adB437

Page 1

TODAY EXPRESS PRESENTS

ISSUE 437 I 4 NOVEMBER 2016


ไม่มีวันใดว่างเปล่าได้เท่าเทียม...

ปีที่ 9 ฉบับที่ 437 วันที่ 4 พฤศจิกายน 2559

Editor’s Note Contents

ถ้าเราเชื่อว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้นโดยไม่มีเหตุผล เราก็ควรเชื่อด้วยว่าการสูญเสียครั้งใหญ่ในแต่ละครั้งของชีวิต มีเหตุผลที่ส�าคัญเสมอ เพียงแต่บางครัง้ เราก็อาจยังไม่สามารถรับความจริงได้ทนั ที กระทัง่ เมือ่ เวลาผ่านไปสักระยะ เราถึงจะเริม่ มองการสูญเสียนัน้ ให้กลายเป็นจุดเริม่ ต้น ของการตระหนักถึงคุณค่าในอีกหลายสิง่ หลายอย่างทีเ่ รายังมีเหลืออยู่ มนุษย์เราคงหลีกหนีการสูญเสียได้ยาก เพราะการพบ พราก จาก เจอ เป็นวงจรธรรมชาติทเี่ รายังต้องพบเจอไปอีกจนกว่าชีวติ จะหาไม่ สิง่ ทีเ่ ราต้องท�าจึงไม่มอี ะไรมากไปกว่าตัง้ สติทบทวนว่า การพบ พราก จาก เจอ ที่ว่านั้น ท�าให้เราค้นพบบทเรียนส�าคัญอะไรบ้าง กระทั่งเพื่อให้พบว่า เราสามารถเรียนรู้ได้โดยไม่ต้องรอให้ความสูญเสียเกิดขึ้นก่อน บทเรียนทีห่ ลายๆ คนมักจะสอบตกหรือได้คะแนนไม่คอ่ ยดีนกั ก็คอื เรามักจะคิดว่า อะไรทีเ่ รามีในวันนี้ ย่อมจะมีอยูต่ ลอดไป คนในชีวติ ก็เช่นกัน... เราคิดว่าเมือ่ เขาเคยอยูต่ รงนี้ เขาก็ยอ่ มจะอยูต่ รงนีต้ ลอดไป ไม่เคยเผือ่ ใจว่าวันหนึง่ ทีต่ รงทีเ่ ขาเคยอยูจ่ ะว่างเปล่า และอย่าว่าแต่ การหายไปของคนเลย กระทั่งหัวใจเราเองแท้ๆ ยังเหมือนจะหลุดหายไปจากที่ที่เคยอยู่ในวันที่ใครสักคนไม่อยู่แล้ว ผู้เขียนเคยคิดอยู่ เหมือนกันว่า ในวันทีพ่ วกเราเกิดมาในโลกใบนี้ เราไม่อาจจะล่วงรูไ้ ด้เลยว่า ตลอดชีวติ ของเราจนกระทัง่ ถึงวันทีจ่ ากโลกนีไ้ ป เราจะพานพบ กับใครในชีวติ บ้าง จะมีเวลาอยูก่ บั พวกเขามากน้อยแค่ไหน ใครบ้างทีจ่ ะมีความหมายกับชีวติ เรา และใครบ้างทีค่ ดิ ว่าการมีเราอยูใ่ นชีวติ เขา ถือเป็นเรื่องที่มีความหมาย หรืออาจจะเป็นความหมายเพียงเรื่องเดียวในชีวิตของเขาเลยก็ว่าได้ ทั้งนี้ทั้งนั้น คงขึ้นอยู่กับว่ามีความผูกพัน ระหว่างกันเหนียวแน่นเพียงใด ค�าถามก็คือ การที่เราจะรู้สึกผูกพันกับใครสักคนมากเสียจนเขาได้กลายเป็นความหมายส�าคัญของชีวิตนั้น ควรจะต้องเกิดจากอะไร ใช่การที่ต้องรู้จักหรือคบหากันมายาวนานหรือไม่? และถ้าต้องคบกันยาวนานมาก่อน ต้องใช้เวลาสักกี่วัน เดือน ปี จึงจะรู้สึกว่าใครสักคน มีความหมายกับเรา? และจะเป็นไปได้ไหมที่เราจะผูกพันกับใครโดยที่อาจไม่รู้จักกันเป็นการส่วนตัว ไม่เคยได้พูดคุย ไม่เคยใกล้แม้เพียง เงา ไม่ได้เป็นคนที่จะต้องพบเจอในชีวิตอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน และแม้แต่ข่าวคราวหรือชีวิตความเป็นอยู่ของเขา เราก็แทบไม่เคยได้รับรู้ ไม่แน่ใจว่าค�าตอบของคนอื่นจะเป็นอย่างไร แต่ค�าตอบของผู้เขียนนั้นคือ ใช่... เราสามารถผูกพันกันได้โดยไม่มีเงื่อนไขทั้งหมดที่ว่ามา เพราะความรู้สึกของมนุษย์นั้นเป็นเรื่องแปลกตรงที่หลายๆ ความรู้สึกเกิดขึ้นโดยที่ไม่สามารถอธิบายด้วยเหตุผลได้ชัดเจน ความผูกพัน เป็นเรื่องที่งอกงามขึ้นอย่างเงียบเชียบ เติบโตอย่างเงียบเชียบ เงียบมากพอๆ กับตอนที่มันขาดสะบั้นลง กล่าวตรงนี้ได้ว่า ความผูกพันนั้น เมื่อไหร่ที่มันเกิดขึ้น ก็ย่อมทั้งผูก ทั้งพัน ตรงตามชื่อของมันทุกประการ แม้อาจมองไม่เห็นสายใย ของความผูกพันนัน้ แต่ใช่วา่ มันจะไม่มอี ยูจ่ ริง เหมือนใครสักคนทีเ่ ราไม่เคยตระหนักเลยว่า เขามีความหมายอย่างไร แต่กใ็ ช่วา่ การขาดเขาไป แล้วเราจะอยู่ได้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น ปัญหาทั้งหมดจึงมีแค่เพียงว่า เราจะดูแลความผูกพันและคนที่มีความหมายอย่างไรระหว่างที่เรา มีกนั และกัน ก่อนทีเ่ ราและเขาจะถึงวันทีต่ อ้ งจากกันไป ไม่วา่ จะเป็นเพราะเราเลือกทีจ่ ะจากกันไป หรือชีวติ เลือกให้กต็ าม ถ้าให้ถามกันตอนนี้ ผู้เขียนว่าน้อยคนจะนึกภาพออกว่า ถ้าไม่มีใครสักคนที่เราผูกพัน ชีวิตจะเป็นอย่างไร เหตุผลที่นึกไม่ออก อาจเป็นเพราะว่าไม่กล้านึก หรือไม่ก็เพราะไม่คิดว่ามันจะเกิดขึ้นจริง แต่สัจธรรมก็คือ เราไม่อาจหนีวันแห่งการสูญเสียได้พ้น ดังนั้นแล้ว หากแต่ละวันเราต้องมีเรื่อง ให้ใคร่ครวญทั้งตอนลืมตาตื่น และ ก่อนหลับตาลงในแต่ละคืน หนึ่งในเรื่องเหล่านั้นก็คือการขอบคุณและยินดีที่เรายังมีคนที่มีความหมาย กับเราอยู่ในวันนี้ เพราะมันดีเท่าไหร่แล้วที่หันไปแล้วยังได้เจอ วันก่อนยังเพิ่งคุยกับเพื่อนคนหนึ่งว่า รู้สึกว่ามีคนแถวบ้านอย่างน้อยสองคน ที่ตอนนี้หายไปไหนแล้วก็ไม่รู้ ทั้งๆ ที่ก่อนหน้านี้เจอกันอยู่บ่อยๆ ถามว่าผูกพันไหม ก็ไม่ถึงกับผูกพันมากมาย เพราะเราไม่ได้สนิทสนมกัน แต่เวลามองไปตรงที่ที่เขาเคยนั่งอยู่เป็นประจ�า ก็อดนึกถึงไม่ได้ว่า เขาหายไปไหน เพราะไม่มีใครแถวนั้นที่รู้ข่าวคราวของเขาอีกเลย โลกนีก้ เ็ ป็นแบบนี้ แต่ละวันมีคนทีห่ ายไปจากชีวติ เราทัง้ โดยทีเ่ ราสังเกตและไม่ได้สงั เกต ทัง้ ทีเ่ รารูส้ กึ และไม่รสู้ กึ แม้เราจะไม่อาจรูล้ ว่ งหน้า ว่าการจากไปของใครคนใดคนหนึ่งจะส่งผลอะไรกับเราบ้าง แต่หากเราใช้ความสูญเสียครั้งใหญ่ๆ ที่ผ่านมาในชีวิตเป็นบทเรียนสอนตัวเอง เราจะรูว้ า่ คนทีม่ คี วามหมายกับเราจริงๆ แล้วนัน้ เขาไม่ได้มคี วามหมายเฉพาะวันทีห่ ายไปหรอก... แต่เขามีความหมายกับเรามาโดยตลอด ต่างหาก เพียงแต่เราไม่ค่อยได้ระลึกถึงให้มากพอ เมื่อใครสักคนจากไป โลกย่อมจะมีความว่างเปล่าเกิดขึ้นเสมอ ทั้งความว่างเปล่า ภายนอกและภายใน เพียงแต่ความว่างเปล่านัน้ ย่อมสร้างความเจ็บปวดให้กบั คนแต่ละคนไม่เท่ากัน ความว่างเปล่าส�าหรับบางคนอาจไม่ได้ แปลว่าสูญเสียด้วยซ�า้ เพราะไม่เคยสนใจถึงการมีอยูม่ าตัง้ แต่แรก แต่สา� หรับบางคนอาจถึงกับเป็นความว่างเปล่าชนิดทีไ่ ม่มวี นั ใดว่างเปล่าได้ เท่าเทียม ว่างเปล่าเหมือนหลุมด�าที่หาจุดสิ้นสุดไม่ได้ แต่สามารถดูดเราลงไปให้จมดิ่งจนผุดขึ้นมาไม่ได้เช่นกัน วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม บรรณาธิการบริหาร In Memory of Thailand’s Beloved King ประมวลภาพเหตุการณ์ ถวายความอาลัย ของพสกนิกรชาวไทย ทั่วประเทศ

Moments to Remember ความทรงจ�าของ สื่อมวลชนที่มีโอกาส ถ่ายทอดเรื่องราวของ พระองค์ท่าน

Royal Project พระราชกรณียกิจของ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

The Artist Talks บทสัมภาษณ์ สุรเดช แก้วท่าไม้ กับภาพ ‘ติโต ความทรงจ�าในบทเพลง พระราชนิพนธ์’

