสู่กำรเป็นนักกอล์ฟหญิงมือวำงอันดับสองของโลกได้ส�ำเร็จ รวมถึงกำรเป็นนักกอล์ฟหญิงไทย คนแรกที่ชนะกำรแข่งขัน LPGA ถึง 3 รำยกำรรวด ได้แก่ Yokohama Tire LPGA Classic 2016, Kingsmill LPGA Championship และ LPGA Volvik Championship ซึ่งไม่น่ำเชื่อว่ำทั้งหมดนั้นเธอท�ำได้ ในวัยเพียงแค่ 20 ปีเท่ำนั้น เมื่อแฟนกอล์ฟอย่ำงเรำที่เฝ้ำติดตำมเชียร์เธอมำหลำยแมตช์ ได้มีโอกำสนั่งลงสนทนำกับโปรกอล์ฟระดับโลก ตัวจริงแล้วนั้น เรำจะได้ยินโปรเมคนที่อยู่ตรงหน้ำย�้ำอยู่เสมอว่ำ นั่นหำใช่ควำมส�ำเร็จของเธอเพียงล�ำพังไม่ แต่เกิดจำกควำมร่วมมือของสมำชิกในครอบครัวที่ช่วยกันคนละไม้ละมือสร้ำงฝันนี้ให้เป็นจริงขึ้นมำ ซึ่งเรำเชื่อแน่ว่ำ หลำยคนคงผ่ำนตำเรื่องรำวของครอบครัวจุฑำนุกำลกันมำบ้ำง และทรำบถึงควำมทุ่มเทที่คุณพ่อของเธอลงทุน ขำยทรัพย์สินเพื่อน�ำเงินทุนมำสนับสนุนลูกสำวทั้งสองคนที่ก�ำลังไปได้ดีกับกำรเป็นนักกอล์ฟ ไม่มีค�ำว่ำท�ำไม่ได้ ไม่มีค�ำว่ำเผื่อเลือก ถ้ำตั้งเป้ำหมำยแล้วก็ต้องท�ำให้ ได้ นี่คือสิ่งที่เธอสัมผัสได้จำกคุณพ่อ ที่เคี่ยวกร�ำเธอและพี่สำวมำตั้งแต่เด็ก ซึ่งผลลัพธ์ที่ ได้ก็คือควำมส�ำเร็จที่คนทั้งโลกมองเห็นอย่ำงไม่มีข้อกังขำ และถึงแม้ว่ำเธอจะผ่ำนกำรฝึกฝนที่หนักหนำสักแค่ไหนก็ตำม เคล็ดลับส�ำคัญที่เธอบอกกับเรำก็คือ กำรท�ำใจ ให้สบำย ไม่เครียด ไม่กดดันตัวเอง แล้วเรำก็เชื่ออย่ำงที่เธอบอกจริงๆ เพรำะระหว่ำงที่พูดคุยกัน โปรกอล์ฟแชมป์โลก อย่ำงเมก็เป็นกันเองกับเรำแบบสุดๆ ต่ำงจำกภำพในสนำมกอล์ฟที่เรำเห็นอย่ำงสิ้นเชิง และนั่นก็คือวิถีชีวิตที่เธอ เลือกแล้วจริงๆ เพรำะไม่ว่ำจะเป็นชีวิตหรือกอล์ฟ เด็กสำวคนนี้หวดมันด้วยวงสวิงเต็มแรง
กับผลงานในปีนี้ ทัง้ แชมป์ Ricoh Women’s British Open 2016 การชนะการแข่งขัน LGPA หลายๆ รายการ และไต่ขนึ้ ไปสู่การเป็นนักกอล์ฟหญิงอันดับที่สองของโลก คุณรู้สึก อย่างไรต่อความส�าเร็จดังกล่าว ก็ดีใจนะคะกับผลงานในปีนี้ เพราะเมก็เพิ่งเริ่มแข่งทัวร์ ปีนี้เป็นปีที่สองเอง อย่างปีที่แล้วเราก็พลาดเกือบจะได้แชมป์ ไปหลายแมตช์เหมือนกัน ก็เลยตั้งเป้าหมายเอาไว้ว่าอยากจะ ได้แชมป์ LPGA แมตช์แรกของตัวเอง พอมาปีนี้ก็ท�าได้ และ อยากจะได้แชมป์เมเจอร์ปีนี้ก็ทา� ได้อีกค่ะ ก็ดีใจ ตอนนีเ้ มือ่ ได้อนั ดับทีส่ องมาครอง คุณตัง้ เป้าต่อไปว่าจะต้อง ขึ้นไปให้ถึงนักกอล์ฟหญิงอันดับหนึ่งของโลกเลยหรือเปล่า จริงๆ ก็อยากเป็นมือหนึง่ นะคะ แต่กค็ ดิ ว่าทุกวันนีท้ ผี่ ลงาน ออกมาดีก็เพราะว่าเราเล่นกอล์ฟแล้วมีความสุข รู้สึกสนุกกับ ทุกแมตช์ที่ออกไปเล่น ก็เลยไม่ค่อยรู้สึกว่าเราต้องไปกังวล หรือกดดันตัวเองว่าฉันต้องเป็นมือหนึ่งของโลก หรือว่าจะเล่น เพือ่ ให้ได้เป็นมือหนึง่ แต่รสู้ กึ ว่าทุกวันทีอ่ อกไปเล่น เราเล่นเพือ่ ให้ตัวเองมีความสุข เพื่อสนุกกับสิ่งที่เรารักมากกว่า หากนับจากวันที่เริ่มต้นเล่นกอล์ฟจริงๆ คุณเล่นกอล์ฟมา กี่ปีแล้ว เล่นมาตั้งแต่ 5 ขวบครึ่ง จนถึงตอนนี้ก็เกือบ 16 ปีแล้วค่ะ คุณเคยให้สัมภาษณ์เอาไว้ว่าจริงจังกับกอล์ฟมากจนมี เพื่อนสนิทเพียงแค่คนเดียว ก็คือพี่สาว (‘โปรโม’ - โมรียา จุ ฑ านุ ก าล) เคยนึ ก เสี ย ดายชี วิ ต วั ย รุ ่ น อย่ า งที่ ค นอื่ น ในวัยเดียวกันเขามีบ้างไหม เมไม่ได้รสู้ กึ ขาด คือเมเทิรน์ โปรตัง้ แต่อายุ 17 ปี เราท�างาน หาเงินมาตั้งแต่อายุ 17 ปี เมื่อตื่นมาก็ซ้อมและแข่งขันมาโดย ตลอด จะได้พกั ก็ในช่วงออฟซีซนั เมใช้ชวี ติ อย่างนัน้ จนเป็นปกติ ของตัวเองอยูแ่ ล้ว ก็ไม่ได้รสู้ กึ ว่าขาด ซึง่ ถ้าถามว่าไม่เคยมีแล้ว นึกอยากจะมีบา้ งไหม ก็ไม่นะ เพราะไม่เคยรูว้ า่ มันเป็นอย่างไร แล้ ว ก็ รู ้ สึ ก ว่ า ตั้ ง แต่ วั น ที่ เ ทิ ร ์ น โปรนั้ น ชี วิ ต เรามี เ ป้ า หมาย ทุกครัง้ ทีม่ เี ป้าหมาย เราก็รสู้ กึ ว่าชีวติ ตัวเองมีคา่ ไม่ได้ลอ่ งลอย ไปเรื่อย ไม่ได้ท�าอะไรโดยที่ไม่รู้ว่าท�าไปท�าไม และการที่เรา ได้เดินทางไปแข่งขันที่นั่นที่นี่พร้อมกับแม่และพี่สาวก็เป็น ความสุขส�าหรับเมแล้ว สมัยเด็กคุณจ�าอะไรเกีย่ วกับครอบครัวได้บา้ ง มองครอบครัว ตัวเองเป็นแบบไหน เมื่อก่อนคุณพ่อเมท�างานรับเหมาตกแต่งภายใน ต่อมาก็ มาเปิดร้านขายอุปกรณ์กอล์ฟ ตั้งแต่เริ่มจ�าความได้เมก็เริ่ม เล่นกอล์ฟแล้วค่ะ คุณพ่อคุณแม่กพ็ ยายามผลักดันให้เราไปใน ทางนั้น เมว่าครอบครัวเมเป็นครอบครัวที่ท� าทุกอย่างตาม เป้าหมาย และก็ไม่ใช่เฉพาะคุณพ่อนะคะ แต่เป็นกันทุกคนเลย คุณพ่อเป็นคนผลักดันให้คุณและพี่สาวเล่นกอล์ฟมาตั้งแต่ เด็กๆ แล้วตัง้ แต่เมือ่ ไหร่ทกี่ ฬ ี ากอล์ฟกลายมาเป็นความฝัน ของตัวคุณเอง จริ ง ๆ ตอนเด็ ก ๆ ก็ เ ล่ น โดยไม่ ไ ด้ คิ ด อะไรมากนะคะ แต่พอเล่นไปได้สักพัก... เมก็รู้สึกว่ามันไม่ใช่แ ค่ ความฝัน ของพ่อแล้ว แต่มันเป็นความฝันของทั้งครอบครัวเรามากกว่า คือตอนเด็กๆ ที่เพิ่งเริ่มก็อาจจะไม่ได้อะไรจริงจังมากหรอกค่ะ แต่เมื่อเริ่มเล่นและเริ่มลงแข่งแล้วก็เลยมีการตั้งเป้า ท�าให้มี เป้าหมาย มันก็เลยกลายเป็นความฝันของพวกเราไปด้วย ทราบมาว่ า คุ ณ พ่ อ คุ ณ เอาจริ ง เอาจั ง จนถึ ง ขั้ น ที่ ว ่ า เคย ต้องขายทั้งบ้านและรถเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเล่นกอล์ฟ ช่วยเล่าถึงช่วงเวลานั้นให้ฟังหน่อย คือกอล์ฟมันเป็นกีฬาที่ค่าใช้จ่ายเยอะมากอยู่แล้วค่ะ ไม่ว่าจะเป็นค่าสนามซ้อม ค่าสมัคร ค่าสอบ ค่าแคดดี้ ซึ่งมัน ก็เยอะนะ แล้วยิ่งไปแข่งเมืองนอก ค่าที่พักมันก็แพงใช่ไหม สมัยโน้นเมก็ยงั เป็นจูเนียร์มอื สมัครเล่น ซึง่ ก็มขี ้อก�าหนดว่ายัง รับสปอนเซอร์ไม่ได้ แต่ถ้าสมาคมกีฬากอล์ฟแห่งประเทศไทย อยากให้ลงแข่งแมตช์ไหน ก็จะส่งไปแข่งโดยดูแลเรือ่ งค่าใช้จา่ ย
“รู ้ สึ ก ว่ า ตั้ ง แต่ วั น ที่ เ ทิ ร ์ น โปรนั้ น ชี วิ ต เรามี เ ป้ า หมาย ทุ ก ครั้ ง ที่ มี เ ป้ า หมาย เราก็ รู ้ สึ ก ว่ า ชี วิ ต ตั ว เองมี ค ่ า ไม่ได้ลอ่ งลอยไปเรือ่ ย ไม่ได้ทา� อะไรโดยที่ไม่รวู้ า่ ท�าไปท�าไม” ให้ แต่มันก็มีหลายแมตช์ที่เราต้องส่งตัวเองไป แล้วยิ่งเมกับ พีโ่ มแข่งด้วยกันทัง้ สองคน ค่าใช้จา่ ยก็เลยเยอะ คุณพ่อจึงต้อง ขายบ้ า นและรถเพื่ อ น� า มาเป็ น ค่ า ใช้ จ ่ า ยให้ กั บ เราสองคน ก็ถือว่าค่อนข้างล�าบากเหมือนกันแต่เราก็ไม่ได้มีบ้านกันแค่ หลังเดียวนะคะ ถามว่าท�าไมตอนนั้นคุณพ่อจึงต้องเอาจริงเอาจังขนาดนั้น คือพ่อเขาเชือ่ ว่า หากไปเล่นเมืองนอกเราจะหาประสบการณ์ได้ มากกว่า และพ่อเมเขาเป็นคนทีเ่ ชือ่ อะไรแล้วไม่เคยคิดว่าท�าไม่ได้ ตอนเด็กๆ เมคิดว่าพ่อคงไม่ได้คดิ อะไรมาก คิดแต่วา่ ต้องท�าให้ ได้ ก็รู้ว่าล�าบาก ก็รู้ว่าเงินต้องใช้ไปเรื่อยๆ แต่พ่อก็จะบอกอยู่ เสมอว่าท�าได้ ไม่ค่อยได้พูดว่าถ้าท�าไม่ได้แล้วจะอย่างไรต่อ ซึ่งพอได้มาแข่งทัวร์จริงๆ ก็รู้สึกว่าเราไม่ตื่นเต้น ไม่ได้มี ความรู้สึกแปลกใหม่กับการแข่งทัวร์สักเท่าไหร่ เพราะจริงๆ ตัวเองก็เล่นที่อเมริกาก่อนหน้านี้มานานแล้ว ก็เลยเป็นข้อดีที่ คุณพ่อมองเห็นถึงความส�าคัญของจุดนี้ คุณสนิทกับคุณพ่อมากขนาดไหน สมัยเด็กก็สนิทกันมาตลอดนะคะ สมัยนัน้ คุณพ่อท�าทุกอย่าง ทั้งพาเราสองคนพี่น้องไปหาโค้ช พาไปซ้อมตลอดเวลา อย่าง ตอนเด็กๆ ทีย่ งั เรียนอยู่ คุณพ่อก็พาไปวิง่ ตอนเช้าก่อนเข้าโรงเรียน เสร็จแล้วพอเลิกเรียนช่วงเช้า ตอนเที่ยงก็กินข้าวในรถ และไป ซ้อมจนถึงประมาณห้าโมงเย็น แล้วคุณพ่อก็จะพาไปส่งให้ ว่ายน�้าจนถึงประมาณเกือบสามทุ่ม เป็นอย่างนี้อยู่ทุกวัน จนมาเริ่มทัวร์ก็เริ่มจะห่างกัน เพราะคุณพ่ออยู่ที่เมืองไทย ส่วนเมจะเดินทางกับพี่และแม่ ทุกวันนี้เลยสนิทกันสามคน มากกว่า แต่พ่อเขาก็ไม่น้อยใจหรอกนะคะ เขาก็พักผ่อน อยู่เมืองไทยไป คุณพ่อรู้สึกอย่างไรบ้างกับความส�าเร็จของคุณ คุณพ่อไม่คอ่ ยพูดอะไรมากค่ะ แต่เขาก็ดใี จแหละ อย่างมาก ก็จะส่ง LINE มาคุยกันนิดหน่อย เขาเป็นคนที่ไม่ค่อยแสดง ความรู้สึกอะไรสักเท่าไหร่ แต่เราก็รู้ว่าเขาภูมิใจในตัวเรา สามารถพูดได้ ไหมว่าการที่คุณประสบความส�าเร็จอย่าง ทุกวันนี้ ได้เป็นผลมาจากคุณพ่อ มันเป็นผลมาจากครอบครัวของเมทุกคนค่ะ อย่างพ่อเขา จะเป็นคนท�า คนผลักดัน ส่วนแม่ก็เป็นคนคอยสนับสนุน แล้วอย่างเวลาที่เครียดมากๆ เมก็มีพี่สาวที่ให้คอยค�าปรึกษา ด้วยเพียงแค่ 20 ปี คุณรับมือกับความส�าเร็จที่ ได้รับนี้ อย่างไร ก็ไม่ได้ตั้งรับอะไรเลยค่ะ คือต้องบอกก่อนว่าเงินรางวัล ที่เห็นตามที่เป็นข่าวมันไม่ได้เยอะแยะมากมายอะไรขนาดนั้น เพราะว่าเวลาทีเ่ ห็นในข่าวนีก่ จ็ ะเป็นราคาเงินรางวัลเต็มๆ ทีไ่ ด้ ใช่ไหมคะ แต่จริงๆ แล้วถ้าเป็นที่อเมริกาเราต้องเสียภาษีตั้ง เกือบ 40% และทุกๆ แมตช์ที่เล่นเรายังต้องแบ่งเปอร์เซ็นต์ ให้กับแคดดี้ด้วย 10% เหลือที่เราจริงๆ ไม่ถึง 50% ด้วยซ�้า แล้วถ้าพูดถึงเรือ่ งความส�าเร็จ อย่างช่วงแรกๆ ทีเ่ มออกมา เทิร์นโปรใหม่ๆ ก็คิดแต่ว่าฉันต้องหาเงินมาเลี้ยงครอบครัว แต่ทกุ วันนีเ้ หมือนมันอยูต่ วั เราหาเงินเลีย้ งตัวเองและครอบครัว
