a day BULLETIN 501

Page 1

502 501 500

TODAY EXPRESS PRESENTS

28 AUG 2017

IN MEMORIAM

1949 — 1990


02

ปัญหาน�้าท่วมในประเทศไทย และตัวอย่างการจัดการน�้าจากประเทศชั้นน�า

ISSUE 501

28 AUG 2017

FEATURE ร่วมร�าลึกถึง ‘สืบ นาคะเสถียร’ ผู้อุทิศตนในฐานะนักอนุรักษ์จนวินาทีสุดท้ายของลมหายใจ

A THOUSAND WORDS ภาพสัตว์ป่าในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง โดย ม.ล. ปริญญากร วรวรรณ

4 คนรุ่นใหม่กับบทบาทการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

CONNECTING THE DOTS ค้นพบความเป็นตัวเองกับ นุวีร์ เลิศบรรณพงษ์ Head of Invention แห่ง Mindshare

HE SAID ‘ปาล์ม’ - ปรียวิศว์ นิลจุลกะ ศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงานที่น่าจับตามอง

FOODIE เสน่ห์อันเย้ายวนของทรัฟเฟิล

BREATHE IN

ภาพ : เบลินดา สจ๊วต ค็อกซ์

LIFE

BEHIND THE COVER

CONTENTS

AGENDA

502 501 500

TODAY EXPRESS PRESENTS

28 AUG 2017

IN MEMORIAM

1949 — 1990

มู ล นิ ธิ สื บ ฯ ไ ด้ ช่ ว ย ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล แ ล ะ ภาพถ่ายมากมายส่งมาให้ a day BULLETIN เพื่ อ ร่ ว มกั น จั ด ท� า ฉบั บ พิ เ ศษ ร�าลึกถึง คุณสืบ นาคะเสถียร ภาพประวัติศาสตร์ภาพนี้ เป็นหนึ่งในนั้น ซึ่งถ่ายโดย คุณเบลินดา สจ๊วต ค็อกซ์ ประธานเครือข่ายอนุรก ั ษ์ช้างกาญจนบุรี เป็นภาพ คุ ณ สื บ ก� า ลั ง รั บ การเจิ ม หน้ า ผากโดยควาญช้ า ง ต า ม พิ ธี ก า ร แ บ บ ฮิ น ดู เมื่อครั้งเดินทางไปประชุม ที่ ป ระเทศเนปาล ภาพนี้ เ ค ย ถู ก ใ ช้ เ ป็ น ห น้ า ป ก นิ ต ยสาร สารคดี ฉบั บ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2533 มาแล้วครั้งหนึ่ง เราคิดว่า มั น มี ค วามสมบู ร ณ์ แ บบ ทั้งการเล่าเรื่อง อารมณ์ และองค์ประกอบ อัดแน่น ไปด้วยความเชือ ่ ความหวัง และความงาม เมื่ อ มอง ย้ อ น ก ลั บ ไ ป จ า ก วั น นี้ คงเหลือทิ้งไว้เพียงความรักและอาลัย เราจึงตัดสินใจ น�ามาเป็นปกอีกครั้ง

มอลตากับความไม่บังเอิญที่เกิดขึ้นในทัศนะของ พชร สูงเด่น

ภาพ : ศิรชัย อรุณรักษ์ติชัย

ที่ปรึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล กองบรรณาธิการ ศรั ญ ญา โรจน์ พิ ทั ก ษ์ ชี พ กมลวรรณ ส่ ง สมบู ร ณ์ พั ท ธมน วงษ์ รั ต นะ นั ก เขี ย น/ประสานงาน ตนุ ภั ท ร โลหะพงศธร บรรณาธิ ก ารภาพ คเชนทร์ วงศ์ แ หลมทอง หั ว หน้ า ช่ า งภาพ กฤตธกร สุ ท ธิ กิ ต ติ บุ ต ร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรม ชยุตม์ คชโกศัย สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ มิ่งขวัญ รัตนคช กองบรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ จักริน อินต๊ะวงค์ ผู้จัดการฝ่ายดิจิตอลมีเดีย ธนาคาร จันทิมา ผูป ้ ระสานงานฝ่ายดิจต ิ อลมีเดีย สิรน ิ ารถ อินทะพันธุ์ ผูช ้ า� นาญการฝ่ายดิจต ิ อลมีเดีย กะรัตเพชร บุญลักษณ์ศร ิ ิ ทีป ่ รึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจิ รรยากุล ผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุง ่ รัตนสิทธิกล ุ 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ชินวัฒน์ เฟื้องฟู 09-4353-9639 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม นักศึกษาฝึกงาน ภาณุทัช โสภณอภิกุล ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อี เ มล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletinmagazine.com, www.daypoets.com, www.godaypoets.com


a day bulletin

DATABASE

04

เรื่อง : ตนุภัทร โลหะพงศธร ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

ที่มา : ส่วนจัดการพื้นที่อนุรักษ์สัตว์ป่า ส�านักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, ข้อมูลสารสนเทศ กรมป่าไม้

S TAT E O F T H E E N V I R O N M E N T I N

THAILAND ‘ต้นไม้ใหญ่ยืนต้นตระหง่านด้วยรากที่หยั่งลึกพยุงผืนดินให้เป็นปึกแผ่น พร้อมแผ่กิ่งก้านสาขาปกคลุมเป็นผืนป่า ออกดอก

เขตรักษาพันธุส ์ ต ั ว์ปา่

และผล เป็นแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด เกิดเป็นระบบนิเวศอันอุดมสมบูรณ์’ ภาพความคิดในอุดมคติของ ป่าไม้กลับแปรผกผันกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน เพราะตลอดเวลากว่า 40 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยประสบปัญหา

ในประเทศไทย

60

สูญเสียพื้นที่ป่าและจ�านวนประชากรสัตว์ป่าอย่างต่อเนื่องจากการกระท�าของมนุษย์ หนทางเดียวที่จะสามารถปกป้อง ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้คือการหยุดท�าลาย และร่วมอนุรักษ์ทุกชีวิตให้คงอยู่สืบไป

แห่ง

ภาคเหนือ

25

สัตว์ป่าในประเทศไทย • สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม : 335

สัตว์ป่าสงวน 19 ชนิด

• สัตว์ปีก : 1,012 • สัตว์เลื้อยคลาน : 413 • สัตว์สะเทินน�้าสะเทินบก : 172

สัตว์ป่าคุ้มครอง • สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน�้านม : 201

ร้อยละ

• นก : 952 • สัตว์เลื้อยคลาน : 91 • สัตว์สะเทินน�้าสะเทินบก : 12 • ปลา : 14 • แมลง : 20 • สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่นๆ : 12

1. แรด 2. กระซู่ 3. กูปรี 4. ควายป่า 5. ละอง/ละมั่ง 6. สมัน 7. เลียงผา 8. กวางผา 9. แมวลายหินอ่อน 10. สมเสร็จ 11. เก้งหม้อ

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

12 5 4 14

12. พะยูน 13. วาฬบรูด้า 14. วาฬโอมูระ 15. ฉลามวาฬ 16. นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร 17. นกแต้วแร้วท้องด�า 18. นกกระเรียนไทย 19. เต่ามะเฟือง

ภาคกลาง

ภาคตะวันออก

ภาคใต้

(หน่วย : ชนิด)

50 45 40 35

พื้นที่ป่าในประเทศไทย

30 25 20

43

47 48 49

51

31.62 31.60 31.58

41

31.57

38

33.44

36

31.38 30.92

34

32.66

33.15

31 32

25.28

28

25.62

28.03

25

26.03

29.40

21

26.64

30.52

19

27.95

34.15

ปี พ.ศ 16

38.67

10 5 0

43.21

15

56 57 58 59

issue 498 07 aug 2017


a day bulletin

AGENDA

06

เรื่อง : ปริญญา ก้อนรัมย์ ภาพ : Reuters / Bazuki Muhammad

Ranking

Thailand Floods Crisis

Sustainable Cities Water Index 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 แมนเชสเตอร์ เบอร์มิงแฮม ซิดนีย์ แฟรงก์เฟิร์ต โทรอนโต บรัสเซลส์ เบอร์ลิน อัมสเตอร์ดัม โคเปนเฮเกน รอตเทอร์ดาม

ทุกๆ ปีเราต้องได้ยน ิ ข่าวอุทกภัยวนเวียนอยูซ ่ า�้ ๆ และจบด้วยค�านิยามสถานการณ์สวยๆ อย่าง ‘ธารน�า้ ใจ คนไทยไม่เคยเหือดแห้ง’ แต่ก่อนจะบ่นลงโซเชียลมีเดีย เราอยากชวนคุณย้อนท�าความเข้าใจแง่มุมต่างๆ เกีย ่ วกับน�า้ ท่วมทีก ่ า� ลังเจอกันก่อนดีกว่า

กี ด ขวางการระบายน�้ า ในบริ เ วณสถานี สูบน�า้ ทัง้ 176 แห่งทัว่ กรุงเทพฯ เฉลีย่ วันละ 20 ตัน สะท้อนพฤติกรรมไร้วินัย ที่เมื่อพ้น จากตัวไปก็ไม่คิดถึงอะไรทั้งสิ้น ถ้าถามว่าวิกฤตหรือยังกับปัญหา รวมๆ เหล่านี้ ตลอดปี พ.ศ. 2555-2559 พื้ น ที่ ก รุ ง เทพมหานครใช้ ง บประมาณ จัดการและแก้ปัญหาน�้าท่วมไปแล้วกว่า 27,335,243,762 บาท เรามีท่อระบายน�้า 6,400 จุด ประตูระบายน�า้ 227 แห่ง และ อุ โ มงค์ ร ะบายน�้ า 7 จุ ด แต่ ตื่ น เช้ า มา หลั ง คื น ฝนตก เราก็ เ ตรี ย มเสพดราม่ า บนโซเชี ย ลมี เ ดี ย ที่ มี ค� า อย่ า ง ‘เอาอยู ่ ’ ‘รอการระบาย’ ฯลฯ จากเพื่อนๆ ได้เลย

WoRst Floods in thailand histoRy

issue 501 28 aug 2017

น�า้ ท่วมใหญ่กรุงเทพฯ ครัง ้ ประวัตศ ิ าสตร์ ที่ ท่ ว มสะพานสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า ฯ เหนือระดับน�้าทะเลปานกลางกว่า 2.27 เมตร

มี พ ายุ พั ด ผ่ า นช่ ว งเดื อ นตุ ล าคม ท� า ให้ ปริมาณน�้าฝนตลอดปีสูงถึง 2,119 มม. จนกรุงเทพฯ ต้องตกอยู่ในสภาพน�้าท่วม สูงกว่า 1 เมตร นานหลายเดือน

เกิดพายุฝนฤดูร้อนถล่มกรุงเทพฯ และ ปริมณฑลช่วงเดือนพฤษภาคม โดยเฉลี่ย เขตกรุงเทพฯ มีปริมาณน�้าฝน 200 มม. ม า ก ที่ สุ ด ที่ เ ค ย มี ม า จ น มี ก า ร เ รี ย ก เหตุการณ์นี้ว่า ‘ฝนพันปี’

เกิดอุทกภัยใหญ่ใน 47 จังหวัด มีนา�้ ท่วมขัง ในพื้นที่กว่า 1.38 ล้านไร่ ก่อนที่มวลน�้า จะไหลเข้ า ท่ ว มกรุ ง เทพฯ เกื อ บ 1 เมตร นานกว่าสัปดาห์

น�้าท่วมใหญ่ที่สร้างความเสียหายมาก ที่สุด กินเวลากว่า 175 วัน ธนาคารโลก ประเมินมูลค่าความเสียหายสูงถึง 1.44 ล้านล้านบาท และถูกจัดให้เป็นภัยพิบัติ ทีม ่ ค ี วามเสียหายมากทีส ่ ด ุ อันดับสีข่ องโลก

ต้ น ปี เ กิ ด เหตุ น�้ า ท่ ว มใหญ่ ข้ า มปี ทางภาคใต้ รุนแรงทีส ่ ด ุ ในรอบ 20 ปี กินพื้นที่กว่า 15 จังหวัด ประเมิน ความเสียหายทางเศรษฐกิจกว่า 8.5 หมื่นล้าน - 1.2 แสนล้านบาท

2485

2526

2537

2549

2554

2560

www.matichon.co.th oknation.nationtv.tv

Timeline

www.arcadis.com

ใหญ่ปี พ.ศ. 2554 ทันทีที่น�้าทะลักเข้า ตั ว เมื อ งกรุ ง เทพฯ เราเห็ น ได้ ทั น ที ว ่ า การน� า มวลน�้ า ออกจากพื้ น ที่ ที่ ค ดเคี้ ย ว แทบเป็นไปไม่ได้ 2. การจัดการน�้าเป็นแบบแยกส่วน และนโยบายจากบนลงล่ า ง ปั จ จุ บั น ในแต่ ล ะพื้ น ที่ มี ห น่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง จ� า นวนมาก ซึ่ ง วิ ธีก ารด� า เนิ น งานไม่ มี การเชื่ อ มต่ อ กั น และนโยบายยั ง เน้ น การท�างานแบบภาพใหญ่ (สร้างเขื่อน... สร้างเขื่อน และสร้างเขื่อน!) ท�าให้บางครั้ง ไม่ ไ ด้ เ ข้ า มาแก้ ป ั ญ หาหรื อ ตอบสนอง ความต้ อ งการของประชาชนแบบลงลึ ก ในรายละเอียดจริงๆ 3. พฤติกรรมคนเมือง ปัญหาที่เรา มองข้ า ม! ในปี ที่ แ ล้ ว มี ร ายงานระบุ ว ่ า หลังเกิดน�า้ ท่วม พบขยะมูลฝอยและสิง่ ของ

อังกฤษ อังกฤษ ออสเตรเลีย เยอรมนี แคนาดา เบลเยียม เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก เนเธอร์แลนด์

ขอโฟกัสตัวอย่างชัดๆ ที่เมืองใหญ่ แบบกรุ ง เทพฯ ที่ มั ก เจอปั ญ หาน�้ า ท่ ว ม สม�่าเสมอ เพราะมาจากสภาพภูมิศาสตร์ เป็นพื้นที่ราบลุ่มตอนปลายของอ่าวไทย และเต็มไปด้วยคูคลอง จนได้รบั การเรียกขาน ในอดีตว่าเป็น ‘เวนิสตะวันออก’ จึงไม่ แปลกใจหากมีฝนตก บวกน�้าทะเลหนุนสูง กรุ ง เทพฯ เลยตกอยู ่ ใ นสภาวะ ‘น�้า รอ การระบาย’ โอเค อันนี้เข้าใจได้... แต่ปจั จัยอะไรทีส่ ง่ ผลต่อการจัดการน�า้ ด้านอื่นๆ อีกบ้าง เราลิสต์ปัญหาที่พอตั้ง ข้อสังเกตได้ว่า 1. การจัดผังเมืองที่ไม่เป็นระเบียบ โดยเฉพาะเมื อ งใหญ่ อ ย่ า งกรุ ง เทพฯ ที่มีแต่แผนการสร้างสิ่งก่อสร้าง ไร้แผนผัง การเดินน�า้ สอดรับ ตัวอย่างจากเหตุนา�้ ท่วม


a day bulletin

BesT InnovaTIon In ManagIng ตัวอย่างการจัดการน�้า WaTer จากประเทศชั้นน�าทั่วโลก

08

netherlands

South Korea

http://measwatch.org

Singapore South africa

www.deltawerken.com

www.tcdc.or.th

MozaMbique

www.theguardian.com

Project : delta Works โครงการแก้ปญ ั หาน�า้ ท่วมในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของเนเธอร์แลนด์ What : ประเทศเนเธอร์แลนด์มีพื้นที่ส่วนมากอยู่เหนือกว่าระดับน�้ าทะเลเพียงแค่ 1 เมตร จึงเป็นประเทศที่ต้องคิดวิธีรับมือกับปัญหาน�้าท่วมอยู่ตลอด ในปี ค.ศ. 1953 เกิดเหตุน�้าท่วม ใหญ่ มีผู้เสียชีวิตนับพัน พื้นที่ทางการเกษตรถูกท�าลาย รัฐบาลจึงได้ผุดโครงการ ‘delta Works’ ซึ่งเป็นการสร้างเขื่อน ประตูระบายน�้า และคันดินกั้นน�้า เพื่อกั้นปากแม่น�้าต่างๆ เอาไว้ ซึ่งใช้เวลากว่า 50 ปีจึงจะแล้วเสร็จ ไอเดียในการท�าประตูเปิดปิดระบายน�้าดังกล่าว ช่วยสร้างความยืดหยุ่นและแก้ไขปัญหาการจัดการกับระดับน�้าที่ผันผวนตลอดเวลาได้ส�าเร็จ

issue 501 28 aug 2017

South korea

Singapore

South africa

mozambique

Project : Four Major Rivers Restoration Project โครงการฟืน้ ฟูแม่นา�้ 4 สายของเกาหลี What : โครงการจั ด การน�้ า ที่ รั ฐ บาล เกาหลีใต้พยายามแก้ไขภัยน�้าท่วมและภัย แล้ง ด้วยการทุ่มงบประมาณกว่า 620,000 ล้านบาท เพือ่ พัฒนาแม่นา�้ 4 สายหลักของ ประเทศ ได้แก่ แม่น�้านักดง, ยูงซาน, เกอุม และฮัน ให้เป็นแหล่งกักเก็บน�้าสะอาดและ แก้ไขปัญหาน�้าท่วม โดยมีการก่อสร้าง เขื่อนใหม่ทั้งสิ้น 20 เขื่อน และบูรณะฟื้นฟู พื้นที่ริมแม่น�้า ขุดลอกแม่น�้าและก่อสร้าง ทางส�าหรับจักรยานกว่า 1,728 กิโลเมตร

Who : Public Unity Board (PUB) What : สิ ง คโปร์ เ ป็ น หนึ่ ง ในตั ว อย่ า ง การจัดการน�้าที่ดี เพราะที่ผ่านมาสิงคโปร์ ต้องน�าเข้าน�า้ จืดจ�านวนมากจากต่างประเทศ แต่หลังการวางยุทธศาสตร์การจัดหาแหล่งน�า้ ของชาติ 3 มาตรการ 1) พัฒนาพื้นที่ อ่างเก็บน�า้ จนปัจจุบนั มีจา� นวนถึง 17 แห่ง 2) ใช้ NEWater เทคโนโลยีรีไซเคิลน�้าเสีย จนน�ากลับมาใช้ใหม่ได้ และ 3) แปลงน�า้ ทะเล เป็นน�้าจืดผ่านกระบวนการ Desalination น�าเกลือออกจากน�้าทะเล มีโรงผลิตอยู่ บริเวณเขื่อนปากแม่น�้า Marina Barrage

Project : โครงการประหยัดน�า้ ขนาดใหญ่ ในเมืองเคปทาวน์ What : เคปทาวน์สามารถลดการใช้น�้าได้ มากถึงร้อยละ 30 จากความพยายามด้าน การจัดการน�้า ซึ่งได้รับค�าชมจากนานา ประเทศ ซึ่งในโครงการจะใช้ 2 แกนหลัก ในการด�าเนินงาน คือ รณรงค์ประหยัดน�า้ และการน�าเทคโนโลยีเข้ามาใช้ เช่น จัดการ ให้สวนสาธารณะและสนามกอล์ฟ 95 แห่ง หันมาใช้ระบบน�า้ ทีม่ าจากการบ�าบัดน�า้ เสีย ซึ่ ง โครงการประหยั ด น�้ า ของเมื อ งยั ง ได้ ยับยั้งไม่ให้เกิดเขื่อนแห่งใหม่ขึ้นอีกด้วย

Project : แผนการ Beira 2035 แก้ไข น�้าท่วมระยะยาวของประเทศโมซัมบิก What : เมืองท่าอันดับสองของประเทศ โมซัมบิก อย่างเมืองไบรา มักจะต้องเผชิญ ปัญหาน�า้ ท่วมทีเ่ กิดจากพายุฝน และสร้าง ความเสียหายอย่างมาก เนื่องจากเป็น เมืองท่าทีต่ งั้ อยูบ่ นแม่นา�้ พังกัวจุดทีบ่ รรจบ กับมหาสมุทรอินเดีย ด้วยเหตุนี้จึงมีการวางแผนโครงการ Beira 2035 ระดมทุน ป้องกันน�า้ ท่วม ซึง่ สามารถดึงดูดนักลงทุน 300 คนทีม่ คี วามสนใจและน�าเงินไปขุดลอก คลอง พัฒนาการเชื่อมโยงระบบขนส่ง และระบบการระบายน�า้ ในพืน้ ที่


a day bulletin

Feature

เรื่อง : ณัฐชานันท์ กล้าหาญ ขอบคุณภาพและข้อมูลจาก : มูลนิธิสืบนาคะเสถียร

10

issue 501 28 AUG 2017


11

S AV E T H E LAST BREATH สื บ นาคะเสถี ย ร เคยให้ สัมภาษณ์ไว้ว่า ความหมายของ ค�าว่า ‘Conservation’ (การอนุรก ั ษ์) คื อ การรั ก ษาโดยไม่ ท� า ให้ เ ปลี่ ย น สภาพ ชายร่างโปร่ง ใส่แว่น สูบบุหรี่ จัด ถือสมุดและกล้องถ่ายรูปเข้าป่า และอุ ทิ ศ ตนในฐานะนั ก อนุ รั ก ษ์ มาตลอดชีวิต เกียรติประวัติและ ผลงานมากมาย รวมทั้งเสียงปืน นัดนั้น ส่งผลให้หลายคนยกย่อง เขาเป็นฮีโร่ แต่เมื่อเราค้นคว้าท�าความเข้ า ใจชี วิ ต ของผู้ ช ายคนนี้ ในอี ก มุมหนึ่ง สืบก็คือคนที่ตั้งใจท�างาน และรั บ ผิ ด ชอบหน้ า ที่ ข องตั ว เอง รวมทัง้ มุง่ มัน ่ ตามปณิธานของตัวเอง จนวินาทีสุดท้ายของลมหายใจ

