L I V E ?
I T
H E A R D
Y O U
H A V E
02
! $ {z\[Y\NWKLJ@}YYPHNYcz]=@T[IYUSx?\HLm]@TP>=W
H^ZlP]@{z\TD~@HfN^LW[fN]LMBRg=QzlTm>`=W?^LWWN@]=@T[IYUS
TSYRQP]KNPXY\=PHl=@cz]=@T[IYUSc\KQTHYucT^uHTHYuc@\=QBRg]=c@SYRePlYz\ePlec\
=IB}IX^_?lWj^Hc@SYRh=W]@BfN[>g=c@SYR
07 aug 2017
issue 498
TX^WHLm TX^QU^I[SUBRgTD~@[lK@[fN]LMm\NWePl[Nf ]LMm\NWx@ORKIS
+ +0)/,8
TY>g=WT^lN?^LWTKBR[ZcTr=YUeXY[Uh=W KWc@SYR
[@B@NBNWeH^[ZcT=uHrU]^zrRnHLm ?@ZlP_?lWKW #
a day BULLETIN
YKPT?SZHNYFU[Nf ]LMx@KWHNYc@SYR[NH^
BEHIND THE COVER
CONTENTS
1
H A V E
Y O U
H E A R D
I T
L I V E ?
BL @ BR BRg e c\ Yz\ hl N K Kl N + 0 ) / , 8 K W c @ S YR [LMONSIvYLgWTA[CEPNT^l@ ] = @ T [I YU S BRg H YZ W T B X t TYNHuYm R SIcSl= ! $ ] = @ T [I YU S jDYjPTS=YU T C\ N h=WWN@ TX>g=h=[LPÂ&#x20AC;NVFUXKHThN CNHTcIPBR=g QNHBfN_]l]=^LP@U + ) 0 / 6 ) 2 3 % 4 , 0 / =Ql N WTcR Q K TYNDYw H VN HLmH=WmYYFN}IHNY_^E T?u@SYWHL@KlN KLJ@}YYP ]=@T[I YU S x@DYETBAeBQ x@Ol K WDy BRg {l N @PNec\ YL m ]KNP@IQP=QlNWPNH C N H ] K N P SL` W x C _ Y H BRg S\ = WHNYmB[L P Â&#x20AC;NVFU ePl HRg ? @\ N TYNCw W SL c [I @ xC CLmP>=HLmBRP ! $ TX>g = Bf N |mL m XITAV % (%9 8 ! $ BRgXzcqwWKWHNYc@SYR_^E ] = @ T [I YU S C N H PZ P P = W BRg?^NQ]@=NCePlT]QT?u@ [lK@Â&#x20AC;NXDHBR_g D^HSN@R` T D~ @ Yz D j D Y j P S =L ^ mL` P , .0 {^WN@OZc^lN[Zc h=WKW +0)/,8 BRgXKH ThNm=HKlN ;PL@ePlxOl=ISN^R x@=ZcP]SI _SlCETD~@=ISN^R _mmD^=P ?@l=Q<
Â&#x20AC;NX "%2/)2 204+)23
! [ZYXWVU TSYRQPONMOLQ KZJIOLQ HGVFEDYEHYHIC ! BYYA@ ?NMTY>=WTHRQYSI DYIMMN H\=@YLPQU XIPXU=Y @BHZ^ AYLMMN jYC@UXIBLHVUORX HP^KYYF [lW[PmzYFU XLB}P@ KWVUYLS@E "$ S@ZÂ&#x20AC;LBY j^?EXWA}Y
,- . HGS}HY [ZB}IHISSImZSY ,- . Â&#x20AC;N[HY }KLO}NSYR YLOSUÂ&#x20AC;N]QU _[WPR[I@[HZ^ / 0 XWAU}Y QI`P_Q\P / 0 OQZSPU ]OjHALQ [IYI^LHVFU SETÂ&#x20AC;N?IYLM aISIOMN =@L@SUAIYIÂ&#x20AC;LFbU $ 1 ?L[QN SL`WXIBQNTKBQU ALHcId[IB}Id eP\^Nf cK@ }P@KYYF HLK?N #% 0 & KIBQN Â&#x20AC;zlB=W ' 1 & 0 ! & PIgWhKLM YLS@]O ' 1 & 0 ! & CLHYI@ =I@SiEKW]U ! #% AYKFRQU AIYICYYQNHZ^ 1 ' #% P@L[@L@BU YZlWYLS@[IB}IHZ^ , - 1 ' #% }@NÂ&#x20AC;YFU AYRCk Z NWHz^ XWAU}c I N =LWAZKJ L @NHZ^ FLaKRF U DYEPZhDaPALHcI d #% ( $ Â&#x20AC;YLFÂ&#x20AC;X [Zh=I@BYU OI@KLJ@U Tno= p Wnz 0 ( #% =LCCIPN HNMC@[PBYLXQU #% ( FLaYcN SYEHz^[P / #) [I}NKYYF [HZ^PN^LQB=W Â&#x20AC;NFZPNA CEmLW Â&#x20AC;NFZBLO j[Â&#x20AC;F=Â&#x20AC;IHZ^ XIPXUO@H jHKIBT[qRQYOLQ 0 & ! ' !$ 1* ' T^hBRg r=QAz @ QU KI CL Q _hKWmNWHEDs ThS?\ K QhKNW HYZ W TBXt & ' &- jBY =R T P^ %(%9&5--)4,/.%*%:,/) *.%,- '0. TKumerSU 777 %(%9&5--)4,/.%*%:,/) '0. 777 (%910)43 '0. 777 *0(%910)43 '0.
THE SURVEY
Zo@S\\r HRJHofW\rF
04
^]\[ ZY XW V ZU T SR Q PON T OM L KR J ]ITPHG \F E DCB AG @ O_ T aQZER Q JO\mPDAER Q JXQZU T oQDp Q ZQ\LHVJ^TzD} aTDp Q ^K K @Q}]TZ\mPO` Q bC Z EUc J LER E T OM deJO@Q}OMZYzoRoCDCDRQSRQamP}YfEGV SUTTCcP\QP@}dgIhIZQHIIZzOHpQ\SaSRQOMTCc]T\UZVTE\CDUcJ\iRTP@YZ\iRT^KjRPkQHWjPHC}ZUTzOPDRQzK\RL@ SZUf]pQSRQ]ITPHG\FE
>K@Q} KogBT]\Uf
> fQD?
>O\moQr PZgIf
?
>TRQamPZGT KogBTa Q?
\ IJK Q} ?
PosQHGDsGt ZGEEGZi@}iDsF Z\Qu_ZVCznPTI\F
]UTbUE\ \UJHCZQjaTFHRIJ TUZPkC}T
O_}DUATF HisQX\vUD\ $&; 2&0<67
IUjlGwxQ hIlWZGa ''3827 ;)'87-9)
30(40&< DCH B J G ]hO\F PX\Qm fUE\ZYKZXUTZSRQ LXJDCH B V i PDRQDCPB ]}ngI c L@ S XI\So]RQ^l aQR }P@}I}WD R O CB \moQr
TRQamPONT $))2 &=) 3=&57 6 #-67)5 PON T VTE\C L TS V\CoXYIXDCzB oR]V G SRQamoChIZQHoQPogIJzD} L@ SfUE\ZY\Q]QL]R fQD XIzV VW P@}VC^aL@mlIfoQZ deJLo PX@JamhVT PHC } JLI\F k IJHdQTDCB Z @fzOKTR I } LERZYO\mDUf^aDCBHiVkIJOMZUf]ITPHG\FE P@YZ[ TCc
3''3 ]\Uf PONTTUZ\ IJ {W KjGJjCBOiqTLTSIU@PDI\FPTDCu\YIZ h u @F Z oU T L X J P X \ Q m P s I z oR P @R T ]ITPHG\FETIZjCBOiqT P@}E IJfGTzOVW PDRQTUT c KoVzOK@Q}KogT B DCK B TUZZSRQTUT c ]gIaUVKT Q\ IT I}QZamf QEQ} PKogIT I}WR^TPEQIfE@IVPS@Q
$,) ;; DCBHGJ]hO\F ]TzD} fGTzOVWZUTPXC}f PONTSJDCBu|J^TnCVCIQa am^K
LERXIVWz@u~L@ S]mLTT XiR J zO
XSZPkQP\C } fP\C } J ZQ\LHVJHVIIZoQzV VC o QZL@m nQSTVFSUTTUcTZYVCoQZ[ V S}
30(40&< TCBLK@m
PONTEGBJSJTCcI}WRL@ S lIfoQZ[ \IoQTQT LdofUE\XUTPVC}S ]i o o Q Z ER I ^ K ZY } I o ngc I hl]VCzV 1))7 &2( +5))7 V S} zoR\ W a m ]i o Z SR Q TCc }U J z J L @ S z O de J J Q T P@}PKoQ 1)5',&2(-6) zOHQoXUT ZSRQ LXJZSRQfUE\ICZa Q
, %32()5 LXJHi V KoVzOHIJXUTZSRQfQD
]ITPHG\FE #4&') #,3:)5 ")768()2 DCB P IQSJjCB Oiq T oQ SJ LdoP@R T HVVC L @moU T PZG T ]SQo]QV KoQ} ^TkrmDCB \ Q]QfU E \L]R fQDZSRQ[
> E T[
>TRQamPK}C}f
XUTP@GA A\CH\ I} 5))0&2') 5&4,-' )6-+2)5
]JPONT !5-1&9)5& #382( oG S HG Z PuHEG SU @ HQoSU T PEY o DCB H POT VW ] ITPHG \F E I}R Q JPVC } S \SoDi Z I}R Q J L@ S TRQamO\moQr fQD
!5-1&9)5& #382( P TCB } L K @ m ]i o o Q Z Z Z Z Z Z de J kTQVzOHIJOM EG V z@TF IU X VC Di Z OM oC P S DC ^ K jR P S DC L @ S P S DC P @Y Z }G f }R I }IC Z oQZoQ} L@ S \Q]QEU S PuHEG SU @ dg I SR Q dW Z oQZPogB I PDC } fZU f PuHEGSU@^KjRIgBT[
> fQD
LERd Q\So \dZUfh\JL\o ZY]Wr ?
LHT zoRI}QZ TUfP@}?
rvGllQ \SG\iaGXUTsiF TUZAeZwQ
,&-2613/)56 DCB IU o HPEI\F VU o \C f ngc I EU S EUc J LER I }WR z D} ZRITzOL@ZPO@C} B T oQ\WD K C @UJSRQPSYfIUX \Q]Q O\QZ SRQzoRHTiZI}RQJL\J ]TVW DiZ]TEUSHWJoQZ fUJoGVzoRPKYTHGBJ^V[ PO_ V PX@JI}WR f Q TTR Q amoU T ZSR Q P}Im KoVzO DCBzoR]i o]RQ]Rm
}Z^K ):-6 %&7632 P@} Lo E I JTUB J \dzu lUB S hoJ LER EU S O\moQr fQDPIJ O@gcoO\GBooQZ IQaPX\QmJQTP@Y Z P@}zV ^ Z@ lG V V S } VCoQZLffzoR\W amIsGfQ}}UJzJ
> fQD?
zoR\So ]RQDCBXUZ]RQZGT?
sTUTEF fijjsTQvGSUyTF TUZVTE\C
JQT "3'/ %)5',7)5 Pf@P}C}o fQD
$,) 355356 PX\QmVWu\C nQSTVFVC ]TzoRLTRToQZ f\\}QZQAVC L@maUVKT QDCBXUZ^TOQ\CHP@}
jUx\SC EUTEGPSlZi@ 5))0&2') )6-+2)5
8.- "3'/ oUToQZ PKTgBI} oQZZZZ hO\VUZlUTVC kTQVZ@QJLa J TEZnQSTVFZY}UJVC KoVzOO\moQr fQD \So]RQPVGTDQJ
- 5 h O \ VU Z lU T VC o Q Z 4)5*351&2') VCoQZ
a day BULLETIN
AGENDA
06
คูก ่ ด ั แห่งยุค
Biggie VS
Katy Perry VS
Kanye West VS
Oasis
2Pac
Taylor Swift
Everyone
ค�ำว่ำ ‘Britpop rivalry’ คงไม่ใช่ อะไรใหม่สำ� หรับคนทีโ่ ตมำในยุค 90s ยุค รุ่ ง เรื อ งของดนตรี จ ำก ฝัง่ อังกฤษ โดยเฉพำะกำรทะเลำะ วิวำทของวง Blur และ Oasis ทุ ก อย่ ำ งเกิ ด ขึ้ น ในงำน NME Awards 1995 เมื่อนักร้องน�ำของ ทั้งสองวงด่ำทอกันอยู่หลังเวที ตั้งแต่นั้นก็มีก ำรเหน็บ แนมกัน ผ่ำนสื่อจนกระทั่งทั้งคู่ตัดสินใจ ปล่อยซิงเกิล Country House และ Roll with It พร้อมกันใน วั น ที่ 14 สิ ง หำคม 1995 ซึ่ ง ครัง้ นี้ Blur ได้รับชัยชนะไปด้วย ต� ำ แหน่ ง อั น ดั บ หนึ่ ง บนชำร์ ต มำวั น นี้ ทั้ ง Blur และ Oasis ญำติดตี อ่ กันแล้ว เหลือก็แต่พนี่ อ้ ง กัลลำเกอร์ ที่ยังจิกกัดกันผ่ำน ทวิตเตอร์อยู่เป็นครั้งครำว
ควำมบำดหมำงระหว่ ำ ง The Notorious B.I.G. นักร้องฮิปฮอป จำกฝัง่ ตะวันออก และ 2Pac จำก ฝั ่ ง ตะวั น ตก เริ่ ม ต้ น ขึ้ น ตอนที่ 2Pac ถู ก ยิ ง และปล้ น ที่ ล็ อ บบี้ ของสตูดิโอแห่งหนึ่งในปี 1994 หลั ง จำกนั้ น ไม่ น ำน Biggie ก็ปล่อยเพลง Who Shot Ya? ออกมำ โดยทำง 2Pac บอกว่ำ มันเป็นกำรล้อเลียนและยังเชื่อ ว่ ำ คนที่ ยิ ง เป็ น คนของ Biggie น่ ำ เสี ย ดำยที่ ค วำมบำดหมำง ครัง้ นีไ้ ม่ทนั ได้คลีค่ ลำย เพรำะใน ปี 1996 2Pac ถูกยิงจนเสียชีวิต และหลังจำกนั้นเพียง 6 เดือน Biggie ก็ จ ำกไปด้ ว ยสำเหตุ เดียวกัน
แม้แฟนเก่ำจะเป็นคนเดียวกัน แต่นั่นไม่ใช่เหตุผลที่ท�ำให้อดีต เพื่อนรักอย่ำง เทย์เลอร์ สวิฟต์ และ เคที เพอร์รี ผิดใจกันจนเป็น ข่ำวใหญ่โต ต้นเรื่องทั้งหมดคือ แดนเซอร์ 2 คนที่ท�ำงำนให้กับ เทย์เลอร์ ใน Red World Tour ระหว่ำงนัน้ เคธีได้ออกอัลบัม้ ใหม่ แดนเซอร์ทั้งสองจึงขอลำไปเต้น ให้ กั บ เธอด้ ว ยเหตุ ผ ลที่ ว ่ ำ พวกเขำเคยท� ำ งำนด้ ว ยกั น มำก่ อ น หลั ง จำกนั้ น ก็ ต ำม ธรรมเนียม เทย์เลอร์แต่งเพลง Bad Blood ให้กับอดีตเพื่อนคนนี้ แล้ ว ยื น ยั น กั บ สื่ อ ตลอดว่ ำ ควำมบำดหมำงในครั้งนี้ไม่ได้ เกี่ยวกับผู้ชำยเลยสักนิดเดียว
ส�ำหรับคนได้รบั กำรขนำนนำมว่ำ Yeezus คำนเย เวสต์ ดูเหมือน จะไม่ ค ่ อ ยมี ค นรั ก สั ก เท่ ำ ไหร่ เริม่ ตัง้ แต่ทเี่ ขำขัดจังหวะ เทย์เลอร์ สวิฟต์ ตอนพูดสุนทรพจน์บนเวที VMA 2009 ต่อมำก็ไปกล่ำวหำ ว่ำศิลปินดีกรีรำงวัล Grammy อย่ ำ ง Beck ไม่ ใ ช่ นั ก ดนตรี ตัวจริง และล่ำสุด Jay-Z ได้ออก อัลบัม้ 4.44 ทีแ่ ฟนๆ วิเครำะห์วำ่ เนื้อเพลงท่อนหนึ่งพูดถึง คำนเย เวสต์ สืบเนือ่ งมำจำกสิง่ ทีเ่ ขำท�ำ เมื่อปีกลำย แต่ต้องยอมรับว่ำ เรำเองก็รกั คำนเยในฐำนะศิลปิน ที่มีควำมคิดบ้ำๆ คนหนึ่ง แล้วก็ ชื่นชอบแบรนด์ Yeezy ของเขำ มำกๆ ด้วย
BAND BREAKUPS
เพราะว่าทุกการสิ้นสุดคือจุดเริ่มต้น และศิลปินเหล่านี้ต่างก็พิสูจน์แล้ว
issue 499 14 AUG 2017
! ) #$
& ) # !%
) '%& " ! $
%& "( % ) (#"
" $ & #" ) $$( &( %
#$ " ! (" #' % #! "%#" ("
การแยกแล้วรุง ่ ยุคบุกเบิก
การแยกทางทีพ ่ ส ิ จู น์ลก ู บ้าของ ร็อบบี้ วิลเลียมส์
การพักยาวทีเ่ อาความเซ็กซีก ่ ลับมาพร้อมกับ ความสามารถสารพัดของจัสติน
การแยกวงทีท ่ า� ให้โลกได้พบกับไอคอน แห่งยุคคนใหม่อย่าง Queen B
อาการวงแตกทีเ่ ราก็ยงั ไม่รวู้ า่ แต่ละคน จะแยกย้ายไปทางไหน แต่คอ ่ นข้างมัน ่ ใจว่าดี
www.gatesnotes.com
Blur VS
“ตอนนี้ พวกเรา ดังกว่า พระเยซู แล้ว ผมไม่รู้ว่า อะไรจะไป ก่อน ระหว่าง ร็อกแอนด์โรล หรือ ศาสนา คริสต์”
Fandom Name
08
Adele Ariana Grande The Beatles Beyonce -Daydreamers -Arianators -Beatlemaniacs -BeyHive Britney Spears Drake Ed Sheeran Eminem
Musicians and Their Masks
-Britney Army -Team Drizzy -Sheerios -Stans Frank Sinatra Justin Bieber Katy Perry Lady Gaga
