adB441

Page 1

TODAY EXPRESS PRESENTS

ISSUE 441 I 18 NOVEMBER 2016


ขอน อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ข าพระพ�ทธเจ า เดอะ โมเมนตัม


ความเจ็บปวดเป็นสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยง หากแต่ความทุกข์เป็นสิ่งที่เราเลือกได้ Pain is inevitable, Suffering is optional. ปีที่ 9 ฉบับที่ 441 วันที่ 18 พฤศจิกายน 2559

Editor’s Note Contents

a day BULLETIN ฉบั บ นี้ จะเป็ น ฉบั บ ที่ 9 หรื อ ฉบั บ สุ ด ท้ า ยในซี รี ส ์ พิ เ ศษที่ เ ราท� า เพื่ อ น้ อ มร� า ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 หลังจากที่พระองค์เสด็จสวรรคตไปเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2559 ซึ่งนับจากวันนั้นเป็นต้นมา อาจกล่าวได้ว่า แม้โลกจะยังเป็นไปเหมือนเดิม พระอาทิตย์ขึ้นและตกทางทิศเดิมวันแล้ววันเล่า แต่ลึกๆ แล้ว เราต่างรู้ดีว่า หัวใจของ พวกเราชาวไทยได้ปรากฏร่องรอยแห่งความเจ็บปวดที่ประทับแน่นไปแล้วชั่วกาลนาน ไม่มีอะไรเหมือนเก่า แม้ทุกอย่างจะดูเหมือนเดิม บางทีความเจ็บปวดก็เป็นแบบนี้ ยิง่ ความเจ็บปวดทีเ่ กิดจากความสูญเสียด้วยแล้ว เราจะรูส้ กึ เหมือนมันถาโถมเข้ามาโดยทีไ่ ม่ทนั ตัง้ ตัว หลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่บางทีก็ไม่จ�าเป็นที่เราต้องทนทุกข์นานเนิ่นจนเกินไป หลายคนพูดตรงกันว่า เริ่มรู้สึกได้ว่าความเงียบเริ่มจะถูกแทนที่ด้วยเสียง ในขบวนของรถไฟฟ้า ตามห้างร้านต่างๆ หรือกระทั่ง พื้นที่สาธารณะทั่วไป ราวกับว่าความนิ่งสนิทถูกแทนที่ด้วยความเคลื่อนไหว ถ้านั่นหมายถึงการฟื้นคืนชีวิตและสติ เชื่อว่าพ่อของแผ่นดินที่จากไป ย่อมยินดีที่ได้มองเห็นภาพนี้อีกครั้งจากที่ใดสักแห่ง ทุกวันนี้ ผู้เขียนมองเห็นชีวิตรอบตัวเหมือนเป็นโลกคู่ขนานกันอย่างบอกไม่ถูก โลกใบหนึ่งเป็นโลกแห่งความทรงจ� า หรือโลกแห่งอดีต โลกใบนั้นเป็นโลกที่ไม่ว่าจะหันไปทางไหนก็ยังเห็นเรื่องราวของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในทุกๆ ที่ ยังเห็นความจงรักภักดีของ พสกนิกรหลากล้นจนอธิบายเป็นค�าพูดไม่ได้ ยังคงเห็นภาพพระบรมฉายาลักษณ์ของพระองค์อยู่รอบตัว เห็นข้อความน้อมอาลัย ในการจากไปของพระองค์ท่าน แต่ในโลกใบนี้เองที่เวลาไม่เคยเดินต่อ มันหยุดนิ่งสนิทอยู่ที่เดิมตั้งแต่คืนวันที่ 13 ตุลาคม 2559 เราสามารถกลับไปในโลกใบนั้นได้เป็นครั้งคราว แต่เราอยู่ในนั้นตลอดไปไม่ได้ เพราะเวลาส�าหรับชีวิตเรายังเดินต่อ คนเรามีนา�้ ตาได้ เมือ่ รูส้ กึ เจ็บปวด เพราะความเจ็บปวดเป็นสิง่ ทีบ่ อกว่าเรายังมีชวี ติ แต่คนเราไม่สามารถมีชวี ติ อยูต่ อ่ ไปในแต่ละวันด้วยการดืม่ กินน�า้ ตาของตัวเอง ส่วนโลกอีกใบเป็นโลกที่ทุกอย่างหมุนไปในอัตราเร่ง ชีวิตด�าเนินไปอย่างเร่งรีบ โดยมีจุดหมายปลายทางอยู่ที่อนาคตที่ดีกว่าเดิม แม้จะไม่รู้ว่าอนาคตนั้นจะมีหน้าตาเป็นอย่างไร แต่เราก็มีความเชื่อว่ามันจะดีกว่าเดิม เราจึงใช้ชีวิตเพื่อวันข้างหน้า และไม่อยากหยุด แม้แต่นาทีเดียวเพื่อที่จะมองย้อนกลับไปว่า เราอยู่ตรงจุดไหนของการเดินทางในชีวิต หรือกระทั่งว่าเรามาถูกทางหรือเปล่า หลายคนเชื่อด้วยซ�้าไปว่า “What’s coming is better than what’s gone” สิ่งที่กา� ลังจะมา ดีกว่าสิ่งที่ผ่านเลยไปแล้ว กระนั้นเราก็ไม่อาจท�าอะไรกับสิ่งที่ผ่านไปแล้วได้มากไปกว่าจดจ�าร�าลึก เก็บไว้เป็นบทเรียนส�าคัญที่จะใช้เรียนรู้ไปตลอดชีวิตที่เหลือ แต่ไม่ใช่ยื้อยุดให้อดีตกลับมาเป็นเหมือนเดิม เพราะสิ่งที่ก�าลังจะเกิดขึ้นต่างหากที่เราต้องตั้งรับและท�าให้ดีที่สุดเท่าที่จะดีได้ เท่าที่เรา จะท�าได้ด้วยความเป็นเราในวันนี้ เราเลือกได้ว่าจะให้อดีตมีผลอย่างไรกับเรา จะเลือกโศกเศร้ากับสิ่งที่สูญเสียไปโดยไม่มีวันได้คืน หรือจะขอบคุณที่ครั้งหนึ่งเราเคยมี อดีตที่ดี ทุกอย่างก็อยู่ที่เรา โหยหาอดีตได้ แต่อดีตมีไว้ให้เก็บ ไม่ได้มีไว้ให้กอด เพราะนั่นจะท�าให้เราไม่มีอ้อมกอดเพียงพอส�าหรับปัจจุบันที่อยู่ตรงหน้า มากไปกว่านั้น... ชีวิตสอนเราซ�้าแล้วซ�้าเล่าว่า ทุกนาทีของชีวิตจะต้องกลายเป็นอดีตไปในท้ายที่สุด ไม่ว่าเราจะต้องการหรือไม่ก็ตาม สิ่งที่น่าเศร้าที่สุดคือ ปล่อยให้ปัจจุบันกลายเป็นอดีตไปโดยไม่ใช้ให้ดีที่สุด เรากลับไปหวนคิดถึงอดีตได้เสมอเท่าที่เราอยากกลับไป แต่ปัจจุบันจะผ่านมาเพียงครั้งเดียว และเมื่อมันผ่านไปแล้วนั่นแหละ เราถึงจะรู้ตัวว่าเราสูญเสียอะไรไปบ้าง อาจต้องบอกตัวเองไว้เสมอด้วยว่า หากวันนี้รู้สึกเหน็บหนาว เราจะอบอุ่นได้ก็ด้วยแสงแดดของวันนี้ ไม่ใช่ของเมื่อวาน ท้ายที่สุดนี้ ผู้เขียนในนามของกองบรรณาธิการนิตยสาร a day BULLETIN ขอขอบคุณผู้อ่านทุกท่านที่ติดตามการท�างานของพวกเรา อย่างเหนียวแน่นมาโดยตลอด นับจากฉบับหน้าเป็นต้นไป เรื่องราวและเนื้อหาในนิตยสารจะด�าเนินไปตามปกติ และเชื่อเป็นอย่างยิ่งว่า การเดินไปข้างหน้าของคนที่เดินจับมือผ่านอดีตอันเจ็บปวดมาด้วยกัน จะเป็นการเดินทางที่เข้าอกเข้าใจ และแข็งแกร่งมากกว่าเดิม วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม บรรณาธิการบริหาร In Memory of Thailand’s Beloved King ประมวลภาพเหตุการณ์ ถวายอาลัยของพสกนิกร ชาวไทยทั่วประเทศ

Interview บทสัมภาษณ์ 6 บุคคล ผู้ส�านึกใน พระมหากรุณาธิคุณ หาที่สุดมิได้

Royal Projects โครงการพระราชด�าริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

The Artist Talks พูดคุยกับ สันติ พิเชฐชัยกุล ศิลปิน ผูส้ ร้างสรรค์ผลงาน ประติมากรรม ‘รอยยิม้ ของพ่อ’

Royal Speech พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช

ทีป่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผูพ ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย บรรณาธิการอ�านวยการ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ บรรณาธิการบริหาร วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม รองบรรณาธิการ วสิตา กิจปรีชา บรรณาธิการบทความ วรัญญู อินทรก�าแหง กองบรรณาธิการ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ มิ่งขวัญ รัตนคช กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ ประสานงาน / นักเขียน ตนุภัทร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ นิติพัฒน์ สุขสวย ช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ภาสกร ธวัชธาตรี วงศกร ยี่ดวง มณีนชุ บุญเรือง บรรณาธิการศิลปกรรม วีระยุทธ คงเทศน์ ศิลปกรรม เอกพันธ์ ครุมนต์ตรี ชยุตม์ คชโกศัย อรณัญช์ สุขเกษม พิสจู น์อกั ษร หัสยา ตัง้ พิทยาเวทย์ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ไม้ลา� ดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภูท่ อง ทศพล บุญคง ทีป่ รึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจิ รรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 09-2964-1635, มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา วาณี กนกวิลาศ 09-5592-9419, มาสสุภา เอี่ยมมงคลศิลป์ 08-5056-0083, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, สุธาวัลย์ สุวรรณสิงห์ 08-1304-7070, ดวงใจ ดวงจังหวัด 08-6802-9996 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ผู้ช่วยผู้จัดการ ณัฐธยาน์ อึ้งตระกูลนิธิศ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ผู้ผลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com เว็บไซต์ www.daypoets.com, www.godaypoets.com นักศึกษาฝึกงาน ชัญญานิษฐ์ ชัยณรงค์สิงห์


In Memory Of Thailand’s Beloved King 8 - 10 November 2016


ภาพ : วงศกร ยี่ดวง, ทรรศน หาญเรืองเกียรติ, ธนัท วิจารณรงค์, Vin Buddy

แม้เวลาจะผันผ่านล่วงเลยจนครบเดือน จากค�า่ คืนมหาวิปโยคของแผ่นดินไทย ที่ต้องสูญเสียพระมหากษตริย์ผู้เป็นที่รัก การแสดงออกซึ่งความจงรักภักดีต่อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ยังคงเกิดขึ้นทุกหย่อมหญ้า พสกนิกร ชาวไทยทุกหมูเ่ หล่ารวมถึงชนกลุม่ น้อยจากทุกแห่งหนภายใต้รม่ พระบรมโพธิสมภาร ยั ง คงเดิ น ทางมาร่ ว มไว้ อ าลั ย อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อ้ อ มแขนของทุ ก คนยั ง กอด พระบรมฉายาลักษณ์แน่น สองมือยังประสานก้มกราบแทบเบื้องพระยุคลบาท ตึกรามบ้านช่องอัญเชิญพระบรมฉายาลักษณ์ขนาดต่างๆ ไว้ปลอบประโลม จิ ต ใจ ทั้ ง หมดนั้ น เพื่ อ น้ อ มร� า ลึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อย่ า งหาที่ สุ ด มิ ไ ด้ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช


Interview


TRUE MEANING OF SUFFICIENCY ในบรรดาคนที่ใช้ชีวิตและท�างานหนักตามแนวทาง พระราชด�าริดา้ นเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 นั้น คนที่เราไม่ควรลืมเลยก็คือ ดร. วิวฒ ั น์ ศัลยก�ำธร ประธานมูลนิธกิ สิกรรมธรรมชาติ ประธานสถาบั น เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง (และอี ก มากมาย หลายต�าแหน่งที่เกี่ยวข้องกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง) โดยทั่วไป ใครๆ ก็รู้จักเขาในชื่อของ ‘อาจารย์ยักษ์’ เราไม่แน่ใจว่า ชือ่ อาจารย์ยกั ษ์นนั้ เกิดจากรูปร่างทีส่ งู ใหญ่ หรือภาพลักษณ์ภายนอกที่ดูดุดัน น่าเกรงขาม แต่นั่น ไม่ ไ ด้ ส� า คั ญ อะไรเลย เพราะตลอดการสนทนาเกื อ บ 1 ชั่วโมง อาจารย์ยักษ์ ไม่ได้มีทีท่าของการดุ หากแต่ เป็ น การพู ด คุ ย ในแบบของครู ที่ พ ร้ อ มจะให้ ค วามรู ้ ตักเตือนด้วยความหวังดี หากจะมีการดุ นั่นก็เพราะ ไม่อยากให้พวกเราท�าในสิ่งที่ผิดไปจากแนวทางที่ควร จะเป็น เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาตามมา หลายคนคงทราบกั น ดี จ ากสื่ อ ต่ า งๆ มากมาย ที่น�าเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับอาจารย์ยักษ์ ในแง่มุมของ คนที่มุ่งมั่น ท�าในสิ่งที่ตัวเองเชื่อ ไม่ว่าคนอื่นจะเห็นต่าง อย่างไร หรือคิดว่าสิ่งที่เขาท�าไร้เหตุผลจนใกล้เคียงกับ ความบ้าแค่ไหนก็ตาม ตัวอย่างหนึ่งก็คือ การลาออก จากต�าแหน่งข้าราชการระดับสูงที่ก� าลังก้าวหน้าเมื่อ 20 ปีทแี่ ล้ว เพือ่ มาปลูกป่า ท�าไร่อยูต่ า่ งจังหวัด ใครมาจ้าง เป็นล้านก็ ไม่ยอมกลับไปท�างานอีกเลย ป่ารก ไร่ที่ไม่มีอะไรเลย ท�าให้คนอื่นสงสัยว่า เขามอง เห็นศักยภาพอะไรในพื้นที่นั้น คนอื่ น บอกว่ า ไม่ มี ท างเป็ น ไปได้ แต่ เ ขามี ลู ก บ้ า มากพอที่ จ ะเชื่ อ มั่ น ในตั ว เองว่ า เขามองเห็ น ทาง... เป็นทางรอดทางเดียวของชีวิตด้วย ใช่ เขายืนยันกับเราว่า เขาบ้า และพร้อมจะบ้าไปกับ คนที่บ้าด้วย แต่บ้าในที่นี้ ไม่ได้หมายความถึงการท�า ในสิ่งที่ไร้เหตุผลอย่างที่คนอื่นคิด หากแต่เลือกท�าในสิ่งที่ จะสร้างความมั่งคั่งและยั่งยืน ท�าในแนวทางของพระราชา ที่เขาย�้าเตือนกับเราตลอดเวลาของการให้สัมภาษณ์ว่า พระเจ้าอยู่หัวท่านทรงงานหนัก และทรงสร้างแนวทาง การด�าเนินชีวิตตามแบบเศรษฐกิจพอเพียงเพราะท่าน รักคนไทยเหมือนลูก และทรงมีพระประสงค์ ให้ลูกๆ ที่อยู่ บนผืนแผ่นดินไทยที่ท่านรัก ได้ ใช้ชีวิตอย่างพอเหมาะ

พอดี มีความสุขอย่างยั่งยืน และยืนได้อย่างมีศักดิ์ศรี... โดยไม่ต้องพึ่งใคร ถ้ า ใครเลื อ กที่ จ ะท� า ในสิ่ ง ที่ คิ ด ว่ า ถู ก ต้ อ ง โดยไม่ หวั่นไหวกับเสียงวิพากษ์วิจารณ์รอบตัว ขอเชิญอ่านบทสัมภาษณ์ต่อไปนี้ ตอนนี้ประชำชนชำวไทยมีควำมรู้สึกคิดถึงพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว รัชกำลที่ 9 และอยำกท�ำอะไร บำงอย่ำงตำมแนวทำงทีพ ่ ระองค์สอน โดยเฉพำะเรือ่ ง เศรษฐกิจพอเพียง ถ้ำวันหนึ่ง จะมีคนลุกขึ้นมำเดิน ตำมแนวทำงเศรษฐกิจพอเพียง อำจำรย์คดิ ว่ำปัญหำ ที่ใหญ่ทสี่ ดุ ทีต่ อ้ งตระหนักถึงคืออะไร ปัญหาคือ คนทัว่ ไป เวลาเห็นคนอืน่ รวย ก็อยากรวย เหมือนเขา เขาปลูกยางรวย ก็พากันปลูกตาม ตอนนีเ้ รา จะเห็นเลยว่ามีกระแสเรือ่ งการท�านาก�าลังมา ต้องมีทนี่ า 3 ไร่ ถ้าใครไม่มี เชย ก็เลยเห็นคนแห่ไปท�านากัน เขาถึง เรียกว่า 3 ไร่ใกล้เกษียณ เพราะคนอยากเกษียณมีรายได้ ปีละ 3 ล้านบาท ต้องท�านา 3 ไร่ เป็นกระแสที่ก�าลังมา และเป็นเช่นนี้ทั่วโลกไม่ได้เป็นเฉพาะบ้านเรา ก็เหมือน ตอนนี้กระแสสตาร์ทอัพก�าลังมาแรง เด็กรุ่นใหม่ก็อยาก ท�าตาม คือเทรนด์มันเป็นแบบนั้น ปัญหาใหญ่ทสี่ ดุ คือ การท�าโดยไม่มคี วามรูใ้ นเรือ่ งนัน้ จริงๆ หลายคนอยากปฏิบตั ติ ามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ค�าถามคือคุณรูจ้ กั ค�าว่าพอเพียงจริงหรือเปล่า และรูใ้ นมิติ ที่รอบด้านจริงหรือเปล่า เหมือนคุณอยากจะด�าน�า้ ลงไป ก้นทะเล เพราะเห็นเขาด�าน�้ากัน คุณก็ไปท�าตามเขา แต่คุณรู้หรือยังว่าคุณด�าน�้าลงไป 20 เมตร มีอันตราย อะไรบ้าง คุณไม่เคยศึกษา ไม่มีความรู้จริง นี่คือกระแส ที่ไหลหลากตามกันไปโดยไม่มีความรู้ลึก ถ้าคุณฟัง พระเจ้าอยู่หัวดีๆ พระองค์ท่านใช้คา� ว่า รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง สามค�านี้เป็นค�าที่ทรงใช้บ่อยมาก เช่น กรณี ทีค่ ณ ุ จะเอาเทคโนโลยี GMO มาใช้ในประเทศไทย คุณรู้ ไหมว่าพระเจ้าอยูห่ วั คิดอย่างไรกับเรือ่ ง GMO พระองค์ทา่ น ถามว่า คนไทยหรือชาวนาสิบกว่าล้านคน รู้จัก GMO จริงหรือยัง กับคนทีต่ อ้ งเอามาค้าขาย รวมทัง้ นักวิชาการ รู้จัก GMO แค่ไหน สอง ใช้เป็นหรือเปล่า สาม ดัดแปลง ปรับปรุงได้จริงหรือเปล่า เวลาเกิดปัญหาคุณแก้ไขได้ไหม และสุดท้ายคุณก�ากับมันได้จริงหรือเปล่า ถ้าได้เอามา เลย เทคโนโลยีทุกอย่างมีคุณ แต่ก็ต้องเข้าใจเหมือนกัน ว่าเทคโนโลยีทุกอย่างก็มีโทษ ไฟมีคุณ ถ้าไม่มไี ฟ เราคง กินทุกอย่างแบบดิบๆ แต่ถ้าคุณใช้ไฟไม่เป็นก็อันตราย เขาจึงห้ามเด็กเล่นไฟ เด็กไม่รู้จักอันตราย ก็เหมือนกับที่ คนไทยยังไม่รจู้ กั เรือ่ งบางเรือ่ งดีพอแล้วจะใช้มนั นัน่ แหละ นีค่ อื เทียบเคียงกับกรณีเศรษฐกิจพอเพียง เหมือนกัน เช่น เมือ่ เขาพูดเรือ่ งพอเพียงกัน ก็ไปซือ้ ที่ พอเพียงแปลว่าท�านา แปลว่าประหยัด แปลว่าท�าบัญชี ครัวเรือน คุณแน่ใจเหรอว่านั่นคือสิ่งที่พระเจ้าอยู่หัวคิด พระเจ้าอยู่หัวคิดได้แค่นั้นหรือ นี่คือสิ่งที่คุณต้องศึกษา ให้ลึกซึ้ง ให้รอบรู้ว่าปรัชญาของพระองค์ท่านและสิ่งที่ ท่านพระราชทานให้มีอะไรบ้าง ความพอเพียงมีมิติของ ปรัชญา Philosophy แปลว่า ความรักและความรู้ คนใน ประเทศนี้ยังแยกทฤษฎีกับปรัชญาไม่ออก เอาปรัชญา ไปสอน แปลงปรัชญาไปสูก่ ารปฏิบตั เิ ลย คุณว่าถูกหรือผิด หมำยควำมว่ำ แปลงปรัชญำไปสู่กำรปฏิบัติเลยโดย ไม่ผำ่ นทฤษฎี? ไม่นำ่ จะถูกต้องนะคะ น่ำจะต้องทดลองก่อน ใช่ คุณต้องรูก้ ฎเกณฑ์ หลักการ หรือทีเ่ รียกว่าทฤษฎี ทฤษฎีกค็ อื กฎเกณฑ์และหลักการ คุณรูจ้ กั กฎเกณฑ์และ หลักการของปรัชญานีจ้ ริงหรือเปล่า พอเทียบกับปรัชญา ระบบเศรษฐกิจปัจจุบัน รู้ไหมว่าเหมือนหรือต่างกัน ตรงไหน บางทีกย็ งั ไม่รู้ แยกไม่ออกเลย หรือเอาง่ายๆ ว่า นี่งูสิงหรืองูเห่า งูสิงไม่มีพิษ งูเห่ามีพิษ ใช่ไหม ถ้ายังดู ไม่ออกก็อนั ตราย แล้วเศรษฐกิจพอเพียงก็ไม่ใช่เรือ่ งของ การแข่งขันที่คุณชนะอยู่คนเดียวแล้วคนอื่นเจ๊ง เพราะ คุณสู้ผมไม่ได้คุณก็เจ๊งไป นี่คือหลักของทฤษฎีการแข่งขันเสรีต่างหาก แต่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบอกว่า