Royal Speech พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช

ทีป่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผูพ ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย บรรณาธิการอ�านวยการ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ บรรณาธิการบริหาร วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม รองบรรณาธิการ วสิตา กิจปรีชา บรรณาธิการบทความ วรัญญู อินทรก�าแหง กองบรรณาธิการ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล มิ่งขวัญ รัตนคช กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ศรัญญา โรจน์พทิ กั ษ์ชพี ประสานงาน / นักเขียน ตนุภทั ร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย ช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ภาสกร ธวัชธาตรี วงศกร ยี่ดวง มณีนชุ บุญเรือง บรรณาธิการศิลปกรรม วีระยุทธ คงเทศน์ ศิลปกรรม เอกพันธ์ ครุมนต์ตรี ชยุตม์ คชโกศัย อรณัญช์ สุขเกษม พิสจู น์อกั ษร หัสยา ตัง้ พิทยาเวทย์ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ไม้ลา� ดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภูท่ อง ทศพล บุญคง ทีป่ รึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจิ รรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 09-2964-1635, มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา วาณี กนกวิลาศ 09-5592-9419, มาสสุภา เอี่ยมมงคลศิลป์ 08-5056-0083, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, สุธาวัลย์ สุวรรณสิงห์ 08-1304-7070, ดวงใจ ดวงจังหวัด 08-6802-9996 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ผู้ช่วยผู้จัดการ ณัฐธยาน์ อึ้งตระกูลนิธิศ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ผู้ผลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com เว็บไซต์ www.daypoets.com, www.godaypoets.com นักศึกษาฝึกงาน ชัญญานิษฐ์ ชัยณรงค์สิงห์


State Of The Arts

Ditsakorn Sootasom Acrylic 140 x 110 cm

Worshipping the Ancestors 1 ด้วยความที่เติบโตและได้คลุกคลีใกล้ชิดงานศิลปะมาตั้งแต่เด็ก ท�าให้ ดิษณ์กร สุทธสม มีแรงบันดาลใจลึกๆ ว่าอยากเดินบนเส้นทาง ศิลปะอย่างเต็มตัว ซึ่งความมุ่งมั่นตั้งใจนั้นก็ ได้ผลักดันให้เขาสร้างสรรค์ผลงานศิลปะสุดประณีตชิ้นนี้ขึ้นมา จนได้รับเลือกให้ร่วมแสดง ในนิทรรศการจิตรกรรมยูโอบี (UOB Painting of theYear) ปี 2558 Behind the Picture :

“ผมได้รับแรงบันดาลใจมาจากการไหว้ผีของบรรพบุรุษ ซึง่ จะมีการไหว้ทกุ ปี ในเดือน 7 คอนเซ็ปต์คอื อยากจะเล่าความรูส้ กึ ของตนเองผ่านงานจิตรกรรม ว่าเราร�าลึกนึกถึงปูย่ า่ ตายาย ทีล่ ว่ งลับไปแล้ว และอยากจะสือ่ ถึงอารมณ์ บรรยากาศสีเทาๆ ด�าๆ สร้างบรรยากาศทีเ่ ป็นความงามแบบเฉพาะออกมา”

The Artist :

“สมัยเด็กๆ ผมได้ไปอาศัย อยูก่ บั น้าซึง่ เป็นช่างปูนปัน้ ท�าให้ ผมได้จา� อะไรหลายอย่างเกีย่ วกับ ลวดลายปู น ปั ้ น ลวดลายไทย มาตัง้ แต่เด็ก จากจุดนัน้ ท�าให้คดิ อยากจะศึ ก ษาเรี ย นรู ้ เ กี่ ย วกั บ ศิ ล ปะไทย และมี ค วามมุ ่ ง มั่ น ตั้งแต่เด็กว่า โตขึ้นอยากจะจบ ปริญญาตรีทางด้านศิลปะ”

การประกวดจิตรกรรมยูโอบี (UOB Painting of the Year) คือ การประกวดผลงานจิตรกรรมระดับอาเซียนที่จัดโดย กลุม่ ธนาคารยูโอบี เปิดกว้างส�าหรับศิลปินอาชีพ และศิลปินใหม่หรือสมัครเล่น ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลชนะเลิศจากอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย จะได้เดินทางไปชิงรางวัล UOB Southeast Asian Painting of the Year และจัดแสดงผลงาน ที่ประเทศสิงคโปร์ สามารถชมผลงานที่ได้รับรางวัลจากการประกวดจิตรกรรมยูโอบี ประจ�าปี 2559 ของประเทศไทยได้ที่ ชั้น 1 หอศิลปกรุงเทพฯ ตั้งแต่วันนี้ถึง 6 พฤศจิกายน 2559 | www.uobpoy.com

Reflections :

“ศิ ล ปะในความหมายของผมคื อ ธรรมชาติ เพราะว่าศิลปะเป็นสิง่ ทีเ่ ข้าใกล้ กับชีวิตจริงมากที่สุด สิ่งนี้ท�าให้เรารู้ว่า ตัวเองก�าลังท�าอะไร ท�าให้ใจของเรามีสมาธิ ตัง้ มัน่ เพือ่ ด�ารงชีวติ ต่อไปได้”


In Memory Of Thailand’s Beloved King

25 - 27 October 2016


In Memory Of Thailand’s Beloved King

ภาพ : themomentum.co, ทรรศน หาญเรืองเกียรติ, Jain Pichan, Pakorn Bank Lakboon, Kris Event Photo, เศรษฐพร ก่อวาณิชกุล และ Fufulands

แม้วา่ บ้านเมืองของเราก�าลังเผชิญกับการสูญเสียครัง้ ยิง่ ใหญ่ ครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ แต่ท่ามกลางบรรยากาศแห่งความโศกเศร้า ท�าให้เราได้เห็นน�า้ ใจของชาวไทยทีห่ ลัง่ ไหลมาจากทุกฝ่าย ตั้งแต่หน่วยงานรัฐบาล บริษัทห้างร้าน ไปจนถึงประชาชนจาก ทั่ ว ทุ ก สารทิ ศ ที่ ม าร่ ว มแรงร่ ว มใจ จากสิ่ ง เล็ ก ๆ รวมกั น เป็ น ความดีที่ยิ่งใหญ่ สานต่อเจตนารมณ์ที่พ่อหลวงเคยริเริ่มไว้ จนเกิดเป็นภาพประทับใจที่เราจะจดจ�าไปไม่รู้ลืม


Moments To Remember

มีหลายเหตุผลทีท่ า� ให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ทรงเป็นทีร่ กั ยิง่ ของปวงชนชาวไทย แต่ทสี่ า� คัญ ที่สุดคงเป็นภาพความทรงจ�าในช่วงที่พระองค์เสด็จฯ ไปทุ ก แห่ ง หนของประเทศ เพื่ อ บ� า บั ด ทุ ก ข์ บ� า รุ ง สุ ข มอบรอยยิ้ ม รวมถึ ง คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น ให้ กั บ เหล่ า พสกนิกรของพระองค์ และเรือ่ งราวพิเศษในฉบับนีเ้ ราจึง เชิญทั้งช่างภาพและนักข่าวที่เคยตามเสด็จมายาวนาน และบรรณาธิการนิตยสารเก่าแก่ที่อยู่เคียงคู่ตลอด รัชสมัยของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาบอกเล่าเรื่องราว ความประทับใจในพระราชกรณียกิจทีพ่ วกเขาได้เห็นกับตา


“นี่คือเหตุผลที่ดิฉันไม่ยอมไปไหนจากตรงนี้ ตลอด 30 ปีค่ะ อยู่จนเกษียณเลย เพราะเรา ท�าด้วยความรัก ด้วยหัวใจ เนื่องจากเห็นว่า พระองค์ท่านทรงรักคนไทยเหลือเกิน”

