a day BULLETIN 502

Page 1

t w E N T Y

e

t

a

r

r

s

e

F U c k i n g

Y

f

A


02

ไคลี แมคโดนัลด์ ศิลปินชาวอเมริกัน ผู้ใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์งานศิลปะ

วงดนตรีจิตอาสา คณะเพลินอาสา ที่ยังคงความเฟี้ยวฟ้าวแม้ในวัยเกษียณ

ป๊อปคอร์นกับเรื่องราวในแง่มุมที่คุณอาจไม่เคยรู้

เมืองฮัมบูร์กและวัฒนธรรมการอารยะขัดขืนในทัศนะของ พชร สูงเด่น

ฉันอยู่ที่นั่น... ย้อนร�าลึกถึงเหตุการณ์วินาศกรรม ณ Boston Marathon

Choose Music. Choose Life. ของวุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ

ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

แบบ : FOO FIGHTERS

103 BED AND BREWS ร้านกาแฟและห้องพักส่วนตัวสไตล์ร่วมสมัยในย่านเยาวราช

BEHIND THE COVER

CONTENTS

พูดทุกเรื่องเกี่ยวกับ Foo Fighters วงดนตรีร็อกระดับต�านาน

t w E N T Y F U c k i n g Y

e

a

A

f

t

r

s

e

r

“เราเลื อ กรู ป นี้ เ ป็ น ปก เ พ ร า ะ ช อ บ ใ น ค ว า ม ไ ม่ สมบู ร ณ์ แ บบ ความดิ บ และความเรี ย ล ผิ ด จาก รูปปกของฉบับอื่นๆ ที่เรา แ ล ะ นิ ต ย ส า ร หั ว อื่ น ๆ จะเลื อ กใช้ ในความดิ บ ยั ง มี อ ย่ า ง อื่ น ซ่ อ น อ ยู่ ก็ไม่ต่างกับดนตรีร็อกและ เพลงของ Foo Fighters “ส่วนค�าโปรย ‘Twenty Fucking Years After’ พวกเราก็เอามาจากวลีเด็ด ที่ เดฟ โกรห์ล พูดอยูต ่ ลอด ใ น ค อ น เ สิ ร์ ต เ มื่ อ วั น ที่ 2 4 สิ ง ห า ค ม ที่ ผ่ า น ม า ซึง่ นับว่าเป็นหมุดหมายใหม่ ของ a day BULLETIN ที่ได้เอาค�าหยาบมาขึ้นปก สักที (หัวเราะ)” – บรรณาธิการศิลปกรรม a day BULLETIN

ที่ปรึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล กองบรรณาธิการ ศรั ญ ญา โรจน์ พิ ทั ก ษ์ ชี พ กมลวรรณ ส่ ง สมบู ร ณ์ พั ท ธมน วงษ์ รั ต นะ นั ก เขี ย น/ประสานงาน ตนุ ภั ท ร โลหะพงศธร บรรณาธิ ก ารภาพ คเชนทร์ วงศ์ แ หลมทอง หั ว หน้ า ช่ า งภาพ กฤตธกร สุ ท ธิ กิ ต ติ บุ ต ร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรม ชยุตม์ คชโกศัย สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ มิ่งขวัญ รัตนคช กองบรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ จักริน อินต๊ะวงค์ ผู้จัดการฝ่ายดิจิตอลมีเดีย ธนาคาร จันทิมา ผูป ้ ระสานงานฝ่ายดิจต ิ อลมีเดีย สิรน ิ ารถ อินทะพันธุ์ ผูช ้ า� นาญการฝ่ายดิจต ิ อลมีเดีย กะรัตเพชร บุญลักษณ์ศร ิ ิ ทีป ่ รึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจิ รรยากุล ผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุง ่ รัตนสิทธิกล ุ 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ชินวัฒน์ เฟื้องฟู 09-4353-9639 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม นักศึกษาฝึกงาน ภาณุทัช โสภณอภิกุล ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อี เ มล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletinmagazine.com, www.daypoets.com, www.godaypoets.com


a day BULLETIN

DATABASE

เรื่อง : ตนุภัทร โลหะพงศธร ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

04

ที่มา : IFPI Global Music Report 2017

ยุคสมัยที่เปลี่ยนผ่านจากแอนะล็อกสู่ดิจิตอล ท�าให้รูปแบบการฟังเพลงเปลี่ยนแปลงไปด้วย มิวสิกสตรีมมิงจึงกลายเป็นเทรนด์ใหม่ของ การฟั ง เพลงที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มสู ง ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ส่ ง ผลให้ อุ ต สาหกรรมเพลงทั่ ว โลกต้ อ งปรั บ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ รู ป แบบการใช้ ชั วิ ต และพฤติกรรมของผู้บริโภคในปัจจุบัน สัดส่วนและมูลค่าของ อุตสาหกรรมเพลงและดนตรีทวั่ โลก (หน่วย : พันล้านเหรียญสหรัฐฯ)

50% / 7.8

34% / 5.4

14% / 2.2

เพลงและดนตรี รูปแบบดิจิตอล

เพลงและดนตรี

ค่าลิขสิทธิ์เพลง แ ล ะ ด น ต รี เ พื่ อ ก า ร แ ส ด ง ต่ อ สาธารณชน

รูปแบบแผ่น

2% / 0.4 ค่าลิขสิทธิ์เพลง แ ล ะ ด น ต รี เ พื่ อ ประกอบภาพเ ค ลื่ อ น ไ ห ว ใ น ภาพยนตร์ แ ละ โฆษณา

50% 14% 2% 34%

56.0%

41.1%

36.2%

47.3%

60.4%

2013

2014

2015

2016

อัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมมิวสิกสตรีมมิงทัว ่ โลก

ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารมิ ว สิ ก สตรี ม มิ ง ที่ มี ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารทั่ ว โลกสู ง สุ ด ประจ�าปี 2016 1. Spotify 2. Apple Music 3. Tidal 4. Pandora 5. Deezer

อัตราการเติบโตด้านรายได้ของอุตสาหกรรมเพลงและดนตรีทั่วโลก ประจ�าปี 2016 +5.9%

2012

5 อันดับ

ตลาดเพลง แ ล ะ ด น ต รี โดยภาพรวม

+17.7%

+7.0%

เพลงและ เพลงและ ดนตรีรูปแบบ ด น ต รี เ พื่ อ ดิจิตอล การแสดงต่ อ สาธารณชน

+2.8% ภ า พ ย น ต ร์ และโฆษณา

-7.6%

-20.5%

ร า ย ไ ด้ เ พ ล ง ร า ย ไ ด้ เ พ ล ง แ ล ะ ด น ต รี แ ล ะ ด น ต รี รูปแบบแผ่น จากการดาวน์โหลด

issue 498 07 aug 2017


a day BULLETIN

AGENDA

เรื่อง : กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ภาพ : http://ps.mag.com, www.impossiblefoods.com

06 “ปัญหาทีซ่ เี รียสทีส ่ ด ุ ข อ ง ก า ร มี fi l t e r bubble คือมันท�าให้ ก า ร ถ ก เ ถี ย ง ใ น ที่ สาธารณะเป็ น เรื่ อ ง ยากมาก”