ไม่ได้นะ เราต้องดูถงึ คุณธรรมด้วย อย่าเอาแต่ แล้ ว ช่ ว งเวลานั้ น เป็ น ช่ ว งเวลาที่ ลั ท ธิ เรือ่ งแข่งขันอย่างเดียวไม่สนใจคุณธรรมอะไร คอมมิวนิสต์แผ่เข้ามา เยอรมันส่งคนเข้ามา เลย แบบนี้ผิด คุณอย่าเอาแต่แข่ง เพราะ แทรกแซงใน NIDA เอา ศ.ดร. ฮันส์ เข้ามา ปรัชญาโลกทุกวันนีม้ นั เอาแต่แข่งขัน แก่งแย่ง สอนวิ ช าเศรษฐกิ จ ชุ ม ชน เป็ น การสู ้ ร บ กัน พื้นฐานปรัชญาต้องศึกษาว่า อดัม สมิธ ระหว่างลัทธิเสรีนิยมและลัทธิสังคมนิยม ไปลอกใครมา เขาเป็นลูกศิษย์ของ ชาร์ลส์ พระเจ้าอยูห่ วั รูว้ า่ ประเทศไทยจะเป็นสมรภูมริ บ ดาร์วิน ผู้ซึ่งเชื่อเรื่องการแข่งขันเสรี สัตว์โลก ระหว่างสองลัทธินี้ พวกนักเศรษฐศาสตร์ ตั ว ไหนแข็ ง แรงก็ ข ยายพั น ธุ ์ ตั ว ที่ อ ่ อ นแอ ไม่ รู ้ เ รื่ อ งหรอก ฝ่ า ยหนึ่ ง ก็ ภั ก ดี กั บ ลั ท ธิ ไม่มีสิทธิ์ผสมพันธุ์ ขยายพันธุ์ ก็จะโดนล่า เสรี นิ ย ม อี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง ก็ เ รี ย นเยอรมั น แล้วตายไป นัน่ คือปรัชญาของเขา แล้วเขาเขียน มอบตัวเป็นศิษย์ลทั ธิสงั คมนิยมคอมมิวนิสต์ จริยธรรมทางเศรษฐกิจแบบนี้ ให้ประชาชน ต่างใช้ตา� ราคนละเล่ม เอาต�ารา คาร์ล มาร์กซ์ แข่งขันกันเต็มที่ รัฐห้ามเข้าไปยุง่ ปล่อยให้แข่ง มาใช้ตั้งกรมพัฒนาชุมชนขึ้น เพื่อปลุกให้ กันเอง ใครอยูไ่ ด้แสดงว่าคนนัน้ มีประสิทธิภาพ ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง ต่ อ ต้ า นการแพร่ ข ยาย The King แต่จริยธรรมของพระเจ้าแผ่นดินไม่ใช่แบบนี้ อาณานิคมของเสรีนิยม มิฉะนั้นทุนนิยม On My Mind เพราะท่ า นต้ อ งการให้ อ ะลุ ่ ม อล่ ว ยกั น จะครอบง�าทุกชุมชน เป็นการสูร้ บกัน คนไทย ต้องมีคุณธรรม สมมติชาวบ้านเอาบ้านเป็น ไม่เคยรูเ้ รือ่ งนีเ้ ลย เพราะปิดกัน้ ไม่เคยสอน ร้านขายของ พออาศัยอยู่อาศัยกิน คุณต้อง เลยตกเป็นเครือ่ งมือมาตลอด แต่พระองค์ “บุ ค ลิ ก ผมเป็ น แบบนี้ อย่าไปท�าเขาเจ๊ง คุณต้องเอื้อเขา ไม่ใช่ว่า มา ท่านรู้ เพราะท่านอยู่สวิตเซอร์แลนด์ ท่านรู้ ผมก็ เ ถี ย งกั บ พระองค์ ท ่ า น คุณยาย มาแข่งกัน คุณยายจะเอาอะไรมาแข่ง ว่าคอมมิวนิสต์คอื อะไร สังคมนิยมคืออะไร แต่พระองค์ท่านสุภาพมาก อยำกทรำบถึงวิธีทรงงำนของในหลวงว่ำ ลั ท ธิ ค อมมิ ว นิ ส ต์ ม าตั้ ง อยู ่ ใ นกระทรวงสิง่ ทีพ ่ วกเรำควรยึดถือเป็นแบบอย่ำงคืออะไร มหาดไทย เข้ามาบุกในประเทศไทย มีอยูท่ กุ ที่ ฟังจนจบ แล้วจึงค่อยอธิบาย คือการศึกษาอย่างรู้จริง ถ้าไม่รู้จริงจะยัง คนกลัวคอมมิวนิสต์อย่างกับอะไร แต่เขาไม่รู้ ว่าถ้าที่พระองค์ท่านพูดมัน ไม่ท�า ค่อยๆ ศึกษาไปก่อน เรียนถูก เรียนผิด ว่าคอมมิวนิสต์อยูข่ า้ งตัวเอง นีค่ อื สังคมไทย ไม่ ดี ก็ อ ย่ า ไปท� า แต่ เ อาไป กระบวนการสร้ า งทฤษฎี ข องท่ า นเรี ย กว่ า แต่พระองค์ท่านดิ้นรน เมื่อเห็นการล่า ลองดูก่อน” qualitative inductive (วิธสี รุปผลเชิงคุณภาพจาก เมื อ งขึ้ น ของสองทฤษฎี ทฤษฎี เ สรี นิย ม การค้ น หาความจริ ง และจากการสั ง เกต) ก็ 230 กว่าปีมาแล้ว ซึง่ ถือก�าเนิดในอังกฤษ ในหลวงประสูตทิ สี่ หรัฐอเมริกา โตทีส่ วิตเซอร์อดัม สมิธ กับ วอลต์ วิตแมน รอสโทว์ เป็น แลนด์ ท่านมีเพื่อนทั่วโลกนะ ศาสตราจารย์ ดอกเตอร์บ้านเรา ผู้น�า จากนั้นเราก็เอาทฤษฎี The Stages of Economic Growth ไปเรียนมาแค่เศษหนึ่งส่วนล้านของพระองค์ท่าน แล้วเที่ยว ของรอสโทว์ หรือบันได 5 ขั้นสู่ความมั่งคั่งร�่ารวย มาเขียน ไปอวดเบ่งเหมือนแมงป่อง แล้วชาวบ้านชาวนาก็เจ๊งฉิบหายกันหมด แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พระองค์ท่านรู้ ถ้าเดิน แต่พระองค์ทา่ นรู้ พระองค์ทา่ นอ่าน ท่านรูว้ า่ ศาสตราจารย์คนไหน ตามนี้ ชาวนา ชนบทจะล่มสลายไม่เหลือ ท่านจึงลุกขึน้ มาปลุกระดม พูดผิด พูดมั่ว ท่านบอกว่า เราไม่อยากเป็นประเทศก้าวหน้า ชาวนาด้วยพิธีจรดพระนังคัล-แรกนาขวัญ เพื่อปลุกใจให้ชาวนา อย่างมาก เพราะถ้าคุณวัด GDP ตามเกณฑ์มาตรฐาน ประเทศไทย อย่าทิ้งนา ฟื้นฟูประเพณี ลงพืน้ ที่ ลุยท�างาน เดินทางไปในพืน้ ที่ จะอยู่อันดับที่ 31 คือมี GDP ราว 370,000 ล้านดอลลาร์ฯ ดังนั้น ชนบท นัน่ คือความพยายามสู้ พระองค์ท่านดิ้นรนที่จะหลุดจาก ถ้าเราไปท�าแบบคน GDP 17 ล้านล้านดอลลาร์ฯ มันก็เหมือน หายนะของสองทฤษฎี ที่ จ ะเข้ า มายึ ด ท่ า นก็ ท รงท� า ไปด้ ว ย คนละโลกกัน ท่านเลยบอกให้ท�าแบบคนจน ท�าแบบคนทีม่ ี GDP จิตวิญญาณที่รักคนไทย รักประเทศไทย ก็เลยมีค�าว่า ‘พออยู่ 370,000 ล้านดอลลาร์ฯ สหรัฐอเมริกา ยุโรป สหราชอาณาจักร พอกิน’ ออกมาเมื่อสัก 30 กว่าปีที่ผ่านมา ตอนนั้นท่านก็ยัง จีน เขาท�าแบบคนรวยได้ ก็คุณลูกเศรษฐี ผมลูกชาวนา แต่ผม ไม่ได้สรุปอะไร ใช้วธิ ที า� ไปก่อน ตามทฤษฎีเชิงคุณภาพ qualitative อยากท�าเหมือนคุณ คุณว่าแค่คิดมันผิดหรือถูกล่ะ? นี่คือสิ่งที่ inductive ท�าเพื่อเก็บเกี่ยวประสบการณ์ แล้วจึงสรุปออกมาเป็น พระเจ้าอยู่หัวเตือนลูกที่ท่านรัก เพราะท่านรักคนไทยทุกคน ทฤษฎี แต่กว่าจะสรุปได้กไ็ ด้นา� ไปทดลองในพันกว่าพืน้ ทีโ่ ครงการ เหมือนลูก ท่านเตือนเสมอว่าอย่าท�าตัวเหมือนคนรวย เศรษฐกิจ แต่คนทัว่ ไปมักจะเข้าใจว่าเป็นเรือ่ งทีท่ รงคิดขึน้ มาลอยๆ พอเพียงแปลว่า เห็นช้างขี้อย่าขี้ตามช้างนะลูก ที่ต้องมีค�าว่าลูก ห้องทรงงานของพระองค์ท่านอยู่ทั่วประเทศ อยู่ตามชนบท ด้วย เพราะท่านรักลูกท่าน ไม่ได้ท�าเพราะอยากได้ศาสตราจารย์ ต่างๆ ทั้งนั้น นี่เป็นวิธีคิดที่มาจากคนละโลกกันเลย ผมเห็น ไม่ได้ท�าเพราะอยากดัง ไม่ได้ท�าเพราะต้องการได้รับการยกย่อง พระองค์ท่านอ่านต�าราหนาๆ ผมก็เลยอ่านตาม ระยะหลัง ท่านทรงท�าเพราะรักลูก เป็นห่วงลูก ผมจึงอ่านความคิดของพระองค์ทา่ นได้ ทฤษฎีของท่านไม่เหมือน กว่ำพระองค์ท่ำนจะสรุปควำมรู้เหล่ำนั้นออกมำเป็นทฤษฎี กับทฤษฎีเหล่านี้เลย ท่านคิดใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง อำจำรย์ซงึ่ เคยท�ำงำนใกล้ชดิ พระองค์ทำ่ น สิง่ หนึง่ ทีส่ นใจ คืออำจำรย์เคยให้สมั ภำษณ์วำ่ กำรท�ำงำนในช่วง พอจะบอกได้ ไหมว่ำ ท่ำนต้องทดลองท�ำอยูก่ ปี่ ี แรกๆ เป็นกำรท�ำงำนแบบลอกต�ำรำต่ำงประเทศ คือเหมือนกับ งานพัฒนาเพื่อสู้กับความเจ็บปวด ความอดอยาก ภัยแล้ง มีควำมคิดทีค่ ำ้ นพระองค์ทำ่ นอยูเ่ หมือนกัน น�า้ ท่วม เกิดมาตัง้ แต่ 50 กว่าปีทแี่ ล้ว ผมจ�าปี พ.ศ. ไม่ได้ แต่ชว่ ง ค้านเต็มๆ เลย ถึงขัน้ เถียงเลย บุคลิกผมเป็นแบบนีผ้ มก็เถียง ก่อนวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 ท่าน กับพระองค์ท่าน แต่พระองค์ท่านสุภาพมากนัง่ ฟังจนจบ แล้วจึง เล่าให้ฟังว่า ดร. เดวิด ร็อกกีเฟลเลอร์ และ ดร. สเตซี เมย์ ค่อยอธิบายว่าถ้าทีพ่ ระองค์ทา่ นพูดมันไม่ดกี อ็ ย่าไปท�า แต่เอาไป มาเข้าเฝ้าฯ จะช่วยวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ลองดูกอ่ น อย่างเรือ่ งโครงการเลีย้ งแพะ ผมจะเล่าย้อนให้ฟงั คือ เลยมาถามพระองค์ทา่ นว่ามีสถิตไิ หม พระองค์ทา่ นบอกประเทศไทย การเลีย้ งแพะ เลีย้ งวัว เป็นวัฒนธรรมของชาวมุสลิม เป็นเหมือน ไม่เคยมีสถิติ เราไม่มวี ชิ าพัฒนาประเทศ เราไม่ร้จู กั ค�าว่าพัฒนา ทักษะความช�านาญของเขาเลย ความช�านาญนี้จะท�าให้เขา เราไม่รู้จักค�าว่าสถิติเพื่อการวางแผน เพราะเมื่อ 50 กว่าปีที่แล้ว ท�างาน และสร้างผลผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถ้าคุณต้องการ คนไทยไม่รู้ ท่านบอก ถ้าอยากรู้ให้ไปหลังกระทรวงธรรมการ เลี้ยงแพะ รีดนมแพะ คุณต้องฝึกฝนอีกเป็นสิบปีกว่าจะทัน (กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารในปั จ จุ บั น ) ไปนั่งคุยกันในร้านกาแฟ ชาวมุสลิม ต่อมาเป็นเรือ่ งตลาดในการรับซือ้ นมแพะ เพือ่ ต่อยอด อย่าไปคุยในที่ประชุม ข้อมูลไม่จริงหรอก คนไทยไม่ค่อยบอก โครงการไปอีก ผมก็เป็นคนไปคุยกับบริษัทในโครงการให้ตั้ง ความจริง ท่านบอกแบบนั้น ต่างประเทศจึงมาตัง้ สถาบันฝึก ศูนย์รบั ซือ้ นม ชาวบ้านจะได้มตี ลาดทีม่ นั่ คง และเพือ่ ให้โครงการ ข้าราชการให้วางแผนชาติ นัน่ ก็คอื NIDA สถาบันที่ผมเรียนจบมา แข็งแรงมากขึน้ ผมก็คดิ ว่าอยากจะให้มที งุ่ หญ้าเลีย้ งสัตว์ 2 พันไร่ ซึง่ สมัยนัน้ ยังตัง้ อยูใ่ นมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีชาวต่างประเทศ พระองค์ท่านบอกว่าที่นี่ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ให้ชาวบ้านท�าตาม มาสอนให้วางแผนเศรษฐกิจ สุดท้ายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ตลาด แต่มีวตั ถุประสงค์เพือ่ รักษาชีวติ ชาวบ้านด้วยการรักษาน�า้ แห่งชาติ ฉบับที่ 1 ชาวต่างประเทศจึงเป็นคนเขียนให้ โดยมี ดิน และป่า ถ้าป่าหมด น�า้ หมด มีที่กี่พันกี่หมื่นไร่ หญ้าก็ไม่ขึ้น คนไทยเป็นลูกมือ ตอนนัน้ เรียกว่า ผังเศรษฐกิจ ท�าแบบอเมริกัน ดังนั้น ความจ�าเป็นอยูท่ ปี่ า่ ถ้าท�าทุง่ หญ้า ป่าก็หมด ถ้าต้องการ


