TODAY EXPRESS PRESENTS
ISSUE 435 I 28 OCTOBER 2016
ขอน อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ข าพระพ�ทธเจ า เดอะ โมเมนตัม
ในช่วงเวลาอันมืดมิด... แล้วใครกันจะเป็นแสงอาทิตย์ ให้?
ปีที่ 9 ฉบับที่ 435 วันที่ 28 ตุลาคม 2559
Editor’s Note Contents
ผูเ้ ขียนนึกถึงประโยคนีใ้ นช่วงเวลาทีค่ นไทยแทบทุกคนกอบกูก้ า� ลังกายก�าลังใจได้ยากเย็นเป็นอย่างยิง่ หันไปทางไหนก็มแี ต่คนร�า่ ไห้หรือ อย่ า งน้ อ ยก็ ห น้ า ตาทุ ก ข์ เ ศร้ า หมองหม่ น จนนึ ก ภาพออกเลยว่ า กว่ า พวกเราจะผ่ า นแต่ ล ะวั น ไปได้ ต ้ อ งใช้ พ ลั ง มากเพี ย งใด บางคนบอกผูเ้ ขียนด้วยซ�า้ ไปว่า ไม่มวี นั ไหนทีไ่ ม่รอ้ งไห้ พร้อมๆ กันนัน้ ก็ไม่มวี นั ไหนเลยทีท่ อ้ งฟ้าไม่หมองหม่น พูดได้เลยว่ากว่าจะเห็นแสงแดด ส่องลอดกลุม่ เมฆมาได้ ก็ตอ้ งรอกันเป็นวัน และบางวันมีแดดแค่ไม่กชี่ วั่ โมง เป็นช่วงเวลาทีอ่ าจกล่าวได้วา่ ทุกคนก�าลังแบกรับความทุกข์โศก เดียวกันทั้งหมด เป็นความทุกข์มวลรวมประชาชาติ ที่มีดัชนีชี้วัดเป็นหยาดน�า้ ตา ไม่มีแสงอาทิตย์ในวันนี้ หมายรวมถึงการที่เราสูญเสียพระมหากษัตริย์อันเป็นที่รักยิ่งของปวงชนชาวไทย ไม่มีแสงอาทิตย์ในวันนี้ หมายรวมถึงการที่ความสดใสถูกพรากไปจากบรรยากาศ รอยยิ้มถูกพรากหายไปจากใบหน้าและความ-เงียบ งัน โศกลึก ก็เข้ามาแทนที่ทุกสิ่งทุกอย่าง In the darkest hour, who’s gonna be my sunshine? จึงเป็นค�าถามที่ผู้เขียนถามตัวเองและถาม คนอื่นๆ ด้วยในคราวเดียวกัน เมื่ อ สั ป ดาห์ ที่ ผ ่ า นมา ทางนิ ต ยสาร a day BULLETIN ได้ รั บ เกี ย รติ ใ ห้ ไ ปร่ ว มรายการ แสงจากพ่ อ ทางช่ อ งไทยพี บี เ อส ซึง่ เป็นรายการพิเศษทีจ่ ดั ท�าเพือ่ น้อมร�าลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 โดยพวกเราไปร่วมพูดคุยใน ประเด็นของการท�าสื่อฉบับประวัติศาสตร์ทั้งหมด 9 เล่ม 9 ปก ที่อัญเชิญพระบรมฉายาลักษณ์ และพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มาเป็นปกแห่งความทรงจ�าร�าลึก วันที่พวกเราไปออกรายการนั้น เรียนกันตรงๆ ว่า สภาพจิตใจ ของผู้เขียนเองยังไม่ค่อยจะอยู่กับเนื้อกับตัวนัก แต่ก็อยากไปเพื่อช่วยกันอธิบายในประเด็นที่เราก�าลังท�าอยู่เพื่อให้ประชาชนทั่วไปเข้าใจได้ มากที่สุดว่าเราก�าลังท�าอะไร เพราะอะไร แน่นอนว่าการไปพุดคุยในเรื่องที่ทุกคนก�าลังเจ็บปวดร่วมกัน ท�าให้เราหนีไม่พ้นบรรยากาศหม่นเศร้าที่ต้องเห็นน�้าตาของคนอื่น เห็นสีหน้าท่าทางของพิธีกรที่ต้องสะกดความรู้สึกอย่างเต็มความสามารถในการอ่านประเด็นต่างๆ ออกอากาศ เบื้องหลังการท�างานนั้น ทีมงานทุกคนทอดถอนใจ น�า้ ตาซึมทุกครัง้ ทีม่ องเห็นพระบรมฉายาลักษณ์ของพระองค์ทา่ น แต่ขณะเดียวกัน ในความหมองหม่นเช่นนั้น ผู้ เขีย นก็ม องเห็น สิ่ง ดีๆ บางอย่ า ง นั่น คือ การมอบก� า ลัง ใจให้ กัน และกัน ด้ ว ยความจริ ง ใจ คนท� า งานสื่ อ ฯ ต่ า งรู ้ ดี ว ่ า นี่ คื อ ช่วงเวลา ทีย่ ากยิง่ ในการท�าหน้าทีส่ อื่ สารและบอกเล่าเรือ่ งราวของพระองค์ทา่ นทีอ่ ยูใ่ นความทรงจ�ามาเนิน่ นานและไม่มวี นั จางหาย แม้เรื่องราวเหล่า นั้ น จะท�า ให้ ต ้ อ งรื้ อ ฟื ้ น ความคิ ด ถึ ง และอาลั ย อาวรณ์ ใ นวั น ที่ บ ้ า นเมื อ งเรายั ง เป็ น อย่ า งที่ เ คยเป็ น แต่ ก็ น ่ า ชื่ น ใจที่ เ พื่ อ นพ้ อ งน้ อ งพี่ ทีอ่ าจจะเคยรูจ้ กั กันมาก่อน หรือเพิง่ เจอหน้ากัน ล้วนสวมกอดให้กา� ลังใจกันโดยไม่มคี า� พูดใดมากไปกว่า “ให้กา� ลังใจนะ สูไ้ ปด้วยกัน” ไม่ เฉพาะในวงการสื่อฯ แต่ไม่ว่าจะเจอใครต่อใครในช่วงนี้ ก็มักจะได้รับก�าลังใจด้วยการกอดกัน หรือจับมือกันแน่นๆ เสมอ หลังจากตั้งค�าถามไปว่า In the darkest hour, who’s gonna be my sunshine? “ชีวิตต้องเดินต่อไป” คือค�าตอบที่เตือนสติได้ดีที่สุดค�าตอบหนึ่งในเวลานี้ แม้บางคนอาจจะคิดว่านี่เป็นค�าตอบที่พูดง่าย ท�ายาก แต่ถ้าลองคิดดีๆ ชีวิตมันก็เป็นเช่นนั้นจริงๆ ชั่วโมงแห่งความมืดมนอาจไม่ใช่เวลาที่เราจะมองหาว่าแสงอาทิตย์หายไปเสียที่ไหน เมือ่ ไหร่จะมีแสงสว่างให้เราชืน่ ใจ แต่เป็นช่วงเวลาทีท่ ดสอบความเข้มแข็งของตัวเองในการใช้ชวี ติ ในความมืด