Seub Nakhasathien 2492— Seub was Born เราคิดว่าสิ่งที่น่าจะสะท้อนออกมาได้ดังกว่าเสียงปืน ในวันที่ 1 กันยายน 2533 คือการไม่พูด และปล่อยให้ ข้อมูลความตั้งใจในการท�างานของ สืบ นาคะเสถียร เป็น ฝ่ายถ่ายทอดความจริงจังในการช่วยเหลือสัตว์และป่าไม้ ที่เปรียบเสมือนลมหายใจของเขาแทน ประโยค “วันนี้ผมขอพูดในนามของสัตว์ป่าทุกตัว” ที่สืบใช้พูดในการเคลื่อนไหวต่อต้านการสร้างเขื่อนน�้าโจน และการอภิปรายต่างๆ ยังฟังแล้วสะท้อนใจมาจนทุกวันนี้ และน่ า สงสั ย ว่ า สื บ พู ด มั น ออกมาด้ ว ยแววตาแบบไหน ในฐานะคนที่หายใจร่วมกับป่า สืบ นาคะเสถียร เกิดวันที่ 31 ธันวาคม 2482 ทีจ่ งั หวัด ปราจีนบุรี พ่อของเขาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี สื บ มี พี่ น ้ อ งสามคน จบการศึ ก ษาจากคณะวนศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ แต่ ก ลั บ ไม่ ย อมเข้ า รั บ พระราชทานปริญญาบัตรเพราะว่าคิดว่ายังไม่มีความรู้ มากพอที่จะรับปริญญาได้ทั้งๆ ที่พี่น้องและเพื่อนร่วมรุ่น หลายคนให้ความเห็นเป็นเสียงเดียวกันว่า ‘นี่คือเด็กเนิร์ด’ “สืบเรียนหนังสือเก่ง เป็นคนตัวสูงกว่าเพือ่ น แต่เวลา นัง่ ฟังเลกเชอร์มกั ไปนัง่ ข้างหน้าห้อง เขาจดงานลงสมุดอย่าง ละเอียดเป็นระเบียบเรียบร้อย บางทีก็วาดรูปประกอบด้วย

ตอนอยู่ปี 4 ผมเคยพักห้องเดียวกัน มีเพื่อนอยู่ด้วยกัน สามสีค่ น ทุกวันกลับจากกินข้าวเย็น พวกเราก็นงั่ คุยกันเฮฮา แต่สืบจะอ่านหนังสือทุกวัน อ่านจนกระทั่งพวกเราต้อง เงียบเสียงกันไปเอง จนพวกเราเข้านอนแล้วก็ยงั เห็นสืบอ่าน หนังสืออยู”่ นพรัตน์ นาคสถิตย์, เพือ่ นสนิทร่วมรุน่ วน. 35 “พี่สืบกลับบ้านมาก็อ่านหนังสือ แกจะหามุมของ แกเองและเอาหนังสือมาวางเรียงเป็นระเบียบเรียบร้อย ว่ า วั น นี้ จ ะอ่ า นเล่ ม ไหน หนั ง สื อ นี้ ห ้ า มใครมาหยิ บ ” กอบกิจ นาคะเสถียร, น้องชาย ความจริงจังในการเลือกใช้ชีวิตฉายแววตั้งแต่สืบ เป็นเด็กชายแดง (ชือื่ เล่นของเขา) ทีช่ อบยิงนกตกปลาล่าสัตว์ ตามประสา เขาชอบไปยิงนกกับน้องชาย โดยที่กอบกิจ บอกเล่าเองว่าพีส่ บื ยิงนกแม่นมาก เหยียดหนังสติก๊ สุดมือ ก่อนจะยิง แต่หลังจากที่ยิงแม่นกตายไปและเห็นรังของ ลูกนก สืบก็เลิกยิงนกถาวร และหันไปเล่นปืนเถื่อนแทน แล้วก็ตอ้ งเลิกอีกครัง้ ทัง้ พีท่ งั้ น้องเพราะพ่อขูว่ า่ จะจับเข้าคุก สืบเป็นเพียงเด็กหนุม่ ทีจ่ ริงจังกับการใช้ชวี ติ ธรรมดาๆ ละเอียดอ่อน แต่เอาจริงเอาจังกับสิ่งเล็กๆ น้อยๆ ในชีวิต และเป็นเหมือนหนังสือที่ยับเยินจากการอ่านแล้วอ่านอีก แต่เนื้อหาครบถ้วนชัดเจน

งานและชีวิต “เหยี่ยวขาว (Black-shouldered Kite) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Ela nus caeruleus ในเดือนมกราคม พบสร้างรังอยู่บนต้นข่อย 2 รัง รังหนึ่งอยู่สูงจากพื้นดิน 5.5 เมตร ส่วนอีกรังหนึ่งอยู่สูง จากพื้นดิน 6.5 เมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางรังกว้างประมาณ 25-30 เซนติเมตร สูง 6.7 เซนติเมตร ลูก 1-2 เซนติเมตร” (งานวิจัยการท�ารังวางไข่ของนกบางชนิด ที่อ่างเก็บน�้าบางพระ จ.ชลบุรี)


a day bulletin

12

2510— 2528 Eternal Sunshine on the Honest Mind

issue 501

แม้แต่ตอนทีศ่ กึ ษาอยูค่ ณะวนศาสตร์ สืบก็ยังไม่ชอบคนท�างานป่าไม้ในแง่ที่ว่า ป่าไม้ร�่ารวยจากการคดโกงป่า “ผมไม่อยากไปยุ่ง ไม่อยากไปโกง กับมัน ถ้าผมไม่โกงกับมันผมก็อยู่ไม่ได้ ผมเลยเลือกมาอยู่กองนี้” หลั ง จากเรี ย นจบ สื บ จึ ง เลื อ กไป ประจ�าอยู่ที่หน่วยเล็กๆ อย่างเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ เขาเขียว-เขาชมภู่ จังหวัดชลบุรี ในปี พ.ศ. 2518 ทั้งๆ ที่สอบเข้ากรมป่าไม้ ได้เป็นอันดับสาม แม้จะอยากท�างานอนุรกั ษ์ ของตัวเอง ไม่ไปปะทะกับคน แต่สุดท้าย ก็ต้องงัดข้อกับผู้บุกรุกป่าจากทุกทิศทาง อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เขาเป็ น ข้ า ราชการที่ เ ถรตรง จั บ นายพรานล่าสัตว์และผูก้ ระท�าผิดเข้ารับโทษ ตามกฎหมาย โดยไม่สนใจว่าใครจะใหญ่ มาจากไหน รับรู้ในตอนนั้นเองว่าการเป็น เจ้าหน้าทีป่ า่ ไม้ทซี่ อื่ สัตย์ตอ้ งแบกรับความเจ็บปวดมากมายในหน้าที่ สืบท�างานอยู่ ประมาณ 3-4 ปี ก็ได้ทนุ จากบริตชิ เคานซิล ไปศึกษาต่อปริญญาโทด้านอนุรักษ์วิทยา ทีม่ หาวิทยาลัยลอนดอน สหราชอาณาจักร แล้วกลับมาท�างานอนุรักษ์ป่าต่อ จดจ่อ กับการเป็นนักวิจัยในทุกช่วงวัยของชีวิต “พี่สืบ นาคะเสถียร ท่านไม่ใช่คนดุ เป็นคนเฉยๆ เงียบขรึม ค่อนข้างตัง้ ใจท�างาน เสี ย ส่ ว นมาก หนั ก ไปทางอ่ า นหนั ง สื อ ชอบส่องกล้องดูนก อดทนมาก” ฉกรรจ์ ปิ่นแก้ว, อดีตลูกน้องคนสนิท “พีส่ บื มีความผูกพันกับป่าห้วยขาแข้ง มาก การเดินทางที่เราจดจ�าได้ดีก็คือการเดินทางจากเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ทุง่ ใหญ่นเรศวรข้ามมายังเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง พี่สืบใช้เวลาเดินป่าครั้งนี้นาน กว่าสองสัปดาห์ เราได้เห็นธาตุแท้ของ

ความทรหด แม้ว่าเท้าทั้งสองจะเจ็บ เดินล้มลุกคลุกคลานถูกหนามเกีย่ วตาม ล�าตัวและหู ดูเหมือนว่าพีส่ บื จะไม่สนใจ กับสิง่ เหล่านี้ แคมป์ทพี่ กั นอนในป่าก็ใช้ ผ้าพลาสติกปูลงบนพื้นดิน และมุงผ้า พลาสติกผืนใหญ่เพือ่ กันน�า้ ค้าง อาหารที่ เตรียมไปแม้วา่ จะไม่พอเพียง ความล�าบาก ต่างๆ แต่พี่สืบก็ไม่เคยปริปากบ่นด้วย ค�าพูดใดๆ เลย” รุน่ น้องคนหนึง่ กล่าวไว้ ใครๆ ต่างก็บอกว่าเขาไม่เคยบ่น ถึงปัญหาและความทุกข์ที่ต้องเผชิญ เลยสักนิด เพราะเขาเอาเวลาที่ต้อง บ่นนั้นไปแก้ปัญหาหมดแล้ว “ในความรู้สึกของผม เราไม่ต้อง มานั่งเถียงกันหรอกว่าเราจะใช้ป่าไม้ อย่างไร เพราะมันเหลือน้อยมากจน ไม่ควรใช้ จึงควรจะรักษาส่วนนี้เอาไว้ เพื่อให้เราได้ประโยชน์ที่เป็นประโยชน์ ทางอ้อม... มันจะต้องท�าความเข้าใจให้ ถูกต้องว่า การอนุรกั ษ์ การใช้ประโยชน์

จะต้ อ งมองว่ า มี ก ารใช้ ทั้ ง ทางตรง ทางอ้อม ป่าที่เก็บไว้ในรูปเขตรักษาพั น ธุ ์ สั ต ว์ ป ่ า และอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ควรจะใช้ประโยชน์ในทางอ้อม” สืบ นาคะเสถี ย ร ให้ สั ม ภาษณ์ ไ ว้ ใ น นิตยสาร สารคดี ฉบับที่ 64 เดือน กรกฎาคม 2533 แต่ทว่าในตอนนั้น สืบ นาคะเสถี ย ร เป็ น เพี ย งนั ก อนุ รั ก ษ์ ใ นชุ ด

สีเบจหม่นๆ ธรรมดาที่ไม่มีหน้ามีตา ในสังคมเสียเท่าไหร่ และเหมือนว่า เขาจะไม่ได้ใส่ใจในจุดนั้น

28 AUG 2017

งานและชีวิต “ในป่าดิบชืน ้ ลุม ่ ต�า่ ทีค ่ ลองมอญซึง่ เป็นสาขาหนึง่ ของคลองพระแสงในเขตรักษาพันธุส ์ ต ั ว์ปา่ คลองแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผมพบนกกระสาคอขาวปากแดงคูห ่ นึง่ ก�าลังท�ารังอยู่ จึงท�าการบันทึกสภาพรังและ ข้อมูลเกี่ยวกับลูกนก เนื่องจากพื้นที่แห่งนี้ซึ่งเป็นผืนป่าดิบชื้นลุ่มต�่าผืนใหญ่และผืนสุดท้ายในประเทศไทย ก�าลังถูกน�้าท่วมเนื่องจากการสร้างเขื่อนเชี่ยวหลาน จึงน่าวิตกว่านกกระสาพันธุ์ที่เพิ่งค้นพบ ในประเทศไทยอาจต้องสูญพันธุ์ไปจากถิ่นนี้” (งานวิจัยการพบนกกระสาคอขาวปากแดงในประเทศไทย, นิตยสาร Oriental Bird Club ประเทศอังกฤษ, ธันวาคม 2530)


13

2529 — Unbreakable Soul ที่ละเอียดได้ขนาดนี้เพราะท�างาน หนัก จากบทความและการบอกเล่าของ คนใกล้ตัวให้ย�้าอีกสิบรอบก็คงหนักแน่น ไม่เท่ากับการท�างานของเขา สืบมักจะแบก กล้อง จดบันทึก เขียนวิจยั ถ่ายภาพ ลงเรือ เดินป่า หิ้ววิดีโอเทปมาตัดต่อเอง ท�างาน ท�างาน และท�างานไปเรื่อยๆ ในโครงการช่วยเหลือสัตว์ปา่ ตกค้าง ในพืน้ ทีอ่ า่ งเก็บน�า้ โครงการเขือ่ นเชีย่ วหลาน เมื่อปี พ.ศ. 2529 ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี พืน้ ทีก่ ว่า 100,000 ไร่ในเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ คลองแสงและอุทยานแห่งชาติเขาสกต้องถูก น�า้ ท่วม สัตว์ปา่ กว่า 227 ชนิดทีม่ ถี นิ่ ก�าเนิด อยูใ่ นพืน้ ทีล่ มุ่ น�า้ ต�า่ ต้องได้รบั ผลกระทบทัง้ ทางตรงและทางอ้อมเพราะไม่มที อี่ ยูอ่ าศัย มันจะหนีน�้าไปทุกทิศทางเท่าที่ท�าได้และ พลัดหลง ติดเกาะ อดอาหารจนผอมโซหรือ จมอยู่กลางอ่างเก็บน�้า บ้างแห้งตายอยู่ ตามซากกิง่ ไม้เพราะต้นไม้ถกู น�า้ ท่วมจนต้อง ทิง้ ใบ สัตว์ไม่สามารถอาศัยร่มเงาได้ ทุกวินาที จะมีสัตว์ที่เดินหลงอยู่ในป่าใหญ่เพื่อหา ทางรอดจากน�า้ ท่วมกะทันหัน ‘จอบ’ - วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ รุ่นน้องที่ท�างานอยู่นิตยสาร สารคดี ที่ได้ ลงพื้ น ที่ ไ ปด้ ว ยเล่ า ว่ า “พี่ สื บ และคณะ ต้ อ งนั่ ง เรื อ ออกไปช่ ว ยเหลื อ สั ต ว์ ทุ ก วั น เพราะต้องแข่งกับเวลาทีส่ ตั ว์จะเสียชีวติ ลงไป ทีละตัวๆ ถ้าเจอชะนีหรือค่างที่ติดอยู่ตาม ต้นไม้สูงก็จะช่วยมันลงมาด้วยสารพัดวิธี” “ในโครงการอพยพสั ต ว์ ที่ เ ขื่ อ น เชีย่ วหลาน มีการช่วยเหลือโดยการออกไป กับเรือหลายล�า จับย้ายมาอนุบาล แล้วก็ อย่าลืมว่าต้องต่อสู้กับพวกที่เข้าไปล่าสัตว์ ด้วย เพราะว่าสัตว์มันติดต้นไม้ จะล่าได้ ง่ายขึน้ เราก็ได้เห็นปัญหาว่ามันกระทบกับ สัตว์ป่าอย่างมาก คนท�างานก็เหนื่อยมาก อยากจะพักสักวันก็ไม่ได้ สัตว์จะตายไปแล้ว

ส่วนหนึง่ ก็ตอ้ งชมในความเป็นนักวิชาการ ของแก ถ่ายภาพ เขียนเป็นรายงาน แล้วเย็บ เป็นเล่ม ถ้าไม่มรี ายงานนีอ้ อกมาคนคงไม่เชือ่ เพราะว่าตอนทีเ่ ราตัดสินกรณีเขือ่ นน�้าโจน เราไม่ รู ้ ว ่ า เอกสารจะเสร็ จ ทั น เวลาไหม แต่พอส�าเร็จแล้วคนเห็นว่าไม่ควร จึงถือเป็น ผลงานชิ้ น โบแดงของแกที่ ท� า ให้ ค นรู ้ ว ่ า การสร้างเขือ่ นมันมีผลกระทบกับความเป็นอยู่ ของสัตว์ปา่ ” นริศ ภูมิภาคพันธ์, รุ่นน้อง คณะวนศาสตร์ บอกเล่าประสบการณ์ สัตว์ 1,364 ตัวได้รับการช่วยเหลือ ภายในระยะเวลา 2 ปี แต่ ค� า ถามคื อ มันคุ้มค่ากันหรือเปล่า สุดท้ายแล้วเราจะรู้ ได้อย่างไรว่ามีใครรอดชีวิตอยู่บ้าง “เป็นค�าถามใหญ่เลยที่ผมยังตอบ ไม่ได้วา่ สัตว์ปา่ ทีผ่ มช่วยเหลือในงานอพยพ สัตว์ป่าครั้งแรกในเมืองไทย สัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนม 586 ตัวนัน้ มันไปอยู่ทไี่ หน มันตาย หรือเปล่า อยูไ่ ด้ไหม ปรับตัวเข้ากับพืน้ ทีใ่ หม่ ได้หรือเปล่า มันคงจะไม่เกิดประโยชน์อะไร ที่อยู่ๆ เรามาสร้างเขื่อนแล้วก็เอาน�้ ามา ท่วมป่าทีเ่ ป็นทีอ่ ยู่อาศัยของสัตว์ แล้วเราก็ ย้ายมันไปไว้อีกที่หนึ่ง “ถ้ามันอยูไ่ ม่ได้กไ็ ม่มปี ระโยชน์อะไร ที่จะช่วยมันออกไปจากที่นี่ เพราะถึงยังไง มันก็ตายอยู่ดี ในโอกาสต่อๆ ไป โครงการ ใหญ่ๆ ที่จะสร้างเขื่อนหรือเปิดป่าต่อไป หรือท�าอะไรก็ดี เราจะต้องค�านึงถึงทรัพยากร สั ต ว์ ป่า คงจะต้ อ งมองลึ ก ลงไปอี ก ว่ า ผลกระทบที่เกิดขึ้นนี้เราแก้ได้ไหม แก้ได้ แค่ไหน ถ้าได้ผลเป็นทีพ่ อใจผมว่าโครงการนัน้ ก็นา่ จะท�า แต่ถา้ เรายังไม่สามารถตอบค�าถาม อะไรได้ เรายังรูส้ กึ ไม่สบายใจ ตอนนีไ้ ด้ชว่ ย สัตว์ป่าแล้วแต่ก็ยังรู้สึกไม่สบายใจว่าสัตว์

รอดหรือเปล่า” สืบ นาคะเสถียร กล่าวไว้ ในรายการสารคดี ส่องโลก นิตยสาร สารคดี ฉบับที่ 68 เดือน ตุลาคม 2533 ถามสืบเกี่ยวกับประเด็น การสร้างเขื่อนว่า แล้วถ้าไม่สร้างเขื่อน การไฟฟ้ า ฯ จะเอาไฟฟ้ า มาจากที่ ไ หน สืบตอบว่า “ผมคิดว่าการไฟฟ้าฯ น่าจะเป็นคน ตอบค�าถามว่าจะหาไฟฟ้าได้อย่างไร แต่ใน แง่ของคนทีเ่ กีย่ วข้องในเรือ่ งป่าไม้ สัตว์ป่า เรามองกันว่าในปัจจุบันทรัพยากรส่วนนี้ มันเหลืออยู่พอหรือไม่ในการที่จะควบคุม สภาวะการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมต่างๆ “ถ้าเรามองว่าทรัพยากรมันจ�ากัด ป่าไม้เหลืออยู่ไม่ถึงร้อยละ 20 เราจะเก็บ ส่วนนี้ไว้ได้หรือไม่ แล้วก็พัฒนาพลังงาน ด้วยการใช้ทรัพยากรอย่างอืน่ ด้วยพลังงาน อย่างอืน่ ควบคุมให้เกิดมาตรการในการทีจ่ ะ ใช้พลังงานอย่างถูกต้อง หมายถึงการประหยัด พลังงาน ข้อแก้ตัวว่าต้องผลิตด้วยพลังน�้า อย่างเดียวโดยที่อย่างอื่นอาจมีราคาสูง หรือว่าอัตราเสี่ยงที่จะเกิดภัยอะไรต่างๆ นั้น ถ้าคิดถึงว่าในอนาคต สมมติอีก 30 ปี ข้างหน้าไม่มีป่าเหลืออยู่แล้ว เราจะท� า อย่างไร ท�าไมเราถึงไม่คดิ ตัง้ แต่วนั นีว้ ่าเรา จะหาทางในการผลิตกระแสไฟฟ้าอย่างไร โดยทีจ่ ะยังคงป่าธรรมชาติเอาไว้ให้สามารถ อ�านวยประโยชน์กับคนส่วนใหญ่ที่ยังต้อง อาศัยสัตว์ป่าในการด�ารงชีวิต” ‘คนจริง’ ที่เราเรียกกันมีมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2533 แล้ว และนี่คือบทสัมภาษณ์ สุดท้าย ก่อนที่สืบจะหมดลมหายใจลงไป จากโลกจริง

งานและชีวิต “ในระยะเวลา 2 ปี 4 เดือนของการท�างาน เจ้าหน้าทีจ่ ากกองอนุรก ั ษ์สต ั ว์ปา่ ร่วมด้วยแรงงานท้องถิน ่ ได้ดา� เนินการช่วยเหลือสัตว์ปา่ ในพืน ้ ทีล ่ อ ่ แหลมในอ่างเก็บน�า้ โดยใช้วธ ิ ไี ล่ตอ ้ น วางกรงดัก และตระเวนหาสัตว์ ที่ติดอยู่ตามขอนไม้ ต้นไม้ และตามเกาะต่างๆ ในพื้นที่อ่างเก็บน�้า ทั้งกลางวันและกลางคืน ผลปรากฏว่าสามารถช่วยเหลือสัตว์ป่าได้จ�านวน 116 ชนิด 1,364 ตัว แบ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 37 ชนิด 586 ตัว นก 30 ชนิด 58 ตัว สัตว์เลื้อยคลาน 49 ชนิด 720 ตัว โดยสัตว์เหล่านี้มีอัตราการตายในระหว่างการช่วยเหลือร้อยละ 3.0” (งานวิชาการการช่วยเหลือสัตว์ป่าตกค้างเขื่อนเชี่ยวหลาน)