เลีย้ งสัตว์กจ็ ัดที่ไว้ให้แล้ว ชาวบ้านมีคนละ 7 ไร่อยู่ในเขตน�า้ ฝน ให้แพะเดินอยู่ใน 7 ไร่ มีหญ้าเป็นอาหาร แล้วถ้าต้องการปล่อย ก็ปล่อยเข้าป่า 2 พันไร่ แทนที่จะท�าเป็นทุ่งหญ้าอย่างเดียว ก็ทา� เป็นป่าส�าหรับใช้เลี้ยงสัตว์ ซึ่งเราลืมไปว่าในอดีต คนไทย เขมร ลาว เขาก็ใช้วิธีจบั วัวควายมาใช้งาน พอหมดฤดูทา� งานจะปล่อย ขึน้ เขา หากินในป่า พอถึงฤดูท�างาน เขาก็ตามขึ้นไปจับลงมา ไม่จ�าเป็นต้องเป็นทุ่งหญ้า นี่คือเรื่องที่เถียงกันเอาเป็นเอาตาย พระองค์ท่านบอก สัตว์ไม่ได้อยู่กับทุ่งหญ้า ต้องมีป่าก่อน เพราะ ทุ่งหญ้ามีให้ทุกบ้านอยู่แล้ว ผมก็เออ ใช่ จริงของพระองค์ท่าน เท่ำทีจ่ บั ประเด็น เวลำพระองค์ทำ่ นคิดว่ำเรือ่ งนีถ้ กู ก็จะพยำยำม ทดลอง ใช้ระยะเวลำนำนขนำดไหนก็ต้องทดลอง จนกว่ำ จะออกมำเป็ น สิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง แล้ ว ค่ อ ยมำสรุ ป เป็ น ทฤษฎี ทีนกี้ ค็ ล้ำยๆ กันกับทีอ่ ำจำรย์ออกมำท�ำกำรเกษตรของตัวเอง คือท�ำในสิง่ ทีเ่ ชือ่ ว่ำถูก แต่คนอืน่ มองว่ำบ้ำ ใช่ ก็ตอนนั้น ท่านตรัสว่า ‘our loss is our gain.’ ฝรั่งก็งงกัน ทั้งโลก our loss จะ our gain ได้อย่างไร ขาดทุนแล้วจะมีกา� ไรได้ อย่างไร แต่คา� ว่าขาดทุนนัน้ หมายถึงการให้คนอืน่ ผมก็ดา� เนินชีวติ ตามแนวทางของท่าน คือท�าแล้วให้คนอืน่ แบ่งปันคนอืน่ คิดดูวา่ ส�านักงานของผมทุกวันนี้ไม่ต้องเช่าเอง มีลูกศิษย์เช่าให้ เพราะ เขาได้ประโยชน์จากการทีผ่ มท�างานให้ เขาเชิญผมให้เป็นทีป่ รึกษา เขาให้เงินเดือนผมเป็นแสน ผมไม่เอา เขาตกใจมาก ดังนั้น ต่อไปเวลาผมจะท�าอะไร เขาก็จะมาช่วยตลอด นี่คือตัวอย่าง ของการที่เราให้คนอื่นก่อน เวลำทีม่ คี นหำว่ำเรำบ้ำ ใช้วธิ อี ย่ำงไรเพือ่ ก้ำวผ่ำนไปได้ ผมเป็นนักอ่าน ผมอ่านหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า Diffusion of Innovations มีการวิเคราะห์ตัวนวัตกรรมที่เราเอาไปท�า ซึ่งคน บอกว่าเข้าใจยาก ท�าบ้าอะไรอยู่ เพื่อนมารุมด่าเอาเป็นเอาตาย ให้ผมเลิกท�าไร่ ผมเคยถูกจ้างสองล้านเพื่อให้กลับไปรับราชการ ในสมัยที่เงินบ�านาญผมเก้าพันบาท พี่ชายด่าเกือบทุกวัน ไล่ผม ออกจากบ้าน เพราะผมลาออกไปสร้างป่า ท�าไร่ ทุกคนรุมด่า เพราะเขาไม่เข้าใจ แล้วผมก็รู้ว่าสิ่งที่ผมท�าเป็นเรื่องยากที่คนจะ เข้าใจ ก็เห็นป่ารกๆ มันจะมีรายได้ตรงไหน อยูอ่ ย่างไร เขาไม่เข้าใจ หรอก แต่วนั หนึง่ เมือ่ เราพร้อม เราเก็บผัก เก็บสมุนไพรเอามาปรุง แจกเขาสิบบ้าน ปลูกข้าวได้ก็แจกบ้านละสองกิโลกรัม คนได้กิน ก็ติดใจ คุณเชื่อไหม เขาเอาข้าวของเขาสามกระสอบมาให้เรา เพือ่ แลกกับข้าวทีเ่ ราปลูกกระสอบเดียว เขาอยากเอาไปกิน เอาไป ท�าพันธุ์ นีค่ อื สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ จริง ถ้าคุณไม่เคยพิสจู น์ คุณจะไม่เข้าใจ อำจำรย์ทำ� อยูน่ ำนไหม กว่ำคนจะเลิกคิดว่ำบ้ำ 3 ปี แต่บางกลุ่มเขาก็เข้าใจ เพราะเขาไว ผมเชื่อว่าคน ถูกจ�าแนกเป็น 4 กลุ่ม ตามหลักบัว 4 เหล่าของพระพุทธเจ้า แต่ ต่างประเทศ เอเวอเรตต์ เอ็ม โรเจอร์ส ผู้เขียน Diffusion of Innovations แบ่งคนเป็น 5 กลุ่ม คือ Innovators, Early adopters, Early majority, Late majority และ Laggards แปลเป็นไทยตามแบบ ของผมคือ หัวไวใจสู,้ รอดูทที า่ , เบิง่ ตารอคอย, เหงาหงอยจับเจ่า และไม่เอาไหนเลย เราเลือกอธิบายและท�างานกับคนหัวไวใจสู้ ดีกว่า เพราะคนส่วนทีเ่ หลือจะคอยด่าเรา ก็อย่าไปสนใจ เรารูอ้ ยูแ่ ล้ว ว่าพวกนี้เป็นบัวที่รอวันเป็นเหยื่อเต่าปลา และคนกลุ่มเหล่านี้มี สองพวก หนึง่ คือพวกไม่อา่ นหนังสือ ไม่เรียนรูอ้ ะไรเลย อยูไ่ ปวันๆ อีกพวกหนึง่ คือ อ่านมากจนล้นถ้วย เป็นศาสตราจารย์ มีศกั ดิศ์ รีเยอะ จนไม่ฟงั ใคร พวกพระ หมอ ครู ผูร้ พู้ วกนีจ้ ะล้นไปด้วยขยะในสมอง ฉะนัน้ เขาจึงไม่รบั รูส้ งิ่ ใหม่ ก็เป็นพวกบัวใต้ตม ก็อย่าไปยุง่ กับเขา เขามาด่าว่าก็ยิ้มต้อนรับขับสู้ หาข้าวหาน�้าให้กิน อย่าไปเถียง เถียงไปไม่มีประโยชน์ เพราะอย่างไรคุณก็สอนเขาไม่ได้ ท�าใจ ให้ได้อย่างเดียวพอ ส่วนคนประเภทจ้องดูกม็ เี ยอะ คือถ้าเจ๊งก็จะ พูดว่า เตือนแล้วว่าต้องเจ๊ง แต่ถา้ ได้ผลก็จะบอกว่า เห็นไหมเชียร์ ให้ทา� แล้วมันบอกเราตอนไหนวะ (หัวเราะ) ดังนัน้ เราเลือกท�างาน กับคนหัวไวใจสู้ หรือรอดูทที า่ ดีกว่า เพราะถ้าเขาเห็นว่ามันได้ผล เดี๋ยวเขาก็ท�าตามเอง ผมก็เลยเดินทางไปทีละหมู่บ้าน เพราะผม ต้องการคนบ้าอย่างผมแล้วเอามาอบรม พวกนี้เวลากลับบ้าน จะถูกกล่าวหาว่าติดเชื้อบ้าจากอาจารย์ไป ผมก็ถามว่า แล้วคุณ ว่าไงที่เขาหาว่าบ้า เขาตอบว่า ก็ให้มันรู้ไป บ้าก็บ้า เออ แบบนี้ ผมชอบ ผมต้องการแบบนี้แค่คนเดียวก็พอแล้ว ต้องชวนคนบ้า เหมือนกันมาอยู่ด้วยกัน ถ้ามีเยอะขึ้นเรื่อยๆ ก็จะเต็มไปด้วย คนบ้า ตอนนี้มีคนคิดแบบเดียวกับผมประมาณ 4-5 แสนคน พอรวมตัวกันก็บ้าแท้ๆ เลย มีความสุขมาก (หัวเราะ)


เคยคิดไหมว่ำ ถ้ำอำจำรย์ ไม่ตดั สินใจไปบ้ำท�ำไร่ ท�ำสวน กี่ชาติก็ไม่ได้ท�าเลแบบนี้ เอาเงินไปซื้อก็ไม่ได้ เพราะทั้ง คิดว่ำวันนีจ้ ะเป็นอย่ำงไร หมู่บ้านเป็นเขตหวงห้าม เขาสร้างกระต๊อบให้ ผมก็ลาก ผมก็คงเติบโตในสายราชการ ไปที่ไหนก็แต่งชุดเท่ หัวหน้าอุทยานแห่งชาติมาถามว่าผมมีกระต๊อบในเขตหวงห้าม ยืนออกสือ่ แล้วชาวบ้านก็อยูก่ นั ไป เรือ่ งของชาวบ้าน ไม่เกีย่ ว ได้ไหม เขาไม่มีสิทธิ์อนุญาต แต่เขาบอกว่าอาจารย์มาอยู่ กับผม จะไปยากอะไร รับราชการให้เป็นใหญ่นี่เรื่องเล็ก เมื่อไหร่ก็ได้ ผมเชี่ยวชาญ เป็นคนดวงดี เพราะมันเป็นเรื่องของเด็กใคร คุณคิดว่ำนีค่ อื รูปแบบของชีวติ ทีถ่ กู ต้อง วิ่งแค่ไหน เงินมีไหม คือผมเอาใจนายเก่ง ผมรู้ใจนาย นาย ในโลกยุคปัจจุบัน คนไม่รู้ว่าอะไรคือถูกอะไรคือผิด ชอบอะไร แล้วผมเอาใจด้วยงาน ไม่มใี ครสูผ้ มได้ ผมมีฝมี อื แต่ส�าหรับชีวิตผมและครอบครัว ผมว่านี่คือสิ่งที่ดีที่สุด แล้วกำรที่มุ่งมำท�ำไร่ ด�ำเนินตำมแนวทำงเศรษฐกิจ ทีเ่ กิดมาในชาตินแี้ ล้วผมหาได้ มันเป็นเรือ่ ง normative คุณเชือ่ พอเพียง อำจำรย์คดิ ว่ำต้องเสียอะไรไปบ้ำงไหม คุณศรัทธาในเรื่องอะไร คุณก็ว่าเรื่องนั้นถูก ผมไม่ศรัทธา ก่อนหน้านี้ ผมเป็นแค่ทพั พีทแี่ ช่อยูใ่ นหม้อแกง ไม่เคยรูร้ ส ผมก็บอกว่าผิด ดังนัน้ เราไม่ไปตัดสินคนอืน่ เขาอาจบอกว่า ว่าอร่อย แต่พอผมได้ผนั ตัวออกมาท�างานจริงๆ ผมก็ได้รวู้ า่ ผิดก็ได้ แต่ส�าหรับชีวติ ผม เกิดมาชาตินผี้ มได้ขนาดนีผ้ มว่า มันอร่อยจริงๆ แกงหม้อนีโ้ คตรอร่อยเลย ผมเหมือนพระอานนท์ โคตรคุ้มเลย ตายไปไม่ห่วง เป็นคุณค่าที่เป็นสุข เรียกว่า The King ที่ตามพระพุทธเจ้าไปทุกที่ เกาะชายผ้าเหลือง เทศน์ที่ไหน นิรามิสสุข ไม่ตอ้ งมีบา้ นหลังใหญ่ ผมมีเพือ่ นร่วมรุน่ ทีส่ นิทกัน On My Mind ก็ฟัง จ�าได้หมด แต่ไม่เคยได้รับรสของการบรรลุธรรมว่าสุข เขาสร้างบ้านริมแม่น�้าเจ้าพระยา เฉพาะตัวบ้านก็ร้อยล้าน ขนาดไหน ผมอยูใ่ กล้ชดิ พระองค์ทา่ น แต่ไม่เคยรูเ้ ลยว่าสิ่งที่ แล้ว ตกเย็น LINE ตามกัน ทีน่ นั่ มีเหล้า มีผหู้ ญิง ตามประสา พระองค์ท่านสอน ถ้าน�าไปท�าจะเป็นอย่างไร พระองค์ทา่ น เศรษฐี คือสร้างบ้านไว้ให้เพื่อนกินเหล้าเฉยๆ ผมก็ไปดูเขา “ตอนนั้ น ท่ า นตรั ส ว่ า สอนไว้ 4 อย่าง 1. ปรัชญา 2. ทฤษฎี 3. วิธปี ฏิบตั ิ 4. นวัตกรรม ครั้งหนึ่งนะ แล้วรู้สึกว่านี่คือนรกชัดๆ ‘our loss is our gain.’ ฝรั่ง ทุกงานมีนวัตกรรมทั้งนั้น มีสิ่งประดิษฐ์คิดค้นใหม่ทั้งสิ้น ถ้ำนัน่ คือนรก แล้วสวรรค์ของอำจำรย์คอื อะไร ก็ ง งกั น ทั้ ง โลก ขาดทุ น แล้ ว เป็นทฤษฎีใหม่ทั้งหมด ได้ทา� เพือ่ ชาวบ้าน ให้เขามีความสุข เขาทุกข์ยาก โดนไล่ที่ อยำกให้ฝำกไปถึงคนที่ก�ำลังลงมือท�ำอะไรสักอย่ำงแล้ว จะมีก�าไรได้อย่างไร แต่ค�าว่า ยึดที่ โดนสารพัด เราก็ไปแก้ปัญหาให้ แก้ไขได้เขาก็มี ต้องเจออุปสรรค ความสุข เวลาเจอกัน เขาจะมาบอกว่า อาจารย์เดี๋ยวผม ขาดทุ น นั้ น หมายถึ ง การให้ ให้มารวมตัวกัน ท�างานกับคนบ้าด้วยกัน อย่าไปหาคนดี ไปตีน�้าผึ้งมาให้ เอากลับมาให้ทั้งรังตัวผึ้งยังดิ้นอยู่เลย คนอื่ น ผมก็ ด� า เนิ น ชี วิ ต เพราะคนดีจะบอกคุณว่าเลิกบ้าได้แล้ว และจะชวนให้กลับ แล้วน�้าผึ้งมันสดและอร่อยมาก อร่อยที่ใจของเขาด้วย ตามแนวทางของท่าน” มาท�าเหมือนเขา คือคนพวกนัน้ เป็นเหมือนหมาที่หางด้วน มีคนบอกว่ำ มีแค่ปจั จัย 4 ก็พอแล้ว อำจำรย์วำ่ อย่ำงไร ไปแล้ว แล้วมาบอกเราว่าหมาทีไ่ ม่ได้ตดั หางนัน้ ผิด คุณต้อง ไม่ขนาดนั้น ค�าว่าพอไม่ได้แปลว่าต้องหยุดดิ้นรน ไปตัดหางออกจึงจะอยู่ในสังคมได้ สังคมเราเต็มไปด้วย หยุดท�างาน ยกตัวอย่าง ผมเป็นคนขยัน ท�างานตั้งแต่ตีสี่ ความโลภ แล้วเราจะอยู่แบบนั้นหรือ เลิกสามสี่ทุ่ม แต่ท�าผลผลิตออกมาให้คนอื่นไป คือพอในที่นี้ ไม่ใช่พอแล้ว ถำมจริงๆ ว่ำตอนทีท่ ำ� กำรเกษตร อำจำรย์ ไม่ทอ้ บ้ำงหรือ ขี้เกียจ ต้องขยัน เพราะยังมีคนทุกข์เข็ญอยู่ ผมต้องไปช่วยคนอื่น ก็คือสิ่งที่ ท้อสิ ผมไม่ใช่คนที่บรรลุธรรม ผมเป็นคนธรรมดา เวลาท้อ ผมก็หันไปดู พระเจ้าอยู่หัวท�านั่นแหละ เราเห็นพระองค์ท่านท�า เราก็ท�าตาม ไม่เห็นจะต้อง พระองค์ท่าน ท่านท้อเสียที่ไหน เราก็ฟังที่ท่านพูด เดินตามทางของท่าน คิดอะไรมาก พระองค์ท่านรักลูก ไม่ยอมปล่อยให้ลกู อดอยาก คนอืน่ ก็ดแี ต่พดู ชีวิตจะดีเอง คุณคิดว่าชาวบ้านชาวนาพึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ไหม ว่าสังคมเหลื่อมล�้าๆ อย่าดีแต่พูด ลงมาท�าดีกว่า ถ้าลงมือท�าจะช่วยชาวบ้าน ไม่มีทางเลย รัฐบาลทุ่มเงินไปห้าหมื่นล้านบาทเพื่อแก้ปัญหาผลผลิต คุณว่า ได้จริงๆ เป็นแสนคน ถามหน่อยว่า พวกที่ออกมาพูดในทีวีน่ะ เป็นคนที่รู้จริง แก้ได้ไหม มันต้องแก้จากข้างใน จากความรอบรู้ของเขาเองก่อน หรือเปล่า ก็รู้ไม่จริง แก้ไม่ได้ ถ้ารู้จริงก็มาท�าให้ดูสิ หรือคนอยากท�านา หมำยถึงว่ำอยูต่ รงไหน ก็ให้รอบรู้ในเรือ่ งตรงนัน้ เดินตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ผมจะบอกว่ายังไม่ต้องไปท�านาหรอก ถูกต้อง อย่างผมเป็นข้าราชการบ�านาญ ริอ่านจะกลับไปสร้างสรรค์อาชีพ แต่ไปเทีย่ วดูคนทีท่ า� จริง คุยกับเขา ผลลัพธ์ทเี่ ห็นเบือ้ งหลังเป็นอย่างไร รูใ้ ห้จริง พ่อแม่ ครอบครัวเหมือนเดิม แต่ผมมีเจ็ดปากที่ต้องดูแล ภรรยาผมเป็นลูก ก่อน ไม่ใช่เห็นเขาเป็นเศรษฐี เห็นเขามีเครื่องบินส่วนตัว ก็ไปกู้เงิน ลงทุนท�า นายทหารเรือ จะให้ไปอยูท่ อ้ งนาเหมือนผม มันไม่งา่ ย ลูกผมคนหนึง่ เป็นแพทย์ ตามเขา คราวนี้ก็เจ๊ง เป็นหนี้ ล้มละลาย เพราะท�าตามคนอื่น จึงต้องเตือนว่า คนหนึ่งเป็นแอร์โฮสเตส ลูกบอก ท�าไมพ่อล�าบากอย่างโน้นต่อสู้อย่างนี้ เห็นช้างขี้อย่าขี้ตามช้าง เดี๋ยวนี้คนท�านาดัง อยากดังบ้าง เห็นเขามีความสุข มันไม่ไหวหรอก ผมบอก พ่อเป็นลูกชาวนา เขาบอก แต่หนูไม่ได้เป็นลูกชาวนา อยากมีความสุขบ้าง แบบนีม้ นั ไม่ได้ คุณลองไปท�างานกับชาวบ้านดูสิ ท�าได้ไหม หนูเป็นลูกพ่อ เออ ก็จริงของเขา ดังนั้น จึงไม่ง่ายที่จะไปเปลี่ยนคนอื่น แต่ผม กิน อยู่ นอน ท�าแบบเขาได้ไหม เดี๋ยวก็รู้ อยากเปลี่ยน คุณคิดดูว่า ประเทศภูฏาน เขาต้องส่งคนมาเรียนปริญญาตรี เวลำเสิร์ชชื่ออำจำรย์ ดูเหมือนว่ำอำจำรย์จะมีรำงวัลมำกมำย อำจำรย์ 4 ปีกับเราทั้งหมด 4 คน เพื่อจะกลับไประดมวัยรุ่นให้กลับไปท�างานในท้องนา ภูมิใจกับรำงวัลใดทีส่ ดุ คุณรูไ้ หมว่า มีอาชีพมากมายทีอ่ ยูใ่ นท้องนา ในนาไม่ได้มไี ว้ปลูกข้าวอย่างเดียว ผมเอารางวัลเดียวมาแปะที่หน้าอกเท่านั้น เป็นรางวัลเดียวที่ผมภูมิใจ คือ ชาวนาทีป่ ลูกข้าวอย่างเดียวทุกวันนีเ้ อาตัวไม่รอดนะครับ พ่อแม่ผมท�าให้ดเู ป็น เหรียญพระราชทานส่วนพระองค์ ผมออกจากราชการมาแล้วยังมีหมายรับสัง่ ด่วน ตัวอย่าง เขาปลูกกล้วย ปลูกผัก ปลูกหญ้าด้วย ไหนจะบริการให้สังคมอีก ให้เข้าเฝ้าฯ ไปรับ ชีวิตนี้ก็ติดอยู่เหรียญเดียว ไปประชุมสภาผมก็ติดอยู่ เพราะพ่อผมเป็นหมอ เป็นคนผลิตยาด้วย เป็นเภสัชกรด้วย ในเรือกสวนไร่นา เหรียญเดียว เหรียญทีพ่ ระองค์ทา่ นพระราชทานให้พอแล้ว ภูมใิ จ เพราะยีส่ บิ ปี มันมีทุกอย่างให้เรียน พ่อผมมีงานท�าประมาณเจ็ดอาชีพ แล้วส่วนใหญ่เป็น ถึงจะพระราชทานสักครัง้ หนึง่ แต่ผมไม่มคี วามรูว้ า่ เหรียญชือ่ อะไร พูดง่ายๆ คือเป็น อาชีพที่ท�าฟรี ไม่เก็บเงินใคร เพราะมีคุณธรรม พ่อแม่ผมจึงมั่งคั่งมาก แล้วก็ รางวัลทีใ่ นหลวงให้สว่ นตัว แต่รางวัลอืน่ ๆ ผมก็ยนิ ดีกบั ทุกรางวัลทีเ่ ขาให้ ก็ลดหลัน่ ส่งต่อความยั่งยืนมาถึงลูกถึงหลาน เราก็อาศัยบารมีแห่งความดีของพ่อแม่ กันไป คือผมเข้าใจคณะกรรมการที่ถกกันแล้วเอาชื่อผมไปพิจารณาแล้วมอบ เพราะคนเชื่อใจ เหมือนเอ่ยชื่อไปเขาไว้ใจได้ทั้งตระกูล ทั้งหมดนี่คือทุน รางวัลให้ ผมให้เกียรติ ชืน่ ชมคณะกรรมการทีเ่ ห็นคุณค่างานของพระองค์ท่าน แต่คนไม่เข้าใจว่านี่คือทุน คนมองว่าคนเป็นพ่อแม่ที่ต้องให้ที่ดิน ให้เงิน ให้รถ ที่ผมเอามาท�า ผมบอกเลยว่าไม่ใช่งานของผมนะ ผมลอกพระองค์ท่านมา ลูกไว้เป็นทุน พระองค์ทา่ นสัง่ ให้ไปศึกษาบรรพบุรษุ ก็ไปลอกบรรพบุรษุ มา ทีผ่ มคิดเองจริงๆ อย่ำงทีท่ รำบว่ำ ตอนนีม้ เี ทรนด์ในสังคมคือกลุม่ สตำร์ทอัพ ทีส่ ร้ำงเนือ้ สร้ำงตัว มีไม่ค่อยเท่าไหร่ หลักๆ ลอกจากพระองค์ท่าน ลอกจากบรรพบุรุษเป็นหลัก ขึน้ มำเอง ทีห่ ลำยคนอำจจะเข้ำใจผิดว่ำเป็นอำชีพรวยเร็ว อำจำรย์กเ็ คยพูดค�ำว่ำ เวลาลงมือท�าอะไร ผมมีหลักว่า ค่อยๆ ท�าไป ประเมินไป สรุปไป หรือไปดู พอแล้วรวย เลยอยำกถำมว่ำ พอแล้วรวย กับ รวยแล้วพอ อะไรท�ำง่ำยกว่ำกัน ประสบการณ์ของคนอื่นๆ ในอดีต เพราะวันนี้ ไม่มีอะไรท�าแล้วถูกต้อง 100% พอปุบ๊ รวยปับ๊ ไม่วา่ คุณจะอาชีพอะไร แต่ถา้ คุณรอให้รวยก่อนแล้วค่อยพอ ต�าราที่ว่าดีที่สุดในโลก พรุ่งนี้ก็ผิดแล้ว ทุกทฤษฎีมีขอบเขตของเวลา คุณต้อง อีกกี่ชาติถึงจะรวย ใจที่ไม่รู้จักพอจะยิ่งเพิ่ม ยิ่งโลภ โลกทั้งใบยังไม่พอ ต้องไป ข้ามก�าแพงเวลาไปให้ได้ แต่ถา้ ปีหน้าคุณคิดเหมือนเดิม ท�าเหมือนเดิม ผมว่าคุณ เอาดวงจันทร์ ดาวอังคาร คุณไม่มีทางพอหรอก แต่เมื่อไหร่ที่พอ มันก็พอเลย มีปัญหาแล้วนะ เพราะลองดูตัวเองสิ คุณอายุ 20 ปี กับคุณอายุ 40 ปี คุณจะ คุณไปดูทนี่ อนผม คุณจะรูเ้ ลยว่านีค่ อื กระต๊อบชัดๆ ท�าไมผมบอกพอ เพราะเวลา ท�างานหามรุง่ หามค�่าเท่าเดิมไม่ได้ ผมว่าร่างกายคุณก็ผดิ แล้ว ผมรูเ้ ลยตอนผม เราหลับ เราก็ดนิ้ ได้แค่นแี้ หละ ทุกวันนีผ้ มมีบา้ นหลังละ 300 บาท มีเป็นร้อยๆ หลัง อายุ 20 ปี ขับรถ 3 วัน 3 คืน ข้าม 7 จังหวัดไปได้หมด ตอนนี้ไปแค่หน้าหมู่บ้าน ท�าเลสามหมืน่ ล้านทัง้ นัน้ เพราะบนดอยสวยๆ ทีผ่ มไปสอนชาวบ้าน ผมก็ไปกิน ก็ตาลายแล้ว นี่คือ time boundary เวลาเป็นตัวก�าหนดงานของเรา วัฒนธรรม ไปนอนอยู่กับชาวบ้าน พอท�างานส�าเร็จ เขาศรัทธามาก เขาจึงเลือกท�าเลที่ดี เปลี่ยน สังคมเปลี่ยน สถานที่เปลี่ยน ทางน�้าไหลก็ยังเปลี่ยนทาง วิธีการ ทีส่ ดุ สร้างบ้านให้ คุณคิดดูหอ้ งน�า้ ใช้ไม้ไผ่ใส่กระดาษทิชชูพบั สามเหลีย่ มเหมือน ที่จะท�าให้อยู่รอดคือก็ต้องเปลี่ยนตาม ถ้าคุณไม่เปลี่ยนตามคุณจะไม่รู้เลยว่า โรงแรมห้าดาว นี่คือจิตวิญญาณของชาวนาที่เขาเคารพนับถือเรา คือท�างาน โลกไปถึงไหน วันนี้คุณต้องรู้ว่าแผ่นดินนี้เปลี่ยนไปแล้ว