ได้แล้ว ปีนี้ทั้งปีเมแทบจะไม่ได้คิดถึงเรื่องเงินเลยนะ รู้สึกว่า ที่ลงแข่งเพราะมันเป็นความสุข ความสนุก และเป็นสิ่งที่ทา� ให้ พ่อกับแม่ภูมิใจในตัวเรามากกว่า ปกติเวลาที่อยู่บนกรีน อยู่ ในสนามแข่ง นักกีฬามักจะคิด เรื่องอะไรกัน ปกติเมเป็นคนที่จะไม่โฟกัสเรื่องกอล์ฟเลยนะถ้าไม่ถึง เวลาที่ต้องตีลูกจริงๆ ซึ่งกอล์ฟเนี่ยเล่นทีหนึ่งมันเป็นกีฬาที่ใช้ เวลานานมาก ประมาณ 5 ชั่วโมง แต่ตีจริงๆ ช็อตละประมาณ 3 วินาทีเท่านั้นเอง คือเราจะโฟกัสอะไรนานๆ ไม่ได้ เมเป็นคน สมาธิสนั้ มาก โฟกัสจริงๆ แค่ชว่ ง 3 วินาทีนี้ นอกเหนือจากนัน้ ก็ จ ะเล่ น จะดู อ ะไรไปเรื่ อ ย คื อ ท� า อะไรก็ ไ ด้ ใ ห้ เ ราคิ ด บวก ท�าให้รู้สึกดี ก็คุยกับแคดดี้บ้าง ในการแข่งขันกอล์ฟ คุณคิดว่าอะไรทีท่ า� ให้คณ ุ เอาชนะคูแ่ ข่ง คนอื่นๆ ได้ จริงๆ แล้วเมคิดว่ามีนักกอล์ฟที่เก่งๆ เรื่องฝีมือกับเทคนิค กันอยูเ่ ยอะนะคะ ซึง่ ตัง้ แต่เมือ่ ก่อนเมก็คดิ ว่าเมก็มคี วามพร้อม แต่สิ่งที่เราพัฒนามากขึ้นน่าจะเป็นเรื่องความคิดมากกว่า เช่ น เวลาที่อ ารมณ์ ไ ม่ ดีค นเรามัก จะโฟกัส ถึง แต่ สิ่ง ที่ไ ม่ ดี ไม่ใช่แค่เรื่องกอล์ฟนะ แต่เป็นกับทุกเรื่อง เรามักจะลืมนึกไป ว่ามันยังมีอะไรอีกหลายเรื่องที่ดีๆ อยู่ในชีวิตเสมอ แต่เวลาเรา โฟกั ส ถึ ง สิ่ ง ที่ ไ ม่ ดี มั น ก็ จ ะท� า ให้ สิ่ ง ที่ ไ ม่ ดี ต ามมาตลอด แล้วชีวิตเราก็ไม่เคยมีอะไรดีขึ้นเลย ที่ พู ด มาได้ อ ย่ า งนี้ เ พราะคุ ณ เคยผ่ า นช่ ว งเวลาแบบนั้ น มาแล้วหรือเปล่า ก็เคยนะคะ อย่างเช่นช่วงปีทแี่ ล้ว ทีต่ กรอบ 10 แมตช์ตดิ ต่อ กัน ตอนหลังก็เลยเปลี่ยนโฟกัส คือถ้าเกิดเราคิดถึงแต่สิ่งที่มัน ไม่ดี เมว่าไม่มอี ะไรดีขนึ้ อย่างช่วงทีต่ ไี ม่ดี ถ้าตอนนัน้ คิดได้ ชีวติ ก็คงจะไม่แย่ขนาดนั้น คือถ้าเกิดเรารู้ว่าอะไรไม่ดี แล้วน�ามา แก้ไข มันก็เป็นสิง่ ทีด่ แี ล้วนะ เพราะเป็นการดีทเี่ รารูว้ า่ อะไรบ้าง ที่มันไม่ดี ก็อย่าไปมองหาเลย มองหาสิ่งที่ดีดีกว่า เมว่ามันเป็นเรื่องความคิดมากกว่าที่จะท�าให้เราคงฝีมือ เอาไว้ได้ ซึ่งเมยังคิดว่ามันไม่ใช่คา� ว่า ‘ฝีมือ’ เสียทีเดียวนะ จริงๆ มันคือการ maintain ความคิดของตัวเองมากกว่า คือ เมื่อก่อนเมไม่รู้ว่าจะซ้อมความคิดของตัวเองให้ดีได้อย่างไร เวลาเห็นอะไรหรือตีได้ไม่ดกี จ็ ะอารมณ์เสียโวยวาย เสียใจมาก ซึ่งบางครั้งก็ลืมไปว่า... ไม่ใช่เฉพาะแค่เรื่องกอล์ฟนะ แต่ชีวิต ของคนเรามันก็มีขึ้นมีลง มีดีและไม่ดีเสมอ อย่างเรือ่ งการฝึกซ้อม ปกติโค้ชจะสอนเรือ่ งการฝึกฝนจิตใจ ให้กับนักกีฬาหรือเปล่า อย่างไรบ้าง ปกติก็จะมีโค้ชที่เรียกว่าโค้ช mental เขาจะสอนเรื่อง ความคิดเวลาอยูใ่ นสนามกอล์ฟ นอกจากนีเ้ มก็จะมีนกั จิตวิทยา ประจ�าตัวที่เมืองไทยด้วยค่ะ ถ้าเรามีปัญหาส่วนตัวก็สามารถ ปรึกษาเขาได้เลย เมก็ปรึกษาอยูต่ ลอด ซึง่ จริงๆ เมคิดว่าคนทัว่ ไป ก็สามารถมีนักจิตวิทยาเอาไว้คอยให้ค�าปรึกษาได้ เพราะเขา จะคอยช่วยปรับความคิดเราให้ไปในเชิงบวกมากขึ้น เช่น ไม่ให้ไปโฟกัสในสิ่งแย่ๆ โดยเฉพาะกีฬากอล์ฟนั้นจิตใจส�าคัญ
มาก เพราะเวลาตีทหี นึง่ คุณจะเว้นช่วงนานมาก มันจะไม่เหมือน กับกีฬาอืน่ อย่างเทนนิสคือตีเสียแล้วก็ตอ้ งวิง่ ตีตอ่ ไป แต่กอล์ฟ มันจะมีเวลาเยอะมาก และถ้าช่วงเวลานี้คุณดูแลมันไม่ดี ไปคิดถึงแต่เรื่องไม่ดี วันนั้นทั้งวันก็จะแย่ไปหมดเลย แต่ถ้า สมมติว่าเราตีไม่ดีช็อตหนึ่ง เราเอาเวลาที่เหลือไปคิดถึงเรื่อง ดีๆ ดีกว่า อย่างเมเองเวลาตีเสร็จก็จะเดินคุยกับแคดดีไ้ ปเรือ่ ยๆ ไม่ได้มีสาระอะไรเลยนะ แล้วค่อยท�าสมาธิอีกทีตอนที่จะตี มี ก ารบาดเจ็ บ ครั้ ง ไหนที่ เ คยเกิ ด ขึ้ น และเป็ น อุ ป สรรค ครั้งส�าคัญในชีวิตของคุณบ้าง ตอนที่ต้องผ่าตัดเมื่อปี 2013 คือตอนนั้นวิ่งเล่นอยู่ใน สนามกอล์ฟแล้วหกล้มจนไหล่หลุดค่ะ ไม่รจู้ ะโทษใครดี ตอนนัน้ ต้องหยุดตีไปเลยเพื่อรับการผ่าตัด ก็ไม่ได้แข่งอยู่นาน 8 เดือน ตอนนั้นขึ้นไปถึงอันดับที่ 15 แล้ว ก็เลยตกลงมาเป็นร้อย แล้วอย่างล่าสุด ที่ต้องถอนตัวออกจากรีโอเกมส์กลางคัน อะไรที่ท�าให้คุณตัดสินใจอย่างนั้น เพราะในสายตาคนทั่วไป โอลิมปิกเป็นการแข่งขันกีฬาที่ยิ่งใหญ่มากนะ คือพอมาเป็นนักกีฬาอาชีพ เราก็จะได้รับการจับตาดูอยู่ ทุกแมตช์อยู่แล้ว อีกอย่างหนึ่งคงต้องบอกว่า กอล์ฟเพิ่งได้รับ การบรรจุให้อยู่ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปีนี้ เลยเป็นที่ จับตามองมากเป็นพิเศษ และเมคิดอยู่เสมอว่าหน้าที่ของ นักกีฬานั้นมีอยู่ไม่กี่อย่างหรอกค่ะ คือเราต้องหาเลี้ยงตัวเอง และสร้างชือ่ เสียงให้กบั ประเทศ ก่อนทีจ่ ะมีโอลิมปิก เมก็จะคิด มาตลอดว่า ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขัน LPGA ทุกๆ แมตช์ หรือการแข่งขันครัง้ ไหน เราก็ลว้ นเป็นตัวแทนทีไ่ ปสร้างชือ่ เสียง ให้กับประเทศไทย เมือ่ มาถึงโอลิมปิก ซึง่ เป็นอะไรทีย่ งิ่ ใหญ่มากส�าหรับนักกีฬา เมเข้าสู่การแข่งขันในวันที่ 2 และก็เริ่มเจ็บเข่าซ้าย เมื่อจบ การแข่งขันในวันนัน้ เมก็ไปหาหมอหานักกายภาพบ�าบัด ก็รสู้ กึ ว่าตัวเองหายแล้ว พอตืน่ เช้าก็มาให้นกั กายภาพพันเทปให้อกี ที ตอนลงไปวอร์มอัพก็ยงั โอเคอยู่ แต่พอเริม่ ตีไปเรือ่ ยๆ ก็เริม่ เจ็บ มากขึ้น ซึ่งเราเคยเจ็บข้อมืออะไรแบบนั้นมาบ้าง แต่ครั้งนี้มัน ส่งผลกระทบจริงๆ คือมันเจ็บตอนทีส่ วิง ตอนนัน้ เมกลัวมากว่า จะเป็นอะไรเยอะ เพราะว่าเริ่มเจ็บมากขึ้นทุกที คือก้าวเท้า ก็เจ็บ ตีก็เจ็บ ตอนนั้นก็ท�าใจยากนะ เอาจริงๆ เราก็อยากจะ อยากตีให้จบ ถึงแม้ว่าจะไม่ได้เหรียญ เพราะวันนั้นก็ตีสกอร์ ไม่ดีแล้วด้วย เมื่อปรึกษากับผู้จัดการแล้วเขาก็บอกให้เราถอนตัวเถอะ เพราะต้องท�าความเข้าใจอย่างหนึ่งว่ากอล์ฟเป็นกีฬาที่ฝืน ธรรมชาติ ทุกครัง้ ทีเ่ ราสวิง การถ่ายน�า้ หนักทุกอย่างเป็นการฝืน เขาก็เลยเป็นห่วงและบอกให้เราถอนตัวจะดีกว่า เพราะไม่ใช่ ว่าโอลิมปิกจบไปแล้วเราจะไม่ได้ท�าเพือ่ ประเทศชาติ ก็อย่างที่