เจ้าของหนังสือ The Filter Bubble www.thelongandshort.org

issue 502 04 SEP 2017

บทความนี้เขียนขึ้นระหว่างที่ เราก�าลังชัง่ ใจว่าจะอันฟอลโลว์ คนคนหนึง ่ บนเฟซบุก ๊ ดีหรือไม่ เขามั ก มี ค วามคิ ด เห็ น ทาง การเมืองแปลกๆ แชร์ขา่ วจาก ส�านักที่ไม่ค่อยน่าเชื่อถือและ ลงรูปทีไ่ ม่สะดวกแก่สายตาเรา เท่าไหร่ เอาง่ายๆ คือคอนเทนต์ ของเขาค่ อ นข้ า งเป็ น พิ ษ ใน หน้าฟีดของเรา และการกด บ ล็ อ ก ห รื อ อั น ฟ อ ล โ ล ว์ ไ ป ก็ เ ป็ น เรื่ อ งแสนง่ า ย แต่ ก็ ยั ง อดสงสัยไม่ได้วา่ ในหนึง ่ คลิกนี้ มันจะมีอะไรซ่อนอยู่หรือเปล่า

คิดต่างกันมันเป็นพิษแค่ไหน? ย้อนไปเมื่อปีก่อน ตอนที่ค�าว่า ffiifilter bubble ถูกน�ากลับมาพูดถึงอีกครั้งถึงอิทธิพลของ เฟซบุ๊กที่ท�าให้ทุกคนตกอยู่ในโลกส่วนตัวน้อยๆ มองเห็นเฉพาะเรื่องที่สนใจหรือความคิดที่ ใกล้เคียงกันกับตัวเอง จนท�าให้ความเห็นต่างไม่มวี นั มาบรรจบกันสักที ส�านักข่าว The Guardian สหราชอาณาจักร จึงจัดการทดลองเจาะฟองสบู่ โดยหยิบเอาคนขวาจัด (conservative) กับซ้ายจัด (liberal) ฝั่งละ 5 คน มาทดลองสลับหน้าฟีดกันเป็นเวลา 2 วัน ผลลัพธ์ที่ได้นั้น... ไม่ใช่ทุกคน ที่ทนกับการเบิกเนตรครั้งนี้ได้จนจบ! แม้วา่ ผูร้ ว่ มทดลองทุกคนล้วนต่างรูต้ วั ว่าตนอาศัยอยูใ่ นภาวะฟองสบูส่ ว่ นตัว แต่กอ็ ดไม่ได้ ที่จะช็อกกับสิ่งที่ปรากฏบนจอโทรศัพท์ซึ่งตรงข้ามกับความเชื่อและความคิดเห็นของตัวเอง มากมายขนาดนี้ ทุกคนต่างลงความเห็นว่านี่เป็นประสบการณ์ที่แสนทรมาน อัลฟอนโซ ไพน์ส ผู้ร่วมทดลองทางฝั่งซ้ายคนหนึ่งเล่าให้ฟังถึงความรู้สึกต่อหน้าฟีดของ ฝั่งขวาว่า “มันเหมือนกับอ่านหนังสือที่เขียนโดยคนโง่ เรารู้อยู่แล้วว่ามันเป็นเรื่องโกหก” ส่วน แอนดรา คอนสแตนติน ตัวแทนจากฝั่งขวาก็ออกมาสารภาพว่า “มันมีแต่ความเกลียดชังจากฝั่งโน้น มีแต่เรื่องชั่วๆ ของ โดนัลด์ ทรัมป์ ขนาดเพื่อนตัวเอง ฉันยังอันฟอลโลว์ ไปหลายคนเลย เพราะไม่อยากต่อล้อต่อเถียงในสิ่งที่พวกเขาเชื่อ” การสลับฟีดก็ไม่ได้มีแต่ด้านลบเพียงอย่างเดียว ยังมีผู้ร่วมการทดลองอีกจ� านวนหนึ่ง ที่เปิดใจรับความเห็นที่แตกต่างอย่าง เทรนต์ ลูส์ ที่บอกว่า “12 คนในฟีดแชร์เรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับ ฮิลลารี คลินตัน ซึ่งผมไม่เคยรู้มาก่อนเลยว่ามีอยู่จริง” สุดท้ายแล้ว ทุกคนต่างก็อยูใ่ น ffi ifi lter bubble ทีซ่ งึ่ ตัวเองเป็นคนก�าหนดขอบเขตในการรับรู้ วันหนึง่ เมือ่ ฟองสบูข่ องคุณถูกเปลีย่ นแปลงโดยสิง่ ต่างๆ รอบตัว มุมมองทีเ่ ปิดกว้างต่อความแตกต่าง น่าจะเป็นสิ่งที่สา� คัญกว่าข้อจ�ากัดใด

“การวิ จั ย ระบุ ว่ า ยิ่ ง เห็ น ความเห็ น จาก ขั้วตรงข้าม ยิ่งท�าให้ คุ ณ ยึ ด มั่ น อ ยู่ กั บ แนวคิดเดิมๆ เป้าหมาย ของเราคือการน�าเสนอ ภาพรวมของสั ง คม ที่ ก ว้ า งขึ้ น นั่ น คื อ สิง่ ทีเ่ ราสามารถท�าได้ โดยช่วยให้ผู้คนรับรู้ ถึงความคิดทีแ่ ตกต่าง ไ ด้ ม อ ง เ ห็ น ปั ญ ห า จ า ก อี ก แ ง่ มุ ม ห นึ่ ง เพื่ อ ตั ด สิ น ใจว่ า คุ ณ จะเลือกยืนตรงไหน”


07

ข่าวรอบโลกปลายสัปดาห์ ที่คุณอาจพลาดไป! www.telegraph.co.uk

TRANSPORTATION

www.voanews.com

HEALTH

www.alliedworks.com

DESIGN

www.bbc.com

ENVIRONMENT

SCIENCE

TRANSPORTATION

HEALTH

DESIGN

ENVIRONMENT

INNOVATION

Who : การรถไฟความเร็วสูง แห่งประเทศจีน What : Fuxing หรื อ รถไฟ หั ว กระสุ น ที่ มี ค วามเร็ ว สู ง สุ ด ในโลกจ�านวน 14 ขบวน ได้เปิด ให้บริการอีกครั้งด้วยความเร็ว ที่ 350 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หลัง เกิดอุบตั เิ หตุถงึ 2 ครัง้ ในปี 2011 โดยเริ่มวิ่งในเส้นทางกรุงปักกิ่งเมืองเทีย นจิน -มณฑลเหอเป่ย และยังมีโครงการปรับปรุงรางรถไฟ เพื่อให้สามารถวิ่งด้วยความเร็ว สูงสุดที่ 400 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อย่างปลอดภัย

Who : Gramercy Pilates NYC, สหรัฐอเมริกา What : พิ ล าทิ ส เป็ น รู ป แบบ การออกก�าลังกายที่มีมาเกือบ 100 ปี กลับมาได้รับความนิยม อย่างแพร่หลายอีกครั้ง เพื่อช่วย แก้ปญ ั หาและลดความเสีย่ งของ การเป็นโรคไหล่ห่อคอตก หรือ ที่ เ รี ย กว่ า Text Neck ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากการใช้ ส มาร์ ต โฟน เป็นเวลานาน จนท�าให้กล้ามเนือ้ และเส้นเอ็นส่วนคอและกระดูก สันหลังตึงจนเกิดอาการบาดเจ็บ