Patcharin Swatesutipun

“ส่วนเรื่องความล�าบากอื่นๆ นั้นไม่ต้องพูดถึง อย่างเรื่องยุงหรือแมลง เพราะ สมัยก่อนไม่มีพัดลม ไม่มีแอร์หรือยาทากันยุงเหมือนอย่างสมัยนี้นะคะ ส่วนเรื่องรถ เวลาเดินทางสมัยนั้นก็ยังไม่ใช่รถแอร์ และพระองค์ก็ทรงขับรถด้วยพระองค์เอง ไม่ว่าจะกันดาร ลุยน�้า ลุยดิน ตอนที่ตามเสด็จ ฝุ่นดินเข้ามาในรถโดนหน้าโดนผม จนแข็งฟูแดงไปหมดเลย นี่คือเรื่องจริงทั้งนั้น ที่ช่างภาพถ่ายภาพพระเสโทหยด อดีตบรรณาธิการและผู้เชี่ยวชาญข่าวพระราชส�านัก จนชุ่มนั่นก็ของจริง เสื้อนี่ไม่ต้องคิดเลยนะคะว่าจะใส่เสื้อสีอ่อน เพราะจะกลายเป็น สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 อสมท. เสื้อสีฝุ่น มันเป็นดินดาน แห้งแล้งมาก นี่คือสิ่งที่พระองค์ท่านทรงท�ามาโดยตลอด ซึ่งถ้าเราไม่ไปท�าหน้าที่น�าภาพน�าข้อมูลมาเผยแพร่ คนก็คงจะไม่ทราบ” พัชรินทร์ เศวตสุทธิพันธ์ อดีตบรรณาธิการและผู้เชี่ยวชาญข่าว ในฐานะผูส้ อื่ ข่าวในพระราชส�านักทีค่ ร�า่ หวอด มีสงิ่ หนึง่ ทีเ่ ธออยากจะชีใ้ ห้ทกุ คนเห็น พระราชส�านักของสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 อสมท. ออกตัวอย่างถ่อมตน “คนสงสัยกันเยอะว่าในการทีท่ า่ นจะพระราชทานความช่วยเหลืออะไรให้กบั ใคร ก่อนที่เราจะเริ่มท�าการสัมภาษณ์ ซึ่งแม้เธอจะกล่าวว่าตัวเองไม่ใช่นักข่าว เหตุใดท่านจึงไม่พระราชทานเป็นเงิน นั่นเป็นเพราะทรงเห็นว่าหากพระราชทานเงิน เพียงคนเดียวที่ติดตามท�าข่าวพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กระนั้น ก็หมดได้ ท่านจึงพระราชทานโครงการต่างๆ ซึ่งเราเรียกว่าโครงการอันเนื่องมาจาก ส�าหรับผู้ฟังเช่นเราก็ยังอดนึกไม่ได้ว่าจะมีสักกี่คนในประเทศนี้ที่โชคดี พระราชด�าริ คือท่านให้ความรู้ ความช�านาญ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ได้มีโอกาสติดตามในหลวงเสด็จพระราชด�าเนินมานานตลอดกว่า 30 ปี เพือ่ ให้เขาสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และทีส่ า� คัญทีส่ ดุ ท่านให้ความส�าคัญกับการศึกษา ไม่ว่าจะขึ้นเหนือหรือล่องใต้ เธอเล่าถึงจุดเริ่มต้น ซึ่งท่านทรงมีพระราชด�ารัสว่าการศึกษาจะช่วยให้เยาวชน รุน่ ต่อๆ ไป ได้นา� ความรูก้ ลับมาพัฒนาชุมชน เมือ่ เป็นเช่นนัน้ ตั้งแต่เริ่มงานนี้ในสมัยแรกๆ ให้ฟังว่า ก็จะเกิดการพัฒนาที่ไม่จบสิ้นแต่หากให้เงินไปมันก็จบ” The Most เมือ่ ถามถึงช่วงเวลาประทับใจทีไ่ ด้ตามเสด็จ เธอบอกว่า Memorable มีหลายครั้ง หนึ่งในภาพความประทับใจมิรู้ลืม คือเมื่อครั้ง Moment ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระเทพฯ “ตอนแรกที่ได้รับมอบหมายให้ท�างานข่าวพระราชส�านัก ลงตรวจพืน้ ทีซ่ งึ่ เป็นป่ารกในหน้าฝนทีม่ คี วามชืน้ สูง และเต็ม ก็นกึ ดีใจ ว่าคงจะได้แต่งตัวสวยและได้ทา� งานสบาย ปรากฏว่า ไปด้วยทาก ขณะออกจากป่า คณะผู้ติดตามโวยวายกันว่า ตรงข้ามกันหมดทุกอย่าง ทีเ่ ราไปเห็นมา คือท่านทรงงานหนัก “ก่ อ นที ท ่ า ่ นจะเสด็ จ ฯ ไปในแต่ ล ะพื น ้ ที ่ ท่ า นจะ เจอทากเกาะก็เลิกขากางเกงดู ปรากฏว่าเจอกันหมดทุกคน มากมายเหลือเกิน ชนิดที่ว่าให้ใครมาบอกเล่าก็คงจะไม่เชื่อ” มี แ ผนที ่ แผนที ข ่ องท่ า นแผ่ น ใหญ่ ม าก และไม่ ไ ด้ เ ป็ น “สมเด็จพระเทพฯ ทรงเลิกขาพระสนับเพลาของพระบาทในสมัยนัน้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มักจะเสด็จแปรแผนที ่ แ บบทั ่ ว ไปนะคะ ท่ า นจะขยายจนเห็ น รายสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ปรากฏว่ า มี ท ากเกาะอยู ่ เ ต็ ม ขา พระราชฐานเพื่อทรงงานในแต่ละภูมิภาคอยู่นานคราวละ ละเอี ย ดของพื ้ น ที ่ น ้ ั น ๆ แล้ ว ก็ อ ย่ า งที ่ เ ห็ น ในรู ป ว่ า พระองค์ทา่ นทัง้ สองข้างเลย จนสมเด็จพระเทพฯ ทรงไปขอบุหรี่ 2-3 เดือน หรือนานกว่านัน้ ตามแต่พระราชวินจิ ฉัย เป็นเหตุให้ ท่ า นจะทรงเดิ น น� า เสมอ โดยมี แ ผนที เ ่ หน็ บ ไว้ แ ล้ ว ของทหารมาจุดแล้วจีไ้ ปทีต่ วั ทากจึงดึงออกได้ พระโลหิตไหล ทรงมีพระต�าหนักอยู่ตามภาคต่างๆ อย่างพระต�าหนักภูพิงคสะพายกล้ อ งถ่ า ยรู ป เมื อ ่ ไปถึ ง จุ ด ที ท ่ า ่ นกางแผนที ่ ออกมาจนต้ องเช็ดออก ราชนิ เ วศน์ ท างภาคเหนื อ พระต� า หนั ก ภู พ านราชนิ เ วศน์ เอาไว้ ล ่ ว งหน้ า ซึ ่ ง ท่ า นศึ ก ษามาจนทราบปั ญ หา “มีประโยคหนึ่งที่พสกนิกรถามว่า ท�าไมพระเจ้าอยู่หัว ทางภาคอีสาน ส่วนภาคใต้ก็มีพระต�าหนักทักษิณราชนิเวศน์ มาเป็ น อย่ า งดี แ ล้ ว จนถึ ง ขนาดที ่ ว ่ า คนในพื ้ น ที ่ รั ช กาลที ่ 9 จึงต้องเหนื่อยยากล� าบากถึงขนาดนี้ ท�าไม “ระหว่างทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงงาน ก็จะทรง บางคนยั ง ไม่ ท ราบขนาดพระองค์ ท า ่ นด้ ว ยซ� า ้ ” ท่ า นจะต้ องไปยังพื้นที่ซึ่งขนาดคนธรรมดาสามัญอย่างเรา เดินทางเข้าไปให้ถึงพื้นที่ เพื่อศึกษาและรับฟังปัญหาจาก ยังไม่คิดจะไป หรือเราอาจจะไปไม่ถึงด้วยซ�้า แต่พระองค์ ราษฎรโดยตรง พวกเราผู้สื่อ ข่าวก็ต้อ งตามเสด็จไปด้วย ก็เสด็จพระราชด�าเนิน ไปจนถึง อย่างบางพื้นที่ท่านเสด็จ เดินกันวันหนึ่งๆ ตั้งแต่เช้าจรดเย็น บางคนอาจจะสงสัยว่า พระราชด� า เนิ น ข้ า มเขา 3-4 ลู ก พวกเราซึ่ ง ตอนนั้ น ท�าไมเวลาเสด็จเยี่ยมเยือนราษฎรจึงมักจะเป็นตอนบ่าย หรือ อายุยังน้อยนี่ยังแทบจะขาดใจเลยนะคะ ขาอ่อนลงไปกองกับพื้น ถ้าจะถามว่า เพราะพระองค์ทา่ นทรงตืน่ สาย จะบอกนะคะว่าท่านรับสัง่ ว่า ถ้าเราจะไปช่วยเหลือเขา พระองค์ ท ่ า นทรงเหนื่ อ ยไหม ตอบได้ เ ลยร้ อ ยเปอร์ เ ซ็ น ต์ ว ่ า เหนื่ อ ยแน่ น อน ต้องอย่าท�าให้เขาเดือดร้อน ทีเ่ ป็นอย่างนัน้ ก็เพราะท่านทรงทราบดีวา่ ชาวนาชาวไร่เขาตืน่ กัน แต่พระองค์ทา่ นก็รบั สัง่ เองว่าทรงเหนือ่ ยไม่ได้ เพราะว่าท่านยังต้องช่วยเหลือคนไทย ตัง้ แต่ต ี 4 ตี 5 เพือ่ ไปท�านาท�าไร่กนั กว่าจะเสร็จกลับมากินข้าวกลางวัน อาบน�้าอาบท่า “นีค่ อื เหตุผลทีด่ ฉิ นั ไม่ยอมไปไหนจากตรงนี้ ตลอด 30 ปีค่ะ ก็อยู่จนเกษียณเลย พักได้สักครู่หนึ่ง พระองค์ท่านจึงค่อยไปเยี่ยม โดยกะเวลาไปให้ถึงช่วงเวลานั้น คือเราท�าด้วยความรักด้วยหัวใจ เพราะเห็นว่าพระองค์ทา่ นทรงรักคนไทยเหลือเกิน” “ท่านทรงงานตลอด 24 ชั่วโมง อย่างเวลาที่เสด็จฯ ไปทีนะคะ แม้จะบอกว่าไปให้ ถึงตอนบ่ายก็จริง แต่กว่าจะเสด็จฯ กลับนี่ประมาณ 3-4 ทุ่ม เรานี่หิวข้าว ถึงขนาดเคย แอบออกมาแล้วก็มผี ใู้ หญ่ทา่ นหนึง่ ซึง่ อยูต่ รงนัน้ ขออนุญาตไม่เอ่ยชือ่ นะคะ ท่านก็ถาม ว่าไปไหน เราก็บอกว่าจะไปห้องน�้า เสร็จแล้วพอเราเดินกลับมา ผู้ใหญ่ท่านนั้น ก็กราบบังคมทูลว่าไปห้องน�า้ แต่ปากมันแผล็บกลับมาเชียว คือเราแอบไปกินข้าวกล่อง มาไง เพราะตอนนัน้ ตัง้ 3 ทุม่ แล้ว เราหิวจนไม่ไหวจริงๆ แต่พระองค์ทา่ นก็ยงั รับสัง่ งาน กับชาวบ้านอยู่ตรงนั้น ตอนนั้นรู้สึกผิดมากเลยค่ะ ว่าเรานี่ช่างไม่มีความอดทน เอาเสียเลย พระองค์ท่านยังทรงงานอยู่ตรงนั้นแท้ๆ ดังนั้น เราจะพยายามไม่ท�า อย่างนั้นอีก นี่คือความประทับใจ



“การทีเ่ ราได้ทา� งานเพือ่ ให้คนได้รบั ทราบว่า พระองค์ทา่ นท�าอะไร ดิฉนั คิดว่ามันเป็นการท�างาน ทีม่ คี า่ มากมายมหาศาลมาก”

Nareepop Sawasdirak บรรณาธิการ นิตยสาร สกุลไทย นรีภพ สวัสดิรักษ์ บรรณาธิการ นิตยสาร สกุลไทย ซึ่งต�าแหน่ง ของเธอนั้นก็ถือว่าเป็นอีกหนึ่งหน้าประวัติศาสตร์ของวงการสื่อสิ่งพิมพ์ ของไทย เพราะว่าหลังจากทีท่ กุ คนได้อา่ นบทสัมภาษณ์นขี้ องเธอ ก็เชือ่ แน่วา่ สกุลไทย ฉบับสุดท้าย น่าจะออกวางแผงถึงมือผูอ้ า่ นตามทีท่ มี งานได้เคย ออกมาประกาศปิดตัวเอาไว้แล้ว และด้วยความผูกพันทีน่ ติ ยสาร สกุลไทย มีตอ่ ราชวงศ์มาอย่างยาวนานตลอด 62 ปี ทีเ่ ปิดด�าเนินการ ทางทีมงาน จึงได้ท�าการเปลี่ยนปก สกุลไทย ฉบับสุดท้าย และเพิ่มเนื้อหาที่เกี่ยวกับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช ซึง่ คัดเลือกมาจาก สกุลไทย ฉบับเก่าๆ และคลังภาพทีม่ ากกว่าแสนภาพ ให้เป็น ของขวัญชิ้นสุดท้ายส�าหรับผู้อ่าน และเป็นการถวายความจงรักภักดีครัง้ สุดท้ายของทีมงาน