Lost But Not All Gone เรื่อง : ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ ภาพ : มณีนุช บุญเรือง

หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรคต มีคนมากมายที่ลุกขึ้นมากระท�าสิ่งดีงาม หรือด�าเนินโครงการต่างๆ เพื่อเป็นการระลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณและแสดงความอาลัย หนึ่งในนั้นคือ ‘โครงการบันทึกถวายในหลวง’ จากส�านักพิมพ์ผีเสื้อ ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างริเริ่ม หลายคนอาจจะนึกสงสัยว่าท�าไม จึงจะต้องท�าโครงการเช่นนี้ แต่หากคุณได้มโี อกาสพลิกดูสมุดบันทึกของเด็กๆ เหมือนอย่างทีเ่ รามีโอกาสได้ทา� จะพบว่า แค่เด็กตัวน้อยๆ ก็สามารถเรียงร้อยความรูส้ กึ ออกมาเป็น ตัวอักษร เพื่อกล่าวความรู้สึกที่ตนมีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ด้วยหัวใจอันบริสุทธิ์ และไร้การปรุงแต่ง มกุฏ อรฤดี แห่งส�านักพิมพ์ผีเสื้อ เป็นผู้ริเริ่มและคอย ส่งเสริมความมัน่ ใจของเด็กๆ จนสามารถถ่ายทอดเรือ่ งราวผ่านปลายดินสอออกมาได้ เขาท�าหน้าทีร่ วบรวมตัวอักษรจากลายมือน้อยๆ นับร้อย นับพัน หรืออาจจะมากกว่านัน้ ให้กลายเป็นตัวแทนความรู้สึก แทนค�ามั่นสัญญา เพื่อจารึกเอาไว้ว่า ครั้งหนึ่งในชีวิตเด็กๆ เหล่านั้นได้ผ่านเหตุการณ์พระมหากษัตริย์สวรรคต และมีความรู้สึกอย่างไร ตั้งใจจะท�าอะไรต่อ เพื่อไม่ให้การสวรรคตของพระองค์เป็นการสูญเสียที่สูญเปล่าของปวงประชา และนี่คือบันทึกแห่งประวัติศาสตร์ที่จะเกิดขึ้นในวันข้างหน้า


ความรู้สึกของวันนั้นได้ว่ารู้สึกอย่างไร แม้ ท�ำไมคุณจึงมีควำมคิดทีจ่ ะริเริม่ ท�ำโครงกำร อาจจะลืมไปแล้วก็ได้ แต่ถ้าเขียนไว้ มันก็จะ บันทึกถวำยในหลวง โครงกำรนี้มีควำมกลายเป็นบันทึกประวัติศาสตร์ ส�ำคัญอย่ำงไร เป็นเครื่องมือหนึ่งที่จะช่วยบันทึกประวัติคงต้องเล่าถึงความเป็นมาก่อนหน้านั้น ศำสตร์ในช่วงเวลำนี?้ ให้ฟังเสียก่อนครับ ย้อนเวลากลับไปเมือ่ ราว จะเรียกว่าเป็นบันทึกประวัติศาสตร์หรือ 50 กว่าปีมาแล้ว ผมตัง้ ค�าถามว่า ท�าไมการอ่าน บันทึกอะไรก็แล้วแต่ ผมว่าเป็นเครื่องดักจับ ของประเทศไทยจึงไม่ได้ผล ทัง้ ๆ ทีม่ โี ครงการ ความรู ้ สึ ก มากกว่ า ดิ น สอและกระดาษ มากมายส�าหรับการส่งเสริมการอ่าน ท�าไม เป็นเครื่องดักจับสิ่งเหล่านี้ และเป็นเครื่องการอ่านในวัยเด็กจึงตั้งต้นไม่ได้เสียที เวลา เก็บรักษาได้เป็นอย่างดี ผ่านไป ผมศึกษาจนได้ค�าตอบว่า เพราะ อีกประเด็นก็คอื ในช่วงชีวติ ของคนคนหนึง่ โอกาสอันจ�ากัดในการเข้าถึงหนังสือ และ จะมีสักกี่ครั้งที่จะได้ผ่านประสบการณ์เช่นนี้ ขาดการปลูกฝังทีถ่ กู ต้องมาตัง้ แต่เด็กๆ ท�าให้ ซึง่ เราพยายามทีจ่ ะท�าให้โอกาสนีม้ คี วามหมาย เด็กไทยไม่มนี สิ ยั รักการอ่าน ผมจึงลองคิดหา The King มากกว่าการที่เราสูญเสียพระมหากษัตริย์ วิธีใหม่ โดยเปลี่ยนจากการโยนหนังสือให้ On My Mind พระองค์หนึง่ ไป ความสลักส�าคัญคือ หากเรา แล้วบอกให้เด็กไปอ่าน เป็นการส่งกระดาษ ลองเปิดดูสมุดบันทึกของเด็กๆ ดูแล้วจะเห็น กับดินสอให้เขียน เขียนอะไรก็ได้ ซึง่ เด็กเล็กๆ ถึงสิง่ ทีพ่ วกเขาเขียน เช่น จะเดินตามแสงเทียน ทีย่ งั เขียนไม่ได้กอ็ าจจะเริม่ ต้นด้วยการวาดรูป “อั น ที่ จ ริ ง พระองค์ มี จะท�าดีตามพ่อหลวง ซึง่ ในอนาคตนัน้ เขาจะ เมื่อโตขึ้นอีกหน่อย จึงค่อยเริ่มเขียนเป็นตัว ป รั ช ญ า เ ย อ ะ ม า ก ทั ้ ง ใ น ท�าจริงหรือไม่เปล่าไม่รู้ แต่อย่างน้อยเขาก็ได้ ต่อมาพยายามสะกดเป็นค�า สนุกกับการการด� า เนิ น งานและด� า เนิ น ให้สญ ั ญากับพระเจ้าแผ่นดินทีส่ วรรคตไปแล้ว ประกอบค�า เหมือนจิก๊ ซอว์สา� เร็จรูปทีก่ ระจาย ชี ว ิ ต แต่ ส ่ ิ ง หนึ ่ ง ที ่ ผ มสรุ ป ได้ ว่า เขาจะท�าความดี และอย่าลืมนะครับว่า อยู่ตามที่ต่างๆ ที่เด็กจะต้องประกอบเพื่อ ด้วยวิธีที่เราเก็บบันทึกนี้เอาไว้ สิ่งนี้จะอยู่ไป สื่ อ ถึ ง สิ่ ง ที่ อ ยู ่ ใ นใจออกมาด้ ว ยตั ว เขาเอง กับตัวเองก็คอื ‘คิดเพือ่ ผูอ้ นื่ ’ อีกนานกระทัง่ ... จะเรียกว่าอยูไ่ ปจนสิน้ โลก นี่คือความท้าทายส�าหรับเด็ก และพระองค์ก็ทรงคิด คิด คิด เลยหรือเปล่าก็ไม่รนู้ ะ เพราะ 1. เราจะเก็บ เมื่อเรารู้อย่างนี้แล้ว ในปี พ.ศ. 2557 ทุ ก วั น ตลอดเวลา เพื่ อ บันทึกไว้ในกระดาษ และ 2. มันจะไปอยู่ใน ส�านักพิมพ์ผีเสื้อจึงได้มอบสมุดบันทึกให้กับ ช่ ว ยเหลื อ ประชาชนให้ ได้ ระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อี บุ ๊ ก ทุ ก บั น ทึ ก จะ เด็กทัว่ ประเทศ ราว 1,000 เล่ม โดยมีเงือ่ นไข ด้ ว ยความคิ ด แบบนี ้ น ่ ั น เอง ยังคงอยู่ ว่า ขอให้เขียนจดหมายด้วยลายมือ เพือ่ บอก ที่ทา� ให้ประชาชนรักพระองค์” ดังนัน้ เมือ่ ไหร่ทหี่ นังสืออ่านคุณก็จะเจอ ว่า ต้องการสมุดไปเขียน แล้วเราก็จะส่ง ลายมื อ ของตั ว เอง หรื อ สื บ ค้ น ชื่ อ ตั ว เอง ให้คนละ 1 เล่ม พร้อมหนังสืออีก 1 เล่ม ในระบบก็จะพบ และในอนาคตเราจะพบกับ เพื่อให้รู้ว่า นี่คือหนังสือ และเผื่อคิดจะเขียน สิ่งที่ตัวเองเขียนเอาไว้ เพื่อนของเรา หรือเป็นลายมือของคนที่ อะไรไม่ออกก็ให้ลองเปิดอ่านหนังสือดูสิ เรารัก ซึ่งพวกเขาอาจตายจากเราไปแล้ ว และเขาเขี ย นถึ ง จนกระทั่งปี พ.ศ. 2558 เราได้พบกับนักบันทึกตัวน้อย ในหลวง ไม่ว่าจะเขียนถ้อยค�าอะไรไว้ ทุกอย่างจะปรากฏ และ หลายต่อหลายคน ยกตัวอย่างเด็กสามคน อาทิ ด.ญ. ซายูริ นั่นเป็นค�ามั่นสัญญา ซากาโมโตะ, ด.ญ. ติณณา แดนเขตต์ และ ด.ญ. ในใจ เม็ทซกะ โดยเฉพำะค�ำมัน่ สัญญำทีม่ ตี อ่ พระมหำกษัตริย?์ ซึ่งพวกเธอมีชั้นเชิงในการเขียนเป็นอย่างมาก ไม่เพียงแค่ความผมคิ ด ว่ า นั่ น ก็ เ หมื อ นกั บ ค� า มั่ น สั ญ ญาต่ อ พระพุ ท ธรู ป สามารถด้านการเขียนเท่านั้น เราพบว่าพวกเธอมีความคิดที่ แต่ทสี่ า� คัญคือ นัน่ คือค�ามัน่ สัญญาต่อตัวเราเอง ซึง่ จะปรากฏอยู่ เหนือกว่านัน้ และในตอนทีผ่ มได้รบั ข่าวสารจากส�านักพระราชวัง ตลอดไป แม้คุณจะเปลี่ยนชื่อ ค�ามั่นสัญญานั้นก็จะติดตาม ผ่านแถลงการณ์ฉบับก่อนหน้าที่พระองค์จะสวรรคตประมาณ คุณไปตลอด 2 ฉบับ ที่กล่าวถึงพระอาการประชวรของพระองค์ ในตอนนั้น ตอนนี้โครงกำรบันทึกถวำยในหลวงของส�ำนักพิมพ์ผีเสื้อ ผมก็รู้สึกว่า เราควรจะต้องท�าอะไรสักอย่าง ผมจึงส่งข่าวถึงเด็ก ด�ำเนินไปถึงขัน้ ตอนไหนแล้ว ทั้งสามคน บอกว่าตอนนี้ในหลวงไม่สบาย ในฐานะนักบันทึก ในส่วนการด�าเนินงาน เราขอความร่วมมือไปยังหน่วยงานต่างๆ เราจะเขียนอะไรหน่อยได้ไหม เด็กทั้งสามคน จึงเขียนมา เช่น ได้หารือกับภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ และจำกถ้ อ ยค� ำ เหล่ ำ นี้ ก็ เ ลยจุ ด ประกำยให้ คุ ณ เริ่ ม ท� ำ จุฬาฯ เราขอแรงในการอ่านต้นฉบับ และขอใช้สถานที่ในการโครงกำรนี้ขึ้นมำ? ท�างาน ติดต่อกระทรวงวัฒนธรรม ส�าหรับการเก็บบันทึกไว้เป็น เด็ ก ทั้ ง สามคนเขี ย นสิ่ ง ที่ อ อกมาจากหั ว ใจได้ วิ เ ศษมาก ประวัติศาสตร์ รวมทั้งขอความร่วมมือจากหน่วยงานราชการ ค�าถามเกิดขึน้ ว่า แล้วเด็กอีกกีล่ า้ นคนในประเทศล่ะ ในช่วงเวลา ให้แจ้งไปยังท้องถิน่ ทัว่ ประเทศ ประกาศให้รทู้ วั่ กันว่ามีโครงการนี้ อันทุกข์โศกยิ่งเช่นนี้ เราจะปล่อยให้ถ้อยค�าและความนึกคิด เกิดขึ้น ซึ่งหากพวกเขาสนใจก็สามารถเขียนบันทึกส่งเข้ามาได้ อั น วิ เ ศษจากความรู ้ สึ ก ของเด็ ก เหล่ า นั้ น ผ่ า นไปได้ อ ย่ า งไร เราได้แบ่งโครงการนีอ้ อกเป็น 2 ภาคคือ บันทึกของเด็ก และ เราจะไม่เก็บความรูส้ กึ เหล่านีไ้ ว้ได้อย่างไร นีเ่ พียงแค่เด็กสามคน บันทึกของผูใ้ หญ่ อย่างละ 1 เล่ม ซึง่ จะคัดบทบันทึกทีด่ ที สี่ ดุ เพียง เรายังรู้สึกได้มากมายขนาดนี้ แสดงว่ายังมีความคิดความรู้สึก แค่ 99 คนเท่านั้น ส่วนที่เหลือที่ส่งเข้ามาและไม่ได้รบั การคัดเลือก อีกมากมายมหาศาลทีเ่ รานึกไม่ถงึ นัน่ ยิง่ ท�าให้รู้สึกว่า ‘ต้องท�า’ เราก็จะรวมเป็นเล่มเช่นกัน แต่จะไปเก็บไว้ที่หอจดหมายเหตุ จะด้วยความร่วมมือจากใคร ทีไ่ หน อย่างไร ก็แล้วแต่ อย่างน้อย และทั้งหมดนั้นก็จะท�าออกมาในรูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ก็ขอให้ได้เริ่มต้นเสียก่อน นี่คือเหตุที่ทา� ให้เราคิดจะเก็บบันทึก เช่นกัน ซึ่งสามารถท�าการสืบค้นได้ ส�าหรับต้นฉบับทีเ่ ขียนส่งกัน ของเด็กจากทั่วประเทศ เข้ามาจะต้องเป็นบันทึกทีเ่ ขียนด้วยลายมือลงในกระดาษ A4 แล้ว อยำกจะให้ชว่ ยอธิบำยควำมรูส้ กึ ‘วิเศษ’ ทีค่ ณ ุ บอกว่ำปล่อยให้ คัดเลือกบทที่ชอบมากที่สุด ส่งเข้ามาเพียงคนละ 1 ชิ้น โดยเว้น ผ่ำนไปไม่ ได้ จนต้องเก็บบันทึกไว้วำ่ มันส�ำคัญอย่ำงไร ขอบข้างละ 4 เซนติเมตร และห้ามมีรอยพับ เพราะเมือ่ คัดเลือก ผมมีความซาบซึง้ ใจทีเ่ ด็กมีความรูส้ กึ นึกคิดแบบนี้ ความคิด เพือ่ น�ามาเข้าเล่มจะได้พอดีกับความหนา ซึ่งมันจะหนามากๆ ของพวกเขาที่ว่าวิเศษนั้นคือ มันมีความบริสุทธิ์มาก ถ้าเรา ส่วนวิธีการส่งนั้น จะแจ้งให้ทราบในภายหลัง เราคาดการณ์ว่า ให้เขาจดจ�าความใสสะอาด ความบริสุทธิ์ผุดผ่อง ความดีงาม จะใช้เวลาในการท�าโครงการนีอ้ ย่างน้อย 3 ปี ซึง่ อาจจะยังไม่จบ ของเขาเองไว้ เพื่ อ วั น หนึ่ ง เขาจะมี โ อกาสได้ ก ลั บ มาอ่ า นดู ด้วยซ�้า แต่ก็จะทยอยท�าต่อไปเรื่อยๆ มันจะเป็นประโยชน์ต่อตัวเขาเอง ความสลักส�าคัญนัน้ คือ ขอให้ อย่ำงนีเ้ ท่ำกับว่ำจะมีตน้ ฉบับนับมหำศำลทีจ่ ะต้องอ่ำน เขาบันทึกความรู้สึกของตนเอง หรือของทุกคน ณ ขณะนั้น ลองหลับตานึกถึงต้นฉบับจ�านวนมากทีเ่ ราต้องอ่านดูสิ หาก เอาไว้ ไม่ ใ ห้ มั น สู ญ เปล่ า เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ห ายไปตามกาลเวลา ส่งกันเข้ามาเป็นล้านแผ่น นั่นหมายความว่าเราต้องการคน เมื่อวันเวลาผ่านไป ไม่ว่าจะเป็นวัน เดือน หรือปี ก็ยังคงจะจ�า