Who : ยูนโิ คล่, โตเกียว What : แบรนด์ Fast-Fashion ยักษ์ใหญ่ เปิดตัวส�านักงานใหญ่ ที่ใช้การออกแบบเวิร์กกิ้งสเปซ แบบตะวันตกเป็นครัง้ แรก ในชือ่ Uniqlo City ซึง่ ได้แรงบันดาลใจ มาจากท้องถนนของญีป่ นุ่ แม้วา่ ฟังก์ชนั ต่างๆ ของออฟฟิศแห่งนี้ จะพบได้ ใ นบริ ษั ท ตะวั น ตก หลายแห่ง แต่นถี่ อื เป็นความท้าทาย ใหม่ของบริษทั สัญชาติญปี่ นุ่ ทีย่ งั มีวฒ ั นธรรมองค์กรทีเ่ น้นล�าดับขัน้ อยู่มาก จึงต้องรอดูกันต่อไปว่า ดีไซน์ใหม่นจี้ ะตอบโจทย์หรือไม่

Who : ป่าแอมะซอน, บราซิล What : บราซิลประกาศอนุญาต ให้สามารถเข้าไปท�าเหมืองใน พื้ น ที่ ป่าแ อ ม ะ ซ อ น เ พิ่ ม ขึ้ น เขตอนุ รั ก ษ์ แ ห่ ง ชาติ ดั ง กล่ า ว มีพื้นที่กว่า 46,000 ตร.กม. หรือ ใหญ่กว่าประเทศเดนมาร์กทั้ง ประเทศ ซึ่ ง แม้ ท างรั ฐ บาลจะ ยืนยันว่าพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์จะยังได้รบั การคุ้มครองทางกฎหมาย ก็ยัง คงมีนกั เคลือ่ นไหวบางกลุม่ ทีแ่ สดง ความกั ง วลว่ า การท� า เหมื อ ง จะท� า ลายความอุ ด มสมบู ร ณ์ ของธรรมชาติไป

Who : คณะนักวิจยั มหาวิทยาลัย เ ท ค โ น โ ล ยี ไ อ น ด ์ โ ฮ เ ว น , เนเธอร์แลนด์ What : คิดค้นโพลีเมอร์สงั เคราะห์ ชนิดพิเศษ ทีส่ ามารถเคลือ่ นไหว ยืด และหดตัวได้เมือ่ ถูกแสงแดด ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการน�าไปใช้ ผลิตเป็นแผ่นพลังงานแสงอาทิตย์ ในทะเลทราย เนื่องจากการยืด และหดตัวจะสร้างแรงสัน่ สะเทือน ท� า ให้ เ ม็ ด ทรายหล่ น จากแผง พลังงาน เป็นวิธีการท�าความสะอาดตัวเองอย่างชาญฉลาด หลังจากเจอพายุทราย

www.bbc.com

www.tue.nl

INNOVATION

Who : ปรากฏการณ์สุริยุปราคาเต็มดวง, สหรัฐอเมริกา What : ชาวอเมริกันจ�านวนมากต่างตื่นเต้นกับสุริยุปราคาเต็มดวงครั้งแรกในรอบ 99 ปี ที่ดวงจันทร์บดบังดวงอาทิตย์ เกิดเป็นสุริยคราสอันงดงามปรากฏแก่สายตาของผู้คน จ�านวนมากที่ออกมารอชมพร้อมสวมแว่นป้องกันสายตากันอย่างคึกคัก จนเกิดเป็นภาพ บรรยากาศที่น่าประทับใจ


a day BULLETIN

08

ทุกครั้งที่ Emporium มีแคมเปญใหม่ๆ มักท�าให้ตื่นเต้นทุกครั้ง ว่าพวกเราจะได้เห็นการเปลี่ยนนิยามเดิมๆ ของ ‘ห้างสรรพสินค้า’ ไปในทิศทางไหน เช่นเดียวกับคราวนี้ ที่ Emporium Department Store ได้จบ ั มือ collaboration กับช่างภาพแถวหน้าของเมืองไทย อย่าง ‘หรั่ง’ - สุรศักดิ์ อิทธิฤทธิ์ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ ‘Good Life’ ผ่านมุมมองชีวิตของ 6 บุคคล ที่แตกต่างกันทั้งอาชีพ ช่วงวัย และการใช้ชีวิต แต่พวกเขาต่างก็ค้นพบนิยามค�าว่า ‘ชีวิตที่ดี’ ในแบบของตัวเอง

issue 502

'% ++$ (&%

04 SEP 2017

“ได้มีอิสระทางความคิดในการที่จะท�าอะไรก็ได้ ไปไหนก็ได้ นี่คือสิ่งที่สา� คัญ ได้ท�าในสิ่งที่ตัวเองต้องการโดยที่ไม่ท�าร้ายคนอื่น และสิ่งที่สา� คัญ ที่สุดคือเพื่อน การมีเพื่อนที่ดีเป็นคุณอนันต์สา� หรับทุกๆ คน” * , )"#%

“เอ็มโพเรียม เป็นเพื่อนที่ดีของผม”


09

! !

'% ++$ (&%

“สิ่งที่ชอบมากที่สุดคือช่วงเวลาที่เราได้เห็นใบไม้ผลิใบ ทุกครั้งที่เห็นจะมีความสุขมาก พูดไม่ถูก หลังๆ โมเมนต์ที่มีความสุขในชีวิตของเราคือ การอยู่กับปัจจุบันมากๆ ความสุขไม่ได้อยู่กับการคาดหวังเหมือนตอนเด็กๆ อีกแล้ว ที่จะชอบคิดว่าเราจะไปถึงเป้าหมายหรือเปล่า สิ่งนี้เปลี่ยน ทุกอย่างของเราไปหมดเลย อย่างเมื่อก่อนเวลาเที่ยว ก็ต้องไปที่ส�าคัญๆ ให้ครบ แต่วันนี้เรามีความสุขกับการนั่งมองแสงแดด ดูคนเดิน คือเมื่อเรามีความสุขในเวลานั้นก็พอแล้ว * , )"#%

“เอ็มโพเรียมเป็นห้างฯ ทีเ่ รากับคุณแม่เดินมาตัง ้ แต่เด็กๆ และมากันบ่อยมาก เพราะว่าอยูใ่ กล้บา้ น เรียกว่ารูท ้ ก ุ ซอกทุกมุม และอีกอย่างส�าหรับ เราเอ็มโพเรียมเป็นห้างฯ ทีซ ่ เี ล็กเต็ดทุกอย่างมาให้แล้ว เราไม่ตอ ้ งมาคัดว่าอันไหนเหมาะกับเราหรือเปล่า ยิง ่ หลังๆ ทีน ่ ป ี่ ลูกต้นไม้เยอะเลยท�าให้ เราไม่รู้สึกเหมือนห้าง รู้สึกสบายๆ เหมือนบ้านมากขึ้นไปอีก”


a day BULLETIN

10

'% ++$ (&%

issue 502

ประชา : “Good Life คือการอยูด ่ ว ้ ยกันเป็นครอบครัวแบบนีแ้ หละ ในความคิดผม เราอย่าท�าให้ชว ี ต ิ ยาก ท�าอะไรสบายๆ ตามใจฉัน อย่าไปซีเรียส อย่าไปอยู่ในกรอบในเกณฑ์มากเกินไป กรอบเกณฑ์เดียวที่ผมมีคือเรื่องสุขภาพ (หัวเราะ) อย่างอื่นผมไม่ถือสา” แดน : “พอโตขึ้นมาเรื่อยๆ เราสามารถบริหารจิตใจให้เท่าทันกับสถานการณ์รอบๆ ข้าง การรับมือกับสิ่งเหล่านี้ได้ ท�าให้เรามีสภาวะที่ดีขึ้น กับทุกๆ อย่าง เรามีการพัฒนาตัวเอง และช่วยเหลือคนอื่นได้จากประสบการณ์ที่เกิดขึ้น” * , )"#%