2530— 2533 Because It Needs to Be Done

issue 501

“ผมคิดว่าแต่ละคนถ้าท�าหน้าที่ของตัวเอง แล้วเคารพในกฎระเบียบ มันถึงจะไปด้วยกันได้ มันเหมือนกับที่ผม เคยยกตัวอย่างว่านาฬิกาหนึ่งเรือนมันมีเฟืองไม่รู้กี่ตัว บางทีตัวเล็กๆ ขาดไป นาฬิกาทั้งเรือนนั้นมันก็เดินไม่ได้”

a day bulletin

14 ประสบการณ์จากการอพยพสัตว์ในเขื่อนเชี่ยวหลาน ท�าให้สืบ ออกมาต่อต้านโครงการก่อสร้างเขื่อนน�้าโจนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) อีกครั้งร่วมกับ วีรวัธน์ ธีรประสาธน์ เพื่อนสนิท และหัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรในเวลานั้น เขาเดินเข้าป่าไปส�ารวจสัตว์ทุกวัน ท�างานถึงดึกดื่นเที่ยงคืน คร�า่ เคร่งกับข้อมูลเพือ่ เป็นหลักฐานทีจ่ ะสามารถต่อกรกับการสร้างเขือ่ นได้ โดยไม่ได้รับท�างานอื่นเลย เขาพบกระทิงฝูงใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยพบเห็น ในเมืองไทย เลียงผา เก้งหม้อ นก และปลาหายากชนิดต่างๆ รวมไปถึง ช้างป่ากว่า 300 ตัวในป่าทุ่งใหญ่นเรศวรรวมกับป่าห้วยขาแข้ง สืบเร่งประกอบข้อมูลกับนักวิชาการคนอืน่ ๆ ท�ารายงานไม่ตา�่ กว่า 10 ชิน้ เพือ่ พิสจู น์ขอ้ เท็จจริงของความหลากหลายและความอุดมสมบูรณ์ ของสัตว์ ป่ าและผลกระทบแสนรุนแรงที่สัตว์จะได้รับจากการสร้าง เขื่อนน�้าโจน “วันนี้ผมขอพูดในนามของสัตว์ป่าทุกตัว” การอภิ ป รายของชายพู ด น้ อ ย สู บ บุ ห รี่ จั ด แบบมวนต่ อ มวน ดังขึน้ มาอย่างชัดเจนเมือ่ เขาสามารถเขียนรายงาน ‘การประเมินผลงาน ช่วยเหลือสัตว์ปา่ ตกค้างในพืน้ ทีอ่ า่ งเก็บน�า้ เขือ่ นเชีย่ วหลาน’ และคัดค้าน การสร้างเขื่อนของรัฐบาลได้ส�าเร็จ “เราชนะแล้ว” คือค�าพูดง่ายๆ ที่เขาพูดออกมาในตอนนั้น ในเวลาต่อมา ต�าแหน่งหัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง คือต�าแหน่งสุดท้ายทีส่ บื มีในฐานะนักอนุรกั ษ์ พืน้ ทีท่ มี่ คี วามอุดมสมบูรณ์ เพราะมีสภาพป่าที่แตกต่างหลากหลาย มีความส�าคัญในฐานะของ ป่าต้นน�้าและเชื่อมต่อกับทุ่งใหญ่นเรศวรซึ่งมีพื้นที่รวมกันมากกว่า 5,775 ตารางกิโลเมตร ถือว่าเป็นป่าอนุรักษ์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ในวันแรกของการท�างาน เขาได้ไปดูปา่ ประดูท่ ถี่ กู โค่นเพือ่ แปรรูป กว่า 200 ต้น สืบไม่พูดอะไรเลยแต่สืบเท้าไปตามดูท่อนไม้ภายในป่า โดยไม่กลัวหลงหรือจะมีใครดักลอบท�าร้าย พืน้ ทีป่ า่ ห้วยขาแข้งโด่งดังหลังเสียงปืนเมือ่ ได้กลายเป็นมรดกโลก แล้ว แต่ในเวลานั้นมันยังเต็มไปด้วยการลักลอบล่าสัตว์และการตัดไม้ ท�าลายป่าทีไ่ ม่ปรานีธรรมชาติ ชาวบ้านโดยรอบมีฐานะยากจน สืบทีม่ องเห็น ตัวเองเป็นนักวิจัย ไม่ชอบตีรันฟันแทงกับมนุษย์คนใดตรงๆ เข้ามารับ หน้าทีน่ ดี้ ว้ ยความมุง่ มัน่ ตามลักษณะนิสยั เดิมของเขา แล้วจึงพบเจอกับ ปัญหาการฝ่าฝืนกฎหมายมากมายของผู้มีอิทธิพลในท้องที่ ทั้งต�ารวจ ก�านัน หรือแม้แต่กรมป่าไม้เอง ซึ่งมันเกินกว่าที่คนคนเดียวจะเยียวยาได้ “ผมพูดได้เลย มันมีการยิงกันทุกวัน ไปตามก็เจอแต่กองไฟ เจอซากที่ช�าแหละไว้เรียบร้อย จับมันได้ครั้งหนึ่งมันพร้อมจะล่าสิบครั้ง กว่าจะโดนจับ ถูกปรับแค่ 500 บาท คุกก็ไม่ติด กว่าเราจะจับมันได้ ต้องไปอดหลับอดนอนแบกข้าวสารไปกินในป่า มันหนีเราแต่เราต้อง ตามจับ อย่างเมษายนปีที่แล้ว ลูกน้องผมถูกนายพรานยิงตาย 2 คน เจ้าหน้าที่ยิงก่อนก็ไม่ได้ ถือว่าเกินกว่าเหตุ ผู้ต้องหามันเห็นหน้าเรา มันยิงใส่เราแล้ว เราก็ตาย เรามีค่าเหรอ ตายไปอย่างดีก็เอาชื่อมาติด ที่อนุสาวรีย์หน้ากรมป่าไม้” งบประมาณที่ใช้ในการดูแลป่าขนาด 6 แสนกว่าไร่ก็น้อยนิด ตกอยู่แค่ไร่ละ 80 สตางค์ต่อปี สวัสดิการของเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าที่ต้อง เสี่ยงชีวิตไปปราบปรามผู้บุกรุกก็ไม่มีเลย ไม่มีแม้กระทั่งประกันชีวิต หรือวิทยุตามตัวเวลาลงพื้นที่ สืบรู้ปัญหายิบย่อยทุกอย่างที่เกิดขึ้น เขาท�างานและสูบบุหรี่ จุดเทียนหลังสี่ทุ่ม เขียนเอกสารเพื่อเสนอ เรื่องคุณค่าและความส�าคัญของป่าห้วยขาแข้ง เข้าหาผู้เกี่ยวข้อง ที่มีอิทธิพลในการเปลี่ยนแปลงทั้งป่าไม้เขต ต�ารวจ กระทรวงมหาดไทย ทหาร ข้าราชการท้องถิ่น และพบกับความนิ่งงันของระบบราชการ รู ป ร่ า งที่ บิ ด เบี้ ย วของการเอารั ด เอาเปรี ย บครั้ ง แล้ ว ครั้ ง เล่ า จนเขา ไม่สามารถท�างานหนักไปมากกว่านี้ได้อีกแล้ว ปัง! เวลานั้นมันคงดังตามปกติ ตามวิสัยของสถานการณ์การลักลอบ ยิงสัตว์ป่าของห้วยขาแข้ง สืบ นาคะเสถียร จากไป แล้วประเทศไทยก็ได้เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ห้วยขาแข้งและทุ่งใหญ่นเรศวรเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ ได้มูลนิธิ สืบนาคะเสถียร และปรากฏการณ์การอนุรักษ์ธรรมชาติจากประชาชน จนถึงทุกวันนี้

28 AUG 2017

งานและชีวิต “โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน�้าแควใหญ่ตอนบน (เขื่อนน�้าโจน) จะท�าให้เกิดอ่างเก็บน�้าขนาดพื้นที่ 137 ตารางกิโลเมตร หรือ 85,625 ไร่ ที่ระดับความสูง 370 เมตรจากระดับน�้าทะเลปานกลาง ท�าให้น�้าท่วมใจกลางเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรเป็นพื้นที่ประมาณ 80,000 ไร่ คิดเป็นระยะทางยาวประมาณ 60 กิโลเมตร” (งานวิชาการเรื่องความส�าคัญของป่าทุ่งใหญ่นเรศวร กับการก่อสร้างเขื่อนน�้าโจน)


15

20

Facts about

Seub

01.

07.

12.

17.

02.

08.

13.

18.

03.

09.

รศ. ดร. นริ ศ ภู มิ ภาคพั น ธ์ อาจารย์ ประจ�าคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บอกว่าสืบไม่ใช้คา� ว่า ‘ไอ้-อี’ เรียกใคร แม้แต่กับลูกน้อง ของตัวเอง

14.

19.

เ ค ย อ ย า ก ส อ บ เ ข้ า ค ณ ะ ส ถ า ปั ต ย์ แ ต่ สุดท้ายได้มาเรียนทีค ่ ณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เ พื่ อ น เ รี ย ก สื บ ว่ า ‘ต่ ว ย’ (ที่ ม าจากชื่ อ นิตยสาร ต่วย’ตูน) เพราะเป็นคน วาดรูปเก่ง มีความสามารถทางศิลปะ มักวาดการ์ตูนล้อเลียนให้เพื่อน

สื บ เ ป็ น ค น ที่ วิ่ ง เ ข้ า เ ส้ น ชั ย ไ ด้ ค น แ ร ก ๆ ในงานประเพณี แ ข่ ง วิ​ิ่ ง มาราธอน 15 กิโลเมตร คณะวนศาสตร์ เขาเคย ฝึกว่ายน�า้ ทุกวัน วันละหลายพันเมตร เพือ ่ ไปเป็นตัวแทนของมหาวิทยาลัย และยั ง เป็ น นั ก กี ฬ าโปโลน�้ า ของ มหาวิทยาลัยด้วย

04.

ใ น บ ร ร ด า ศิ ษ ย์ เ ก่ า ว น ศ า ส ต ร์ รุ่ น 3 5 จ�านวนทั้งหมด 120 คน มีคนสนใจ งานด้านอนุรักษ์เพียง 5 คนเท่านั้น

05.

การท� า รั ง วางไข่ ข อง นกบางชนิ ด ที่ อ่ า งเก็บน�า้ บางพระ จ.ชลบุรี คืองานวิจย ั ชิ้นแรกของเขา

06.

สื บ เคยส่ ง บทกลอน เข้ า ประกวดค� า ขวั ญ ด้านสัตว์ป่า-ป่าไม้ และได้รางวัล

พรานทีม ่ าส่องล่าสัตว์ กลางคื น ถู ก จั บ กุ ม นั บ ร้ อ ย ค น จ า ก ฝี มื อ ข อ ง สื บ ในช่วงที่เขาท�างานอยู่ที่เขาเขียว สไลด์ ภ าพสั ต ว์ ป่ า หายาก หรื อ การบุ ก รุ ก ท� า ลายป่ า รวมถึ ง วิ ดี โ อ ต่ า งๆ สื บ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ไว้ อ ย่ า ง เป็ น สั ด เป็ น ส่ ว นและไม่ เ คยหวง หากใครอยากน�าไปเผยแพร่

ปี พ.ศ. 2528 เขาเคย ไ ป ล ง พื้ น ที่ วิ จั ย ชีวต ิ กวางผากับ ดอกเตอร์แซนโดร โรวาลี ที่ดอยม่อนจอง เขตรักษาพันธุส ์ ต ั ว์ปา่ อมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่

10.

ก า ร เ สี ย ชี วิ ต ข อ ง เจ้าหน้าทีท ่ อี่ อกส�ารวจ วิจย ั กวางผาในวันนัน ้ ท�าให้สบ ื เข้าใจ ถึ ง ความเสี่ ย งอั น ตรายที่ แ ท้ จ ริ ง ของนักพิทักษ์ป่า

11.

ครั้ ง หนึ่ ง มี งู จ งอาง พุง่ ออกมาจากโพรงไม้ สื บ ออกเรื อ ตามไปช่ ว ยเพราะงู จะหมดแรงตายก่อนว่ายข้ามแม่น�้า ไปอีกฝั่งทั้งๆ ที่เขาไม่เคยจับงูพิษ มาก่อน ระยะเวลาเดินทางจากจุด ทีจ่ บ ั งูหา่ งจากโรงพยาบาลไม่ตา�่ กว่า 6 ชั่ ว โมง สุ ด ท้ า ยงู จ งอางตั ว นั้ น ก็ถูกยัดลงกระสอบอย่างปลอดภัย

สื บ ค้ น พ บ รั ง น ก กระสาคอขาวปากแดง ครั้ ง แรกในประเทศไทยระหว่ า ง ท� า โครงการอพยพสั ต ว์ ที่ เ ขื่ อ น เชี่ยวหลาน

ตอนที่ ‘ฝน’ - ชินรัตน์ นาคะเสถียร ลูกสาวของ สืบ อายุประมาณ 8-9 ขวบ เธอมักจะ เห็นพ่อในสภาพทีเ่ หน็ดเหนือ ่ ยตลอด สืบมักจะชวนชินรัตน์คย ุ เรือ ่ งอาชีพ ในอนาคต และชวนเก็บฝักจามจุรี ข้างทางไปปลูกเมือ่ ขับรถไปต่างจังหวัด

15.

สื บ เ ค ย ยื ม เ งิ น แ ม่ เดือนละ 20,000 บาท โดยทีไ่ ม่บอกแม่วา่ น�าไปจ่ายเงินเดือน ให้ ลู ก น้ อ งเพราะระบบราชการ ตกเบิกช้า

16.

สืบเคยจัดงานดนตรี ‘คนรักป่า’ ขึน ้ เพือ ่ น�า เงินมาตัดชุดลาดตระเวนให้ลูกน้อง หรือท�าประกันชีวิตให้กับพนักงาน พิทก ั ษ์ปา่ ของเขตรักษาพันธุส ์ ต ั ว์ปา่ ห้วยขาแข้งทุกคน

สืบตัดสินใจมาเป็น หั ว หน้ า เขตรั ก ษาพั น ธุ์ สั ต ว์ ป่ า ห้ ว ยขาแข้ ง แทน การไปเรี ย นต่ อ ปริ ญ ญาเอก ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ สื บ ใ ห้ ค ว า ม รู้ กั บ ช า ว บ้ า น ที่ อ ยู่ ใ น พื้ น ที่ ด้ ว ยการจั ด นิ ท รรศการ และท�าสือ ่ ต่างๆ จากภาพทีเ่ ขาถ่าย และล้ า งอั ด เอง และแน่ น อนว่ า เขาใช้เงินส่วนตัวทุกครั้ง เวลาที่ เ ข้ า ป่ า สื บ มั ก จะแยกไปนอน คนเดียวเพราะรูด ้ วี า่ ตัวเองมีคา่ หัว และอาจจะมีคนลอบท�าร้ายได้

20.

ก่ อ น ก ร ะ ท� า อั ต วิ นิ บ าตกรรม สื บ เขี ย นพิ นั ย กรรมและจั ด สรร สิ่ ง ข อ ง ทั้ ง ห ม ด ไ ว้ อ ย่ า ง เ ป็ น สัดส่วน และข้อความในจดหมาย ที่เสียบไว้ใต้หมอน สืบเขียนไว้ว่า “ ผ ม มี เ จ ต น า ที่ จ ะ ฆ่ า ตั ว เ อ ง โดยไม่ มี ผู้ ใ ดเกี่ ย วข้ อ งในกรณี นี้ ทั้งสิ้น”


ภาพถ่ายฝีมือ สืบ นาคะเสถียร a day bulletin

16

issue 501

28 AUG 2017


17


a day bulletin

THE CONVERSATION

18

เรื่อง : ปริญญา ก้อนรัมย์ ภาพ : ภาณุทัช โสภณอภิกุล

Ke

B r e at issue 501 28 AUG 2017

About Him

รศ. ดร. นริศ ภูมภ ิ าคพันธ์

อาจารย์ประจ�าภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รุ่นน้องคณะวนศาสตร์ (วน. 44) และอดีตเคยท�างานวิจัยช่วยเหลือ สืบ นาคะเสถียร เก็บข้อมูลวิจัยสัตว์ป่าในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง


19

ep

thing About Him

วันชัย ตันติวท ิ ยาพิทก ั ษ์

ผู้อ�านวยการฝ่ายข่าว สถานีข่าว PPTV และอดีตบรรณาธิการ นิตยสาร สารคดี ผู้ที่ติดตามบันทึกชีวิต สืบ นาคะเสถียร อย่างใกล้ชิด ในเหตุการณ์อพยพสัตว์ป่าเขื่อนเชี่ยวหลาน


รูจ ้ ก ั คุณสืบครัง้ แรกตอนไหน

วั น ชั ย : ตอนนั้ น ผมท� ำ งำนอยู ่ ที่ นิ ต ยสำร สารคดี และได้ยนิ ว่ำก�ำลังจะมีโครงกำรอพยพสัตว์ป่ำทีเ่ ขือ่ นเชีย่ วหลำน ซึง่ เป็นครัง้ แรกของประเทศไทย ผมก็จะไปท�ำสำรคดีเรือ่ งนีแ้ หละ เลยติดต่อไปทำงกรมป่ำไม้ เขำก็บอกว่ำให้ไปหำ คุณสืบ นำคะเสถียร สิ เขำเป็นหัวหน้ำโครงกำรสัตว์ป่ำที่เขื่อนเชี่ยวหลำน ตอนนั้นก็ ติดต่อผ่ำนวิทยุ และนัดเจอกันที่สถำนีรถไฟสุรำษฎร์ธำนี เขำก็ เอำรถปิ๊กอัพเก่ำๆ มำรับ นั่นเป็นครั้งแรกที่เจอกัน รศ. ดร. นริศ : ผมรู้จักพี่สืบตั้งแต่สมัยเป็นนักศึกษำ ปริญญำตรีทคี่ ณะวนศำสตร์ พีส่ บื มำบรรยำยให้รนุ่ น้องฟังบ่อยๆ เกี่ยวกับเรื่องชีวิตคนท�ำงำนป่ำไม้และปัญหำต่ำงๆ แล้วผมก็เคย ช่วยงำนแกในงำนวิจัยศึกษำสัตว์ป่ำในเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำ ห้วยขำแข้งกับทุง่ ใหญ่นเรศวร ตอนนัน้ แกได้โครงกำรส�ำรวจวิจยั มำ แต่แกไม่สำมำรถไปท�ำงำนภำคสนำมได้ เพรำะว่ำติดภำรกิจ อพยพสัตว์ปำ่ ทีเ่ ขือ่ นเชีย่ วหลำน ผมก็ไปส�ำรวจสัตว์ปำ่ ท�ำรำยงำน ให้แก แล้วก็มีอีกช่วงที่คลุกคลีกันคือตอนไปศึกษำกวำงผำที่ ดอยม่อนจอง ผูช ้ ายทีช ่ อ ื่ สืบ นาคะเสถียร เป็นคนอย่างไรในความรูส ้ ก ึ ของพวกคุณ