จ� า นวนมากมาช่ ว ยอ่ า น แต่ เ นื่ อ งจากคนเราแต่ ล ะคน ความรู้สึกนึกคิดก็ไม่เหมือนกัน มาตรฐานการตรวจต้นฉบับ ก็ย่อมต่างกัน นั่นเป็นภาระใหญ่ที่เราต้องเจอคือ มาตรฐาน 1+1=2 มั น ง่ า ย แต่ ม าตรฐานทางอั ก ษรศาสตร์ นั้ น ยาก แล้วยิ่งมาตรฐานทางความรู้สึกและหัวใจยิ่งยากกว่า เราจะ ไปวัดอย่างไร ว่าความรู้สึกของใคร อย่างไหนดีวิเศษ แต่แม้ จะเป็นเรื่องยาก เราก็ต้องท�า ฟั ง ดู แ ล้ ว รู ้ สึ ก ว่ ำ ขอบเขตของกำรท� ำ งำนนี้ ช ่ ำ งยิ่ ง ใหญ่ ท�ำไมคุณจึงเชือ่ มัน่ ว่ำโครงกำรนีจ้ ะส�ำเร็จได้ดว้ ยดี ผมคิดว่านีเ่ ป็นสิง่ ทีห่ ลายคนน่าจะเห็นตรงกันนะ สมมติวา่ ผมไม่ได้เป็นคนริเริม่ โครงการนีข้ นึ้ มา แต่ผมฟังมาจากใครสักคน ที่บอกให้คนไทยเขียนบันทึกถึงในหลวง ผมก็จะเขียน ซึ่งผม เชือ่ ว่า น่าจะมีคนไทยอย่างน้อยทีส่ ดุ สัก 10,000 คน ทีเ่ ขียนกัน เข้ามา ซึง่ ถ้าได้จา� นวนตามนี้ เราก็จะได้หนังสือทีพ่ มิ พ์เป็นเล่ม แล้วคนที่เหลืออีกกว่า 60 ล้านคน ก็อาจจะนึกเสียดายที่ไม่ได้ เข้าร่วม เพราะนีค่ อื โอกาสเดียวทีค่ ณ ุ จะเก็บสิง่ นีไ้ ว้ในประเทศ และในโลกนี้เลยเชียวนะ ในฐำนะที่คุณคลุกคลีอยู่กับหนังสือและกำรอ่ำนมำแทบทั้ง ชี วิ ต ตำมควำมเห็ น ของคุ ณ ในหลวงทรงมี คุ ณู ป กำร ในเรือ่ งกำรอ่ำนและกำรศึกษำอย่ำงไรบ้ำง อั น ที่ จ ริ ง พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 9 ทรงคิ ด เกี่ ย วกั บ เรือ่ งหนังสือและการอ่านมากนะ แม้พระองค์จะไม่คอ่ ยได้ตรัส แต่พระองค์กท็ รงท�าให้เห็น อย่างการทีพ่ ระองค์ทรงเล็งเห็นถึง ความส� า คั ญ ของเรื่ อ งความรู ้ ป ระชาชาติ ซึ่ ง ก็ คื อ ความรู ้ ทีท่ กุ คนในชาติควรจะรู้ในเรื่องเดียวกันจึงจะสามารถสื่อสาร กันรูเ้ รือ่ ง จึงได้เกิดโครงการหนังสือชุด ‘สารานุกรมไทยส�าหรับ เยาวชน’ ออกมาในปี พ.ศ. 2515 ที่ทา� และแจกจ่ายไปตาม โรงเรียนต่างๆ พระองค์อยากจะบอกว่าการแปลหนังสือนั้น

ส�าคัญ พระองค์จึงได้แปลหนังสือเรื่อง ติโต พระองค์อยากจะ บอกว่าการเขียนวรรณคดีสา� คัญ จึงทรงนิพนธ์ พระมหาชนก พระองค์อยากจะบอกว่าหนังสือเด็กส�าคัญ จึงทรงประพันธ์ เรือ่ ง ทองแดง ถ้าเราเฝ้าดูให้ดถี งึ สิง่ ทีพ่ ระองค์ทรงท�าเกีย่ วกับ หนังสือ เราจะเข้าใจได้เลยว่า พระองค์ท่านทรงเข้าใจระบบ หนังสือ และทรงท�าให้เห็นเป็นแบบอย่าง มีแนวคิดของในหลวงในด้ำนอื่นๆ อีกไหม ที่คุณยึดถือเป็น แบบอย่ำง อันทีจ่ ริงพระองค์มปี รัชญาเยอะมากทัง้ ในการด�าเนินงาน และด� า เนิ น ชี วิ ต แต่ สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ผ มสรุ ป ได้ กั บ ตั ว เองก็ คื อ ‘คิดเพื่อผูอ้ นื่ ’ อย่างเรือ่ งทีน่ อนยางพารา ซึง่ ในหลวงทรงเป็น คนออกแบบ และคิดมากว่า 40 ปีแล้ว นอกจากเพื่อให้ ขายยางพาราได้ในราคาทีส่ งู ขึน้ แล้ว ยังเป็นเพราะท่านเป็นห่วง เรือ่ งสุขภาพอนามัยในการนอนของประชาชน จนคิดค้นทีน่ อน ยางพาราผสมใยกะลามะพร้าวออกมา แม้ว่าจะมาก่อนกาล และไม่ เ ป็ น ที่ นิ ย มในสมั ย นั้ น แต่ ผ มนึ ก ไม่ อ อกว่ า จะมี พระเจ้าแผ่นดินทีไ่ หนจะมาคิดถึงขนาดว่าชาวบ้านต้องได้นอน สบายๆ และพระองค์ก็ทรงคิด คิด คิดทุกวัน ตลอดเวลา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้ได้ ด้วยความคิดแบบนี้นั่นเอง ที่ท�าให้ประชาชนรักพระองค์ แล้วคุณน�ำหลัก ‘กำรคิดเพือ่ ผูอ้ นื่ ’ มำใช้อย่ำงไร ในการท�าหนังสือแต่ละเล่ม เราต้องคิดว่าคนอ่านได้ ประโยชน์อะไร ตัวหนังสือควรจะเป็นอย่างไร รูปภาพดีพอไหม หรือแม้กระทัง่ รูปเล่มทีแ่ ข็งแรงทนทานพอไหม ด้วยอะไรต่างๆ เหล่านี้ผมคิดว่ามันเป็นปรัชญาในการท�างานของตัวผมเอง คือท�าเพื่อผู้อื่น แล้วสิ่งต่างๆ มันก็จะตามมาเองหลังจากนี้ เช่น หากเราท�าหนังสือดีๆ มีสาระ ให้อยู่ได้นานๆ วันหนึ่ง คนที่อ่านเขาก็จะรู้สึกดีและขอบใจเราที่ท�าหนังสือดีๆ ส่งต่อ

เนื้อหาไปให้ลูกหลานของเขาได้ ในตอนต้นคุณบอกเอำไว้วำ่ อยำกจะให้วำระนีเ้ ป็นมำกกว่ำ กำรสูญเสีย ตัวคุณเองอยำกจะใช้โอกำสนีอ้ ย่ำงไร ชั่วชีวิตของใครสักคนหนึ่ง อาจไม่คิดว่าจะต้องพบกับ การทีพ่ ระมหากษัตริยส์ วรรคต ซึง่ ไม่ใช่โอกาสทีด่ แี ละไม่มใี คร อยากให้เกิดขึ้นหรอก แต่เมื่อเกิดแล้วเราควรจะได้ใช้เอื้อแก่ คนอื่น อย่าให้การสวรรคตนั้นเป็นการ ‘สิ้น’ แต่ให้เป็น ‘จุดเริ่มต้น’ ของบางสิ่งบางอย่างที่ดีกว่า หรือหากไม่ดีกว่า ก็เป็น ‘การสานต่อ’ และนี่ก็เป็นการสานต่อวิธีหนึ่งด้วย ค�ามั่นสัญญาที่เราจะเขียนขึ้นมาเอง เมื่ อ ไม่ น านมานี้ คุ ณ มกุ ฏ ได้ เ ขี ย นสเตตั ส ในเฟซบุ ๊ ก เป็นข้อความสั้นๆ เอาไว้ว่า “ในบั้นปลายชีวิตของคนท�าหนังสือ การเลือกท�าหนังสือ สั ก เล่ ม ไว้ แ ก่ ช าติ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ แ ก่ ค นข้ า งหลั ง สื บ ไป แม้จะต้องทุ่มเททั้งชีวิตที่เหลือ ก็นับได้ว่า ไม่เสียชาติเกิด” นั่นก็หมายถึงบันทึกชุดนี้นั่นเอง ซึ่งไม่ว่าเวลาจะผ่านไป นานสักเท่าใด ข้อความนี้ก็จะยังคงถูกเก็บบันทึกเอาไว้ ในระบบ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นถ้อยค�าสัญญาที่เขามีให้กับตัวเอง และเรา ขอเอาใจช่วยให้โครงการบันทึกถวายในหลวงที่เขาเป็นผู้ริเริ่ม และด�าเนินการนี้ ประสบความส�าเร็จได้ตามที่หวัง


Passing The Torch To A New Generation เรื่อง : กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี


The Art of Love

งานศิลปะทีศ่ ลิ ปินรับเชิญของเราสร้างสรรค์ขนึ้ โดยมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงเป็นแรงบันดาลใจ ผลงานศิลปะที่อุทิศให้กับ พระมหากษัตริยอ์ นั เป็นทีร่ กั ยิง่ ของคนไทยทัง้ ผอง ตลอด 70 ปีที่ผ่านมา และจากนี้ตลอดไป




รอยยิ้มของพ่อ

ผลงานประติ ม ากรรมหล่ อ ด้ ว ยโลหะซิ ลิ ค อนบรอนซ์ จ ากอเมริ ก า เทคนิคสีพาทินาเคมีความร้อน ความกว้างจากไหล่ซ้ายไปขวา 2 ฟุต ความสู ง จากพระเศี ย รถึ ง พื้ น ของฐาน 2 ฟุ ต 10 นิ้ ว ความลึ ก หรื อ ความยาวจากหน้ า อกไปถึ ง หลั ง 11 นิ้ ว ศิ ล ปิ น ปั ้ น ให้ พ ระพั ก ตร์ ข อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงแย้มพระสรวล ด้วยความปรารถนา ที่อยากจะเห็นพระองค์ทรงพระเกษมส�าราญ


จากนั้ น พระองค์ ใ ช้ แ ก๊ ส โซฮอล์ นี้ ท ดลองกั บ รถยนต์ในวังสวนจิตรลดา เพื่อปรับปรุงพัฒนา เพิม่ เติมเป็นเวลากว่าสิบปี ให้แน่ใจว่าไม่มผี ลเสีย ต่อเครื่องยนต์ จนส�าเร็จแล้วจึงน�ามาประกาศ The King แก่ประชาชนทั่วไป ทั้งหมดนี้เรียกได้ว่าในหลวง On My Mind ทรงเลือก ‘ลงมือท�า’ ก่อน ‘พูด’ แต่ลองย้อน มาดู ใ นยุ ค ปั จ จุ บั น ที่เ ทคโนโลยีแ ละสื่อ ต่ า งๆ เจริญก้าวหน้า เป็นช่องทางให้หลายคนได้พูด “ผมไม่ต้องการให้ลูกผม และแสดงความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ สิ่ ง รอบตั ว อย่างอิสระ แต่ในบางครั้งค�าพูดสวยงามเหล่านี้ จ� า ไ ด ้ ทั้ ง ห ม ด ห ร อ ก ว ่ า กลั บ ท� า ให้ เ ราหลงลื ม สิ่ ง ที่ ส� า คั ญ กว่ า นั่ น คื อ ในหลวงทรงท�าอะไรไว้ ให้เรา ‘การกระท�า’ นีจ่ งึ เป็นสิง่ ทีอ่ ยากฝากให้คนรุน่ ใหม่ บ้าง แต่อยากให้ลูกรู้ว่าอะไร ได้น�าวิธีปฏิบัติของในหลวงไปใช้เป็นแบบอย่าง” คือความหมายของความดี บทสนทนาด� า เนิ น มาถึ ง เรื่ อ งราวหลั ง จาก โดยสมบูรณ์แบบ ผ่านสิ่งที่ การสวรรคตของพระองค์ เราเอ่ยถามเขาตรงๆ พระองค์ ท รงสื่ อ ผ่ า นการว่าเขามองคนรุ่นใหม่ที่อาจไม่มีโอกาสเห็นภาพ กระท�า ให้พวกเขาจ�าเหตุการณ์ พระองค์ ท รงงานหนั ก ชั ด เจนเท่ า คนรุ ่ น ก่ อ นๆ อย่างไร จุดนีจ้ ะท�าให้สงิ่ ต่างๆ ทีพ่ ระองค์ทรงมอบ ของความโศกเศร้ า ในวั น นี้ ไว้ สู ญ หายไปจากความทรงจ� า ที่ เ ลื อ นราง ที่ ลู ก ได้ เ ห็ น พ่ อ แม่ แ ละคน ของผู ้ ค นยุ ค นี้ ห รื อ ไม่ และจะท� า อย่ า งไรให้ ทั้งประเทศร้องไห้ด้วยความแรงบันดาลใจเหล่านั้นสามารถยังคงอยู่ และ อาลั ย เพื่ อ ที่ วั น หนึ่ ง หาก ส่งต่อให้กับคนอีกหลายๆ รุ่นในอนาคต พ ว ก เ ข า โ ต ขึ้ น แ ล ้ ว ต ้ อ ง ค�าตอบที่ได้จากอาจารย์ธรณ์คือ การเปลี่ยน ตั ด สิ น ใจท� า อะไรสั ก อย่ า ง ‘แรงบันดาลใจ’ จากพระองค์ ให้เป็น ‘ความซึง่ มีเพียงเส้นบางๆ กัน้ ระหว่าง ทรงจ�า’ ของคนรุ่นต่อๆ ไป ซึ่งส�าหรับตัวเขา เลื อ กที่ จ ะถ่ า ยทอดความทรงจ�า ผ่ า นงานสอน ความดี กั บ ความไม่ ดี อาจ งานเขียน รวมไปถึงบทสัมภาษณ์ถึงวิสัยทัศน์ “แรงบันดาลใจเป็นสิ่งส� าคัญส�าหรับชีวิต ท�าให้ลูกได้หยุดคิด และช่วย และพระราชกรณียกิจต่างๆ ของพระองค์ผ่านสื่อ การท� า งานวิ ช าการของผม หลายครั้ ง ที่ ต ้ อ ง ให้ เ ส้ น บางๆ นั้ น ชั ด เจนขึ้ น จ�านวนมากในช่วงเดือนที่ผ่านมา เผชิญกับความล�าบาก จนเกิดค�าถามกับตัวเอง ในสายตาของลู ก ๆ ได้ บ า ้ ง” “ผมไม่ต้องการให้ลูกผมจ�าได้ทั้งหมดหรอก ว่าท�างานนีไ้ ปท�าไม ในเมือ่ มีทางเลือกอืน่ ทีด่ กี ว่า ว่าในหลวงทรงท�าอะไรไว้ให้เราบ้าง ไม่ตอ้ งท่องจ�า ให้ ผ ลตอบแทนมากกว่ า แต่ พ อถามตั ว เอง แต่ อ ยากให้ ลู ก รู ้ ว ่ า อะไรคื อ ความหมายของ อย่างนี้แล้วก็ได้ค� าตอบว่า เราท�าเพราะเป็น ความดีโดยสมบูรณ์แบบ ผ่านสิ่งที่พระองค์ทรงสื่อผ่านการกระท�า สิ่งที่ควรท�า เพราะสิ่งนี้ได้สร้างประโยชน์ให้แก่ผู้อื่น เหมือนกับที่ ให้พวกเขาจ�าเหตุการณ์ของความโศกเศร้าในวันนี้ ภาพแห่งความสังคมไทยมีบุคคลหนึ่งที่ทา� งานเหนื่อยกว่าเรา หนักกว่าเรา เสียสละ เสียใจที่ลูกได้เห็นพ่อแม่และคนทั้งประเทศร้องไห้ด้วยความอาลัย ตนเองเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมมาเป็นเวลาหลายสิบปี ถามว่า เพื่อที่วันหนึ่งหากพวกเขาโตขึ้นแล้วต้องตัดสินใจท�าอะไรสักอย่าง ในหลวงจ�าเป็นต้องท�าถึงขนาดนั้นไหม ไม่เลย แต่เมื่องานนั้น ซึ่งมีเพียงเส้นบางๆ กั้นระหว่างความดีกับความไม่ดี อาจท�าให้ลูก เป็นประโยชน์ต่อประชาชน จึงเป็นสิ่งที่พระองค์ทรงท�าด้วยความได้หยุดคิด และช่วยให้เส้นบางๆ นั้นชัดเจนขึ้นในสายตาของลูกๆ เต็ ม พระทั ย สิ่ ง นี้ เ ป็ น แรงบั น ดาลใจส�า คั ญ ที่ ค อยผลั ก ดั น ให้ ผ ม ได้บ้าง” เดินหน้าท�างานของตัวเองต่อไป” ก่อนทีบ่ ทสนทนาจะจบลง หลังจากอาจารย์ธรณ์เล่าเรือ่ งปลานิล เมื่อเราเอ่ยถามมุมมองของอาจารย์ธรณ์ ในฐานะบุคคลที่ท�า แก๊สโซฮอล์ และพระราชด�ารัสเกี่ยวกับเรื่องโลกร้อนเป็นรอบที่ 4 หน้าที่ส่งต่อแนวคิดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้กับผู้คน ของวันนี้ (และก�าลังจะต้องเล่าอีกรอบในการสัมภาษณ์ในคิวถัดไป ในวงกว้างมาโดยตลอด ว่าส�าหรับเขาแล้ว พระองค์ทรงเป็นต้นแบบ ทีค่ ณ ุ อาจจะได้อ่านหรือรับชมจากทีไ่ หนสักแห่ง) แต่อาจารย์กย็ นื ยัน และมอบแรงบันดาลใจให้กับผู้คนในด้านใดบ้าง กับเราว่าจะ ‘ท�า’ ต่อไป เหมือนอย่างทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั “จริงๆ แล้วสิง่ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงท�าไว้ให้คนไทย ผู ้ เ ป็ น แรงบั น ดาลใจอั น ยิ่ ง ใหญ่ ท รงเสี ย สละและลงมื อ ท�า ตลอด ไม่ได้มีเพียงแนวคิด เนื่องจากพระองค์เป็นนักปฏิบัติ ผมเลือกใช้ 70 ปีที่ผ่านมา เพื่อเป็นการส่งต่อความหมายของความดีงามให้กับ ค�าว่า ‘พระองค์ผทู้ รงท�า’ คือลงมือท�างานต่างๆ อย่างจริงจังจนกระทัง่ คนรุ่นต่อไป เป็นผลส�าเร็จ สิ่งที่พระองค์ได้มอบไว้ให้แก่ประชาชนจึงเป็นสิ่งที่ จั บ ต้ อ งได้ อย่ า งปลานิ ล ที่ เ ราบริ โ ภคกั น อยู ่ ใ นชี วิ ต ประจ� า วั น หรือน�้ามันแก๊สโซฮอล์ที่เราใช้แทนน�้ามันแบบเก่า สิ่งเหล่านี้ล้วน เกิดมาจากพระราชกรณียกิจของพระองค์ทั้งสิ้น “ลองดูตัวอย่างโครงการอย่างแก๊สโซฮอล์ ที่พระองค์ใช้เวลา ด�าเนินงานกว่า 15 ปี ตั้งแต่การศึกษาวิจัยเรื่องเอทานอลและน�า้ มัน ศึกษาเกีย่ วกับผลกระทบต่างๆ แล้วจึงพัฒนาออกมาเป็นแก๊สโซฮอล์

หลายคนอาจรู้จัก ธรณ์ ธ�ำรงนำวำสวัสดิ์ ในฐานะอาจารย์ประจ�าคณะประมง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ หรื อ นั ก วิ ช าการผู ้ เ ชี่ ย วชาญ ด้ า นทรั พ ยากรทางทะเลและการท่ อ งเที่ ย ว เชิ ง นิ เ วศ แต่ ห ากใครได้ ศึ ก ษาประวั ติ ข องเขา ให้ลึกลงไปกว่านั้น จะพบว่าเขาเป็นหลานชาย ของ พลเรื อ ตรี ถวั ล ย์ ธ� า รงนาวาสวั ส ดิ์ นายกรั ฐ มนตรี ค นที่ 8 ของประเทศไทย และครอบครั ว ธ� า รงนาวาสวั ส ดิ์ ก็ ไ ด้ มี โ อกาส ถวายงานรั บ ใช้ ร าชวงศ์ ม าโดยตลอด ตั้ ง แต่ สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 นอกจากนี้ พลเรือตรี ถวัลย์ ธ�ารงนาวาสวัสดิ์ ผู ้ เ ป็ น ปู ่ ข องเขา ยั ง เป็ น ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ การแต่งตั้ง จากรั ฐ บาลให้ เ ป็ น หั ว หน้ า คณะเดิ น ทางไป กราบบังคมทูลเชิญ ‘พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอานันทมหิดล’ ที่ประทับอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์ แ ลนด์ เสด็ จ กลั บ มาขึ้ น ครองราชย์ เ ป็ น พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 8 ในราชวงศ์จักรี นั่นท�าให้ตัวของอาจารย์ธรณ์มีโอกาสได้ศึกษา ประวัติศาสตร์และรับทราบถึงพระจริยวัตรของ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 9 ซึ่งเขากล่าวด้วยน�้าเสียงที่ภาคภูมิใจว่า การที่ บรรพบุ รุ ษ ได้ ถ วายรั บ ใช้ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั ถือเป็นเกียรติและความภูมใิ จสูงสุด ของครอบครัวธ�ารงนาวาสวัสดิ์