เพราะโลกนีไ้ ม่ได้มแี ต่ด้านของ แสงสว่าง เมือ่ อาทิตย์อบั แสงลับลาขอบฟ้าไป ชีวติ ทุกชีวติ ก็ยงั ต้องด�าเนินต่อ จนกว่าจะถึงเวลาพักผ่อน และตืน่ มาพร้อมกับแสงอาทิตย์ยามเช้า ของอีกวัน และถ้าคิดดีๆ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ก็ทรงปฏิบัติพระองค์ให้เราเห็นมาโดยตลอดว่า ท่านทรงเคยใช้ความ อดทนอดกลัน้ ผ่านช่วงเวลาทีย่ ากล�าบากมาได้อย่างไร ไม่วา่ จะเป็นความยากล�าบากในการ-พัฒนาประเทศ ทีเ่ ราต้องยอมรับว่า ในอดีตนัน้ แทบ มองไม่เห็นหนทางเลยว่า ประเทศไทยเราจะเป็นอย่างทีเ่ ป็นในทุกวันนีอ้ ย่างไรได้ ที่ส�าคัญ ในช่วงเวลาที่พระบาทสมเด็จ-พระเจ้าอยูห่ วั ต้อง ประสบกับภาวะสูญเสียบุคคลอันเป็นทีร่ กั ของพระองค์ทา่ นไปพระองค์แล้วพระองค์เล่า ท่านก็ยงั ทรงงานเพือ่ ประชาชนและประเทศไทยอย่าง ไม่มีวันหยุด ชีวิตของพระองค์ท่านด�าเนินต่อไปเสมอ จริงอยู่ แม้วันนี้พวกเราทุกคนจะรู้สึกสิ้นหวังในความมืด แต่พ่อก็สอนให้เรารู้มาตั้งนานแล้วว่า เราควรจะเดินในความมืดอย่างไร และถ้าจะยังพอมีแสงอาทิตย์รา� ไรให้เราอบอุน่ ใจบ้าง มันก็อยูใ่ นหัวใจของทุกคนทีพ่ ร้อมจะให้กา� ลังใจกันในยามยากล�าบากนีเ่ อง วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม บรรณาธิการบริหาร
In Memory of Thailand’s Beloved King ประมวลภาพเหตุการณ์ ถวายความอาลัย ของพสกนิกรชาวไทย ทั่วประเทศ
People’s Tribute ผลงานของพสกนิกร ชาวไทยทีแ่ สดงความอาลัย จากทั่วทุกสารทิศ
In Every Home เรียงความรูปภาพภายใต้ หัวข้อ ‘รูปที่มีทุกบ้าน’
The Artist Talks บทสัมภาษณ์ โลเล กับผลงาน ‘King 9’ พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ที่ใช้เทคนิค ไม่เหมือนใคร
Royal Speech กระแสพระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช
ทีป่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผูพ ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย บรรณาธิการอ�านวยการ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ บรรณาธิการบริหาร วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม รองบรรณาธิการ วสิตา กิจปรีชา บรรณาธิการบทความ วรัญญู อินทรก�าแหง กองบรรณาธิการ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล มิ่งขวัญ รัตนคช กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ศรัญญา โรจน์พทิ กั ษ์ชพี ประสานงาน / นักเขียน ตนุภทั ร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย ช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ภาสกร ธวัชธาตรี วงศกร ยี่ดวง มณีนชุ บุญเรือง บรรณาธิการศิลปกรรม วีระยุทธ คงเทศน์ ศิลปกรรม เอกพันธ์ ครุมนต์ตรี ชยุตม์ คชโกศัย อรณัญช์ สุขเกษม พิสจู น์อกั ษร หัสยา ตัง้ พิทยาเวทย์ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ไม้ลา� ดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภูท่ อง ทศพล บุญคง ทีป่ รึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจิ รรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 09-2964-1635, มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา วาณี กนกวิลาศ 09-5592-9419, มาสสุภา เอี่ยมมงคลศิลป์ 08-5056-0083, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, สุธาวัลย์ สุวรรณสิงห์ 08-1304-7070, ดวงใจ ดวงจังหวัด 08-6802-9996 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ผู้ช่วยผู้จัดการ ณัฐธยาน์ อึ้งตระกูลนิธิศ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ผู้ผลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com เว็บไซต์ www.daypoets.com, www.godaypoets.com นักศึกษาฝึกงาน ชัญญานิษฐ์ ชัยณรงค์สิงห์
In Memory Of Thailand’s Beloved King
18 - 21 October 2016
In Memory Of Thailand’s Beloved King
ภาพ : มณีนุช บุญเรือง, ทรรศน หาญเรืองเกียรติ
ตลอดเวลายังมีพสกนิกรจ�านวนมากเดินทางเข้ามาถวาย สักการะพระบรมศพ ‘พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช’ ซึง่ บรรยากาศรอบบริเวณท้องสนามหลวงและพระบรมมหาราชวัง โดยเฉพาะในยามค�่ า คื น ก็ มี แ สงเที ย นของเหล่ า ประชาชนที่ ส่องสะท้อนให้ความรู้สึกอบอุ่นไปทั่วทั้งบริเวณ