จากความผูกพันอันยาวนาน เมื่อ สกุลไทย เดินทางมาถึงฉบับสุดท้าย ซึ่งตรงกับช่วงเวลา ที่ในหลวงของปวงชนชาวไทยได้เสด็จสวรรคตไปอย่างไม่ทันคาดคิด ทางกองบรรณาธิการจึงได้ ประชุมเพื่อเปลี่ยนเนื้อหาแบบเร่งด่วน เพื่อให้ทันส่งพิมพ์ โดยมีเวลาท�าเนื้อหาเพียงไม่กี่วัน แต่ดว้ ยความทุม่ เทของทีมงานทุกคน สกุลไทย ฉบับสุดท้าย จึงได้อญ ั เชิญ พระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช มาเป็นภาพปก และรวบรวมพระบรมฉายาลักษณ์ที่หาดูได้ยากจาก The Most คลังภาพของ สกุลไทย มาเล่าเรื่องได้อย่างน่าประทับใจ Memorable “ส�าหรับ สกุลไทย ฉบับสุดท้าย มันเริม่ จากการทีเ่ ราจะปิดนิตยสาร เราเลยประชุ มกันว่าเราจะท�าอะไรบ้าง คือเราไม่อยากจากแบบเศร้า Moment แต่อยากให้ความสุขกับผูอ้ า่ น คนท�าหนังสือเราก็ตอ้ งให้ความสุขกับผูอ้ า่ น จนวาระสุดท้าย เราก็ถา่ ยแบบปกไปแล้ว แล้วก็จะมีเนือ้ หาพิเศษก็คอื “สกุลไทย เราก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที ่ 1 พฤศจิกายน 2497 เราเป็นนิตยสาร การรวมเอาเหตุการณ์เด่นๆ ทีอ่ ยูเ่ ล่มตลอด 62 ปี มาลง ซึง่ แน่นอนก็ตอ้ ง ส�าหรับสตรีในยุคแรกๆ โดยเราตัง้ ใจท�าให้ออกมาน่ารัก สวยงาม ไม่ผาดโผน “เราเองก็มาที่ สกุลไทย ตั้งแต่จ�าความได้ มีเรื่องของราชวงศ์ที่เรายึดมั่นมาตลอด แล้วก็จะมีเรื่องราวอื่นๆ อีก เป็นนิตยสารบันเทิงในครอบครัว ซึง่ สกุลไทย ก่อตัง้ ขึน้ มาหลังพระราชพิธี เพราะคุณแม่เป็นบรรณาธิการมาตั้งแต่เราเด็กๆ ที่เราตัง้ ชือ่ ว่า สกุลไทยในความทรงจ�า เช่น หญิงสาวบนปก สกุลไทย, บรมราชาภิเษกไม่กี่ปี เป็นช่วงที่ประชาชนผูกพันแนบแน่นกับสถาบัน เราก็ไปรับแม่จากที่ท�างาน ตอนเด็กๆ เราเรียนที่ ความเป็นไทย, ผ้าไทย 6 ทศวรรษวรรณกรรม สกุลไทย, คอลัมน์เด่น พระมหากษัตริย ์ กับในหลวงรัชกาลที ่ 9 แล้วผูอ้ า่ นก็เรียกร้องเข้ามามาก โรงเรียนจิตรลดา เราก็เลยใกล้ชิดกับราชวงศ์ ใน สกุลไทย ว่ า อยากให้ สกุ ล ไทย น�า พระบรมฉายาลั ก ษณ์ ข องท่ า นมาขึ้ น ปก ไปในตัวด้วย บางทีคณ ุ แม่กใ็ ห้เราไปแวะทีก่ องภาพ“แต่ พ อเราทราบข่ า วการเสด็ จ สวรรคตของพระบาทสมเด็ จ ทางทีมงานจึงท�าจดหมายไปยังส�านักพระราชวัง เพื่อขอพระราชทาน ส่วนพระองค์ ตอนนัน้ กองภาพส่วนพระองค์ยงั อยู่ พระเจ้ าอยูห่ วั เราก็มาประชุมกันใหม่วา่ จะท�าอย่างไรดี เพราะ สกุลไทย พระบรมฉายาลั ก ษณ์ เ พื่ อ ให้ ค นไทยได้ ช มพระบารมี ท่ า นก็ ไ ด้ มี ในวังสวนจิตรลดาฯ ตรงข้ามสถานีวิทยุ อ.ส. ก็ก�าลังจะปิด เลยสรุปว่าจะท�าฉบับสุดท้ายเป็นฉบับชื่อ จารึกไว้ในใจ พระมหากรุณาธิคุณพระราชทานมา” คุณพ่อก็จะพาขับรถไปแวะทีก่ องภาพ พบเจ้าหน้าที่ นิรนั ดร์ เป็นภาคพิเศษ ทีเ่ ป็น สกุลไทย ฉบับอ�าลา นีแ่ หละ โดยเราเพิม่ นรีภพ หรือพีเ่ จีย๊ บ ของน้องๆ ทีมงาน สกุลไทย เล่าให้เราฟังถึงจุดเริม่ ต้น บอกว่ามารับภาพ ก็เลยท�างานไปในตัวด้วย” จ�านวนหน้า พิมพ์ 4 สี กระดาษอาร์ต 48 หน้า ก็จะมีพระราชประวัต ิ ของนิตยสารเพือ่ กลุม่ ผูอ้ า่ นผูห้ ญิงทีเ่ ก่าแก่ของประเทศไทย และทีม่ าของ พระราชกรณียกิจ โดยเราจะท�าในลักษณะของการใช้ภาพเล่าเรื่อง การเริม่ ต้นน�าเสนอเรือ่ งราวของราชวงศ์เพือ่ ตอบสนองเสียงเรียกร้องของ จะเป็นภาพหายากที่ผู้อ่านไม่เคยเห็นมาก่อน เพราะเรามีภาพตั้งแต่ ผูอ้ า่ น ซึง่ ไม่สามารถหาเรือ่ งราวหรือภาพของราชวงศ์ได้งา่ ยเหมือนดังเช่น ฉบับแรกๆ หลังจากนั้นถึงจะเป็นฉบับอ�าลาตามปกติที่เราท�าเอาไว้ ซึ่งจะมีปกอีกปกซ้อนอยู ่ ในยุคปัจจุบัน ดังนั้น ฉบับนี้เราก็ได้ท�าเนื้อหาเพื่อถวายท่าน และได้ท�าเนื้อหาเพื่อเป็นฉบับอ�าลาด้วย” “ปกราชวงศ์ในยุคแรกๆ ของเราก็จะเป็นพระโอรส พระธิดา ซึ่งท่านยังทรงพระเยาว์อยู่ เมื่อถามถึงความรู้สึกในฐานะของคนไทยที่มีต่อในหลวง พี่เจี๊ยบก็ได้เล่าให้เราฟังถึง พอปี 2503 ท่านเสด็จฯ ต่างประเทศ ท่านก็มีพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานรูปมา เราก็ท�า ความทรงจ�าของเธอต่อพระเจ้าอยู่หัวที่มีมาตั้งแต่สมัยเป็นนักเรียน ฉบับพิเศษขึ้นมา ซึ่งท่านก็ทรงพระเมตตามาตลอด 62 ปี ของการท�านิตยสาร สกุลไทย “ความรู้สึกอย่างแรกคือเราก็ปลื้มและเป็นเกียรติแก่ชีวิตที่เราท�างานเพื่อที่จะสนองพระก็ท�าให้เราผูกพันกับสถาบันพระมหากษัตริย์มาตั้งแต่ในยุคแรกเริ่ม” มหากรุณาธิคณ ุ ท่านมาตัง้ แต่เล็กๆ แล้วพอได้มาเป็นบรรณาธิการ ได้นา� เรือ่ งราวของพระองค์ทา่ น นอกจากภาพพระราชทานจากราชวงศ์แล้ว ทางนิตยสาร สกุลไทย ก็ยังพยายามคัดสรร เสนอต่อประชาชน แล้วเราเรียนจบจากจิตรลดา ก็ได้เห็นพระองค์ท่านตั้งแต่เรายังเล็กๆ เรื่องราวที่เจาะลึกกว่านั้นมาให้กับผู้อ่าน โดยได้เปิดคอลัมน์ให้กับผู้ที่ใกล้ชิดกับราชวงศ์ แล้วน�า ช่วงเย็นๆ ท่านจะมาทรงกีฬาที่โรงยิมของโรงเรียน เราก็ได้เข้าเฝ้าท่าน ยิ่งได้มาอ่านเรื่องราว เรื่องราวในมุมที่น่าประทับใจมาถ่ายทอดให้กับผู้อ่าน ที่ผู้ใกล้ชิดเขียนถึงพระองค์ท่าน เราก็ยิ่งได้รู้ว่าท่านทรงงานหนักมาก รวมถึงแง่มุมอื่นๆ ที่ท่าน “เราคุ้นเคยกับผู้ที่ใกล้ชิดพระองค์ท่าน เช่น นางสนองพระโอษฐ์ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ ใช้ชีวิตเหมือนคนทั่วไป เราก็ประทับใจมาก มีอยู่ครั้งหนึ่งเคยได้ตามเสด็จสมเด็จพระนางเจ้าฯ เขาก็จะมีเรือ่ งราวของพระองค์ทา่ นในอิรยิ าบถ ในจริยวัตรต่างๆ คนอ่านก็อยากรูเ้ รือ่ งราวเหล่านี้ ไปสอนหนังสือเด็กๆ ที่ปราณบุรี แล้วน�าเรื่องกลับมาเขียน ซึ่งเราก็เห็นพระบาทสมเด็จของพระองค์ท่าน ว่าชีวิตปกติของพระองค์ท่านเป็นอย่างไร เราก็เลยขอเรื่องจาก ท่านผู้หญิง พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ ท่านใกล้ชิดกับประชาชน เป็นภาพที่เราประทับใจ มณีรตั น์ บุนนาค ซึง่ เป็นนางสนองพระโอษฐ์ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ ท่านผูห้ ญิงมณีรตั น์กเ็ ขียน ซาบซึ้ง การที่เราได้ท�างานเพื่อให้คนได้รับทราบว่าพระองค์ท่านท�าอะไร ดิฉันคิดว่ามันเป็น เรื่องมาลงใน สกุลไทย ใช้นามปากกว่า ‘หิ่งห้อย’ ที่เปรียบเหมือนหิ่งห้อยตัวเล็กๆ ที่ติดตาม การท�างานที่มีค่ามากมายมหาศาลมาก” พระองค์ท่านไปน่ะค่ะ จากความใกล้ชิดตรงนั้นจึงท�าให้เราได้เห็นเรื่องราวมากมาย ได้เห็น พระจริยวัตร พระอิริยาบถต่างๆ ที่ท�าให้เราประทับใจ”