04 SEP 2017

ประชา : “คนวัยผมไม่ใช่วัยที่จะไปเดินเอ้อระเหยท่องเที่ยวแล้วแหละ เป็นวัยที่ใช้ชีวิตสบายๆ ไปซื้อของแล้วก็กลับ อย่างเอ็มโพเรียมเป็นห้างฯ ที่ lively ล่าสุดผมไปมาเมื่อสามวันก่อนสัมภาษณ์นี่เอง ผมชินกับบรรยากาศที่นี่ เวลาเดินที่เอ็มโพเรียมดีอย่าง เรารู้อะไรอยู่ที่ไหน เพราะอายุ ปูนนี้ควรเซฟก�าลังไว้นะ ชีวิตไม่ควรเดินแบบหลงทางแล้ว (หัวเราะ)” แดน : “เอ็มโพเรียมเป็นห้างทีต ่ อบโจทย์ชว ี ต ิ ผม อาหารก็อร่อย เป็นฟูด ้ คอร์ตทีว ่ ว ิ ดีทส ี่ ด ุ ในประเทศไทย (หัวเราะ) เป็นห้างทีท ่ า� ให้เรารูส ้ ก ึ เหมือน นั่งอยู่ในเมืองนอก อยู่ในประเทศที่เขาใส่ใจในการด�ารงชีวิต”


11

'% ++$ (&%

“คือการได้อยูก ่ บ ั ตัวเอง แล้วก็ไม่วน ุ่ วาย เราอยากอยูก ่ บ ั คนทีเ่ รารัก ไม่ตอ ้ งคิดอะไรมาก ไม่ตอ ้ งคิดถึงเรือ ่ งอืน ่ มีความสงบเงียบ แล้วโมเมนต์หนึง ่ ที่เรารู้สึกสงบมากที่สุด คือเวลาเล่นโยคะ ทุกครั้งที่เล่นโยคะเหมือนเราหายไปจากโลก ต่อให้เครียดให้คิดมากแค่ไหน พอเราเล่นโยคะ ได้อยู่กับตัวเอง ไม่มีความวุ่นวายอะไร ช่วงเวลาแบบนั้นเป็นสิ่งที่ดีมาก” * , )"#%

“เราไม่รู้สึกว่าเอ็มโพเรียมเป็นห้าง แต่เป็นที่ที่เดินเข้าไปแล้วเราคุ้นเคยมากกว่า คงเพราะว่าเดินมาตั้งแต่เด็กด้วยมั้ง ไปตรงจุดไหนก็นึกภาพ ออกเลย รู้ว่าอะไรอยู่ตรงชั้นไหน และทุกครั้งที่ไปเอ็มโพเรียมจะต้องไปที่กูร์เมต์ มาร์เก็ต ไปซื้อของ ซื้อผลไม้ ซื้อของกิน เราชอบนั่งทานอาหาร ในกูร์เมต์ มาร์เก็ต มากๆ”


a day BULLETIN

12

!

! !

'% ++$ (&%

issue 502

“Good Life ส่วนใหญ่ในชีวต ิ เราคือเวลาทีไ่ ด้อยูก ่ บ ั น้องจอห์นนี่ (น้องหมาสุดรัก) ถ้าเกิดเราท�างานยุง ่ มาก หรือเครียด จอห์นนีเ่ ขาเป็นคนเดียว ที่พอเรามองหน้าด้วยแล้วจะอารมณ์ดีขึ้นมาเลย เขาเป็นจุดเบรกอารมณ์ที่ดีมาก ส่วนเรื่องแฟชั่น เรารู้สึกว่าอยากท�าอะไรก็ท�า อยากแต่งตัว ก็แต่ง และทุกโมเมนต์ไม่วา่ เราจะแต่งตัวยังไง ไปเทีย ่ วไหน ก็มจี อห์นนีไ่ ด้ เรียกว่าเลีย ้ งเหมือนลูก (หัวเราะ) แล้วเขาก็จะค่อนข้างชินกับพฤติกรรม ที่พาเขาท�า นั่งโต๊ะ ใส่แว่น เขาจะไม่รู้สึกว่าเป็นเรื่องใหม่”

04 SEP 2017

* , )"#%

“เราเป็นคนที่มาเอ็มโพเรียมบ่อยมาก ก็มาช้อปปิ้งนี่แหละ เพราะถ้าจะช้อปปิ้งของแบรนด์เนม นี่เป็นห้างแรกๆ ที่ต้องมาเท่านั้น ท�าให้เรารู้สึก ผูกพันกับพนักงานขาย กับสโตร์ของห้าง และส่วนตัวจะชอบบรรยากาศ cozy กับขนาดเล็กๆ ของห้างมากๆ”


13

'% ++$ (&%

“ส�าหรับผม นิยามของ Good Life คือการแบ่งเวลาให้ถก ู ต้อง เช่น ตืน ่ เช้ามาต้องไปส่งลูกเรียนหนังสือ เสร็จแล้วก็ทา� งาน พอเคลียร์งานเสร็จ ถึงจะใช้เวลาวาดรูปต่อ คือพอชีวิตเรามีระบบระเบียบก็จะจัดสรรสิ่งต่างๆ ได้ง่ายขึ้น เพราะผมเองท�าอะไรหลายอย่าง ทั้งงานหลักที่บริษัท James Dean Bkk ท�างานศิลปะส่วนตัว แล้วก็เล่นดนตรีกับเพื่อน ตกเย็นก็ต้องสังสรรค์อีก (หัวเราะ)” * , )"#%

“ผมรู้จักเอ็มโพเรียมตั้งแต่สมัยเรียนมัธยม พอโตมาเราท�างานอยู่แถวสุขุมวิท 53 ที่นี่ก็เลยเป็นห้างที่ไปบ่อยมาก พอมีครอบครัวยิ่งไปบ่อยขึ้น หนั ก อี ก เพราะว่ า ต้ อ งพาลู ก ไปซื้ อ ของ และข้ อ ดี ข องที่ นี่ ซึ่ ง ผมชอบมากเลยคื อ ผมจอดรถง่ า ย (หั ว เราะ) ผมชอบที่ จ ะไปซื้ อ ของที่ แ ผนก เครื่องเขียน ซึ่งเป็นชั้นที่ผมและครอบครัวใช้เวลาด้วยเยอะสุด เพราะว่ามีทั้งของเล่นด้วยเครื่องเขียนด้วย พอลูกไปดูของเล่นเสร็จก็ต้อง กลับมาที่แผนกเครื่องเขียน เพื่อซื้อสีมาเพนต์ เพราะการวาดรูปเป็นกิจกรรมหลักของบ้านผม” ไม่ว่าใครก็ต่างสามารถค้นพบและมีนิยาม ‘Good Life’ ได้ในแบบของตัวเอง ติดตามเรื่องราวมุมมองการใช้ชีวิตดีๆ ของแต่ละท่านแบบเต็มๆ ได้ที่ Facebook : @EmporiumDepartmentStore