Bangkok โครงการย้อมผ้าเพือ่ เพือ่ น น�าโดย ‘ชมพู’่ - อารยา เอ ฮาร์ เ ก็ ต และเพื่ อ น ตั้ ง ที ม ย้ อ มผ้ า ที่ ถู ก ต้ อ งตาม กระบวนการย้อม โดยไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อม เพื่อน�าไป แจกจ่ายให้แก่ประชาชนที่ไม่มีเสื้อผ้าสีด�าใส่ทั่วทั้งประเทศ ติดต่อได้ที่โทร. 1118 หรือ เฟซบุ๊ก : ย้อมผ้าเพื่อเพื่อน
Chiang Mai
นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ ศิษย์เก่า และนั ก ศึ ก ษาคณะวิ จิ ต รศิ ล ป์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ สร้างสรรค์ภาพพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์แสดงความอาลัยถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บริเวณก�าแพงอาคารโรงประลองจิตรกรรม เอ 1
People’s Tribute
นักศึกษาคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมตัววาดภาพพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์
Korea
เจษฎาเทคนิ ค มิ ว เซี ย ม ร่วมกับกรุงเทพมหานคร น�ารถโบราณวิง่ รับ-ส่งบริการประชาชน ที่ เ ดิ น ทางมาแสดงความอาลัย ถวายแด่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ศิลปินชาวเกาหลีวาดพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ ในหลวง รัชกาลที่ 9 สร้างความปลื้มปีติและความประทับใจให้คนทั้งสองชาติ
มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ร่ ว มกั บ กรุ ง เทพมหานคร จั ด ตั้ ง ‘ศูนย์ประสานงานอาสาสมัคร Volunteers for DAD’ เพือ่ อ�านวยความสะดวก แก่ประชาชนทีม่ าถวายความเคารพพระบรมศพ ประชาชนทีต่ อ้ งการร่วมงาน สามารถติดต่อได้ทโี่ ทร. 09-5479-7034 หรือเฟซบุก๊ : Volunteers for Dad
Liverpool
สโมสรลิเวอร์พูลขึ้นข้อความแสดงความอาลัยถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 บนป้าย LED ที่สนามแอนฟิลด์ ในเกมที่พบกับทีมแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559
แม้ทุกคนจะอยู่ในช่วงเวลาที่แสนโศกเศร้าจาก ความสูญเสียครัง้ ยิง่ ใหญ่ แต่อย่างน้อยเราก็ยงั เห็น ผู้คนมากมายออกมาท�าสิ่งที่งดงามมอบให้แก่กัน ซึ่งเรารวบรวมเหตุการณ์ประทับใจที่เกิดขึ้นมาไว้ ตรงนีแ้ ล้ว
In Every Home
“เป็ น รู ป ที่ มี ทุ ก บ้ า น จะรวยหรื อ จน หรื อ ว่ า จะใกล้ ไ กล” ท่ ว งท� ำ นองคุ ้ น หู แ ละประโยคสุ ด คลำสสิ ก จำกเพลงที่ ค นไทย ทุกคนต้องเคยได้ยิน เป็นเรื่องจริงที่เรำได้ออกไปสัมผัสมำด้วย สองตำ ไม่ว่ำจะในบ้ำนหลังใหญ่หรือห้องแถวหนึ่งคูหำ ก็พบว่ำ พระบรมฉำยำลักษณ์ของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยูห่ วั รัชกำลที่ 9 ปรำกฏอยู่ทั่วทุกแห่งหน และจะคงอยู่ตลอดกำล เรำจึงขอน�ำมำ เล่ ำ ผ่ ำ นเรี ย งควำมรู ป ภำพในหน้ ำ กระดำษ 8 หน้ ำ ต่ อ ไปนี้ เพื่อแทนควำมรักและควำมจงรักภักดีที่มีต่อพระองค์ตลอดไป
สัมฤทธิ์ เสำโกมุท “ติดภำพในหลวงมำตั้งแต่เมื่อรำว 20 ปีที่แล้ว ผมซำบซึ้งเสมอทุกครั้งที่เห็นท่ำนทรงงำนหนัก ออกเยี่ยมเยือน ประชำชน ท่ำนเป็นเสมือนต้นแบบและแรงบันดำลใจในกำรท�ำงำนของผม”
กงพัฒน์ ศักดำพิทักษ์
กษม ดีประดิษฐ์กุล “ผมจ�ำค�ำพูดของคุณปู่ที่พูดกับผมว่ำ ‘ไม่มีใครหรอก ที่ไม่รักในหลวง’ ได้ดี จำกวันนั้นผมศึกษำสิ่งที่ท่ำนท�ำ ค�ำพูดที่ท่ำนสอน และน�ำเอำมำเป็นแนวทำงในกำรด�ำเนิน ชีวิตจนทุกวันนี้”
นิชำภำ บ้วนนอก “ทุกๆ ปี นิตยสำรจะออก ฉบับพิเศษ ด้ำนในบอกเล่ำ เรื่องรำวเกี่ยวกับในหลวงท่ำน เรำเลยซื้อเก็บสะสมไว้ ตั้งแต่ เกิดมำก็เห็นภำพท่ำนตรำกตร�ำ ท�ำงำนหนักเสมอ จึงอยำกเก็บ เรื่องรำวของท่ำนไว้เป็นที่ระลึก ไว้ ในควำมทรงจ�ำ”
เกษม เชิดชูวิทยศิลป์ “ตั้งแต่จ�ำควำมได้ ตั้งแต่มีบ้ำนนี้อยู่ ก็มีรูปในหลวงอยู่เสมอมำกว่ำ 50 ปีแล้ว เคำรพนับถือในตัวท่ำนไม่เคยเปลีย่ นแปลง สมัยทีย่ งั เล็ก ท่ำนเคยเสด็จฯ ผ่ำนสีแ่ ยกนี้ ผมยังจ�ำควำมรู้สึกปลื้มปีติในวันนั้นได้ดี”
เทอด โชคพำนิชย์ “รูปที่ผมเก็บมำจำกที่นั่นที่นี่ ผมเชื่อว่ำ ผมอยู่ได้ทุกวันนี้ มีชีวิต มีเงินได้ ก็เพรำะท่ำน”