วันชัย : แกเป็นคนมุ่งมั่น และเป็นเปอร์เฟกชันนิสต์ที่ทำ� อะไรต้องท�ำให้ดี ไม่งนั้ ไม่ทำ� เป็นคนซีเรียส จริงจัง เรำเห็นแกสูบบุหรี่ ตลอด และแกไม่คอ่ ยมีอำรมณ์เฮฮำมำกนัก และเป็นนักวิชำกำร ด้วย ถ้ำไม่ลงพื้นที่ แกก็อ่ำนหนังสือตลอด รศ. ดร. นริศ : แกชอบสูบบุหรี่ แล้วก็มีนิสัยชอบจดโน้ต อันนี้เป็นนิสัยของนักวิจัย และอีกอย่ำงคือกำรถ่ำยภำพ ซึ่งเป็น กำรบันทึก และนิสัยส่ วนตัวอีกอย่ ำ งคือสุภ ำพมำก ไม่เคย เรียกใครไอ้ อี มึง กับลูกน้องก็ไม่เรียก ควำมสุภำพของแก และควำมมุ่งมั่นในกำรท�ำงำนมันสร้ำงควำมประทับใจให้คน รอบๆ ข้ำง อย่างตอนเหตุการณ์เขือ ่ นเชีย ่ วหลาน พวกคุณในฐานะ คนอยู่ในเหตุการณ์ มันสะท้อนตัวตนคุณสืบออกมา อย่างไรบ้าง

issue 500 21 AUG 2017

วันชัย : ผมไปอยู่ที่เรือนแพกลำงอ่ำงเก็บน�้ำที่เชี่ยวหลำน วันๆ ก็นั่งเรือไปกับแก เป็นเรือหำงยำวขนำดใหญ่ แล้วหัวเรือ ก็มีหมำตัวหนึ่งชื่อไอ้แดง คอยดมกลิ่นว่ำมีสัตว์ติดตำมต้นไม้ หรือเปล่ำ ถ้ำมีมันก็จะเห่ำ แล้วพี่สืบก็จะเอำกล้องส่องดูอีกที ตอนนั้ น ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ก็ เ ป็ น แบบนี้ ตอนเช้ ำ แกไปช่ ว ยชี วิ ต สัตว์ป่ำ ตกกลำงคืนแกก็อ่ำนต�ำรำฝรั่ง เพรำะไม่รู้จะท�ำยังไง เป็นประสบกำรณ์ครั้งแรกในกำรอพยพสัตว์ของประเทศไทย จนมีวันหนึ่งที่ท�ำให้เห็นนิสัยแก วันนั้นพักเที่ยงพวกเรำก็ เอำเชือกไปผูกเรือกับตอไม้ ก็เป็นตอไม้ใหญ่ๆ ทีม่ โี พรง ตอนแรก ไม่มีใครสังเกตเห็นหรอกว่ำมีงูจงอำงตัวใหญ่มำก ประมำณ สำมเมตรได้ มันกระโจนออกมำซึง่ โชคดีทตี่ กน�ำ้ ไป แต่พสี่ บื บอกว่ำ เรำต้องไปช่วยมัน มันว่ำยไม่ถงึ ฝัง่ หรอก เรำก็โอเค ขับเรือไปใกล้ๆ และเอำสวิงช้อนขึ้นมำ แต่ต้องเข้ำใจก่อน ณ ตอนนั้นถ้ำใครโดน งูจงอำงกัดคือตำยแน่นอน เพรำะจำกเรือมำขึน้ ฝัง่ ใช้เวลำสำมชัว่ โมง จำกฝัง่ ไปโรงพยำบำลอีกสำมชัว่ โมง แต่แกยืนยันว่ำต้องไปช่วยมัน พอช้ อ นงู ม ำอยู ่ ใ นตำข่ ำ ยบนเรื อ คนก็ ม องหน้ ำ กั น เลิ่ ก ลั่ ก มีลูกน้องแกอยู่เต็มเลยนะ แต่แกเดินเข้ำไปจับคองูขึ้นมำแล้ว เอำใส่กระสอบ พอเสร็จทุกคนก็แซวแกว่ำ พี่สืบเซียนจับงูนี่นำ แกก็ตอบว่ำ จริงๆ ผมก็จบั งูครัง้ แรกในชีวติ โห เรำรูส้ กึ ว่ำแกโคตรแน่ เลยว่ะ มันสะท้อนว่ำแกรักชีวติ ลูกน้อง อะไรทีเ่ สีย่ งแกจะท�ำก่อน ไม่ได้ปกป้องแค่ชีวิตสัตว์ แต่ลูกน้องแกก็ปกป้องด้วย รศ. ดร. นริศ : ตอนนั้นผมก็ได้ตำมเข้ำไปดูกำรท�ำงำน ของพีส่ บื นะ คือแต่เดิมเรำเข้ำใจว่ำพอน�ำ้ ค่อยๆ ท่วมขึน้ มำ สัตว์ปำ่ จะหนีขนึ้ ทีส่ งู ไปเรือ่ ยๆ เอง แต่ในควำมเป็นจริง ในพืน้ ทีม่ นั เป็นเนิน บ้ำง พอน�้ำท่วมแล้วสัตว์ก็ไปไหนไม่ได้ หรือชะนี ค่ำงติดอยู่บน ต้นไม้ ระยะห่ำงออกไปแค่หำ้ เมตรจะถึงฝัง่ อยูแ่ ล้ว แต่มนั ไม่วำ่ ยน�ำ้ ก็ต้องไปช่วยมัน งำนตอนนั้นหนักมำก ต้องท�ำงำนแข่งกับเวลำ ทุกคนเหนื่อยแต่พักไม่ได้ เพรำะถ้ำช้ำไปอีกสักวันสัตว์ก็จะตำย ไปอีกส่วน และต้องชมในกำรเป็นนักวิชำกำรของแก ที่ถ่ำยภำพ สรุปและพิมพ์ออกมำเป็นเล่ม ถ้ำไม่มีรำยงำนนี้ออกมำคนคง ไม่เชื่อว่ำกำรสร้ำงเขื่อนจะส่งผลกระทบขนำดนี้ ตอนที่ตัดสิน เขื่อนน�้ำโจน เอกสำรตัวนี้ก็ออกมำทันเวลำพอดี งำนอพยพ ครั้งนั้นที่เขื่อนเชี่ยวหลำนก็เป็นภำพสะท้อนว่ำสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับ เขื่อนน�้ำโจนก็คงไม่ต่ำงกัน

“เราอนุรก ั ษ์แบบงมงายไม่ได้ อนุรก ั ษ์ตอ ้ งท�าด้วยข้อมูล ไม่ใช่ความเชื่อ” (รศ. ดร. นริศ)

a day bulletin

20


21 รศ. ดร. นริศ : ผมมองแกเป็นคน ทีท่ ำ� งำนป่ำไม้ธรรมดำๆ คนหนึง่ ทีใ่ ช้คำ� ว่ำ ธรรมดำ เพรำะหมำยถึงว่ำในเรื่องของ ควำมตั้งใจ ควำมซื่อสัตย์ในอำชีพนี่เป็น จุดเด่นของแก ในเวลำนั้นคนคงไม่รู้จักแก และงำนป่ำไม้มนั เหมือนงำนปิดทองหลังพระ คนจะมองไม่ เ ห็ น จนกระทั่ ง มี ข ่ ำ วแก เสียชีวิต เรื่องควำมตั้งใจในกำรท�ำงำน และแก้ปัญหำของแกจึงถูกเล่ำออกมำ แต่เอำจริงๆ ตอนนั้นเรำไม่รู้ว่ำแก มีควำมทุกข์ใจอะไร เพรำะว่ำหนึ่งสัปดำห์ ก่อนหน้ำ ตอนนั้นผมเป็นอำจำรย์ที่คณะ วนศำสตร์แล้ว แกก็ยงั มำบรรยำยให้รนุ่ น้อง ปีหนึ่งที่คณะฟังอยู่เลย ก็ไม่มีวี่แววอะไร วันชัย : แกเคยพูดกับผมนะว่ำชีวิต แกก็เลือกได้หลำยอย่ำง ลำออกไปเป็น อำจำรย์ ไปบวช หรือไม่ก็ไปเป็นพวกเดียว กับพวกตัดไม้เสียเลย แต่สดุ ท้ำยแกก็เลือก แบบแก แต่จริงๆ เรำก็พดู แทนไม่ได้ เพรำะ ไม่ มี ใ ครรู ้ ว ่ ำ แกฆ่ ำ ตั ว ตำยเพรำะอะไร แต่ในฐำนะที่เรำเคยคลุกคลีกับแกมำก่อน เรำรูว้ ำ่ แกเป็นคนมีศกั ดิศ์ รี เป็นคนทีร่ สู้ กึ ว่ำ ท�ำไม่ได้กตู ำยดีกว่ำ แล้วถ้ำไปดู บัน้ ปลำย ชีวติ แกมีแต่ไปร้องเรียนผูใ้ หญ่ในกรมให้มำ สนใจปัญหำ ท�ำวิจยั ออกมำเสนอว่ำในพืน้ ที่ มัน มีป ั ญ หำอะไร แล้ ว ในขณะเดีย วกัน แกก็ท�ำเปเปอร์ยื่นขอให้ห้วยขำแข้งเป็น มรดกโลก นัน่ หมำยควำมว่ำถ้ำคนในประเทศ ไม่รักษำ แกขอให้โลกรักษำแล้วกัน นี่เป็น งำนสุดท้ำยทีแ่ กท�ำ เพือ่ ทีจ่ ะบอกชำวโลกว่ำ อย่ำงน้อยช่วยกันรักษำมรดกผืนนี้ และ สุดท้ำยแกก็ยิงตัวตำย ห ลั ง ก า ร เ สี ย ชี วิ ต ข อ ง คุ ณ สื บ สร้างแรงกระเพือ ่ มด้านงานอนุรก ั ษ์ แค่ไหน

วั น ชั ย : สร้ ำ งไม่ ส ร้ ำ งลองคิ ด ดู ผมไปห้วยขำแข้งหนึง่ อำทิตย์หลังจำกทีแ่ ก ตำยไป ตอนนัน้ ทัง้ ทหำร นำยต�ำรวจชัน้ ผูใ้ หญ่ ไปร่ ว มประชุ ม กั น หลำยร้ อ ยคนเลยนะ เพือ่ ทีจ่ ะมำคุยกันว่ำจะดูแลป่ำห้วยขำแข้ง ยั ง ไง ถ้ ำ ไม่ มี เ สี ย งปื น นั ด นั้ น ของพี่ สื บ คงไม่ มี ใ ครมำหรอก แล้ ว หลั ง จำกนั้ น กระแสตืน่ ตัวเรือ่ งสิง่ แวดล้อมก็ออกตำมมำ อีกมหำศำล คนท�ำมำร์เกตติ้ง กำรตลำด หรือในโฆษณำก็ตอ้ งมีคำ� ว่ำเขียว ถึงขนำด โฆษณำผ้ำอนำมัยสมัยนั้นยังต้องมีค�ำว่ำ เขียวเลย รศ. ดร. นริศ : แกเป็นแรงบันดำลใจ บนควำมสูญเสีย เพรำะภำพของแกเป็น คนท�ำงำน เรำสูญเสียคนท�ำงำนไป แต่ เป็นกำรจุดกระแสอนุรักษ์ต่ำงๆ ขึ้นมำ ตั ว อย่ ำ งหนึ่ ง คื อ กำรเกิ ด ขึ้ น ของมู ล นิ ธิ สืบนำคะเสถียร ซึง่ ตอนนัน้ ผศ. ดร. บุญวงศ์ ไทยอุตส่ำห์ ซึ่งเป็นอำจำรย์ที่ปรึกษำของ พี่สืบสมัยเรียนวนศำสตร์ บอกว่ำน่ำจะตั้ง มูลนิธิให้พี่สืบนะ อำจำรย์เป็นคนเริ่มต้น ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด กำรรวมกลุ ่ ม ขึ้ น มำในคณะ ในขณะที่กลุ่มเพื่อนๆ ของพี่สืบก็อยำกให้ มีกองทุนผู้พิทักษ์ป่ำเหมือนกัน ซึ่งนี่เป็น เจตนำรมณ์ของพี่สืบอยู่แล้ว อำจำรย์ร่ำง รำยละเอียดในกำรจัดตัง้ กองทุนมูลนิธขิ นึ้ มำ แล้ ว รุ ่ น น้ อ งก็ เ อำรำยละเอี ย ดพวกนั้ น มำพิมพ์เป็นหนังสือ ส่วนผมก็เอำหนังสือนี้

ไปปรึกษำ รศ. ดร. อุทิศ กุฏอินทร์ ซึ่งเป็น หัวหน้ำคณะวนศำสตร์ในเวลำนัน้ ปรึกษำ ว่ำเหมำะสมไหม แกก็บอกว่ำไม่นำ่ จะเป็นไร นะ ก็เลยไปตั้งกล่องรับบริจำคเริ่มจำก ในคณะนี่แหละ แล้วตอนนั้น คุณจิระนันท์ พิตรปรีชำ ก็เสนอว่ำชื่อมูลนิธิสืบฯ ก็ดี คือควำมตำยของพีส่ บื มันมีพลัง มีอทิ ธิพล อย่ำงมำก (มูลนิธิสืบนำคะเสถียรได้รับ อนุญำตให้กอ่ ตัง้ ขึน้ สิบวันหลังวันพระรำชทำนเพลิงศพ คือวันที่ 18 กันยำยน 2533 คณะกรรมกำรประกอบด้วยบุคคลหลำกหลำยสำขำอำชีพ แต่ลว้ นมีอดุ มกำรณ์ตรง กับคุณสืบ) ถึงวันนี้อยากให้คนระลึกถึงคุณสืบ ในด้านไหน

รศ. ดร. นริศ : อยำกให้มองพี่สืบ เป็นฮีโร่ของกำรท�ำงำน ไม่อยำกให้มองว่ำ เป็นพระเจ้ำ เพรำะในงำนอนุรักษ์มันต้อง มีหลักกำร เรำไม่สำมำรถทีจ่ ะสร้ำงเทพเจ้ำ ขึน้ มำแล้วก็บชู ำ แต่ไม่มสี ติไม่ได้ อย่ำงทีส่ อง คือเรือ่ งงำนวิชำกำร เรำอนุรกั ษ์แบบงมงำย ไม่ ไ ด้ อนุ รั ก ษ์ ต ้ อ งท� ำ ด้ ว ยข้ อ มู ล ไม่ ใ ช่ ควำมเชือ่ งำนสัตว์ป่ำคืองำนวิทยำศำสตร์ อันนีค้ อื สิง่ ทีบ่ ำ้ นเรำขำด แต่กบั พีส่ บื เขำพูด ด้วยกำรกระท�ำ ด้วยงำน ผมไม่เชื่อว่ำ แกยิงตัวเองเพื่อท�ำให้โลกรู้ เรำไม่ทรำบ เป้ำหมำยของแก แต่สิ่งที่แกทิ้งไว้คืองำน และประเด็นอนุรักษ์ที่เปิดทำงเอำไว้ให้ คนรุ่นหลังท�ำต่อ วันชัย : ห่ำงมำ 27 ปี ทุกครั้งที่ผม พูดถึงหรือแม้แต่เขียนสเตตัสบนเฟซบุ๊ก ยั ง มี ค นมำบอกเลยว่ ำ คิ ด ถึ ง พี่ สื บ แล้ ว น�้ ำ ตำไหลออกมำไม่ รู ้ ตั ว ทุ ก สิ่ ง ที่ เ กิ ด มันแสดงว่ำเสียงปืนทีแ่ กยิงวันนัน้ มันยังดัง อยูน่ ะ เสียงปืนนัดนัน้ เป็นทัง้ แรงบันดำลใจ เป็นทัง้ บทเรียนจำกสิง่ ทีแ่ กท�ำ ว่ำแกเสียสละ ขนำดนี้ มีหลำยๆ คนเลยนะทีเ่ ข้ำมำท�ำงำน สิ่งแวดล้อมเพรำะได้แรงบันดำลใจจำก พี่ สื บ หรื อ คนธรรมดำที่ ไ ม่ ไ ด้ ท� ำ งำน สิง่ แวดล้อม แต่กห็ นั มำสนใจเพรำะได้อำ่ น ประวัติของผู้ชำยคนนี้ คือชีวิตคนเรำเกิดมำ มันควรจะทิ้ง อะไรบำงอย่ ำ งไว้ คุ ณ จะเป็ น นั ก ดนตรี ให้เก่งเลยนะ หรือเป็นนำยธนำคำรก็เป็น ให้ สุ ด ๆ ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งเสี ย สละอะไร มำกมำยหรอก แค่ท�ำหน้ำที่ของตัวเอง ให้ดีที่สุด เพรำะค�ำพูดของพี่สืบที่ผมยึดใช้ มำตลอดแกพูดว่ำ ‘ผมแค่ทำ� หน้ำทีข่ องผม เท่ ำ นั้ น ’ ถ้ ำ ทุ ก คนท� ำ หน้ ำ ที่ ข องตั ว เอง ให้ดีที่สุด ทุกอย่ำงคงเดินไปได้

“เสียงปืนที่แกยิงวันนั้นมันยังดังอยู่นะ” (วันชัย)

แล้วเวลานั้นเหตุการณ์ฆ่าตัวตาย ของคุณสืบสร้างความตกใจให้คน ในวงการอนุรก ั ษ์แค่ไหน


24 a day bulletin

A ThousAnd Words

About Artist : หม่อมหลวงปริญญากร วรวรรณ ช่างภาพสารคดีสัตว์ป่า

issue 501

28 AUG 2017


25

ผ ม เ ข้ า ป่ า ห้ ว ย ข า แ ข้ ง ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2528 โดย ‘พี่สืบ’ พาไป ครั้งนั้นคือโอกาส ที่ดีที่สุดครั้งหนึ่งในชีวิต พี่สืบ พาขึ้นเขาเพื่อดูป่าเต็งรังในช่วง เปลี่ยนสีใบ “ป่าปรับตัวเพื่ออยู่ ให้ได้ในฤดูที่ความชื้นในอากาศ ื ่ อ ื บอก นีค ี่ บ ้ ส ้ ย” ประโยคนีพ มีนอ สิ่งที่ผมได้เริ่มเรียนรู้และเรียน ตลอดมาจนถึงวันนี้ ล่าสุด ผมเพิ่งออกมาจาก ป่าห้วยขาแข้งเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ตลอดระยะเวลากว่ า 20 ปี ที่วนเวียนอยู่ในป่าแห่งนี้ ผมพบ ว่ า สั ต ว์ ป่ า หลายชนิ ด ซึ่ ง เคย พบเห็นได้ยาก เช่น นกยูง กระทิง วัวแดง รวมทั้งควายป่า พบได้ ง่ า ยขึ้ น ประชากรพวกมั น มี จ� า น ว น เ พิ่ ม ซึ่ ง นี่ ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม เ อ า จ ริ ง กั บ ง า น ดู แ ล ปกป้องแหล่งอาศัยของพวกมัน ได้ผล ่ ุ คือการเริม ่ ด ่ ส�าคัญทีส สิง ที่ ตั ว เ ร า เ อ ง ศึ ก ษ า เ รี ย น รู้ ท� า ค ว า ม เ ข้ า ใ จ กั บ ชี วิ ต ใ น ธรรมชาติ ความเป็นจริงที่ต้อง มีพวกมันอยู่ ใช้ทรัพยากรอย่าง ่ เทคโนโลยีกา้ วไปไกล ประหยัด ยิง การกลับมาเรียนรู้ที่จุดเริ่มต้น ่ าจเป็น ‘ความหวัง’ ่ จ�าเป็น นีอ ยิง ่ ว่ มกัน ทีแ่ ท้จริงกับการอาศัยอยูร ข อ ง ทุ ก ชี วิ ต บ น โ ล ก ใ บ นี้ . . . ขอบคุณครับ


26 เรื่อง : ณัฐชานันท์ กล้าหาญ

a day bulletin

LIFE

issue 501

28 aug 2017


27

Find yo u r own shades oF green

เมื่อต้นเดือนสิงหาคม 2560 ที่ผ่านมา กรีนพีซเพิ่ง เปิ ด เผยว่ า ค่ า เฉลี่ ย ความเข้ ม ข้ น ฝุ่ น ละอองขนาดเล็ ก ไม่เกิน 2.5 ไมครอนของเมืองไทย เลยขีดความปลอดภัยที่ องค์การอนามัยโลกระบุไว้ แปลง่ายๆ คือสภาพอากาศเป็นพิษ ในเมืองเริ่มจะเกินเยียวยา ไหนจะปัญหาสิ่งแวดล้อมคลิเช่ จ�าพวกโลกร้อน ทรัพยากรธรรมชาติหดหาย สภาพอากาศ แปรปรวน อ� า นาจโรงไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น หรื อ แม้ แ ต่ ข ยะใต้ ท้องทะเล เหมือนเราได้ดภ ู าพยนตร์ The Inconvenient Truth วนไปในชี วิ ต จริ ง เพราะหลายคนบอกว่ า สะดวกแบบนี้ สั ง คมบริ โ ภคนิ ย มบี บ ให้ เ รามี พ ฤติ ก รรมที่ ทั ด ทานกั บ การอนุ รั ก ษ์ แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ไม่ เ ดิ น ควบคู่ กั บ วัฒนธรรมสีเขียวเท่าที่ควรจะเป็น ค�าถามคือ แล้วจุดสันติของการใช้ชวี ต ิ ของเรากับระดับ ออกซิเจนที่ดีในอากาศอยู่ที่ตรงไหน a day BULLETIN ได้โอกาสสัมภาษณ์คนรุ่นใหม่ทั้ง 4 คนที่ท�างานอยู่บนบก ใต้น�้า ในเมือง และดูแลสิ่งมีชีวิตบนฟ้า ว่าโลกแต่ละส่วน ของพวกเขาแข่งกันเขียวไปถึงไหนแล้ว มีการจัดการระบบนิเวศ ทางความคิ ด แบบไหน ท� า ไมยั ง ท� า กั น ไหวอยู่ หรื อ เรา ควรเลือกข้างการอนุรก ั ษ์สง ิ่ แวดล้อมบนพืน ้ ฐานของอะไร ในโลกที่คอนกรีตถมเกือบเต็มไปแล้ว


a day bulletin

28

J u s T F Lo o d yo u r T h o u g h T

issue 501

ทุกวันนี้ เมื่อเกิดปัญหาน�้าท่วม เราไม่ รู้ ว่ า จะเริ่ ม ต้ น แก้ ปั ญ หา จากอะไรก่อน ผังเมืองเราเป็น แบบไหน ท�าไมถึงมีความเสี่ยง เรื่องภัยพิบัติได้จนวิบัติขนาดนี้ กชกร วรอาคม ภูมส ิ ถาปนิกสาว และอาจารย์ พิ เ ศษสาขาภู มิ สถาปั ต ยกรรม มองเห็ น ว่ า ในอดีตกรุงเทพฯ เคยเป็นเมือง ที่ พ รุ น น�้ า เราสามารถจั ด การ ปั ญ ห า น�้ า ท่ ว ม ไ ด้ ทั้ ง ใ น เ ชิ ง กายภาพและความเข้ า ใจของ คนในสั ง คม แต่ ใ นเวลาต่ อ มา เมื่อเมืองถูกพอกคอนกรีตและ ตึ ก สู ง รู ร ะ บ า ย นั้ น ก็ อุ ด ตั น จนกลายเป็นเมืองที่ไม่มีอากาศ หายใจ