THINKING THE WAY FORWARD

About ELMA ELMA เป็นรำงวัลอันทรงเกียรติส�ำหรับผู้ประกอบกำรที่มีควำมเป็น เลิศด้ำนกำรบริหำรจัดกำรโลจิสติกส์ เป็นเสมือนเครื่องหมำยรับรอง คุ ณ ภำพมำตรฐำนของธุ ร กิ จ โลจิ ส ติ ก ส์ ไ ทยให้ ก ้ ำ วสู ่ ม ำตรฐำนสำกล กรมส่งเสริมกำรค้ำระหว่ำงประเทศ กระทรวงพำณิชย์ได้จดั ประกวดรำงวัล Excellent Logistics Management Award ขึ้ น ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2550 โดยตระหนักถึงควำมท้ำทำยใหม่ๆ ที่ผู้ประกอบกำรธุรกิจโลจิสติกส์ไทย ต้ อ งเผชิญ และส่งเสริมให้ผู้ประกอบกำรธุรกิจโลจิสติกส์ไทยพัฒนำ ศั ก ยภำพอย่ ำ งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ ให้ ส ำมำรถปรั บ ตั ว กั บ สภำพกำรแข่ ง ขั น ที่เปลี่ยนแปลงไป

รางวัล ELMA “ เ ป็ น เ ห มื อ น กั บ สิ่ ง ที่ รั บ ประกั น ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของบริ ษั ท และ ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ ตื่ น ตั ว ต ล อ ด เ ว ล า ถ้ า เ ร า ไ ม่ พั ฒ น า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง อ ง ค์ ก ร ต่ อ ห รื อ พ อ ใ จ กั บ ความส� า เร็ จ แล้ ว ก็ เ หมื อ นกั บ เรา ไ ม่ ใ ห้ ค ว า ม ส� า คั ญ กั บ ร า ง วั ล ทีท ่ รงเกียรติน”ี้

คุณคิดว่าอะไรคือสิง ่ ทีท ่ า� ให้บริษท ั วี. คาร์โก จ�ากัด เป็นผู้ชนะในการแข่งขันครั้งนี้

“จุดแข็งที่ท�ำให้เรำชนะกำรแข่งขัน คงเป็นเพรำะเรำ มีประสิทธิภำพในกำรบริหำรระบบขนส่ง ทัง้ ส่วนทีเ่ ป็นรถขนส่ง ของเรำเอง และรถร่วมทีใ่ ช้บริกำรกับผูค้ ำ้ รำยอืน่ ๆ เช่น รถของ บริษทั เถ้ำแก่นอ้ ย ซึง่ เรำมีกำรใช้ขอ้ ตกลงร่วมกัน และยึดถือ กฎระบียบอย่ำงเคร่งครัด หลักกำรนีจ้ งึ ช่วยให้บริษทั สำมำรถ ขยำยธุรกิจได้อย่ำงรวดเร็ว เมือ่ เรำเข้ำไปถึงในรอบสุดท้ำยของ กำรแข่งขัน ทำงคณะกรรมกำรก็จะดูวำ่ รำยงำนทีเ่ รำน�ำเสนอ มำนั้ น เป็ น เรื่ อ งจริ ง หรื อ ไม่ ก็ จ ะมี ก ำรลงพื้ น ที่ ไ ปส� ำ รวจ กำรท�ำงำนของบริษทั ” ความส�าเร็จในธุรกิจของคุณที่เห็นภาพได้ชัดเจน คืออะไร

“ตัวอย่ำงของประสิทธิภำพในกำรขนส่งสินค้ำของเรำ ก็เช่น โปรเจ็กต์ทเี่ รำได้รบั มอบหมำยจำกไปรษณียไ์ ทย ซึง่ เรำ ด�ำเนินกำรมำเป็นเวลำสำมปีแล้ว เป็นกำรขนส่งน�ำ้ ยำล้ำงไต ให้กบั ผูป้ ว่ ยถึงบ้ำน ซึง่ รถทีใ่ ช้สง่ น�ำ้ ยำนัน้ ต้องเป็นรถทีต่ ดิ ตัง้ เครือ่ งปรับอำกำศเพือ่ ควบคุมอุณหภูมขิ องตัวยำ และใช้ระบบ GPS ในสมำร์ตโฟนในกำรตรวจสอบกำรรับมอบสินค้ำ รวมถึง ถ่ำยรูปขณะส่งมอบสินค้ำไว้เพื่อบันทึกเป็นข้อมูลให้เรำ สำมำรถตรวจสอบได้วำ่ ในแต่ละวันเรำด�ำเนินกำรได้เท่ำไหร

ความท้ า ทายของการท� า ธุ ร กิ จ ไม่ ไ ด้ มี แ ค่ การเดิ น หน้ า ไปให้ ถึ ง ยั ง เป้ า หมายที่ ว างไว้ เพียงเท่านั้น แต่ยังมีเรื่องของการพัฒนา ประสิทธิภาพของบริษัทให้ดียิ่งขึ้นไปอย่าง ไม่ ห ยุ ด ยั้ ง ด้ ว ยเหตุ นี้ อุ ด ม ศรี ส งคราม กรรมการผู้จัดการ บริษัท วี. คาร์โก จ�ากัด จึงเดินหน้าเข้าร่วมประกวดรางวัลผูป ้ ระกอบ การทีม ่ ค ี วามเป็นเลิศด้านการบริหารจัดการ โ ล จิ สติ ก ส์ (Excellent Logi st ics Management Award) หรือ ELMA เพื่อ พิ สู จ น์ ศั ก ยภาพของทุ ก ๆ คนในองค์ ก ร ผ่านหลักเกณฑ์ที่เข้มงวด และคว้ารางวัล อันทรงเกียรตินี้มาครอบครองจนส�าเร็จ

Business Proffiilefiflfi บริษัท วี. คำร์โก จ�ำกัด ให้บริกำรโลจิสติกส์ (Logistics) งำนขนส่ง สินค้ำและบริกำรน�ำเข้ำส่งออก ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2531 โดยมีควำมช�ำนำญ ในด้ำนกำรจัดกำรพิธีกำรศุลกำกร (Customs Brokerage) กำรจองระวำง บรรทุกสินค้ำทั้งทำงเรือและทำงอำกำศ (Freight Forwarder) ให้บริกำรด้ำน กำรน�ำเข้ำและส่งออก (Customs Clearance) ปัจจุบันบริษัทครอบคลุม กำรให้บริกำรด้ำนโลจิสติกส์ ตั้งแต่กำรขนส่งวัตถุดิบเข้ำโรงงำน กำรขนส่ง ผลิตภัณฑ์จำกโรงงำนถึงร้ำนค้ำ และจำกร้ำนค้ำส่งตรงถึงผู้บริโภคอย่ำง ครบวงจร

และมีปญ ั หำอะไรระหว่ำงกำรขนส่งเกิดขึน้ หรือไม่ ซึง่ จุดเด่นนี้ เรำก็นำ� ไปใช้กบั กำรรับส่งสินค้ำกับทำง Lazada ด้วย” “ค�ำถำมส�ำคัญทีค่ ณะกรรมกำรถำมเรำคือ เป้ำหมำย ของบริษทั เรำจะมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเป็นเลิศในธุรกิจนีอ้ ย่ำงไร และ สร้ำงควำมคำดหมำยที่เหนือไปกว่ำสิ่งที่ต้องกำรได้อย่ำงไร ซึง่ ผมตอบไปว่ำ เรำมีกำรวัด KPI ทุกเดือน ทุกขัน้ ตอนของ กำรท�ำงำนเรำจะมีกำรเก็บบันทึก แล้วมำดูว่ำแต่ละเดือน มีปญ ั หำตรงไหนต้องแก้ไข ระบบจะบอกข้อผิดพลำดให้เรำ รูท้ นั ที เพรำะกำรรับส่งสินค้ำนัน้ มีควำมละเอียดอ่อน อย่ำงทำง Lazada ซึ่งเป็นเทรนด์ใหม่ในกำรซื้อสินค้ำของคนสมัยนี้ ก็จะมีขอ้ ก�ำหนดทีเ่ ยอะมำก เรำต้องท�ำให้ได้ทกุ ข้อตำมทีเ่ ขำ ก�ำหนดไว้ ดังนัน้ เรำต้องดึงข้อมูลทีบ่ นั ทึกเก็บไว้มำตรวจสอบ เพื่อดูว่ำประสิทธภำพของเรำในแต่ละเดือนวัดออกมำเป็น ตัวเลขได้กี่เปอร์เซ็นต์ เป็นไปตำมเป้ำหมำยที่วำงไว้หรือไม่ ถ้ำยังไม่ถงึ ตำมทีต่ อ้ งกำรก็ตอ้ งมำแก้ไขกันใหม่จนกว่ำจะดีขนึ้ ” รางวั ล ELMA ที่ ไ ด้ รั บ มานี้ ช่ ว ยให้ คุ ณ พั ฒ นา หรือต่อยอดองค์กรได้แค่ไหน