นักดนตรีหลำยคนสร้ำง ควำมทรงจ�ำกับแฟนเพลงไม่ใช่ แค่ เ ฉพำะเสี ย งดนตรี เ ท่ ำ นั้ น แต่บำงคนก็ท�ำให้เรำจดจ�ำได้ ด้วยภำพลักษณ์ที่แปลกตำและ ไม่เหมือนใคร อย่ำงเช่น Daft Punk ทีส่ องสมำชิก โทมัส แบงกอลเตอร์ และ กีย์ มำนูแอล ผูเ้ ติบโตมำจำก คลั บ ดี เ จในประเทศฝรั่ ง เศส คิดอยำกจะใส่หน้ำกำกขึ้นมำ ด้ ว ยเหตุ ผ ลว่ ำ อยำกท� ำ เพลง ออกมำให้ แ ฟนเพลงฟั ง อย่ ำ ง เดี ย วไม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ศิ ล ปิ น จนเมื่ออัลบั้ม Discovery (2001) พวกเขำเริ่ ม ปรำกฏตั ว พร้ อ ม หมวกอันเป็นเอกลักษณ์อย่ำง ชัดเจน ถ้ำมองออกไปก็มีศิลปิน ระดั บ โลกอี ก หลำยคนที่ เ ลื อ ก ใส่ ห น้ ำ กำกเพื่ อ ปกปิ ด ตั ว ตน อย่ำงเช่น ยอดดีเจจำกอังกฤษ แอรอน เจอโรม หรือวงนูเมทัล ระดับต�ำนำนอย่ำง Slipknot แม้ แ ต่ ศิ ล ปิ น อย่ ำ ง Sia ที่แม้ไม่ใส่หน้ำกำก แต่เวลำขึ้น โชว์ เ ธอมั ก ใช้ เ ส้ น ผมปิ ด บั ง ใบหน้ ำ โดยให้ เ หตุ ผ ลว่ ำ ไม่ อ ยำกให้ ผู ้ ช มจดจ้ อ งหน้ ำ และเธอบริสุทธ์ใจที่จะถ่ำยทอด ดนตรีออกไปอย่ำงเดียว
-Bobby Soxers -Beliebers -KatyCats -Little Monsters Led Zeppelin Madonna Michael Jackson Motorhead -Zepheads -Madonna wannabes -Moonwalkers -Motorheadbangers One Direction Rihanna Selena Gomez Taylor Swift
TWO VIRGINS
-Directioners -Rihanna Navy -Selenators -Swifties
ภำพปกอัลบัม้ Unfififi nished Music No.1: Two Virgins ซึง่ ออกมำในปี 1968 ถือเป็นภำพปกทีอ่ อื้ ฉำวทีส่ ดุ ในประวัตศิ ำสตร์ โดยภำพเปลือยของ จอห์น เลนนอน อดีตสมำชิก The Beatles และภรรยำสำว โยโกะ โอโนะ ถูกน�ำขึ้นปกแบบอล่ำงฉ่ำง ซึ่งเลนนอนกล่ำวว่ำ “นี่คือธรรมชาติที่แท้จริงของพวกเรา พวกเราทั้งหมดล้วนเป็นคนที่เปลือยเปล่า” แน่นอนว่ำถูกกระแส ศีลธรรมของสังคมเล่นงำนกันไปเต็มๆ
a day BULLETIN
The BeatlesЩ rooftop concert
คอนเสิรต์ ครัง้ สุดท้ำยแบบพร้อมหน้ำพร้อมตำของ The Beatles บนชัน้ ดำดฟ้ำ ของบริษทั แอปเปิล้ ท่ำมกลำงควำมวุน่ วำยของนครลอนดอน ซึง่ ผูค้ นจ�ำนวนมหำศำล มำหยุดชมจนท�ำให้รถติดเป็นอัมพำต แต่คอนเสิร์ตก็ต้องยุติในเวลำไม่ถึงชั่วโมง หลังนำยธนำคำรคนหนึ่งโทร.ไปแจ้งต�ำรวจว่ำเพลงของวง The Beatles ไปรบกวน กำรท�ำงำนของพวกเขำ คอนเสิรต์ ปิดท้ำยจึงจบไปอย่ำงทุลกั ทุเล นัน่ เป็นควำมทรงจ�ำ สุดท้ำยที่แฟนเพลงมีต่อพวกเขำ
อุตสาหกรรมเพลงเริ่มใช้การบันทึกเสียงลงแผ่น ซีดีและจ�าหน่ายเป็นครั้งแรก จุดเริ่มต้นที่ท� าลาย อุตสาหกรรมเทปคาสเซ็ตและไวนิลที่ครองตลาด มาก่อน
14 AUG 2017
issue 499
อินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทกับชีวต ิ ผูค ้ น และเริม ่ เปลี่ ย นอุ ต สาหกรรมของดนตรี การละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ เ กิ ด ได้ ง่ า ยขึ้ น ทั้ ง แผ่ น ผี แ ละการดาวน์โหลดไฟล์เพลงฟรีจากเว็บบิตทอร์เรนต์
สตีฟ จ็อบส์ เปิดตัวไอพอด ปฏิวัติการฟังเพลงโดย ใช้ไฟล์ดิจิตอล ท�าให้จุดจบของซีดีมาถึงไวกว่าที่คิด
Musician Transformation
Musicians VS Internet Era
อุ ต ส ำ ห ก ร ร ม ด น ต รี เปลี่ยนแปลงมหำศำล หลำยวง มีวิธีกำรรับมือยุคดิจิตอลกันแบบ ฮือฮำ เริ่มที่ Radiohead วงดนตรี หัวก้ำวหน้ำที่ท้ำทำยยุคสมัยอยู่ ตลอดเวลำ ได้ท้ำทำยยุคสมัยของ อิ น เทอร์ เ น็ ต วั ด ใจคนฟั ง ด้ ว ย กำรปล่อยอัลบั้ม Hail to the Thief ให้คนดำวน์โหลดฟรีรำยแรกๆ ของ โลก หรือแม้แต่เบอร์ใหญ่อย่ำง U2 ในปี 2014 ก็ท� ำ กำรปล่ อย อัลบั้ม Songs of Innocence เข้ำไป สู่ไอโฟนของทุก คนฟรีๆ ในงำน เปิดตัวไอโฟน 6 แต่ก็ตำมมำด้วย ค� ำ ครหำว่ ำ เป็ น กำรพี อ ำร์ แ บบ ข่มขืนใจคนฟังไปหรือเปล่ำ
ศิลปินหลำยคนที่เส้นทำง ดนตรี มี ห ลำยร่ ำ งหรื อ หลำยชื่ อ อย่ำง เดวิด โบวี หนึ่งในไอคอน ของวงกำรดนตรีแห่งยุค 70s เขำ เปลี่ ย นยุ ค สมั ย ด้ ว ยแนวเพลง แกลมร็อกผสมดนตรีอิเล็กทรอนิก ที่ ล�้ ำ ยุ ค และสไตล์ แ ต่ ง ตั ว ที่ มี เอกลั ก ษณ์ จั ด จ้ ำ น เขำเองเคย สร้ ำ งตั ว ตน ‘ซิ ก กี้ สตำร์ ดั ส ต์ ’ ขึ้ น มำ และก้ ำ วข้ ำ มเส้ น แบ่ ง ระหว่ำงชำยหญิง รวมทัง้ ช็อกแฟน เพลงว่ำศิลปินทีพ่ วกเขำรักหลุดโลก ไปแล้ว หรืออย่ำง Prince ทีก่ ลำงยุค 90s เขำเปลี่ ย นชื่ อ เขำเป็ น สัญลักษณ์ O(+> ซึ่งอ่ำนไม่ได้ เพื่อต้องกำรประชดค่ำยวอร์เนอร์ ที่โปรโมตไม่ดีท�ำยอดขำยอัลบั้ม เขำตก แต่ พ อหมดสั ญ ญำกั บ วอร์เนอร์หลังปี 2000 เขำก็กลับมำ ใช้ชื่อ Prince ตำมเดิม แต่ก็มีศิลปินบำงคนที่ไม่ได้ ตั้ ง ใจเปลี่ ย นร่ ำ ง แต่ โ ชคชะตำ เล่ น ตลกอย่ำง ไมเคิล แจ็กสัน ที่หลำยคนเข้ำใจว่ำเขำศัลยกรรม สี ผิ ว เพรำะไม่ อ ยำกเป็ น คนด� ำ แต่จริงๆ แล้วเขำเป็นโรคด่ำงขำว หรือ Vitiligo เขำจึงใช้วธิ รี กั ษำด้วย กำรท�ำลำยเม็ดสีผวิ ออกให้หมด
27 Club
ว่ำกันว่ำ 27 คือเลขอำถรรพ์ ของวงกำรดนตรี เพรำะทีผ่ ่ำนมำมี นักร้องและนักดนตรีกว่ำ 60 คน เสียชีวิตตอนอำยุ 27 ปี ในทำง จิตวิทยำให้ค�ำอธิบำยว่ำ 27 เป็น ช่วงวิกฤตของชีวติ นักดำรำศำสตร์ บอกว่ำเป็นช่วงที่ดำวเสำร์จะหมุน กลับมำอยู่ที่จุดเดียวกับตอนเกิด ส่ ว นในทำงเลขศำสตร์ ก็ เ ชื่ อ ว่ ำ เลข 2 กับ 7 รวมกันแล้วได้ 9 ซึ่ ง แสดงถึ ง จุ ด จบของวงโคจร นักดนตรีวัย 27 ที่เสียชีวิตในช่วง หลำยปี ที่ ผ ่ ำ นมำนี้ เช่ น จิ มี เฮนดริกซ์ (ขำดออกซิเจน, 1970), จิม มอร์รสิ นั (หัวใจล้มเหลว, 1971), พีต แฮม (ฆ่ำตัวตำย, 1974), เคิร์ต โคเบน (ฆ่ำตัวตำย, 1994), เอมี ไวน์เฮำส์ (แอลกอฮอล์เป็นพิษ, 2011) เป็นต้น
YouTube ถือก�าเนิดขึน ้ และเปลีย ่ นประสบการณ์ การเสพดนตรีของคน และเป็นแหล่งฟังเพลงที่ ใหญ่ที่สุด (และอาจจะหาเงินจากอุตสาหกรรม เพลงได้มากที่สุด) ของยุคนี้
!
บริษท ั แอปเปิล ้ เปิดบริการ Apple iTunes Music Store ขายเพลงหนึง ่ เพลงในราคา 99 เซนต์ หรือ ประมาณ 31 บาท ตอกย�า้ พฤติกรรมการฟังเพลง ว่าก�าลังเข้าสู่ยุคดิจิตอลอย่างเต็มตัว
N.W.A and ЩFuck tha Policeͯ
N.W.A คือกลุม่ แร็ปเปอร์จำก เมื อ งคอมป์ ตั น แคลิ ฟ อร์ เ นี ย เจ้ ำ ของอั ล บั้ ม Straight Outta Compton ที่ถือเป็นเป็นจุดก�ำเนิด ของดนตรีแก๊งสเตอร์แร็ป ซึ่งพูดถึง ชี วิ ต และควำมยำกล� ำ บำกของ คนผิวสีในแอลเอ ไปจนถึงปัญหำ ควำมรุนแรงของต�ำรวจแบบตรงๆ แรงๆ ผ่ำนเนื้อเพลงอย่ำง Fuck tha Police เพลงสุดฉำวที่ถูกแบนจนถึง ขนำดได้รับหมำยเตือนจำก FBI แม้ควำมนิยมของ N.W.A จะจบลง หลังจำกวงได้สูญเสียสมำชิกคน ส�ำคัญอย่ำง Eazy-E ด้วยโรคเอดส์ แต่สมำชิกคนอื่นๆ ทั้ง Dr. Dre, Ice Cube, MC Ren และ DJ Yella ต่ำงก็แยกย้ำยกันไปสร้ำงผลงำน ของตัวเอง จนท�ำให้ลอสแองเจลิส กลำยเป็นอีกหนึ่งศูนย์กลำงดนตรี ฮิปฮอปเสียดสีสังคมที่ปั้นศิลปิน รุ่นต่อมำอีกจ�ำนวนมำก
เทรนด์อุตสาหกรรมดนตรีเข้าสู่ยุค Music Streaming ไล่ตั้งแต่ SoundCloud (2007) Spotify (2008) Apple Music (2014) และ Tidal (2015)
Gangnam Style hits 1 billion!
ถือเป็นกำรบุกตลำดโลกของ กระแส K-Pop อย่ำงเป็นทำงกำร ที่ให้มิวสิกวิดีโอเพลง Gangnam Style กลำยเป็นวิดีโอแรกที่มีผู้ชม หนึง่ พันล้ำนคนบนยูทบู เมือ่ ปี 2012 นักดนตรีเกำหลีที่ไม่ได้ขำยหน้ำตำ อย่ำง PSY ได้ลบภำพจ�ำบำงอย่ำง ข อ ง ด น ต รี เ ก ำ ห ลี ใ น ส ำ ย ต ำ คนอเมริ กั น เปิ ด ทำงให้ ศิ ล ปิ น เกำหลี ค นอื่ น ๆ ได้ โ กอิ น เตอร์ ตำมมำอีกหลำยคน
a day BULLETIN
THE CONVERSATION
เรื่อง : พิมพ์อร นทกุล, กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ภาพ : Warner Brothers UK
12
L o n g D i s t a n c e C a l l W i t h
issue 499 14 AUG 2017
P H O E
13 คุ ณ ได้ ยิ น เสี ย งทางนี้ ชั ด เจนดี ไหมครับ - เสียงจากอีกซีกโลกวิ่งผ่าน มาทางเครือข่ายการสื่อสารอันยิ่งใหญ่
N I X
ชัดค่ะ - พวกเราตอบกลับไปด้วยความตืน่ เต้น โอเค งัน้ เดีย๋ วผมจะต่อสายคริสให้ a day BULLETIN ได้รบั โทรศัพท์ทางไกล จากประเทศอังกฤษในบ่ายวันหนึง่ หลังจากทีเ่ รา เปิดอัลบัม้ Ti Amo ฟังวนเวียนอยู่หลายวันจน ติดหู ในที่สุด Christian Mazzalai หรือ ‘คริส’ มือกีตาร์ของวง Phoenix ก็เข้ามาในสาย เขาทักทายพวกเราด้วยน�า้ เสียงเป็นกันเอง แล้วก็พูดคุยกันอย่างออกรสออกชาติ เกี่ยวกับ คอนเสิรต์ SINGHA LIGHT Live Series Vol 2.4 - Phoenix ของ HAVE YOU HEARD? ทีก่ า� ลังจะ มีขนึ้ ในกรุงเทพฯ ในอีกไม่กวี่ นั ข้างหน้า เมือ่ 20 ปีกอ่ น Thomas Mars, Laurent Brancowitz, Deck D’arcy และ Christian Mazzalai เริม่ ต้นท�าวงดนตรี Phoenix ในโรงจอดรถทีบ่ า้ น ของโธมัสในแวร์ซาย พวกเขาเป็นหนุม่ นักดนตรี ฝรัง่ เศสกลุม่ แรกๆ ทีแ่ ต่งเพลงเป็นภาษาอังกฤษ ทัง้ หมดนับตัง้ แต่อลั บัม้ แรกจนถึงอัลบัม้ ล่าสุด คริสที่คุยกับเราอยู่ที่อีกปลายสายบอก กับเราอย่างติดตลกว่า “เนื้อเพลงของเราเป็น ภาษาอังกฤษก็จริงแหละ แต่สงิ่ ทีต่ อ้ งการจะสือ่ ออกไปมันโคตรจะฝรัง่ เศสเลยนะคุณ” เรายิ ง ค� า ถามอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ จะได้ ประหยัดเวลา ไล่เรียงตั้งแต่เรื่องสถานการณ์ บ้านเมืองในยุโรป วัฒนธรรมการเมืองในประเทศ ฝรัง่ เศส และดนตรีกบั วัฒนธรรมของวัยรุน่ แน่นอนว่าต้องให้บอกเล่าความรูส้ กึ ทีจ่ ะมี ต่อคอนเสิรต์ ปิดซีรสี ์ SINGHA LIGHT Live Series Vol 2.4 ของ HAVE YOU HEARD? เพือ่ แฟนๆ ชาวไทยจะได้อ่านกัน และท�าความเข้าใจสิ่งที่ อยูใ่ นหัวใจของหนุม่ ๆ กลุม่ นี้ ก่อนจะเข้าไปชม การแสดงอย่างสนุกสุดเหวีย่ ง แต่ ก็ น ะ!! คุ ณ ก็ รู ้ ว ่ า โทรศั พ ท์ ท างไกล หลายครัง้ ก็ไว้ใจไม่ได้ ต่อให้นงั่ คุยในห้องทีเ่ งียบทีส่ ดุ ในออฟฟิศ เสี ย งตามสายของคริ ส ตะกุ ก ตะกั ก ไม่ ใ ช่ สิ เสียงที่ถูกบีบอัดเป็นข้อมูลดิจิตอลแล้ววิ่งพล่าน อยู ่ บ นฟากฟ้ า จากยุ โ รป กว่ า จะมาถึ ง ถนน พระรามเก้าก็ตกหล่นหรือถูกรบกวนไปบ้าง การสัมภาษณ์ครั้งนี้ไม่ได้ราบรื่นนัก แต่ พวกเราก็พยายามถอดค�าพูดและเก็บความหมาย ให้ได้ครบถ้วนทีส่ ดุ ส�าหรับคอลัมน์สมั ภาษณ์ทดี่ ี ทีส่ ดุ ของ a day BULLETIN นอกจากนี้ เรายั ง สื บ ค้ น ข้ อ มู ล และ บทสั ม ภาษณ์ ข องพวกเขาที่ เ คยมี ม า น� า มา ประกอบในการถาม-ตอบครัง้ นี้ด้วย เพือ่ ความสมบูรณ์ของเนือ้ หา ขอข้ อ นี้ เ ป็ น ค� า ถามสุ ด ท้ า ยนะครั บ เสี ย งชายคนแรกที่ ต ่ อ สายให้ ค ริ ส พู ด แทรก ขึน้ มากลางการสนทนาทีก่ า� ลังเพลิดเพลิน พวกเรามองหน้ากันด้วยสายตาเลิ่กลั่ก ต้องรีบท�าเวลา เพราะรูอ้ ยูแ่ ก่ใจว่าทัง้ หมดทีถ่ าม มายังไม่จใุ จ ก่อนทีค่ ริสจะพูดแทรกเข้ามาในสาย “ให้ 2 ค�าถามเลยก็ได้นะ” เฮ้! ขอบคุณนะคริส
a day BULLETIN
14 พวกคุณเริม ่ ต้นท�าวงกันเมือ ่ 20 กว่าปีกอ ่ น แต่กว่า จะได้ไปเล่นทีเ่ ทศกาลดนตรี Coachella หรือได้มี อัลบัม ้ Platinum เป็นของตัวเองก็เป็นเวลานาน พอสมควร ช่วงเวลานัน ้ พวกคุณกดดันบ้างไหม1