บอกว่า ไม่ว่าจะเป็นการแข่งครั้งไหน เมก็ระลึกอยู่เสมอว่าเรา ท�าเพื่อชื่อเสียงของประเทศไทย เมื่อตัดสินใจอย่างนั้นย่อมมีเสียงสะท้อนกลับมาสองทาง ทั้ ง จากคนที่ เ ข้ า ใจและให้ ก� า ลั ง ใจ เช่ น ที่ พู ด กั น ว่ า ท� า ไม ไม่อดทนท�าเพื่อชาติ เสียงแบบนี้แว่วเข้ามาให้ ได้ยินบ้างไหม และคุณรู้สึกอย่างไร ตอนแรกที่ได้ยินก็รู้สึกเสียใจ แต่สิ่งหนึ่งที่เราเปลี่ยนเขา ไม่ได้ก็คือความคิดคน เมคิดว่าไม่ว่าจะเป็นคนที่วิจารณ์เรา ในทางที่ดีหรือไม่ดี คนสองกลุ่มนี้ล้วนมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน ก็คือเขาต้องการให้นักกีฬาสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศไทย เมคิดว่ามันไม่มคี วามหมายทีจ่ ะไปโกรธ เขาแค่ไม่ได้รคู้ วามจริง ในจุดที่เรายืนอยู่เฉยๆ จึงมีความคิดของเขาไปอีกแบบหนึ่ง และส�าหรับเม ในฐานะนักกีฬาคนหนึ่ง อย่างไรเสียโอลิมปิก ก็เป็นการแข่งขันกีฬาทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ถ้าท�าได้เราก็ยอ่ มอยากจะ ท�าหน้าที่ของเราให้ดีที่สุด แต่ในที่สุดแล้วเมก็ไม่สามารถไป เปลี่ยนแปลงความจริงที่ว่าเราบาดเจ็บได้ แต่สิ่งที่เมท�าให้ดี หลังจากนี้ได้ คือท�าหน้าที่ของเราต่อไปให้ดีที่สุดค่ะ ขอเปลี่ยนหัวข้อการพูดคุยมาเป็นเรื่องอื่นๆ ในชีวิตบ้าง คุณนับถือศาสนาคริสต์ ใช่ ไหม คุณแม่เป็นพุทธค่ะ ส่วนคุณพ่อเป็นคริสต์ แต่คุณแม่ก็เป็น พุทธที่เข้าโบสถ์กับเมนะ อาจเป็นเพราะว่าเมเรียนโรงเรียน คริสต์มาโดยตลอดตัง้ แต่เด็ก แล้วคุณพ่อก็นบั ถือศาสนาคริสต์ อยู่แล้ว เมจึงนับถือศาสนาคริสต์ตามไปด้วย จากประสบการณ์ชวี ติ หรือจากการแข่งขันทีผ่ า่ นมา คุณมอง เรื่องพระเจ้าอย่างไรบ้าง เคยร้องขออะไรกับท่านบ้าง เมเป็นคนที่ไม่ค่อยขออะไรมาก ถ้าจะขอก็ขอให้ตัวเอง มีสติปัญญา มีความคิดที่ดี ส่วนใหญ่จะขอบคุณมากกว่า อย่ า งทุ ก วั น นี้ ที่ ไ ด้ ตื่ น ขึ้ น มามี ชี วิ ต อยู ่ ก็ ข อบคุ ณ มากแล้ ว ไม่ว่าจะเจออะไรดีหรือไม่ดี มันก็เป็นบททดสอบที่พระเจ้า อยากจะให้เราอดทนมากขึน้ รูส้ กึ ว่าตัวเองเจออะไรมาเยอะนะ ทุกวันนี้ ก็เลยรู้สึกขอบคุณ ไม่รู้สิ เมคิดว่าทุกคนมีหน้าที่ในการเกิดมาที่ไม่เหมือนกัน เราอาจจะมีหน้าที่คอยดูแลคนอื่นให้มีความสุข ทุกวันนี้เมเอง ก็มีความสุข และภูมิใจที่มีครอบครัวที่ดีคอยอยู่เคียงข้าง หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่าคุณมีฉายาว่า ‘Area 51’ ชื่อนี้ ได้ มาอย่างไร คือชื่อเอรียานี่ถ้าพูดเร็วๆ มันจะออกเสียงฟังดูคล้ายๆ กับ ค�าว่า ‘แอเรีย’ ใช่ไหมคะ แล้วทีอ่ เมริกาเนีย่ ถ้าไปดูหนังอย่าง MIB หรือหนังมนุษย์ตา่ งดาวอะไรก็ตาม ก็มกั จะมี ‘แอเรีย 51’ ซึง่ เป็น พืน้ ทีซ่ งึ่ คนเขาเชือ่ กันว่าเป็นพืน้ ทีล่ บั ทีท่ างรัฐบาลอเมริกาสร้าง เอาไว้เพื่อศึกษาเรื่องยูเอฟโอ มนุษย์ต่างดาว อะไรท�านองนี้
“เมว่ามันเป็นเรื่องความคิดมากกว่าที่จะท�าให้เราคงฝีมือ เอาไว้ ได้ ซึ่งเมยังคิดว่ามันไม่ใช่ค�าว่า ‘ฝีมือ’ เสียทีเดียวนะ จริงๆ มันคือการ maintain ความคิดของตัวเองมากกว่า”
แต่วา่ เราก็ไม่สามารถบอกได้วา่ มีอยูจ่ ริง ทีนเี้ ขาก็เอามาเล่นกับ ชือ่ เอรียา ทีพ่ อพูดเร็วๆ มันจะออกเสียงว่าแอเรีย แล้วปีนพี้ อชนะ 3 รายการติด รวมชนะไป 5 รายการแล้ว เขาเลยบอกว่าเป็น มนุษย์ตา่ งดาวหรือเปล่า เลยไปเล่นพ้องเสียงกัน เป็นฉายาทีไ่ ด้ จากสือ่ ฝรัง่ เมก็รสู้ กึ ว่าตัวเองเป็นตัวประหลาด เก๋ดคี ะ่ (หัวเราะสนุก) ใครคือนักกอล์ฟที่คุณชื่นชอบเป็นพิเศษ เมชอบ แอนนิกา โซเรนสตัม แต่เขาเกษียณตัวเองไปแล้ว เราชอบการเล่นของเขา เขาเคยเป็นมือหนึ่งของโลกนานมาก ชนะแทบจะทุกแมตช์ ส�าหรับปีนี้ คุณคิดว่าช่วงเวลาไหนคือที่สุดส�าหรับคุณ น่าจะเป็นตอนที่ได้แชมป์แมตช์แรกของปีนี้ คือ Yokohama Tire LPGA Classic ซึ่งเป็นเดือนพฤษภาคมหรือเดือน ‘May’ เหมือนกับชื่อของเรา เดือนนั้นเมมีแข่ง 3 รายการ ซึ่งเม ชนะหมดทั้ง 3 รายการของเดือนนั้นเลย กลายเป็นว่าข่าวลง ว่า เมชนะทุกแมตช์ของเดือน May 2016 เริม่ ด้วยแชมป์รายการ แรกในชีวิต แล้วก็ต่อมาเลย ทั้งหมด 3 รายการ เวลาชนะหรือได้แชมป์มักมีการฉลองอะไรเป็นพิเศษไหม ไม่ มี น ะ พอเมแข่ ง เสร็ จ ก็ เ ก็ บ ของ แล้ ว ก็ บิ น ต่ อ เลย เป็นอย่างนี้ตลอด ไม่ได้ฉลองเลย ให้รางวัลตัวเองบ้างไหม ไม่เคยเลยนะ ส่วนใหญ่เวลาได้แชมป์เราจะให้ของคนอื่น มากกว่า ให้พ่อ ให้แม่ ให้พี่ เรารู้สึกว่าความสุขของเขาก็เป็น ความสุขของเรา เรารู้สึกว่าตัวเองไม่ได้ต้องการอะไรแล้ว ไม่มีอะไรที่รู้สึกว่าขาด เวลาดีใจหรือเสียใจมากๆ เคยร้องไห้ ไหม ดีใจมากไม่เคยร้องไห้ แต่ถ้าเสียใจมาก เคยเห็น MV ไหม เมนัง่ อยูใ่ นห้องน�า้ เปิดน�า้ นัง่ ร้องไห้ เมือ่ ปีทแี่ ล้วตอนทีต่ กรอบ 10 แมตช์ เราพยายามท�าทุกอย่างแล้ว แต่มนั ก็ไม่ดขี นึ้ เรารูส้ กึ ว่า เฮ้ย มันเกิดอะไรขึ้นกับชีวิต ตอนนั้นรู้สึกว่าอยากหยุดเล่น กอล์ฟไปก่อน แล้วค่อยกลับมาเล่นใหม่ คือความคิดของเรา มันสามารถให้สิ่งที่ยิ่งใหญ่กับเราได้ แต่ในขณะเดียวกันมันก็ สามารถท�าร้ายเราได้มากทีส่ ดุ เหมือนกัน ไม่มใี ครทีด่ เี หมือนเรา ไม่มีใครที่แย่เหมือนเรา ช่วงที่แย่เราก็มักจะมองแต่สิ่งที่ไม่ดี แล้วก็เอาตัวเองไปเปรียบเทียบกับคนอื่น แต่สิ่งที่ส�าคัญเลย คืออย่าเอาตัวเองไปเปรียบเทียบกับคนอื่น แล้วช่วงเวลาที่แย่ตอนนั้น มันคลี่คลายไปได้อย่างไร ตอนนั้นเรารู้สึกว่าปัญหามันใหญ่มากเลยนะ ทุกอย่าง มันแย่ไปหมดเลย พอมองกลับมาเรารูส้ กึ ว่า 3 เดือนนัน้ มันเป็น ช่วงเวลาที่สั้นมากเลยนะ ไม่เห็นจะมีอะไรเลย ที่เราผ่านมาได้ ก็เพราะเราค่อยๆ โฟกัสไปทีเ่ รือ่ งอืน่ เมือ่ ก่อนเราจะกลัวไปหมด กลัวว่าจะตีได้ไม่ดี ตอนที่คิดได้ก็จะพยายามเปลี่ยนโฟกัส ไม่ใช่มัวแต่กลัวทั้งที่ยังไม่ได้ทา� อะไรเลย เคยคิดอยากท�าอะไรสนุกๆ นอกจากตีกอล์ฟ ไหม พอเป็นนักกีฬา แล้วยิ่งเล่นกอล์ฟด้วย คือเราเป็นอะไร นิดๆ หน่อยๆ ไม่ได้เลยนะ จริงๆ เราก็อยากไปเล่นสนุก ไปขีม่ า้ ก็อยาก แต่ก็ไม่กล้าท�า เพราะเมื่อเราอยู่ในจุดนี้มันไม่ใช่แค่ ความรับผิดชอบเฉพาะแค่ตัวเรา แต่เราต้องรับผิดชอบทั้งแม่ พ่อ ครอบครัว และคนรอบข้าง เรารู้ตัวว่าเราไม่สามารถท�า อะไรเสี่ยงๆ ได้ อย่างมากสุดก็แค่ไปเที่ยวทะเลกับครอบครัว คนอื่นมองคุณจากผลงาน และชื่นชมว่าคุณคือสุดยอด นักกีฬา ถ้าจะให้คุณอธิบายตัวตนของตัวเองว่าจริงๆ แล้ว คุณเป็นคนอย่างไร คุณจะบอกว่า... จริงๆ แล้วเมเป็นคนเลอะเทอะมากนะ (หัวเราะ) ไม่ค่อย ซีเรียสกับอะไรเท่าไหร่ จะซีเรียสแค่บางเรื่อง ก็คือเรื่องกอล์ฟ แล้วซ้อมนานก็ไม่ได้นะ เมจะต้องซ้อมสักพักแล้วหยุด แล้วค่อย กลับมาซ้อม มาโฟกัสใหม่ สิ่งที่เปอร์เฟ็กต์ในโลกนี้มันไม่มี หรอก อะไรนิดๆ หน่อยๆ ขาดๆ เกินๆ เมโอเคหมด เมไม่เคย มองหาอะไรที่มันเปอร์เฟ็กต์
SHOPPING
05
03 06
09
11 02
04
Viva la Velvet
07
เทรนด์ที่มาแรงสุดส�าหรับ Fall/Winter นี้คงหนีไม่พ้นก�ามะหยี่ หรือ Velvet ที่ถูกน�ามาใช้เป็นชิ้นเด่นประจ�าคอลเล็กชันของหลายแบรนด์ใหญ่ไปจนถึงสตรีทแวร์ วันนี้เราจึงขอพาคุณไปเลือกไอเทมก�ามะหยี่ชิ้นเด็ดมามิกซ์แอนด์แมตช์ท้าหนาวและฝน ต้อนรับฤดูกาลใบไม้ร่วงและฤดูหนาวประจ�าปี 2016 ไปพร้อมๆ กัน
08
01 สร้อยโชกเกอร์ จาก Zara 02 เสื้อ จาก Zara 03 กางเกง จาก Zara 04 เดรส จาก Zara 05 บอดีส้ ทู จาก Zara 06 เดรส จาก Zara 07 เดรส จาก Ganni 08 เสื้อตัวสั้น จาก Topshop 09 แจ็ ก เก็ ต จาก Saint Laurent 10 รองเท้าบูท จาก Saint Laurent 11 กระเป๋า คลัตช์ จาก Saint Laurent 12 กระเป๋าสะพายข้าง จาก Saint Laurent
08
12
WHERE
01 10
Zara และ Topshop ห้างสรรพสิ น ค้ า ชั้ น น� า ทั่ ว ไป Ganni www.net-a-porter.com Saint Laurent ดิ เอ็มควอเทียร์ และเซ็นทรัล เอ็มบาสซี
CALENdar M
T
W
T
F EVENING OF JAZZ
ร่วมดื่มด�่ำกับบทเพลง ใน ‘ค�่ำคืนแห่งดนตรีแจ๊ซ’ โดย The Shufffllfle Demons จำกแคนำดำ และ Belgian Saxophone Ensemble วงแซกโซโฟนล้ ว นจำก เบลเยียม วันนี้ เวลำ 19.30 น. ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย จ�ำหน่ำยบัตรที่ไทยทิกเก็ต เมเจอร์
FOR ALL OF YOU ARE WHO I AM
นิทรรศกำรศิลปะ ‘For All of You are Who I am’ โดย ธำรธำรำ สุดำดวง เมือ่ ผืนเฟรมคือกระจกสะท้อน ตั ว ตนในโลกคู ่ ข นำนของ ศิลปิน โลกบริสุทธิ์ที่กลั่น มำจำกจิตใต้สำ� นึก วันนีถ้ งึ 9 ตุลำคม 2559 ณ ศุภโชค ดิ อำร์ต เซ็นเตอร์ โทร. 0-2662-0299 (เว้นวันจันทร์)
ad DEX adB428 Rev1.pdf 1 27/9/2559 12:13:01
THE KIDNAPPING OF MICHEL HOUELLEBECQ
เชิญชมภำพยนตร์เรือ่ ง ‘The Kidnapping of Michel Houellebecq’ เมื่อนักเขียน ชื่อดัง Michel Houellebecq ถูกลักพำตัวไปเรียกค่ำไถ่โดย นักเรียกค่ำไถ่มือสมัครเล่น วันนี้ เวลำ 19.00 น. ณ สมำคม ฝรัง่ เศสกรุงเทพ โทร. 0-26704233 (บัตรรำคำ 100 บำท)