Thewin Chanyawong ช่างภาพผู้ติดตามถ่ายภาพพระราชกรณียกิจนานร่วม 40 ปี คุณเทวินทร์ จรรยาวงษ์ อดีตช่างภาพที่ติดตามถ่ายภาพพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มายาวนานร่วม 40 ปี มาตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2516 นอกจากมีโอกาส ได้ถ่ายภาพพระองค์ท่านจ�านวนนับไม่ถ้วนแล้ว เขายังมีความทรงจ�าอันน่าประทับใจ ในพระจริยวัตรขณะที่ทรงงานมาเล่าให้พวกเราฟังอีกด้วย


The Art of Love

งานศิลปะทีศ่ ลิ ปินรับเชิญของเราสร้างสรรค์ขนึ้ โดยมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงเป็นแรงบันดาลใจ ผลงานศิลปะที่อุทิศให้กับ พระมหากษัตริยอ์ นั เป็นทีร่ กั ยิง่ ของคนไทยทัง้ ผอง ตลอด 70 ปีที่ผ่านมา และจากนี้ตลอดไป




ติโต ความทรงจ�า ในบทเพลง พระราชนิพนธ์

ภาพวาดของ สุรเดช แก้วท่าไม้ เป็นการใช้เทคนิคการวาดรูปด้วยสีอะคริลิก ผสมทองค�า โดยได้รับอิทธิพลมาจาก อันโฟนส์ มูคา ศิลปินชาวเช็กที่ท�างานศิลปะ แนว Art Nouveau โดยงานชิน้ นีเ้ ป็นผลงานล่าสุดทีเ่ ขาวาดพระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยมีจุดหมายเดียวกับ คนไทยทุกคนคือ การระลึกถึงพระองค์ท่านที่ผูกพันกับพวกเรามาอย่างยาวนาน


ในหลวงท่านก็ยงั ทรงเดินอยูน่ �าหน้าขบวน “ตอนที่ เ ริ่ ม ต้ น ถ่ า ยภาพพระราชแสดงให้เห็นว่าพระองค์ทรงเตรียมพระวรกาย กรณียกิจเมือ่ ประมาณ 40 ปีทแี่ ล้ว ผมเป็น มาเป็นอย่างดีเยี่ยมเพื่อปฏิบัติพระราชหั ว หน้ า ช่ า งภาพอยู ่ ที่ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ กรณียกิจ รวมถึงข้าราชบริพารที่ติดตาม The Nation โดยเราเริ่ ม ต้ น ถ่ า ยภาพ ใกล้ชิดด้วยก็เช่นกัน ทั้งหมดนี้ก็เพื่อจะได้ พระองค์ท่านจากงานพิธีต่างๆ ก่อน เสด็จพระราชด�าเนินไปเยี่ยมเยือนราษฎร “ช่วงนั้นเป็นช่วงเวลาที่ทรงขึ้นครองได้ ใ นทุ ก พื้ น ที่ ไ ม่ ว ่ า จะต้ อ งทรงล� า บาก ราชย์ แ ละทรงงานมาได้ น านมากแล้ ว The Most พระวรกายขนาดไหนก็ตาม” แต่ ง านที่ ท รงเน้ น มากๆ เวลาเสด็ จ ฯ Memorable เมื่อถามถึงเรื่องช่วงเวลาประทับใจ ต่ า งจั ง หวั ด คื อ เรื่ อ งวิ ถี ชี วิ ต ของชาวเขา Moment เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมี ทางภาคเหนือ ซึ่งในช่วงเวลานั้นไม่ว่าจะ พระราชปฏิสนั ถารกับราษฎรนัน้ คุณเทวินทร์ เป็นดอยตุง ดอยปุย ดอยอ่างขาง นั้นมี ได้ยกตัวอย่างเวลาที่เสด็จพระราชด�าเนิน ชาวเขาที่ปลูกฝิ่นกันเยอะมาก “รู ป นี ถ ้ า ่ ยในวั น เดี ย วกั บ ที เ ่ สด็ จ ฯ ไปที พ ่ ระราชวั ง ไปยังภาคใต้ “จ�าได้ว่าเวลาที่จะตามเสด็จท่านขึ้น ไกลกั ง วลเพื อ ่ ทรงเรื อ ใบและมอบถ้ ว ยรางวั ล ให้ ก บ ั “เนื่องจากประชาชนในภาคใต้ ปลูก ไปบนภูเขา ก็จะเสด็จพระราชด�าเนินด้วย การแข่งขันเรือใบ หลังจบพิธีผมเดินออกมาจาก ผลไม้กันเยอะ เวลามีโอกาสได้รับเสด็จ เฮลิคอปเตอร์ประจ�าพระองค์ซงึ่ เป็นเครือ่ ง เต็นท์แล้วพบกับพระองค์ทา่ นทีเ่ สด็จพระราชด�าเนิน ก็มักจะน�าผลไม้มาถวายกัน เวลาท่าน Bell 412 ที่ทางกองทัพอากาศจัดถวาย ผ่านมาโดยไม่มผี ตู้ ดิ ตามเลย เมือ่ เห็นผมเข้าก็ตรัส พู ด คุ ย กั บ ประชาชนก็ จ ะไม่ ไ ด้ ท รงถาม พระองค์ท่านโปรดให้ใช้สีฟ้าขาว ท�าให้ กับผมว่า ‘ขอบใจนะทีม่ าช่วยงาน’ ซึง่ ผมก็กม้ หน้า หรอกนะว่าผลไม้อร่อยหรือเปล่า แต่ทรง เวลาบินอยู่บนท้องฟ้าค่อนข้างจะโดดเด่น แล้วตอบกลับไปว่า ‘พระพุทธเจ้าข้า’ เมื่อผม ถามว่า ปลูกอย่างไร ออกผลผลิตดีไหม และแตกต่างจากล�าอื่นๆ อย่างเห็นได้ชัด เงยหน้าขึ้นมาก็ทรงด�าเนินต่อไป ที่ชอบภาพนี้ ใส่ปุ๋ยไหม ใช้ปุ๋ยอะไร น�้าท่าขาดแคลน ซึง่ ก็เป็นเรือ่ งทีน่ า่ แปลกใจ เพราะช่วงเวลานัน้ ก็ เ พราะทรงอยู ่ ใ นอิ ริ ย าบถที่ ผ ่ อ นคลายซึ่ ง เรา หรื อ เปล่ า ซึ่ ง จะเป็ น ค� า ถามที่ เ กี่ ย วกั บ ไม่ว่าจะเป็นภาคเหนือหรือทางภาคอีสาน ไม่ค่อยจะได้เห็นกันสักเท่าไหร่ ส่วนอีกรูปที่ชอบ คือ ภาพทีก่ า� ลังทรงเดินอยูบ่ นคันนา ในภาพนีม้ คี น การหาทางพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ให้ กั บ ก็ยงั มีสถานการณ์กอ่ การร้ายอยู ่ ไม่ได้สงบ อยู่ 3 คน คือ พระองค์ท่านที่ทรงเดินน�าโดยมี ประชาชน เหมือนอย่างทุกวันนี้ แต่พระองค์ก็ทรง กล้ อ งถ่ า ยรู ป และวิ ท ยุ ต ิ ด ตั ว ตามด้ ว ยเจ้ า หน้ า ที ่ “แล้วเวลาที่พูดคุยกับเจ้าหน้าที่ก็จะ เชือ่ มัน่ พระทัยว่าไม่ได้ทรงเป็นศัตรูกบั ใคร ท้องถิน่ และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ซึง่ อาสา ทรงเคร่ ง ครั ด ในสิ่ ง เหล่ า นี้ โ ดยไม่ ท รง พระองค์ทรงมาดีและเสด็จฯ ไปช่วยเหลือ กางแผนที่ให้พระราชบิดา” ประนีประนอม ไม่วา่ จะเป็นเจ้าหน้าทีป่ ระมง ชาวบ้านด้วยความบริสุทธิ์ใจจริงๆ” ป่าไม้ หรือชลประทาน ฯลฯ ประโยคที่มัก เรือ่ งน่าแปลกอีกเรือ่ งคือแม้จะสามารถ จะได้ยนิ บ่อยๆ เวลาทีท่ า่ นตรัสกับเจ้าหน้าที่ เสด็จพระราชด�าเนินโดยเฮลิคอปเตอร์ลงไป ยังพืน้ ทีไ่ ด้โดยตรง แต่พระองค์กลับไม่โปรดให้ทา� เช่นนัน้ กลับรับสัง่ ให้จอดเครื่องเฮลิคอปเตอร์ให้ห่างจากหมู่บ้านของชาวเขาถึง 4-5 กิ โ ลเมตร แล้ ว จึ ง ค่ อ ยด� า เนิ น พระบาทต่ อ ไปยั ง หมู ่ บ ้ า น ในประเด็นนี้คุณเทวินทร์อธิบายให้เราเข้าใจว่า พระองค์รับสั่ง ว่าการที่จะเอาเฮลิคอปเตอร์หลายๆ ล�าลงไปจอดยังหมู่บ้านนั้น อาจจะท�าให้ประชาชนได้รับความล�าบาก “พระองค์ทรงเห็นว่าบ้านเรือนของชาวบ้านในป่าเขาไม่ได้ แข็งแรง ดังนัน้ หากน�าเฮลิคอปเตอร์ไปลงจอดพร้อมๆ กันหลายล�า ก็อาจจะท�าให้ที่อยู่อาศัยของพวกเขาพังเสียหายลงได้ ตรัสว่า พระองค์ไม่ได้อยากจะเอาความทุกข์ไปให้ประชาชน แต่อยากจะ น�าความสุขไปให้มากกว่า” เนื่องจากพระองค์ทรงน�าโครงการในพระราชด�าริไปช่วยแก้ไข ปัญหาอย่างจริงจัง เป็นระยะเวลาติดต่อกันนานหลายปี ท�าให้ ชาวเขาเลิกปลูกฝิ่นในที่สุด จากการที่ได้ตามเสด็จ มีอีกสิ่งหนึ่งที่ ก็คือ ท�าไมท�าไม่ได้ล่ะ อย่าลืมนะว่าเรามาท�าเพื่อพวกเขา เราต้อง คุณเทวินทร์รู้สึกประทับใจเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ท�าให้ได้ เพราะเรามาช่วยเหลือเขา เราต้องท�าให้ได้ เพื่อความสุข พระองค์นี้ก็คือ ของประชาชน เพราะพวกเขารอความช่วยเหลือจากเราอยู ่ และสีหน้า “ในหลวงพระองค์นี้ไม่เหมือนกับองค์ที่อยู่กรุงเทพฯ คือที่ ของพระองค์ตรงหว่างคิว้ เวลาพูดถึงเรือ่ งนี ้ ขณะชีไ้ ปทีแ่ ผนที ่ พระองค์ กรุงเทพฯ ซึง่ เราเห็นตามงานพระราชพิธตี า่ งๆ นัน้ ทรงด�าเนินพระบาท มักจะทรงย่นพระพักตร์เล็กน้อย นีค่ อื สิง่ ทีผ่ มมีโอกาสได้เห็นอย่างชัดเจน ตามปกติ แต่พออยู่ในป่าหรือบนเขาพระองค์จะเป็นคนที่แข็งแรง เพราะต้องคอยส่องกล้องถ่ายรูปซูมเข้าไปเพือ่ ทีจ่ ะถ่ายภาพพระองค์ และทรงเดินได้เร็วมากจริงๆ อย่างตัวผมเองนี่ตามท่านไปทีแรกๆ ก็เห็นท่านทรงคิดแต่เรือ่ งทีจ่ ะท�าประโยชน์ให้กบั ประชาชนอยูต่ ลอดเวลา ยังนึกตกใจว่านี่เดินไกลและล�าบากกันขนาดนี้จริงๆ หรือ “และนีก่ เ็ ป็นเหตุผลว่าท�าไม ผมจึงบอกว่า ขอให้รกั พระเจ้าอยูห่ วั “เคยมีครัง้ หนึง่ ทีน่ ายต�ารวจในพืน้ ทีซ่ งึ่ ติดตามไปด้วยทนเหนือ่ ย พระองค์นี้เถิด เพราะท่านเป็นคนที่เกิดมาเพื่อท�าเพื่อประชาชน ไม่ไหวต้องลงไปนอนกองกับพื้น และอาเจียนออกมาเลย แต่ ชาวไทยจริงๆ”