บรังโก้ : พวกเราค่อนข้างห่วยแตกเลยแหละในช่วง แรกๆ แต่เรามีความทะเยอทะยาน นักดนตรีบางคนดัง ตูมตามตอนอายุ 18 แล้วก็ค่อยๆ เงียบลง ส่วนพวกเรา เป็นพวกที่ค่อยๆ พัฒนาขึ้นไปทีละนิดๆ มากกว่า โธมัส : เราเป็นคนฝรั่งเศส จึงมีความโรแมนติก เป็นทุนเดิมอยูแ่ ล้ว เราไม่ได้วงิ่ ตามกลลวงของวงการดนตรีรอ็ ก ว่ามันเป็นแค่โลกเฉพาะของหนุ่มสาวเท่านั้น ส�าหรับผม งานที่เราพยายามท�าอยู่มันซับซ้อนยิ่งกว่า เหมือนอย่าง ผู้ก�ากับหนังบางคน เขายังไปแตะจุดพีกของชีวิตการงาน ตอนอายุ 50-60 เลย
คุณเคยบอกว่าแม้ Phoenix จะร้องเพลงเป็น ภาษาอังกฤษ แต่เนือ ้ หามันคือความเป็นฝรัง่ เศส สุดๆ แต่ถึงอย่างนั้นคนฝรั่งเศสก็ไม่ได้มองว่า คุณเป็น ‘วงฝรั่งเศส’ อยู่ดี
คริส : ใช่ๆ เพลงของเราพูดถึงวิถีชีวิตของเรา สิ่งที่เราพบเจอ ทุกอย่างมันจึงไม่เหมือนเพลงที่มาจาก ฝั่งอังกฤษหรืออเมริกา เราใช้ภาษาอังกฤษ เพราะเป็น ภาษาสากลที่สามารถเข้าถึงคนฟังส่วนใหญ่ได้ และเรา ก็รสู้ กึ ยินดีมากทีไ่ ด้เป็นกลุม่ แรก เพราะตอนนัน้ ไม่มศี ลิ ปิน ในฝรัง่ เศสร้องเพลงภาษาอังกฤษเลย เอาตรงๆ ผมไม่เคย เข้าใจเลยว่าท�าไมชาวฝรั่งเศสบางคนถึงไม่เข้าใจตรงนี้ คือเนื้อเพลงของเราเป็นภาษาอังกฤษก็จริงแหละ แต่สิ่งที่ ต้องการจะสื่อออกไปมันโคตรจะฝรั่งเศสเลย เนือ ้ เพลงของคุณบางท่อนก็เลยเข้าใจยากมากๆ คุณตั้งใจให้เป็นแบบนั้นเหรอ2
โธมัส : เราไม่อยากได้เพลงโฟล์กแบบอเมริกัน แค่อยากเขียนเพลงด้วยภาษาอังกฤษแปร่งๆ ที่ผสมเอา ความเป็นฝรั่งเศสและอเมริกันเข้ามาไว้ด้วยกันแบบที่ คนอืน่ ไม่เข้าใจ เป้าหมายของเราคือการสร้างภาษาขึน้ มา ใหม่ เพลงของเราเลยมีวธิ กี ารท�าความเข้าใจได้หลายแบบ และไม่มีแบบไหนผิด แต่อย่าคิดว่าเราเป็นโรคหวาดกลัว ชาวต่างชาติล่ะ เพราะมันไม่จริงเลย
เท่ า ที่ เ ราฟั ง Ti Amo เป็ น อั ล บั้ ม ที่ ส ดใสกว่ า อัลบัม ้ ก่อนๆ ซึง่ ตรงข้ามกับเหตุการณ์รา้ ยต่างๆ ในกรุงปารีสในช่วงที่ผ่านมาอย่างสิ้นเชิง3, 4
โธมั ส : เป็ น การดึ ง ตั ว เองออกมาจากตรงนั้ น เราไม่เคยคิดจะน�าการเมืองเข้ามาเกีย่ วข้องกับสิง่ ทีเ่ ราท�า แต่ก็เคยอยู่ในจุดที่ตั้งค�าถามกับตัวเองถึงสิ่งที่ก�าลังท�า อยู่เหมือนกัน ทั้งๆ ที่มันมีเรื่องส�าคัญกว่าก�าลังเกิดขึ้น ข้างนอกสตูดิโอนั่น แต่สา� หรับผม ดนตรีคือหนทางหนึ่ง ในการฝืนชะตากรรมตัวเองนะ เหมือนเวลาคุณเขียนเพลง ตอนอกหัก คุณจะสร้างโลกแห่งความเป็นไปได้ขนึ้ มาใหม่ ซึง่ จะไม่ใช่โลกทีค่ ณ ุ ก�าลังเผชิญอยู่ เพลงชุดนีก้ เ็ หมือนกัน เด็ค : ศิลปินทีพ่ วกเราชอบหลายคนเปลีย่ นความเศร้า ให้เป็นความสุข เพลงมีความขม แต่ในขณะเดียวกัน ก็มีรสหวานอยู่ในนั้นด้วย มีความแข็งแกร่ง มีเสียงใหม่ๆ มีความสดใหม่ที่ผมโคตรรักมันเลย มันคือการท้าทายเรือ ่ งร้ายๆ ด้วยความสุขถูกไหม5
โธมัส : คงเป็นอย่างนัน้ แหละ ผมว่าสิง่ นีเ้ ป็นความ-
issue 499 14 AUG 2017 หมายเหตุ : ข้อมูลเพิม ่ เติมบางส่วนน�ามาจากแหล่งต่างประเทศ 1The Guardian, 2013 / 2Entertainment Weekly, 2017 / 3Vulture, 2017 / 4Rolling Stone, 2017 / 5q on cbc, 2017 / 6KROQ, 2017 / 7Vevo, 2017
15 “ส�าหรับผม ดนตรีคือหนทางหนึ่งในการฝืน ชะตากรรมตัวเองนะ”
พิเศษของวงเรานะ อย่างเรามาจากแวร์ซาย ซึง่ เป็น เมืองพิพิธภัณฑ์ ทุกอย่างสงบสุข ผู้คนเลยอยาก รักษาไว้อย่างที่มันเป็นมา ถ้าคุณเล่นดนตรีร็อก แปลว่าคุณก�าลังรบกวนความสงบของบ้านเมือง คุ ณ เลยต้ อ งสร้ า งเสี ย งบางอย่ า งที่ อ ย่ า งน้ อ ยก็ ให้เกียรติสิ่งแวดล้อมรอบตัว เพื่อคุณจะได้มีตัวตน อยูต่ รงนี้ จะได้มปี ากมีเสียงกับเขาบ้าง ไม่อย่างนัน้ คุณก็จะได้แค่อยู่เงียบๆ เล่าให้เราฟังเกีย ่ วกับอัลบัม ้ Ti Amo หน่อย6
โธมัส : เราใช้เวลากันพักใหญ่ๆ ในการท�า อัลบั้มนี้ แล้วก็แฮปปี้มากที่ในที่สุดก็ได้แชร์ให้ ทุกคนฟัง การท�าเพลงอัลบัม้ หนึง่ ใช้เวลา แล้วก็เป็น กระบวนการทีค่ อ่ นข้างเห็นแก่ตวั นิดหนึง่ เพราะเรา แต่ละคนก็แค่พยายามท� า ให้อีกสามคนที่เหลือ ประทับใจ แค่นนั้ เลยจริงๆ แต่พอปล่อยออกมาแล้ว เหมือนต้องออกมาเจอความจริงอีกโลกหนึง่ นีเ่ ป็น เหตุผลที่เราน่าจะทัวร์กันพักใหญ่ส�าหรับอัลบั้มนี้ เพราะเราอยากเห็นการตอบรับของคนฟัง เวลาพวกคุ ณ สี่ ค นช่ ว ยกั น แต่ ง เพลง ค่อยๆ ปัน ้ ค่อยๆ เปลีย ่ นจนกลายเป็นเพลง หนึ่งเพลง คุณรู้ได้อย่างไรว่าถึงตรงไหน ควรพอ ตรงไหนที่เรียกว่าเสร็จแล้ว5
“เราอยู่กันได้ยืดส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะแต่ละคน มีความสามารถเฉพาะตัวที่ต�่ามากๆ จนท�าให้ไม่มีอีโก้ไปด้วย”
คริส : นี่เป็นค�าถามส�าคัญเลยนะ บางที ตั้งใจจะใช้เวลาในสตูดิโอสัก 3 อาทิตย์ แต่สุดท้าย เลยเถิดเป็นเกือบ 3 ปี (หัวเราะ) เราอัดเสียง J-boy กันประมาณเดือนสองเดือน แต่ต้องใช้เวลาเกือบ สองปีครึง่ กว่าจะได้ 5% สุดท้ายของเพลง ในขณะ ที่บ างเพลงท�า เสร็จ จากศู น ย์ ถึง ร้ อ ยเลยในบ่ า ย วันเดียว มันเลยไม่มีกฎตายตัว โธมัส : เราจะจบงานก็เมื่อตอนที่รู้สึกว่า หมดพลัง ผมจะรู้ว่าเพลงดีพอที่จะอยู่ในอัลบั้มได้ ก็ตอนทีเ่ ห็นเพือ่ นร่วมวงอีกสามคนตาเป็นประกาย จะมัน่ ใจจนไม่วา่ ใครพูดอะไรก็ไม่ยอมเปลีย่ นให้แล้ว ยิ่งถ้าสมมติมีคนมาทักว่า ‘เฮ้ย เพลงห่วยว่ะ’ ยิ่งดี เลย เพราะลึกๆ เรารูแ้ ละมัน่ ใจโคตรๆ ว่าเพลงมันดี คริส : อย่างเพลง 1901 ก็มเี พือ่ นคนหนึง่ ทักว่าไม่ดี ทุกวันนี้ยังแซวมันอยู่เลย แต่เราจ�าเป็น ต้องมีเพื่อนที่กล้าพูดกันตรงๆ แบบนี้ ซึ่งตอนนี้ เพื่อนคนนั้นมันก็ชอบ 1901 ไปแล้ว ท�าไมถึงชื่อ Ti Amo
3
โธมัส : ตอนท�าอัลบั้ม Bankrupt! เราตั้งใจ จะให้มนั ชือ่ Je t’amie คนจากประเทศอืน่ ๆ อาจไม่รู้ แต่ส�าหรับวงดนตรีฝรั่งเศส การตั้งชื่ออัลบั้มว่า Je t’amie เป็นอะไรทีห่ า่ มมากๆ ไม่มใี ครท�ากันหรอก แต่น่าเสียดายที่ชื่ออัลบั้มกับเพลงในนั้นมันไม่ไป ด้วยกัน สุดท้ายก็เลยไม่ได้ใช้ มาตอนนี้ Ti Amo ก็คือ Je t’aime ในตอนนั้น แต่ครั้งนี้มันใช่จริงๆ ไม่ว่าจะชื่ออัลบั้มหรือเพลง มันลงตัวไปหมด แล้วอะไรท�าให้คณ ุ คิดออกตามหาแดนสวรรค์ ที่หายไปอย่างอิตาลี5
โธมัส : อย่างแรกคือความเบือ่ เราพยายาม ท�าทุกอัลบัม้ ให้ไม่เหมือนกันเลย เวลาท�าอัลบัม้ ใหม่ มันเลยจะไปในทิศทางใหม่ๆ เพื่อทดลองสิ่งใหม่ๆ ทุกครัง้ ซึง่ ทีผ่ า่ นมาความเบือ่ หน่ายเป็นส่วนส�าคัญ ที่ผลักให้เราอยากออกมานอกแวร์ซายตั้งแต่แรก
คุณเบือ ่ ดนตรีของตัวเองเหรอ แล้วใช้เวลา นานแค่ไหนกว่าจะเบื่อ5
โธมัส : ใช่ บางทีก็เบื่อเสียงตัวเอง คริส : พอทัวร์ไปจนถึงช่วงท้ายๆ แล้ว เรามัก จะเบือ่ อัลบัม้ ของเราแหละ เวลาไปทัวร์มนั จะสนุก กับชีวติ ก็จริง เพราะเราจะพยายามหาโน่นหานีม่ าท�า ให้ตวั เองก้าวไปข้างหน้า แต่ถงึ จุดจุดหนึง่ ก็จะรูส้ กึ ว่า ตัวเองไม่ขยับแล้ว ความสนุกเลยจะมาจากคนดูลว้ นๆ ทีนี้ความเบื่อเลยค่อยๆ เพิ่มขึ้นจนเราตกลงกันว่า ‘โอเค พักเถอะ’ แล้วกลับเข้าสตูดโิ อไปท�างานกันให้สดุ อีกรอบ ซึ่งครั้งนี้อิตาลีมาหาเราเอง แต่ก็ไม่แน่ใจ
เหมือนกันว่าอิตาลีเวอร์ชนั นีม้ นั มาจากไหน บางที อาจจะเป็นเพราะดูหนังอิตาลีเยอะไปตอนทัวร์ครัง้ ก่อน โธมัส : มันไม่เชิงเป็นอิตาลีในอุดมคติ หรอกนะ มันคืออิตาลีปลอม ถ้าไม่ปลอมก็คง ไม่นา่ ตืน่ เต้นเท่าไหร่ เหมือนกับทีเ่ ราร้องเพลงเป็น ภาษาอังกฤษแหละ เรารูต้ วั ว่าสิง่ ทีเ่ ราท�าจะไม่เป็น อิตาลีแท้ขนาดนั้นอยู่แล้ว มันจะแอบหลุดๆ บ้าง หรือบางอันก็หลุดออกไปเลยด้วยซ�า้ มันจะท�าให้งาน เราดูเด๋อๆ ประดักประเดิดหน่อยๆ ก็เลยไม่ซา�้ คนอืน่ แต่ ผ มว่ า มั น น่ า รั ก ดี เหมื อ นกั บ ที่ เ ราใช้ อิ ต าลี โดยขยับออกมาจากเวอร์ชันของนักท่องเที่ยว นิดหนึ่ง มันมีกลิ่นของความแฟนตาซีอยู่ รูไ้ หมว่ามันมีโรค Paris Syndrome ด้วย ที่เวลาคนไปสถานที่ที่หนึ่ง แล้วก็มีภาพ ในหัวว่ามันต้องเป็นแบบหนึง่ แต่พอไปถึง จริงๆ ไม่ได้เป็นอย่างนัน ้ แล้วเขาก็รบ ั ไม่ได้5
โธมัส : มันร้ายแรงเหมือนกันนะ มากพอ ที่ จ ะท� า ร้ า ยคุ ณ ได้ อย่ า งเวลาคุ ณ ได้ พ บเจอ ความสวยงามที่มันก็มีอีกด้านหนึ่ง ด้านที่ปกติ ธรรมดา อย่างปารีสก็มีมุมโหดร้ายอยู่เหมือนกัน คริส : ทุกครั้งที่ผมเห็นนักท่องเที่ยวญี่ปุ่น ในปารี ส ผมอยากจะปกป้ อ งพวกเขามากๆ ไม่อยากให้เขาเห็นด้านมืดของปารีสเลยจริงๆ แล้วรูไ้ หมว่ามันมีอกี โรคหนึง่ ชือ่ Florence Syndrome ด้วยนะ มันคืออาการตอนคุณไปเมืองฟลอเรนซ์ ได้เห็นงานมาสเตอร์พซี มามากๆ จนเวลาไปดูงาน ศิลปะที่อื่นๆ มันก็ไม่ฟินแล้ว โธมัส : ผมชอบความรู้สึกที่เราตื้นตันกับ ความงามจนมันกระตุ้นบางส่วนในสมองให้ปิด สวิตช์ตวั คุณไปชัว่ ขณะหนึง่ เหมือนกับเพลงทีค่ ณ ุ ฟังในช่วงแรกๆ ของชีวิตหรือช่วงวัยรุ่นก�าลังโต มันเปลีย่ นทุกสิง่ ในตัวคุณไปหมด อย่างเพลงของ นิก เดร้ก เป็นอย่างนั้นส�าหรับผมเลยนะบางที ยิง่ พอรูว้ า่ เกิดอะไรขึน้ กับเขา มันท่วมท้นจนฟังต่อ ไม่ไหว ปิดมันซะเลย
เรารู้สึกว่ายิ่งโตขึ้น เพลงของคุณก็เริ่ม ซั บ ซ้ อ นกว่ า เมื่ อ ก่ อ นที่ มี แ ค่ ฉั น อกหั ก ฉันมีความสุข แต่อัลบั้มนี้ต้องตั้งใจฟัง เพื่อที่จะเข้าใจว่ามันเกิดอะไรขึ้น7
โธมัส : ใช่ๆ นั่นเป็นวิธีที่เราค้นพบดนตรี ใหม่ๆ แทบทุกอันจะมาจากค�าถามที่ว่า ‘มึงพูด เรื่องอะไรวะเนี่ย’ ขนาดตอนผมแปดขวบ ยังเคย คิดว่า Prince ก�าลังพูดถึงชีวิตผมเลย ซึ่งเขาเปล่า
อะไรที่ทา� ให้ Phoenix ยังเป็น Phoenix อยู่ทุกวันนี้
คริส : เพราะว่าเราเป็นเพื่อนกัน ผมคง ไม่สามารถท�าสิง่ ที่ Phoenix เป็นได้ ถ้ามีแค่ตวั ผม คนเดียว แต่พอได้มาอยูร่ วมกันมันท�าให้เกิดอะไรขึน้ มากมาย เราพึ่งพากันและกัน บรังโก้เคยพูดว่า ทีเ่ ราอยูก่ นั ได้ยดื ส่วนหนึง่ อาจเป็นเพราะแต่ละคน มีความสามารถเฉพาะตัวทีต่ า�่ มากๆ จนท�าให้ไม่มี อีโก้ไปด้วย แล้วดนตรีที่เราท�ามันต้องใช้ทุกคน มาช่วยกัน เขายังชอบพูดติดตลกว่า ทีจ่ ริงพวกเรา ก็ไม่ค่อยชอบหน้ากันหรอก แต่มันจ�าเป็นจริงๆ
Phoenix ในอีก 4 ปีข้างหน้า หน้าตาจะ เป็นยังไง
คริส : เอาจริงๆ ผมก็ยังไม่รู้เหมือนกัน แต่กน็ แี่ หละ ความงดงามของชีวติ เราเดาไม่ถกู หรอกว่าอนาคตจะเป็นยังไง เหมือนกันกับเวลา ไปแสดงสด เราก็ไม่รู้หรอกว่าอะไรจะเกิดขึ้นบ้าง ส่วนหนึง่ ในงานทีเ่ ราชอบมากทีส่ ดุ คือการได้ไปยัง ประเทศใหม่ๆ อย่างทีก่ า� ลังจะไปเมืองไทย ก็ตนื่ เต้น มากๆ จนแทบรอไม่ไหวแล้ว ทัง้ ๆ ทีไ่ ม่รวู้ า่ จะเจออะไร ก็เหมือนกับ Phoenix ในอีก 4-5 ปีขา้ งหน้า แล้วเรา ก็ไม่อยากรูด้ ว้ ยแหละ ขอปล่อยให้มนั เป็นปริศนา อย่างนี้ก็แล้วกัน
a day BULLETIN
BACKSTAGE
เรื่อง/ภาพ : HAVE YOU HEARD?
16
ภาพ : HAVE YOU HEARD?
ภาพ : HAVE YOU HEARD?
วงนี้ เ ป็ น วงที่ ซ่ า เป็ น อั น ดั บ 1 ใน ประวั ติ ศ าสตร์ ข อง HAVE YOU HEARD? แทบจะไม่มีตอนไหนที่อยู่ นิง่ ๆ ปล่อยมุกกันตลอดเวลา กล้ากิน แมงป่อง แต่กลัว ไม่กล้ากินน�า้ แข็ง
ภาพ : PARADEWAVES
ภาพ : HAVE YOU HEARD?