INTERNATIONAL BANGKOK BIKE 2016 งำนแสดงสินค้ำจักรยำน ที่ ยิ่ ง ใหญ่ แ ละครบวงจร ที่สุด ‘อินเตอร์เนชันแนล บำงกอก ไบค์ 2016’ รวบรวมสินค้ำและบริกำร เกี่ยวกับจักรยำนมำไว้ให้ เลือกชมเลือกซื้อในที่เดียว วันนี้ถึง 9 ตุลำคม 2559 ณ อิมแพ็กอำรีนำ เมืองทองธำนี
คอนเสิร์ตล้านตลับ
คอนเสิร์ตที่จะพำคุณ ย้อนกลับไปในยุคทีย่ งิ่ ใหญ่ ที่สุด ของวงกำรเพลงไทย พบกับ คริสติน่ำ อำกีล่ำร์, ใหม่ เจริญปุระ, ทำทำ ยัง, นัท มีเรีย, โบ สุนิตำ และ นิโคล เทริโอ ใน ‘คอนเสิรต์ ล้ำนตลับ’ วันนีถ้ งึ 7 ตุลำคม 2559 (วั น ศุ ก ร์ แ ละเสำร์ เวลำ 19.00 น. และวั น อำทิตย์ เวลำ 17.00 น.) ณ รอยัลพำรำกอนฮอลล์
S NUTCRACKER
บั ล เ ล ต ์ ค ล ำ ส สิ ก 2 องก์ ‘Nutcracker’ โดยคณะ The State Ballet of Karlsruhe จำกประเทศเยอรมนี สุดยอดบัลเลต์ อัน มีเสน่ ห ์ ส�ำหรับทุกคนในครอบครัว วันนี้ รอบกำรแสดง 19.30 น. และวันที่ 9 ตุลำคม 2559 รอบกำรแสดง 14.30 น. ณ ศู น ย์ วั ฒ นธรรมแห่ ง ประเทศไทย จ�ำหน่ำยบัตร ที่ไทยทิกเก็ตเมเจอร์
S TCDC CHAROEN -KRUNG : A PATH TO THE NEW EXPERIENCE
นิ ท รรศกำร ‘TCDC Charoenkrung : A Path to the New Experience’ บอกเล่ำ ประสบกำรณ์ยำ่ นสร้ำงสรรค์ จำกกรณีศึกษำย่ำนต่ำงๆ ทั่วโลก รวมไปถึงเจริญกรุง วันนี้ถึง 30 ตุลำคม 2559 ณ TCDC โทร. 0-2664-8448 ต่อ 213, 214 (ปิดวันจันทร์)
ALL ABOUT BIZ
เรื่อง : วรัญญู อินทรก�ำแหง ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
ประสบการณ์อันน่าประทับใจจาก การเดินทางตลอดระยะเวลา 20 ปี เป็นแรงบันดาลใจให้อดีตบรรณาธิการ นิตยสาร เทพประทาน เหมเมือง น�า หลายสิ่งที่เขาได้รับ มาเป็นแรงบันดาลใจ ในการสร้างสรรค์สินค้าของตนเอง ‘กาแฟเทพประทาน’ โดดเด่นด้วย รสชาติที่แตกต่าง และการจัดจ�าหน่าย ทางออนไลน์ในโลกยุคโซเชียลมีเดีย
SELLING PRODUCT ONLINE Business Profile
YOU NEED TO BUILD THE TRUST
‘กาแฟเทพประทาน’ ผลิตจากเมล็ดกาแฟพันธุอ์ าราบิกา สายพันธุค์ าติมอร์ จากไร่ในอ�าเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน เพาะปลูกโดยชาวบ้านท้องถิ่นด้วยวิธีธรรมชาติปราศจากการใช้สารเคมี บนพื้นที่สูงประมาณ 1,035-1,250 เมตรจาก ระดับน�้าทะเลปานกลาง ผ่านกรรมวิธี Honey process (Medium to dark roasted) ตากแล้วคั่วแบบธรรมชาติในระดับ ปานกลางค่อนข้างเข้ม เพื่อให้กลิ่นและรสธรรมชาติหอมคล้ายดอกไม้ full body และหอมหวาน สร้างสรรค์เป็นแบรนด์ กาแฟพื้นถิ่นของไทย โดย เทพประทาน เหมเมือง อดีตบรรณาธิการนิตยสารชั้นน�าหลายเล่ม และนักข่าวสายท่องเที่ยว ผู้หลงใหลในเสน่ห์ของวัฒนธรรมเฉพาะถิ่นและการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในภูมิภาคอินโดจีน ผลิตภัณฑ์มี 3 แบบคือ กาแฟ ชนิดคั่วบดและคั่วเม็ดแบบบรรจุถุงน�้าหนัก 250 กรัม และแบบซองเล็กส�าหรับพกพาพร้อมชงแบบดริปน�้าหนัก 15 กรัม
“สิ่งส�าคัญส�าหรับ การขายของออนไลน์ คือความไว้เนื้อเชื่อใจ ซึ่งกันและกันระหว่าง ผู้ซื้อกับผู้ขาย เพราะ คงไม่มีใครโง่โอนเงิน มาให้เราโดยที่ไม่แน่ใจ ว่าเขาจะได้รับของไหม นี่คือสิ่งส�าคัญที่เรา จะต้องสร้างและรักษา เอาไว้ให้ดี”
• อันทีจ่ ริงความคิดทีผ่ มอยากจะมีกจิ การของตัวเองนัน้ มีมาได้สักพักใหญ่ๆ แล้ว แต่ยังไม่ได้ลงมือท�า ไอเดียนี้ เกิ ด ขึ้ น ตั้ ง แต่ ส มั ย ที่ ยั ง ท� า งานอยู ่ นิ ต ยสาร Wallpaper* ในตอนนั้นสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวของเราคืองานออกแบบ จึงรู้สกึ ว่าจริงๆ แล้วบ้านเรามีของดีๆ อยู่เยอะนะ แต่คนไทย ยังขาดความคิดสร้างสรรค์ในเชิงเพิม่ มูลค่า แต่กไ็ ม่ได้ลงมือ ท�าอะไรจริงจังเสียที • จนมาถึงช่วงที่ธุรกิจสิ่งพิมพ์เริ่มซบเซาก็คิดว่าน่าจะ ถึงเวลาแล้ว ประจวบเหมาะกับทีไ่ ด้พบกับเพือ่ นเก่าซึง่ ปัจจุบนั ผั น ตั ว เองมาเป็ น เกษตรกรผู ้ ผ ลิ ต เมล็ ด กาแฟอาราบิ ก า จากจังหวัดแม่ฮ่องสอน จึงคิดที่จะสร้างแบรนด์ผลิตภัณฑ์ ของตัวเองขึ้นมาภายใต้ชื่อกาแฟเทพประทาน • ทีแรกความคิดว่าจะเปิดหน้าร้านก็มีอยู่ แต่ด้วยราคา ค่าเช่าที่ค่อนข้างสูงก็กลัวว่าถ้าหักค่าใช้จ่ายต่างๆ แล้วเรา จะอยู่ไม่ได้ ทั้งยังไม่แน่ใจว่าจะสู้กับแบรนด์ใหญ่ๆ ได้ เราอยากจะสร้างแบรนด์เล็กๆ และค่อยๆ ท�าไปตามก�าลัง ที่ เ รามี ยุ ค นี้ เ ป็ น ยุ ค ดิ จิ ต อลที่ ก ารซื้ อ ขายของออนไลน์ ก�าลังบูม เมื่อลองท�าการรีเสิร์ชดูแล้วพบว่ายังไม่ค่อยมี แบรนด์กาแฟในแบบเดียวกันกับที่เราก�าลังคิดจะท�าขาย ทางออนไลน์สักเท่าไหร่ จึงตัดสินใจใช้โซเชียลมีเดียเป็น ช่องทางหลักในการจ�าหน่ายสินค้า • แน่ น อนว่ า เราต้ อ งเปิ ด แฟนเพจขึ้ น มาเพื่ อ ใช้ เ ป็ น ช่องทางในการน�าเสนอภาพลักษณ์ของกาแฟ จากการทดลองหลายๆ ช่ อ งทางในโซเชี ย ลมี เ ดี ย ไม่ ว ่ า จะเป็ น ทางแฟนเพจเฟซบุ๊ก อินสตาแกรม แต่พบว่าช่องทางที่เวิร์ก ที่สุดคือเฟซบุ๊กส่วนตัว • ที่บอกว่าเวิร์กหมายความว่าเราขายให้กับคนที่ใช่ คนที่ ไ ว้ ใ จจะซื้ อ ของกั บ เรา คนที่ เ หมาะกั บ ของและมี ไลฟ์สไตล์ใกล้เคียงกัน • อีกอย่างที่ทา� ให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่าก็คือ เมื่อขายของ ในเฟซบุ๊กส่วนตัวนั้นเราขายของให้กับคนที่รู้จักกันกับเรา เราเอาตัวเองไปสร้างความเชื่อถือให้ลูกค้า เพื่อนๆ หรือ คนรู้จักในเฟซบุ๊กเมื่อเห็นเราขายกาแฟก็อยากจะลองสั่งดู ซึ่งเขาคงไม่คิดว่าเราจะเอาของไม่ดีมาขาย หรือคิดว่าเรา จะโกงให้เสียชื่อตัวเองหรอก • คนกลุ่มไหนทีค่ ดิ ว่าเป็นกลุ่มเป้าหมายหรือคนทีน่ ่าจะ สนใจกาแฟเทพประทาน? ก็น่าจะเป็นคนชอบที่จะท�าอะไร ด้วยตัวเอง คืออาจจะไปดืม่ กาแฟตามร้านบ้าง แต่เวลาว่างๆ ก็นึกอยากจะชงกาแฟดื่มเอง หรือต้องการจะดื่มกาแฟดีๆ แล้วก็ต้องการประหยัดค่าใช้จ่ายด้วย ซึ่งเขาไม่จ�าเป็นต้อง เป็นลูกค้าของเราเพียงอย่างเดียว เพราะคนชอบดื่มกาแฟ แบบนี้มักจะมีกาแฟหลายๆ ยี่ห้อ และบางวันก็วนเปลี่ยน ยี่ห้อดื่มไปด้วยก็ได้ • เฟซบุ๊กมีกับดักของมันอยู่ ซึ่งคนที่จะค้าขายของ ออนไลน์ตอ้ งรูเ้ ท่าทัน หากถามว่าการบูสต์เพจหรือบูสต์โพสต์ ที่ต้องจ่ายเงินให้เฟซบุ๊กนั้นได้ผลหรือเปล่า? สมมติว่าเวลา จะตั้งเพจหรือบูสต์โพสต์ เฟซบุ๊กก็จะให้เราก�าหนดตั้งค่า ใช่ไหม ว่าเพจของคุณมีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร บริการ อาหาร เครื่องดื่ม กลุ่มเป้าหมายไลฟ์สไตล์อย่างไร รายได้เท่าไหร่ ฯลฯ ตรงนั้นแหละที่อันตราย เพราะเฟซบุ๊กไม่ได้ใช้สมอง เหมือนคน มันเป็นเพียงคอมพิวเตอร์ทปี่ ระมวลผลตามทีเ่ รา ตั้งเกณฑ์เอาไว้กว้างๆ เท่านัั้น • อธิบายให้ชดั เจนขึน้ ก็คอื การทีเ่ ราคิดว่าลูกค้าของเรา น่าจะเป็นแบบไหน มีไลฟ์สไตล์ สนใจอะไรบ้าง รายได้เท่าไหร่ ฯลฯ นั่นคือสิ่งที่เราคิดไปเอง ซึ่งถ้าระบุกับเฟซบุ๊กว่าให้เลือก เฉพาะคนจากประเทศไทยมันก็จะหาจากคนทีอ่ ยูใ่ นประเทศไทย เท่านั้น แต่สมมติว่าให้หาคนที่มีรายได้ 20,000 บาทขึ้นไป ก็อาจจะไม่ใช่คนที่จะสนใจซื้อสินค้าของเราเลยก็ได้ • แต่เราก็ระบุไว้ด้วยนะว่าชอบดูหนังฟังเพลงและเที่ยว นอกบ้าน แล้วถามว่าคนที่กินกาแฟไม่ฟังเพลง ไม่เที่ยว นอกบ้านหรือ คือแม้จะมีการก�าหนดตั้งค่า แต่ที่เฟซบุ๊กให้ คนเหล่านั้นเห็นโพสต์ของเราเพราะมีข้อมูลตรงกับค่าที่เรา ตั้งเอาไว้ หรือมีพฤติกรรมกดไลค์อะไรง่ายๆ คือมันเป็น เกณฑ์ ก ารคั ด สรรกว้ า งๆ ซึ่ ง เฟซบุ ๊ ก เองก็ ไ ม่ ไ ด้ ตั้ ง ใจจะ หลอกเรานะ เพียงแต่เขายังหาระบบที่ละเอียดกว่านั้นไม่ได้ เท่านั้นเอง B
STARTUP
Refinn หนึ่ ง ในสตาร์ ท อั พ สั ญ ชาติ ไ ทย ที่ ส ร้ า งความตื่ น เต้ น ให้ กั บ ผู ้ ค นใน แวดวงการเงินเป็นอย่างมาก Refinn เป็นเว็บไซต์ที่เปรียบเสมือนจุดศูนย์รวม ในการให้ บ ริ ก ารเปรี ย บเที ย บข้ อ เสนอ รีไฟแนนซ์จากทุกธนาคารทัว่ ประเทศไทย