สมศรี ศรีธ�ำรงรัตน์ “ติดภำพในหลวงตั้งแต่เปิด ร้ำนใหม่ๆ เมื่อเกือบ 10 ปีที่แล้ว เรำใส่กรอบอย่ำงดี สีซีดจำงไป ตำมกำลเวลำ แต่อย่ำงไรก็ยงั คง เป็นสิรมิ งคลกับบ้ำน เพือ่ ท�ำงำน และด�ำเนินชีวิตตำมที่ท่ำนสอน”
The Art of Love
งำนศิลปะทีศ่ ลิ ปินรับเชิญของเรำสร้ำงสรรค์ขนึ้ โดยมีพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว รัชกำลที่ 9 ทรงเป็นแรงบันดำลใจ ผลงำนศิลปะที่อุทิศให้กับ พระมหำกษัตริยอ์ นั เป็นทีร่ กั ยิง่ ของคนไทยทัง้ ผอง ตลอด 70 ปีที่ผ่ำนมำ และจำกนี้ตลอดไป
King 9
ผลงำนชิ้นนี้ โลเลใช้เทคนิคกำรวำดสีอะคริลิกบนผ้ำใบ เขำต้องกำรให้ภำพออกมำใสและไม่ทึบแบบภำพ ที่วำดด้วยสีอะคริลิกทั่วไป โดยใช้หลักกำรดัดแปลงจำกภำพต้นแบบให้เป็นรูปแบบของงำนจิตรกรรม ซึ่งสีต่ำงๆ ที่ใช้บนภำพเปรียบเสมือนตัวแทนของพระรำชภำรกิจและพระอัจฉริยภำพในด้ำนต่ำงๆ ของพระองค์ท่ำน หลอมรวมมำเป็นพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว รัชกำลที่ 9 ที่ชำวไทยต่ำงเคำรพรัก
เกศนิภำ สมบัติมน “ร้ำนเปิดมำ 11 ปี ก็ติดตั้งแต่ตอนนั้น รักท่ำนมำก ไปร่วม ปัน่ จักรยำนเพือ่ พ่อด้วย เก็บสะสมไว้นำนแล้ว จำกบ้ำนทีต่ ำ่ งจังหวัด”
ปิยนุช ตติยปัญญำเลิศ “เพรำะเคำรพ เพรำะนับถือ จึงน�ำรูปท่ำน ตั้งไว้เพื่อเชิดชูบูชำ รูปนี้ติดมำได้ 10 กว่ำปี แล้ว เรำลูกหลำนคนจีน อำศัยพระบำรมี ให้ ได้มีอยู่มีกินทุกวันนี้ในแผ่นดินไทย ใต้ร่มโพธิ์ร่มไทรของพระองค์”
วิไลลักษณ์ กุลศักดิ์นันท์
บุญชัย คงนิรันดรสุข “รูปนี้อยู่มำ 50 กว่ำปีแล้ว ได้มำจำกวังสวนจิตรฯ ร้ำนเรำตัดชุดข้ำรำชกำรให้กับ คนในวัง ประดับไว้ร�ำลึกถึง พระองค์”
วรรณวิไล อิงคสุวรรณ “ท่ำนเป็นผู้ ให้ที่แท้จริง ให้อย่ำง ไม่มีสิ้นสุด ซึ่งเรำน้อมน�ำเอำ ท่ำนมำเป็นแบบอย่ำงในเรื่อง ของกำรเป็นผู้เสียสละ เรำวำด รูปท่ำนเพรำะเรำอยำกวำดรูป พอร์เทรตใครสักคนที่เรำรัก เคำรพและศรัทธำ”
สุวัฒน์ สุวรรณ “ตอนนัน้ เขำแจกทีห่ วั หิน เอำกลับมำก็ ใส่กรอบ ท่ำนเป็นที่เคำรพนับถือ แล้วภำพนี้ก็ ไม่ค่อยได้เห็น หำยำก ผมเก็บพวกเหรียญ และธนบัตรต่ำงๆ ไว้ด้วย”
จรรยพร งำมดี “อยู่ที่นี่มำ 20 ปีได้ เกิดมำเรำก็ เห็นท่ำนแล้ว รักและเทิดทูนท่ำนมำก ท่ำนยิ่งใหญ่มำก เห็นท่ำนทรงงำนหนัก มำแต่ไหนแต่ไร ภำพที่เหงื่อท่ำนหยด เป็นภำพที่เห็นจนชินตำ”
‘โครงการฝนหลวง’ น�้าพระทัยหลั่งไหล ดั่งสายฝน
Royal Project
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงตั้ง ข้ อ สั ง เกตเกี่ ย วกั บ การท� า ฝนเที ย มไว้ ดั ง นั้ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของโครงการพระราชด� า ริ ฝ นหลวง เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ คราวที่ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ ้ า อ ยู ่ หั ว ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช เสด็จพระราชด�าเนินเยี่ยมราษฎรในพื้นที่แห้งแล้งทุรกันดาร 15 จั ง หวั ด ในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ระหว่ า งวั น ที่ 2-20 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2498 ท� า ให้ ท รงรั บ ทราบถึ ง ความเดื อ ดร้ อ นทุ ก ข์ ย ากของเกษตรกรและราษฎร ที่ขาดแคลนน�้าเพื่อการอุปโภคบริโภค และเพื่อการเกษตร โครงการฝนหลวงนั บ เป็ น โครงการในพระราชด� า ริ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในวงกว้างมากที่สุดโครงการหนึ่ง ส่วนหนึ่ง ก็เพราะความแปลกใหม่ของเทคโนโลยีฝนเทียมในสมัยนั้น ซึง่ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงอุ ทิ ศ เวลาในการศึ ก ษาค้ น คว้ า ทั้งด้านวิชาการอุตุนิยมวิทยาและการดัดแปรสภาพอากาศ จนรอบรู้และเชี่ยวชาญ ทรงมั่นพระราชหฤทัยและกระตุ้น ให้ ก ระทรวงการเกษตรและสหกรณ์ เ ริ่ ม ท� า การทดลอง จนรัฐบาล จอมพลถนอม กิตติขจร ยอมอนุมัติงบประมาณ ให้ ตั้ ง โครงงานวิ จั ย และพั ฒ นาฝนเที ย มขึ้ น ในสั ง กั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แม้งานดังกล่าวจะมีค่าใช้จ่าย สูง แต่ก็ ได้ผลเป็นที่น่าพอใจ เมื่อถึง พ.