“เรำคงไม่หยุดกำรพัฒนำองค์กรเพียงแค่นี้ เพรำะ รำงวัล ELMA ช่วยให้เรำเป็นที่รู้จักทั้งในและนอกประเทศ มำกขึ้น ทำงกระทรวงพำณิชย์กช็ ว่ ยสนับสนุนเรำอย่ำงเต็มที่ ทั้งในเรื่องของกำรประชำสัมพันธ์องค์กรของเรำ และพำไป

ออกงำนแสดงต่ำงๆ เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบกำรและสมำคมต่ำงๆ รูจ้ กั เรำมำกขึน้ เพรำะธุรกิจโลจิสติกส์นนั้ มีกำรแข่งขันสูงมำก ทัง้ ในคนไทยด้วยกันเอง และบริษทั ข้ำมชำติทเี่ ข้ำมำท�ำธุรกิจนี้ ถ้ำเรำหยุดหรือไม่พฒ ั นำต่อก็จะแข่งขันกับใครไม่ได้ รวมถึง เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงเสมอ ท�ำให้เรำต้องไม่พอใจกับ ควำมส�ำเร็จทีไ่ ด้มำ ต้องท�ำให้ดขี นึ้ กว่ำเดิม โดยเห็นได้จำก เทรนด์กำรซือ้ ของออนไลน์ของคนในตอนที่ เมือ่ เขำกดสัง่ ซือ้ สินค้ ำ แล้วเรำต้องส่งของให้กับเขำเลยในวันนั้นส�ำหรับ กรุงเทพฯ และไม่เกินสองหรือสำมวันส�ำหรับต่ำงจังหวัด ถ้ำใช้ ระบบเก่ำๆ ให้ลูกค้ำต้องรอนำนเป็นอำทิตย์แบบแต่ก่อน เรำก็จะสูก้ บั ใครไม่ได้” เป้าหมายต่อไปที่น่าตื่นเต้นส�าหรับคุณในอนาคต

“เรำมีเป้ำหมำยทีจ่ ะขยำยกำรให้บริกำรด้ำนโลจิสติกส์ ไปยังประเทศเพือ่ นบ้ำน เพรำะประเทศไทยเป็นศูนย์กลำงของ กำรคมนำคมทัง้ ทำงบก อำกำศ และทำงเรือในอำเซียน ล่ำสุด ผมได้รว่ มงำนกับบริษทั รับส่งสินค้ำทีป่ ระเทศมำเลเซีย และ เวียดนำม โดยเป้ำหมำยใหญ่ของเรำคือกำรเข้ำไปร่วมงำน รับส่งสินค้ำกับทำงประเทศจีน ซึ่งจะเป็นตลำดที่ใหญ่มำก และมีกำรเติบโตทีส่ งู ”


a day BULLETIN

t w E THE CONVERSATION

เรื่อง : พิมพ์อร นทกุล ภาพ : Samon Rajabnik

14

F u c k

issue 502 04 SEP 2017

Y

e

a

A

f

t


15

N T Y

k i n g

a

r

s

t

e

r


issue 502 04 SEP 2017

เรารู้ ว่ า จะได้ คิ ว สั ม ภาษณ์ ว ง Foo Fighters เมื่อสามสี่วันก่อนปิดเล่ม คู่กับ ‘พี่เอี่ยว’ - ศิวภาค เจียรวนาลี บก. นิ ต ยสาร a day ผู้ ที่ อ อกตั ว กับเราก่อนว่า “พี่ก็ติดตามเพลงเขา มาตลอดนะ แต่ก็ไม่ได้บอกคนอื่นว่า ‘กูเป็นซูเปอร์แฟน’ แบบนัน ้ ” ส่วนเราเอง แม้ จ ะพู ด ได้ ไ ม่ เ ต็ ม ปากว่ า เป็ น แฟน พันธุ์แท้ของวงนี้ แต่ต้องบอกเลยว่า หลายเพลงของเขาก็ ท� า ให้ เ ราแอบ โยกหัวอยู่บ้าง ส่วนอารมณ์ขันและ ความเป็ น กั น เองในบทสั ม ภาษณ์ ของสมาชิกในวงที่ผ่านๆ มาก็สร้าง ความประทับใจอยู่ไม่น้อย สั ม ภาษณ์ ก ลุ่ ม แรกคื อ เดฟ โกรห์ล, เทย์เลอร์ ฮอว์กินส์ และ เนต เมนเดล ที่ขอกาแฟด�าทันทีที่นั่งลง ตรงหน้า พวกเขาทักทายเราอย่าง เป็นกันเองพร้อมเล่าให้ฟงั ถึงการเดินทาง จากกรุงโซลมากรุงเทพฯ เมือ ่ คืนก่อน ก่ อ นจะเริ่ ม คุ ย กั น อย่ า งออกรสถึ ง Foo Fighters ดนตรี ร็ อ ก และ มือกลองที่ร้องเพลงได้ เวลาสิบนาที ผ่ า นไปไวเหมื อ นโกหก รู้ ตั ว อี ก ที ทั้ ง สามคนก็ ต้ อ งย้ า ยไปอี ก โต๊ ะ และ แพต สเมี ย ร์ , คริ ส ชิ ฟ เลตต์ และ สมาชิกใหม่อย่าง รามี แจฟฟี ก็เข้ามา นั่งแทนที่ บทสนทนาต่ อ เนื่ อ งด้ ว ยการที่ คริสอวดเสื้อที่เพิ่งซื้อเมื่อวานให้เราดู แล้ ว จึ ง คุ ย กั น เกี่ ย วกั บ โปรดิ ว เซอร์ คนใหม่ ข องวงและบทบาทครั้ ง ใหม่ ของสมาชิกคนล่าสุด การท�างานหนัก ไปจนถึ ง ชี วิ ต ร็ อ กสตาร์ ใ นวั ย เลข 4 เลข 5 และในไม่ ช้ า สิ บ นาที ที่ ส อง ของเราก็หมดลง เรามองหน้าพี่เอี่ยวแล้วรู้เลยว่า เขาเองก็ เ สี ย ดายที่ มี เ วลาน้ อ ยไป เหมือนกัน เรายังเหลือค�าถามอีกเป็น กระตัก และมีอีกหลายอย่างที่อยากรู้ เกีย ่ วกับ Foo Fighters วงดนตรีรอ ็ ก ที่มีเพลงเพียง 12 เพลงเมื่อครั้งที่มา ทัวร์ประเทศไทยเมื่อปี 1996 ยี่สิบปี ต่ อ ม า พ ว ก เ ข า ก ลั บ ม า อี ก ค รั้ ง พ ร้ อ ม ค อ น เ สิ ร์ ต ที่ ย า ว น า น ถึ ง 2 ชัว ่ โมงครึง ่ กับวลีเด็ดที่ เดฟ โกรห์ล พู ด ตลอดงานคื น นั้ น ว่ า ‘Twenty fucking years’