“ขอให้รกั พระเจ้าอยูห่ วั พระองค์นเี้ ถิด เพราะท่านเป็นคนทีเ่ กิดมาเพือ่ ท�า เพือ่ ประชาชนชาวไทยจริงๆ”


Royal Project

การประมง

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงสนพระราชหฤทัยในงานด้านการประมง มาเป็นเวลาช้านาน พระราชกรณียกิจและพระราชด� าริเกี่ยวกับการพัฒนาการประมง ในด้านต่างๆ ท�าให้การพัฒนาด้านการประมงของประเทศไทยเจริญก้าวหน้ามาอย่าง ต่อเนือ่ ง เป็นคุณประโยชน์อย่างใหญ่หลวงแก่การประมงของประเทศ ทรงมีพระบรมราโชบาย ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการประมง ทั้งในด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้า การพัฒนา การประมงในแหล่งน�้า การอนุรักษ์ทรัพยากรประมง การบริหารจัดการทรัพยากรประมง การส่งเสริมการประมง และการพัฒนาวิชาการและการวิจัยทางด้านการประมง


“…ได้ปล่อยปลามาหลายปีแล้วและปลา ก็เติบโตดี มีการจับปลาร�่ารวยกัน แต่ว่าผู้ที่ร�่ารวยไปไม่ใช่เป็นชาวบ้าน ที่อยู่แถวนี้ เป็นพวกที่เรียกว่า เป็นนายทุนเป็นส่วนมาก ฉะนั้น ถ้าอยากใช้ทรัพยากรในด้าน ประมง จะต้องจัดเป็นระเบียบ ความส�าคัญ ไม่ได้อยู่ที่ว่าปล่อย พันธุ์ปลาให้ดีหรือเลี้ยงปลาให้เติบโตดี ส�าคัญว่าตามธรรมชาติเราปล่อยปลา ลงไปแล้ว มันจะผสมพันธุ์หรือ ไม่ผสมพันธุ์ก็แล้วแต่ แต่ว่ามันก็เติบโตตามธรรมชาติ เมื่อเติบโตมากแล้วก็ ใช้การได้…” พระราชด�ารัส พระราชทานแก่คณะกรรมการบริการ และคณะเจ้าหน้าที่ ของศูนย์การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ ณ โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ อ�าเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527

พระราชกรณียกิจด้านการประมงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช นั บ ว่ า เป็ น การวางรากฐานส� า คั ญ ในการพั ฒ นา การเพาะเลีย้ งสัตว์นา�้ ของไทย และอ�านวยประโยชน์ตอ่ ชีวติ และความเป็นอยู่ ของประชาชนในทุกภูมิภาคของประเทศ พระราชกรณียกิจเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าเริ่มเมื่อกรมประมงแห่งเมืองปีนังได้ส่งปลาหมอเทศ ให้กรมประมงไทยทดลองเพาะเลี้ยงเมื่อปี พ.ศ. 2492 ปรากฏว่าเป็นปลา ที่เลี้ยงง่าย โตเร็ว ทนต่อโรคและขยายพันธุ์ ได้รวดเร็ว เมื่อความทราบถึง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงได้มีพระราชกระแส รับสั่งให้กรมประมงน�าพันธุ์ปลาหมอเทศจ�านวนหนึ่งมาทดลองเลี้ยงใน พระที่นั่งอัมพรสถาน เมื่อปี พ.ศ. 2494 หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2496 ได้โปรดเกล้าฯ ให้ก�านัน ผู้ ใหญ่บ้านจากทั่วประเทศเข้ารับพระราชทาน พันธุ์ปลาหมอเทศที่เพาะพันธุ์ ได้เพื่อน�าไปเลี้ยงแพร่ขยายพันธุ์ ในต�าบล และหมูบ่ า้ นของตนต่อไป พระราชกรณียกิจครัง้ นีน้ บั ว่าเป็นการวางรากฐาน ส�าคัญในการพัฒนาการเพาะเลีย้ งสัตว์นา�้ ของไทย ทีท่ า� ให้ประชาชนคนไทย ได้เรียนรู้และสนใจการเลี้ยงปลาขึ้นอย่างกว้างขวางทั่วประเทศ พระราชกรณียกิจในด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นา�้ ทีส่ า� คัญยิง่ และนับว่า อ�านวยประโยชน์ตอ่ ชีวติ ความเป็นอยูข่ องประชาชนชาวไทยทัว่ ทุกภูมภิ าค คือ พระราชกรณียกิจเกีย่ วกับการเพาะเลีย้ งปลานิล ซึง่ สมเด็จพระจักรพรรดิ อ ะกิ ฮิ โ ตะ เมื่ อ ครั้ ง ทรงด� า รงพระอิ ส ริ ย ยศมกุ ฎ ราชกุ ม ารแห่ ง ประเทศญีป่ นุ่ ได้นอ้ มเกล้าฯ ถวายปลาทิลาเปีย นิลาติกา (Tilapia Nilatica) จ�านวน 50 ตัว แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2508 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปล่อยลงเลี้ยงในบ่อบริเวณ สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต และต่อมาได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขุดบ่อเลี้ยงปลานิลเพิ่มขึ้นอีก 6 บ่อ และได้ทรงย้ายปลานิลจากบ่อเดิม ไปเลีย้ งในบ่อใหม่ดว้ ยพระองค์เอง เมือ่ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2508 ต่อมา ได้พระราชทานชื่อปลานี้ว่า ‘ปลานิล’ และได้พระราชทานลูกปลานิล 10,000 ตัว ให้กรมประมง เพื่อน�าไปเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ที่แผนกทดลอง และเพาะเลี้ยงในบริเวณเกษตรกลางบางเขน กรุงเทพมหานคร และที่ สถานีประมงต่างๆ ทัว่ พระราชอาณาจักร เมือ่ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2509 และได้โปรดเกล้าฯ ให้ขุดบ่อในบริเวณสวนจิตรลดา เพิ่มขึ้นอีก 3 บ่อ รวมเป็น 9 บ่อ กรมประมงได้ด�าเนินการขยายพันธุ์ปลานิลเป็นจ�านวนมาก และได้ แจกจ่ายให้แก่ราษฎรเพื่อน�าไปเพาะเลี้ยงตามพระราชประสงค์ตั้งแต่วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2496 จนถึงปัจจุบันปีละเป็นจ�านวนหลายล้านตัว ในการนีพ ้ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพ ิ ลอดุลยเดช ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้กรมประมงน�าพันธุ์ปลานิลที่เพาะเลี้ยงไว้ ในบ่อบริเวณ สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต สมทบแจกจ่ายให้แก่ราษฎรตามความต้องการของราษฎรอีกเป็นประจ�า ปัจจุบนั นีส้ ถานีประมงและเอกชนสามารถผลิตพันธุป์ ลาชนิดนี้ได้เป็นจ�านวนมาก และได้มกี ารเพาะเลีย้ งกัน อย่างกว้างขวางในทุกภูมิภาค นอกจากนี้การที่ได้มีการปล่อยปลานิลลงแหล่งน�้าต่างๆ ท�าให้ปลานิลกลายเป็นปลาน�้าจืดที่มีความส�าคัญ ทางเศรษฐกิจของไทยชนิดหนึ่ง เป็นการสร้างงานสร้างอาชีพและรายได้แก่ราษฎรทั่วไปในทุกภูมิภาคและเป็นแหล่งอาหารโปรตีนที่มี คุณภาพส�าหรับราษฎรในท้องถิ่น ในปัจจุบันปลานิลในแหล่งน�้าธรรมชาติส่วนหนึ่งมีปัญหาการกลายพันธุ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก็ ได้พระราชทานพ่อแม่พันธุ์ปลานิลจากบ่อสวนจิตรลดาให้กรมประมงเพื่อใช้เป็นหลักในการควบคุมพันธุกรรม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ส่งเสริมสาธิต การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าในโครงการพระราชด�าริต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ในทุกภูมิภาค และได้โปรดเกล้าฯ ให้มีการวิจัยพัฒนาทางวิชาการ ด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นา�้ และสาธิตให้ราษฎรทีส่ นใจตามศูนย์ศกึ ษา การพัฒนาอันเนือ่ งมาจากพระราชด�าริในทุกภูมภิ าค ท�าให้การพัฒนา การเพาะเลีย้ งสัตว์นา�้ ของประเทศไทยได้พฒ ั นาก้าวหน้าไปอย่างมาก นอกจากนี้ยังทรงมีพระราชด� าริให้ก่อสร้างอ่างเก็บน�้ าและฝาย ในพื้นที่ที่ประสบปัญหาความแห้งแล้งหรืออุทกภัย และเนื่องจาก ทรงตระหนั ก ว่ า สั ต ว์ น�้ า เป็ น อาหารโปรตี น ที่ ส� า คั ญ ของราษฎร ในท้องถิ่น จึงโปรดเกล้าฯ ให้มีการพัฒนาการประมงในแหล่งน�้า ควบคู่ไปด้วยในทุกๆ แห่ง โดยด�าเนินการพัฒนาทรัพยากรสัตว์น�้า ในแหล่งน�้าด้วยการปล่อยพันธุ์สัตว์น�้า และการจัดการทางด้าน การประมงควบคู่กันไป ในแหล่งน�้าธรรมชาติก็ ได้มีพระราชด�าริ ให้ด�าเนินการพัฒนาการประมงให้เป็นแหล่งขยายพันธุ์ปลาและ ส่งเสริมให้ราษฎรใช้ประโยชน์และด� าเนินการจัดการการประมง เพื่อให้ราษฎรได้รับประโยชน์จากปลาในแหล่งน�้าอย่างแท้จริง จากแนวพระราชด� า ริ ดั ง กล่ า ว ก่ อ ให้ เ กิ ด โครงการสนอง พระราชด�าริเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งน�้าขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ เพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากร ประมง โดยมีการก�าหนดนโยบายส่งเสริมการปล่อยสัตว์น�้าชนิดต่างๆ โดยเฉพาะพันธุ์ปลาชนิดที่เหมาะสมลงในแหล่งน�้าเหล่านี้ เพื่อให้เกิด การทดแทนส่วนที่ถูกน�าไปใช้และฟื้นฟูทรัพยากรประมงให้มีขึ้นอย่างอุดมสมบูรณ์ สามารถใช้เป็นแหล่งประกอบอาชีพประมงของประชาชน และในการเสด็จพระราชด�าเนินแห่งใดที่มีแหล่งน�้าสาธารณะ พระองค์จะทรงปล่อยพันธุ์ปลาลงในแหล่งน�้าเพื่อแพร่ขยายพันธุ์ เป็นประโยชน์ ต่อราษฎรสืบไป