เป็นศิลปินที่จริงจังกับโชว์ของตัวเองมาก แทบจะไม่กินอะไรหรือคุยเลยก่อนขึ้นโชว์ แต่พอโชว์เสร็จก็ร่าเริงอารมณ์ดี ได้ลองกินเงาะกับ ขนมสายไหมเป็นครัง้ แรกทีเ่ มืองไทย และชอบมาก ถ่ายรูปเงาะกันทัง้ วง
ภาพ : HAVE YOU HEARD?
issue 499 14 AUG 2017
17
ภาพ : HAVE YOU HEARD?
เ ป็ น ว ง ที่ พู ด น้ อ ย นิ่ ง ๆ ไม่ ต่ า งกั บ ตอนอยู่ บ นเวที เท่าไหร่ แต่ตอนอยูเ่ มืองไทย แอบแวะไปงานคอสเพลย์ นอกจากนี้ วงนี้ ยั ง อยาก รู้ จั ก และใกล้ ชิ ด กั บ แฟนๆ ข อ ง พ ว ก เ ข า จ น ถึ ง กั บ เ อ่ ย ป า ก ใ ห้ เ ร า จั ด ง า น อาฟเตอร์ปาร์ตี้ และโพสต์ ชวนคนในงานให้ ไ ปปาร์ ตี้ ด้วยกันต่อหลังจบคอนเสิรต ์
ดู บ นเวที เ หมื อ นจะเป็ น วงที่ นิ่ ง ๆ มาดเท่ แต่ ว งนี้ เ ป็ น วงที่ ขี้ เ ล่ น มากและเป็ น กั น เอง ทีส ่ ด ุ ทัง ้ ทีมงานและวง นอกจากนี้ ทัง ้ แอนดี้ และเจมส์รก ั แฟนมาก พูดถึงตลอด พยายาม ม อ ง ห า ข อ ง ข วั ญ ก ลั บ ไ ป ฝ า ก ค น รั ก ในทุกที่ที่ไป
ภาพ : PARADEWAVES
ภาพ : SUN ASSAKUL
ภาพ : SUN ASSAKUL
ภาพ : PARADEWAVES
ภาพ : PARADEWAVES
a day BULLETIN
18
ภาพ : PARADEWAVES
ภาพ : PARADEWAVES
วงนี้ชอบเมืองไทยมาก ตอนมาเล่น ครั้งแรกเมื่อปี 2013 ขออยู่ต่ออีก หนึ่ ง อาทิ ต ย์ เพื่ อ จะได้ เ ที่ ย วเล่ น ในเมื อ งไทย และร้ า นโปรดของ พวกเขาในการช้อปปิง ้ ทีน ่ ค ี่ อ ื ยูนโิ คล่
ภาพ : PARADEWAVES
14 AUG 2017
ภาพ : NADABANANA
issue 499
พวกเขาเป็ น วงที่ สุ ภ าพ และขีเ้ กรงใจมาก ต่างจาก ภาพความบ้าบอทีเ่ ราเห็น บ น เ ว ที พ ว ก เ ข า ช อ บ กางเกงลายช้างของไทย มากถึ ง ขั้ น ซื้ อ กลั บ บ้ า น ไปหลายตัว ส่วนอาหารไทย เ ม นู โ ป ร ด ข อ ง M a c DeMarco คือต้มย�ากุง้
ผิดคาดสุดๆ เมื่อเราได้ เ จ อ ว ง พั ง ก์ ร็ อ ก ว ง นี้ เขาทั้ ง สองบอกว่ า แทบ จะไม่ เ คยดื่ ม เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ เ ลยในชี วิ ต และพวกเขาไม่ เ คยเมา เลยสักครั้งเดียว ท�าเอา เราไปไม่ถูกเหมือนกันว่า หลังโชว์เลิกจะพาไปเทีย ่ ว ทีไ่ หนดี
19
เรียกได้วา่ วงนีเ้ ป็น music nerd อย่างแท้จริง มีความอินกับการเครื่องมืออุปกรณ์ดนตรี ต่างๆ มากถึงมากทีส ่ ด ุ คือพวกเขาไม่ได้แค่ ชอบเล่นดนตรี แต่ยงั หมกมุน ่ กับขัน ้ ตอนต่างๆ ของการท�าเพลงอีกด้วย
ภาพ : PARADEWAVES
พวกเราเซอร์ไพรส์พวกเขาด้วยการเตรียมกระทงไว้รอรับ ที่สนามบิน และหลังจากสอนวิธีไหว้แบบไทยๆ พวกเขา ก็สามารถไหว้ได้สวยไม่แพ้คนไทยเลย ส่วนของโปรดทีข่ อ ให้เราเตรียมให้หลังเวทีคอ ื ชีสดิปและเฟรนช์ฟราย
ภาพ : HAVE YOU HEARD?
วงนี้คือหนึ่งในไม่กี่วงที่ขอให้ พวกเราพาไปเทีย ่ วชมวัดต่างๆ และเมือ ่ ไปถึงพวกเขาก็ตน ื่ เต้น กั น มากกั บ การได้ ถ่ า ยรู ป ไหว้พระ รวมไปถึงการท�าบุญ แบบไทยๆ
ภาพ : HAVE YOU HEARD?
ภาพ : PARADEWAVES
a day BULLETIN
A MUST
22 HAVEYOUHEARD
40 ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x17E;฼ŕ¸&#x2021; ภูŕ¸&#x161; 4 ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x17E;฼ยŕš&#x152;฼ิสŕ¸&#x2022;ŕš&#x152; ŕ¸&#x2014;฾ŕš&#x2C6; ŕš&#x20AC; ŕ¸&#x203A;ŕš&#x2021; ŕ¸&#x2122; สŕš&#x2C6; ว ŕ¸&#x2122; ส� า ŕ¸&#x201E;ู ŕ¸? ŕ¸&#x161;ŕš&#x2030; า ŕ¸&#x2021; ŕš&#x201E;ลŕš&#x2C6;สา� ŕ¸&#x201E;ูŕ¸?ŕ¸&#x161;ŕš&#x2030;าŕ¸&#x2021;ŕš&#x192;ŕ¸&#x2122;ŕ¸&#x160;฾วิŕ¸&#x2022;
01
02
01
02
03
04
03
04
05
06
05
06
07
08
07
08
09
10
09
10
issue 499
01. The Video Dept. - The Radio Dept. / Lachlan Caskey วŕ¸&#x2021; Last Dinosaurs 02. Way It Goes - Hippo Campus / Phum Viphurit 03. Where Do You Go To (My Lovely)? - Peter Sarstedt / Junejune 04. Hearts and Bones - Paul Simon / Greg Gonzalez วŕ¸&#x2021; Cigarettes After Sex 05. Swimmers - Broken Social Scene / Jack Doyle Smith วŕ¸&#x2021; Beach Fossils 06. Dance Yrself Clean - LCD Soundsystem / ŕš&#x20AC;ฎŕš&#x2030;าสŕš&#x152; วŕ¸&#x2021; Slur 07. You Be You - Jon Bap / Chrome Sparks 08. Young Blood - The Naked and Famous / â&#x20AC;&#x2DC;ŕš ŕ¸&#x17E;รŕš&#x152;â&#x20AC;&#x2122; - ŕ¸&#x17E;ิลŕ¸&#x17E;ิศา ŕ¸&#x2C6;ิราŕ¸&#x2DC;ิวูŕ¸&#x2019;ŕ¸&#x2122;ŕš&#x152; 09. Running on Empty â&#x20AC;&#x201C; Jackson Browne / วิภวŕš&#x152; ŕ¸&#x161;บรŕ¸&#x17E;าŕš&#x20AC;ŕ¸&#x201D;ŕ¸&#x160;ะ Happening 10. Fight from the City - JĂłhann JĂłhannsson / ŕš&#x20AC;฼ŕš&#x2021;ภวŕ¸&#x2021; Greasy Cafe
01. Rock with You - Michael Jackson / Sean Caskey วŕ¸&#x2021; Last Dinosaurs 02. Sunday Morning - Maroon 5 / Mark Redito 03. Watching the Detectives - Elvis Costello / Claire L. Evans วŕ¸&#x2021; Yacht 04. All That She Wants - Ace of Base / Jona Bechtolt วŕ¸&#x2021; Yacht 05. Man in the Mirror - Michael Jackson / Andy Clutterbuck วŕ¸&#x2021; HONNE 06. I Wanna Be Your Boyfriend - The Ramones / ŕ¸&#x2C6;ŕš&#x2030;า วŕ¸&#x2021; Hariguem Zaboy 07. Take a Bow - Madonna / ŕš ŕ¸&#x17E;รวา วŕ¸&#x2021; Yellow Fang 08. Iâ&#x20AC;&#x2122;ve Got You Under My Skin - Frank Sinatra / ŕ¸&#x17E;ิล วŕ¸&#x2021; Yellow Fang 09. Falling Away From Me - KORN / Dustin Payseur วŕ¸&#x2021; Beach Fossils 10. Come Back to Me - SE7EN / ŕ¸&#x2122;ะ วŕ¸&#x2021; Polycat
14 AUG 2017
23
06
07
01
02
03
04
08
09
05
10
01. S. A. D. - Kirin J Callinan / ŕ¸&#x203A;ŕš&#x160;ŕ¸ŕ¸ วŕ¸&#x2021; Stylish Nonsense 02. Mirage - Toro y Moi / Notep 03. Tiger in the Rain - Michael Franks / ŕ¸&#x161;ิว วŕ¸&#x2021; Lemon Soup 04. Starboy - The Weeknd / ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x203A;ŕš&#x2030; ŕ¸ŕ¸˛ŕ¸Łŕ¸ąŕ¸ ชŕš&#x152; 05. Giorgio by Moroder - Daft Punk / May วŕ¸&#x2021; Fwends 06. You Donâ&#x20AC;&#x2122;t Owe Me - Grace ft. G-Eazy / ŕš&#x201A;ŕ¸&#x2122;ŕš&#x2030;ŕ¸&#x2022; Dudesweet 07. Super Freak - Rick James / ŕ¸&#x17E;฾ŕ¸&#x160; ŕ¸&#x17E;ŕ¸&#x160;ร 08. Moon - Blood Cultures / Panlert Bent ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x17E;ŕ¸&#x2C6;ŕ¸ŕ¸´ŕ¸&#x2122;ŕ¸&#x201D;฾ŕš&#x2030;สลูยŕš&#x192;ญลŕš&#x2C6; 09. Always be My Baby â&#x20AC;&#x201C; Mariah Carey / ŕ¸&#x203A;ŕš&#x2039;ŕ¸ŕ¸Ąŕš ŕ¸&#x203A;ŕš&#x2039;ล 10. â&#x20AC;&#x153;Sorry, I donâ&#x20AC;&#x2122;t sing in the shower.â&#x20AC;? / ฎิวŕš&#x201A;ภŕš&#x2030;
01
06
02
07
03
04
08
09
05
10
01. Best to You - Blood Orange 02. This Year - Beach Fossils 03. Goodbye Soleil - Phoenix 04. K - Cigarettes After Sex 05. Ode to Viceroy - Mac DeMarco 06. Polish Girl - Neon Indian 07. Always - Panama 08. Weekend - Last Dinosaurs 09. So Good at Being in Trouble - Unknown Mortal Orchestra 10. Egg - The Garden
a day BULLETIN
CONNECTING THE DOTS
เรื่อง : พิมพ์อร นทกุล ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล
The Pains of Being Pure at Heart (USA) Beach Fossils (USA)
Partners : ‘กิ’ - กิรตรา พรหมสาขา ณ สกลนคร และ ‘แป๋ง’ - พิมพ์พร เมธชนัน ่ ลุกคลีอยูใ่ นวงการดนตรีมานาน แป๋งเป็นนักร้องน�าและมือกีตาร์ของวง Yellow Fang ์ โปรโมเตอร์หญิงล้วนทีค ทีมคอนเสิรต ส่วนกินอกจากจะเป็นทายาทของ เขียว คาราบาว แล้ว ก็เคยมีผลงานเพลง ก่อนจะผันตัวมาท�า HAVE YOU HEARD? เต็มตัว
The Radio Dept. (SWE) Yacht (USA) HYH Mini Festival : Wild Nothing (USA), Veronica Falls (UK), Last Dinosaurs (AUS) Mac DeMarco (CAN)
Unknown Mortal Orchestra (USA) Blackbird Blackbird (USA) Wild Beasts (UK)
Erlend Øye (NOR) The Garden (USA) Neon Indian (USA) Perfume Genius (USA)
issue 499
14 AUG 2017
Last Dinosaurs (AUS) + Panama (AUS) RATATAT (USA) Chrome Sparks (USA) The Radio Dept. (SWE) of Montreal (USA) Blood Orange (USA) Yo La Tengo (USA)
HONNE (UK) Mew (DK) Cigarettes After Sex (US) Phoenix (FR)
24
25
ถ้าพูดถึงแวดวงคอนเสิรต ์ ในรอบปีทผ ี่ า่ นมา คงจะไม่พด ู ถึงผูจ้ ด ั อย่าง HAVE YOU HEARD? ไม่ได้ เพราะนอกจากพวกเขาจะน�าวงดนตรีอน ิ ดีท ้ แี่ ฟนเพลงชาวไทยไม่คด ิ ว่าจะได้ดเู ข้ามาแล้ว ยังเป็น ส่วนหนึ่งในการสร้างวัฒนธรรมการดูคอนเสิร์ตของคนเมืองในแบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน
“เราเริ่ ม คุ ย กั น เรื่ อ ง HAVE YOU HEARD? ใ น เ ดื อ น มิ ถุ น า ย น ปี 2011 จ�าได้วา่ สมัยนัน้ งานปาร์ ตี้ เ ป็ น ที่ นิ ย ม มาก ส่วนคอนเสิร์ตก็ จะเป็ น สเกลใหญ่ ๆ ไปเลย ซึ่ ง วงดนตรี ที่ พวกเราอยากดูตอนนัน้ สเกลเล็กกว่ามาก แต่ ยั ง ไม่ มี ใ ครน� า เข้ า มา ทั้งๆ ที่วงที่เราอยากดู เขาบินมาเล่นประเทศ ใกล้ๆ ก็เลยตัดสินใจ ว่าจะลองท�ากันเองดู พอไปเล่าให้คนอื่นฟัง มีแต่คนบอกว่า ‘เฮ้ย จะไหวเหรอ แล้วจะมี คนมาดู เ หรอ จะมี สปอนเซอร์เข้าเหรอ’ แต่เราก็เชื่อมั่นอยู่ลึกๆ แหละว่าต้องท�าได้”
“เราทั้ ง คู ่ ค ลุ ก คลี กั บ วงการดนตรีมาตลอด เลยท�าให้พอมีไอเดีย ว่ า จะต้ อ งเริ่ ม ยั ง ไง และต้องท�าอะไรอีกบ้าง เ ร า เ ริ่ ม จ า ก คิด ชื่ อ ออกแบบโลโก้ แล้วก็ ท� า เพจ ตอนแรกก็ โพสต์เพลงที่เราชอบ ก่อน คนตามก็ยังไม่ เยอะ แค่ ห ลั ก ร้ อ ย เองมั้ง หลังจากนั้นก็ ลองลิ ส ต์ ร ายชื่ อ วงที่ อยากติดต่อ ก่อนจะ หว่านอีเมลไปเชิญเขา มาเล่ น ซึ่ ง ตอนนั้ น ก็มีท้อบ้างนะ บางวง ตอบปฏิ เ สธมาแบบ โหดร้ า ยมาก อย่ า ง ‘We don’t have plans to go to that part of the world.’ แต่บางวง ก็เงียบหายไปเลย”
“8 เดือน คือช่วงเวลา ตั้งแต่ตอนที่เราตกลง จะท� า HAVE YOU HEARD? จนถึงวันที่ เรามี ค อนเสิ ร ์ ต แรก ต อ น นั้ น ต ล า ด มั น เ ฉ พ า ะ ก ลุ ่ ม ม า ก คนดู ก็ จ ะมี ลั ก ษณะ เฉพาะตัว ต้องแต่งตัว ประมาณนี้ ไปเที่ยว กินข้าว หรือดื่มเหล้า ก็จะมีสไตล์ประมาณนี้ แต่ พ อท� า มาเรื่ อ ยๆ กลุ่มคนที่ติดตามเรา ก็ ค ่ อ ยๆ กว้ า งขึ้ น วิ ธี ก ารฟั ง เพลงก็ มี มากขึ้น มี streaming application ที่เข้าถึงได้ ง่ายขึ้น”