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
PROBLEM แน่นอนว่าผู้ที่มีหนี้ทุกคนก็ย่อมอยาก จะปลดภาระหนี้ สิ น ของตนให้ เ ร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น และวิธที จี่ ะท�าเช่นนัน้ ได้กค็ อื การรีไฟแนนซ์ ส�าหรับหลายคนทีย่ งั งงว่าการรีไฟแนนซ์นนั้ คืออะไรและมีประโยชน์อย่างไร สรุปคร่าวๆ ก็คือการที่ยื่นเรื่องการขอสินเชื่อใหม่จาก ธนาคารอื่นๆ เพื่อปิดหนี้สินเดิมที่เรามีอยู่ ซึ่งวิธีนี้จะท�าให้เราเสียดอกเบี้ยโดยรวม ถูกกว่าเดิม หรือผ่อนช�าระหนีส้ นิ แต่ละงวด ได้ เ ร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น แต่ ที่ ผ ่ า นมานั้ น ลู ก หนี้ ที่ ต้องการรีไฟแนนซ์จะต้องหาข้อมูลเกีย่ วกับ ข้ อ เสนอของแต่ ล ะธนาคารด้ ว ยตั ว เอง สร้ า งความยุ ่ ง ยากสั บ สนให้ กั บ ลู ก หนี้ ไม่น้อย
Solution ผูท้ เี่ ข้ามาใช้บริการของเว็บไซต์ Reffiinn จะสามารถเปรียบเทียบอัตราดอกเบีย้ ได้อย่าง ง่ายดายจากเครื่องมือและฐานข้อมูลของ เว็บไซต์ที่รวบรวมไว้อย่างดี นอกจากนี้ยัง จับจุดของคนยุคใหม่ ด้วยการเพิม่ การบริการ ท�าธุรกรรมต่างๆ ด้วยระบบออนไลน์แบบ ครบวงจรในทีเ่ ดียว ไม่ตอ้ งก้าวเท้าออกจาก บ้านก็สามารถหาทางออกที่ดีให้กับการปลดภาระหนี้สินของตัวเองได้
K
SOCIAL IMPACT
SOCIAL CAMPAIGN
The Change Maker Dr. Edwin Smith
Citizens Advertising Takeover Service (CATS) by Glimpse
: Kids First Dental Services
- จากสถิ ติ พ บว่ า บริ เ วณที่ เรียกว่า Appalachia ในรัฐเคนทักกี เป็นหนึง่ ในพืน้ ทีท่ ปี่ ระชาชนมีปญ ั หา สุขภาพฟันในระดับที่เลวร้ายที่สุด ของประเทศ และเคนทักกีก็เป็นรัฐ ที่ ป ระชากรสู ญ เสี ย ฟั น ก่ อ นวั ย อัน ควรไปมากที่สุด เป็ น อั น ดั บ 3 ของประเทศ - คุณหมอเอ็ดวินเคยต้องรับมือ กับชาวบ้านประเภทที่ถ้ามีปัญหา ฟันผุและปวดฟันมากๆ ก็เลือกทีจ่ ะ ถอนฟันเองด้วยคีมไปเลย หรือกรณี ที่ฟันหลุดออกมาเองก็จะใช้กาวติด ฟันเข้ากับเหงือก ผลก็คือชาวบ้าน ต้องเจ็บปวดเรื้อรังจากการติดเชื้อ - จุดเปลีย่ นทีท่ า� ให้เขาตัดสินใจ ก่ อ ตั้ ง องค์ ก รก็ คื อ การที่ เ ขาเห็ น เด็ ก ๆ ต้ อ งทนทรมานจากอาการ ปวดฟั น และบ่ อ ยครั้ ง พวกเขา ก็ปวดฟันไปด้วยและต้องนั่งเรียน หนังสือไปด้วย
คุณหมอเอ็ดวินก่อตั้งองค์กรไม่แสวงหาผลก�าไร Kids First Dental Services เมื่อปี ค.ศ. 2005 ด้วยการน�ารถมาท�าเป็นคลินกิ รักษาฟันแบบเคลือ่ นที่ เดินทางไปทัว่ รัฐเคนทักกีพร้อมทีมงานอาสาสมัคร เพื่อรักษาฟันฟรีให้กับเด็กๆ จากวันนั้นจนถึงวันนี้ เขาช่วยเหลือเด็กๆ ไปแล้วกว่า 43,000 คน Q : รถคลินิกเคลื่อนที่ของคุณให้บริการอะไร บ้าง A : เราจะตรวจสุ ข ภาพฟั น ให้ เ ด็ ก ๆ ฟรี ท�าความสะอาด เอกซเรย์ดคู วามผิดปกติถา้ จ�าเป็น เคลือบฟลูออไรด์ อุดฟันผุให้ เราจะส่งแผนการดูแล รักษาฟันให้กับผู้ปกครองเพื่อดูแลลูกๆ ที่บ้านได้ แต่ ไ ม่ ถึ ง ขนาดถอนฟัน เพราะในรถไม่มีระบบ การฆ่าเชื้อที่ดีพอ จากนั้ น ผมก็ จ ะติ ด ตามผล ถ้าจ�าเป็นต้องถอนฟันหรือรักษาด้านอืน่ ๆ ก็จะนัด เด็กให้มาหาทีค่ ลินกิ แต่คนทีบ่ า้ นไกลมากๆ ก็อาจ มาหาไม่ ไ ด้ ผมก็ จ ะประสานกั บ หมอฟั น ในพื้นที่ที่ยินดีจะติดตามผลและรักษาแทน Q : งานนี้มีความหมายกับคุณอย่างไร A : ผมรู้สึกว่ามีเสียงเรียกให้ผมลุกขึ้นมา ท�างานนี้ เหมือนเป็นภารกิจบางอย่างที่มาวางไว้ ตรงหน้าเพื่อให้ผมเป็นคนท�าให้ส�าเร็จ และไม่มี
ใครทีจ่ ะท�างานนีไ้ ด้อกี แค่ได้เห็นว่าเราก�าลังสร้าง ความเปลีย่ นแปลงอยู่ มันก็ชว่ ยผลักดันให้ผมท�างาน ต่อไปได้แล้ว เวลาที่ผมเห็นเด็กๆ ในโรงเรียนที่ได้ ติดตามดูแลรักษามากว่า 10 ปี มีปัญหาฟันผุ ลดลงมาก แค่นนั้ ก็เป็นแรงบันดาลใจทีม่ ากพอแล้ว ผมเคยเจอคนที่ลุกขึ้นมาจากเก้าอี้ มองเข้าไป ในกระจกและร้องไห้ออกมา พวกเขาคือคนที่ ก่ อ นหน้ า นี้ จ ะไม่ ย อมให้ คุ ณ ได้ เ ห็ น ฟั น เลย แต่ตอนนี้พวกเขามีรอยยิ้มที่กว้างขึ้น นั่นแหละ คือหนึ่งในรางวัลที่ดีที่สุดของผมเลย ติ ด ตามอ่ า นบทสั ม ภาษณ์ ที่ เ หลื อ ได้ จ าก CNN Heroes ในเว็บไซต์ www.cnn.com
Do Something : Crowdfunding Every Cloud Kit : A Box That Makes A Difference เป้าหมาย : ระดมทุนให้ได้ 300 ปอนด์ ปัจจุบัน ณ เวลาที่รายงาน : ได้รับเงินแล้ว 150 ปอนด์ เหลือเวลา : 40 วัน
กลุ่มครีเอทีฟอาสาสมัครชื่อ Glimpse ซึง่ มี เจมส์ เทอร์เนอร์ เป็นผูก้ อ่ ตัง้ มีความตัง้ ใจทีจ่ ะใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการท�า สิง่ ทีด่ ี และ CATS ก็คอื ผลงานชิน้ แรกของ พวกเขาที่ชักชวนให้คนมาก่อการยึดคืน พืน้ ทีโ่ ฆษณาในสถานทีส่ าธารณะ เพราะ เบื่ อ กั บ การเห็ น แต่ โ ฆษณาที่ ช วนให้ ซือ้ ของเต็มไปหมด เจมส์และเพือ่ นๆ คิดว่า คงดีไม่น้อยถ้าจะมีใครใช้พื้นที่โฆษณา เหล่านั้นในการสื่อสารเรื่องที่สร้างสรรค์ สังคม ว่าแล้วเมือ่ ต้นปีทผี่ ่านมา เขาจึงไป ขอระดมทุนใน Kickstarter โดยแจ้งว่าจะ น�าเงินไปเปลี่ยนรูปโฆษณาที่มีอยู่เดิมใน สถานีรถไฟใต้ดิน Clapham Common ใน กรุ ง ลอนดอน ให้ เ ป็ น รู ป แมวทั้ ง หมด เพราะน่ า จะเป็ น สั ต ว์ ที่ ช าวเน็ ต หลงรั ก โดยถ้วนหน้า ผลคือมีผู้สนใจบริจาคเงิน กว่ า 700 คน ระดมทุ น ได้ ส�า เร็ จ กว่ า 23,000 ปอนด์ ดั ง นั้ น เมื่ อ ต้ น เดื อ น กันยายนทีผ่ า่ นมา ชาวลอนดอนทีโ่ ดยสาร ผ่านสถานีรถไฟใต้ดนิ Clapham Common จึง เห็นรูปแมวน่ารักๆ ติดอยู่ตามป้ าย โฆษณาทัง้ หมด 68 จุดทัว่ สถานี เป็นเวลา ต่อเนื่องถึง 2 สัปดาห์เต็ม ซึ่งเป็นการท� า งานหนั ก ของเหล่ า อาสาสมั ค รที่ ม า ร่วมแรงร่วมใจกันประกาศชัยชนะของ คนเบือ่ โฆษณานัน่ เอง โดยรูปแมวเหล่านัน้ ก็เป็นรูปแมวจากสถานสงเคราะห์แมว Cats Protection และ Battersea Dogs & Cats Home หน่วยงานดูและจัดหาบ้านที่ เหมาะสมให้สนุ ขั และแมวจรจัดในประเทศ อังกฤษ ผู้สื่อข่าวจาก Evening Standard รายงานว่ า แคมเปญนี้ ก ลายเป็ น ปรากฏการณ์ทโี่ ด่งดังไปทัว่ โลก และคนที่ เบื่อโฆษณาแบบรกหูรกตาก็เริ่มสนใจน�า แคมเปญนีไ้ ปท�าในเมืองต่างๆ ทัว่ โลกแล้ว ด้วย
สามสาวเพื่อนรักที่หลงใหลในงานศิลปะและเครื่องเขียน และตั้งใจจะช่วยสร้างแรงบันดาลใจและสร้างความรู้สึกดีๆ ให้กับผู้อื่น รวมตัวกันก่อตั้งโปรเจ็กต์ดังกล่าว ด้วยการระดมทุนเพื่อให้คนสมัครเป็นสมาชิกกล่องแห่งแรงบันดาลใจ ซึ่งสมาชิกจะได้รับกล่อง ทุกๆ 2 เดือน ในกล่องนั้นจะประกอบไปด้วยการ์ดอวยพร โปสเตอร์ เข็มกลัด สมุดจด ดินสอ ฯลฯ ที่ออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อให้เป็นสื่อ ในการให้กา� ลังใจผูค้ นทีเ่ ราอยากมอบให้ ผ่านถ้อยค�าคัดสรรทีก่ ลุม่ ผูจ้ ดั ท�าได้จากการอ่านหนังสือ ดูหนัง ฟังเพลง ฯลฯ รายได้จากค่าสมัคร สมาชิกจะมอบให้กับองค์กรการกุศลที่ได้รับการคัดเลือกมาในเดือนนั้นๆ โดยเดือนแรกนี้จะเป็นการบริจาคให้กับ Young Minds องค์กรที่ ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาสุขภาพจิต https://startsomegood.com/everycloudkit B
BULLETIN BOARD Homemade Stay ขานรับกฎกระทรวง โรงแรมขนาดเล็กปี 2559 นายทรงวุฒิ ตรีเทพจุลยากูล ผู้บริหารแอพพลิเคชัน โฮมเมดสเตย์, นายวรพันธ์ คล้ามไพบูลย์ กูรูบูติกโฮเต็ล และ นายจิตติพันธ์ ศรีกสิกรณ์ มิสเตอร์โฮสเทล ขานรับ กฎกระทรวงปี 2559 รองรับโรงแรมขนาดเล็ก ได้เตรียม น�าทีมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการบูติกโฮเต็ลทั่วประเทศ เนื่องจากจากการบังคับใช้กฎกระทรวง ก�าหนดลักษณะ อาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2559 ในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา เป็นปัจจัยส�าคัญที่จะกระตุ้น กิจการโรงแรมขนาดเล็กและบูติกโฮเต็ลให้จดทะเบียน ประกอบกิจการเพิ่มมากขึ้น
CC
M M
YY
CM CM
MY MY
CY CY