Writer วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เราทราบข่าวการสวรรคตของพระองค์ระหว่างที่ท�างานอยู่ ในกองบรรณาธิการ ที่นี่ก็เป็นเช่นเดียวกับที่อื่นๆ มวลแห่งความโศกเศร้าได้แผ่ปกคลุมหัวใจ ทุกดวง เราได้เห็นน�้าตา ความเศร้าสลด และความสับสนอย่างชัดเจน จนดูเหมือนว่าสติ จะเป็นสิ่งสุดท้ายที่ยังรั้งให้พวกเราท�าหน้าที่ของเราต่อไป แล้วเราก็พบว่าตัวเองก�าลังใช้ชีวิตอยู่ในช่วงเวลาส�าคัญที่จะถูกจารึกไว้ ในประวัติศาสตร์ ไทย เหตุการณ์ที่จะบรรจุอยู่ในแบบเรียนให้คนรุ่นต่อๆ มาได้ศึกษา แต่วันนี้ เราอยู่ในฐานะ ผู้เล่าเรื่องคนหนึ่ง เรื่องที่จะมีคนได้อ่านและเล่าต่อกันไปอีกไม่รู้กี่คน หากความโศกเศร้าครั้งนี้จะท�าให้เราตระหนักอะไรได้บ้าง มันคงไม่ใช่เพียงแค่การรับรู้ว่า เราสูญเสียพระมหากษัตริยพ ์ ระองค์หนึง่ ไป แต่คอื บทบาทใหม่ในชีวติ นับจากนี้ ที่ได้เป็นส่วนหนึง่ ในการถ่ า ยทอดเรื่ อ งราวและ ค�าสอนของพระองค์ดว้ ยความภาคภูมใิ จอย่างสูงสุด ทีค่ รัง้ หนึง่ เราได้มีชีวิตอยู่ในแผ่นดินของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ข้ า พระพุ ท ธเจ้ า นางสาว กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ภาพโดย วลัช อัมพะวัต

Writer “คนเราอยู่คนเดียวไม่ได้ จะต้องอยู่เป็นหมู่คณะ และถ้าหมู่คณะนั้นมีความสามัคคี คือเห็นอกเห็นใจ ซึ่งกันและกัน ช่วยเหลือในทุกเมื่อ ช่วยกันคิดว่าสิ่งใด ควร สิ่งใดไม่สมควร สิ่งใดที่จะท�าให้น�ามาสู่ความเจริ ญ ความมั่ น คง ความสุ ข ก็ ท� า สิ่ ง ใดที่ น� า มา ซึ่ ง หายนะหรื อ เสี ย หายก็ เ ว้ น และช่ ว ยกั น ปฏิ บั ติ ทั้งหน้าที่ทางกายทั้งหน้าที่ทางใจ” (พระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช ในพิธีพระราชทานธงประจ�ารุ่น ลูกเสือชาวบ้าน จังหวัดสระบุรี เมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2519) แก่นในพระราชด�ารัสของพระองค์ คือสิ่งล�้าค่า ที่ส่งต่อให้แก่กันได้ง่ายที่สุด ข้าพระพุทธเจ้า นายปริญญา ก้อนรัมย์

Writer

With All Our Hearts

ช่วงฤดูใบไม้ผลิปี 2013 ฉันอยู่ที่เมืองบอสตัน ในวันที่ บรรยากาศอวลไปด้ ว ยความเศร้ า สลดจากการสู ญ เสี ย ในเหตุระเบิดที่เกิดขึ้น ณ งานบอสตัน มาราธอน ทั้งเมือง ตกอยู่ในความตื่นตระหนกและหวาดหวั่น “ฉันอยากกลับบ้าน” ฉันคิดขณะมองผู้คนที่เดินขวักไขว่ ผ่ า นไปมา จนสายตาไปกระทบเข้ากับแท่นหินที่ตั้งโดดเด่น อยู่กลางจัตุรัสเล็กๆ “นั่นไงจัตุรัสของในหลวง” เสียงเพื่อน กระซิบแผ่วเบา ฉันก้าวเท้าเข้าสู่ King Bhumibol Adulyadej of Thailand Square แม้เพียงแรกเห็นพระนามที่สลักจารึกไว้ ก็รู้สึกอบอุ่นใจและปลอดภัยอย่างประหลาด ราวกับได้ก้มลง กราบพระองค์ ที่ ป ระทั บ อยู ่ ต รงหน้ า น�้ า ตารื้ น ขึ้ น มาด้ ว ย ความตื้นตันและปีติ “ตอนนี้ อ ยู ่ ที่ จั ตุ รั ส ของในหลวงนะ” เสี ย งเพื่ อ นคนเดิ ม กระซิบแผ่วเบาข้ามน�้าข้ามทะเลมาจากประเทศสหรัฐอเมริกา พร้อมส่งภาพที่ท�าฉันน�้าตาไหลริน ช่อดอกไม้นับร้อยนับพันตั้งเรียงราย พร้อมกับผู้คนมากมายที่หลั่งไหลมาร่วมไว้อาลัย ให้กับการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ ณ สถานที่พระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผู้เป็น ‘มิ่งขวัญ’ ของชาวไทย ไม่ว่าจะใกล้หรือไกลก็ตาม ข้าพระพุทธเจ้า นางสาวมิ่งขวัญ รัตนคช

ด้วยความซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณ เป็ น ล้ น พ้ น อั น หาที่ สุ ด มิ ไ ด้ ที ม งาน a day BULLETIN ขอร่วมน้อมร�าลึกแสดงความอาลัย ต่ อ การเสด็ จ สวรรคตของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวอันเป็นที่รักยิ่งของปวงพสกนิกร ชาวไทย


ขอน อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ข าพระพ�ทธเจ า เดอะ โมเมนตัม


The Artist Talks

เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี

Suradej Keawthamai สุรเดช แก้วท่าไม้ ผลงาน : ติโต ความทรงจ�า ในบทเพลงพระราชนิพนธ์