“คอนเสิร์ตแรกคือวง The Pains of Being Pure at Heart จาก สหรั ฐ อเมริ ก า ซึ่ ง ถื อ ว่ า ประสบความส�าเร็จนะ คนตื่นเต้น มาก จากคอนเสิรต์ แรก ไปคอนเสิรต์ ทีส่ องก็ใช้ เวลาอีกเกือบปี เพราะ ไม่คอ่ ยมีคนตอบอีเมล (หัวเราะ) จนมาปีทสี่ อง ทีเ่ ราเริม่ รูส้ กึ ว่าได้กา้ ว ไปอีกขั้น ชื่อของเรา เริม่ เข้าไปอยูใ่ นแวดวง เอเจนซี ก็ เ ลยเริ่ ม มี วงดนตรีติดต่อเข้ามา เองก่อน จนเกิดเป็น HYH Mini Festival ทีม่ วี งดนตรีมาเข้าร่วม 3 วง ซึ่งงานนี้ขาดทุน เยอะมาก”
“ เ ร า ไ ม ่ มี น า ย ทุ น ทุ ก บาททุ ก สตางค์ มาจากกระเป๋าตัวเอง จริงๆ แล้วด้วยความที่ เป็นฟรีแลนซ์ เราไม่ได้ ขาดทุ น ตรงนี้ แ ล้ ว จะมี เ งิ น จากอี ก ทาง ทุก ๆ เดือ น ช่ ว งนั้น รั บ จ๊ อ บแหลกเลย มี ง านอะไรก็ รั บ หมด (หัวเราะ) หลังจากนั้น ก็ เ ข็ ด กั บ ก า ร จั ด งานใหญ่ ไ ปพั ก ใหญ่ มีจดั บ้างเป็นงานเล็กๆ แบบที่ ถ ้ า จะขาดทุ น ก็คงไม่กี่พัน”
“เราคนหนึ่ ง ดู เ รื่ อ ง การจั ด การทั้ ง หมด การโปรโมต การตลาด อีกคนจะเป็น on ground คอยดูแลเรือ่ งโปรดักชัน การตกแต่ง การออกแบบ เวที แต่เวลาเลือกวง จะช่วยกัน เราอาจจะ ไม่ได้ชอบวงเดียวกัน ทุ ก วง แต่ เ ราไม่ เ คย ทะเลาะกั น เลย มี หลายวงทีค่ นหนึง่ ชอบ มาก อีกคนไม่มนั่ ใจว่า จะมีคนมาดู แต่สดุ ท้าย ก็ตกลงว่าท�าแล้วกัน เพราะเราเชือ่ ใจอีกฝ่าย บางงานก็รู้ว่าขาดทุน แน่ ๆ แต่ อ ยากท� า อ ย า ก ใ ห ้ ค น ไ ด ้ ดู ก็ตดั สินใจท�าด้วยกัน”
“ตลอด 6 ปีที่ผ่านมา เราเรียนรูท้ จี่ ะคาดคะเน ทุก อย่ า งได้ แ ม่ น ขึ้ น แรกๆ ทีท่ า� ก็มปี ระเมิน ผิดพลาดแหละ จ่าย ค่ า วงเยอะเกิ น ไป ประมาณจ� า นวนคน น้อยเกินไป ค่าโปรดักชั น เกิ น กว่ า ที่ คิ ด ไว้ แต่แรก อีกเรื่องที่ได้ เรียนรู้คือการโปรโมต เราต้องตามเทคโนโลยี มั น จะมี เ ทคนิ ค ว่ า ต้ อ งโพสต์ ต อนไหน บู ส ต ์ โ พ ส ต ์ ยั ง ไ ง รีทาร์เก็ตยังไง หลังๆ มานี้แค่โพสต์เฟซบุ๊ก กั บ อิ น สตาแกรมก็ เหนื่อยแล้ว เพราะเรา ท�าเองหมด (หัวเราะ)”
“เราอยากให้ HAVE YOU HEARD? ใน 5 ปี ข้างหน้า เป็นคอมมูนติ ี้ ทีส่ นิทสนมกันมากขึน้ คุณอยากดูวงอะไรก็ บอกเรา แล้ ว เราจะ พยายามน�าเข้ามาให้ คิดว่าถ้าตรงนีแ้ ข็งแรง แล้ว น่าจะช่วยให้เรา จั ด งานได้ บ ่ อ ยขึ้ น อย่างปีที่แล้วก็ถือว่า เป็นอีกก้าวหนึ่งที่เรา จัดงานไปถึง 7 งาน นอกจากนี้ เราก็ จ ะ ท� า ระบบหลั ง บ้ า น ให้ ดี ขึ้ น เริ่ ม ต้ น ที่ เว็บไซต์ก่อน ตอนนี้ ใกล้เป็นรูปเป็นร่างแล้ว รอติ ด ตามกั น ได้ ที่ haveyouheard.live”
STRIP AD
a day BULLETIN
BULLETIN BOARD
26
อัพเดตแวดวงข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจในรอบสัปดาห์ Cape Panwa Hotel Phuket Raceweek 2017 สิ้ น สุ ด ลงไปแล้ ว กั บ งาน แข่งขันเรือใบ ‘เคปพันวา โฮเทล ภูเก็ต เรซวีก 2017’ ซึง่ จัดขึน้ เป็น ครั้ ง ที่ 14 ระหว่ า งวั น ที่ 19-23 กรกฎาคมทีผ่ า่ นมา บริเวณนอกฝัง่ ทะเลทิศตะวันออกของเกาะภูเก็ต ถื อ เป็ น การแข่ ง ขั น เพื่ อ สะสม คะแนนรายการแรกของงานเอเชียน ยอชติ้ ง กรั ง ด์ ป รี ซ ์ ประจ� า ปี 2560/2561 โดยได้รับความสนใจ จากทั้ง นัก แข่ ง ขัน เรือ ใบกว่ า 25 ประเทศ และมีเรือใบเข้าแข่งขันกว่า 40 ล�า ซึง่ ผูจ้ ดั งานหวังเป็นอย่างยิง่ ว่ า ความสนุ ก ของการแข่ ง ขั น กิจกรรมบนฝัง่ และความสวยงาม ของเกาะภูเก็ต จะเป็นสิ่งที่อยู่ใน ความทรงจ�าของนักแข่งทุกคน
issue 499 14 AUG 2017
ฮอนด้ า จั บ มื อ กรมป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย สานต่อโครงการขับขีป ่ ลอดภัย
ไวลด์ไนต์ พรีเซนต์ ออสเตรเลีย ธันเดอร์ ฟอร์ม ดาวน์ อันเดอร์ ไลฟ์ อิน แบงคอก
ลีสซิ่งกสิกรไทย สนับสนุน ทางการเงินแก่เวิลด์คลาส เรนท์ อะ คาร์
เดอะมอลล์ชวนโก๋กย ๋ ี อ้ นวันวาน ในคอนเสิ ร์ ต ‘เดอะมอลล์ ELVIS VS โก๋หลังวัง’
กอบชัย บุญอรณะ รองอธิบดี กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และ พิทักษ์ พฤทธิสาริกร ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารปฏิบตั กิ าร บริษทั ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จ�ากัด พร้อมด้วย ตัวแทนครูฝกึ ขับขีป่ ลอดภัย ร่วมรณรงค์ โครงการ ‘Honda Dream Road ถนนในฝัน ถนนปลอดอุบัติเหตุ’ ประจ�าปี 2560 ที่ฮอนด้าจัดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 ด้ ว ยการอบรมเสริ ม ความรู ้ ก ารขั บ ขี่ ปลอดภัยให้กบั ผูใ้ ช้รถใช้ถนนทัว่ ประเทศ สร้างจิตส�านึกด้านความปลอดภัยอย่าง เป็นรูปธรรม เพื่อมุ่งสู่วิสัยทัศน์ ร่วมกัน ส ร ้ า ง ก า ร สัญ จ ร ที่ ป ล อ ด ภัย ต า ม มาตรฐานสากล
เหล่าบรรดาปาร์ตี้เกิร์ลผู้ชื่นชอบ ความสนุกสุดเหวี่ยงยามค�่าคืนเตรียม พบกับช่วงเวลาแห่งความสุขของ Wild Night presents Australia’s Thunder From Down Under Live in Bangkok ณ สตูดโิ อ มูนสตาร์ 8 ในวันที่ 30 สิงหาคมถึง 5 กันยายน 2560 โดยวันที่ 4 กันยายน จะเป็นปาร์ตี้ของ Girl’s Night Outback เฉพาะผู้หญิงเท่านั้น และ 5 กันยายน 2560 Gay’s Night Outback เฉพาะผู้ชาย เท่านั้น สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม www. wildnight.asia และจองบัตรได้ที่ www. ticketmelon.com/event/thunderbkk
ศาศวัต วีระปรีย ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ลีสซิ่งกสิกรไทย จ�ากัด และ ภีมภัทร ตาละลักษมณ์ กรรมการผูจ้ ดั การบริษทั เวิลด์คลาส เรนท์ อะ คาร์ จ�ากัด ร่วมลงนามในสัญญาสนับสนุน ทางการเงินจ�านวน 300 ล้านบาท ให้แก่ บริษัท เวิลด์คลาส เรนท์ อะ คาร์ จ�ากัด เพื่ อ รองรั บ การขยายธุ ร กิ จ บริ ก าร ให้เช่ารถภายใต้แบรนด์ Budget ทีม่ สี าขา อยู่ทั่วโลก ณ ศูนย์บริการเดอะวิสดอม เลานจ์ โรงแรมโซฟิเทล โซแบงคอก เมื่อเร็วๆ นี้
บริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จ�ากัด ร่วมกับ บริษัท ไทยประกันชีวิต จ�ากัด (มหาชน), มูลนิธิศาลาเฉลิมกรุง, มูลนิธิ สวัสดิการนักแสดงอาวุโส และบริษัท มาสเตอร์ พีซ ออร์กาไนเซอร์ จ�ากัด จั ด คอนเสิ ร ์ ต เดอะมอลล์ ELVIS VS โก๋หลังวัง เอาใจคนรักเสียงเพลงแห่งยุค 60s 70s ในวันที่ 3 กันยายน 2560 ณ เอ็มซีซี ฮอลล์ ชั้น 4 เดอะมอลล์ งามวงศ์ ว าน ซื้ อ บั ต รได้ ที่ เ คาน์ เ ตอร์ ประชาสั ม พั น ธ์ เ ดอะมอลล์ ทุ ก สาขา (ยกเว้นนครราชสีมา) รายได้ส่วนหนึ่ง จ า ก ก า ร จั ด ง า น ส ม ท บ ทุ น มู ล นิ ธิ ศาลาเฉลิ ม กรุ ง และมู ล นิ ธิ ส วั ส ดิ ก าร นักแสดงอาวุโส
27
กลุ่ ม มิ ต รผลเปิ ด ตั ว โครงการ ‘ทำาตามพ่อ’ มุ่งสร้างความสุข ที่ ยั่ ง ยื น ให้ ค นไทยด้ ว ยแนวคิ ด เศรษฐกิจพอเพียง กลุ ่ ม มิ ต รผลจุ ด ประกายการสร้ า ง ความสุขที่ยั่งยืนแก่ชาวไทย ด้วยการน้อมน�า แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มาสู ่ การริ เ ริ่ ม โครงการท� า ตามพ่ อ พร้ อ มตั้ ง เป้าหมายสร้างศูนย์ปลูก เพ(ร)าะ สุข 70 แห่ง ภายในปี 2560 ในโอกาสครบรอบ 70 ปี แห่ง การครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ก่อนขยายผลสู่ 700 ครัวเรือนในปีทสี่ อง และ 7,000 ครัวเรือน ในปี ที่ส าม เพื่อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางการเรี ย นรู ้ เกษตรทฤษฎี ใ หม่ แ ละถ่ า ยทอดแนวทาง การด�ารงชีวิตที่สามารถสร้างความสุขอย่าง ยั่งยืนให้แก่ชาวไร่ ชุมชน และบุคคลทั่วไป
a day BULLETIN
CALENDAR
28
เตรียมพบกับ Mayer Hawthorne นั ก ร้ อ ง เสี ย งโซลมากความสามารถ ทีม่ าพร้อมกับ โ ป ร ดิ ว เ ซ อ ร ์ คู ่ หู Jake One ในนามวง Tuxedo เตรี ย มเสิ ร ์ ฟ เพลงสไตล์ฟังก์ โซล ดิสโก้ ให้แฟนๆ ได้ฟัง อย่างเต็มที่ วันที่ 23 สิ ง หาคมนี้ ที่ SRP5 S t u d i o จ อ ง บั ต ร Ticketmelon.com ราคา 2,200 บาท
เอาใจคอแนวดนตรี shoegaze กั บ DIIV ว ง อิ น ดี้ ร็ อ ก สุ ด ซ ่ า จากบรู ค ลิ น สหรั ฐ ฯ เจ้าของเพลงดังอย่าง Doused และ How Long Have You Known? ที่ เ ขาจะมา บรรเลงเพลงฮิตให้เรา ร้ อ งเต้ น ไปด้ ว ยกั น วั น ที่ 9 กั น ยายน ที่ The Link Asoke จองบัตร Ticketmelon.com ราคา 1,300 บาท
สองดู โ อฝี มื อ จั ด จ้ า น เจ้ า ของเพลงอั น ดั บ หนึ่งบนชาร์ต Billboard Hot 100 อย่าง Closer เตรี ย มมาเล่ น สดให้ แฟนๆ ได้ฟังครั้งแรก แสดงวันที่ 15 กันยายน ที่ อิ ม แ พ็ ก อ า รี น า เมืองทองธานี จองบัตร ไทยทิ ก เก็ ต เมเจอร์ บัตรราคา 2,000 และ 3,000 บาท
ชวนคุณไปสัมผัสดนตรี อี ดี เ อ็ ม ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ย ความงดงามของดนตรี ผสมซาวนด์อเิ ล็กทรอนิก แบบใสๆ ในคอนเสิร์ต ของ FKJ ศิลปินชาว ฝรั่งเศส ที่จะมามิกซ์ เพลงให้ คุ ณ ฟั ง แบบ สดๆ วันที่ 15 กันยายน ณ Zen @CentralWorld จองบัตร Ticketmelon. com ราคา 1,290 บาท
ศิลปินสาวเสียงเพราะ Lucy Rose กลั บ มา อีกครัง้ พร้อมกับอัลบัม้ ใหม่ Something’s Changing พาคุ ณ ไป สั ม ผั ส บ ร ร ย า ก า ศ พิ เ ศษของกรุ ง เทพฯ ยามค�่ า คื น แบบ 360 องศา พร้อมฟังเพลง เพราะๆ บนตึ ก สู ง ใจกลางเมือง วันที่ 22 กันยายน ที่ Heaven a t Z e n จ อ ง บั ต ร Ticketmelon.com ราคา 750 บาท
เอ็ ด ชี แ รน เจ้ า ของ บทเพลง Thinking Out Loud และ Photograph เตรี ย มเยื อ นไทยครั้ ง แรก พร้อมขนเพลงฮิต จ า ก ทั้ ง อั ล บั้ ม เ ก ่ า และใหม่ ม าให้ แ ฟนๆ ชาวไทยได้ ฟ ั ง แบบ จั ด เ ต็ ม วั น ที่ 1 6 พฤศจิกายน ที่อิมแพ็ก อารีนา เมืองทองธานี
OneRepublic วงร็อก สั ญ ช า ติ อ เ ม ริ กั น เจ้ า ของบทเพลงดั ง Apologize และ Counting Stars หลังออกอัลบั้ม ที่ ส อ ง ก็ เ ริ่ ม ทั ว ร ์ ซึ่ ง ปลายปี นี้ แ ฟนๆ ชาวไทยจะได้ พ บกั บ พวกเขาแน่ๆ วันที่ 21 พฤศจิกายน ทีอ่ มิ แพ็ก อารีนา เมืองทองธานี จองบัตรที่ไทยทิกเก็ต เมเจอร์ บั ต รราคา 2,000 / 3,000 / 4,000 และ 5,000 บาท
issue 498 07 aug 2017
เรื่อง : HAVE YOU HEARD? ภาพ : ณทพน จำรุวัชระพน
29
ARTICLE
ของการดูคอนเสิร์ต
ท�ำควำมรู้จักกับตำรำงเวลำของ งำน
ท� ำ ควำมรู้ จั ก กั บ ประเภทของ บัตร บัตร Early Bird
บัตรประเภทนี้เป็นบัตรราคาพิเศษ มี จ� า นวนจ� า กั ด ส� า หรั บ คนที่ ซื้ อ ก่ อ น เรียกว่าใครเร็วกว่าก็ได้เปรียบ
บั ต ร A d v a n c e ห รื อ บั ต ร Regular
บัตรประเภทนี้เป็นบัตรราคาปกติ ส�าหรับคนทีซ่ อื้ ล่วงหน้าก่อนวันงาน
บัตรหน้างาน หรือ Door Ticket
บั ต รประเภทนี้ เ ป็ น บั ต รที่ ข าย ณ วันงาน โดยมักจะมีราคาแพงที่สุด และที่ส�าคัญ หากคอนเสิร์ตไหนบัตรขาย ดี ก็ อ าจจะไม่ มี บั ต รเหลื อ ถึ ง หน้ า งาน ดั ง นั้ น ถ้ า มั่ น ใจว่ า ไปงานไหนชั ว ร์ ขอแนะน�าให้ซื้อบัตรไว้ก่อนเลยล่วงหน้า
R e g i s t r a t i o n ห รื อ เ ว ล า ลงทะเบียน