CMY CMY
KK
ดูราเกรสแนะน�า กระเบื้องลายใหม่ สไตล์ Japanese ‘คาโอรุ’
ดูราเกรสแนะน�ากระเบื้องลาย ใหม่ล่าสุด สไตล์ Japanese ‘คาโอรุ’ ขนาด 50x50 cm. ที่โดดเด่นด้วย ลวดลายศิลปะแบบญีป่ นุ่ อันประณีต น�ามาผสมผสานกันอย่างลงตัวจน เต็มแผ่น และด้วยกระบวนการผลิต แบบ Full HD จึงท�าให้กระเบื้อง มี ล วดลายและสี สั น ที่ ค มชั ด โดย สามารถใช้งานได้ทงั้ ปูพนื้ และบุผนัง สร้างมุมโปรดใหม่ในบ้านเดิมแบบ ง่ายๆ ได้แล้ววันนี้ ที่ร้านค้าตัวแทน จ� า หน่ า ยทั่ ว ประเทศ หรื อ ดู ร ายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ www.umi-tiles. com
มอคโคน่า มอคค่า ปรากฏการณ์ ความสุขใหม่ หอม อร่อย อีกระดับ มอคโคน่า มอคค่า ผลิตจากกาแฟคุณภาพทีผ่ า่ นการคัดสรรเมล็ดกาแฟชัน้ ดี ผ่านกระบวนการผลิตด้วยเทคโนโลยีฟรีซดราย ใช้ความเย็น เพื่อรักษารสชาติและกลิ่นของกาแฟแท้ ผสมผสานอย่างลงตัวกับ ช็อกโกแลตชัน้ เยีย่ ม ได้รสชาติอร่อยเข้มข้น นุม่ หอม กลมกล่อมในสไตล์ กาแฟมอคค่าแท้ สัมผัสปรากฏการณ์ความสุขใหม่ได้แล้ว ขนาดแพ็ก 12 ซอง ทีซ่ เู ปอร์มาร์เก็ตชัน้ น�าทัว่ ไป และขนาดแพ็ก 3 ซอง ที่ 7-Eleven ทุกสาขา
Secret Journeys, French Dialogue
เกรย์ กูซ เปิดตัว 6 เครื่องดื่มเลอค่า ในงาน Secret Journeys, French Dialogue เพือ่ สร้างสุนทรียะในการดืม่ อย่าง แท้จริง เชิญสัมผัสประสบการณ์ความเอ็กซ์คลูซีฟได้แล้ว วันนี้ที่ Bamboo Bar โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล ติดตาม ความเคลื่อนไหวกิจกรรมต่างๆ ได้ที่แฮชแท็กอินสตาแกรม #Secretjourneys #Greygoosethailand พร้อมเอกสิทธิ์พิเศษ ที่จะมอบให้เฉพาะเกรย์ กูซ เมมเบอร์ลิสต์เท่านั้น
THE GUEST เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
เมื่อครั้งที่ไปเยือนจังหวัดปัตตานี และ ได้รับการต้อนรับจาก เอ็มโซเฟียน เบญจเมธา ศิลปินเจ้าของงานเซรามิก แบรนด์ Benjametha Ceramic อย่างอบอุ่น เราจึงใช้โอกาสนี้ขอไป เยีย่ มชมโรงงานผลิตเครือ่ งปัน้ ดินเผา ที่โด่งดังไปไกลจนถึงต่างประเทศด้วย และไม่ลืมที่จะเก็บเรื่องราวการพูดคุย กับชายหนุ่มที่เปี่ยมไปด้วยความคิดสร้างสรรค์ ความศรัทธาที่มีต่อ ศาสนาอิสลาม และความรักที่มีต่อ จังหวัดบ้านเกิดอย่างหนักแน่น มาฝากคุณ
ART AND Soul
“การได้ที่ 1 หรือที่ 2 ไม่ ใช่เกณฑ์ที่ใช้วัดคุณค่าของคน” ตอนเด็กๆ ผมเรียนได้แย่มาก สอบตกเกือบทุกวิชา ทั้งเคมี ชีววิทยา จนกระทัง่ ได้เดินทางไปศึกษาเรือ่ งการท�าเซรามิกทีป่ ระเทศฝรัง่ เศส และเริม่ รู้ว่าสุดท้ายแล้วการได้ที่ 1 หรือที่ 2 ไม่ใช่เกณฑ์ที่ใช้วัดคุณค่าของคน ทุกครั้งที่ผมขับรถผ่านด่านตรวจคน ผมจะถูกโยนเข้าไปสู่หมวดของโจรใต้ ทันที แต่งานศิลปะจะเป็นสิ่งบอกว่าเราสร้างชื่อเสียงอะไรให้กับประเทศ ได้บ้าง “การผุพังแตกหักคือการงอกเงยของสิ่งใหม่” จากสั จ ธรรมที่ อ ยู ่ ใ นคั ม ภี ร ์ อั ล กุ ร อานที่ บ อกว่ า ของทุ ก อย่ า งมี อ ายุ เมื่อความจริงปรากฏ ความเท็จย่อมมลายหายไป การผุพังแตกหักคือ การงอกเงยของสิง่ ใหม่ขนึ้ มา มันคือสัญญาณของการมีชวี ติ เมือ่ ต้นไม้ขนึ้ จน รกทึบ สิ่งมีชีวิตที่อยู่ข้างล่างก�าลังจะตายเพราะแสงแดดส่องไม่ถึง พระเจ้า ก็ออกแบบให้กิ่งก้านของต้นไม้เสียดสีกันจนเกิดเป็นไฟป่า ความเจ็บปวด วอดวายเกิดขึ้นมาก็จริง แต่มันก็ท�าให้มีชีวิตใหม่เกิดขึ้นมาเช่นกัน คนเรา จึงต้องตาย เพราะโลกนี้ต้องการความสะอาด “มีแต่ดินเท่านั้นที่ท�าได้” วัสดุอนื่ ๆ เช่น ไม้ เหล็ก สามารถถ่ายทอดความงามของการแตกได้ไหม ก็ไม่ได้ มีแต่ดินเท่านั้นที่ท�าได้ การแตกระแหงของดินคือความสวยงาม และความมีชวี ติ มันสื่อถึงพื้นที่ที่สามารถให้น�้าไหลผ่านได้ ต้นไม้สามารถ งอกเงยได้ “ไม่จ�าเป็นเลยที่ว่าเราเป็นคนไทยแล้วต้องท�าเรื่องลายไทย” ผมเชื่อว่างานศิลปะต้องถ่ายทอดความเป็นตัวเองออกมาให้มากที่สุด ไม่จา� เป็นเลยที่ว่าเราเป็นคนไทยแล้วต้องท�าเรื่องลายไทย ท�าไมคนจึงมอง ว่าขวดยาคูลท์สวย ก็เพราะเรามีความผูกพัน ผมเคยท�าหม้อขึ้นมาใบหนึ่ง แล้วมารู้ตอนหลังว่าหม้อใบนี้ได้ฟอร์มมาจากกระปุกเก็บยาของแม่ที่ผม เคยเห็นตอนเด็กๆ งานของผมจึงไม่ใช่เรื่องของวัฒนธรรมหรือศาสนา ความสวยงามของผมเกิดจากความผูกพัน “ลูกข่างคือสิ่งที่เป็นสากล” ผมชอบดีไซน์ของกรงนก แต่ขนาดของกรงนกนั้นจะเอามาท�าเป็น ชิ้นงานให้ทุกคนจับต้องได้ก็เป็นเรื่องยาก และกรงนกมีเรื่องของกาลเวลา ความพิถพี ถิ นั ท�าให้ผมนึกถึงของบางอย่างทีพ่ าเรากลับไปสูว่ ยั เด็ก นัน่ ก็คอื ลูกข่าง ซึ่งเป็นของเล่นที่เด็ก ผู้ใหญ่ คนไทย คนต่างชาติ ทุกคนเข้าใจหมด ลูกข่างคือสิง่ ทีเ่ ป็นสากล คุณหยิบไปปัน่ ทีไ่ หน ปัน่ ให้ชนเผ่าไหนดูเขาก็เข้าใจ เขาดูเขาก็นึกถึงตัวเองตอนเป็นเด็กทุกคน และเราก็สามารถน� าดีไซน์ ของยอดกรงนกมาใส่ไว้ในลูกข่างได้ด้วย “เด็กจะชอบอะไรที่ง่ายๆ ตรงๆ” ผมจะเล่านิทานให้เขาฟัง ซึ่งเป็นเรื่องง่ายๆ ตรงไปตรงมา ไม่ต้อง ปรัชญาอะไร เพราะเด็กจะชอบอะไรที่ง่ายๆ ตรงๆ อย่างวันก่อนผมก็เล่า เรื่องดอกไม้ทะเลกับปูเสฉวน ซึ่งปูเสฉวนต้องคอยหลบปลาหมึกทุกวัน รูส้ กึ ว่าตัวเองมีชีวิตที่ไม่สงบสุข จนกระทั่งดอกไม้ทะเลบอกว่า ฉันจะช่วย เธอเองเพราะฉันก็เดือดร้อน ฉันขอเกาะบนกระดองเธอนะ แล้วพวกปลาหมึก จะไม่มายุ่งด้วยเพราะฉันมีพิษ แล้วฉันก็สามารถเดินทางไปกับเธอเพื่อชม โลกที่สวยงามได้ ซึ่งอย่าว่าแต่เด็กๆ ชอบเลย ผมก็ชอบ “โจรในบ้านอย่างมากก็แค่ลักขโมยของเล็กๆ น้อยๆ ในบ้าน แต่โจร นอกบ้านมันท�าลายบ้านของคุณทั้งหลัง” ถ้าบ้านคุณเกิดไฟไหม้ขึ้นมา ถามตรงๆ เลยว่าสมาชิกในครอบครัวเรา มีความรู้ในการดับไฟทุกคนไหม ผมอาจรู้วิธีการดับไฟเพราะผมเรียนมา น้องผมอยู่ ป.1 ยังไม่ได้เรียนรูเ้ รือ่ งนี้ อีกคนรูแ้ ต่ไม่เหมือนทีผ่ มรู้ กลายเป็นว่า ต่างคนต่างรู้วิธีการดับไฟไม่เหมือนกัน ผมมีทักษะ ผมรู้ทางลม ผมมีน�้า ก็เอาน�้าสาด แต่อีกคนรู้ว่าเป่าลมอาจจะดับไฟได้ก็เป่าเข้าไป หรืออีกคน หาอะไรมาดับไม่ได้กค็ ว้าถังน�า้ มันเบนซินสาดเข้าไปแล้วกัน ทัง้ หมดนีเ้ กิดขึน้ เพราะสมาชิกครอบครัวไม่สามารถนิง่ เฉยได้ เมือ่ มีใครมาจุดไฟเผาบ้านเรา ดังนั้น อย่ากล่าวหาคนสาดน�้ามันเบนซินเลยว่าท�าให้บ้านไฟไหม้ โจรใน บ้านอย่างมากก็แค่ลักขโมยของเล็กๆ น้อยๆ ในบ้าน แต่โจรนอกบ้านมัน ท�าลายบ้านของคุณทั้งหลังเพราะเขาอยากได้ที่ตรงบ้านของคุณ “เราต้องแกร่ง อย่าให้คนอื่นมาตัดสินเราได้” คนทีน่ บั ถืออิสลามอย่างเคร่งครัดต้องท�าละหมาดกันวันละ 5 เวลา เพือ่ เข้าเฝ้าพระผูเ้ ป็นเจ้า เพือ่ ขออภัยโทษ แล้วเขาจะเอาเวลาไหนไปคิดเรือ่ งชัว่ ร้าย ซึ่งนี่ก็เป็นกุศโลบายอีกอย่างของพระผู้เป็นเจ้าที่ให้เราท�าละหมาด ดังนั้น คนปัตตานีไม่วา่ จะพุทธหรือมุสลิม เราต้องแกร่ง อย่าให้คนอืน่ มาตัดสินเราได้ “เราสอนคนให้รู้จักกับดิน ให้มีความผูกพัน เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้ เขาได้” ผมพบว่าปัจจุบนั นีว้ ชิ าเกษตรกรรมส�าหรับเด็กนักเรียนไม่มแี ล้ว ผมเคย ลองถามเขาว่าโตขึ้นใครอยากเป็นหมอบ้าง เด็กก็ยกมือกันเต็มไปหมด แล้วใครอยากเป็นคนที่คอยช่วยเหลือคนบ้าง มีเด็กยกมืออยู่สองคน แล้ว พวกที่อยากเป็นหมอเมื่อกี้อยู่ไหน และพอถามว่ามีใครอยากเป็นเกษตรกร ไม่มีใครยกมือเลย ผมจึงพาพวกเขาไปละลายพฤติกรรมด้วยการให้ทุกคน ถอดรองเท้า ผูใ้ หญ่กด็ ว้ ย แล้วลงไปเดินทีค่ นั นาด้วยกัน ซึง่ เด็กๆ สนุกกันมาก เราสอนคนให้ร้จู กั กับดิน ให้มคี วามผูกพัน เพือ่ สร้างแรงบันดาลใจให้เขาได้
B
3 - 9 OCTOBER 2016
LIFE AT THE MUSEUM
FEATURE สัมผัส ‘ชีวิต’ ของสถานที่เรียกเวลาพิพิธภัณฑ์ THE SPACE ‘Oneday Wallflowers Oldtown’ ร้านดอกไม้ในซอยย่านเก่าที่สร้างขึ้นด้วย passion MAKE A DISH เมนูเด็ดสุดครีเอตจากร้าน Amontre Playroom & Brasserie MAKE A DRINK ชิมเอสเปรสโซแก้วโปรดของเหล่าพนักงานที่ cafe daypoets