ศ. 2512 โครงการ ฝนหลวงก็ถือก�าเนิดขึ้น หลังจากนัน้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงท�าการทดลองอย่างเข้มข้นร่วมกับ หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล โดยได้รับการสนับสนุนจากหน่วยบินปราบศัตรูพืช กรมการข้าว ให้ท�าการทดลองปฏิบัติการจริงในท้องฟ้า เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1-2 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 โดย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้แต่งตั้งให้ หม่อมราชวงศ์ เทพฤทธิ์ เทวกุล เป็นผู้อ� านวยการโครงการและหัวหน้า คณะปฏิบตั กิ ารทดลองเป็นคนแรก โดยเลือกพืน้ ทีว่ นอุทยาน เขาใหญ่เป็นพืน้ ทีท่ ดลองแห่งแรก ท�าการทดลองหยอดก้อนน�า้ แข็งแห้ง (dry ice หรือ solid carbon dioxide) ขนาด ไม่เกิน 1 ลูกบาศก์นวิ้ เข้าไปในยอดเมฆสูงไม่เกิน 10,000 ฟุต ทีล่ อยกระจัดกระจายอยูเ่ หนือพืน้ ทีท่ ดลองในขณะนัน้ ท�าให้กลุม่ เมฆทดลองเหล่านัน้ มีการเปลีย่ นแปลงทางฟิสกิ ส์ของเมฆอย่างเห็นได้ชดั เจน เกิดการกลัน่ รวมตัวกัน หนาแน่น และก่อยอดสูงขึน้ เป็นเมฆฝนขนาดใหญ่ในเวลาอันรวดเร็ว จากการติดตามผลโดยการส�ารวจทางภาคพืน้ ดิน ได้รบั รายงานยืนยันด้วยวาจาจากราษฎรว่า เกิดฝนตกลงสูพ่ นื้ ทีท่ ดลองวนอุทยานเขาใหญ่ในทีส่ ดุ นับเป็นนิมติ หมาย บ่งชีใ้ ห้เห็นว่า การบังคับเมฆให้เกิดฝนเป็นสิง่ ทีเ่ ป็นไปได้ ซึง่ ในทีส่ ดุ โครงการฝนหลวงก็ ได้ชว่ ยบ�าบัดทุกข์ของประชาชน ที่เกิดจากความแห้งแล้งได้ส�าเร็จนับแต่นั้นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงภูมพ ิ ลอดุลยเดช มีพระราชด� า รั ส ตั้ ง ข้ อ สั ง เกตไว้ ข ณะอธิ บ ายขั้ น ตอนการท� า ฝนเที ย มว่ า “การท�าฝนก็เหมือนเรือรบ ต้องยิงขีปนาวุธจากระยะไกลก่อน แล้วก็ ใกล้เพื่อให้ถูกเป้าหมายอย่างเหมาะสม เมื่อเรามีเครื่องมือ ท�าฝนแล้วก็ควรใช้ ให้ถูกเพื่อให้ฝนตกถูกที่” นับว่าคนไทยโชคดีมากที่มีพระมหากษัตริย์ที่ทรงมีพระปรีชาสามารถ พระเมตตาคุ ณ พระกรุ ณ าธิ คุ ณ ต่ อ พสกนิ ก ร โดย พระองค์ตรัสว่า “น�้า คือ ชีวิต” และทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ บ� า บั ด ทุ ก ข์ บ� า รุ ง สุ ข เพื่ อ ความเป็ น อยู ่ ที่ ดี ขึ้ น ของประชาชน ขจัดความเดือดร้อนต่างๆ ด้วยโครงการ ‘ฝนหลวง’ ที่ ม า : พระราชประวั ติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช กลางใจราษฎร์ หกทศวรรษ แห่งการทรงงาน, www.royalrain.go.th
Pay Tribute To Thailand’s King Bhumibol Adulyadej
Proof Reader
พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ของรัชกาลที่ 9 จาก ปลายพูก่ นั ของน้าเขยทีป่ ระดับอยูบ่ นก�าแพงบ้านเหนือทีวี บริเวณห้องรับแขก คือภาพที่เราเห็นตั้งแต่จ�าความได้ ซึ่งก่อให้เกิดความผูกพันต่อพระองค์โดยที่เราเองก็เพิ่ง จะรู ้ สึ ก ตั ว ... นอกจากจะท� า ให้ รู ้ สึ ก อบอุ ่ น และวางใจ ในทุ ก ครั้ ง ที่ ไ ด้ ม องแล้ ว ณ เวลานี้ ยั ง ท� า ให้ รู ้ สึ ก ว่ า พระองค์ท่านไม่ได้จากเราไปไหนเลย พระองค์เพียงแค่ เปลี่ยนสถานที่ไปอยู่หัวใจ ในความทรงจ�า และพระองค์ ยังคงทอดพระเนตรเราด้วยพระเมตตาอยู่เสมอ ข้าพระพุทธเจ้า นางสาวธมนวรรณ กัวหา
Deputy Editor
With All Our Hearts
ภูมินทร์สวรรคต ปวงราษฎร์ ณ ธานินทร์ เอกองค์กษัตรา ทรงงานทวีคุณ ใต้ฟ้าสยามรัฐ อาณาประชาเมือง โครงการ ธ ทรงคิด สัมฤทธิ์เพราะก่อการ องค์ศิลปินเอก สรรเสริญประมาณกัลป์ ราชาพระภูมี ชีวีวิถีทาง ส�านึก ธ ด�ารัส น้อมน�ากมลชน ยามนี้บุรุษโศก ดวงใจพสกไทย ราชันมหาราช เทวานราปวง
รวิลดนภานิล ทุมนัสและอาดุร มหราชการุณย์ คณนาอนันต์เนือง ลุจรัสจรูญเรือง บริบูรณ์เพราะภูบาล ก็พิสิฐมหาศาล พระประสงค์กระท�าครัน รจเรขถนัดอัน ก็ประจักษ์ฤทัยกลาง กรณียกิจสร้าง สุขดี ธ บันดล ปฏิบัติประพฤติตน ดุจพรประสาทชัย วิปโยคอสงไขย ขณะเศร้ามลานทรวง ธ ประภาส ณ แดนสรวง ศิระกรานนิรันดร
ข้าพระพุทธเจ้า นายตนุภัทร โลหะพงศธร