28 aug 2017

porous CiTy neTwork

LeT The CiTy BreaThe

ปฏิบตั กิ ารเมืองพรุน (Porous City Network) เป็นโปรเจ็กต์ การช่วยเหลือเมืองทีช่ ว่ ยเติมเต็มองค์ความรูเ้ รือ่ งสิง่ แวดล้อม ในด้านสถาปัตย์ให้คนทัว่ ไปเข้าใจได้งา่ ยขึน้ ภูมสิ ถาปนิกสาว จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดร่วมมือกับกลุ่มภูมิสถาปนิก และบุคลากรอีกหลายวิชาชีพช่วยกันผลักดันการดีไซน์พนื้ ที่ สีเขียวให้ตรงกับความต้องการของผู้คน “พืน้ ทีส่ เี ขียวไม่ใช่แค่การปลูกต้นไม้ สร้างสวนสาธารณะ แต่ตอ้ งเป็นการท�าพืน้ ทีเ่ มืองให้เอือ้ ต่อคนแก่และเด็กเข้ามาใช้ ภูมสิ ถาปนิกต้องเป็นมากกว่าแค่นกั ออกแบบ แต่ตอ้ งน�าสิง่ ทีอ่ อกแบบมาอธิบายให้เข้าใจในเชิงสังคม เชิงสิง่ แวดล้อมด้วย” วิถีชีวิตบริโภคนิยมที่เราเคยชินถึงแม้จะเป็นเรื่อง เล็กๆ แต่ส่งผลต่อทั้งระบบนิเวศ และความจริงที่โหดร้าย หน่อยๆ คือมนุษย์จะเพิ่มจ�านวนขึ้นอีกเรื่อยๆ การศึกษา แบบเดิมๆ หรือแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจทีไ่ ม่คดิ ถึงชีวติ ของเมืองก็ไม่นา่ จะตอบโจทย์ของการใช้ชวี ติ ทีด่ ใี นอีกหลาย ปีข้างหน้า “เราจะเปลี่ ย นให้ นั ก พั ฒ นามาคิ ด แบบนั ก สังคมสงเคราะห์ไม่ได้ แต่เราต้องบอกว่าโครงการนี้จะเพิ่ม ก�าไรให้ธรุ กิจคุณ แล้วคุณยังได้พนื้ ทีส่ เี ขียวเพิม่ อีก ไม่มใี คร ปฏิเสธสภาพแวดล้อมที่ดีถูกไหม ไม่มีใครปฏิเสธอากาศ บริสุทธิ์หรือเมืองที่ยืดหยุ่นกว่านี้ เราต้องเป็นสังคมที่ลด ความโลภในมุมมองของตัวเองลง แต่เพิ่มความโลภในเชิง สังคมภาพรวมว่าสิ่งใดที่เราต้องการจริงๆ”

“กทม. เป็นเมืองทีเ่ กิดขึน้ ก่อน ผังเมืองมาทีหลังมากๆ แล้วโฟกัสก็ยังเป็นเรื่องการพัฒนาแบบหยาบมากๆ อีก เราไม่รู้เลยว่าพื้นที่สีแดงอยู่ตรงไหน สร้างตึกได้เท่าไหร่ เพราะเหมือนกับว่าเราโฟกัสแต่ประโยชน์ทจี่ ะได้จากผังเมือง ในเชิงธุรกิจหรือการพัฒนามากกว่าการที่จะคิดว่าเมือง จะไหวไหม อยู่รอดไหม อย่างกรุงเทพฯ เป็นเมืองสามน�า้ น�้าทะเลหนุน น�้าป่าไหลหลากลงมาก็ไม่รู้จะท่วมไหม แล้ว ถ้าเราไม่ทา� ตัวพรุนน�า้ ในเชิงสังคมแล้วเราอยูก่ บั เมืองนีไ้ ม่ได้ เพราะเมื อ งเป็ น อย่ า งไร คนในเมื อ งก็ จ ะเป็ น อย่ า งนั้ น ถ้าเมืองหายใจไม่ออก เราก็จะหายใจไม่ออก” เราถามอาจารย์โต้งๆ ตรงๆ ว่า “กรุงเทพฯ นี่ยังไหว อยู่ไหม” “ต้ อ งไหวค่ ะ เพราะเป็ น ความหวั ง สุ ด ท้ า ยแล้ ว แต่การมองโลกในแง่ ร ้ า ยไปมั น ไม่ ไ ด้ ช ่ ว ยอะไรใครเลย ถ้าเรามีชวี ติ อยูโ่ ดยไม่ตงั้ ค�าถาม แล้วเรายอมให้สงิ่ แวดล้อม มันพาเราไปเรื่อยๆ ชีวิตเราก็ไม่ได้สูญสิ้นหรอก แต่ถามว่า คุณโอเคกับรถติด หรือคุณศิโรราบกับปัญหาที่มันเกิดขึ้น ทั้งๆ ที่เรามีเครื่องมือและคนที่เรียนมาพัฒนาเครื่องมือ ด้านกายภาพให้กับเมือง เราเชื่อว่ามันดีขึ้นได้เพราะเรายัง ท�าอยู่ และเชื่อว่าหลายๆ คนก็ยังท�าอยู่ในรูปแบบที่ตัวเอง ถนัดเช่นกัน”

กชกรมี ผ ลงานร่ ว มออกแบบอุ ท ยานจุ ฬ าฯ 100 ปี ที่ มุ่ ง แก้ ไ ขปั ญ หาเมื อ งด้ ว ยการจั ด การทรั พ ยากรน�้ า อย่ า งคุ้ ม ค่ า พลิกมุมมองของคนกรุงเทพฯ ในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและรองรับสภาพอากาศแปรปรวนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต กชกร วรอาคม / สถาปนิกและอาจารย์พิเศษสาขาภูมิสถาปัตยกรรม


29

pa s s i o n under w aT e r ‘ชิ น ’ - ศิ ร ชั ย อรุ ณ รั ก ษ์ ติ ชั ย ช่ า งภาพ สารคดีเชิงสิ่งแวดล้อม ได้ไปเฝ้าปะการัง ออกไข่ เพื่ อ รอการปล่ อ ยเซลล์ สื บ พั น ธุ์ เพียงแค่ 10 นาที ภารกิจนี้ 1 ปีมีครั้งเดียว ภาพ Once in a Lifetime ได้รางวัลจาก Thailand Dive Expo Photo Competition ปี 2556 ซึ่งกลายเป็นฟองอากาศฟองใหญ่ ในเส้นทางช่างภาพสารคดีของเขาต่อมา

Take a deep BreaTh เริ่มจากเรื่องไหนก่อนดี เรื่องทรัพยากรสัตว์น�้าที่ลดลง เพราะการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ หรือปัญหาด้าน การสร้ า งท่ า เรื อ น�้า ลึ ก ที่ ส ร้ า งความเสี ย หายมหาศาลให้ กั บ ระบบนิเวศทางทะเล มีหลายเรื่องราวที่ชินอยากคุยกับเรา “ชีวิตต้องท�าเรื่องที่คุณอินจริงๆ โฟกัสจุดนั้นแล้วที่เหลือ จะตามมาเอง รู้ว่ามันท้าทายขนาดไหนที่จะเปลี่ยนแปลงสังคม ในเรื่องนี้ ผมไม่ได้มองว่าผมคนเดียวจะเปลี่ยนแปลงอะไรได้ แต่ผมจะท�าไปเรื่อยๆ เราก็ลิสต์เรื่องที่อยากเล่าไว้ เช่น เรื่อง ปากบารานี่ส�าคัญ ฉลามก็ต้องเล่า อันดามันก็ต้องเล่า ปัญหา พื้นที่ทางชายทะเลของไทยมีเยอะ” การได้ อ อกไปฝึ ก งานที่ เ กาะเต่ า ตั้ ง แต่ ส มั ย เรี ย นด้ า น ชีวการแพทย์อยู่ที่มหาวิทยาลัยมหิดล ภาคอินเตอร์ ท�าให้เขา เบนสายจากอาชีพแพทย์มาเป็นงานอนุรักษ์ เพราะช่วงนั้น ศึกษาเรือ่ งปะการังแล้วเห็นการเปลีย่ นแปลงระบบนิเวศทีร่ นุ แรง “ถ่ายรูปนี่เป็นส่วนหนึ่ง ที่เหลือคือการจัดการเพื่อที่จะไป ถึงพื้นที่นั้นให้ได้ มันไม่ใช่งานของผมคนเดียว งานที่ออกมา คือความพยายามของคนหลายคน ชุมชน คนที่ช่วยสนับสนุน เงินทุน ชาวเขา ทุกอย่างเป็นความพยายามของหลายๆ คนที่ ออกมาได้เป็นงานหนึ่งชิ้น เราเป็นพาร์ตเนอร์ร่วมอุดมการณ์กัน ยิง่ มีคนท�ามากขึน้ ผมก็ยงิ่ ดีใจ มาท�าให้พนื้ ทีส่ อื่ ขยายเต็มไปด้วย”

a LiFe underwaTer Speaker คนล่าสุดของเวที TEDxBangkok 2560 บอกว่า ข้างใต้น�้ามันไม่อันตรายหรอก อาจจะมีสภาพที่ไม่ปกติไปบ้าง แต่งานของเขาคือการท�าตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ สนุกกับงาน วิจยั มากมาย และการได้ลงพืน้ ทีจ่ ริงเป็นสิง่ ทีเ่ ติมพลังให้กบั ชีวติ “เราต้องเก็บเรือ่ งราวหลายๆ มุมทีเ่ กีย่ วกับคน สิง่ แวดล้อม ชุมชน แล้วค่อยมานั่งดีไซน์ว่าอะไรจะเป็นตัวแทนเรื่องเหล่านี้ ได้ดที สี่ ดุ คิดภาพในหัวว่าต้องมีสว่ นประกอบอะไรในภาพนัน้ บ้าง ที่ จ ะเชื่ อ มโยงกั น เพราะหั ว ใจหลั ก ของ photo journalism documentary คือส่วนประกอบที่มาร้อยเรียงในการประกอบเป็น ภาพภาพเดียวที่จะเชื่อมโยงเรื่องราว” “รู้สึกยังไงกับงานของตัวเองตอนนี้” เราเอ่ยถาม และเขา ตอบมาสั้นๆ ด้วยความมั่นใจ “มันคือความสุขของผมครับ เป็นอาชีพที่ดีของผม” ชินก�าลังท�าโปรเจ็กต์ Invasive alien species ร่วมกับ ดร. นณณ์ ผาณิตวงศ์ ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ Siamensis.org และปัจจุบัน รับงานถ่ายรูปเชิงอนุรักษ์จากองค์กรต่างประเทศที่หลากหลาย ศิรชัย อรุณรักษ์ติชัย / ช่างภาพสารคดีเชิงสิ่งแวดล้อม


a day bulletin

30

ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

i T Ta k e s o n Ly yo u r L eg s a n d a B i k e

issue 501

ในเมืองที่มีแต่ฝุ่นควัน เราก�าลัง โตไปด้วยกันกับมลภาวะ ‘ซัน’ ศิ ร ะ ลี ปิ พั ฒ นวิ ท ย์ เจ้ า หน้ า ที่ ฝ่ายกิจกรรมสิ่งแวดล้อมศึกษา มูลนิธิโลกสีเขียว เลือกที่จะปั่น จักรยานไปไหนมาไหนมาตั้งแต่ 12 ปีทแี่ ล้ว ในช่วงเวลาทีถ ่ า้ มีคน ออกมาปั่นจริงๆ จังๆ อาจจะเป็น ค น ป ร ะ ห ล า ด อ ยู่ นิ ด ห น่ อ ย และวันที่ได้ท�าโปรเจ็กต์ ‘นักสืบ สายลม’ ของมูลนิธิโลกสีเขียว เขาพบว่ า อากาศในกรุ ง เทพฯ แย่เพราะการจราจร และการแก้ ปั ญ หาจราจรที่ ท� า ได้ จ ริ ง คื อ การออกไปปัน ่ เมือง ซันจึงเริม ่ หา วิ ธี ผ ลั ก ดั น ล้ อ ทั้ ง สองให้ เ ป็ น ที่ มองเห็นมากขึ้น

28 aug 2017

CyCLing inTo The air

Bangkok, CiTy oF Bike?

ถ้าเป็นเมื่อสิบกว่าปีที่แล้ว การเห็นจักรยานคันหนึ่ง บนถนนจะเป็นเรื่องประหลาดอย่างมาก ถือเป็นคนบ้า หน่อยๆ แต่ซนั ก็ผา่ นจุดนัน้ มาแล้วและผ่านมาได้ดี วาร์ปมา ยุ ค นี้ ที่ ก ารขี่ พ าหนะสองล้ อ เป็ น ที่ ย อมรั บ มากขึ้ น บน ท้องถนน เริ่มมีแคมเปญรณรงค์ การสร้างทางจักรยาน หรือแอพพลิเคชันปั่นเมือง แต่ปัญหาใหญ่ก็ยังคงอยู่ “ตอนนี้ธงการพัฒนาเรื่องจักรยานมันสะเปะสะปะ มาก ไม่มี master plan เลยท�าให้ทิศทางการพัฒนาการปั่น มั่วไปหมด ส่วนใหญ่ก็จะติดกับว่าต้องท�าแบบสกายเลน ที่สุวรรณภูมิ แต่แบบนั้นมันไม่สามารถใช้เดินทางไปไหน ได้เลย โอกาสที่จะลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จริงๆ น้อยมาก รัฐมุ่งแต่รณรงค์ Car Free Day แต่พอใครอยาก จะลุกขึ้นมาปั่นจริงๆ ก็เจอปัญหาเต็มไปหมด ไม่สะดวก ใช้ไม่ได้ แถมยังเจอข่าวอุบัติเหตุรถชนจักรยานอีก” หรือเป็นเพราะทางจักรยานทีท่ า� ออกมาก็ไม่เชือ่ มต่อ กันด้วย “นั่ น ก็ เ รื่ อ งหนึ่ ง จริ ง ๆ เราไม่ อ ยากเรี ย กว่ า ทาง จักรยาน ควรจะเรียกว่าระบบจักรยาน เพราะมีแค่ทางปั่น ไม่ ไ ด้ มั น ต้ อ งมี จุ ด จอด สั ญ ญาณจราจร ทางเชื่ อ ม ห้องอาบน�้า สถานที่เช่ายืม สิ่งเหล่านี้จะต้องถูกเอามาคิด พร้ อ มๆ กั น ภาคประชาชนขยั บ กั น มาไกลมากแล้ ว แต่ สิ่ ง ที่ มั น ไม่ เ ปลี่ ย นและไม่ ข ยั บ เลยคื อ ด้ า นกติ ก าที่ ภาครัฐต้องแก้ไข”

เรานึ ก ภาพอั ม สเตอร์ ดั ม ที่ มี จั ก รยานจอดกั น เป็ น พันๆ คัน ระบบรถราง รถบัส รถยนต์ที่อยู่ร่วมกันโดยสันติ และทีส่ า� คัญคือนักปัน่ แต่งตัวกันชิคมาก เสือ้ โค้ตโอต์กตู รู ก์ ม็ ี ส้นสูงก็มา ตัดภาพมาไทยที่ทุกคนต้องมีหมวก แว่นกันฝุ่น และชุดที่เหมาะสมในการปั่นจักรยาน แล้ววี่แววในการเป็น เมืองจักรยานนั้นยังมีไหม “เราต้องไม่ตั้งธงว่ากรุงเทพฯ จะเป็นเมืองจักรยาน เพราะมันท�าให้สบั สน ทุกคนจะเข้าใจว่า อ้าว ทุกคนต้องปัน่ จักรยานทั้งเมือง ซึ่งเราแค่ต้องการเมืองที่มันเป็นมิตรกับ การปั่นจักรยาน การเดินเท้า คนขับรถยนต์ได้ ไม่ใช่ว่าเขา ผิดบาปอะไร แต่ท�าให้เมืองมีระบบสาธารณูปโภคที่รองรับ การใช้งานด้วยจักรยานโดยไม่เสียวว่าวันนี้จะเอาชีวิตไปทิ้ง หรือเปล่า” ซันเสริมต่อว่า การปัน่ จักรยานมีโอกาสทีจ่ ะแก้ปญ ั หา อาชญากรรมและความเหลื่อมล�้า รวมถึงส่งเสริมเศรษฐกิจ ชุมชนในละแวกต่างๆ ด้วย “ท�ายังไงให้คนอืน่ ทีม่ องจักรยานเป็นเรือ่ งทีเ่ ป็นไปไม่ได้ ให้เขาเห็นว่ามันมีคณ ุ ค่าและทรงพลังในแง่ของการแก้ปญ ั หา เมือง ไม่ใช่แค่แก้ปัญหาจราจร สภาพอากาศ แต่แก้ปัญหา คุณภาพชีวิตของเมืองได้หลายมิติมากๆ เราจะต้องท�างาน ในเชิงวาทกรรมให้เขาได้เห็นว่ากลไกการเปลี่ยนสังคมด้วย จักรยานมันเป็นอย่างไร”

ซันมีโปรเจ็กต์แอพพลิเคชัน ‘ปั่นเมือง’ ที่ให้ข้อมูลพื้นฐานที่คนที่อยากจะปั่นจักรยานสัญจรในเมือง โดยรวบรวมข้อมูล เส้นทางมาจากคนที่ปั่นจักรยานจริง มียอดดาวน์โหลดปัจจุบันเกือบ 20,000 ครั้ง และมีคนใช้ประจ�ารายเดือน 500-600 คน ศิระ ลีปิพัฒนวิทย์ / เจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจกรรมสิ่งแวดล้อมศึกษา มูลนิธิโลกสีเขียว


31

Fa n Ta s T i C Birds and where To p r o T e C T Them ‘ต้น’ - อายุวัต เจียรวัฒนกนก เป็นคนชอบ ดู น กตั้ ง แต่ เ ด็ ก ๆ และได้ ตั ด สิ น ใจมาเป็ น คนนกเต็มตัวในต� าแหน่ ง PR Manager ที่ ส มาคมอนุ รั ก ษ์ น กและธรรมชาติ แ ห่ ง ประเทศไทย (BCST) เพื่อท�าหน้าที่เผยแพร่ ข้อมูลการอนุรักษ์นก ปรับภาพลักษณ์ของ องค์กรผ่านแฟนเพจ และระดมทุนเพื่อช่วย สนับสนุนองค์กรอนุรก ั ษ์ผา่ นกลยุทธ์ตา่ งๆ

how The Birds BreaThe

“จริงๆ แล้วนกทั่วโลกมีเป็นหมื่นชนิด ซึ่งแต่ละชนิดจะมี ความสามารถในการอยู่ในพื้นที่ที่ไม่เหมือนกัน เช่น บางตัว สามารถอยู่ได้เฉพาะในป่าดิบ ทุ่งหญ้า พื้นที่ชายฝั่ง แต่ละตัวมี ความต้องการที่ต่างกัน เขาจะมีฟังก์ชันในธรรมชาติ มีหน้าที่ ที่ต้องท�าในระบบนิเวศนั้น เช่น ตัวนี้จะท�าหน้าที่เป็นผู้กระจาย เมล็ดพันธุ์ในป่า หรือควบคุมประชากรกุ้งปู ถ้าเกิดว่าพื้นที่ ที่เหมาะสมส�าหรับนกตัวนั้นมันหมดไปเลย เขาก็จะไม่สามารถ ปรับตัวได้และสูญพันธุ์ไปในที่สุด” หลายคนคงนึกไม่ถึงว่าการคงอยู่ของนกแต่ละสายพันธุ์ เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมแค่ไหน “คนเมืองอาจจะรูส้ กึ ไม่เกีย่ วข้องเท่าไหร่ แต่ยงิ่ เวลาผ่านไป ทุกวันนี้คนเริ่มรู้สึกว่ามันเป็นเรื่องใกล้ตัวมากขึ้นเรื่อยๆ คนเริ่ม เห็ น แล้ ว ว่ า มี อ ะไรผิ ด ปกติ กั บ โลกของเรา ซึ่ ง เป็ น ผลพวง มาจากความไม่สมดุลในระบบนิเวศ ถ้าตัวแปรหนึ่งในระบบ ไม่ท�างานหรือหายไป ก็จะท�าให้ระบบรวน และส่งผลต่อมาถึง สภาพอากาศและผลกระทบต่างๆ ที่สร้างภัยพิบัติให้เกิดขึ้น”

Free as a Birdy

สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทยท�างาน หลักๆ 3 ด้าน คือส่งเสริมด้านส�านึกเชิงสิ่งแวดล้อมให้กับคน ทัว่ ไป ท�าโครงการเก็บข้อมูลเพือ่ งานวิจยั นก และอีกส่วนหนึง่ คือ โปรเจ็กต์อนุรักษ์พื้นที่ที่อยู่อาศัยของนก “สถานภาพของนกจะสะท้ อ นออกมาว่ า เรามี ป ั ญ หา อะไรกับสิ่งแวดล้อม เช่น นกบางชนิดลดน้อยลงหรือหายไป อาจจะแสดงให้เห็นว่าพื้นที่ตรงนั้นสภาพเสื่อมโทรมหรือว่าแย่ เราสามารถใช้นกเป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพด้านสิ่งแวดล้อมได้” แม้จะคลุกคลีกับการดูนกมาตั้งแต่เด็กๆ แต่ต้นก็ย�้าว่า เขาเองก็อาจจะไม่ใช่สายอนุรกั ษ์เต็มตัว แต่หน้าทีเ่ ขาคือควบคุม ความสมดุลของงานให้ส่งเสริมทุกอย่างแบบธรรมชาติ “อาจจะเป็นวิถีคนละแบบกับสมัยก่อนแล้ว ผู้ใหญ่ชอบ บ่นคนเจนวาย แต่คนเจนวายสามารถจะท�างานอนุรกั ษ์ทไี่ ม่คอ่ ย ท�าเงินได้มาก เพราะมีต้นทุนทางสังคมในระดับหนึ่งอยู่แล้ว ดังนัน้ เขาอาจจะอยากท�าเพราะมีคณ ุ ค่า ตอบโจทย์อะไรบางอย่าง ในจิตใจ เรามองว่าถ้าทุกคนสามารถเติบโตมาแล้วมีทางเลือก มากขึ้น สามารถท�างานอนุรักษ์ไปด้วย และคอยจุนเจือเลี้ยงชีพ เขาได้ไปด้วยก็น่าจะดี ไม่ต้อง all or nothing เสมอไป”