FEATURE
Life at the Museum เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
เวลาที่เราแพลนว่าจะใช้เวลาว่างในวันหยุดหรือหลังเลิกงาน ก็มักจะวางพิพิธภัณฑ์เอาไว้เป็นสถานที่อันดับท้ายๆ เสมอ นั่นอาจเป็นเพราะความเชื่อฝังหัวที่ว่ากันว่างานศิลปะนั้นดูยาก หรือเป็นสถานที่ที่มีความขลังเกินกว่าจะเหยียบย่างเข้าไป แต่ทุกวันนี้พิพิธภัณฑ์ก็อาจจะไม่ใช่อย่างที่หลายคนคิด เราจึงขอถือโอกาสพาคุณไปเยี่ยมชมหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร หนึ่งในพิพิธภัณฑ์ที่ดีที่สุด เดินทางไปง่ายที่สุด และเป็นมิตรกับคุณอย่างคาดไม่ถึง
Luckana Kunavichayanont ระบบอินเทอร์เน็ต ซอฟต์แวร์ รวมถึงแอพพลิเคชันต่างๆ ทั้งในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์มือถือเอง ได้พัฒนาไปถึงขั้นที่สามารถจ�าลองภาพเสมือนให้เราเข้าไปเดินท่อง มิวเซียมดังๆ ที่ต่างประเทศโดยที่ตัวเองสามารถนอนตีพุงอยู่บ้านได้แบบสบายๆ จึงเป็น ข้อสงสัยว่า พิพิธภัณฑ์ยังคงมีความจ�าเป็นอยู่อีกไหมในอนาคต เมื่อมีโอกาสได้นั่งคุยกับ ลักขณา คุณาวิชยานนท์ ผู้อ�านวยการหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เราจึงไม่พลาดที่จะน�าความสงสัยนี้มาถามกับเธอ
Pichaya Suphavanij บ่อยครั้งที่เวลาชวนใครไปดูงานศิลปะตามพิพิธภัณฑ์ต่างๆ เรามักจะพบกับอาการแบ่งรับแบ่งสู้ หรือเลี่ยงไปสถานที่อื่นอยู่เสมอ นั่นคงเป็นเพราะก�าแพงในใจของคนเหล่านั้นที่ตั้งแง่เอาไว้ว่างานศิลปะส่วนใหญ่มักดูยากและเข้าไม่ถึง จนกระทั่งนิทรรศการ ‘ฉายาลักษณ์สยาม’ ซึ่งได้รับการตอบรับจากคนดูอย่างอบอุ่น จึงท�าให้ พิชญา ศุภวานิช หัวหน้าฝ่ายนิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เริ่มเห็นวิธีการสร้างความเป็นมิตรระหว่างคนดูกลุ่มใหม่ๆ กับหอศิลปฯ ให้ใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น
“เรายังเชือ่ ว่าการดูภาพจากหน้าจอโทรศัพท์ กับการได้มายืนดูรปู ภาพจริงๆ เป็นเรือ่ งคนละมิติ ซึ่งเราไม่ขอใช้ค�าว่าแทนกันได้ การดูงานศิลปะ จากอินเทอร์เน็ต อย่างไรคุณก็ได้ในเรือ่ งของข้อมูล กลับมาแน่ๆ อยูแ่ ล้ว คุณจะรูว้ า่ รูปวาดนีช้ อื่ โมนาลิซา ตั้งอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ วาดโดยจิตรกรเอกชื่อ ลี โ อนาร์ โ ด ดาวิ น ชี และได้ รั บ รู ้ ข ้ อ มู ล ต่ า งๆ เกี่ยวกับรูปภาพนี้เต็มไปหมด แต่ความรู้สึกที่คุณ ได้รบั เมือ่ ไปยืนตรงหน้าของรูปวาดนีจ้ ริงๆ คุณจะ ไม่มีทางได้จากหน้าจอโทรศัพท์มือถือ ซึ่งตรงนี้ เป็นเรื่องของประสบการณ์ซึ่งหาจากอินเทอร์เน็ต ไม่ได้ ประสบการณ์ที่คุณต้องมายืนอยู่ ณ พื้นที่ ตรงนั้น ได้มาเห็นผลงานที่อยู่ตรงหน้า “ถ้าเป็นงานภาพถ่าย การดูจากจอโทรศัพท์ อาจจะให้ประสบการณ์ได้ในระดับหนึ่ง แต่หาก เป็นงานภาพวาดนีจ่ ะเห็นชัดมาก เอาง่ายๆ ใกล้ๆ ตัว เลย คุณเดินไปดูภาพวาดของ อาจารย์ประเทือง เอมเจริญ ซึง่ แต่ละภาพมีขนาดตัง้ แต่ 4 เมตรขึน้ ไป คุณไม่สามารถสัมผัสกับความรูส้ กึ เดียวกันได้เลย เมื่ อ ดู ผ ่ า นหน้ า จอโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ หรื อ เครื่ อ งคอมพิวเตอร์ เพราะสิ่งนี้คือประสบการณ์ตรง”
“นิทรรศการ ‘ฉายาลักษณ์สยาม’ ค่อนข้างประสบ ความส�าเร็จในแง่รูปธรรมอย่างสูงในการเชื้อเชิญ กลุ่มคนสูงวัยให้เข้ามาที่หอศิลปฯ ของเรา ซึ่งคน กลุ่มนี้คือกลุ่มคนที่มีความยากในการเดินเข้ามาดู งานแสดงศิ ล ปะ และนิ ท รรศการนี้ เ ป็ น การแสดง ภาพถ่ายประวัตศิ าสตร์ทหี่ าดูได้ยากของประเทศไทย ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนสนใจในมุมกว้าง และคนที่ชอบ ดูงานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ก็มักจะไม่ค่อยสนใจ งานศิลปะร่วมสมัย “การจัดนิทรรศการแบบนีจ้ งึ เป็นวิธที จี่ ะดึงคนทัง้ สองกลุ่มให้มาอยู่ในพืน้ ทีเ่ ดียวกันได้ performance art ที่ จั ด ขึ้ น อย่ า งงาน SLEEP ของ Anna Fafaliou ซึ่งบางคนก็ให้ความสนใจ และเริ่มรู้จักว่าเป็นงาน ศิลปะอีกแขนงหนึ่ง หากย้อนกลับไปเมื่อสิบปีที่แล้ว งานแบบนีค้ งไม่ได้รบั ความ-สนใจหรือไม่ได้ถกู สังเกต ด้วยซ�้าว่านี่คืองานศิลปะ”
Aniwat Tongseeda งานศิลปะคือสิ่งที่ช่วยจรรโลงจิตใจและเปิดกว้างส�าหรับคนทุกเพศทุกวัย ซึ่งแน่นอนว่าถ้าเราจะวางรากฐานการเติบโตของศิลปะให้มั่นคง ก็ต้องเริ่มปลูกฝังให้เด็กๆ รักและเข้าใจวัฒนธรรมของการดูงานศิลปะควบคู่กันไปด้วย ดังนั้น อนิวัฒน์ ทองสีดา เจ้าหน้าที่อาวุโส ฝ่ายการศึกษา หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร จึงเริ่มต้นจัด กิจกรรมต่างๆ ภายในหอศิลปฯ แห่งนี้ เพือ่ สร้างความผูกพันระหว่างเด็กกับงานศิลปะให้เกิดขึน้ “ตอนนี้เราพยายามส่งเสริมการเรียนรู้ทั่วไป เกีย่ วกับศิลปะผ่านการจัดกิจกรรมซึง่ แบ่งออกเป็น 3 กลุม่ ใหญ่ๆ คือ การพูดคุยเสวนาต่างๆ โครงการ BACC Training of Art Manager ส�าหรับคนที่สนใจ การจั ด การด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรม และการจั ด เวิร์กช็อปอบรมศิลปะให้กับคุณครูหรือนักเรียน โดยเฉพาะ ซึ่ ง โครงการพาน้ อ งท่ อ งหอศิ ล ปฯ ก็จะอยู่ในส่วนนี้ “เราอยากชวนให้เด็กๆ มาเที่ยวหอศิลปฯ โดยมี กิ จ กรรมจากเนื้ อ หาของงานนิ ท รรศการ ทีจ่ ดั แสดงไว้ทชี่ นั้ 7, 8 และ 9 มาเป็นส่วนประกอบ ซึง่ เราจะเล่าให้นอ้ งๆ ฟังว่าพวกเราก�าลังมาดูงาน
ของใคร มี เ กมให้ เ ล่ น เป็ น ค� า บอกใบ้ ว ่ า ของ แต่ละอย่างที่เราเอามาให้ดูมีความเกี่ยวข้องกับ นิท รรศการอย่ า งไร ซึ่ง กิจ กรรมนี้ถ ้ า เป็ น กลุ ่ ม เด็กเล็ก น้องๆ จะตื่นเต้นกับสถาปัตยกรรมของ หอศิลปฯ ที่กลมๆ โค้งๆ มาก ส่วนเด็กที่โตขึ้นมา หน่อย ก็จะสนุกกับสิง่ ทีเ่ ขาเห็น บางคนก็จะจับกลุม่ นอนวาดรูปกันซึง่ น่ารักดี และความน่ารักอีกอย่าง ของน้องๆ คือ ถ้าเขาเห็นเส้นที่ขีดไว้บนพื้นหน้า ผลงานทีแ่ สดงโชว์ พวกเขาจะเข้าใจทันทีวา่ ห้ามล�า้ เข้าไปในเส้นนั้น เขาก็จะนั่งๆ นอนๆ ดูงานโดย ไม่ให้ตัวเองล�า้ เข้าไปในเส้นอย่างเป็นระเบียบ”
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
Kanharat Leamthong นอกจากการแสดงผลงานศิลปะที่เกิดขึ้น กิจกรรมต่างๆ ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ดึงดูด ให้คนทั่วไปสนใจและอยากเข้ามาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์มากขึ้น โดยงานที่จัดขึ้นก็มาจาก ไอเดียเจ๋งๆ ของ กัณหรัตน์ เลี่ยมทอง หัวหน้าฝ่ายกิจกรรม หอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร ผู้รับหน้าที่สร้างสรรค์กิจกรรมของหอศิลปฯ แห่งนี้ เพื่อเชื่อมโยงให้ผู้คนและงานศิลปะได้มีโอกาสใกล้ชิดกันมากขึ้น “นอกจากนิทรรศการซึ่งเป็นหัวใจหลักของ หอศิลปฯ แล้ว เรายังมีกิจกรรมใหญ่ๆ ที่ต้องดูแล ก็คือ ดนตรี วรรณกรรม ศิลปะการแสดง และ ภาพยนตร์ โดยเราจะสร้างสรรค์รูปแบบงานและ เนื้อหาร่วมกับกลุ่มศิลปิน เช่น งาน MAB : Music & Art Fest at bacc เป็นงานดนตรีทจี่ ดั ขึน้ ตรงลาน ด้านหน้าหอศิลปฯ งานเสวนาที่เชิญศิลปินที่เป็น ที่รู้จักอย่าง ‘พี่ซัน’ - มาโนช พุฒตาล มาบอกเล่า เรื่ อ งราวของเขา หรื อ การเชิ ญ ศิ ล ปิ น ทั้ ง ไทย และต่างประเทศมาร่วมงานศิลปะการแสดงใน แขนงต่ า งๆ รวมถึ ง การฉายภาพยนตร์ ที่ ห าดู ได้ ย าก พร้ อ มพู ด คุ ย กั บ ผู ้ ก� า กั บ ภาพยนตร์ หรือนักวิจารณ์ภาพยนตร์เป็นต้น ซึ่งเราก็ได้เสียง
ตอบรับจากคนทีม่ าร่วมชมงานดีขนึ้ เรือ่ ยๆ ส่วนส�าคัญ ก็เพราะทีต่ งั้ ของหอศิลปฯ ทีเ่ ดินทางมาได้สะดวก และทุกกิจกรรมของเรานัน้ เข้าชมได้ฟรีโดยไม่เสีย ค่าใช้จา่ ย ดังนัน้ ใครๆ ก็สามารถเข้าร่วมกิจกรรม กับเราก็ได้ทั้งนั้น ซึ่งก็เป็นคล้ายๆ กับสวัสดิการ ทางสังคมทีท่ างกรุงเทพมหานครมีให้กบั ประชาชน “แผนกของเราก่อตั้งมาได้ประมาณ 5 ปี ซึ่งก็ช่วยเพิ่มจ�านวนผู้ชมให้เข้ามามากขึ้นเรื่อยๆ คนที่ติดตามโปรเจ็กต์ต่างๆ ของเราก็มีความเข้มข้นขึน้ ความกล้าๆ กลัวๆ ของคนดูกลุ่มใหม่ๆ ก็ลดลง เชือ่ ว่าด้วยภาพของทีน่ ซี่ งึ่ มีความเป็นมิตร”