Footsteps To Follow เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร


กับตาว่าท่านท�าอะไร เราเห็นผลของสิ่งต่างๆ ที่ท่านท�า” ระหว่างการสนทนาน�้าตาของกัลยกรก็เริ่มเอ่อล้น ออกมา เราจึงต้องพัก และเปลี่ยนการสนทนาชั่วคราว ด้วยเรื่องที่ผ่อนคลาย เช่น เรื่องที่ว่าภาพของพระองค์ ที่ยังสถิตอยู่ในใจของเธอนั้นเป็นแบบไหน “ในหลวงในใจเราไม่ได้เป็นภาพของพระราชาที่นั่ง อยู่บนบัลลังก์มีรัศมีรองเรือง แต่เป็นภาพของคนคนหนึ่ง ที่เดินขึ้นเขา กระโดดข้ามแอ่งน�้า แล้วกระโดดไม่พ้น The King กางเกงเปียก (หัวเราะ) มีขา้ ราชบริพานวิง่ ตามอยูข่ า้ งหลัง On My Mind แต่ วิ่ ง ตามไม่ ทั น ช่ า งภาพก็ จั บ ภาพท่ า นไม่ ค ่ อ ยได้ ท่านเร็วมาก (หัวเราะ) ภาพที่ท่านก�าลังทรงงานเพื่อ ประชาชนคือภาพที่ตราตรึงอยู่ในใจเรา เป็นภาพจริง “ท่ า นมองว่ า ทุ ก คนคื อ ที่เกิดขึ้น เป็นในหลวงของประชาชนจริงๆ” ต้องยอมรับความจริงว่าคนรุ่นถัดมาอาจจะไม่ได้ “เริ่มแรกเราก็เป็นเหมือนกับคนทั่วๆ ไป ที่รับรู้เรื่อง ประชาชน ท่านรบกับความซาบซึ ้งกับพระองค์ท่านมากมายเหมือนพวกเรา เพราะ ของในหลวงผ่านข่าวพระราชกรณียกิจ และเราเป็น ยากจนเพื่ อ ให้ ทุ ก คนมี กิ น เป็นช่วงทีพ่ ระองค์ประชวร ท�าให้เรือ่ งของพระราชกรณียกิจ คนกรุงเทพฯ เราจึงไม่รู้ว่าจริงๆ แล้วพระราชกรณียกิจ ท่ า นรู ้ ว ่ า ตอนนั้ น ประเทศ ต่างๆ น้อยลง และไม่ค่อยถูกพูดถึงในช่วงหลัง ของท่านนั้นมากมายมหาศาลแค่ไหน การรับรู้ของเราจึง มี ก า ร สู ้ ร บ มี ส ง ค ร า ม “เอาแค่น้องๆ ที่อยู่ใกล้ตัวเราก็ได้ พวกเขาเป็นเด็ก ค่อนข้างตื้น เห็นสิ่งที่ท่านท�ายังไม่ชัด นอกจากเรื่องของ แต่ ท ่ า นสู ้ ก ลั บ ด้ ว ยการให้ ที่เติบโตในยุคนี้ เขาก็เสียใจ แต่เขาก็ไม่เข้าใจว่าท�าไม แก้มลิงที่เราให้ความสนใจ เพราะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้อง ความเจริญ ให้การท�ากิน” คนอย่ า งเราถึ ง เสี ย ใจมากเวลาพู ด ถึ ง ท่ า น ฟั ง เพลง โดยตรงกับกรุงเทพฯ พูดง่ายๆ ว่าตอนนั้นเรารักท่าน พระราชนิพนธ์หรือเห็นรูปท่านแล้วเราต้องร้องไห้ พวกเขา เพราะถูกสอนให้รัก ชื่นชมท่านเพราะถูกสอนให้ชื่นชม ไม่เข้าใจจริงๆ จนกระทั่งพวกเขามาช่วยเราท�าโปรเจ็กต์ “จนเราเข้ามหาวิทยาลัยก็ได้มีโอกาสไปทัศนศึกษา No.9 น้องเขาก็เสนอว่าอยากท�าเรื่องของแผนที่ เพราะเห็นภาพของในหลวง ตามต่างจังหวัดที่ไกลๆ มีอยู่ครั้งหนึ่งไปท�ารายการเพื่อออกฉายทางช่อง เวลาทรงงานจะถือแผนที่ไว้เสมอ เราจึงให้ไอเดียว่า ถ้าอย่างนั้นมาท�าเรื่อง เคเบิลทีวี ได้เจอชาวกะเหรี่ยงที่อยู่บนดอย สิ่งที่เราได้เห็นคือ ทุกบ้านของ โครงการหลวงของท่านกัน น้องเขาก็ไปหาข้อมูลมาได้ 39 โครงการ เราบอกว่า พวกเขามีรปู ในหลวงแขวนไว้ทกุ หลัง และเราเป็นคนชอบถามชอบคุย จึงถาม ไม่เอา ขอทั้งหมด ขอทุกโครงการ ตอนแรกน้องๆ ก็ตกใจกัน เพราะโครงการ พวกเขาเกีย่ วกับเรือ่ งนี้ และได้รวู้ า่ ภาพของชาวกะเหรีย่ งทีเ่ ราเห็นนัน้ เมือ่ ก่อน ของในหลวงและพระราชินีมีกว่าสี่พันโครงการ ไม่ได้เป็นแบบนี้ ที่พวกเขามีชีวิตที่ดีขึ้นได้อย่างทุกวันนี้ก็เพราะในหลวงกับ “หลังจากนั้นผ่านไปหนึ่งอาทิตย์ เราเห็นข้อความบนเฟซบุ๊กของน้อง พระราชินี เรือ่ งนีจ้ งึ เป็นจุดทีท่ า� ให้เราเริม่ หันมาศึกษาเรือ่ งราวของพระองค์ทา่ น” คนนั้นว่า ไม่มีเหตุผลเลยที่จะไม่รักในหลวง เพราะในแผนที่ที่เราช่วยกัน พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ปักหมุดโครงการที่ท่านท�า มีอยู่ทั่วทุกที่ในประเทศไทย นั่นหมายความว่า มีเรื่องราวให้เธอได้ศึกษาค้นคว้ามากมายเต็มไปหมด แต่สิ่งที่ท�าให้เธอ เรือ่ งของท่านมีหลักฐานให้เราได้คน้ หา ถ้าเราขยัน และฟังหลักฐานให้เยอะขึน้ ซาบซึง้ ในพระมหากรุณาธิคณ ุ ของท่านอย่างแท้จริงคือ การได้สมั ผัสเรือ่ งราว “มีอีกเรื่องที่เราอ่านเจอแล้วชอบมากคือตอนที่ท่านพานักวิชาการไปให้ เหล่านั้นด้วยตัวเอง ความรู้กับชาวบ้านเรื่องการเลี้ยงหมู ซึ่งท่านก็พระราชทานหมูให้ชาวบ้าน “เมื่อประมาณ 11 ปีที่แล้ว เรากับสามีออกเดินทางท่องเที่ยวไปยัง ได้มอี าชีพท�ากิน และนักวิชาการก็อธิบายถึงวิธกี ารเลีย้ งหมูดว้ ยศัพท์วชิ าการ ประเทศเพื่อนบ้าน และนั่นท�าให้เราเจออะไรหลายๆ อย่างที่ไม่เคยเห็น ให้ชาวบ้านฟัง พออธิบายจบในหลวงท่านก็บอกว่า ขอเราพูดบ้างนะ โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบ้านของเราที่มีภูมิประเทศและทรัพยากรต่างๆ แล้วท่านก็หันไปหาชาวบ้านแล้วบอกว่า อยากให้หมูโต ก็ต้องเลี้ยงหมูให้อิ่ม ซึ่งบางที่เขามีมากกว่าบ้านเราด้วยซ�้า แต่สิ่งที่เราเจอคือ เมืองที่มีแม่น�้า ให้หมูกนิ เยอะ จบ (หัวเราะ) ซึง่ เรามีอาชีพเป็นนักการสือ่ สารอ่านแล้วก็เข้าใจ ขนาดใหญ่ไหลผ่านอยูข่ า้ งหน้าเราไม่ไกล แต่พนื้ ทีบ่ ริเวณนัน้ กลับแห้งแล้งจน ทันที เพราะเวลาเราคุยกับคนทีม่ คี วามรูก้ ต็ อ้ งสือ่ สารแบบหนึง่ คุยกับคุณป้า ผืนดินกลายเป็นทราย ท�าการเพาะปลูกอะไรไม่ได้เลย ชาวบ้านได้แต่รอรถวิง่ หน้าบ้านก็ต้องคุยอีกแบบหนึ่ง เราต้องปรับวิธีการสื่อสารให้เหมาะสม” แล้วก็ขอเงินบริจาคจากคนที่อยู่บนรถ มีต้นปาล์มที่ขึ้นอยู่ทั่วไปและเขาก็ ถึงจะเลี่ยงการสนทนาอย่างไร แต่เรื่องราวของความสูญเสียในวันที่ ท�าได้แค่เอาผลของมันมากิน ซึ่งเรารู้จากคนน� าเที่ยวที่เป็นชาวพื้นเมือง 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 นั้นก็เป็นเรื่องที่เราต้องถามกับเธอและนั่นก็ทา� ให้ ของที่นั่น เขาบอกว่าที่นี่มักจะมีน�้าท่วมใหญ่เป็นประจ�าปีละครั้ง ซึ่งนั่นเป็น กัลยกรเก็บความเสียใจที่ยังมีอยู่ข้างในเอาไว้ไม่อยู่ ที่เหลือต่อจากนี้คือ ช่วงเวลาเดียวที่ชาวบ้านจะท�าการเพาะปลูกได้ ท�าให้เรานึกถึงสิ่งที่ในหลวง ถ้อยค�าที่เปียกฉ�่าด้วยน�า้ ตา ท�าคือเรือ่ งของการชลประทาน เพราะท่านรูว้ า่ น�า้ มีคา่ แค่ไหน และยิง่ ท�าให้รวู้ า่ “ผ่านมาถึงวันนีเ้ ราก็พยายามไม่นกึ ถึงเรือ่ งวันนัน้ ถึงจะบอกว่าเตรียมใจมา เมืองทีเ่ ราไปเจอนัน้ เขาขาดแค่อย่างเดียวคือขาดในหลวง พวกเขามีทรัพยากร นานแล้วก็ตาม แต่ภาพของวันนัน้ ยังชัดเจนอยูใ่ นหัวเรามาก เราก�าลังเดินทาง มีน�้า แต่ไม่มีใครจะมาช่วยดึงน�้าตรงนั้นมาให้ชาวบ้านได้มีอาชีพ” กลับจากจังหวัดอุบลราชธานี ระหว่างที่รอขึ้นเครื่อง แฟนก็โทร.มาบอกว่า กัลยกรได้เล่าต่อว่า จากนั้นเธอก็เริ่มศึกษาประวัติศาสตร์ของประเทศ เอินท�าใจดีๆ ฟังนะ เราบอกว่าไม่ฟัง ไม่ต้องพูดอะไรทั้งนั้น หยุด ไม่งั้นโกรธ อย่างจริงจัง และได้พบกับเรื่องที่เธอไม่เคยรู้เกี่ยวกับพระมหากรุณาธิคุณ แต่พอเอาเข้าจริงๆ เราก็ทนไม่ได้ ต้องไปนั่งอยู่หน้าจอโทรทัศน์ในสนามบิน ของพระองค์ท่านอีกเรื่องหนึ่ง ซึง่ เขาจะไม่เปิดเสียง พอมีการตัดภาพเข้าสูห่ น้ากราฟิกสีขาวด�า ฟังประกาศ “เราไปพิพธิ ภัณฑ์ทเี่ มืองโฮจิมนิ ห์ ประเทศเวียดนาม ได้เห็นภาพของกลุม่ จากส�านักพระราชวัง เราก็น�้าตาไหลออกมา พอถึงเวลาจริงๆ เราก็รบั ไม่ไหว คอมมิวนิสต์ที่เข้ามาตั้งกองก�าลังอยู่ใกล้ชายแดนประเทศไทย ซึ่งพวกเขา เป็นความสูญเสียที่เราไม่เคยเจอ ไม่เคยรู้สึกแบบนี้มาก่อน เราเดินขึ้น เตรียมพร้อมทีจ่ ะบุกบ้านเราทุกเมือ่ แต่เราไม่เคยรูเ้ รือ่ งนีเ้ ลย คนรุน่ เรารูแ้ ค่วา่ เครื่องบินทั้งน�้าตา ร้องไห้ไม่หยุด เป็นความรู้สึกเสียใจที่บอกไม่ถูก เพราะ คอมมิวนิสต์คอื กลุม่ อุดมการณ์จากประเทศจีนเท่านัน้ และเราก็เริม่ ปะติดปะต่อ ในฐานะของคนที่อยู่ใต้ร่มพระบริบาล เราได้สูญเสียคนที่ดูแลเราที่หาจาก เรื่องราวที่เราเคยอ่านบทสัมภาษณ์ของทหารไทยในยุคนั้นที่เขาบอกว่า ที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว” ในหลวงท่านเคยตรัสไว้ว่า คนไม่ได้อยากเป็นคอมมิวนิสต์ คนเขาแค่ไม่มีกิน สิ่ ง ที่ กั ล ยกรเรี ย นรู ้ เ กิ ด จากการศึ ก ษาเรื่ อ งราวของพระบาทสมเด็ จ พอไม่มกี นิ พวกเขาก็ตอ้ งหาทางออก ซึง่ ในหลวงท่านไม่ได้สนใจว่าใครจะเป็น พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เธอจึงขอเดินตามรอยของพระองค์ท่าน คอมมิวนิสต์หรือไม่ ท่านมองว่าทุกคนคือประชาชน ท่านรบกับความยากจน ด้วยการท�าความดี และคิดถึงเรื่องของส่วนรวมก่อนคิดถึงตัวเอง ซึ่งเธอ เพือ่ ให้ทกุ คนมีกนิ ท่านรูว้ า่ ตอนนัน้ ประเทศมีการสูร้ บ มีสงคราม แต่ทา่ นสูก้ ลับ พูดอย่างหนักแน่นว่านี่เป็นสิ่งที่ตัวเองท�าได้ เพื่อบอกคนอื่นๆ ว่า ฉันได้รับ ด้วยการให้ความเจริญ ให้การท�ากิน ซึง่ เรือ่ งนีไ้ ม่ใช่เรือ่ งง่าย และไม่ใช่วสิ ยั ทัศน์ แรงบันดาลใจจากพระมหากษัตริย์พระองค์นี้ ที่กษัตริย์หลายๆ ประเทศจะมี หลังจากนั้นเราก็รักท่านมาก เพราะเราเห็น การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช สร้างความเศร้าโศกให้กบั ปวงชนชาวไทย อย่ า งมาก จนเกิ ด เป็ น ความสงสั ย ต่ อ ชาวโลกว่ า พ่อหลวงของเรานั้นทรงมีพระบารมีล้นเกล้ามากมาย ขนาดไหน หนึง่ ในผูท้ ตี่ อบข้อสงสัยของประชาคมโลก ด้วยข้อเขียน ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า เธอเป็ น หญิ ง สาวที่ รั ก ในหลวงอย่ า ง สุดหัวใจคือ ‘เอิน’ - กัลยกร นำคสมภพ และนีเ่ องทีน่ า� เรา มาพูดคุยกับเธอถึงสาเหตุที่ท�าให้เธอรักพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งเธอบอกว่าได้ศึกษาเรื่องราวของพระองค์ท่านอย่าง จริงจัง ด้วยเหตุผลว่าจะไม่ขอเชื่อในสิ่งที่ใครบอกถ้าเรา ไม่รู้สึกแบบนั้นด้วยตัวเอง


พื้นที่เป็นส่วนๆ คือพื้นที่น�้า พื้นที่ดินเพื่อเป็นที่นาปลูกข้าว พื้นที่ดิน ส�าหรับปลูกพืชไร่ชนิดต่างๆ และที่ส�าหรับอยู่อาศัยและเลี้ยงสัตว์ ในอัตราส่วน 30:30:30:10 “ซึ่งไม่ต้องท�าตามเป๊ะๆ แต่ว่าให้ปรับใช้เอาตามบริบท แม้ว่าที่ดิน จะมีขนาดเล็ก แต่ต้องก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อย่างที่เราท�าใน ช่วงแรกยังไม่มีการเลี้ยงสัตว์ มีการแบ่งโซนที่นาและที่พักเยอะหน่อย เพราะเรามีกิจการเกี่ยวกับที่พักด้วย จากนั้นจึงเริ่มเลี้ยงควายตอนที่ เรียนจบและย้ายกลับมาอยู่ที่บ้านถาวรก็ค่อยๆ ปรับการใช้พื้นที่ไปจน The King ลงตัว ทีน่ า่ ทึง่ มากๆ คือในหลวงท่านแบ่งสัดส่วนต่างๆ ตามหลักวิชาการ On My Mind เกี่ยวกับปริมาณน�้าที่จะถูกกักเก็บให้เพียงพอต่อการเพาะปลูกตลอด ทั้งปี ซึ่งตอนแรกเราไม่เข้าใจว่าท�าไมต้องแบ่งพื้นที่เก็บน�้าไว้เยอะ “แม้แทบจะไม่มีต้นทุนในเรื่องการเกษตรเลย แต่เราก็ตัดสินใจท�า ขนาดนั้น แต่เมื่อค่อยๆ ท�าตามไปจึงเริ่มเข้าใจ” “มั น จะต้ อ งไม่ จ บแค่ ก ารเกษตรกรรมด้ ว ยตั ว เอง โดยช่ ว งปี แ รกเราทดลองให้ ค นงานท� า “ช่วงที่สื่อและคนในโลกโซเชียลเริ่มให้ความสนใจสิ่งที่เราท�าอยู่ จากไปของพระองค์ท่าน เพราะ ซึ่งปรากฏว่าเขาใช้สารเคมีที่ราคาต้นทุนสูงมากในการเร่งผลผลิต มันเกิดขึ้นเร็วมากจนเราตั้งตัวไม่ทัน และไม่สามารถอธิบายให้ทุกคน แนวคิ ด และหลั ก ปฏิ บั ติ ต ่ า งๆ นี่จึงเป็นเหมือนวงจรที่ตัดไม่ขาด ท�าให้เกษตรกรต้องมีหนี้สินซ�้าซาก เข้าใจถึงสิง่ ทีเ่ ราคิดและหลักทีเ่ รายึดถือปฏิบตั ไิ ด้ดพี อ เขาเดินเข้ามาดู รวมถึ ง คุ ณ งามความดี ต ่ า งๆ เราทบทวนและคิดว่ามันน่าจะต้องมีทางออกที่ดีกว่านั้น จึงเริ่มต้น สิง่ ทีเ่ ราก�าลังพยายามท�าโดยทีเ่ ราก็ไม่แน่ใจว่าเขาได้ความรูห้ รือแนวคิด ของพระองค์ทจี่ ะยังคงอยูก่ บั เรา หาข้อมูลโครงการตามพระราชด�าริของในหลวง” อะไรกลับออกไปด้วยหรือเปล่า จนเกิดเป็นความฉาบฉวย เราจึงฉุกคิด ตลอดไป” “เหมือนภาพตัดกลับไปยังสมัยเด็ก” ตอนที่เห็นโฆษณาตัวหนึ่ง ขึน้ มากับตัวเองว่า เราควรท�าอย่างค่อยเป็นค่อยไป ให้เราและชุมชนมี ซึ่งเปรียบเทียบการท�าเกษตรจากสองครอบครัวซึ่งมีที่ดินท�ากินติดกัน ภูมิคุ้มกัน มีความเข้มแข็งในตัวเองก่อนดีไหม แล้วจึงค่อยให้คนทั่วไป ครอบครัวหนึง่ ท�าการเกษตรแบบเก่าซึง่ จะปลูกพืชชนิดเดิมซ�้าๆ กับอีก เข้ามา” ครอบครัวทีท่ า� การเกษตรทฤษฎีใหม่ นัน่ คือความทรงจ�าแรกๆ ทีเ่ ธอและคนไทยหลายล้านคน นีค่ อื แก่นแท้ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงือ่ นไข นอกจากความพอประมาณ จดจ�าและได้ท�าความรู้จักกับเกษตรทฤษฎีใหม่ของในหลวง ไม่สุดโต่งแล้ว การมีภูมิคุ้มกันที่ดี เพื่อไม่ให้กระแสต่างๆ จากภายนอกเข้ามามีผลกระทบ “หลายคนยังแยกไม่ออกระหว่างปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ต่อชีวติ มากเกินไป คือสิง่ ทีเ่ ธอได้เรียนรู้ โดยเริม่ จากการสร้างความเข้าใจในเรือ่ งเกษตรกรรม คนส่วนใหญ่มักจะน� าปรัชญาและทฤษฎีสองอย่างนี้มารวมกัน แล้วไปเหมารวมว่า ให้กับเด็กๆ เพื่อสร้างองค์ความรู้ส�าหรับเครือข่ายที่เข้มแข็งของชุมชนต่อไปในอนาคต สิง่ ทีพ่ ระองค์ท่านต้องการจะสือ่ ถึงนัน้ เป็นเรือ่ งของการท�าเกษตรกรรม เลีย้ งสัตว์ ปลูกพืช “คนรุ่นเราโตมาในยุคที่เห็นผลลัพธ์ในสิ่งที่ในหลวงท่านเพียรพยายามท� ามาตลอด ท�านาเท่านั้น ซึ่งจริงๆ แล้วไม่ใช่เลย” หลายสิบปีแล้ว มันจะต้องไม่จบแค่การจากไปของพระองค์ทา่ น เพราะแนวคิดและหลักปฏิบตั ิ เกษตรทฤษฎีใหม่คือแนวทางการจัดการที่ดินและน�้าเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืน โดยแบ่ง ต่างๆ รวมถึงคุณงามความดีต่างๆ ของพระองค์จะยังคงอยู่กับเราตลอดไป” บทสนทนาทางไกลจากอ�าเภอภูเรือ จังหวัดเลย กับเกษตรกร รุ่นใหม่ ‘หนูดี’ - จิตชนก ต๊ะวิชัย สาวน้อยผู้พยายามสร้างเครือข่าย ความเข้มแข็งให้กบั ชุมชน ผ่านองค์ความรู้ และหลักปฏิบตั ทิ เี่ ธอเลือกเดิน ตามรอยพระบาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เธอเกิดมาในช่วงเวลาที่โครงการพระราชด� ารินับพันโครงการ ทั่วประเทศที่พระองค์ทรงริเริ่มไว้ แผ่ขยายกิ่งก้านสาขายิ่งใหญ่งดงาม เกิดเป็นความเคารพและศรัทธา แม้จะไม่ได้อยู่ในยุคที่ได้เห็นพระองค์ ทรงงานอย่ า งหนั ก แต่ ผ ลลั พ ธ์ ที่ เ หล่ า คนรุ ่ น ใหม่ ไ ด้ เ ห็ น ล้ ว นเป็ น การตอกย�้าถึงพระปรีชาสามารถและความรักความใส่ใจที่พระองค์ มีต่อเหล่าพสกนิกร