เป็ น เวลาเปิ ด ให้ รั บ บั ต รนั่ น เอง หากใครไม่อยากต่อแถวนาน ขอแนะน�าให้รบี ไปรับบัตรแต่เนิน่ ๆ
ท� ำ ควำมรู้ จั ก กั บ พื้ น ที่ ห น้ ำ เวที ของคอนเสิร์ตแบบยืน เกาะขอบเวที
เหมาะส�าหรับแฟนพันธุแ์ ท้ทอี่ ยากจะ ได้เห็นวงแบบชัดๆ ได้ถ่ายรูปแบบใกล้ๆ เผลอๆ อาจจะได้แอบเห็นเซตลิสต์ของวง อีกด้วย แต่อาจจะต้องท�าใจนิดนึงว่าซาวนด์ อาจจะไม่ค่อยดีนัก และคุณอาจจะเดิน ออกไปไหนไม่ได้จนกว่าคอนเสิรต์ จะจบ
บริเวณตรงกลาง
เป็นเวลาที่ผู้จัดจะเปิดประตูให้คนดู สามารถเข้ า ไปในบริ เ วณคอนเสิ ร ์ ต ได้ หากงานไหนอยากเกาะติ ด ขอบเวที ขอแนะน�าให้ไปถึงงานให้ทนั เวลาประตูเปิด
การยืนดูคอนเสิร์ตในบริเวณกลางๆ เหมาะส� า หรั บ คนที่ ไ ม่ อ ยากโดนเบี ย ด มากนัก แต่ยงั อยากได้เห็นวงแบบค่อนข้าง ชัด ในบริเวณนี้มักจะได้ยินซาวนด์ที่ดีว่า ตรงหน้าเวที แต่ข้อเสียคืออาจจะโดนคน ตัวสูงกว่าบังได้
Opening Acts หรือวงเปิด
ใกล้กบ ั ทีมคอนโทรลแสง สี เสียง
Change-over หรื อ ช่ ว งเวลา เปลี่ยนวง
ริมผนัง
Doors หรือเวลาเปิดประตู
งานคอนเสิ ร ์ ต ของวงต่ า งประเทศ ในบ้านเรามักจะมีวงเปิด โดยงานของ HAVE YOU HEARD? ส่วนใหญ่มกั จะมีวงเปิด 2 วง ซึ่งจะเริ่มโชว์ประมาณครึ่งชั่วโมงหลังจาก ประตูเปิด
หากใครต้องการออกไปท�าธุระแต่ไม่ ต้ อ งการพลาดโชว์ ใ นงาน ขอแนะน�า ให้ จับเวลาหลังวงเล่นเสร็จดีๆ โดยการเปลีย่ น วงบนเวทีระหว่างวงไทยไปสู่วงไทยอีกวง ส่วนใหญ่จะใช้เวลาประมาณ 15-20 นาที แต่หากเป็นการเปลี่ยนวงจากวงไทยไปวง ต่างประเทศนัน้ จะใช้เวลาอย่างน้อย 30 นาที ขึน้ ไป
หากใครอยากดู ค อนเสิ ร ์ ต ในจุ ด ที่ เสียงดีทสี่ ดุ ให้ลองสังเกตว่าทีมทีค่ อนโทรล แสง สี เสี ย งของงานอยู ่ ต รงไหน แล้ ว พยายามไปยืนให้ใกล้ทสี่ ดุ หากได้จดุ ทีย่ นื อยู ่ ด ้ า นหน้ า พวกเขา ให้ เ ลื อ กจุ ด ที่ อ ยู ่ ตรงกลางทีส่ ดุ ไม่เฉียงไปทางซ้ายหรือขวา
ส� า หรั บ คนที่ ไ ม่ ช อบยื น นานๆ ขอ แนะน�าให้จบั จองพืน้ ทีบ่ ริเวณริมผนัง เมือ่ ย เมื่อไหร่ก็นั่งลงไปชิลที่พื้นได้ตามใจชอบ อยากเดินออกไปด้านนอกก็เดินออกไปได้ ง่ายๆ ไม่ต้องฝ่าฝูงชน แต่ก็ต้องท�าใจว่า ซาวนด์อาจจะไม่ดีนัก และอาจจะเห็นวง ไม่ชดั เหมือนจุดอืน่ ๆ
DOs & DONTs
• เลือกใส่รองเท้าที่ใส่สบาย และ ไม่ พ กอะไรไปด้ ว ยเยอะถ้ า ไม่ จ� า เป็ น เพือ่ ความสบายตัวในการดูคอนเสิรต์ • ตรวจสอบให้ดวี า่ สามารถน�ากล้อง เข้าไปในงานได้ไหม เพราะบางงานไม่อนุญาต ให้น�าเข้าไป และไม่มีบริการรับฝากกล้อง อาจจะท�าให้อดดูคอนเสิรต์ ได้ • น� า บั ต รประชาชนไปด้ ว ยเสมอ และอย่ า ลื ม เตรี ย มสิ่ ง จ� า เป็ น ในการรั บ บัตรคอนเสิรต์ ไปให้พร้อม เช่น ticket code หรือ QR code • เพือ่ บรรยากาศในการดูคอนเสิรต์ ที่ดี และเป็นมิตรต่อคนรอบข้าง ไม่ควร ถ่ายรูปตลอดเวลา และหากต้องการถ่าย วิดโี อ ไม่ควรถ่ายนานเกิน 1 นาที • ดูแลรักษาความสะอาดในบริเวณ ทีด่ คู อนเสิรต์ และไม่ทงิ้ ขยะลงพืน้
a day BULLETIN
LIFE
30
คุณอาจไม่รู้มาก่อนว่าในทุกคอนเสิร์ต เพียงช่วงเวลาสองสามชั่วโมงสั้นๆ นั้นต้องอาศัยเรี่ยวแรง ความคิดและสปิริตของคนจ�านวนไม่น้อยเพื่อสร้างประสบการณ์อันน่าประทับใจครั้งหนึ่ง
ซึง ่ หากต้องเปรียบคอนเสิรต ์ สักงานเป็นร่างกายมนุษย์ พวกเขาจะเป็นทัง ้ ดวงตา แขนขา และทุกประสาทสัมผัส ทีค ่ อยท�างานร่วมกันอยูเ่ บือ ้ งหลัง และส่งต่อพลังของเสียงดนตรีให้ไปถึงคนดูทก ุ คน
PHOTOGRAPHER ‘เฟรย์’ - ณทพน จารุวัชระพน ช่างภาพที่เลิกใช้กล้องดิจิตอลและหันมาจับกล้องฟิล์ม การได้ถ่ายภาพคอนเสิร์ตคือฝันที่เป็นจริงส�าหรับเขา ความฝันอีกขั้นหนึ่งคือการได้ถ่ายคอนเสิร์ตของวง Kasabian ภาพ : ณทพน จารุวัชระพน
issue 499 14 AUG 2017
เราเป็นคนชอบฟังเพลงอยูแ่ ล้ว อกหัก ก็ฟังเพลง ผิดหวังก็ฟังเพลง เราเลยเสพติด การดูคอนเสิรต์ ท�างานหาเงินก็เพือ่ จะได้ไปดู คอนเสิรต์ ทีนเี้ พือ่ นเรารูจ้ กั กับทีมจัดคอนเสิรต์ เลยส่ ง งานเราไปให้ เ ขา แล้ ว ก็ ไ ด้ ไ ปถ่ า ย คอนเสิรต์ วงแรก Blood Orange จ�าได้วา่ วันนัน้ กดไป 10 ม้วน (หัวเราะ) มีคนถามเหมือนกัน ว่าท�าไมถึงถ่ายฟิลม์ ทัง้ ๆ ทีค่ อนเสิรต์ แสงก็มดื ไม่มีอะไรแน่นอน แต่เรากลับรู้สึกว่าพอใช้ กล้องฟิล์มมันท�าให้ได้ใช้จินตนาการเต็มที่ เราชอบความรูส้ กึ ที.่ .. พอน�าไปล้างแล้วกลับมา ดูอีกที มันเหมือนไทม์แมชีนเลยนะ
ช่างภาพก็คงเป็นเหมือนดวงตาของคอนเสิรต์ ละมัง้ เพราะมันคือสิง่ ทีเ่ รามองเห็น เป็นเรือ่ งของ ภาพ และก็ อ าจจะเป็ น สมองด้ ว ยในเรื่ อ งของ การประมวลผล เรือ่ งของความจ�า เราจะไม่คอ่ ยถ่าย มุมแคบๆ แบบทีเ่ ห็นหน้านักดนตรีชดั ๆ เพราะเรา รู ้ สึ ก ว่ า ความพิ เ ศษของคอนเสิ ร ์ ต มั น คื อ ทุ ก ๆ องค์ประกอบ ทัง้ ไลติง้ เวที และคนดู การถ่ายภาพ เป็ น การเยี ย วยาตั ว เองอย่ า งหนึ่ ง อย่ า งเวลา ถ่ายภาพคอนเสิร์ตเราก็ไม่ได้คาดหวังว่าทุกคน จะต้องมาชอบ เพราะเราควบคุมความรูส้ กึ เขาไม่ได้ แต่ถ้าเราโอเคกับงานของเรา แค่นี้ก็เพียงพอแล้ว
พอได้ ถ ่ า ยภาพคอนเสิ ร ์ ต เราได้ เ ห็ น รายละเอียดเยอะมากว่าคอนเสิรต์ มันไม่ใช่นกั ดนตรี ขึน้ มาเล่น คนเข้ามาดู แล้วก็จบไป มันต้องใช้คน หลายกลุม่ ไลติง้ ก็ตอ้ งคิดมาแล้ว เวทีกต็ อ้ งดีไซน์ มาแล้ว บรรยากาศดีๆ สวยๆ ที่ทุกคนเห็นคือ มันผ่านกระบวนการมาตัง้ เยอะ ยิง่ เราเป็นคนชอบดู คอนเสิ ร ์ ต อยู ่ แ ล้ ว พอไปยื น ตรงนั้ น มั น อธิ บ าย ไม่ถกู เหมือนกันนะ แต่มนั อิม่ มันตืน้ ตันไปหมดเลย
31
ARTIST RELATION ‘ตง’ - ภลพล เตริยาภิรมย์ ฟรีแลนซ์จากวงการโฆษณาผู้หลงใหลดนตรี จับพลัดจับผลูรับค�าเชิญมาท�าหน้าที่ ‘คนดูแลศิลปิน’ ให้กับวงดนตรีต่างประเทศที่เข้ามาแสดงคอนเสิร์ตในเมืองไทย ภาพ : PARADEWAVES
งานของเราคือต้องช่วยเหลือศิลปินตั้งแต่ เรือ่ งเล็กๆ น้อยๆ อย่างเรือ่ งเสือ้ ผ้า ถ้าเขาไปทัวร์มา แล้วซักไม่ทัน เราก็ต้องช่วยหาที่ซักให้เขา คืองาน ตรงนี้มันไม่มีค�าจ�ากัดความหน้าที่ว่าต้องท�าอะไร บ้างมาตั้งแต่แรกแล้ว เราต้องวิ่งรับส่งเขาตั้งแต่ ลงสนามบินไปจนถึงเขาบินกลับ แต่เรื่องพื้นฐาน ที่ ส� า คั ญ ที่ เ ราต้ อ งจั ด การคื อ เรื่ อ งของอาหาร และเรือ่ งตารางเวลาทีต่ อ้ งจัดการให้เขาไปถึงทีไ่ หน กี่โมง สิ่งที่ท้าทายที่สุดในงานตรงนี้คือการรับมือ กับรถติดของกรุงเทพฯ (หัวเราะ) ซึ่งควบคุมไม่ได้ เลย แต่ปกติเลยจะเลือกโรงแรมที่อยู่ในเส้นทาง ทีร่ ถไม่ตดิ มาก แล้วพอถึงเวลาขึน้ โชว์กต็ อ้ งรอดูวา่ เขาต้องการความช่วยเหลืออะไรบ้าง เราก็จะวิ่ง ไปซื้อให้เขาก่อนขึ้นเล่น
คนดูแลศิลปินคงเป็นเหมือนขากับท้องมั้ง เราต้ อ งพางานขั บ เคลื่ อ นและเติ ม ด้ ว ยการกิ น ทุกครัง้ ก่อนทีศ่ ลิ ปินจะมา เขาจะส่งลิสต์เป็น riders คือพวกรายละเอียดความต้องการของเขามาให้ เช่น ลิสต์เครื่องดื่ม ความต้องการพิเศษ อย่างวง Phoenix ก็ จ ะมี ค นที่ แ พ้ ก ลู เ ตน อะไรแบบนี้ ก็เป็นอะไรที่ค่อนข้างละเอียดอ่อน ซึ่งส�าหรับผม งานดูแลศิลปินสนุกที่สุดตอนกินข้าวนะ (หัวเราะ) ระหว่างกินข้าวก็ได้พูดคุยกับเขา เป็นช่วงเวลา ที่เหมือนเราได้เชื่อมต่อ ได้สร้างความสัมพันธ์ กับศิลปิน ซึ่งจะท�าให้งานของเราหลังจากมื้อนั้น อาจจะง่ายขึน้ เพราะเขารู้จกั เรามากขึน้ เราก็ร้จู กั เขามากขึ้น การกินข้าวมื้อแรกนี่ส�าคัญมาก
งานตรงนี้ท�าให้เราได้เห็นการเป็นอยู่ของ ศิ ล ปิ น มั น เปลี่ ย นให้ เ รามองเขาแบบมนุ ษ ย์ กับมนุษย์มากขึ้น แทนที่จะมองตัวเขาแค่ตอนอยู่ บนเวทีอย่างเดียว เพราะถ้าเราเป็นแค่คนดูเราคง ไม่รู้หรอกว่าวันนี้เขาไปท�าอะไรมาบ้าง เขามีลูก กีค่ น เขาตาบอดสีไหม บางครัง้ ทีไ่ ด้ยนิ เรือ่ งพวกนี้ ท�าให้เรารู้สึกกับพวกเขาเหมือนเพื่อน เหมือนคน รู้จักกันมากกว่า แต่พอเขาขึ้นเวทีก็กลายเป็น นักดนตรีที่มีออร่าขึ้นมาเลย
a day BULLETIN
32
CONCERT PROMOTER ‘กิ’ - กิรตรา พรหมสาขา ณ สกลนคร และ ‘แป๋ง’ - พิมพ์พร เมธชนัน สองผู้ก่อตั้ง HAVE YOU HEARD? ทีมจัดคอนเสิร์ตที่บอกว่า ความสุขที่สุดของงานนี้ คือการได้เห็นทั้งวงดนตรีและคนดูยิ้มไปกับผลงานของพวกเธอ ภาพ : HAVE YOU HEARD?
issue 499 14 AUG 2017
กิ : HAVE YOU HEARD? เกิดขึ้นจากที่เรา รู้สึกว่าเมืองไทยไม่ค่อยมีคนน�าศิลปินขนาดเล็กๆ เข้ามาแสดงคอนเสิร์ต เราเลยอยากให้มันเป็น เหมือนคอมมูนิตี้ เป็นการรวมตัวของคนที่ชอบ ฟังเพลงคล้ายๆ กัน หน้าที่หลักๆ ของเราในฐานะ concert promoter คือการเสาะหาวงดนตรีทั้งใหม่ และเก่าทีค่ นอยากดู และพยายามจัดการทุกอย่าง จนวงเหล่านั้นบินมาเล่นคอนเสิร์ตในเมืองไทย ให้พวกเราได้ดูกันสดๆ แป๋ง : ส่วนเราเป็นคนดูเรื่องของโปรดักชัน เเละอาร์ตไดเรกชัน เวลาเลือกวงเราก็ชว่ ยกันกับกิ เราใช้ทงั้ ความชอบส่วนตัวและสิง่ ทีค่ นสนใจกันอยู่ มาตัดสินใจ หน้าทีท่ สี่ า� คัญมากคือท�าอย่างไรให้สเกล ของงานมันเหมาะสมกับความต้องการของคน
แป๋ง : ถ้าเปรียบคอนเสิร์ตเป็นร่างกาย มนุษย์ เราว่าคนจัดคอนเสิรต์ ก็เป็นประสาทสัมผัส ทั้งหมดนะ ตาดูหูฟัง กิ : ใช่ แต่หลักๆ คงต้องเป็นตาและหูแหละ เราต้องท�าหลายอย่าง ต้องติดต่อวงผ่านหลายคน ต้องคอยดูความเรียบร้อยทั้งในเรื่องของภาพและ เสียง ซึง่ การตัดสินใจหลายๆ อย่างไม่ได้ขนึ้ อยูก่ บั เราคนเดี ย ว ต้ อ งใช้ ทุ ก ประสาทสั ม ผั ส เพราะ หน้าทีเ่ ราคือพยายามท�าทุกอย่างออกมาให้ทกุ ฝ่าย แฮปปี้ที่สุด ซึ่งบางครั้งก็ยากเหมือนกัน แป๋ง : หรือบางทีเรามีเงื่อนไขบางอย่างกับ ศิลปินทีไ่ ม่สามารถเปลีย่ นแปลงได้ ซึง่ ยังมีบางคน เข้าใจผิดอยู่ อย่างเวลาตั๋ว sold out เป็นต้น เราไม่สามารถเอาใจทุกคนได้ในทุกครั้งหรอก
กิ : คอนเสิ ร ์ ต ส� า หรั บ เรามั น ไม่ ใ ช่ แ ค่ การไปดูวงที่เราชอบเล่นสด แต่เป็นมิตรภาพจาก การที่เราได้รู้จักวงต่างๆ ในแบบที่เขาเป็นเวลาที่ ไม่ได้อยูบ่ นเวที บางวงซ่ามากบนเวที แต่พอลงมา แล้วเรียบร้อยไปเลย บางวงนี่บนเวทีคือแบบดู ขรึมๆ เท่ๆ แต่ตัวจริงเด๋อมาก แต่ที่ประทับใจที่สุด คงเป็นการทีเ่ ราได้เห็นว่าแต่ละวงเขาอินกับผลงาน ของเขายังไง ได้เห็นว่าเขาใส่ใจรายละเอียดต่างๆ ยังไง กว่าจะออกมาเป็นโชว์ที่ทุกคนได้ดู แป๋ง : เราได้เห็นเบือ้ งหลังโปรดักชันทัง้ หมด เราได้ประสบการณ์จากตรงนี้เพื่อมาพัฒนางาน ของเรา มันคือการได้ดูวงดนตรีดีๆ และเผื่อแผ่ ให้ทุกคนด้วย แค่เห็นคนตื่นเต้นเวลาเราประกาศ แต่ละโชว์ เราก็ชื่นใจแล้ว
33
SOUND ENGINEER ทิม วอลเตอร์ ซาวนด์เอ็นจิเนียร์ ผู้มีคอนเสิร์ตเป็นทั้งสถานที่ทา� งานและปลดปล่อยตัวเองไปกับเสียงดนตรี โดยมี Yellow Fang เป็นวงไทยวงโปรด ภาพ : HAVE YOU HEARD?