THE SPACE
Wandering Blossom เรื่อง : ปริญญา ก้อนรัมย์ ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี
ทุกครั้งที่มีโอกาสได้พบกับ ‘ลักษณ์’ - ณัฐพัชร สุริยะก�ำพล สถาปนิกและหนึ่งในผู้ก่อตั้งร้านกาแฟ Casa Lapin เชื่อได้เลยว่าเราก�าลังจะได้พบความตื่นเต้นจากสิ่งที่เขาก�าลังท�าอยู่อย่างแน่นอน ครั้งนี้ก็เช่นกัน กับเรื่องราวที่มาของร้านดอกไม้ แสนมีสไตล์ในซอยนานาอย่าง Oneday Wallflowers Oldtown ที่เขาสร้างขึ้นมาด้วย passion
This Space is... “พื้นที่ที่เป็นอะไรก็ ได้ เหมือนดอกไม้ที่ ใช้ ได้กับทุกอารมณ์ โกรธ มีความสุข เศร้า”
เหตุ ผ ลที่ ข ยำย Oneday Wallflowers Oldtown มำทีซ่ อยนำนำคืออะไร “เมือ่ ก่อน Oneday Wallffllflowers ท�าหน้าที่เป็นเหมือน พร็อพทีช่ ว่ ยสร้างบรรยากาศให้กบั Casa Lapin สาขาใหญ่ที่ซอยสุขุมวิท 26 ซึ่งเราสร้างเป็น กลาสเฮาส์เล็กๆ ทีม่ คี อนเซ็ปต์เป็นร้านดอกไม้ เมื่ อ เปิ ด ไปได้ พั ก ใหญ่ ก็ ไ ด้ รั บ การตอบรั บ ค่อนข้างดี ปริมาณการสั่งดอกไม้ก็เริ่มมาก ขึ้น จนเลยคิดว่าพื้นที่เล็กๆ แค่นั้นไม่พอ” ท� ำ ไมจึ ง เลื อ กบ้ ำ นเก่ ำ อำยุ 100 กว่ ำ ปี ในซอยนำนำหลังนีเ้ ป็นทีต่ งั้ “เราตามหาพืน้ ที่ ที่มีขนาดพอดี ค่าเช่าสมเหตุสมผล และสิ่งที่ ชอบมากทีส่ ดุ จนลืมไม่ลงก็คอื บรรยากาศของ
ย่านนี้ ซึง่ มีสภาพอาคารทีเ่ ป็นตึกอายุรอ้ ยกว่าปี ด้วยลักษณะของพื้นที่เช่นนี้ ขนาดเราเป็น สถาปนิกยังช็อก เพราะเพดานสูงมาก” ร้ำนนี้ท�ำให้ชีวิตคุณเปลี่ยนแปลงไปอย่ำงไร “ด้านหนึ่งมันท�าให้ชีวิตเรายากขึ้น ตอนที่ เริ่มท�าที่นี่เจ้าของตึกยังตกใจเลย คนแถวนี้ พี่ป้าน้าอาเขายังบอกว่าเราบ้า แต่โอเค เรา คิดว่าเดีย๋ วก็ปรับตัวนิดหน่อย เพราะทุกอย่าง ไม่ตอ้ งเปอร์เฟ็กต์ไปหมดหรอก ซึง่ พอท�าเสร็จ มันก็กลายเป็นจุดเด่นอย่างหนึ่งเหมือนกัน เป็นร้านดอกไม้ที่ซ่อนอยู่ เราก็ได้กลุ่มลูกค้า ใหม่ๆ ที่เขาเดินผ่านแล้วหันเดินกลับมาดูว่า ตรงนี้มันคืออะไรวะเนี่ย” ตัง้ ใจออกแบบทีแ่ ห่งนีอ้ ย่ำงไรบ้ำง “ตอนแรก เราคิ ด ว่ า คงย้ า ยเข้ า มาอยู ่ ไ ด้ เ ลย แค่ ข น เฟอร์ นิ เ จอร์ ขนพร็ อ พเข้ า มาก็ ส วยแล้ ว แต่ด้วยความที่เราเป็นสถาปนิก เราก็ปรับ ฟังก์ชันนิดหน่อย ผนังเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ ราคงไว้ เ หมื อ นเดิ ม ปรั บ แค่ ท างเข้ า นิ ด ๆ หน่อยๆ ซึ่งจริงๆ แล้วแต่ก่อนที่นี่เคยเป็น บ้านและร้านชามาก่อน” ท�ำไมกำรจัดดอกไม้กลำยมำเป็นส่วนส�ำคัญ ในชีวิตของคุณ “พอเราเริ่มมาจัดดอกไม้ จากที่ไม่เคยมีความรู้มาก่อน อยู่ๆ ไปก็เริ่ม ผูกพัน เรามีหน้าที่คอยดูแล จนรู้ตัวอีกที เพื่อนๆ ใน Casa Lapin บอกว่าเราอยู่แต่กับ ดอกไม้ ซึง่ เราก็โอเค จริงๆ มันอาจไม่ใช่อาชีพ ในฝัน แต่ดอกไม้มันท�าให้เราเป็นคนใจเย็น มากขึ้น มองโลกในอีกมุมหนึ่ง”
“ฟุตบอลไม่เป็นตรรกะ แต่มันก็ยุติธรรมตรงที่ทุกอย่างเกิดขึ้นได้”
ตัตั้ง้งแต่ แต่ววันันแรกที แรกที่ ไ่ด้ได้รรับับมอบหมายจากผู มอบหมายจากผู้เป็้เป็นนพ่พ่ออ ต้ต้อองบิงบินนไปแดนผู ไปแดนผู้ด้ดี ี บริบริหหารที ารทีมมฟุฟุตตบอล บอล เพีเพียยงลำงลำาาพัพังง ต๊ต๊ออบ-อั บ-อัยยยวั ยวัฒฒน์น์ เปลี เปลี่ ย่ ยนแปลง นแปลง ปรั ปรับบปรุ ปรุงงสิสิ่ ง่ งต่ต่าางๆงๆ ด้ด้ววยมั ยมันนสมองและหั สมองและหัววใจใจ ผ่ผ่าานช่ นช่ววงเวลาที งเวลาที่ท่ทุกุกข์ข์ทที่สี่สุดุดและสุ และสุขขเหนื เหนืออคำคำาาบรรยายมาหลายฤดู บรรยายมาหลายฤดูกกาลาล หนั หนังงสืสืออเล่เล่มมนีนี้ ไ้ ไม่ม่ใ ช่ใ ช่เ พีเ พียยงบั งบันนทึทึกกความสำ ความสำาาเร็เร็จจอัอันนน่น่าาเหลื เหลืออเชืเชื่ อ่ อของแชมป์ ของแชมป์ลลี กี กฟุฟุตตบอล บอล สูสูงงสุสุดดของอั ของอังงกฤษ กฤษ แต่ แต่มมันันคืคืออเรืเรื่อ่องราวการต่ งราวการต่ออสูสู้ท้ที่เต็ี่เต็มมไปด้ ไปด้ววยแรงบั ยแรงบันนดาลใจ ดาลใจ ความมุ ความมุ่ง่งมัมั่น่น ความศรั ความศรัททธาธาของชายหนุ ของชายหนุ่ม่มชาวไทยที ชาวไทยที่ท่ทำาำาให้ให้สสื่อื่อทัทั่ว่วโลกต้ โลกต้อองจังจับบตา ตา
THE THEFAIRY FAIRYTALE TALEOF OFUNDERFOX UNDERFOX เทพนิ เทพนิยยายจิ ายจิ้ง้งจอกสี จอกสีนน้ำา้ำาเงิเงินนในคำ ในคำาาบอกเล่ บอกเล่าาของ ของอัอัยยยวั ยวัฒฒน์น์ศรี ศรีววัฒัฒนประภา นประภา โดย โดยจิจิรรเดช เดชโอภาสพั โอภาสพันนธ์ธ์ววงศ์ งศ์/ /325.325.วางจ� วางจ�าาหน่ หน่าายแล้ ยแล้วววัวันนนีนี้ ที้ ที่ร้า่ร้านหนั นหนังสืงสืออชัชั้น้นน�น�าา หรืหรืออสัสั่งซื่งซื้อ้อโดยตรงในราคาลดพิ โดยตรงในราคาลดพิเศษ เศษพร้พร้ออมจัมจัดดส่ส่งฟรี งฟรีทีที่ godaypoets.com ่ godaypoets.com
• อีเวนต์พิเศษประจ�ำเดือนนี้ของร้ำน...
ไปเวิร์กช็อปจัดดอกไม้ที่เกาะมันนอก
• ดอกไม้พนั ธุล์ ำ่ สุดทีช่ นื่ ชอบจนซือ้ เข้ำมำ...
ดอกไม้จากญี่ปุ่นพันธุ์ Smoke Bush
• ช่วงเวลำที่ที่นี่มีชีวิตชีวำมำกที่สุด... ช่วง ประมาณ 5 โมงเย็นก่อนพระอาทิตย์ตก เพราะว่าใช้ทุกฟังก์ชันของพื้นที่นี้ได้ • ช่อดอกไม้แปลกๆ ที่เคยจัด... ช่อดอกไม้ สีด�า
MAKE A DISH
Spicy Oyster เรื่อง : วรัญญู อินทรก�ำแหง ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
มีหลายวิธีที่เราจะกินหอยนางรมสดๆ ให้อร่อย แต่คนที่รักในรสชาติของหอยนางรมสดๆ จะต้องถูกใจ กับ Spicy Oyster เมนูเด็ดสุดครีเอตจานนี้โดย ‘คุณเกด’ - กุลศิริ ไชยนพกุล แห่งร้าน Amontre Playroom & Brasserie ซึ่งน�าหอยนางรมฟิน เดอ แคลร์ ชั้นดีจากฝรั่งเศส มาปรุงให้มีรสชาติจัดจ้านอย่างไทย
Spicy oyster
ราคา : 290 บาท
INGREDIENTS
หอยนางรมฟิน เดอ แคลร์ / น�า้ จิม้ ซีฟดู้ / น�า้ พริกเผา / ซอสพริกศรีราชา / ส้มโอ / เมล็ดกระถิน / หอมเจียว / พริกขีห้ นูแดงซอย / เรดเคอร์แรนต์ / กระเทียมไทย
OWNER 'S INSPIRATION
TIPS
หอยนางรมฟิน เดอ แคลร์สดๆ จากฝรัง่ เศส ปกติจะกินกับน�า้ ส้มสายชู ไวน์แดง หรือไม่กเ็ ลมอน แต่เราน�ามาปรับให้มรี สชาติแบบไทยๆ โดยน�าซอส 3 อย่างมาผสมกัน ส่วนความเปรีย้ วได้มาจากผลเรดเคอร์แรนต์ และแทนที่ จะใช้ยอดกระถิน เราใช้เมล็ดกระถินแทน เป็นการผสมผสานรสชาติใหม่ๆ ในการกินหอยนางรม
ผสมน�้ า จิ้ ม ซี ฟู ้ ด น�้ า พริ ก เผา และซอสพริกศรีราชา ในอัตราส่วน ที่เท่ากันเป็นเบส แล้วจึงค่อยปรุงรส เพิ่มตามชอบ
MAKE A DRINK
Espresso เรื่อง : ทรรศน หำญเรืองเกียรติ ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
ถ้าร่างกายของคุณตอนนี้ก�าลังเรียกร้องหากาแฟร้อนๆ สักแก้ว ที่จะช่วยให้ตาสว่าง และต้องการลิ้มลองรสชาติของเมล็ดกาแฟที่เข้มข้น ลองแวะมาชิม กาแฟเอสเพรสโซ ที่ cafe daypoets ตรงซอยศูนย์วิจัย 4 กันดู รับรองว่าคุณจะติดใจกับกาแฟเอสเพรสโซสีด�าหอมๆ ที่มีฟองกาแฟสีทองสวยๆ ช็อตนี้ ที่ชงโดย ฐาปัฐว์ กิจรุจิภาคย์ บาริสตาหนุ่มเข้มของร้าน ที่จะท�าให้คุณได้พบกับความสดชื่นได้ทันทีตั้งแต่จิบแรกที่กลืนลงคอ
ESPRESSo
INGREDIENTS
BARISTA'S INSPIRATION
TIPS
ราคา : 70-100 บาท (แล้วแต่ชนิด ของเมล็ดกาแฟ)
เมล็ดกาแฟเอธิโอเปีย ซิ ด าโม / น�้ า ร้ อ น ทีอ่ ณ ุ หภูม ิ 94 องศาเซลเซียส
เอสเพรสโซ คือกาแฟของคนที่ต้องการรสชาติอันเป็นเอกลักษณ์ของเมล็ดกาแฟนั้นจริงๆ ซึ่งเมล็ดกาแฟเอธิโอเปีย ซิดาโม จะมีความหอมของดอกไม้ หรือผลไม้ขนาดเล็กอย่างองุ่น หรือเชอรี บางครั้งก็มีกลิ่นหอมคล้ายยาสูบอยู่เล็กน้อย ความสนุกในการชงเอสเพรสโซคือ เราจะได้คุยกับคนดื่มว่าแก้วนี้ดีอย่างไร น�้าเยอะไปหรือเปล่า รสชาติเข้มไปไหม บางคนจะบอกว่า ดื่มแล้วได้กลิ่นเหมือนตอนที่ฝนก�าลังตกใหม่ๆ กาแฟท�าให้เรามีเรื่องคุยกับคนดื่มได้เสมอ
ต้องบดเมล็ดกาแฟให้พอดีกบั น�า้ จ�านวนหนึ่งออนซ์ครึ่ง และให้น�้าร้อน ไหลผ่านกาแฟเป็นเวลา 30 วินาที ถ้าเกินหรือน้อยกว่านีก้ จ็ ะไม่เสิรฟ ์