Always Here with Us เรื่อง: มิ่งขวัญ รัตนคช


Wherever Under His Graciousness เรื่อง : มิ่งขวัญ รัตนคช ภาพ : มณีนุช บุญเรือง

แม้จะเป็นเพียงหมู่บ้านเล็กๆ ซึ่งตั้งอยู่ ณ พื้นที่ไกลแสนไกลจากตัวเมือง เหนือเขื่อนภูมิพล แต่ครั้งหนึ่งพ่อหลวงก็เคยเสด็จฯ ไปถึง และรอยพระบาท ของพระองค์ท่านก็ ได้ประทับลงเช่นเดียวกับทุกแห่งหนบนผืนแผ่นดินไทย นี่ คื อ เรื่ อ งราวความรั ก และจงรั ก ภั ก ดี ที่ เ หล่ า ชาวกะเหรี่ ย งบนดอย มีต่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากค�าบอกเล่าของ ‘ตุ้ย’ - จันทร์ค�ำ ปู่เป็ด แห่งศูนย์การเรียนรู้ผ้าทอกะเหรี่ยงบ้านหล่ายแก้ว อ�าเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่

“ผมมีเหรียญชาวเขาทีร่ ะลึก ที่ คุ ณ ย่ า ให้ ม า ซึ่ ง คุ ณ แม่ ก็ มี แขวนอยู ่ ที่ ค อตลอดเช่ น กั น เหรียญนี้ถือเป็นเครื่องเตือนใจ ว่ า ทุ ก สิ่ ง ที่ ผ มท� า ตั ว ตนที่ ผ ม เป็นอยู่ในทุกวันนี้ มาจากพระมหากรุณาธิคุณและบุญบารมี ของพ่อหลวง ที่ท�าให้เราได้อยู่ The King ในประเทศไทย ใต้รม่ โพธิร์ ม่ ไทร On My Mind ของพระองค์ ท ่ า น เมื่ อ ก่ อ น เหรียญชาวเขาคือสิ่งที่ใช้แทน บัตรประชาชน มีเลขที่ มีแผนที่ “ทุ ก วั น นี้ เ วลาผมไปสอน ประเทศไทย และรูปของพ่อหลวง ชาวบ้ า น ผมจะพู ด ตลอดว่ า ปั๊มอยู่บนเหรียญ เป็นเหรียญ รักพ่อหลวงให้มากๆ เพราะถ้า ที่ พ ระองค์ ท ่ า นพระราชทาน ไม่ มี พ ระองค์ ท ่ า น ทุ ก วั น นี้ แก่ชาวเขาไว้ ชาวดอย ชาวกะเหรี่ยงก็ ไม่รู้ว่า “ ต อ น พ ร ะ อ ง ค ์ เ ส ด็ จ ฯ จะมีชีวิตความเป็นอยู่อย่างไร” ขึน้ มาเพือ่ เยีย่ มและมอบเหรียญ ชาวเขาที่ ร ะลึ ก ให้ แ ก่ พี่ น ้ อ ง ชาวดอยเต่ า ผมยั ง เล็ ก มาก แต่ได้เห็นรูปภาพที่ผู้เฒ่าผู้แก่เก็บรักษาเอาไว้ หลังจากการก่อสร้าง เขื่อนภูมิพล ปู่ ย่า ตา ทวด อพยพย้ายขึ้นมาเหนือเขื่อน พ่อหลวง ท่านก็ได้มอบอาชีพ จัดให้มีนิคมสร้างตนเองต่างๆ ขึ้น มีการจัดแบ่ง พื้นที่เป็นแปลงๆ เพื่อจัดสรรที่ดินท�ากินให้เหล่าชาวกะเหรี่ยง” จันทร์ค�าบอกกับเราว่า คนเฒ่าคนแก่ล้วนเล่าขานถึงพ่อหลวง ที่พยายามดั้นด้นขึ้นมาเยี่ยมเยียน ส�ารวจสภาพความเป็นอยู่ของ คนกะเหรี่ยงบนดอย พร้อมหยาดเหงื่อที่ประพรมทั่วใบหน้า พระองค์ น� า องค์ ค วามรู ้ แ ละการพั ฒ นาแบบค่ อ ยเป็ น ค่ อ ยไปมาสู ่ ด อย คนกะเหรี่ยงจึงรักพ่อหลวงพระองค์นี้เหนือสิ่งอื่นใด ทุกหลังคาเรือน ล้วนมีพระบรมฉายาลักษณ์ประดับไว้ “ตอนนี้เราสร้างศูนย์การเรียนรู้บนดอย เป็นโรงเรียนภูมิปัญญา ทีผ่ มน้อมน�าเอาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาสอนให้เด็กๆ ได้เรียนรูแ้ ละ ปฏิบัติ ทั้งในเรื่องของการช่วยเหลือตนเอง การอยู่อย่างยั่งยืน โดยน�า วิถีการใช้ชีวิตแบบเก่ามาผสานเข้ากับความเจริญและเทคโนโลยีใหม่ๆ อาศัยอยู่บนความพอดีพอใช้ ไม่หลงไปกับสิ่งใหม่ๆ ที่ยั่วยุ สร้าง ความสมดุล เดินทางสายกลาง ตามแบบที่พระองค์ท่านทรงสอนไว้ “เราไม่ได้ทา� ธุรกิจเชิงการค้าเพือ่ ก�าไร แต่เราท�าธุรกิจเชิงการอนุรกั ษ์ เพื่อสืบสานวัฒนธรรมอันดีงาม เพื่อกระจายให้ทุกคนมีรายได้จาก ความรู้ความสามารถที่มีอยู่ ซึ่งการทอผ้าถือเป็นภูมิปัญญาที่มีอยู่แล้ว เราปรับปรุงคุณภาพของผ้าทอ จากตอนแรกเราท� าเฉพาะแค่กลุ่ม ของเรา แล้วกระจายให้หมู่บ้านอื่นจนเป็นเครือข่าย “พระราชด�ารัสที่ว่าต้องเข้าใจและเข้าถึง คือหลักที่เราน�ามาใช้ใน การสร้างศูนย์การทอผ้ากะเหรี่ยง ลูกค้าฝรั่งเขาเข้าไปเห็นขั้นตอนว่า กว่าจะได้ผา้ ทอมาสักผืน ชาวบ้านต้องยากล�าบาก เพราะเป็นงานทอมือ ล้วน เขาก็มใี จทีจ่ ะช่วยสนับสนุน เมือ่ เขาเห็นกระบวนการและได้เข้าถึง ขั้นตอนเหล่านั้น จึงเข้าใจถึงคุณค่าของสินค้าจากภูมิปัญญาของเรา” “ท�างานสานต่อเจตนารมณ์ของพ่อหลวง” คือถ้อยค�าที่จันทร์ค�า กล่าวพร้อมแววตาสลด พระองค์ท่านประสงค์จะให้พสกนิกรชาวไทย ใต้ร่มพระบารมีมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี สามารถพึ่งพาตัวเองได้ “ทุกวันนี้เวลาผมไปสอนชาวบ้าน ผมจะพูดตลอดว่า รักพ่อหลวง ให้มากๆ เพราะถ้าไม่มีพระองค์ท่าน ทุกวันนี้ชาวดอย ชาวกะเหรี่ยง ก็ไม่ร้วู ่าจะมีชวี ติ ความเป็นอยู่อย่างไร ผมท�างานจิตอาสาพัฒนาชุมชน เพื่อตอบแทนคุณแผ่นดินที่ท�าให้ผมมีวันนี้ เราไม่ได้พัฒนาชุมชนด้วย มู ล ค่ า จากเม็ ด เงิ น แต่ เ ราสร้ า งศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของการมี ส ่ ว นร่ ว ม เพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาไว้ให้คนรุ่นหลัง ถ้าคนรุ่นเราไม่ถ่ายทอด มันก็จะลบเลือนหายไปเรื่อยๆ เราต้องมองไปสู่อนาคต คิดไปข้างหน้า แต่ไม่ลืมที่จะหันกลับมามองเบื้องหลัง อดีต และรากเหง้าของตนเอง ตามอย่างที่พ่อหลวงบอกเสมอมา”


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นถึง ปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของราษฎรในพื้นที่ ห่างไกลที่มีฐานะยากจนและขาดความรู้ ในการดู แ ลรั ก ษาตนเอง จึ ง มี พ ระราชด� า ริ เ กี่ ย วกั บ โครงการด้านการแพทย์และสาธารณสุขต่างๆ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนเหล่านั้น และเพื่อ ส่ ง เสริ ม ความรู ้ เ กี่ ย วกั บ การป้ อ งกั น ตนเอง ให้แก่ราษฎร

โครงการพัฒนา ด้านสาธารณสุข 55 โครงการ

โรงสีข้าวพิกุลทอง จ.นราธิวาส เป็นโรงสีข้าว พระราชทานจากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่เกิดขึ้นหลังจากความส�าเร็จในการแก้ปัญหาน�้าและ การแกล้งดินในพื้นที่ลุ่มน�้าโก-ลกกว่า 110,000 ไร่ ท�าให้เกษตรกรจ�านวนมากมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

DID YOU KNOW?

โครงการห้วยองคต อ.หนองปรือ จ.กาญจนบุรี

แพทย์อาสาสมัคร ด้านหู คอ จมูก ในหลายพื้นที่

ศูนย์บริการโลหิต ในหลายพื้นที่

โครงการพัฒนาพื้นที่ราบเชิงเขา ป่าทับลานด�าริ อ.นาดี จ.ปราจีนบุรี

โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝก อ.บัวเชด จ.สุรินทร์

โครงการเลี้ยงปลาในกระชัง อ.ศิลาลาด จ.ศรีสะเกษ

ศูนย์ศิลปาชีพอีสานใต้ อ.เมือง จ.สุรินทร์

โครงการพัฒนาป่าหนองเต็ง-จักราช อ.จักราช จ.นครราชสีมา

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน อ.เมือง จ.สกลนคร

ศูนย์สาธิตการพัฒนาเกษตร แบบผสมผสานบ้านติ้ว อ.บ้านผือ จ. อุดรธานี

ในปี พ.ศ. 2558 แผนปฏิบัติการฝนหลวงตามแนว พระบรมราโชบายในการสร้างความชุ่มชื้นให้กับพื้นที่ เกษตรกรรมช่วงฤดูแล้งและฝนทิ้งช่วง ท�าให้มีวันฝนตก จากการปฏิบัติการฝนหลวงรวม 196 วัน ครอบคลุม พื้นที่กว่า 74 จังหวัดทั่วประเทศ

โรงงานท�าแขนขาเทียม และฝึกอาชีพ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กรุงเทพมหานคร

โครงการบ�าบัดน�้าเสียบึงมักกะสัน โครงการสารานุกรมไทยส�าหรับเยาวชน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร

โครงการพัฒนาพื้นที่มูลนิธิชัยพัฒนา อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์

หน่วยแพทย์พระราชทาน ในหลายพื้นที่

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 44 แห่งทั่วประเทศ

โครงการแก้ ไขปัญหาไฟป่าภาคเหนือ พื้นที่ 10 จังหวัดภาคเหนือ

เส้นทางสายจอมทอง-แม่แจ่ม (หมู่บ้านชาวเขาในโครงการอุทยานแห่งชาติ ธนาคารข้าวพระราชทาน ดอยอินทนนท์) อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ หลายอ�าเภอ ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่

DID YOU KNOW?

โครงการในพระราชด�าริอนื่ ๆ ในเชิงบูรณาการ หรือมีเป้าหมายแตกต่างจากข้ออื่นๆ ข้างต้น

โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� า ริ ด้านการส่งเสริมอาชีพ มีจุดมุ่งหมายส�าคัญคือ เพื่อการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัย แสวงหา แนวทางและวิธีการพัฒนาด้านต่างๆ ที่เหมาะสม กับสภาพแวดล้อมและการประกอบอาชีพของ ราษฎรในภูมิภาคต่างๆ เพื่อให้ราษฎรสามารถ น�าไปปฏิบัติได้จริง โครงการส่งเสริมปศุสัตว์ ในพื้นที่โครงการหลวง อ.แม่สรวย จ.เชียงราย

โครงการบูรณาการ และอื่นๆ 246 โครงการ

โครงการส่งเสริม อาชีพ 338 โครงการ

ปั ญ หาที่ เ กิ ด จากการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ โดยอุตสาหกรรมที่ไม่ได้วางแผนอย่างรอบคอบ น�ามาสู่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ เพื่ อ พั ฒ นาสิ่ ง แวดล้ อ ม งานส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การปรั บ ปรุ ง สภาพทรั พ ยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม ได้แก่ ดิน น�้า และป่าไม้ ไปจนถึง การศึกษาวิธกี ารป้องกันผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้

โครงการพัฒนา สิ่งแวดล้อม 169 โครงการ

เขื่ อ นขุ น ด่ า นปราการชล จั ง หวั ด นครนายก เป็นเขื่อนคอนกรีตบดอัดที่มีความยาวที่สุดในโลก ท�าหน้าที่รับน�้าจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ลงสู่ อ่างเก็บน�้าความจุ 224 ล้านลูกบาศก์เมตร ช่วยลด ปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ลงได้ถึง 35%

DID YOU KNOW?

โครงการพัฒนาแหล่งน�้าอันเนื่องมาจาก พระราชด�าริ ส่วนใหญ่มักมีวัตถุประสงค์เพื่อ การเกษตรเป็นส�าคัญ ช่วยให้พื้นที่เพาะปลูก มี น�้ า อย่ า งอุ ด มสมบู ร ณ์ ใ นฤดู ฝ นและฤดู แ ล้ ง ประชาชนมีน�้าใช้ ในการอุปโภคบริโภคตลอด ทั้งปี นอกจากนี้ยังมีหลายโครงการเกิดขึ้นเพื่อ บรรเทาความเดื อ ดร้ อ นจากอุ ท กภั ย รั ก ษา แหล่ ง ต้ น น�้ า ล� า ธารและสมดุ ล ของระบบนิ เ วศ ไปจนถึงเพื่อพัฒนาการผลิตไฟฟ้าพลังน�้า

โครงการพัฒนา แหล่งน�้า 3,148 โครงการ


โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� า ริ ด้ า นสวั ส ดิ ก ารสั ง คม มี จุ ด มุ ่ ง หมายในการช่วยเหลือราษฎรและจัดหาที่อยู่อาศัย ที่ท�ากิน และสิ่งอ�านวยความสะดวกขั้นพื้นฐานที่จ�าเป็น ในการด�ารงชีวิต เพื่อส่งเสริมให้ราษฎรมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

โครงการด้าน สวัสดิการสังคม/ การศึกษา 393 โครงการ

โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชด�าริ เกิดจาก การที่ ช าวบ้ า นน� า มั น เทศมาถวายในหลวง ซึ่ ง มั น ต้นดังกล่าวเจริญเติบโตแม้จะถูกวางทิ้งไว้บนตาชั่ง ในห้องทรงงาน พระองค์จงึ ตรัสว่า “มัน อยูท่ ี่ไหนก็ขนึ้ ” และพระราชทานพันธุ์มันเทศให้น�ามาปลูกที่โครงการ ใน อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี และพระราชทานชื่อโครงการ ว่า ‘โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชด�าริ’

DID YOU KNOW?

แนวพระราชด�าริเกี่ยวกับการพัฒนาการเกษตร มักเน้นไปที่การค้นคว้า ทดลอง และวิจัย หาพันธุ์พืชต่างๆ ทั้งพืชเศรษฐกิจ พืชเพื่อการปรั บ ปรุ ง บ� า รุ ง ดิ น และพื ช สมุ น ไพร ตลอดจน ศึกษาเกี่ยวกับแมลงศัตรูพืชไปจนถึงพันธุ์สัตว์ ต่างๆ ที่เหมาะสมส�าหรับการเลี้ยงในแต่ละพื้นที่ ประกอบกับการใช้เทคโนโลยีที่ ไม่สลับซับซ้อน เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจให้แก่เกษตรกร

โครงการ พัฒนาการเกษตร 166 โครงการ

ปี พ.ศ. 2495 เกิดโรคโปลิโอระบาด ในหลวง ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง ‘ทุนโปลิโอสงเคราะห์’ ขึ้น โดย พระราชทานทุนแรกเริม่ เพือ่ ก่อสร้างตึกวชิราลงกรณ์ธาราบ� า บั ด ส� า หรั บ บ� า บั ด รั ก ษาผู ้ ป ่ ว ยและพิ ก าร นอกจากนีย้ งั ได้พระราชทานพระราชทรัพย์อกี ส่วนหนึง่ แก่โรงพยาบาลศิริราช เพื่อก่อตั้งสถานบ�าบัดโรค โปลิโอ

DID YOU KNOW?

ความส� า เร็ จ ของมู ล นิ ธิ ก ารศึ ก ษาทางไกล ผ่านดาวเทียม ท�าให้ปัจจุบันมีโรงเรียนกว่า 35,215 โรงเรียนทั่วประเทศที่ ไ ด้รับ การติด ตั้ งระบบ และมี ผู้ส�าเร็จการศึกษาจากการศึกษาด้วยระบบทางไกล ผ่านดาวเทียมจากทุกภาคของประเทศ

DID YOU KNOW?

โรงงานสกัดน�้ามันปาล์มขนาดเล็ก อ.ปลายพระยา จ.กระบี่

ธนาคารโค กระบือ เพื่อเกษตรกร อ.เมือง และ อ.ละอุ่น จ.ระนอง

โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้าปากพนัง อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช

พัฒนาพื้นที่หนองใหญ่ ตามพระราชด�าริ (ปรับปรุงคลองละมุ) อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร

โรงเรียนต�ารวจตระเวนชายแดน ทั่วประเทศ

โครงการศึกษา วิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี

ทางคู่ขนานลอยฟ้า ถนนบรมราชชนนี กรุงเทพมหานคร

สะพานจตุรทิศตะวันออก กรุงเทพมหานคร

โครงการแก้มลิง คลองมหาชัย เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร

สะพานพระราม 8 เกิดจากพระราชด�าริของ ในหลวงเพื่ อ แก้ ป ั ญ หาการจราจรในกรุ ง เทพฯ สะพานพระราม 8 ช่วยรองรับการเดินทางระหว่าง ฝั่งพระนครกับฝั่งธนบุรีให้สะดวกสบายขึ้น และ สามารถระบายรถบนสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า ได้ถึง 30% และสะพานกรุงธนได้อีก 20%

DID YOU KNOW?