Dave, Taylor, NaTe อัลบั้มก่อนๆ ไม่ว่าจะเป็น Sonic Highways หรือ Wasting light พลังทีค ่ ณ ุ ส่งถึงแฟนๆ มันสูงมาก ที นี้ พ อคุ ณ กลั บ มาท� า อั ล บั้ ม ปกติ ท� า อย่ า งไรถึ ง ยั ง กระตุน ้ ให้ตวั เองท�าสิง่ ใหม่ๆ ทีท ่ า้ ทายได้อยู่

เดฟ : เราทดลองอัดเพลงในสภาพแวดล้อมต่างๆ เพื่อดู ว่ามันจะส่งผลต่อเสียงดนตรีที่ออกมายังไง เราเคยท�าอัลบั้ม ในโรงรถที่บ้านผม โรงรถธรรมดาๆ ที่เราสร้างสตูดิโอบนนั้น เสียงที่ได้มันแน่นและทึบกว่าเพราะเราสร้างมันขึ้นมาในพื้นที่ แคบๆ โปรเจ็กต์ถัดมาคือการเดินทางไปอัดเสียงทั่วประเทศ เล่าถึงเรื่องราวเกี่ยวกับแต่ละเมืองในเพลงต่างๆ ต่อมาเราก็มี ไอเดียบ้าๆ ขึ้นมาอีกส�าหรับอัลบั้มล่าสุด ตอนแรกเราอยาก สร้างสตูดโิ อบนเวทีคอนเสิรต์ เชิญคนมา 2 หมืน่ คน แล้วท�าอัลบัม้ กันสดๆ ตรงนั้นต่อหน้าทุกคน เราเถียงกันว่าไอเดียไหนบ้าที่สุด ก็เห็นว่ามันนานมากแล้วที่เราไม่ได้ท�างานในสตูดิโอ ก็เลยท�า อัลบั้มนี้ในสตูดิโอซะเลย ส� า หรั บ เราแล้ ว เพลงร็ อ กเป็ น เหมื อ นการหลบหนี และปลดปล่อยอย่างหนึง่ คุณร้องมันดังๆ คุณฟังมัน ดั ง ๆ ในฐานะวงดนตรี ร็ อ กเอง คุ ณ มองว่ า มั น เป็ น เหมื อ นกั บ การต่ อ ต้ า นหรื อ เปล่ า ตอนเริ่ ม ท� า Foo Fighters

เดฟ : เป็นนะ ยิ่งตอนเรายังเด็ก สิ่งเหล่านี้คือส่วนหนึ่ง ที่ท�าให้เราสนใจเพลงร็อก เทย์เลอร์ : ตอนคุณเป็นเด็ก บางอย่างเกี่ยวกับดนตรี มันท�าให้คุณรู้สึกดี แค่นั้น มันแตะหัวใจคุณ ท�าให้คุณเศร้า ท�าให้คณ ุ มีความสุข จ�าได้ว่าตอนอายุ 7 ขวบ เพลงซาวนด์แทร็ก ของหนัง Star Wars ท�าให้ผมรู้สึกแบบนี้ จนเริ่มเข้าช่วงวัยรุ่น วงดนตรีจึงกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของตัวตน เป็นเหมือนไกด์ไลน์ ของความรู้สึกที่คุณมีต่อชีวิตตัวเอง ณ ตอนนั้นดนตรีเลยเป็น เหมือนการขบถวิธีหนึ่ง ตอนผมเริ่มเล่นดนตรี ผมเล่นเพราะ ผมรักมัน ผมรักเสียงเพลงของวง Queen รักท่วงท�านองของวง The Police ผมอยากเล่นให้ได้แบบนัน้ พออยูไ่ ฮสกูลก็ได้รจู้ กั วง อืน่ ๆ ทีต่ อ่ ต้านผู้มีอ�านาจ ต่อต้านสังคม เพลงของพวกเขาคือ การบอก fuck you ในทางหนึ่ง ซึ่งพูดกันตรงๆ ตอนที่คุณอายุ 14-15 บางครัง้ คุณ ุ ก็อยากพูด fuck you กับพ่อแม่เหมือนกันแหละ (หัวเราะ) ดนตรีส�าหรับผมเลยเริ่มมาจากความรู้สึกรักก่อน พออายุมากขึน้ พยายามจะเป็นผู้ใหญ่มากขึน้ มันเลยกลายเป็น การปลดปล่อยอย่างหนึ่ง แต่เอาเข้าจริง มันก็คือการปลดปล่อย มาตลอดอยู่แล้วไม่ว่าคุณจะอายุเท่าไหร่ก็ตาม

สิง่ หนึง่ ทีเ่ ราชอบเกีย ่ วกับ Foo Fighters คือพวกคุณ ใจกว้างและเปิดใจรับสิง่ ใหม่ๆ เสมอ แต่รไู้ ด้อย่างไรว่า มันจะเวิรก ์ หรือไม่

เดฟ : ไอเดียส่วนใหญ่ของเราเริ่มมาจากความเรียบง่าย เลยนะ บางครัง้ ไอเดียง่ายๆ อันแรกคือไอเดียทีด่ ที สี่ ดุ สิง่ ทีน่ า่ สนใจ กว่านั้นคือการไอเดียพวกนั้นมาต่อยอด ดูว่ามันจะไปทางไหน ได้บ้าง ตอนที่คุณเริ่มท�าอัลบั้มแรกๆ คุณจะนึกว่าตัวเองรู้ว่า มั น จะออกมาเป็ น ยั ง ไง แต่ มั น ไม่ เ คยเหมื อ นที่ จิ น ตนาการ ไว้หรอก ซึ่งเป็นเรื่องดี เราได้ เกร็ก เคิร์สติน มาเป็นโปรดิวเซอร์ ของอัลบัม้ ทีก่ า� ลังจะออกในวันที่ 15 กันยายนนี้ ผมเป็นแฟนเกร็ก จากวง The Bird and the Bee อยู่แล้ว เขาไม่เคยท�าอัลบั้ม เพลงร็ อ กมาก่ อ น ส่ ว นเราก็ ไ ม่ เ คยท� า งานกั บ โปรดิ ว เซอร์ เพลงพ็ อ พเช่ น กั น มั น เลยท�า ให้ ก ารท� า งานครั้ ง นี้ น ่ า ตื่ น เต้ น เข้าไปอีก เทย์เลอร์ : ผมว่าเกร็กก็ตื่นเต้นจริงๆ แหละที่ได้ท�างาน กับเรา เขาเติบโตมากับวงดนตรีรอ็ กแอนด์โรลวงเดียวกับทีเ่ ราชอบ พู ด ง่ า ยๆ ก็ คื อ เราได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลทางดนตรี ม าจากคนกลุ ่ ม คล้ายๆ กัน ส�าหรับเขา การได้ท�าอัลบั้มเพลงร็อกเลยน่าตื่นเต้น มาก เราเองก็ตื่นเต้นที่จะได้ท�าอัลบั้มที่โปรดิวซ์โดยคนที่อยู่ นอกวงโคจรของตัวเอง ทุกคนคงจะคิดว่า การที่เราได้ท�างาน กับโปรดิวเซอร์ที่ท�าเพลงให้อะเดล และมาจาก The Bird and the Bee จะท�าให้เกิดอัลบั้มที่หวานหยดย้อยที่สุดในประวัติศาสตร์ ของ Foo Fighters ที่ตลกมากก็คืออัลบั้มที่ออกมาฟังยังไง ก็โคตรห่างไกลจากเพลงพ็อพเลย (หัวเราะ) เดฟ : Hello (ล้อเลียนเสียงอะเดล) ในขณะทีค่ วามเป็นจริง คือ Haloooooooooo (ตะโกน)