ต้นชอบศึกษาโดยการจดบันทึกและสเกตช์ภาพ เขาเดินทางไปศึกษาต่อด้านการพัฒนาทีย ่ ง ั่ ยืนทีป ่ ระเทศญีป ่ น ุ่ และประเทศเยอรมนี ในช่วงระหว่างปี 2551-2557 นอกจากนี้ยังเคยเข้าแข่งขันรายการ แฟนพันธุ์แท้ หัวข้อนกไทย ตอนอายุราวๆ 14 ปีอีกด้วย อายุวัต เจียรวัฒนกนก / PR Manager สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย


a day bulletin

SELECTED

32

เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ

02

03

01

04

06

05

10

07

08 09

issue 501

ONCE IN A WILD

28 aug 2017

อากาศบริ สุ ท ธิ์ ส ดชื่ น ต้ น ไม้ สี เ ขี ย วสู ง ใหญ่ และหมอกจางๆ ในตอนเช้า คือบรรยากาศสุดพิเศษในทุกครัง ้ ทีไ่ ด้ออกไปตัง ้ แคมป์ ท่ามกลางธรรมชาติ เราจึงชวนคุณมาแพ็กกระเป๋าใบเก่งพร้อม อุปกรณ์ส�าหรับเดินป่าที่มีคุณภาพ ทนทาน และมีสไตล์ ซึ่งจะท�า ให้ ท ริ ป สุ ด แอดเวนเจอร์ ข องคุ ณ สนุ ก กว่ า ที่ เ คยแน่ น อน

01 The North Face - Men’s Apex Bionic 2 Jacket ราคา 5,088 บาท 02 Columbia - Sportswear Bora Bora Booney ราคา 799 บาท 03 Oakley - Gauge 8 ราคา 5,100 บาท 04 Herschel - Little America Backpack ราคา 5,990 บาท

05 Columbia - Women’s Anytime Outdoor ราคา 1,490 บาท 06 NatureHike – Ultralight Sleeping Bag ราคา 2,190 บาท 07 KEEN - Clearwater CNX Sandal ราคา 3,850 บาท 08 Zojirushi - Cool Bottle SD-BB20 ราคา 2,300 บาท

09 Timberland - Summer Men’s Classic Oxford Waterproof Boots ราคา 7,790 บาท 10 The North Face - Mini Crevasse Backpack ราคา 3,550 บาท


่ เพือเป็ น การตอกยำ้า ความมุ่ง มั่นในการพั ฒ นาอย่ า งยั่งยื น ที่บริ ษัท กรุ ง เทพประกั น ภั ย จำ า กั ด (มหาชน) ้ ่ วยเหลือและส่งเสริมให้คนในสังคมมีชว ่ี ยงขึ ่ิ น ้ ดโครงการและกิจกรรมดีๆ เพือช่ ี ต ิ ความเป็นอยูท ่ ดี มีความตังใจจั ่ ้ ในครังนี ้ เราจะพาคุ ้ ่ งคม โดยเฉพาะอย่างยิงในด้ านของสุขอนามัย ดังนัน ณไปพบกับรายละเอียดของโครงการเพือสั ่ ษท ่ ต่างๆ ทีบริ ั กรุงเทพประกันภัย จำากัด (มหาชน) ไดร้ เิ ริมและสานต่ อมาตลอดระยะเวลา 70 ปี แห่งการดำาเนินงาน

Help for Heart

Healing Everywhere

Keep Breathing

Revive Stronger

โครงการสนับสนุนการสร้างตึก โรคหัวใจเพือ่ แผ่นดิน ทีโ่ รงพยาบาล สกลนคร จ.สกลนคร ซึ่งมีการมอบ เงินสนับสนุนการสร้างตึกโรคหัวใจ เพือ่ แผ่นดิน จำานวน 35,000,000 บาท เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพด้ า นการแพทย์ ในการรองรับผู้ป่วยโรคหัวใจในพื้นที่ จังหวัดสกลนคร และพื้นที่ใกล้เคียง ได้อย่างทั่วถึงมากขึ้น

น อ ก จ า ก นี้ บ ริ ษั ท ก รุ ง เท พ ประกันภัย ยั ง ได้ จั ด ตั้ ง โครงการ หน่ ว ยแพทย์ เคลื่ อ นที่ เพื่ อ ช่ ว ย เหลื อ ผู้ ป่ ว ยในถิ่ นทุ ร กั นดารที่ ข าด โอกาสในการเข้าถึงด้านการแพทย์ และสาธารณสุข โดยโครงการนีไ้ ด้รบั ความร่ ว มมื อ อย่ า งดี จ ากคณะ ผู้บริหารของบริษัทและคณะแพทย์/ พยาบาลจากโรงพยาบาลบำารุงราษฎร์ มาให้บริการทางการแพทย์ และมอบ สิง่ ของเครือ่ งใช้ทจี่ าำ เป็นให้แก่ผมู้ ารับ บริการอีกด้วย

ทุ ก ลมหายใจมี คุ ณ ค่ า เสมอ ด้วยเหตุน้ี บริษัทกรุงเทพประกันภัย จึงได้ริเริ่ม โครงการมอบเครื่องช่ ว ยหายใจให้ แ ก่ โ รงพยาบาล ทัว่ ประเทศ เพราะโรงพยาบาลหลายๆ แห่ ง ทั่ ว ประเทศยั ง คงขาดแคลน เครื่ อ งมื อ ทางการแพทย์ ท่ี สำ า คั ญ โดยเฉพาะเครื่ อ งช่ ว ยหายใจที่ มี ค วามจำ า เป็ น อย่ า งมากในวิ น าที ที่สำาคัญของการรักษาช่วยเหลือชีวิต ผู้ป่วย ซึ่งในปัจจุบัน บริษัทได้มอบ เครื่องช่วยหายใจไปแล้ว 23 เครื่อง และยังคงเดินหน้ามอบเครื่องช่วยหายใจให้แก่โรงพยาบาลทัว่ ทุกภูมภิ าค อย่างต่อเนือ่ งตลอดปี 2560

ไม่ เ พี ย งเท่ า นี้ บริ ษั ท กรุ ง เทพ ประกันภัย ยังเห็นความสำาคัญของ ผู้พิการ เพื่อให้เขาเหล่านี้สามารถ ใช้ชีวิตได้เช่นคนปกติและมีความสุข กั บ ครอบครั ว บริ ษั ท จึ ง ได้ ให้ ก าร สนั บ สนุ น มู ล นิ ธิศู น ย์ สิ ริ น ธร เพื่ อ การฟื้ น ฟู ส มรรถภาพทาง การแพทย์แห่งชาติ โดยมอบเงิน จำ า นวน 1 ล้ า นบาท ให้ แ ก่ มูล นิ ธิ ศู น ย์ สิ ริ น ธรฯ เพื่ อ ใช้ ใ นกิ จ กรรม การจั ด ทำ า อุ ป กรณ์ ก ายเที ย มและ อุ ป กรณ์ อ่ืน ๆ อาทิ รถเข็ น สำ า หรั บ ผู้พิการ อุปกรณ์ช่วยเดิน อุปกรณ์ เสริมข้อเท้า และเครื่องประคองหลัง เป็นต้น

ติดตามเรื่องราวกิจกรรมดีๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนให้แก่ สังคมของบริษัท กรุงเทพประกันภัย ครั้งต่อไปได้ในนิตยสาร a day BULLETIN หรือทาง www.bangkokinsurance.com #ให้ทุกวันคือการดูแล


a day bulletin

ConneCting the Dots

เรื่อง : วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

34

issue 501 28 AUG 2017

Profile : บ้านเดีย่ วหลังเก่าในซอยสุขม ุ วิท 36 เข้าไปแค่ไม่กร ี่ อ ้ ยเมตร เจ้าของก�าลังจะย้ายออกไปอยูต ่ า่ งจังหวัด ถูกครีเอทีฟโฆษณาหนุม ่ ใหญ่ซอ ื้ เพือ ่ สร้างอาคารหลังใหม่ให้กลายเป็นโรงงาน ผลิตไอเดียแจ่มๆ ปลูกฝังเด็กรุ่นใหม่ให้กล้าคิด กล้าท�า และลงมือท�างานตามความฝัน มีชีวิตเป็นตัวของตัวเอง ภายในปีหน้า นุวีร์ เลิศบรรณพงษ์ Head of Invention แห่ง Mindshare จะสร้างที่นี่ให้เป็น The Idea Factory โรงเรียนสอนชีวิตที่แท้จริง ให้ไอเดียและสร้างแรงบันดาลใจให้เด็กๆ วัยสิบกว่าขวบ รับสอนบทเรียนทุกอย่าง ตั้งแต่งานศิลปะไปจนถึงการเพาะพันธุ์ ปลากัดสวยงาม ส�าหรับเขาทุกงานล้วนสร้างสรรค์ได้ และทุกไอเดียสามารถน�าไปเป็นธุรกิจทีป ่ ระสบความส�าเร็จ ขอเพียงค้นพบความเป็นตัวของตัวเอง และลงมือท�างานทีร ่ ก ั ไปตลอดชีวต ิ


35

How to Find tHe RigHt

Business idea

ปลู ก ฝั ง ตั ้ ง แต่ เ ด็ ก ผมมี ค วามฝั น ตั้ ง แต่ ต อนหนุ ่ ม ๆ ยังไม่มเี งินแต่กม็ ใี จแล้ว คิดเรือ่ งนี้ มาตลอด ถ้าจะเปลีย่ นแปลงสังคม เราต้องแก้ตงั้ แต่เด็กๆ หาทางท�าให้ เด็กรุน่ ต่อไปค้นหาความเป็นตัวของ ตัวเองให้ได้ ไม่ตอ้ งไปรอให้พอ่ แม่ สอน ถ้าเขาอยากท�าอะไร เขาควรจะ ได้ทดลองท�าตัง้ แต่เด็กๆ ผมท�างาน นิตยสารแนวเลีย้ งลูกมานานหลายปี ได้คยุ กับหมอเด็กหลายท่าน ทุกคน พูดตรงกันว่าวัยเด็กเล็กส�าคัญทีส่ ดุ ถ้าเราต้องการจะพัฒนาศักยภาพ ของตัวเขาขึน้ มา ต้องท�าตัง้ แต่อายุ 7-10 ขวบ ตอน 4-5 ขวบเริม่ รูค้ วาม เขาก็เริ่มเรียนรู้โลกภายนอกได้เร็ว พออายุ 6-7 ขวบเขาจะมองหา ความเป็นตัวเอง แล้วตอน 7-10 ขวบ นี่แหละที่ส�าคัญ ถ้ามีอะไรเข้ามา ในชีวติ ช่วงนี้ เขาจะเปิดรับแบบเต็มๆ

ระบบการศึ ก ษา สังคมไทยยอมรับเฉพาะเด็กทีเ่ รียน เก่ง เด็กเรียนไม่เก่งคือเด็กไม่มี อนาคต ทั้งที่เด็กล้มเหลวนี่แหละ ทีน่ า่ จะมีศกั ยภาพไม่นอ้ ยไปกว่าใคร เพราะเขาเคยล้มมาแล้ว มีบทเรียน ก่อนใคร เด็กเรียนเก่งๆ บางทีขาด ประสบการณ์ชีวิต และผมพบว่า เด็กเรียนไม่เก่ง เมื่อมาท�างานใน ชีวติ จริง จะมีความสามารถสูงกว่า เอาตัวรอดได้ดกี ว่า ถ้าสังคมคือป่า เขาจะมีชวี ติ รอดได้ หาเลีย้ งตัวเองได้ เด็กเรียนไม่เก่งจ�านวนมหาศาล ตอนนี้จบออกมาพร้อมกับความรูส้ กึ ว่าตัวเองใช้ไม่ได้ เป็นคนห่วยๆ ผมอยากจะบอกว่ า เขานี่ แ หละ เจ๋งนะ ยิง่ ล้มเหลวมาหนักๆ เหมือน นักมวยทีเ่ คยโดนชกมา รูว้ ธิ ลี ม้ รูว้ ธิ ี รับหมัด

นั ก โฆษณา เราถูกผลิตมาจากระบบที่แข่งขัน วั ด กั น ด้ ว ยตั ว เลข ท� า ให้ เ รามี ความคิดแบบวัตถุนิยม สนใจแต่ เรือ่ งวัตถุภายนอก ทุกอย่างต้องมี อะไรครอบไว้ ถ้าเราปลูกฝังให้เด็ก สนใจเรือ่ งจิตใจภายในตัวเองบ้าง เขาจะสนใจเนื้อแท้ของสิ่งต่างๆ มากกว่าเปลือกทีห่ ม่ คลุมภายนอก เด็กใหม่เข้ามาท�างานก็อวดกันว่า ใส่เสือ้ ผ้ารองเท้าแบรนด์เนม แทนที่ จะท�างานกันให้ดี ในโซเชียลมีเดีย ก็มแี ต่การโชว์นนั่ โชว์นี่ แต่เฟซบุก๊ มี ป ระโยชน์ ส� า หรั บ นั ก โฆษณา เพราะเราจะได้ตามดูเทรนด์บริโภค ผลพวงของสิง่ ทีไ่ ด้รบั การปลูกฝังมา กลายเป็ น โครงสร้ า งสั ง คมการท�างาน แล้วก็มาออกเป็นเนือ้ หาใน โลกดิจติ อล นมใหญ่ๆ เซ็กซี่ ที่แชร์ กันกระหน�า่

The Idea FacTory

ทำ า ทั น ที ถ้าไม่ได้ท�าตอนนี้ก็จะค้างคาใจ ไปตลอดชีวิต ถ้าอายุ 50 กว่า ต้ อ งเกษี ย ณแล้ ว ไม่ มี เ รี่ ย วแรง ท�างาน ก็จะไม่มีโอกาสได้ท�าแล้ว คนหนุ่มสาวอยากท�าอะไรก็ขอให้ รี บ ลงมื อ ท� า ท� า แล้ ว ก็ อ าจจะ ไม่สา� เร็จ คุณต้องล้มเหลว ล้มให้ไว ล้มตั้งแต่อายุน้อยๆ เพื่อที่จะไม่ บาดเจ็บมาก และมีแรงพอจะลุก ขึ้นมาใหม่ ถ้าคุณรั้งรอไม่ทา� เสียที จนกระทั่งแก่ตัวไปแล้วจะเสียใจ พออายุห้าสิบปี คุณไม่มีโอกาส จะล้มเหลวอะไรแล้ว

ผมเรียกที่นี่ว่า The Idea Factory จะเปิดด�าเนินการภายในปีหน้านี้ แน่ น อน ผมอยากสอนเด็ ก วั ย ประมาณนี้ เพราะเขาเปิดรับได้มาก และได้เร็วที่สุด เขาจะได้ทดลอง ท�าสิง่ นัน้ สิง่ นี้ แล้วรูต้ วั ว่าเขาจะเป็น อะไร ปลูกฝังผ่านการท�างานฝีมอื วาดรูป เขียนหนังสือ เลีย้ งปลากัด ปลูกต้นไม้ หลังจากนัน้ ก็ใส่ความฝัน ทางธุรกิจเข้าไป งานทีเ่ รารักจะไม่ใช่ แค่งานอดิเรก มันต้องเป็นไปได้ ในทางธุรกิจ อย่างเด็กบางคนรัก การวาดรูป พอไปบอกพ่อแม่ว่า อยากเรียนวาดรูป จบไปหาเลีย้ งชีพ ไม่ได้หรอก แค่นเี้ ด็กก็จะหยุดฝันแล้ว เราต้องสอนพวกเขาใหม่ บอกเด็ก บอกพ่อแม่ ว่าเขาต้องหาตัวของ ตัวเอง ท�าสิง่ ทีร่ กั และหาประโยชน์ จากงานนัน้ ได้ดว้ ย นีเ่ ป็นเส้นทาง ชีวติ ส�าหรับเด็กรุน่ ต่อไป

อาจารย์ พ ิ เ ศษ ผมเป็นคอลัมนิสต์ด้านการตลาด แ ล ะ เ ป ็ น อ า จ า ร ย ์ พิ เ ศ ษ ใ น มหาวิทยาลัย ผมฝันว่าจะสร้าง หลั ก สู ต รที่ เ หมาะกั บ จิ ต ใจของ เด็ ก รุ ่ น ใหม่ เพราะเข้ า ใจดี ว ่ า การโฆษณาก็ คื อ การส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ ค นบริ โ ภค แต่ ใ นขณะ เดียวกันเราต้องมีความรับผิดชอบ ต ่ อ สั ง ค ม ด ้ ว ย วิ ธี คิ ด ข อ ง นักโฆษณา ส�าหรับผมไม่ได้เริ่ม จากการขายของ แต่ต้องเริ่มจาก ไอเดี ย ดี ๆ สั ก อย่ า งขึ้ น มาก่ อ น ถ้าเราเริ่มต้นจับจุดให้ถูก ผลงาน โฆษณาของเรานอกจากจะช่วย สนั บ สนุ น การขายของแล้ ว ก็ยังสามารถเปลี่ยนแปลงสังคม ไปในทางที่ดีขึ้นได้ด้วย

STR I P A D

วั ย เด็ ก ตอนเด็ ก ๆ ผมเรี ย นไม่ เ ก่ ง อยู่หลังห้องตลอด ถูกตราหน้าว่า เรียนห่วยแบบนี้ไม่มีทางประสบ ความส�าเร็จหรอก อยูห่ อ้ งโหล่สดุ ของชั้น และในห้องโหล่สุดผมก็ เป็นที่โหล่ของห้องอีก สอบผ่าน คือเรื่องสุดยอดในชีวิต สอบซ่อม คือ เรื่อ งปกติ จ� า ได้ ว ่ า วิช าที่ไ ด้ เกรดเอมี แ ค่ ส องวิ ช าคื อ ศิ ล ปะ และการเลี้ ย งปลาสวยงาม ผมเพิ่งมาเข้าใจตัวเองเมื่อโตเป็น ผู้ใหญ่ว่างานที่ผมท�าได้ดีคืองาน ที่ลงมือท�าจริงๆ ผมเรียนรู้ได้ดี จากการลงมือท�าจริง ไม่ใช่แค่ การคิดในใจ ผมจึงท�าวิชาเลี้ยง ปลาทองได้ ดี ก ว่ า เพื่ อ นคนอื่ น ซึ่ ง เด็ ก แต่ ล ะคนก็ มี วิ ธีเ รี ย นรู ้ ที่แตกต่างกัน


a day bulletin

Bulletin Board

36

อัพเดตแวดวงข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจในรอบสัปดาห์

Formula M อาหารเสริ ม ไลฟ์ ส ไตล์ เพื่อคนท�างานโดยเฉพาะ ฟอร์มูล่าเอ็ม อาหารเสริมไลฟ์สไตล์แบรนด์แรก ของไทยที่ คิ ด ค้ น และวิ จั ย เพื่ อ ไลฟ์ ส ไตล์ ค นท� า งาน จากวิถีชีวิตที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การแข่งขัน รับมือ ทุกปัญหาในแต่ละวัน เผชิญความเครียด มีทั้งหมด 3 สูตร โดยแต่ละสูตรมีคุณสมบัติเฉพาะตัวในการบ�ารุง ปกป้อง และฟืน้ ฟู แบบครบถ้วน หมดยุคกินอาหารเสริม ธรรมดาหลายตัว ให้คุณได้ใช้ชีวิตในแบบที่ต้องการ รั บ รองมาตรฐานการผลิ ต สากล GMP ผ่ า น อย. พร้ อ มเทคโนโลยี ล�้ า สมั ย จากฟิ น แลนด์ แ ละเยอรมนี มีจ�าหน่ายที่ www.formulam.co.th

issue 501 28 AUG 2017

OTOPTHAI.SHOP แอพฯ เดียว ดาวน์ โ หลดแล้ ว ช้ อ ปสิ น ค้ า OTOP ได้เลย

เฉลิ ม ทศวรรษ พระราชป ณิ ธ า น ส า น ฝั น ศิ ล ป์ นวมินทรามหาราชินจี ก ั รีพภ ิ พ

BeTrend Read Town 2017 งานหนังสือคุณภาพ ครบทุกไลฟ์สไตล์คนรุน ่ ใหม่

DNCE, Sekai no Owari และ gnash กั บ สุ ด ยอด ความมันในงาน ‘ซาวนด์บอ็ กซ์’

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ขอเชิญผู้สนใจดาวน์โหลด แอพพลิ เ คชั น ‘OTOPTHAI.SHOP’ รวบรวมสินค้า OTOP ทั่วประเทศไทย มากกว่ า 90,000 รายการ ให้ เ ลื อ ก ชมและช้อปได้ง่ายๆ เพียงท�ารายการ สัง่ ซือ้ และช�าระเงินแบบออนไลน์ แล้วรอ รับสินค้าจัดส่งถึงบ้าน บริการใหม่นี้ เพื่ อ แฟนพั น ธุ ์ แ ท้ OTOP สนั บ สนุ น การกระจายรายได้ สู ่ ชุ ม ชน สร้ า ง เศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็งและยั่งยืน

โรงแรมแกรนด์ เมอร์ เ คี ย ว กรุงเทพ ฟอร์จูน ร่วมกับการท่องเที่ยว แห่ ง ประเทศไทย จั ด งานประกวด แกะสลั ก ผั ก ผลไม้ ผ สานงานใบตอง และดอกไม้สด ครัง้ ที่ 19 เฉลิมพระเกียรติ 85 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ภายใต้ แ นวคิ ด ‘ทุ ก ชิ้ น งานล้ ว นเป็ น สารสุ ด วิ จิ ต ร สื่ อ ความคิ ด จะสื บ สานซึ่ ง งานศิ ล ป์ ทีส่ มเด็จฯ ธ ทรงไว้ในแผ่นดิน คือเอกองค์ ศิลปินงานศิลป์ไทย’ โดยรางวัลชนะเลิศ ประเภทโรงแรมและบุคคลทั่วไป ได้แก่ Thai Culture Carving in Japan และ ประเภทสถาบั น การศึ ก ษา ได้ แ ก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

บริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จ�ากัด ร่วมกับผูผ้ ลิตหนังสือกว่า 100 ส�านักพิมพ์, บริษทั ไทยประกันชีวติ จ�ากัด (มหาชน) และบริษทั ไทยน�า้ ทิพย์ คอมเมอร์เชียล จ�ากัด จัดงาน ‘BeTrend Read Town 2017’ มหกรรมงานหนังสือคุณภาพเพื่อคนรัก การอ่านครัง้ ยิง่ ใหญ่ สานต่อเจตนารมณ์ ให้ ค นไทยเห็ น ถึ ง ความส� า คั ญ ของ การอ่ า น พร้ อ มโปรโมชั น พิ เ ศษและ กิจกรรมเปิดตัวหนังสือใหม่ กระทบไหล่ นั ก เขี ย นและศิ ล ปิ น คนดั ง มากมาย ระหว่างวันที่ 31 สิงหาคมถึง 8 กันยายน นี้ ณ แกรนด์ ฮอลล์ เดอะมอลล์ นครราชสี ม า รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม www.facebook.com/Betrend

ซาวนด์บ็อกซ์มอบประสบการณ์ ความสนุกให้กับคนรักเสียงเพลงอย่าง ต่อเนื่องเป็นประจ�าทุกปีด้วยงานดนตรี สุดคูลจากศิลปินคุณภาพระดับโลกซึ่ง จัดโดยไลฟ์ เนชั่น บีอีซี-เทโร ล่าสุด DNCE, Sekai no Owari และ gnash แท็กทีมบินตรงมาเสิรฟ์ สุดยอดความมัน ไปเมื่ อ วั น ที่ 10 สิ ง หาคมที่ ผ ่ า นมา ณ เมืองไทย จีเอ็มเอ็ม ไลฟ์ เฮาส์ ชัน้ 8 เซ็นทรัลเวิลด์ งานนีเ้ รียกได้วา่ ถูกอกถูกใจ สายปาร์ตที้ ไี่ ด้แดนซ์สนุกหลุดโลกไปกับ ความมันที่ทั้งสามวงน�ามามอบให้กัน แบบไม่ผดิ หวัง


CALENDAR

37

28

M 29

AP3 : FAlling

T 30

จิ๋วจิ๋ว

นิทรรศการ ‘AP3 : Falling’ นิ ท รรศการ ‘จิ๋ ว จิ๋ ว ’ โดย แอนดรูว์ สตาห์ล โ ด ย มุ นิ นฺ นั ก ว า ด และ ปั ญ ญา วิ จิ น - การ์ตนู อาชีพ น�าเสนอ ธนสาร น�าเสนอผลงาน ผลภาพวาดระบายสี ศิ ล ปะจากศิ ล ปิ น ที่ มี ที่ จุ ค วามน่ า รั ก น่ า ตี ความแตกต่างทั้งทาง ดู แ ล ้ ว อ า ร ม ณ ์ ดี เ ชื้ อ ช า ติ ศ า ส น า กลั บ บ้ า น วั น นี้ ถึ ง วัฒนธรรม และรูปแบบ 3 กั น ยายน 2560 การสร้างสรรค์ผลงาน ณ 10ml. Cafe Gallery ภายใต้แนวคิดเกีย่ วกับ ซ . โ ช ค ชัย ร ่ ว ม มิต ร การเฝ้าสังเกตความ- (เว้นวันจันทร์) เป็ น ไปต่ า งๆ ในโลก วันนีถ้ งึ 23 กันยายน 2560 ณ อาร์เดลเธิร์ดเพลส แกลเลอรี ซ.ทองหล่อ 10 ad K-Village adB501.pdf 1 21-Aug-17 9:14:59 AM (เว้นวันอาทิตย์)

W 31

TH 01

F 02

SA 03

S

‘ดิน น�้ำ ป่ำ ฟ้ำ’ แรงบันดำลใจจำกพ่อ

The PillowmAn

JAPAn eXPo in ThAilAnD 2017

เครื่องต้นวังหลวง สู่ครัวนอกวัง

mAngA hokusAi mAngA

นิทรรศการ ‘ ‘ดิน น�า้ ป่า ฟ้ า ’ แรงบั น ดาลใจ จากพ่อ’ น�าเสนอ 90 ผลงานจาก 45 ศิลปิน ซึง่ ตีความเพือ่ การศึกษา สืบสาน ส่งมอบพระราชปณิ ธ านของในหลวง รั ช ก า ล ที่ 9 แ ล ะ สร้างสรรค์แรงบันดาลใจ ให้แก่พสกนิกรของท่าน ให้ ค งอยู ่ อ ย่ า งยั่ ง ยื น วันนีถ้ งึ 12 พฤศจิกายน 2560 ณ ชัน้ 7 BACC (เว้นวันจันทร์)

ละครเวที ‘The Pil owman’ เมือ่ คาทัวเรียน นักเขียน ถู ก ต� า รวจจั บ ตั ว มา ส อ บ ส ว น เ พื่ อ จ ะ คลี่ ค ลายคดี ส� า คั ญ ที่ อ า จ เ กี่ ย ว ข ้ อ ง กั บ พิ ล โล่ แ มน มนุ ษ ย์ หมอนยิม้ แฉ่ง ตัวละคร ใ น เ รื่ อ ง สั้ น ข อ ง คาทัวเรียน ชมฟรี วันนี้ ถึง 2 กันยายน 2560 ณ ศูนย์ศลิ ปะการละคร สดใส พั น ธุ ม โกมล ติดตามรอบการแสดง ได้ที่ Ticketmelon.com

ม ห ก ร ร ม ที่ จ ะ เ ป ็ น ส ะ พ า น เ ชื่ อ ม ต ่ อ ประเทศไทยและ ป ร ะ เ ท ศ ญี่ ปุ ่ น ใ น ทุกด้าน ทั้งเทคโนโลยี ศิ ล ปะ วั ฒ นธรรม อาหาร ความบันเทิง การท่ อ งเที่ ย ว ฯลฯ ‘Japan Expo in Thailand 2017’ วันนีถ้ งึ 3 กันยายน 2 5 6 0 ณ ชั้ น 5 สยามพารากอน รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.facebook.com/ japanexpo.th

นิทรรศการ ‘เครือ่ งต้น วังหลวง สูค่ รัวนอกวัง’ จั ด แ ส ด ง เ ม นู พ ร ะ กระยาหาร ชุดภาชนะ เครื่ อ งเสวย รวมถึ ง เรื่ อ งราวที่ น ่ า สนใจ เกี่ ย วกั บ เครื่ อ งต้ น วั ง หลวง เพื่ อ ความรู ้ ความเข้าใจเรือ่ งราวพระกระยาหารในตลอดช่วง พระชนม์ชีพพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าอยูห่ วั วันนีถ้ งึ 30 พฤศจิกายน 2560 ณ พิพิธ ภัณ ฑ์ พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั

นิทรรศการการส�ารวจ ต้นก�าเนิดการ์ตนู ญีป่ นุ่ ‘Manga Hokusai Manga’ โดยหลากศิ ล ปิ น ชาว ญีป่ นุ่ ใช้มมุ มองการ์ตนู ญี่ ปุ ่ น ร่ ว มสมั ย เพื่ อ ย้อนมองและเข้าถึงผล งานของโฮะคุไซ มังงะ โดยจะเน้นไปทีป่ ระเภท ผลงาน การใช้ ภ าพ เล่าเรือ่ ง และวัฒนธรรม การมีสว่ นร่วม วันนีถ้ งึ 22 กั น ยายน 2560 ณ หอนิทรรศการ g23 ม.ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ (เว้นวันจันทร์)


40

เรื่อง : ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ ภาพ : getty image

FOODIE BLACK TRUFFLE : PRiCE ABoUT 680-1,320$ / PoUnd

WHiTE TRUFFLE : PRiCE ABoUT 1,350-2,700$ / PoUnd ทรั ฟ เฟิ ล ขาวจะออก สี เ หลื อ งนิ ด ๆ ติ ด ดิ น ด�าๆ อีกหน่อย ให้กลิ่น ที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ แ ทน ด้ ว ยสี่ ค� า คื อ musky, garlicky, sulphurous และ funky พบได้ ใ น เขต Piedmont เมือง Alba ประเทศอิ ต าลี จะเก็ บ ได้ แ ค่ ช่ ว งเดื อ น ตุลาคมถึงพฤศจิกายน เท่านั้น

ท รั ฟ เ ฟิ ล ด� า ก ลิ่ น จ ะ อ่อนกว่าทรัฟเฟิลขาว แ ล ะ มี ร า ค า ถู ก ก ว่ า แหล่งที่พบคือฝรั่งเศส แ ล ะ ส เ ป น ห า ไ ด้ ใ น ฤดู ร้ อ นและฤดู ห นาว ซึ่ ง ในฤดู ร้ อ นเห็ ด จะมี กลิ่นแรงกว่าเห็ดที่เจอ ในฤดู ห นาว โดยเห็ ด ทรั ฟ เฟิ ล ด� า ที่ ไ ด้ จ าก เมืองเปรีเกอ ประเทศ ฝ รั่ ง เ ศ ส จ ะ ไ ด้ รั บ ความนิยมมากที่สุด

HUnGARiAn TRUFFLE : PRiCE ABoUT 130€ / KG

BLACK SUMMER TRUFFLE : PRiCE ABoUT 498-527$ / PoUnd

ทรัฟเฟิลฮังการี จะมี รสหวาน พบมากใน ป ร ะ เ ท ศ ฮั ง ก า รี ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ เ ติ บ โ ต ใกล้ ๆ รากของต้ น แบล็ ก โลคั ส ต์ ใ นป่ า robinia pseudoacacia ตัวยอดนิยม มี ชื่ อ ว่ า h o m o k i szarvasgomba มักน�าไปท�าขนมหวาน ไอศกรีม และเค้ก

ทรั ฟ เฟิ ล ด� า ฤดู ร้ อ น ด้ า น น อ ก จ ะ ข รุ ข ร ะ คล้ า ยเพชร ด้ า นในมี เส้ น ใยสี แ ดงน�้ า ตาล ตัดกับสีขาว มีกลิน ่ อาย ของป่ า รสชาติ ห วาน คล้ า ยผลไม้ เกิ ด กลิ่ น เ ฉ พ า ะ ต า ม แ ห ล่ ง ทีเ่ ติบโต อาทิ ใต้ตน ้ โอ๊ก ต้ น ฮ า ร์ เ ซ ล นั ต พ บ โดยมากที่ ส เปนและ อิตาลี

DIAMOND

OF THE KITCHEN

การค้นพบเสน่ห์ที่เย้ายวนของทรัฟเฟิลเกิดขึ้นในสมัยกรีกและโรมัน ตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 พวกเขาหลงใหลกลิ่นดินจางๆ และกลิ่นที่เป็น เอกลักษณ์ของเห็ด ทรัฟเฟิลกลายเป็นหนึ่งในเครื่องปรุงที่หายากและมีราคาสูงที่สุดในโลก เพราะเกิดใต้ดินใกล้ต้นไม้ใหญ่ เราจะไม่สามารถ พบได้ดว้ ยตัวเอง จึงต้องอาศัยหมูตวั เมียหรือสุนขั เพือ ่ ดมกลิน ่ หา และมีเฉพาะตามฤดูกาลเท่านัน ้ ในอดีตทรัฟเฟิลจะถูกเสิรฟ ์ ให้กบ ั เหล่าขุนนาง ชาวฝรั่งเศสและอิตาลี โดยพ่อครัวจะสไลซ์ ขูด สับให้ละเอียด และผสมลงไปในเมนูต่างๆ อาทิ โรยใส่ไข่ ใส่ในซอสเทอร์รีน เติมในพาสต้า และในอีกหลายๆ เมนูจนถึงทุกวันนี้

2 EARTHY DELIGHTS TRUFFLE BY Chef Alex Seidel

• Black Burgundy Truffle ทรัฟเฟิลด�าเบอร์กันดี กลิ่นและรสชาติคล้ายทรัฟเฟิลด�าที่เก็บในช่วงฤดูหนาว แต่รสชาติจะนุ่มนวลกว่า เชฟส่วนใหญ่จะมีความสุขกับการได้ปรุงทรัฟเฟิลชนิดนี้ นิยมใส่ในพาสต้า มันบด ไข่ และข้าว • honey Truffle เป็นทรัฟเฟิลทีเ่ มือ ่ เริม ่ ต้นจะให้กลิน ่ เห็ด ก่อนจะค่อยๆ กลายเป็นรสหวานคล้ายน�า้ ผึง ้ พบได้เฉพาะผืนดินใกล้แม่นา�้ ดานูป ประเทศฮังการี ส่วนใหญ่ใช้เติมในไอศกรีมซอร์เบต์ เค้ก และของหวานชนิดต่างๆ


a day bulletin

BREATHE IN

เรื่อง / ภาพ : พชร สูงเด่น

42

BREATHE IN : พชร สูงเด่น อาชีพ : นักศึกษาทุน Erasmus Mundus ด้านการศึกษาเพื่อการพัฒนา ก�าลังอยู่ในช่วงชีวิตที่ต้องวุ่นๆ สลับไปมา ระหว่างนั่งเขียนรายงานในห้องสมุด อบขนมในห้องครัว เรียนรู้ นอกห้องเรียนด้วยการเดินทางไปยังเมืองต่างๆ ในยุโรป และการนั่งเขียนบันทึกเรื่องราวทั้งหมดส่งมาให้ a day BULLETIN ที่ก�าลังจะน�ามาทยอยลงเป็นตอนๆ ทางออนไลน์ของเรา

“มันไม่ใช่เรื่องบังเอิญที่คุณได้มาอยู่ที่นี่” เอ็มมานูเอล บอร์ก, โฮสต์ชาวมอลทีส กล่าวไว้อย่างนั้น หลังจบบทสนทนาบนโต๊ะอาหารยามเช้าเกี่ยวกับความบังเอิญต่างๆ ที่พบเจอตั้งแต่เหยียบ แผ่นดินประเทศนี้ เอ็มมานูเอลบอกว่า การทีเ่ ราได้มาอยูท ่ บ ี่ า้ นหลังนี้ มีบทสนทนาเรือ ่ งนีก ้ ไ็ ม่ใช่เรือ ่ งบังเอิญ ทุกอย่างล้วนถูกจัดสรรแล้วในเวลาทีเ่ หมาะสม - ด้วยประสงค์ของพลังงานเบื้องบน ที่มีค�านามนิยามใช้เรียกขับขานให้เข้าใจตรงกันว่า ‘พระเจ้า’

issue 501 28 aug 2017

มันง่ายมากที่วาทกรรมเรื่องพระประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้าจะเข้าไปสื่อสารในใจมนุษย์อย่างเรา โดยเฉพาะ ในเวลาที่เคว้งคว้าง ความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นรวดเร็ว เสียจนมองทุกอย่างเป็นความว่างเปล่า การทีไ่ ด้รวู้ า่ มีอะไร บางอย่างยังคอยเฝ้ามองเราอยูบ่ างทีกเ็ ป็นการปลอบประโลม เป็นกิ่งไม้ให้เกาะในวันที่ว่ายไปในกระแสน�้าที่ไม่รู้ทวนไป ในทิศทางไหน ทว่า, ความบังเอิญนั้นดูท่าจะไม่ได้เกิดแค่กับเรา ตัวเรานั้นหาได้มีสิ่งใดพิเศษไปกว่าชีวิตอื่นไม่ หากศาสนา รากของความศรัทธานั้นแฝงตัวอยู่ในทุกอณูของชีวิตและ ความเป็นอยูใ่ นมอลตา ตัง้ แต่รายละเอียดของรูปปัน้ ริมถนน ทีล่ ว้ นเต็มไปด้วยช่อโรสแมรี พระแม่มารีอา มือจับประตูรปู ปัน้ ทางศาสนาหน้าประตูบ้าน - สัญลักษณ์กลายๆ ว่าศาสนา ปรากฏกายอยูใ่ นพืน้ ทีส่ าธารณะ เชือ่ มต่อกับการเข้าสูพ่ นื้ ที่ ส่วนตัวอย่างแยบยล - ไปจนถึงงานเฉลิมฉลองต่างๆ ก็ล้วน เป็นงานฉลองนักบุญประจ�าเมืองนั้นๆ ทั้งนั้น ธงชาติที่ปัก แต่ละเมืองนอกจากธงชาติมอลตาขาวแดง ธงสหภาพยุโรป ก็เห็นจะเป็นธงคริสเตียนไม้กางเขนนี่แหละที่ปักไว้ในที่สูง เคียงคู่กันไป หากเราพบวัดได้ตามทุกเมืองในประเทศไทย เราก็พบ โบสถ์ได้ทุกเมืองในมอลตาเช่นกัน แต่คนเราก็มักสนใจในสิ่งที่หายากเสมอ ในประเทศ ที่โบสถ์เก่าแก่สถาปัตยกรรมยุคบาโรกมีอยู่ทุกหัวมุมเมือง กลับกลายเป็น mosque หรือมัสยิดที่มีอยู่เพียงแห่งเดียว ที่ดึงดูดความสนใจ โดยเฉพาะเมื่อรู้ว่ามัสยิดแห่งนี้ไม่ได้ทา� หน้าที่เป็นศูนย์รวมศาสนาให้ ‘คนกลุ่มน้อย’ ที่มีอยู่เพียง สามพันกว่าคน (อีกทั้ง 2,500 คนนั้นก็เป็นคนที่มาจาก ประเทศมุสลิมอื่นๆ) ในประเทศที่มีประชากรอยู่ทั้งสิ้นเพียง 400,000 กว่าคนนี้ หากยังท�าหน้าที่เป็นโรงเรียนที่เปิดรับ นักเรียนทุกศาสนา - แม้วา่ ท้ายสุดแล้วจะมีแต่นกั เรียนมุสลิม ก็ตาม

ไม่รวู้ า่ เอ็มมานูเอล โฮสต์ชาวคริสเตียน จะมองว่าเป็น พระประสงค์ของพระเจ้าอยู่หรือไม่ ในความบังเอิญที่เรา ได้มาพบอิหม่าม และมีโอกาสได้พูดคุยกับอิหม่ามในคราว มาเยือนแบบปราศจากการนัดหมายนี้ ด้วยความที่มอสค์ แห่งนีค้ งไม่ใช่สถานทีท่ นี่ กั ท่องเทีย่ วในมอลตาจะมาเยือนนัก อิหม่ามเดินเข้ามาทักทายไถ่ถามเมื่อเห็นเรายืนชะเง้ออยู่ หน้าประตูทางเข้า พร้อมกล่าวเชิญชวนพาเดินดูรอบมอสค์ ที่พื้นที่ส่วนใหญ่ถูกใช้เป็นห้องเรียน หลังเห็นสายตาแห่ง ความสงสัยของผู้มาเยือน พูดจาไถ่ถามปกิณกะอยู่สักพัก ค�าถามที่อยากถามถึงค่อยๆ ออกจากปาก รวมถึงข้อสงสัย ที่ว่าท�าไมเป็น ‘interfaith school’ แล้วนักเรียนยังมีอยู่แค่ ศาสนาเดียว... “เพราะความกลัวมันลวงตา ‘dialogue’ เป็นเรือ่ งส�าคัญ ที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจ แต่ตราบใดที่ความกลัวลวงตา มันยังอยูต่ รงนัน้ มันก็ยากทีบ่ คุ คลทีม่ คี วามกลัวจะเปิดพืน้ ที่ ให้ dialogue นั้นเกิดขึ้น “ถ้าเราไม่รบั ฟัง เราก็ตดิ กับการเหมารวม การเหมารวม ที่มาจากการรับสารอย่างเดียว แต่ไม่ได้รับฟัง ข้าพเจ้าขอ ประกาศไว้ตรงนี้เลยว่า ข้าพเจ้าไม่ได้เป็นพวกเดียวกับ พวกสุดโต่ง ผู้ใดที่ก�าลังท�าร้ายศาสนาในนามของศาสนา พวกเขาไม่ได้เข้าใจในค�าสอนของอิสลาม พวกเขาก�าลัง ท� า ร้ า ยอิ ส ลามในขณะที่ เ ขาก� า ลั ง เอ่ ย นามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ นั้ น ออกมา” ค�าถามมากมาย บทสนทนาดูจะยืดยาวไปไกลได้ มากกว่านัน้ หากพืน้ ทีโ่ รงเรียนสามชัน้ ห้องเรียนไม่ถงึ 20 ห้อง ดูจะจ�ากัดชัว่ โมงพูดคุยตามพืน้ ทีท่ มี่ ี อิหม่ามหยุดลงทีป่ ระตู ทางออกทีเ่ ราเข้ามาแล้วกล่าวขอบคุณในการมาเยือนครัง้ นี้ ค�าขอบคุณที่ยิ่งท�าให้เราต้องโน้มตัวโค้งค�านับให้อ่อนลง มากเสียยิ่งไปกว่า ให้กับการเปิดพื้นที่ศรัทธาภายนอก และภายในที่อิหม่ามมีให้แก่ผู้มาเยือนชั่วคราว โดยเฉพาะ เมื่อคิดว่าช่วงนั้นเป็นช่วงรอมฎอน ถือศีลอด การที่อิหม่าม