โครงการด้านคมนาคมและการสื่อสาร ส่วนใหญ่เป็นโครงการปรับปรุงเส้นทางเพื่อ การเดินทางและการขนส่ง โดยมีเป้าหมายให้ ราษฎรในเขตชนบทสามารถติ ด ต่ อ กั บ โลก ภายนอกได้ง่ายขึ้น โดยโครงการต่างๆ มีตั้งแต่ การปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า งถนนในพื้ น ที่ ต ่ า งๆ ไปจนถึงการพัฒนาวิธีแก้ ไขปัญหาการจราจร

โครงการพัฒนา การคมนาคม และการสื่อสาร 81 โครงการ

นาข้าวขั้นบันได นิคมสร้างตนเองสุคิริน อ.สุคิริน จ.นราธิวาส

หมู่บ้านสหกรณ์ อ.หัวหิน จ.ระยอง

โครงการปรับปรุงคลองลัดโพธิ์ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ

ทีม่ า: http://www.rdpb.go.th/rdpb/projectdata/index.htm http://www.rdpb.go.th/rdpb/projectdata/files/summary_roy_project58.pdf

พวกเราทุกคนโชคดีเหลือเกินที่ได้เกิด มาในแผ่นดินของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ผูท้ รงเป็นกษัตริย์ นักพัฒนา แต่รกู้ นั หรือไม่วา่ โครงการ พระราชด�าริทพี่ ระองค์ทา่ นได้ทรงริเริม่ แนวทาง พัฒนาต่างๆ ไว้นนั้ มีจา� นวนมากถึง 4,596 โครงการ ซึง่ นีล่ ว้ นเป็นของขวัญทีพ ่ วกเรา จะต้องช่วยกันดูแลรักษา และพัฒนาต่อไป

Royal Projects Are All Around

โครงการสวนสัตว์ป่าเปิดภูเขียว ตั้งอยู่ในเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จ.ชัยภูมิ พื้นที่ดังกล่าว เป็ น ป่ า ผื น ใหญ่ ส ภาพอุ ด มสมบู ร ณ์ ที่ เ หลื อ อยู ่ ไม่กี่แห่งในภาคอีสาน มีพื้นที่กว่า 1,125,000 ไร่ และ มีสัตว์ป่าที่มีคุณค่าหลายชนิดอาศัยอยู่ เช่น กระซู่ กระทิง วัวแดง ช้างป่า เลียงผา เสือโคร่ง

DID YOU KNOW?


The Artist Talks เรื่อง : วรัญญู อินทรก�ำแหง, วสิตำ กิจปรีชำ ภำพ : วงศกร ยี่ดวง

Sunti Pichetchaiyakul สันติ พิเชฐชัยกุล ผลงาน : รอยยิ้มของพ่อ


“ผมมีความฝันและสัญญาเอาไว้กบั ตัวเองตัง้ แต่เมือ่ ยังเป็นเด็กว่า หากผมโตเป็นผู้ใหญ่และได้เป็น นักปัน้ อาชีพทีม่ ฝี มี อื เป็นทีย่ อมรับในระดับสากล ผมจะปัน้ รูปปัน้ ในหลวงให้ดที สี่ ดุ กว่าทีเ่ ราเคยเห็นมา ทัง้ ชีวติ เพือ่ ถวายให้พระองค์ทา่ นได้ทรงทอดพระเนตรให้ ได้ภายในชาติน”ี้ นีค่ อื เหตุผลจากปากค�าของศิลปินผูส้ ร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม ‘รอยยิม้ ของพ่อ’ ซึง่ เป็น ปกของเราในฉบับนี้ ที่หลายคนต่างก็เห็นพ้องต้องกันว่า ผลงานชิ้นนี้โดย สันติ พิเชฐชัยกุล เป็น พระบรมรูปหล่อทีล่ ะม้ายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และมีความงดงามทีส่ ดุ เท่าทีเ่ คยมีมาในรูปแบบ ของผลงานประติมากรรมเลยก็วา่ ได้ ปัจจุบนั สันติอาศัยอยูท่ ปี่ ระเทศสหรัฐอเมริกา เมือ่ เราติดต่อขอน�าภาพถ่ายผลงานของเขามาเพือ่ เป็นปกของ a day BULLETIN ฉบับถวายอาลัยล�าดับสุดท้ายนี้ สันติไม่ได้ตอบอะไรอย่างอืน่ นอกจาก “ยินดีเป็นอย่างยิง่ ครับ” แต่หากจะให้เล่าเท้าความถึงกระบวนการผลิตพระบรมรูปหล่อชิน้ นีน้ นั้ ไม่ได้ถอื เป็นเรือ่ งง่าย เพราะ เพื่อให้ผลงานชิ้นนี้สมบูรณ์แบบที่สุด ศิลปินหนุ่มถึงกับต้องเดินทางไปขึ้นรูปหล่อถึงโรงพยาบาล เมาต์ออเบิรน์ เมืองเคมบริดจ์ ซึง่ เป็นสถานทีป่ ระสูตขิ องในหลวงเลยทีเดียว “เหตุผลก็เพราะว่า ผมต้องการสัมผัสกับพลังและจิตวิญญาณของสถานทีอ่ นั ศักดิส์ ทิ ธิท์ พี่ ระองค์ ท่านประสูติ ถ้าหากว่าพระองค์ทรงเริม่ ต้นการก�าเนิดเกิดเป็นมนุษย์ทนี่ นั่ พระบรมรูปหรือรูปปัน้ ทีผ่ ม จะปัน้ ถวายให้กบั พระองค์เป็นครัง้ แรกในชีวติ ของผม ก็ควรจะต้องยึดถือเอาสถานทีอ่ นั ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งนัน้ เป็นจุดเริม่ ต้น ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ เป็นการให้เกียรติแด่พระองค์ทา่ นอย่างสูงทีส่ ดุ ” แม้ทางโรงพยาบาลเมาต์ออเบิรน์ จะบอกกับเขาว่ายังไม่เคยอนุญาตให้ ใครท�าอะไรเช่นนีม้ าก่อน แต่ดว้ ยความตัง้ ใจจริงของสันติ และเป็นโปรเจ็กต์ทเี่ กีย่ วข้องกับพระมหากษัตริยข์ องไทย ท�าให้ทาง โรงพยาบาลตอบรับ แต่อนุญาตให้เขาท�าการปัน้ และถ่ายท�าวิดโี อภายในเวลาเพียงแค่ 3 ชัว่ โมงเท่านัน้ “แม้เวลาที่ได้รบั มาจะถือว่าน้อยมาก แต่เราจะต้องท�าให้ ได้ เพราะนัน่ ถือว่าเป็นโอกาสทอง ทีแรก ผมขอเขาปั้นในห้องที่พระองค์ท่านประสูติ แต่เขาบอกว่ามันเป็นตึกเก่าที่ทรุดโทรมมาก จึงจ�าเป็น ทีจ่ ะต้องทุบทิง้ ไป ผมจึงถามต่อไปอีกว่า มีตกึ หรือห้องอะไรทีเ่ ก่าแก่รนุ่ ราวคราวเดียวกับตึกนัน้ บ้างไหม เขาบอกว่า มี เป็นตึกข้างๆ ทีอ่ ยูต่ ดิ กัน เขาให้โอกาสผมใช้หอ้ งในชัน้ ล่างของตึก ซึง่ ตอนนัน้ ผมมีเวลาใน การปัน้ เหลืออยูแ่ ค่เพียง 1 ชัว่ โมง 30 นาทีเท่านัน้ ผมจึงต้องใช้เวลาให้คมุ้ ค่าและเต็มทีท่ สี่ ดุ เพือ่ ขึน้ แบบ โครงสร้าง ผมใช้ดนิ เหนียวเซรามิกสีขาวซึง่ มาจากเมืองนัน้ เป็นวัตถุดบิ ในการปัน้ เพือ่ ให้ ได้พลังและ ความศักดิส์ ทิ ธิข์ องสถานทีแ่ ห่งนัน้ ซึง่ ผมไม่เคยใช้มนั มาก่อน” นอกจากเรือ่ งสถานทีแ่ ละวัตถุดบิ ในการปัน้ แล้ว สันติยงั ให้ความส�าคัญกับฤกษ์ยามด้วย นัน่ เป็น เหตุผลทีท่ า� ให้เขาลงมือปัน้ ในวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2556 และเริม่ ลงมือปัน้ ในเวลา 09.09 น. โดยเจ้าตัว มีความเชือ่ ส่วนตัวก็คอื วันที่ 27 นัน้ เมือ่ 2+7 ก็จะเท่ากับ 9 และเมือ่ น�า พ.ศ. 2556 มาบวกกันก็จะได้ 18 เมือ่ น�าเลข 1+8 ก็จะได้ 9 อีกทัง้ เวลา 09.09 น. นัน้ เมือ่ บวกกันแล้วก็จะได้ 18 และ 1+8 ก็จะได้ 9 และเมือ่ น�าเลข 9 ทัง้ หมดมาบวกรวมกันก็จะได้เท่ากับ 36 และ 3+6 ก็จะเท่ากับ 9 “ดังนัน้ ผมจึงมีความเชือ่ ว่าเป็นเลขมงคลทีไ่ ด้ถกู ก�าหนดไว้แล้ว และผมก็ยงั บอกกับตัวเองอีกด้วย ว่า ผมจะต้องท�างานนีใ้ ห้สา� เร็จภายใน 9 เดือนให้ ได้ และผมก็ทา� ได้จริงๆ “ถามว่าการปัน้ งานชิน้ นีย้ ากทีต่ รงไหน ผมคิดว่าจะต้องปัน้ ให้เป็นทีย่ อมรับและนับถือของประชาชน ชาวไทยทัง้ ประเทศ เพราะพระองค์ทา่ นคือพ่อหลวงของปวงชน คือศูนย์กลาง และเป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจ ของคนไทยทั้งชาติ ซึ่งนั่นยากกว่าการปั้นให้เหมือนเพียงอย่างเดียว คือต้องปั้นให้ออกมาแล้วดูดี มีสง่าราศีและงดงามสมกับเป็นพระมหาราชา ต้องดูแล้วใจดีมเี มตตา รวมทัง้ มีพลังบารมี และมากไป กว่านั้น ยังจะต้องให้เห็นถึงชีวิตและจิตวิญญาณที่อยู่ข้างในนั้นด้วย เมื่อใครได้เห็นแล้วก็จะต้องมี ความสุขและซาบซึง้ ใจจนถึงกับหลัง่ น�า้ ตา นีแ่ หละคือความยากทีส่ ดุ ของผลงานชิน้ นีข้ องผม” ส�าหรับความรูส้ กึ ของประติมากรเอกทีไ่ ด้สร้างสรรค์ผลงานชิน้ นี้ สันติถอื ว่าเป็นเกียรติสงู ทีส่ ดุ แล้วในชีวติ ของเขาทีไ่ ด้เกิดมาเป็นนักปัน้ ไทยคนหนึง่ ซึง่ ได้ถวายงานปัน้ ชิน้ นีใ้ ห้กบั พระมหากษัตริย์ “ถึงแม้วา่ ผมจะไม่ได้เข้าเฝ้าฯ และทูลเกล้าฯ ถวายด้วยตนเองก็ตามที มีเพียงแค่รองราชเลขาส่วนพระองค์ทพี่ ระราชวังไกลกังวลมารับ และถวายให้แทน สิง่ ทีผ่ มประทับใจก็คอื ในวันถัดมาเมือ่ ผมโทร.ไปถามท่านรองราชเลขาว่าพระองค์ทา่ นทรงว่าอย่างไรบ้าง ก็ ได้รบั ค�าตอบว่า ‘พระองค์ทา่ นบอกว่าสวยดี’ “แค่นผี้ มก็ปลืม้ ใจอย่างทีส่ ดุ แล้วในชีวติ นี้ และต่อมาพระองค์ทา่ นก็ยงั ให้คนโทร.มาถามผมอีกว่า งานนีม้ นี า�้ หนักกีก่ โิ ล เพราะจะได้ให้คน ท�าฐานเพิม่ เท่านัน้ แหละครับ นัน่ คือค�าตอบว่าพระองค์โปรดผลงานของผม ไม่มอี ะไรมากไปกว่านีแ้ ล้ว ใครจะว่ายังไงก็ ไม่ตอ้ งไปสนใจใคร เขาพูดแล้ว แค่พระองค์ทา่ นทรงพอพระทัยและมีความสุขผมก็สขุ ใจแล้ว “เพราะนีค่ อื สาเหตุทผี่ มปัน้ ผลงานชิน้ นีใ้ ห้มรี อยยิม้ บนพระพักตร์ ก็เพราะอยากเห็นพ่อหลวงของเรายิม้ อย่างเป็นสุขนัน่ เอง”


TODAY EXPRESS PRESENTS

TODAY EXPRESS PRESENTS

TODAY EXPRESS PRESENTS

ISSUE 433 I 21 OCTOBER 2016

ISSUE 434 I 24 OCTOBER 2016

ISSUE 435 I 28 OCTOBER 2016

TODAY EXPRESS PRESENTS

TODAY EXPRESS PRESENTS

TODAY EXPRESS PRESENTS

ISSUE 436 I 31 OCTOBER 2016

ISSUE 437 I 4 NOVEMBER 2016

ISSUE 438 I 7 NOVEMBER 2016

TODAY EXPRESS PRESENTS

TODAY EXPRESS PRESENTS

TODAY EXPRESS PRESENTS

ISSUE 439 I 11 NOVEMBER 2016

ISSUE 440 I 14 NOVEMBER 2016

ISSUE 441 I 18 NOVEMBER 2016


ISSUE 433

พระผู้เป็นแรงบันดาลใจของแผ่นดิน

ถือเป็นคนแรกที่ได้ยินเพลงนี้ โดยโน้ตเพลงในภาพคือเพลง เทวาพาคู่ฝัน”

ANUCHAI SECHARUNPUTONG อนุชัย ศรีจรูญพู่ทอง “เราคงไม่อาจบอกได้ว่าสิ่งที่ท่านทรงท�าทุกอย่างคือ ‘ความอั จ ฉริ ย ะ’ แต่ สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ท ่ า นทรงสอนให้ เ รารู ้ คื อ ถ้ า มนุ ษ ย์ ตั้ ง ใจท� า อะไรสั ก อย่ า ง ต้ อ งศึ ก ษาให้ แ จ่ ม แจ้ ง เสียก่อน และค่อยน�าสิ่งนั้นไปต่อยอด ซึ่งพระองค์ทรงเป็น ต้นแบบในเรื่องนี้มาตลอด”

ISSUE 434

พระเจ้าอยู่หัว

ISSUE 438

พ่อของแผ่นดิน Chub Nokkaew ชุบ นกแก้ว “การเอาองค์ประกอบของธรรมชาติมาท�าให้เป็นรูปภาพ ขึ้ น มา เป็ น สิ่ ง ที่ ย ากมาก ถ้ า ดู ใ ห้ ล ะเอี ย ดจะเห็ น ว่ า เรา สร้ า งภาพขึ้ น จากภู เ ขาโล้ น ๆ ที่ ไ ม่ มี ต ้ น ไม้ ห รื อ อะไรเลย โดยเราก็หยิบจับเอาต้นไม้มารีทัชใส่ทีละต้นๆ จนกลายเป็น ภาพพระองค์ท่านที่สมบูรณ์”

SAKWUT WISESMANEE ศักดิ์วุฒิ วิเศษมณี “พระบรมราโชวาทที่ผมยึดไว้เสมอคือ ในบ้านเมืองนั้น มี ทั้ ง คนดี แ ละคนไม่ ดี ไม่ มี ใ ครที่ จ ะท� า ให้ ทุ ก คนเป็ น คนดี ได้ทั้งหมด การท�าให้บ้านเมืองมีความปกติสุข เรียบร้อย จึงมิใช่การท�าให้ทุกคนเป็นคนดี หากแต่อยู่ที่การส่งเสริม ความดี ให้คนดีปกครองบ้านเมือง และคุมคนไม่ดีไม่ให้มี อ�านาจไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้ ”

ISSUE 435

King 9

ISSUE 439

รอยยิ้มของพระราชา TERAWAT TEANKAPRASITH ธีรวัฒน์ เฑียรฆประสิทธิ์ “ยิ่งคนที่ชอบงานศิลปะไทยก็น่าจะยิ่งอินในความยิ่งใหญ่ เครื่องทรงสีทองที่เหลืองอร่าม เหมือนที่เรายกให้ท่านเป็น สมมติเทพ แต่พอเราโตขึ้นมา ก็มองท่านในอีกมุม มองท่าน เป็ น เหมื อ นผู ้ ใ หญ่ ที่ เ คารพ ตอนที่ ป ระชวรท่ า นก็ ยั ง คง ทรงงานอยูต่ ลอดเวลา เราก็รสู้ กึ สงสาร อยากให้ทา่ นได้พกั ”

LOLAY โลเล “สิ่งที่ยากที่สุดในการวาดรูปพระองค์ท่าน คือการวาด ยั ง ไงก็ ไ ด้ ใ ห้ เ หมื อ น ในมุ ม มองของคนอื่ น อาจจะรู ้ สึ ก ว่ า วาดแบบไหนก็ ไ ด้ เพราะท่ า นก็ มี ค าแร็ ก เตอร์ ที่ โ ดดเด่ น อยู่แล้ว แต่ส�าหรับผมเอง ถ้าจะวาดท่านต้องวาดให้เหมือน”

ISSUE 436

Our Tribute Covers ด้วยส�านึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ อันหาทีส่ ดุ มิได้ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 a day BULLETIN ได้จดั ท�าฉบับพิเศษเนือ่ งในวาระถวายอาลัยต่อเนือ่ งกันมา เป็นฉบับที่ 9 แล้ว ในการนีเ้ ราได้รบั ความร่วมมือเป็นอย่างดี จากศิ ล ปิ น เจ้ า ของผลงานต่ า งๆ หลากหลายสาขา เพื่อเป็นการย้อนระลึกถึงช่วงเวลาดังกล่าว เราจึงน�า ผลงานทั้งเก้าชิ้นมาเรียงร้อยต่อกันให้ชมภายในหน้านี้ เป็นข้อพิสจู น์วา่ พระองค์ทา่ นทรงเป็นแรงบันดาลใจให้กบั ผูค้ น ไม่วา่ จะเป็นศิลปะ หรือการกระท�าทีด่ งี ามใดๆ ก็ตาม

UNTITLED

WASINBUREE SUPANICHVORAPARCH วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ “ทุกคนสามารถท�าสิ่งที่ตัวเองถนัดเพื่อท่านได้ คือเรา อาจจะเป็นแค่ภาพไมโครจิ๊กซอว์เล็กๆ แต่ถ้าไม่มีชิ้นส่วน เล็กๆ นี้ก็ ไม่มีทางเป็นภาพที่สมบูรณ์”

ISSUE 440

THE MASTER (NYC) No 2 JITSING SOMBOON จิตต์สิงห์ สมบุญ “ไอเดี ย ของงานชิ้ น นี้ คื อ การท� า บล็ อ กภาพขึ้ น มา จากนั้นน�าบล็อกไปวางไว้ด้านหน้าพื้นหลัง ซึ่งเราจะมองเห็น พื้นหลังเหล่านั้นลอดผ่านตัวบล็อก เป็นที่มาของการท�า บล็อกเป็นรูปพระองค์ท่าน แล้วน�าพระบรมฉายาลักษณ์ ของพระองค์ ม าซ้ อ นไว้ ที่ ด ้ า นหลั ง คื อ ท่ า นเป็ น เสมื อ น พ่ อ พิ ม พ์ ที่ ดี ถ้ า บล็ อ กด้ า นหน้ า ดี ก็ จ ะขั บ เน้ น สิ่ ง ที่ อ ยู ่ ด้านหลังให้ดีไปด้วย”

ISSUE 441

รอยยิ้มของพ่อ SUNTI PICHETCHAIYAKUL สันติ พิเชฐชัยกุล

ISSUE 437

ติโต ความทรงจ�าในบทเพลงพระราชนิพนธ์ SURADEJ KEAWTHAMAI สุรเดช แก้วท่าไม้ “แมวตัวนีค้ อื ติโต เป็นแมวของสมเด็จย่า ผมอยากสือ่ สาร ผลงานนี้ผ่านเพลงพระราชนิพนธ์ของท่าน โดยให้ติโตเป็น ผู้ที่อยู่กับพระองค์ท่านตั้งแต่ตอนที่ทรงเริ่มแต่งเพลง และ

“สาเหตุที่ผมปั้นผลงานชิ้นให้มีรอยยิ้มบนพระพักตร์ ก็เพราะอยากเห็นพ่อหลวงของเรายิ้มอย่างเป็นสุขนั่นเอง


“ทุกสิ่งทุกอย่าง ที่เกิดที่เป็นอยู่แก่เราในวันนี้ ย่อมมีต้นเรื่องมาก่อน ต้นเรื่องนั้นคือเหตุ สิ่งที่ได้รับคือผล และผลที่ท่านมีความรู้อยู่ขณะนี้ จะเป็นเหตุให้เกิดผลอย่างอื่นต่อไปอีก คือท�าให้สามารถใช้ความรู้ที่มีอยู่ท�างานที่ต้องการได้ แล้วการท�างานของท่าน ก็จะเป็นเหตุให้เกิดผลอื่นๆ ต่อเนื่องกันไปอีก ไม่หยุดยั้ง ดังนั้นที่พูดกันว่า ให้พิจารณาเหตุผลให้ดีนั้น กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ให้พิจารณาการกระท�าหรือกรรมของตนให้ดีนั่นเอง คนเราโดยมากมักนึกว่าอนาคตจะเป็นอย่างไร เราทราบไม่ได้แต่ที่จริงเราย่อมจะทราบได้บ้างเหมือนกัน เพราะอนาคต ก็คือผลของการกระท�าในปัจจุบัน”

Royal Speech

พระบรมราโชวาท

ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 8 กรกฎาคม 2519


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.