หน้าที่หลักของผมคือการท�าให้ทุกอย่าง ชัดเจน เริม่ แรกผมดูวา่ ในการแสดงหนึง่ วงต้องการ อะไรเป็นพิเศษ ดูสญ ั ญาเพือ่ หาข้อตกลงทีท่ งั้ วงและ ผูจ้ ดั แฮปปี้ ซึง่ แน่นอนว่าทุกโชว์มขี อ้ จ�ากัด พอได้สงิ่ ที่ ต้องการตรงกันแล้วก็มาคิดระบบเสียงทีต่ อบโจทย์ นัน้ พอวันงาน หลังจากทีเ่ ตรียมทุกอย่างเรียบร้อย สิง่ ทีต่ อ้ งท�าคือ ตรวจสอบอีกครัง้ ว่าทุกอย่างเป็นไป ตามทีต่ กลงกันไว้ และอุปกรณ์ทกุ อย่างท�างานได้เป็น ปกติ พอถึงตอนทีว่ งเล่น หน้าทีข่ องผมคือคอยควบคุม ให้ทุกเสียงชัดเจน โดยมิกซ์เสียงจากเครื่องดนตรี ทุกชิ้นที่ถูกเล่นในขณะนั้นให้กลายมาเป็นเสียง เสียงเดียวที่จะส่งไปถึงผู้ฟัง เป้าหมายส�าคัญคือ การช่วยให้นักดนตรีทุกคนได้ยินชัดที่สุด เพื่อให้ พวกเขาสามารถแสดงออกมาได้ดีที่สุด
ถ้าเอาแบบอุดมคติ ระบบเสียงควรเป็นกลาง มากๆ แต่ในความจริง มันมีอะไรไม่คาดคิดเกิดขึน้ อยู่แล้ว เพราะบนเวทีที่มีล�าโพง 100 กิโลวัตต์นั่น ถ้าคุณชุ่ย มันไม่มีทางที่จะซ่อนได้ เสียงที่ดีที่สุด ส�าหรับผมมาจากความเงียบ รอบตัวเรามีเสียง รบกวนเต็มไปหมด หรือแม้แต่ในหัวของเราก็ยัง มีเสียงความคิดเราเอง เพราะฉะนั้น ไม่ใช่ว่า คอนเสิร์ตเสียงดังแล้วจะดี ตรงนี้หลายคนเข้าใจ ผิดไปมาก เราต้องท�าให้เสียงเงียบลงก่อน จึงจะ ได้ยินอะไรอย่างชัดเจน หลักการนี้ใช้ได้กับทั้ง ดนตรีไปจนถึงชีวิตเลยก็ว่าได้ ส่วนถ้าคอนเสิร์ต เป็นร่างกาย ซาวนด์เอ็นจิเนียร์คงต้องเป็นรูตูด เพราะเวลาท�างานจริงจัง มันมีห่า (shit) อะไร ออกมาจากปากผมเต็มเลย
ผมว่าสิง่ ส�าคัญทีต่ ้องเข้าใจเกีย่ วกับการท�า คอนเสิรต์ คือทีมเวิรก์ ในงานงานหนึง่ ไม่มอี ะไรอยูไ่ ด้ โดยแยกจากกัน ทุกฝ่ายต่างก็ทา� งานเพือ่ เป้าหมาย ร่วมกัน ซึ่งถ้าท�าได้ เวลาสั้นๆ ของคอนเสิร์ต มันสามารถกลายเป็นโลกใบใหม่ทรี่ วมเอาทัง้ ผูค้ น อุปกรณ์เครือ่ งมือสารพัด และบรรยากาศรอบตัว มาบวกเข้ากับเสียงของดนตรี
a day BULLETIN
34
SCENOGRAPHER จิโร่ เอ็นโด และ ‘รัสเซีย’ - ประภัสสร สุขเกษตร สองอาจารย์และลูกศิษย์ด้าน scenography ผู้มีผลงานการออกแบบคอนเสิร์ต ในไทยมาแล้วหลายครั้ง ตั้งแต่คอนเสิร์ตอินดี้เล็กๆ ไปจนถึงเฟสติวัลขนาดยักษ์ ภาพ : ประภัสสร สุขเกษตร
issue 499 14 AUG 2017
จิโร่ : บทบาทของเราคือควบคุมดีไซน์ ของเวทีและแสง ส�าหรับผม งาน installation ที่ ดี คื อ พื้ น ที่ ที่ ส อดรั บ กั บ แสง และสามารถ เปลี่ยนแปลง ยืดหยุ่นไปกับความหลากหลาย ของสภาพแวดล้อมบนเวทีได้ รัสเซีย : ในเวทีมีองค์ประกอบอื่นๆ หลาย อย่าง ตั้งแต่โครงสร้างเวที scenography ไปจนถึง ฉากหลั ง รวมกั น เป็ น สิ่ ง ที่ ค นดู ม องมาเห็ น ไฟกับเวทีต้องไปด้วยกัน เราออกแบบพื้นที่จาก ความเป็นไปได้ของมัน เพราะเชือ่ ว่าแสงอย่างเดียว ไม่พอ เมื่อมีแสงก็ต้องมีตัวรับแสง เพื่อที่จะให้ ภาพรวมทั้งหมดออกมาอย่างสมบูรณ์
รัสเซีย : เริม่ จากการตีความเพลงของพวก เขา คือแต่ละวงมีความต้องการและข้อจ� ากัด ไม่ เ หมื อ นกั น การคุ ย กั น เลยเป็ น เรื่ อ งส� า คั ญ ยกตัวอย่างงานของ Cigarettes After Sex อาจารย์ จิโร่ตงั้ ใจให้เวทีเป็นแนว experimental เราเลยได้ลอง เล่นกับวัสดุใหม่ๆ อย่างผ้าแก้ว เราฟังเพลงวงนีแ้ ล้ว รูส้ กึ ว่ามันค่อนข้างเศร้า เลยใช้มนั เป็นแรงบันดาลใจ น� า มาปรั บ เข้ า กั บ ตั ว เวที แ ละสถานที่ จั ด งาน พอเข้าใจมวลรวมของวงทีแ่ สดง ก็คอ่ ยๆ คิดย่อย ทีละเพลง ตีความว่าอารมณ์ของแต่ละช่วงเป็นยังไง ถึงจะต้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้าอยู่เรื่อยๆ แต่พอ ได้เห็นมันส�าเร็จเป็นของจริงอยูต่ รงหน้า ก็กลายเป็น ความรู้สึกที่ดีมาก เหมือนเราเสพอะไรสักอย่าง หนึ่ง เรารับรู้ทางสายตา แล้วก็ทางใจด้วย
จิ โ ร่ : แน่ น อนว่ า ทุ ก อย่ า งจะถู ก คิ ด มา ล่วงหน้าระดับหนึง่ แต่เราไม่สามารถจัดการกับภาพ ทีจ่ ะปรากฏได้แบบร้อยเปอร์เซ็นต์หรอก ผมสนุกกับ การคิดล�าดับของภาพและแสงนะ แต่ตอนแสดงจริง มันค่อนข้างจะ improvise มากๆ ผมว่าส่วนทีด่ ที สี่ ดุ ในการออกแบบคือการทีเ่ ราได้เขย่าความหมายของ สิง่ ต่างๆ ทิง้ ไปหมดเลย ได้ลบข้อจ�ากัดเดิมๆ ว่าเวที ควรหน้าตาเป็นยังไง แสงในคอนเสิร์ตเป็นยังไง หรือแม้แต่การแสดงสดคืออะไร เพราะในบางครัง้ ดีไซน์สามารถขยับเส้นแบ่งระหว่างคนเล่นกับคนดู ให้ใกล้กนั มากขึน้ ถ้าคอนเสิรต์ เป็นคน งานของผม เลยคงจะเป็นกระดูกกับกล้ามเนือ้ มันคือโครงสร้าง ของงาน ซึง่ ถ้าโครงสร้างดี ถึงแม้ผวิ ข้างนอกจะมี รอยขีดข่วน มีจดุ ด่างไปบ้าง ก็แทบไม่เป็นไร
35
LIGHTING DESIGNER โก อุเอดะ นักออกแบบแสงชาวญี่ปุ่นสุดกวน ที่มาเล่าให้เราฟังถึงความสนุกของแสง ความมืด และความเป็นไปได้ที่ไม่มีขีดจ�ากัดของแสง เสียง และดีไซน์ ภาพ : โก อุเอดะ
การดีไซน์แสงค่อนข้างอิสระนะ ผมรับแรงบันดาลใจมาจากดนตรีของวงทีม่ าแสดง การบ้าน คือการฟังเพลงของวง ดูยทู บู เพือ่ ดูดไี ซน์แสงของ การแสดงทีผ่ า่ นมาของเขาด้วย อันไหนทีเ่ ห็นว่าเป็น เอกลักษณ์หรือส�าคัญก็จะหยิบมารวมในดีไซน์ของ ตัวเองด้วย ก่อนหน้านี้ ผมเคยออกแบบแสงให้กลุม่ ละครเวที ซึ่งมันจะต่างกับคอนเสิร์ตตรงที่มันมี ล�าดับขัน้ ตอนแน่นอน ส่วนคอนเสิรต์ อิสระกว่ามาก เลยสนุกกว่า แล้วก็ดริงก์เวลาท�างานได้ (หัวเราะ)
ทีเ่ มืองไทย การออกแบบแสงจะสนใจ ‘ความว้าว’ มากกว่าเรือ่ งศิลปะ คือเน้นให้คนถ่ายรูปแล้วสวย ซึง่ ตลกดี เพราะผมสนใจการท�าแสงให้เข้ากับอารมณ์ และล�าดับของการแสดงมากกว่า แต่พอเริม่ แสดง มันขึน้ อยูก่ บั เพลงหมดเลย ถ้าเป็นเพลงมันๆ ผมก็ จะเปลีย่ นให้เข้ากับอารมณ์ตรงนัน้ แสงจึงเปลีย่ นไป ตลอดเวลาตามอารมณ์ของโชว์ นักออกแบบแสง เลยจ�าเป็นต้องมีภาพสถานการณ์ตา่ งๆ อยูใ่ นหัว ถ้าเพลงเปลีย่ น อารมณ์เปลีย่ น แสงก็ควรจะเปลีย่ น ตามเพือ่ ช่วยให้คนดูเข้าใจขึน้ ถ้าคอนเสิรต์ เป็นคน งานผมคงเป็นหูมงั้ เพราะการท�างานของแสงมาจาก เสียงกับอารมณ์เพลงทีเ่ ปลีย่ นไปตลอดการแสดง
ผมเล่าเรือ่ งราวของเพลงผ่านแสง แต่ไม่ใช่ แค่เพือ่ ให้ตาเห็น ทุกอย่างมีรายละเอียด ปกติคนดู คอนเสิรต์ เห็นว่าแสงสวยก็แฮปปี้ ถ่ายรูปแชร์กนั ไป เขามักเข้าใจว่าคุณสมบัตขิ องแสงคือมองเห็นแล้ว สวย จบ แต่จริงๆ มันไม่ได้มีแค่นั้นนะ แสงให้ ความรูส้ กึ หน้าทีข่ องมันคือ ท�าให้เรามองเห็นและ มองไม่เห็น เพราะสิง่ ทีต่ าเห็นกับสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นความมืด มันส�าคัญเท่ากัน การออกแบบแสงจึงต้องใช้ ทั้งสองอย่าง เพื่อน�าคนดูไปหาส่วนที่สา� คัญที่สุด ของการแสดงในแต่ละโมเมนต์
a day BULLETIN
BREATHE IN
เรื่อง : ปริญญำ ก้อนรัมย์
36
ชวนคนท�ำสื่อดนตรี 3 ชีวิต 2 ยุค อย่ำง ‘บก. ตี้’ - ธิชา ชัยวรศิลป์ ผู้ก่อตั้งนิตยสำร POP, ‘ดีเจซี้ด’ - นรเศรษฐ หมัดคง ผู้ก่อตั้งนิตยสำร GT และ แอดมินเพจเสพย์สากล มำพูดคุยถึงเรื่องรำวในโลกดนตรี กำรท�ำสื่อดนตรีของ 2 ยุค และค�ำถำมที่ว่ำ ดนตรีมีอิทธิพลกับชีวิตพวกเขำมำกแค่ไหน
issue 499 14 AUG 2017
adB : เริม่ มาสนใจท�าสือ่ ดนตรีกนั ได้อย่างไร เสพย์สากล : ของผมเหมือนเริม่ มาจาก ‘สุญญากาศ’ ของสื่อดนตรี ตอนผมเรียนมหาวิทยาลัย สื่อดนตรีพวก นิตยสาร Musicexpress หรือ Crossroads ปิดตัวกันไปหมดแล้ว ในเว็บไซต์ก็ไม่มีสื่อดนตรีที่อัพเดตข่าวดนตรีประจ�า และ ผมเองก็อยากแปลข่าวดนตรีสากลเพื่อฝึกภาษาอังกฤษ ด้วย ก็เลยเปิดเพจนี้ขึ้นแล้วท�ามาเรื่อยๆ ดีเจซี้ด : จริงๆ ก็ไม่ต่างจากยุคพี่นะ เพราะยุคพี่ก็ เป็นยุคที่ขาดข่าวสารมาก ช่วงเริ่มต้น 90s มีแค่นิตยสาร อย่าง Stars of Pacififfiic, สีสัน, บันเทิงคดี ที่เป็นนิตยสาร เรื่องดนตรีล้วนๆ นอกจากนั้นก็ต้องไปที่ British Council เพื่ออ่านนิตยสารต่างประเทศ NME หรือ Melody Maker ยิ่งเพลงอินดี้หรืออัลเทอร์เนทีฟยิ่งไม่มีใหญ่ จนมายุคที่มี รายการ Radioactive ของป้าแต๋ว (วาสนา วีระชาติพลี) ปี 93-94 ซึ่งมีแค่นั้นจริงๆ คือคนอื่นไม่รู้เป็นยังไง แต่สา� หรับเรามัน ไม่พอ เลยเริม่ ท�านิตยสาร GT (Generation Terrorist) ขึน้ มา ซึ่งตอนแรกเป็นเหมือน Fanzine ของวง Manic Street Preachers ก่อน แล้วค่อยมาท�าเรื่องอื่นๆ ข้อมูลในยุค 90s มันมีอยู่นิดเดียว ส�าหรับคนเสพดนตรีมันไม่อิ่มหรอก adB : บรรยากาศท�าสื่อดนตรียุคนั้นกับยุคนี้แตกต่าง กันมากไหม บก. ตี้ : แตกต่างมาก เหมือนอยู่กันคนละโลกเลย (หัวเราะ) ถ้าพูดถึงสื่อนิตยสาร สมัยก่อนท�างานล�าบาก มาก เพราะยังไม่มีอินเทอร์เน็ต ไม่มีกูเกิล ต้องเสียเวลา ค้นหาข้อมูลกันเป็นวันๆ การท�าสื่อยุคนี้สะดวกสบายมาก ดีเจซีด้ : เหนื่อย ในยุคเรามันเหมือนใช้นกพิราบ สื่อสาร ต้องไปเอานกพิราบมาก่อน แล้วค่อยปล่อยนกไป เอาข้อมูล กว่านกจะบินกลับมาถึงเราอีก ข้อมูลก็มนี อ้ ยนิด (หัวเราะ) โอเค เราอาจจะได้ข้อมูลฉบับเต็มๆ ในเล่มมา
แต่อย่าลืมว่าข้อมูลในนิตยสารจะพูดถึงเรื่องของท้องถิ่น นั้นๆ เราก็เอามาแปลทั้งหมดไม่ได้ เพราะคนไทยจะรู้ไป ท�าไม ก็ต้องหยิบประเด็นที่สนใจออกมา เนื้อหาก็จะเหลือ น้อยมาก (เน้นเสียง) อย่างถ้าจะเล่าว่า Oasis เคยไปเล่น คอนเสิร์ตใหญ่ที่เนปเวิร์ธ เราก็ต้องมานั่งเขียนอธิบาย ให้คนอ่านเข้าใจอีกว่าเนปเวิร์ธคืออะไร มันไม่ง่าย บก. ตี้ : แต่สิ่งที่ชัดสุดคือเรื่องความเร็ว การท�า นิตยสารสมัยก่อนแต่ละเล่มใช้เวลาท� านานนน... มาก ท�าเสร็จแล้วต้องใช้เวลาอีก 1-2 สัปดาห์ในกระบวนการพิมพ์ ถึงจะเสร็จเป็นเล่มออกวางขาย แต่สมัยนี้เว็บไซต์ใช้เวลา 15 นาที ก็ทา� เนือ้ หาออกมาสูค่ นอ่านได้ เราว่ามันเจ๋งมากๆ แต่เราเริ่มตั้งค�าถามว่า ในเมื่อเทคโนโลยีท�าให้การท�าสื่อ เป็นเรื่องง่ายดาย แสดงว่าสือ่ ยุคนีจ้ �าเป็นต้องสร้างผลงาน ที่ดีกว่าสื่อยุคก่อนใช่ไหม ดีเจซีด้ : คือผมไม่รู้ว่าคนอื่นท�าสื่อกันยังไง แต่ผม เป็นคนละเอียด พอเราใช้ขอ้ มูลจากเมืองนอก ในยุคนัน้ เรา พลาดไม่ได้ ไม่อย่างนั้นคนอีกสิบคนร้อยคนเขาจะเข้าใจ ผิดทันที ตอนนั้นเขาไม่สามารถไปหาข้อมูลจากที่ไหนได้ มันเป็นความรูส้ กึ ผิดกับเรา เหมือนให้อาหารเป็นพิษกับเขา adB : แล้วคนท�าสื่อยุคนี้ล่ะมีมุมมองอย่างไร เสพย์สากล : ถ้าเทียบกับพีๆ่ ผมว่ายุคผมท�าสือ่ ง่าย กว่ามาก (หัวเราะ) เรามีวัตถุดิบพร้อมอยู่แล้ว นิตยสาร เมืองนอกแทบทุกหัวที่มีการอัพโหลดไฟล์ให้เราตรวจสอบ ข้อมูลได้ อยู่ที่เราจะขยันแค่ไหน แต่ด้วยกรอบที่เราถูก จ�ากัดอยู่บนเฟซบุ๊ก เหมือนเราต้องย่อหนังสือทั้งเล่มมาไว้ ในครึ่งหน้าเอสี่ เพราะพฤติกรรมของผู้อ่านเปลี่ยนไป พอโลกเปลี่ยนเราก็ต้องเปลี่ยนตาม แต่ก็ต้องมีจุดยืนของ ตัวเองอยู่ด้วย แล้วเรื่องข้อมูลก็มีความส�าคัญ คือยุคก่อน พี่ๆ เขาน�าเสนอข้อมูลบนกระดาษคนอ่านก็จบ แต่ยุคเรา
พอโพสต์ลงไป คนอ่านเขาสามารถหาข้อมูลมาแย้งได้ทนั ที เลย แค่โพสต์เดียวมันอาจท�าให้ชื่อเราป่นปี้ได้ ดีเจซีด้ : อีกอย่างทีส่ งั เกตได้คอื ยุคผมว่าซีเรียสเรือ่ ง ความอัพเดตของข้อมูลแล้ว ยุคนี้คงซีเรียสกว่าพวกผม ล้านเท่า ต้องไปค้นข้อมูลในกองขยะที่มีพะเนินเทินทึก บนโลกออนไลน์ออกมา เสพย์สากล : เห็ น ด้ ว ยครั บ คื อ มั น เยอะมาก (หัวเราะ) ดีเจซีด้ : แต่ผมไม่ได้มองว่าขยะมันไม่ดีนะ เพราะ พอแยกออกมาขยะพวกนั้นมันดีหมดนะ แต่พอมันเยอะ ไปหมดก็เลยต้องมีจดุ ทีเ่ ราไปปักหมุดเอาไว้ เพือ่ ทีเ่ ราจะได้ ไม่ต้องไปงมหา adB : สื่อมีอิทธิพลกับวงการดนตรีหรือคนฟังดนตรี ยุคนี้มากน้อยแค่ไหน บก. ตี้ : สื่อมีอิทธิพลอยู่เสมอ เพียงแต่ว่ายุคนี้สื่อมี อิทธิพลต่อคนฟังเพลงน้อยลง ในแง่ที่ว่าคนฟังเพลงหา เพลงฟังเองได้โดยไม่ตอ้ งง้อสือ่ หาอ่านข้อมูลเองได้ แต่หาก เป็ น สื่ อ ที่ มี เ นื้ อ หาดี มี ก ารเขี ย นข่ า วหรื อ บทความโดย ผูเ้ ชีย่ วชาญ สือ่ ก็จะมีอทิ ธิพลต่อผูอ้ า่ นอย่างไม่เปลีย่ นแปลง ไม่ว่ายุคไหนๆ หรืออยู่ในรูปของนิตยสารหรือเว็บไซต์ ดีเจซีด้ : แต่ผมว่าสือ่ ดนตรีหลักจริงๆ เริม่ ตายตัง้ แต่ ยุค 2000 แล้วครับ ตอนนั้นวงอย่าง Arctic Monkeys ก็เริ่ม อัดเพลงลงเว็บไซต์ MySpace เพือ่ เป็นพืน้ ทีต่ วั เอง ไปเล่นสด ทีไ่ หนก็ปม๊ั ซีดไี ปขาย ตัง้ แต่มโี ปรแกรมแชต มีโซเชียลมีเดีย โลกมันเริ่มขยับยึดกันเป็นใบเดียว นี่คือความจริงในยุคนี้ ย้อนมาทีเ่ พจอย่างเสพย์สากล ซึง่ เป็นกลุม่ เล็กๆ ทีแ่ ข็งแรง พอแล้ว ผมว่าสื่อหลักยุคนี้ไม่มีความจ�าเป็นแล้ว เสพย์สากล : ผมว่ายุคนี้มันอยู่ที่เราจะเลือกใช้ ข้อมูลนะ อยูท่ กี่ มิ มิกเรา และจะวางตัวว่าเป็นสือ่ ประเภทไหน