Writer มรดกของพ่อ ส�าหรับฉัน ค�าว่าหน้าทีแ่ ละเสียสละ น่าจะเป็นสิง่ ทีใ่ นหลวง รัชกาลที่ 9 เป็นตัวอย่างทีด่ ที สี่ ดุ ท่ า นท� า หน้ า ที่ พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ที่ กิ น ความกว้ า งไกลจนเราไม่ ส ามารถจิ น ตนาการได้ ซึ่งการจะท�างานได้มากขนาดนั้น ท่านก็ต้องเสียสละความสุขส่วนตัว เพื่ออุทิศก�าลังสมอง ก� า ลั ง กาย ในการท� า งานเพื่ อ พั ฒ นาประเทศ ท่ า นเป็ น ตั ว อย่ า งของการท� า ทุ ก อย่ า ง อย่างจริงจัง ไม่เว้นแม้กระทั่งงานอดิเรกของท่าน ที่ทรงงานในฐานะนักดนตรี นักกีฬา ช่างภาพ จิตรกร ที่เก่งกาจ ก่อนหน้านี้ ตอนยังเป็นเด็ก ฉันทราบเรื่องราวของท่านจากข่าวในพระราชส�านัก เหมือนกับคนอืน่ ๆ ทัว่ ไป เมือ่ โตขึน้ ก็ ได้ทราบเรือ่ งราวของท่านจากสือ่ อืน่ ๆ ทัง้ หนังสือ นิตยสาร สารคดี ภาพยนตร์ ก็ยิ่งท�าให้ฉันเข้าใจถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์ท่านที่ทรงรอบรู้ ในทุกๆ ศาสตร์และศิลป์อย่างถ่องแท้ หากจะหาต้นแบบในการใช้ชีวิต ฉันก็คิดว่าในหลวง รัชกาลที่ 9 ของชาวไทย ก็คือแบบอย่างที่น่ายกย่อง และเราคนไทยก็ควรที่จะเรียนรู้ แล้วก็ท�า ในสิ่ ง ที่ ท ่ า นสั่ ง สอนอย่ า งเป็ น รู ป ธรรม รวมถึ ง ตั ว ฉั น เองด้ ว ย ที่ ค วรจะไปรู ้ จั ก ประเทศ ของตัวเองให้มากขึ้นผ่านโครงการในพระราชด�าริที่ท่านได้ด�าเนินโครงการไปทั่วประเทศ ซึ่งฉันคิดว่านี่คือมรดกส�าหรับชาวไทยที่มีค่ามากที่สุดที่ท่านได้ทิ้งไว้ ให้ลูกหลานชาวไทย ข้าพระพุทธเจ้า นางสาววสิตา กิจปรีชา
ด้วยความซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณ เป็ น ล้ น พ้ น อั น หาที่ สุ ด มิ ไ ด้ ที ม งาน a day BULLETIN ขอร่วมน้อมร�าลึกแสดงความอาลัย ต่ อ การเสด็ จ สวรรคตของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวอันเป็นที่รักยิ่งของปวงพสกนิกร ชาวไทย
The Artist Talks เรื่อง : พิมพ์อร นทกุล ภาพ : นัดดา ศรีทองดี
Lolay โลเล ผลงาน : King 9
“ยินดีครับ” แม้จะอยูใ่ นระหว่างการเดินทาง แต่ ‘โลเล’ - ทวีศกั ดิ์ ศรีทองดี ศิลปินและนักออกแบบที่เราติดตามผลงานอยู่ไม่ห่าง ก็ ต อบรั บ ทั น ที ที่ เ ราขอให้ เ ขาวาดพระบรมฉายาสาทิ ส ลั ก ษณ์ ของในหลวง รัชกาลที่ 9 เพือ่ อัญเชิญมาขึน้ ปก a day BULLETIN ฉบับนี้ หลังจากนั้นไม่ถึง 10 นาที เขาก็ส่งตรงภาพนี้มาให้จาก ประเทศญี่ปุ่น แถมยังแบ่งเวลาจากการเดินทางในครั้งนี้มาพูดคุย กับเราผ่านอินเทอร์เน็ต แม้บทสนทนาจะเสียงฟังชัดบ้างไม่ชัดบ้าง แต่เราก็สามารถสัมผัสได้ถึงใจของเขาที่ส่งกลับมา แม้ตัวจะอยู่ไกล จากบ้านหลายพันไมล์กต็ าม “ส่วนใหญ่เวลาวาดรูปในหลวง ผมก็จะนึกถึงพระองค์ท่าน นึกถึงสิง่ ต่างๆ ทีพ่ ระองค์สนใจ สิง่ ต่างๆ ทีพ่ ระองค์ได้ทา� เพือ่ ประชาชน การเดินทางของท่านไปยังถิ่นทุรกันดาร ไปจนถึงผลงานหลายๆ ด้านของท่าน ไม่ว่าจะเป็นด้านวรรณกรรม ศิลปะ ดนตรี ฯลฯ ท่านทรงท�างานมากมาย ซึง่ แต่ละงานก็ลว้ นมีความพิเศษทัง้ นัน้ “จริงๆ ผมวาดรูปในหลวงมาตั้งแต่เด็กแล้ว พอเริ่มวาดรูปได้ เมื่อถึงวันเฉลิมฯ ทีไรเป็นต้องวาดทุกที ตอนเป็นนักเรียนก็วาด รูปพระองค์ ไว้ตดิ บอร์ดหลังห้อง เรียกได้วา่ วาดเป็นประจ�าแทบทุกปี เลยนะ ซึง่ ผลงานช่วงแรกๆ ก็ ไม่ได้เก็บไว้หรอก จนกระทัง่ ได้มาเรียน ศิลปะ ก็เริม่ ชัดเจนว่าเราจะจริงจังกับการวาดรูป ผมจะเซฟรูปมาก่อน แล้ ว ก็ ว าดๆๆ บางรู ป เป็ น พระอิ ริ ย าบถที่ ค นไม่ ค ่ อ ยได้ เ ห็ น กั น บางรูปไฟล์เล็กมาก ก็ต้องพยายามแกะทีละส่วนๆ ส่วนรูปนี้เป็น รูปท่านที่ผมเจอในปีนั้นพอดี เลยอยากวาด เป็นผลงานที่ประกอบ ไปด้วยสีหลายๆ สี ซึ่งสีหลายๆ สีก็แทนพระราชภารกิจหลายๆ อย่างของท่าน รวมๆ กันจนเป็นตัวท่าน “ปกติถ้าวาดสีอะคริลิกบนผ้า ใบ คนจะเข้า ใจว่า เป็นสีทึบๆ ผมจึงลองใหม่โดยใช้สีอะคริลิกนี่แหละ แต่เราท�าให้เป็นน�้า แล้วก็ ให้มี การตกตะกอนของสีในแต่ละพื้นที่ที่เราลงสีไปในร่องของผ้าใบ ลายของผ้า จะท�าให้เกิด texture ผมอยากให้ออกมาใสๆ ด้วย อีกมุมก็อยากให้ดูเป็นกราฟิก แต่ไม่ต้องถึงขนาดเป็นกราฟิก ที่เป็นกราฟิกจ๋า” โลเลวาดรูปนี้ที่สตูดิโอของเขาที่หัวหินเมื่อ 2 ปีก่อน ปกติแล้ว เมื่อถึงช่วงเวลาสิ้นปี เขาจะเลือกพระบรมฉายาลักษณ์ ในหลวง รั ช กาลที่ 9 มาวาดอย่ า งน้ อ ยหนึ่ ง รู ป ด้ ว ยความเพลิ ด เพลิ น ปราศจากความกดดันและความกังวลทัง้ ปวง แต่คงไม่ใช่สา� หรับปีนี้ “กระบวนการวาดรูปนี้ ไม่ใช่การแต้มสี ลงสี แล้วออกมาเป็น อย่ า งนี้ เ ลย ระหว่ า งสี กั บ น�้ า ที่ ม าผสมกั น ต้ อ งอยู ่ ใ นปริ ม าณที่ พอเหมาะพอดี เช่น ผมลงสีโทนฟ้าไป ในพื้นที่ฟ้าก็จะมีสีด�า พอไป เจือกับน�้าก็จะออกเป็นสีเทาๆ หรืออย่างที่ผมน�าสีไปใส่กระป๋อง ให้ตกตะกอน พอตกตะกอนก็จะมีเกล็ดๆ แล้วผมก็ ใช้ตะกอนสี ตรงนี้มาผสมอีกทีหนึ่ง กรรมวิธีดังกล่าวดูเหมือนจะง่ายนะ แต่มัน ก็มีเทคนิคที่จะท�าให้ภาพดูใส ซึ่งผมมองว่ากระบวนการท�าภาพนี้ ก็สอื่ ถึงพระราชภารกิจต่างๆ ของในหลวงเช่นกัน ภารกิจทีไ่ ม่ได้อยูด่ ๆี จะท�าขึน้ มาได้ ท่านทรงต้องใช้ความเพียรพยายามและเวลามากมาย และไม่ว่าจะเป็นงานวรรณกรรม งานแปล งานวาด หรืองานดนตรี ผมเชื่อว่าพระองค์ท่านก็ ไม่ได้ท�าด้วยความกดดัน แต่ทรงท�าเพราะ อยากจะท�า ทรงท�าด้วยความสุขที่อยากจะท�า
“สิง่ ทีย่ ากทีส่ ดุ ในการวาดรูปพระองค์ทา่ นคือ การวาดยังไงก็ ได้ ให้เหมือน ในมุมมองของคนอื่นอาจจะรู้สึกว่าวาดแบบไหนก็ ได้ เพราะท่านก็มีคาแร็กเตอร์ที่โดดเด่นอยู่แล้ว ทั้งทรงผม แว่นตา หรือฉลองพระองค์ที่พอจะสื่อถึงตัวพระองค์ท่านได้ แต่ส�าหรับ ผมเอง ถ้าจะวาดท่านต้องวาดให้เหมือน การวาดให้เหมือนของผม ตอนเด็ ก ๆ ก็ พ ยายามจะปั ้ น พยายามจะวาด แต่ ห ลั ง ๆ มานี้ ผมใช้ ห ลั ก การดั ด แปลงจากภาพต้ น แบบซึ่ ง เป็ น ภาพถ่ า ยของ พระองค์ท่าน ท�าให้เป็นรูปแบบของงานจิตรกรรม โดยแทนค่าสี ลงไปในส่วนต่างๆ ซึ่งรูปที่ใช้เป็นภาพปกของ a day BULLETIN ฉบับนี้ก็ ใช้หลักการนี้เช่นกัน” ส�าหรับเราแล้ว โลเลคือศิลปินมากความสามารถ เขาทัง้ วาดภาพ ท�าดนตรี เขียนหนังสือ เพิง่ รูก้ ว็ นั นีเ้ องว่าแรงบันดาลใจส่วนหนึ่งที่ ท�าให้เขากล้าที่จะลองสิ่งใหม่ๆ และก้าวข้ามข้อจ�ากัดของตัวเองนั้น มาจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 “ผมชอบความหลากหลาย ก็เลยชอบศิลปินที่ท�างานหลายๆ อย่าง เช่น บ็อบ ดีแลน ทีท่ งั้ แต่งเพลง เล่นดนตรี วาดรูปด้วย หรือ อย่าง แอนดี้ วอร์ฮอล ทีท่ า� ทัง้ งานออกแบบ วาดรูป ท�าภาพยนตร์ ซึ่งพระองค์ท่านก็ทรงเป็นศิลปินที่มีความหลากหลายเช่นเดียวกัน ความหลากหลายของพระองค์ท่านมีอิทธิพลอย่างมากที่ท�าให้ผม อยากท�าอะไรหลายๆ อย่าง เพราะเราก็ ไม่รหู้ รอกว่าด้วยศักยภาพ ของตัวเอง เราจะท�าอะไรได้บา้ ง แต่กอ็ ยากทีจ่ ะลองท�าสิง่ ทีอ่ ยากท�า เล่นดนตรี เขียนหนังสือ เท่าที่ความสามารถของตัวเองจะไปถึง ผมก็พยายามจะท�าทุกอย่าง อะไรก็แล้วแต่ที่ท�าแล้วเรามีความสุข “พระองค์ ไม่เคยปิดกั้นเลยนะ ทรงท�าทุกอย่างจริงๆ ท่านมี บทบาทในงานหลายๆ ด้าน ท�าให้เราย้อนกลับมาคิดได้วา่ จริงๆ แล้ว มนุษย์ ไม่ได้เกิดมาเพือ่ ท�าอะไรเพียงอย่างเดียว เราต้องลองทุกอย่าง เพราะศาสตร์ทุกอย่างในโลกนี้ล้วนส�าคัญ สมมติว่าเราเรียนบัญชี เราก็ ไม่จ�าเป็นต้องเป็นมนุษย์บัญชีอย่างเดียว เราอาจจะเรียนรู้ เรื่องพืช หรือเรียนรู้เรื่องดนตรี วรรณกรรมก็ ได้ ผมว่าทุกอย่าง มันเกี่ยวข้องกันหมด” เราวางสายทางไกลจากโลเล พลางนึกถึงพระบรมราโชวาท เมือ่ ปี พ.ศ. 2533 ทีว่ า่ “ต่างคนต่างมีหน้าที่ แต่ก็ ไม่ได้หมายความว่า ท� า เฉพาะหน้ า ที่ นั้ น เพราะว่ า ถ้ า คนใดท� า หน้ า ที่ เ ฉพาะของตั ว โดยไม่มองไม่แลคนอื่น งานก็ด�าเนินไปไม่ได้ เพราะเหตุว่างาน ทุกงานจะต้องพาดพิงกันจะต้องเกี่ยวโยงกัน ฉะนั้นแต่ละคนจะต้อง มีความรู้ถึงงานของผู้อื่นแล้วช่วยกันท�า’’
“...คนไทยทุกคนไม่ว่าจะอยู่ในวัยใด มีศาสนาใด มีอาชีพใด ย่อมต้องช่วยซึ่งกันและกัน ช่วยกันอุ้มชูชาติบ้านเมืองคือส่วนรวมให้อยู่ได้ ข้อนี้ได้พูดมาเสมอและคงได้ยินจากหลายคนที่ให้ค�าแนะน�าให้โอวาทว่าทุกคนต้องนึกถึงส่วนรวมเป็นที่ตั้ง ที่ต้องเห็นแก่ส่วนรวมเป็นที่ตั้งนั้นก็เพราะว่า แต่ละคน แต่ละบุคคลต้องอาศัยส่วนรวมเป็นที่อยู่อาศัย ถ้าส่วนรวมอยู่เย็นเป็นสุขแต่ละบุคคลก็อยู่เย็นเป็นสุข ฉะนั้นทุกคนมีหน้าที่ที่จะสร้างให้ส่วนรวมมีความมั่นคงและความสงบ “เพื่อการนี้ก็ต้องพิจารณาต่อไปว่าจะท�าอย่างไร แต่ละคนมีหน้าที่และได้รับค�าบอกอยู่เสมอว่านักเรียนก็มีหน้าที่ที่จะเรียน