เมื่อ สุรเดช แก้วท่าไม้ ศิลปินรุ่นใหญ่ที่เราคุ้นเคยกับงานวาดภาพ พระบรมฉายาสาทิ ส ลั ก ษณ์ จ ากในหน้ า นิ ต ยสาร พลอยแกมเพชร ปฏิทินปีใหม่ และผลงานภาพวาดที่มีต่อเนื่องมากว่ายี่สิบปี บอกกับเรา ถึ ง แรงบั น ดาลใจในการวาดภาพ ‘ติ โ ต ความทรงจ� า ในบทเพลง พระราชนิ พ นธ์ ’ นี้ ขึ้ น มา เพลงพระราชนิ พ นธ์ ที่ ชื่ อ เทวาพาคู ่ ฝ ั น ก็เหมือนจะดังขึ้นมาในความรู้สึก “ตอนที่ ผ มยั ง เป็ น เด็ ก ที่ บ ้ า นของผมไม่ มี โ ทรทั ศ น์ มี แ ต่ วิ ท ยุ ทรานซิสเตอร์ ซึง่ พ่อของผมจะเปิดเพลงฟังเป็นประจ�า พอเข้าสูช่ ว่ งเดือน ธันวาคมของทุกปี รายการวิทยุก็จะน�าเพลงพระราชนิพนธ์มาเปิดกัน ผมก็นั่งฟังเพลงของพระองค์ท่านคลอไปกับบรรยากาศเย็นๆ ริมแม่น�้า ของจังหวัดสมุทรสาคร ซึง่ ความสุขนีก้ ซ็ มึ ซับเข้ามาโดยไม่รตู้ วั เพลงพระราชนิพนธ์ของท่านเปรียบดังเสียงลมหายใจของท่านที่อยู่คู่กับวิถีชีวิต ของคนไทย “ผมวาดรูปนี้ขึ้นจากต้นแบบที่เราคุ้นตากันดี คือตอนที่ท่านก�าลัง ทรงเปียโน มีแมวนัง่ อยูด่ า้ นบน ซึง่ แมวตัวนีค้ อื ติโต เป็นแมวของสมเด็จย่า ผมก็อยากสือ่ สารผลงานนีผ้ า่ นเพลงพระราชนิพนธ์ของท่าน โดยให้ตโิ ต เป็นผู้ที่อยู่กับพระองค์ท่านตั้งแต่ตอนที่ทรงเริ่มแต่งเพลง และถือเป็น คนแรกที่ได้ยนิ เพลงนี้ โดยโน้ตเพลงในภาพคือเพลง เทวาพาคูฝ่ นั โดยอิง จากช่วงเวลาของภาพถ่ายทีท่ า่ นก�าลังทรงเปียโน ซึง่ เพลงนีแ้ ต่งขึน้ มาใน ช่วงเวลาใกล้เคียงกันที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โดยใช้ทองค�ามาเป็น ส่วนประกอบในภาพ ซึ่งทองค�าในงานภาพวาดของไทยจะให้ความรู้สึก ยิ่งใหญ่ สูงค่า และผมถือว่าภาพนี้ ไม่ใช่ภาพแทนความรู้สึกของผม แต่เป็นความรู้สึกของคนไทยทุกคนที่เราร่วมกันระลึกถึงท่าน รักท่าน มีความทรงจ�าทีง่ ดงามต่อท่าน” ถึงจะเตรียมใจเอาไว้มานานแค่ไหนก็ตาม แต่เมื่อถึงเวลาจริงๆ ข่าว ในคืนวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ก็ท�าให้ชายที่มีความจงรักภักดี ต่อพระองค์ทา่ นคนนีถ้ งึ กับเก็บกลัน้ ความเสียใจเอาไว้ ไม่อยู่ ต้องระบาย ความรู้สึกเจ็บปวดที่อยู่ภายในตัวออกมาด้วยผลงานที่ชื่อว่า ‘ร้องไห้ ในม่านหมอกธุมเกตุ’ (ภาพที่เขาวาดในหน้าตรงข้าม) “วันนัน้ สิง่ ทีเ่ ข้ามาปะทะตัวผมคือความรูส้ กึ ทีจ่ กุ อยูใ่ นอก พูดอะไรไม่ออก หายใจไม่ทั่วท้อง ผมเหมือนกับเป็นขี้ผึ้งที่ถูกไฟลนค่อยๆ หลอมเหลว ลงไปอย่างช้าๆ จนเสียรูปทรง ต้องขอเวลาไปตั้งสติ และท�าสมาธิอยู่ สั ก พั ก เพื่ อ ให้ ตั ว เองกลั บ มายื น ขึ้ น ใหม่ ภายนอกอาจจะไม่ มี น�้ า ตา แต่ในใจผมนัน้ ร้องไห้อยูล่ กึ ๆ ข้างในจนต้องหาวิธรี ะบายความเศร้าโศกนี้ ออกมา “ผมวาดภาพ ‘ร้องไห้ ในม่านหมอกธุมเกตุ’ ขึน้ มาโดยอยากสือ่ สาร ถึ ง ในหลวงรั ช กาลที่ 9 โดยไม่ ผ ่ า นพระบรมฉายาลั ก ษณ์ ข องท่ า น เพื่อแสดงความรู้สึกที่อัดอั้นอยู่ในใจของผม ดังนั้นผมจึงใช้ตัวแทนเป็น ผู้ชายที่นุ่งผ้าสีด�าก�าลังร้องไห้คร�่าครวญ และเป็นการแทนความหมาย ของประชาชนที่ ก� า ลั ง ร�่ า ไห้ ด ้ ว ย ซึ่ ง ฉากหลั ง เป็ น พระราชวั ง ดุ สิ ต โดยมี ห มอกธุมเกตุเป็นชั้นบรรยากาศ และมีใบโพธิ์สีทองลอยปลิว อยูใ่ นสายลม ซึ่งรูปนี้ผมวาดขึ้นมาช่วงวันที่ 14 ตุลาคม และวาดเสร็จ ใน 7 วัน เป็นการสื่อสารอารมณ์เศร้าของผมที่แน่นจนล้นอยู่ข้างใน ออกมา” ปกติการวาดรูปพระองค์ท่านก็มีความยากมากอยู่แล้ว และถ้าต้อง วาดรูปในช่วงเวลาทีจ่ ติ ใจเศร้าหมองแล้วก็ยงิ่ เป็นความกดดันอย่างมาก แต่ด้วยประสบการณ์ที่บ่มเพาะมาอย่างยาวนาน จึงไม่ได้เป็นอุปสรรค ที่น่าวิตกส�าหรับศิลปินคนนี้หากจะต้องวาดรูปพระองค์ท่านในผลงาน ชิน้ ต่อไปหลังจากนี้ “การวาดรูปพระองค์ทา่ นก็เหมือนกับการเล่นดนตรี ไม่ตา่ งกับเพลง ของโมสาร์ต หรือบีโธเฟน ที่มีนักดนตรีน�าเพลงของพวกเขามาเล่นกัน ทัว่ โลก รูปในหลวงก็มคี นเขียนเยอะ ไม่แปลกทีจ่ ะถูกคนดูจบั จ้องว่าตรงนี้ เหมือนหรือตรงนี้ ไม่เหมือน การวาดรูปของผมจึงใช้แค่ความเหมือน อย่างเดียวไม่พอ ต้องหานัยยะอื่นมาประกอบ แล้วจะท�าให้รูปของท่าน มีความหลากหลายมากขึน้ เพราะในหลวงท่านมีความผูกพันกับคนไทย ใครที่ ว าดไม่ เ หมื อ นนี่ ทุ ก คนดู อ อกหมดเลย ผมได้ วิ ธี ก ารวาดภาพ ของท่ า นมาจาก อาจารย์ จั ก รพั น ธุ ์ โปษยกฤต ซึ่ ง ท่ า นจะไม่ ล อก รูปใดรูปหนึ่งมาแบบตรงๆ คนที่เอารูปมาเขียนแบบตรงๆ นี้จะถูกเพ่งเล็ง มาก อาจารย์จักรพันธุ์จะเอาภาพหลายๆ ภาพมาประกอบให้เป็นภาพ หนึ่งภาพแล้วถึงวาดออกมา ซึ่งนี่เป็นกลไกที่ท�าให้คนดูมองข้ามเรื่อง การจับผิด และรู้สึกว่ารูปสวย มีความหลากหลาย ดังนั้น บางคนก็จะ มองว่ารูปที่ผมวาดนี้ยังไม่เคยเห็นมาก่อน” แม้จะอยู่ในช่วงที่เศร้าโศก แต่ทุกครั้งที่เราถามถึงความประทับใจที่มี ต่อพระองค์ท่าน แววตาที่หม่นหมองของเขาก็กลับเปล่งประกายแห่ง ความปลืม้ ปีตขิ นึ้ มาทันที

“เด็กต่างจังหวัดอย่างผมพอมีโอกาสได้เข้ามากรุงเทพฯ ก็จะตื่นตา ตืน่ ใจกับภาพวาดคัตเอาต์ขนาดใหญ่ตามโรงหนัง ถ้าครัง้ ไหนทีน่ งั่ รถเมล์ ผ่านรูปวาดคัตเอาต์ของในหลวงทีม่ ขี นาดเท่าตึกสามสีช่ นั้ จะรูส้ กึ ตืน่ เต้น มาก ผมจะเอี้ยวคอมองรูปท่านจนคอแทบเคล็ด รูปคัตเอาต์ของท่าน ช่างเป็นความรูส้ กึ ทีย่ งิ่ ใหญ่ตอ่ ตัวผมจริงๆ “พอถึงช่วงวันเฉลิมพระชนมพรรษาผมก็วาดรูปท่าน และได้น�าไป ติดที่หน้าห้องเรียน พอปีต่อมาอาจารย์ก็เอารูปไปติดที่หน้าโรงเรียน ผมวาดรูปท่านมาตั้งแต่เด็ก โดยดูต้นแบบจากธนบัตรใบละสิบบาท ซึง่ การวาดรูปพอร์เทรตของผมนัน้ ถ้าไม่วาดรูปบุคคล ก็จะวาดรูปพ่อแม่ หรือคนทีเ่ ราผูกพัน ซึง่ ก็คอื ในหลวง โดยเฉพาะเวลาทีเ่ ราอยากวาดภาพ อะไรทีเ่ ป็นพิเศษหรือวาดรูปทีเ่ ป็นนิมติ หมายทีด่ สี า� หรับการเริม่ ต้นสิง่ ดีๆ ผมก็จะวาดรูปท่าน ท่านทรงเป็นครูของนักวาดภาพทุกคนก็ว่าได้ และก่อนวาดรูปท่านผมจะเตรียมใจให้พร้อม ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เพื่อจะวาดท่านออกมาให้ดีที่สุด ก่อนวาดรูปก็จะก้มกราบขออนุญาต ท่ า นก่ อ น และไม่ ว างรู ป ท่ า นไว้ บ นพื้ น ซึ่ ง ผมรู ้ สึ ก ว่ า ถ้ า เราแสดง ความเคารพต่อท่านก่อน สิ่งที่เราท� าจะส� า เร็จลุล่วงไปด้วยดี นี่เป็น ความศรัทธาส่วนตัวของผม” การสนทนาของเราจบลงพร้ อ มกั บ โน้ ต ตั ว สุ ด ท้ า ยของเพลง พระราชนิพนธ์ เทวาพาคู่ฝัน ที่อยู่ในหัวค่อยๆ แผ่วเบาลงไป แต่สิ่งที่ยัง คงอยู่ และไม่มีอะไรที่จะมาลบออกไปได้ก็คือ ภาพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ในหลวงอันเป็นทีร่ กั ของคนไทยทุกคน ที่ยังปรากฏเด่นชัดในใจของพวกเราตลอดไป


“...แต่ในสมัยนี้ก็พูดถึงสิทธิและเสรีภาพซึ่งถ้ามาเปลี่ยนมาแปลในสมัยปัจจุบันนี้ เราก็ปรารถนาจะให้ทุกคนมีสิทธิและเสรีภาพเต็มที่ แต่ต้องมาพิจารณาดูว่าเสรีภาพนั้นน่ะคืออะไร ไม่ทราบว่าเคยพูดในที่นี้แล้วหรือเปล่า ว่าเสรีภาพของแต่ละคนน่ะมี มีเต็มที่ทีเดียว แต่ละคนจะท�าอะไรก็ ได้ จะท�าตัวให้เป็นอันธพาลก็ ได้ อยากจะท�าอะไรที่เสียหายๆ ก็ท�าได้ทั้งนั้น แต่ว่ามีหลักอยู่ว่า กรรมเป็นของแต่ละคน แต่ละคนท�ากรรมใด หมายความกระท�าอะไรจะต้องเกิดผลทั้งนั้น ผลจะดีถ้าท�ากรรมดี เพราะกรรมดีก็คือท�าสิ่งอะไรมีความรอบคอบแล้วคิดให้รอบคอบ ทีนี้ก็เรื่องเสรีภาพ เราจะท�าอะไรก็ ได้ทั้งนั้นแต่ว่าต้องมีอีกอย่างหนึ่ง คือคนหนึ่งมีเสรีภาพ อีกคนหนึ่งก็มีเสรีภาพเหมือนกัน ถ้าเสรีภาพนั้นมันก้าวก่ายกันจะท�าอย่างไร เหมือนที่ในหอประชุมนี้นั่งกันอย่างหนาแน่น แต่ถ้าคนหนึ่งอยากจะนั่ง หรืออยู่ในที่ที่อีกคนหนึ่งนั่งอยู่ก็ออกจะล�าบาก ไม่ใช่ว่าเกือบจะเกิดทะเลาะวิวาทกัน แต่ว่าเป็นการที่ท�าไม่ได้ เพราะว่าคนหนึ่งจะไปอยู่ในช่องอากาศที่อีกคนหนึ่งอยู่ก็ ไม่ได้ แม้แต่อากาศที่เคยอยู่ในที่ที่เราจะมานั่งก็ต้องหนีไป เราก็เบียดเบียนอากาศไป ให้ ไปที่อื่น จึงมีหลักว่า เสรีภาพของแต่ละคนก็มีการจ�ากัด โดยเสรีภาพของคนอื่นมีอยู่แค่ไหน เราก็จะต้องเคารพเคารพนับถือเสรีภาพของผู้อื่น...”

Royal Speech

พระบรมราโชวาท

พระราชทานแก่คณะนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการเสด็จพระราชด�าเนินไปทรงดนตรี ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันเสาร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2512


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.