37
adB : ดนตรีส่งอิทธิพลต่อชีวิตคนเราแค่ไหน บก. ตี้ : เราเป็นเด็กยุค 80s-90s เพลงยุค 80s เป็น หนึง่ ในยุคทีด่ ที สี่ ดุ ส่วนเรือ่ งแฟชัน่ แฟชัน่ ยุค 80s ก็เก๋มาก ประสาทมาก แฟชั่นยุค 90s ไม่บ้าคลั่งพอที่จะท�าให้มัน กลับมาเป็นเทรนด์ฮิตเรื่อยๆ แต่ถ้าเรื่องวัฒนธรรม ช่วง ปลายยุค 90s ฟูลมูนปาร์ตี้ที่เกาะพะงันดังมาก ไปปีหนึ่ง ตัง้ หลายครัง้ ทุกวันนีย้ งั คิดว่าตัวเรานีเ่ ป็น ‘Survivor’ ตัวจริง คือรอดชีวติ จากวัฒนธรรมปาร์ตยี้ คุ 90s มาได้โดยไม่ตาย หรือเสียสติ (หัวเราะ) ดีเจซี้ด : ดนตรีอยู่กับเราตั้งแต่เกิดจนตายนะ เกี่ยวข้องกับทุกอย่าง เป็นอุตสาหกรรมใหญ่โตหมื่นล้าน ดนตรีมันมีความส�าคัญพอๆ กับอาหาร ผมใส่เป็นปัจจัย หนึ่งของชีวิต เป็นปัจจัยที่ 6 มาก่อนรถยนต์ด้วยซ�้ า (หัวเราะ) ดนตรีทา� ให้คนมีสติ ผมว่าสังคมเราทะเลาะกัน เพราะขาดวัฒนธรรมในการฟังเพลงที่ดี ดนตรีมันรวมคน เข้าด้วยกันได้นะครับ ดูอย่างที่ Glastonbury คนเป็นแสน มารวมกันท�าไมเขาถึงไม่ทะเลาะกันล่ะ เสพย์สากล : จริงครับ ดนตรีมนั ไม่มภี าษา ตอนผม ไปนิวซีแลนด์ คนทีน่ นั่ เขาก็มที า่ ทีไม่ดกี บั คนเอเชียแบบผม อยู่แล้ว แต่วันนั้นผมใส่เสื้อวง Black Sabbath เขาก็เข้า มาคุยกับผมเฉยเลยว่าชอบวงนี้เหรอ เพลงเป็นเหมือน ภาษาที่สามจริงๆ นะ ที่ให้เราเชื่อมโยงกันได้ เราอาจจะ มีจุดยืนที่แตกต่างกัน แต่ก็เชื่อมโยงกันได้ ดีเจซีด้ : ดูอย่างคอนเสิรต์ Coldplay ผมเชือ่ ว่าทีน่ นั่ มีทั้งเสื้อเหลือง เสื้อแดง มีทั้งศิษย์ธรรมกาย มีทั้งมุสลิม ทั้งยิว ทั้งคริสต์ เราอยู่ร่วมกันได้นะ ดนตรีชี้น�าชีวิตคุณ ได้เลยว่าถ้าคุณชอบเพลงเฮฟวีเมทัล คุณจะเป็นคนแบบไหน ผมว่า ถ้าตีความค�าว่าดนตรีดีๆ จะพาคุณไปพบความสุข ที่แท้จริง
ABOUT HIM เสพย์ ส ากล แอดมิ น หนุ่ ม วั ย 25 เจ้ ำ ของเพจข่ ำ วดนตรี ที่ ค นรั ก เสียงเพลงยุคนี้ต้องแวะเวียนเข้ำไปอัพเดตข่ำวครำวแทบทุกวัน
ค�านี้ดีกว่า ยุคเราจับต้องแต่แพสชันได้มากกว่า ผมไม่ ปฏิเสธ แต่ผมว่ามันมีเสน่หต์ า่ งกัน ยุคของผมเสน่หม์ นั คือ ความเร็ว แต่ยุคพี่ๆ มันคือความทรงจ�า ข้อดีมันต่างกัน ดีเจซีด้ : การเสพดนตรีของคนยุคนีม้ นั เหมือนไม่ใช่ เรือ่ งของความทรงจ�าอีกแล้ว แต่คอื การเซฟไว้ เพราะอยูด่ ๆี ยูทบู ก็ให้พนื้ ทีค่ ณ ุ จัดเพลย์ลสิ ต์ของตัวเอง และเก็บข้อมูล ไว้บนคลาวด์ แล้วทุกคนก็เป็นสื่อเองได้ แล้วค่อยดูนะ เดี๋ยวโลกมันจะแยกย่อยไปมากขึ้นกว่านี้อีก หรือถ้าให้พี่ พูดแบบคนแก่ บอกเลยว่าสื่อยุคนี้สุดท้ายมันจะพัฒนา กลายไปเป็น Fanzine เหมือน GT ยุคแรก เปลีย่ นแค่รปู แบบ การน�าเสนอเท่านั้นเอง แก่นมันไม่พัฒนาไปไหนเลย (หัวเราะ) มันพัฒนาแค่เทคนิคเท่านั้น adB : แล้วการท�าสื่อบนโลกออนไลน์มีอะไรท้าทาย เสพย์สากล : ผมว่าคนยุคนี้ ด้วยความง่ายมันท�าให้ บางคนไม่มีจิตส�านึกต่อผู้ที่ติดตามเขา เอาแค่ยอดไลก์ ให้เขาไปขอสปอนเซอร์ได้ ในระยะสั้นมันดี คุณอาจจะ เติบโตได้ แต่ในระยะยาวคุณต้องต่อสู้กับอะไรหลายๆ อย่าง ซึ่งการท�าสื่อเรามีข้อมูลเยอะมากวันนี้ เราต้อง คั ด เลื อ กมาให้ ถู ก อะไรที่ เ ป็ น ประเด็ น เรื่ อ งการเมื อ ง ศาสนา ต้องระวัง เพราะคนสามารถคอมเมนต์ได้วินาที ต่อวินาที คนแต่ละคนก็มีทัศนคติไม่เหมือนกัน บก. ตี้ : ถึงปัจจุบนั นีค้ นท�างานสือ่ จะสะดวกสบาย กว่ายุคก่อนเพราะมีอินเทอร์เน็ต มีเทคโนโลยีมากมาย แต่เราก็เห็นใจพี่ๆ น้องๆ คนท�าสื่อยุคนี้มาก เพราะต้อง แข่ ง กั น ที่ ค วามเร็ ว แต่ เ ราว่ า ไม่ จ�า เป็ น ก็ เ หมื อ นกั บ ร้านอาหารน่ะแหละ จะเอาเร็วก็ไปร้านฟาสต์ฟู้ด เร็วจริง แต่อาหารคุณภาพดีหรือเปล่าล่ะ แต่ร้านอาหารบางร้าน ให้รอนานแค่ไหนหรือไกลแค่ไหน คนก็ยังแห่ไปกิน ก็ลอง ถามตัวเองดูว่าคุณอยากเป็นร้านอาหารแบบไหน
ABOUT HIM ‘ดีเจซี้ด’ - นรเศรษฐ หมัดคง ผู้ก่อตั้งนิตยสำร GT (Generation Terrorist) คัมภีร์เพลงอินดี้ส�ำหรับคนยุค 90s
เอาจริงผมก็ไม่ร้นู ะว่าเสพย์สากลเป็นสือ่ หรือเปล่าด้วยซ�า้ (หัวเราะ) แต่ผมรู้ว่าเราต้องมีจิตส�านึก พอมีคนตามเยอะ มากๆ เราจะหาประเด็นร้อนๆ เล่นอย่างเดียวเหรอ ควรท�า อะไรทีม่ ปี ระโยชน์หรือเปล่า ผมคิดว่าถ้าจะท�าหน้าทีต่ รงนี้ จริงจังเราต้องมีความต่อเนื่อง ความถูกต้อง และต้องมี แกนหลักก่อนว่าจะน�าเสนอเรื่องอะไร adB : แล้วเสน่ห์ของทั้งสองยุคแตกต่างกันอย่างไร บก. ตี้ : ข้อเสียของสื่อนิตยสารยุคก่อนคือข่าวช้า แต่ มี เ สน่ ห ์ ต รงการรอคอย การได้ ไ ปที่ แ ผงหนั ง สื อ คอยมองหา ความสุขของการซือ้ นิตยสารทีเ่ ราชอบแล้วรีบ กลับบ้านไปนอนอ่าน มันยากล�าบากมากกว่าจะได้อ่าน เราจึงเห็นคุณค่ามัน เทียบกับสื่อเว็บไซต์สมัยนี้ ข้อดีคือ ข่าวเร็ว แต่มันไม่มีเสน่ห์เหมือนการอ่านจากนิตยสาร ดีเจซีด้ : เสน่หข์ องยุคผมมันคือการค้นหา เดินออก จากบ้านกว่าจะไปเจอ ผมว่ามันสนุกตรงจุดนีเ้ ลย เทียวไป ร้านป้าโด (ร้านโดเรมี สยาม) ถามว่าวงนี้ออกหรือยังป้า หรือไปเดินฟังเพลงใหม่ๆ ที่ทาวเวอร์เร็กคอร์ดส์ บก. ตี้ : เราว่าสือ่ นิตยสารมันมีความผูกพันระหว่าง คนอ่านกับคนท�ามากกว่า มีคอลัมน์บทบรรณาธิการ มีคอลัมน์ตอบจดหมายคนอ่าน มีคอลัมน์ให้คนอ่าน ร่วมสนุกมากมาย เป็นความน่ารักอย่างหนึง่ ของนิตยสาร ซึ่งเว็บไซต์ไม่มี นิตยสารคือคนต้องควักตังค์ซื้อ แสดงว่า เขาต้องรักหนังสือคุณจริงๆ อยากรูเ้ หมือนกันว่าถ้าเว็บไซต์ ไหนเริ่มเก็บตังค์ จะมีคนยอมจ่ายตังค์อ่านสักเท่าไหร่กัน adB : พฤติ ก รรมเสพดนตรี ยุ ค นี้ เ ป็ น อย่ า งไรใน มุมมองพวกคุณ เสพย์สากล : ผมว่าคนยุคผมเกิดมาในความสะดวกสบาย มีอินเทอร์เน็ต มีทุกอย่าง ผมว่ามันมี ความเหลื่อมของค�าว่าจิตวิญญาณกับแพสชัน ผมขอใช้
ABOUT HER ‘บก. ตี้’ - ธิชา ชัยวรศิลป์ ผู้ก่อตั้งนิตยสำร POP (2539-2549) นิตยสำรดนตรีพ็อพที่เปรี้ยวที่สุดหัวหนึ่งของยุค
a day BULLETIN
,
EDITOR S NOTE
38
วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness
issue 499 14 AUG 2017
มีแต่คนไม่ชอบเพลงยุค 80s ก็ไม่รู้ว่าท�าไม ผมเคยไปคุยกับหลายคนในแวดวง ดนตรี ส่วนใหญ่ส่ายหัวเมื่อถูกถามถึงเพลงยุค 80s โดยอธิบายว่ามัน ‘ก๊องๆ แก๊งๆ’ เทียบกับเพลง ในยุคอื่นทั้งเพลงที่มาก่อนหน้าและแม้กระทั่งตามหลัง จากนัน้ กลับได้รบั ค�ายกย่องมากกว่า ส่วนใหญ่เชือ่ ว่าเพลง ในยุคอื่นๆ จะวนกลับมาฮิตเหมือนวัฏจักรแฟชั่น แต่สิ่งนี้ จะไม่เกิดกับ 80s แน่ๆ โดยส่วนตัวผมชอบฟังเพลงเก่าไล่ยอ้ นมาตัง้ แต่ 60s, 70s แล้วก็จบลงตรงที่ 80s อย่างที่เคยเขียนไว้ในบทความ ชิ้นหนึ่งก่อนหน้านี้ ว่าในชีวิตคนเรา เราจะฟังเพลงใหม่ๆ ไปจนถึงอายุแค่ 30 เท่านั้นแหละ เพลง 80s ท�าให้หลับตาแล้วเห็นภาพของตัวเอง ในวัยเด็ก มีรองเท้านักเรียนที่แถมของเล่น เสื้อยืดโลโก้ ซูเปอร์แมน ดาบวงพระจันทร์ โยโย่ รูบิก ทีวีสี และเทป คาสเซ็ต ยาวเรือ่ ยไปจนถึงจุดสูญสิน้ วัยเยาว์ คือวันเลีย้ งอ�าลา เพื่อนโรงเรียน เพื่อพวกเราจะไปเข้ามหาวิทยาลัย พวกเรา ใส่กางเกงขายาวแบบจับจีบใหญ่ๆ และเสื้อสูทตัวโคร่ง ที่มีฟองน�า้ เสริมไหล่หนาๆ ตอนนัน้ โลกยังไม่รจู้ กั โรคเอดส์ และเราทะเยอทะยาน จะไปให้ไกลถึงดวงจันทร์ จนกระทั่งเห็นข่าวยานกระสวยอวกาศระเบิดกลางฟ้า เราก็เลยหันกลับมาเห่อคอมพิวเตอร์ บนโต๊ะท�างานตรงหน้าแทน ถึงแม้ว่าจะยังใช้งานอะไร ไม่ เ ป็ น นอกจากเปิ ด ขึ้ น มาแล้ ว มี ตั ว อั ก ษรสี เ ขี ย ว ท�าสเปรดชีตและพิมพ์งานได้นิดหน่อย ถ้าคุณเคยดูหนัง Electric Dreams (1984) วันนั้น เราเคยจิ น ตนาการไปไกลว่ า มั น คื อ ปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ ที่สามารถสร้างเพลงเป็นเสียงสังเคราะห์ 8 บิต เหมือน เสียงเรียกเข้าโทรศัพท์มือถือรุ่นแรกๆ ไม่รู้ว่าเป็นเพราะตอนนั้นยังไร้เดียงสาอยู่หรือเปล่า
ผมจึงรูส้ กึ ว่าชีวติ นีแ้ สนสบาย อาจจะเพราะโลกเพิง่ ผ่านพ้น ยุคสงครามเวียดนาม สังคมไทยก็เพิ่งผ่านยุควรรณกรรม เพือ่ ชีวติ ความรู้สกึ ตึงเครียดจึงผ่อนคลายลง เราพูดกันถึง แต่เรื่องสายลมแสงแดด ช้อปปิ้งสยามสแควร์ แอบพ่อแม่ ไปเที่ยวลานสเกต ก่อนที่สงครามเย็นจะค่อยๆ ก่อตัวขึ้น โดยเราไม่รู้ตัว ทุกคนอยู่ในบรรยากาศแห่งความสุข เบื่อหน่าย เพลงเครียดๆ เสียงร้องเนือยๆ เนื้อหาต่อต้านสงคราม เพลงดิสโก้และลีลาการเต้นของ จอห์น ทราโวลตา ใน Saturday Night Fever (1977) น่าจะเป็นส�าเนียงส่งท้ายยุค 70s เพือ่ ทีเ่ ราจะเฉลิมฉลองกับเพลงทีเ่ ร็วขึน้ เร็วขึน้ อย่างเพลง Maniac และ What a Feeling ในหนังเรือ่ ง Flashdance (1983) จุดพีกของเพลงในยุค 80s คือเรานับจังหวะด้วย วงจรอิเล็กทรอนิกส์ เสียงกลองไฟฟ้า และเมโลดี้ต่างๆ ก็สร้างจากเครื่องซินธิไซเซอร์ เสียงดนตรียุคนั้นดังขึ้น พร้อมกับภาพฟันเฟืองในคาสเซ็ตเทปหมุนไป ท�าให้รู้สึก เหมือ นก�า ลัง ดู เ ครื่อ งจัก รกลหรือ สายพานผลิต รถยนต์ ในโรงงานขนาดใหญ่ ไม่เหมือนผลงานศิลปะที่สร้างสรรค์ ขึ้ น มาด้ ว ยน�้ า มื อ มนุ ษ ย์ นี่ ค งเป็ น เหตุ ผ ลหลั ก ที่ ท� า ให้ คนรุ่นอื่นๆ เกลียดมัน แถมให้อีกนิด ว่านอกจากเพลงแล้ว คนส่วนใหญ่ มองว่าหนังยุค 80s ก็ไม่คอ่ ยเข้าท่าเท่าไร ถ้าคุณเคยดู Rocky ภาคแรกที่คว้าออสการ์มาตั้งแต่ปลายยุค 70s แล้วมาเจอ หนังภาคต่อตอนพระเอกไปต่อยกับนักมวยจากโซเวียต ในภาค 4 ช่วงกลางยุค 80s คุณจะรู้สึกเลยว่ามันเหมือน หนังคนละเรื่อง หนังเรื่องโปรดของผมที่บอกชื่อไปแล้วไม่มีใครรู้จัก ไม่มีใครเคยดู คือ Street of Fire (1984) มาเข้าฉายที่ โรงภาพยนตร์แมคเคนน่า ตรงสะพานหัวช้าง เปิดเรื่องมา ด้วยฉากคอนเสิรต์ ร็อกแอนด์โรล ไดแอน เลน ทีย่ งั สาวและ สวย ร้องเพลง Nowhere Fast มี วิลเลม ดาโฟ ที่ตอนนั้น
ยังหนุ่มและหน้าตึง เดินเข้ามาชิงตัวเธอไป ในวันนี้ไม่มีใครท�าหนังแบบนั้นอีกแล้ว พอสิ้นสุด ยุค 80s ฉลุย หนังไทยก็นา� ภาพและส�าเนียงนั้นมาผลิตซ�า้ เป็นการส่งท้ายยุคสมัย ก่อนจะข้ามสู่ยุค 90s ที่หนังอินดี้ๆ จากสตูดิโอเล็กๆ แบบ เควนติน ทารันติโน เข้ามาได้รับ ความนิยมแทน และ จอห์น ทราโวลตา ก็กลายเป็นมือปืน ปากจัดที่โดนยิงตายตอนนั่งส้วม โลกเปลีย่ นไป ค�าว่า ‘วัฒนธรรมร่วมสมัย’ ก็เปลีย่ น ส�าเนียงเพลงก็เปลี่ยนไปด้วย เสียงแห่งสายลมแสงแดด ถูกเสียงกระหน�า่ คอร์ดกีตาร์แบบซีแอตเทิล เพลงอัลเทอร์เนทีฟ เมทัล เฮาส์ แทรนซ์ ฯลฯ และอีกมากมายที่ผมไม่รู้จัก ลอยเข้ามาแทนที่ สังคมเราเคลือ่ นทีไ่ ปข้างหน้า บางอย่างอาจจะหมุน วนกลับมา แต่มันจะไม่ซ�้ารอยเดิม เหมือนกงล้อที่เป็น วัฏจักรหมุนวน บดพื้นถนนบนหนทางข้างหน้าไปเรื่อยๆ เมือ่ คนรุน่ ใหม่มองย้อนกลับมาทีค่ นรุน่ ผม พวกเขาก็อาจจะ เบะปากใส่ เหมือนกับที่พวกเขาท�ากับเพลงยุค 80s อย่างน้อยที่สุด สังคมก็คืบหน้า พัฒนา เจริญ และ ถูกขับดันโดยคนรุน่ ใหม่ พลังอ�านาจถูกโอนย้ายเปลีย่ นมือ ไปหมดแล้ว สิง่ ทีย่ คุ 80s เหลือทิง้ ไว้คอื วัยกลางคนจ�านวน มหาศาล ที่ต กอยู ่ ท ่ า มกลางสมรภู มิร บระหว่ า งคนแก่ หัวโบราณและหนุ่มสาวหัวก้าวหน้า “ก๊องๆ แก๊งๆ” พวกเขาพูดถึงคนรุ่นผม “ไม่เป็นไร” ผมส่งยิ้มกลับไป เสียงเพลงไม่ได้มาพร้อมกับภาพฟันเฟืองในเทป คาสเซ็ต ไม่มีใครสนใจสุนทรียะแบบเครื่องยนต์กลไก อี ก ต่ อ ไปแล้ ว เสี ย งเพลงวั น นี้ บ รรจุ อ ยู ่ ใ นกล่ อ งเล็ ก ๆ ที่ภายในมีหน่วยความจ�าแบบโซลิดสเตต และไม่มใี ครรูว้ า่ ข้างในนัน้ มันท�างานอย่างไร