อันนี้อาจน่าร�าคาญบ้าง แต่ว่าเหตุผล คือแต่ละคนมีพลังของตัวสร้างขึ้นมา และรวมพลังก็เป็นพลังแรง พลังนี้มีหลายชนิด พลังกายและพลังใจ ทั้งพลังความรู้ ถ้าได้รวบรวมพลังกายได้แล้วก็เป็นสิ่งอย่างหนึ่งที่น่าชื่นชม เพื่อให้พลังกายนี้ได้เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้มากยิ่งขึ้น ต้องพยายามที่จะสร้างพลังวิชาความรู้และพลังใจให้มีขึ้น พลังจิตใจนี้ถ้าพูดโดยส่วนรวมแล้วเป็นสิ่งที่ส�าคัญ เพราะรวมทั้งเกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะทราบว่าสิ่งใดควรสิ่งใดไม่ควร ทั้งท�าให้สามารถที่จะคิดดีชอบเพื่อให้ตนได้สามารถปฏิบัติหน้าที่ของตน เพื่อตนเองและเพื่อส่วนรวมได้ดี ยกตัวอย่างเวลาเรามีความโกรธแค้น เรามีก�าลังกายมาก แต่ว่าก�าลังกายนั้นอาจมีไม่ได้เต็มที่ คือไม่ได้รับการควบคุมจากวิชาความรู้หรือสิ่งที่ดีที่อยู่ในตัวได้ อาจเปะปะไปบ้าง ฉะนั้นความโกรธนั้นก็เป็นผลท�าให้เราไม่สามารถที่จะใช้ก�าลังกายโดยเต็มเปี่ยม เหตุผลก็คือเวลาเรามีความโกรธ จิตใจของเราไม่สว่าง มีสิ่งที่มาครอบอยู่ท�าให้มืดมนไม่เห็นทางเราจึงอาจเปะปะ และมิใช่เฉพาะความโกรธ ความเศร้าก็ท�าให้มืดก็ ได้ หรือแม้แต่ความดีใจก็ท�าให้มืดได้ ฉะนั้นทุกคนจึงมีหน้าที่ที่จะควบคุมจิตใจ ทั้งจิตใจทางโกรธ ทางเศร้า หรือทางดีใจเพื่อให้ทุกคนสามารถที่จะมีความสว่างในใจ...” “...คราวนี้มาว่าถึงวิธีที่จะท�าให้มีความสว่าง สามารถที่จะมองเห็นสิ่งที่ดีที่งาม และสามารถที่จะสร้างก�าลังใจและก�าลังวิชาให้แก่ตน คือแต่ละคนที่มาในวันนี้ก็เป็นผู้ที่ก�าลังศึกษาวิชาความรู้ ในด้านต่างๆ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ ในวันข้างหน้าเพื่อสร้างตน สร้างบ้านเมืองให้มีความเจริญ ให้สามารถที่จะใช้วิชาความรู้ ให้เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมและแก่ส่วนตัว ถ้าแต่ละคนพากเพียรที่จะศึกษาในวิชาการ จะเป็นวิชาการใดก็ตามอย่างเคร่งครัดและอย่างขะมักเขม้น ก็จะแก้ปัญหาในการสร้างบ้านเมืองได้อย่างยิ่ง เพราะเหตุว่าถ้าขาดวิชาความรู้ก็เท่ากับไม่สามารถที่จะใช้ก�าลังของตนเพื่อให้เป็นประโยชน์ ได้เต็มที่ เมื่อมีโอกาสเรียน ก็จะท�าให้สร้างเสริมตนเองให้มีสามารถสูง ท�าให้มีทางที่จะช่วยส่วนรวมมากขึ้น ตัวเองเท่ากับเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่ง เครื่องมือทุกชนิดถ้าเราไม่สามารถที่จะใช้ ก็ ไม่เกิดประโยชน์ ใดๆ เครื่องมือมีเครื่องมือที่ง่ายๆ และมีเครื่องมือที่ค่อนข้างจะมีกลไกที่ยุ่งยากและสับสน กลไกที่ยุ่งยากสับสนนั้น ถ้าทุกคนจะใช้ก็ต้องพยายามเรียนรู้ แต่กลไกที่ง่ายๆ หรือเครื่องมือที่ง่ายๆ ก็ต้องเรียนรู้เหมือนกัน ให้ยกตัวอย่างที่ง่ายที่สุดคืออย่างไม้บรรทัดที่แต่ละคนต้องใช้ทุกวิชาเขาก็ ใช้ ไม้บรรทัดตีเส้น โดยเฉพาะวิชาอย่างช่างก่อสร้างเขาก็ ใช้ ไม้บรรทัดส�าหรับขีดเส้น ถ้าหากเราใช้ ไม่เป็นก็ถือว่าเป็นไม้ แล้วก็เท่าที่ได้เห็น บางทีเคยเห็นเขาถือไม้บรรทัดไว้เป็นส�าหรับตีหัวคน ไม่ใช่ส�าหรับมาใช้เพื่อที่จะวัดส่วนและขีดเส้น การใช้ ไม้บรรทัดมาตีหัวคนนั้นก็มีประโยชน์เหมือนกัน แต่ว่าประโยชน์ของไม้บรรทัดก็จ�ากัดในข้อนั้น ใช้ ไม้อื่นๆ ก็ยังได้ แต่ถ้ามาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ของไม้บรรทัด ก็จะท�าให้สามารถสร้างสรรค์สิ่งที่ดี แล้วก็เป็นประโยชน์มากขึ้นตามล�าดับ ไม้บรรทัดนั้นส่วนมากก็มีขีดเอาไว้ว่ามีเซนติเมตร บางอันที่มีมากกว่า อาจมีเป็นมุมฉากหรือเป็นมุมต่างๆ ถ้าเรามาใช้ประโยชน์จากไม้บรรทัดนี้ เราก็จะสามารถจะสร้างตึกรามที่ใหญ่โต เขียนแบบเขื่อนหรือสร้างถนนได้ เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมแก่ตนเองได้มาก ฉะนั้นการใช้เครื่องมือก็ย่อมต้องเรียนรู้วิชาให้ ใช้เป็นประโยชน์ ให้ ใช้เต็มที่ แต่ละคนมีสมอง มีกาย ก็ต้องเรียนรู้ที่จะใช้ ให้ถูกต้องเพื่อที่จะเป็นประโยชน์แก่ตน ประโยชน์แก่ส่วนรวม...”
Royal Speech
กระแสพระบรมราโชวาท
พระราชทานแก่นักเรียน นักศึกษา ครู และอาจารย์ ในโอกาสเข้าเฝ้าฯ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันเสาร์ ที่ 27 ตุลาคม 2516