ต้องเดินรับแขก แถมตอบค�าถามไปด้วยอีกนัน้ คงต้องอาศัย ใจทีอ่ ยากสือ่ สารกับเพือ่ นมนุษย์มากไปกว่าแรงทีม่ อี ยูจ่ า� กัด ในช่วงนี้จริงๆ ในมอลตา ถนนทุกสาย ประตูบ้านทุกประตู ดูจะมี สัญลักษณ์ที่สื่อถึงความเชื่อความศรัทธาของผู้คนอยู่ใน ทุ ก หนทุ ก แห่ ง รายละเอี ย ดเหล่ า นี้ ที่ ป ลุ ก อั ต ลั ก ษณ์ ทางศาสนาส�าหรับผูผ้ า่ นทาง - แม้กระทัง่ ในบุคคลทีป่ ระกาศ ว่าไม่มีศาสนานั้นเอง เอาเข้าจริงแล้วก็ยังเป็นความเชื่อ แขนงหนึ่ง ความต่างที่แสดงออกผ่านสัญลักษณ์ และ พิธีกรรม, หากหลักค�าสอนในข้อควรปฏิบัติที่พึงกระท�า ต่ อ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ แ ละต่ อ ตนเองนั้ น ช่ า งมี ค วามละม้ า ยคล้ายคลึงกันเมื่อได้ลองเปิดใจรับฟัง พลวัตความเหมือน และความต่างที่สะท้อนไปมาระหว่างสัญลักษณ์ที่พบเจอ กับบทสนทนาทีไ่ ด้ยนิ มันสะท้อนก้องไปมา - แรงสัน่ สะเทือน ภายนอกที่มันเริ่มสั่นสะเทือนไปสู่แนวความคิด ความเชื่อ กั บ อั ต ลั ก ษณ์ ท างศาสนาข้ า งในที่ ไ ม่ เ คยถู ก ตั้ ง ค� า ถาม เพียงเพราะมันเป็นอยูอ่ ย่างนัน้ จนเราเข้าใจไปเสียว่ามันเป็น อย่างนั้น หรือแม้กระทั่งว่า เรา ‘คือ’ สิ่งนั้น จากที่เคยคิดว่าศาสนาเป็นกรอบความคิดท�าให้เรา ยึดติดอยู่กับบางสิ่ง ความเชื่อบางอย่าง แต่เอาเข้าจริงแล้ว บางทีก็น่าอิจฉาพวกเขาเหล่านั้นผู้เปี่ยมไปด้วยศรัทธา ผู้ที่น้อมชีวิตให้อยู่ในพระประสงค์ของเบื้องบน เชื่อมั่นว่า ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วมีเหตุผลน�าไปสู่สิ่งที่ดีเสมอ เชื่อมั่น จนเป็นอิสระจากความกลัวใดๆ สงบจากค�าถามไร้คา� ตอบ ว่าเราเป็นใคร มาจากไหน อยู่ที่นี่ไปเพื่ออะไร และก�าลัง จะไปที่ไหน - ต่างจากผู้สงสัยที่ยังวกวนในค�าถามเหล่านั้น ต่อไป และไม่แน่ใจกับใดๆ ที่ผ่านมา หรือมันอาจไม่ใช่ความบังเอิญจริงๆ ทีเ่ ราได้มาอยูใ่ น มอลตา


43

เรื่อง / ภาพ : มิ่งขวัญ รัตนคช

BREATHE OUT

ทอดสายตาออกไปเบือ ้ งหน้า ทุง ่ หญ้าพลิว ้ ไหวอย่างเกียจคร้าน เป็นแนวตามสายลมเย็นทีพ ่ ด ั มาเป็นระลอก ทันใดนัน ้ เสียงฝีเท้ากุบกับดังแว่วมาแต่ไกล และใกล้เข้ามาทุกขณะ หญิงสาวผมสีฟางร่างทะมัดทะแมงปรากฏตัวขึน ้ ตรงเส้นขอบฟ้า เธอวิง่ กระหืดกระหอบ ในมือถือถังพลาสติกบรรจุอาหารสัตว์มาด้วย ใบหนึง่ ด้านหลังคือฝูงแกะนับร้อย น�าโดยแกะหนุม ่ จ่าฝูง วิง่ กวดประชิดตัวเธอพร้อมเอาหัวกระแทกถังใส่อาหารอย่างดุดน ั

“เปิดประตู!” เธอตะโกนเสียงดังลั่นทุ่ง เรารีบวิ่งไปคว้าประตูรั้วไม้ขนาดมหึมา ผลักมัน เปิดออกอย่างทุลักทุเล เสี้ยววินาทีต่อมา ถังใส่อาหาร ลอยลิ่วข้ามหัวเราเข้าไปในคอกไม้ พร้อมฝูงแกะหน้าตา หิวกระหายทีค่ วบตามเข้าไปติดๆ หญิงสาวผมสีฟางเดินมา พักหอบหายใจข้างๆ “สนุกเนอะ ว่าไหม” เธอถามพร้อมรอยยิ้มกว้าง เราพยักหน้าแทนค�าตอบ พูดอะไรไปเธอก็ไม่ได้ยิน เพราะวันนี้เธอไม่ได้ใส่เครื่องช่วยฟัง! 3 สัปดาห์สั้นๆ กับการใช้ชีวิตในฟาร์มแห่งหนึ่งทาง ตอนเหนือของประเทศสวีเดน ช่วยให้เราสัมผัสเส้นแบ่ง เบาบางตรงช่องว่างระหว่างความ ‘เงียบ’ และ ‘เหงา’ ได้อย่าง เข้าอกเข้าใจ เพราะหมูบ่ า้ นเล็กๆ In the middle of nowhere แห่งนี้ เป็นแหล่งรวมพลของผูพ้ กิ ารทางการได้ยนิ ชาวสวีดชิ รวมถึงโฮสต์ชาวไร่ทั้งสองคนของเรา, คิมและแพทริก แพทริกหูหนวกสนิทตั้งแต่เกิด เขาไม่เคยได้ยินเสียง ใดๆ บนโลกใบนี้ ไม่เคยรับรูว้ า่ แกะนับร้อยตัวทีเ่ ขาเลีย้ งไว้นนั้ ส่งเสียงร้องอย่างไร ส่วนคิมเริม่ สูญเสียการได้ยนิ เมือ่ เธออายุ 5 ขวบ ความผิดปกติทางการได้ยนิ ของเธออยูใ่ นระดับทีก่ ารใส่ เครือ่ งช่วยฟังสามารถยืดอายุขยั โลกแห่งสรรพเสียงรอบตัว ได้ แต่เวลาส่วนใหญ่ในหมู่บ้าน เธอเลือกทีจ่ ะปิดการรับฟัง ด้วยการไม่ใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เหล่านั้น และสัมผัส ความงดงามของธรรมชาติโดยรอบด้วยสองตาของเธอแทน เราเรียนรูภ้ าษามือส�าหรับบทสนทนาในชีวติ ประจ�าวัน ไว้คุยกับแพทริก เป็นประโยคง่ายๆ เช่น “อรุณสวัสดิ์ แพทริก คุณพร้อมส�าหรับมือเช้าหรือยัง” “ช่วยส่งเนยแข็งตรงนัน้ มาให้ฉนั ที และอย่าลืมส่งมีด มาด้วยล่ะ” “อย่าลืมปิดประตูคอกแกะนะ พระอาทิตย์กา� ลังจะ ตกดิน”

แม้ว่าเราจะไม่สามารถสนทนากับแพทริกได้อย่าง ลืน่ ไหลนัก ด้วยอุปสรรคทางภาษา แต่ใช่วา่ เราจะไม่มี Deep Talks กันเสียเมื่อไหร่ แทบทุกมื้อค�า่ หลังจากเหน็ดเหนื่อย กับงานในฟาร์มมาทัง้ วัน สมาชิกในบ้านจะมานัง่ ล้อมวงกิน อาหารค�่าง่ายๆ ซึ่งท�าจากวัตถุดิบในฟาร์ม แลกเปลี่ยน เรื่องราวในชีวิตระหว่างกันด้วย 2 ภาษา นั่นคือภาษาพูด และภาษามือ หลายครั้งที่บทสนทนาพาเราไปไกลถึงเรื่อง ความเชื่อ จิตวิญญาณ และตัวตน จนเราอดแปลกใจไม่ได้ ว่าการขยับมือไปมาของแพทริกสามารถสือ่ สารเป็นถ้อยค�า ได้มากมายขนาดนี้เลยหรือ Sign Language นั้นมีภาษามือสากล และภาษามือ ท้องถิน่ ทีผ่ พู้ กิ ารทางการได้ยนิ แต่ละประเทศใช้ เช่นเดียวกับ ภาษาพูด ผูใ้ ช้ภาษามือสามารถบอกได้วา่ คนนีเ้ ป็นชาวต่างชาติ ทีพ่ ยายามใช้ ‘ภาษามือแบบสวีดชิ ’ จากการดูรปู แบบการใช้ มือสะกดค�าและเรียงประโยค นอกจากนี้สวีเดนยังเป็น ประเทศแรกในโลกที่ได้รับสิทธิตามกฎหมายคนหูหนวก ให้มีการศึกษาระดับสูงด้วยภาษามืออีกด้วย คิมบอกเรา อย่างกระตือรือร้น ในบ่ายวันหนึง่ ทีเ่ ทเรซา เพือ่ นบ้านสาวสวย มาร่วมกินของว่างในสวน พร้อมสามีชาวต่างชาติของเธอ เทเรซาและจอห์น สองสามีภรรยาชาวไร่ ทัง้ คูพ่ บกัน หลายปีกอ่ นตอนทีเ่ ทเรซาร่วมกับ ‘Pink Caravan’ คณะเดินทาง อันโด่งดังของประเทศสวีเดน ซึ่งก่อตั้งตั้งแต่ปี 1969 เธอ ท่องโลกไปไกลถึงทวีปแอฟริกา และตัดสินใจเป็นอาสาสมัคร สอนภาษามือสากลให้กบั ผูพ้ กิ ารทางการได้ยนิ ทีป่ ระเทศกานา และทีน่ นั่ เธอได้พบรักกับหนึง่ ในนักเรียนหูหนวกชาวแอฟริกนั ของเธอ ไม่กี่ปีต่อมาทั้งคู่ย้ายกลับมาตั้งถิ่นฐาน และสร้าง ครอบครัวเล็กๆ ใช้ชีวิตอย่างเรียบง่ายที่บ้านเกิดของเธอ พวกเขามีลูกสาวด้วยกัน 1 คน ในปี 2014 ที่เราได้ พบกับครอบครัวที่แสนอบอุ่นครอบครัวนี้ หนูน้อยอายุ 8 เดือน สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงดีทุกอย่าง มีพัฒนาการ

ตามวัย สิ่งที่ไม่ปกติและน่าหวั่นใจคือ เทเรซาและสามี หูหนวกสนิท ดังนั้น ทั้งคู่จึงต้องหมั่นพาลูกสาวมาเล่น ที่บ้านเราบ่อยๆ เพื่อให้เรียนรู้ทักษะการพูด และแน่นอน ตลอด 3 สัปดาห์สั้นๆ ที่เราอยู่ในหมู่บ้านเล็กๆ แห่งนั้น หนูน้อยได้หัดพูดภาษาไทยด้วย! เหมือนอย่างที่ มหาตมะ คานธี กล่าวไว้ ‘True love is boundless like the ocean and, swelling within one, spreads itself out and, crossing all boundaries and frontiers, envelops the whole world.’ ความรักนัน้ ไร้พรมแดนเฉกเช่น มหาสมุทร... เทเรซาและจอห์นพบกัน ณ ที่ไกลแสนไกล ซึ่งความรักอันยิ่งใหญ่ เอ่ยด้วยหัวใจไม่ใช่คา� พูด 3 ปีตอ่ มา คลิปวิดโี อคลิปหนึง่ ถูกส่งมาจากสแกนดิเนเวีย ท�าให้เราหวนคิดถึงช่วงเวลา 3 สัปดาห์สั้นๆ นั้นอีกครั้ง หมู ่ บ ้ า นเล็ ก ๆ ที่ ค วามเงี ย บงั น แผ่ ก ว้ า งไกลสุ ด สายตา ทุ่งหญ้าพลิ้วไหวอย่างเกียจคร้าน เสียงฝีเท้ากุบกับของ ฝูงแกะ และความเรียบง่ายของการใช้ชีวิตแบบพอเพียง ในคลิปวิดีโอนั้นเทเรซาและจอห์นยิ้มร่า มีคิมกับแพทริก ยืนอยู่ลิบๆ ด้านหลัง เด็กหญิงลูกครึ่งหน้าตาน่ารักน่าชัง พูดเจือ้ ยแจ้ว เธอได้ผมหยิกจากพ่อและดวงตาสีนา�้ ตาลอ่อน จากแม่ ‘ความรัก’ คือเส้นแบ่งเบาบางที่ขีดคั่นตรงกลาง ระหว่างความ ‘เงียบ’ และ ‘เหงา’ ที่เราค้นพบ

BREATHE OUT : มิ่งขวัญ รัตนคช อาชีพ : กองบรรณาธิการนิตยสาร a day BULLETIN เด็กสถาปัตย์เจเนอเรชันวาย ผู้ผันตัวเองสู่แวดวงสื่อสารมวลชน สนใจเรื่องราวเกี่ยวกับงานออกแบบเชิงพฤติกรรมมนุษย์ และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ สนุกกับการออกเดินทางท่องโลกกว้าง เชื่อว่าทุกเรื่องราวบนโลกสามารถถ่ายทอดผ่านตัวหนังสือได้

IN THE MIDDLE OF NOWHERE


a day bulletin

,

Editor s NotE

44

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

A l l Yo u C A n E At

issue 501 28 aug 2017

บนถนนเลี่ยงเมืองระหว่างทางกลับบ้าน มีร้านหมูกระทะและชาบูแบบบุฟเฟต์ ผุดขึ้นมาติดๆ กันอยู่ 3-4 ร้าน นี่ยังไม่นับรวมร้านอาหารที่อยู่ในตลาดนัดตรงมุมหัวถนน ซึ่งมีบางส่วนก็ขายแบบ บุฟเฟต์เหมือนกัน แถมในศูนย์การค้าใหญ่ฝั่งตรงข้ามกันนั้น ชั้นบนสุดก็ยังอุตส่าห์มี ร้านบุฟเฟต์กบั เขาด้วย จะแตกต่างก็แค่เมนู คือเป็นสุกบี้ ฟุ เฟต์บา้ ง พิซซ่าบุฟเฟต์บา้ ง ฯลฯ ลองนึกย้อนกลับไปตอนยังเป็นวัยรุ่น สมัยนั้นร้านบุฟเฟต์ยังมีไม่เยอะแบบนี้ ผมกับเพื่อนๆ ก็ชอบเข้าเหมือนกัน จ�าพวกร้านปิ้งย่างและพิซซ่าคือแหล่งนัดประจ�าของ พวกเรา พอถึงตอนนี้หันไปทางไหนก็มีแต่ร้านบุฟเฟต์ ผมเองพยายามหลีกเลี่ยง เพราะ รู้สึกว่าพออายุเยอะๆ แล้ว กินอาหารแต่ละมื้อได้น้อยลง การเข้าร้านแบบนี้จะไม่ค่อยคุ้ม หลายปีทผี่ า่ นมา ดูเหมือนว่าชีวติ ของเราถูกห้อมล้อมด้วยร้านอาหารบุฟเฟต์มากขึน้ เรื่อยๆ มันอาจจะไม่ใช่ภาพสะท้อนเรื่องปัญหาเศรษฐกิจในภาพรวม หรือสถานะหนี้สิน ในครั ว เรื อ นตลอดช่ ว งหลายปี ที่ ผ ่ า นมา เพราะราคาเหมาหั ว แต่ ล ะมื้ อ ก็ ไ ม่ ใ ช่ ถู ก ๆ แค่ร้านปิ้งย่างริมถนนก็คิดหัวละสองสามร้อยบาทขึ้นไป คนที่เข้ามาเป็นลูกค้าจึงไม่น่าจะ มีปัญหาเรื่องปากท้องหรือเงินๆ ทองๆ จริงๆ แล้วการเขียนถึงรสนิยมและวิถีการบริโภคของคนอื่นเป็นเรื่องสุ่มเสี่ยง ที่จะโดนด่ากลับมาว่ามายุ่งอะไรด้วย ผมแค่อยากจะตั้งข้อสังเกตว่า วัฒนธรรมบุฟเฟต์ สะท้อนให้เห็นอะไรมากกว่านัน้ มันคือความเปลีย่ นแปลงของความคิดและค่านิยมในสังคม เมื่อเศรษฐกิจทุนนิยมและระบบการผลิตแบบอุตสาหกรรมได้พัฒนามาจนถึง จุด สุด ยอด ท�าให้สินค้าราคาต�่าลง มีปริมาณมากขึ้น น�า มัน ออกมาวางโชว์อย่า ง ละลานตาในร้านรวง และเราต่างก็มีเสรีภาพในการเลือกอย่างอิสระเต็มที่ แต่น่าแปลก ที่เรากลับรู้สึกว่าไม่สามารถจะหาความสุขมาเติมเต็มภายในใจได้อีกเลย ยกตัวอย่างในวันหยุดสุดสัปดาห์ตอนต้นเดือน พอเงินเดือนเข้ามาเต็มกระเป๋า ผมและครอบครัวอยากไปกินอาหารนอกบ้านบ้าง โดยการเปรียบเทียบขนาดบรรจุของ กระเพาะกับจ�านวนเงินที่มีอยู่ในกระเป๋า เราจ�าเป็นต้องตัดสินใจเลือกสิ่งที่ดีที่สุดส�าหรับ ตัวเอง “กินไหนดี” ค�าถามแรกที่จะต้องสับสนวุ่นวายใจกับการเลือกร้าน... “กินอะไรดี” ค�าถามที่สองเมื่อนั่งลงที่โต๊ะแล้วเปิดไล่ดูเมนูแบบอะลาคาร์ต

แล้ ว เราก็ พ บว่ า ทางเลื อ กนั้ น ไม่ เ คยสร้ า งความพึ ง พอใจได้ ส มบู ร ณ์ เ ต็ ม เปี ่ ย ม เมนูที่เสิร์ฟบนโต๊ะข้างๆ นั้นน่ากินกว่าของเราเสมอ และเมนูอีกนับร้อยรายการที่เรา ไม่ได้สั่งก็ล้วนน่ากินกว่าทั้งนั้น เทียบกับในวันที่เรามีเงินจ�ากัด เวลาจ�ากัด และมีทางเลือกจ�ากัด อย่างวันท�างาน ระหว่างอาทิตย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงปลายๆ เดือนใกล้เงินหมด บางทีแค่บะหมี่ กึ่งส�าเร็จรูปหรืออาหารถุงที่เหลือค้างมาจากเมื่อวันก่อนก็สามารถให้ความอิ่มอร่อย และเติ ม เต็ ม ความต้ อ งการภายในได้ แ ล้ ว แต่ พ อเรามี ท างเลื อ กมากขึ้ น มากขึ้ น กลับพบว่าภายในใจนั้นขยายกว้างออกไปจนไม่สามารถเติมเต็มได้อีกเลย บุ ฟ เฟต์ คื อ ค� า ตอบของยุ ค สมั ย มั น คื อ ปลายทางของเสรี ภ าพในการบริ โ ภค ที่ระบบทุนนิยมหยิบยื่นให้ เมื่อผู้คนทนไม่ไหวกับทางเลือกมากมายละลานตา และเขา ไม่อยากจะรับผิดชอบต่อผลของการตัดสินใจของตัวเองอีกต่อไป เมื่อเข้าร้านบุฟเฟต์โดยยอมจ่ายเงินก้อนใหญ่ไปทีเดียว แล้วหลังจากนั้นก็สามารถ กินทุกอย่างที่นึกอยากกินมาตลอดสัปดาห์ ตลอดเดือนที่รู้สึกอัตคัดขัดสน จ�ากัดจ�าเขี่ย และตัดสินใจเลือกอะไรก็มีแต่ผิดๆ พลาดๆ ร้านบุฟเฟต์คือสรวงสวรรค์ภายในใจที่เรา ไม่ตอ้ งเลือก ไม่ตอ้ งตัดสินใจอะไรอีกแล้ว ทุกอย่างเป็นของเรา มันคือโอกาสในการปลดปล่อย และทวงคืนความสุขกลับมา มันคือการบริโภคที่ล้นเหลือขึ้นไปอีกขั้น ถ้าเมือ่ ทศวรรษก่อน ทุนนิยมและอุตสาหกรรมเคยเผาผลาญทรัพยากรโลกให้หมดไป อย่างรวดเร็วขนาดไหน มาถึงในทศวรรษนี้ บุฟเฟต์คืออีกขั้นของมัน ถ้ากะเพราหมูราดข้าวพร้อมไข่ดาวหนึ่งใบคือหนึ่งอิ่ม ลองนึกถึงเนื้อไก่ เนื้อหมู เนือ้ วัว กุง้ หอย ปู ปลา ถาดแล้วถาดเล่าทีเ่ ราสัง่ ไม่หยุดในร้านปิง้ ย่างหรือชาบู แล้วนึกไกล ไปถึงภาพภูเขาหัวโล้นที่ถูกแผ้วถางเพื่อใช้ปลูกพืชวัตถุดิบอาหารสัตว์ และอวนลากตาถี่ๆ กวาดต้อนท้องทะเลที่ไกลออกไป ลึกลงไป เพื่อเอาทุกสิ่งทุกอย่างใต้นั้นขึ้นมา ปัญหาของยุคสมัยไม่ได้อยูท่ คี่ วามหิวหรือความขาดแคลน เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และอุตสาหกรรมอาหาร พาเราออกไปให้ห่างไกลกับความหิวหรือขาดแคลนอะไรๆ เพียงแต่เราเหนือ่ ยล้าสุดจะทานทนกับการทีจ่ ะต้องตัดสินใจเลือกทุกเช้าค�่า ว่าไปกินไหนดี กินอะไรดี


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.