“ผมว่าเดฟเป็นส่วนส�าคัญที่ยังท�าให้ Foo Fighters เดินหน้าอยู่ เขามักจะมีไอเดียใหม่ๆ ให้เราท�าโน่นท�านี่ ท�าสารคดี ไปเล่นคอนเสิร์ตที่เวมบลีย์ มันมีอะไรให้ทา� อยู่ตลอด”

a day BULLETIN

16


17 ซึง่ ในอัลบัม ้ นี้ คุณร้องเพลงด้วยใช่ไหม เทย์เลอร์ ท�าไมถึงตัดสินใจร้องล่ะ

เทย์เลอร์ : ผมชอบร้องเพลงอยู่แล้ว มื อ กลองที่ ผ มชื่ น ชมมากตอนเป็ น เด็ ก คื อ โรเจอร์ เทย์เลอร์ จากวง Queen สิ่งหนึ่งที่ผม เหมือนโรเจอร์คือ ผมเริ่มจากการเล่นกลอง ก็ จ ริ ง ขณะเดี ย วกั น ผมก็ เ ล่ น กี ต าร์ แ ละ พยายามแต่งเพลงอยู่เรื่อยๆ แม้จะรู้อยู่แก่ใจ ว่าเล่นกลองเก่งที่สุดก็ตาม แต่ต่อให้ เฟรดดี้ เมอคิวรี จะเป็นหนึง่ ในนักร้องทีด่ ที สี่ ดุ คนหนึง่ ของโลก โรเจอร์ เทย์เลอร์ ก็ยังมีเพลงของ ตัวเองในอัลบั้ม Queen และผมก็ตั้งตารอ ที่จะฟังเพลงของเขาเพราะมันโคตรแตกต่าง จากเสียงของเฟรดดี้เลย ผมหวังมาตลอดว่า ไม่ว่าตัวเองจะไปอยู่ในวงไหน ผมอยากได้ โอกาสได้เป็นคนคนนัน้ ของวง ผมไม่อยากเป็น แค่มอื กลองคนหนึง่ ผมอยากเป็นมากกว่านัน้ ก็เหมือนกับเดฟนั่นแหละ สิ่งหนึ่งที่ผมรัก เกี่ยวกับเดฟคือ ครั้งแรกที่ผมเจอเขา เขานั่ง ประจ�าที่อยู่ที่กลองของวง Nirvana โดยมี ไมโครโฟนตั้งอยู่ตรงหน้า ผมโคตรชอบเลย มือกลองที่ร้องเพลงได้แบบนี้ เดฟ : บ้าน่า... (ผลักเทย์เลอร์) เทย์เลอร์ : เฮ้ย มันไม่คอ่ ยมีคนท�านะ หรืออย่างมือกลองของวง Arctic Monkeys (แมตต์ เฮลเดอร์ ส ) ที่ ร ้ อ งแบ็ ก อั พ ด้ ว ยก็ โคตรเจ๋ง เดฟ : หรือ ดอน เฮนลีย์ วง The Eagles แล้วสตู (สจ๊วต โคปแลนด์ จาก The Police) เคยร้องเปล่านะ เทย์เลอร์ : เออใช่ สตูเคยร้องอยู่ แถมยังมีเพลงของตัวเองในอัลบั้มด้วย

วงนั่นแหละ’ โอเคๆ เข้าใจแล้ว ส�าหรับเขา คงรู ้ สึ ก ไม่ เ หมื อ นเดิ ม คงรู ้ สึ ก ได้ รั บ การยอมรั บ มากขึ้ น แต่ ส� า หรั บ พวกเราเอง ไม่มีอะไรเปลี่ยนเลย เขายังเป็นส่วนหนึ่ง ของเราเหมือนเดิม เหมือนตอนทีย่ งั ไม่ได้เป็น หนึ่งในสมาชิกวงด้วยซ�้า รามี : คุณจะได้ยินผมใน 5 อัลบั้ม ล่าสุด (หัวเราะ) ตอนผมเข้ามาท�างานให้ Foo Fighters ครั้งแรก ผมเป็นเหมือนคนคอยดูแล เรื่องจิปาถะ ซึ่งผมประกาศเลยว่า ‘ผมจะไม่ ไปไหนแล้ว’ มาถึงอัลบั้ม Sonic Highways ที่ เ ดฟบอกว่ า ‘ท� า ไมไม่ ใ ห้ ร ามี มั น เล่ น ใน ทุกเพลงเลยล่ะ’ ทัง้ ๆ ทีใ่ นอัลบัม้ แรกๆ จะเป็น อารมณ์ ‘เฮ้ย เพลงนี้ควรมีคีย์บอร์ดนะ ส่วน เพลงนีไ้ ม่ตอ้ งมี’ และไม่รวู้ า่ คิดไปเองเปล่านะ แต่ มัน เหมือ นมีพ ลัง งานบางอย่ า งที่ท� า ให้ 2-3 เพลงในอัลบัม้ ทีม่ คี ยี ์บอร์ดของผมได้เป็น ซิงเกิล ทุกคนคงคิดว่า ‘พระเจ้า รามีมันเก่ง มาก’ (หัวเราะ) แพต : ในอัลบั้มล่าสุดนี้ รามีเข้ามา อยู่ในทุกๆ เพลง สงสัยจะต้องให้ทุกเพลง เป็นซิงเกิลแน่เลย (หัวเราะ) ตอนท�าอัลบั้ม Sonic Highways ที่พวกคุณเดินทางไปตามเมืองต่างๆ มันส่งผลมาถึงอัลบัม ้ ล่าสุดทีก ่ า� ลังจะ ปล่อยออกมาหรือเปล่า

คริส : ผมคิดว่ามันเป็นการท�าอัลบั้ม ทีโ่ คตรสนุก แล้วยังเป็นอะไรทีค่ ณ ุ คงไม่ได้ท�า อีกเป็นครั้งที่สอง แต่เราไม่ได้เข้าสตูดิโอกัน มานานมากแล้ว การได้กลับเข้าไปท�างาน ในนัน้ ก็เป็นเรือ่ งทีน่ า่ ตืน่ เต้นเหมือนกัน เรายัง คุยกันเล่นๆ เมือ่ วันก่อนเลยว่า รูแ้ ล้วว่าท�าไม วงดนตรียังท�าเพลงในสตูดิโออยู่ เพราะมันดี CHriS, PaT, rami อย่ า งนี้ นี่ เ อง แถมการได้ อ ยู ่ กั บ ที่ อยู ่ กั บ ครอบครัว เจอลูกๆ ทุกเช้าและก่อนนอน ความแตกต่ า งที่ เกร็ ก เคิ ร์ ส ติ น ก็ดีมาก เราท�างานในสตูดิโออยู่ 5 เดือน โปรดิวเซอร์คนใหม่น�ามาให้พวกคุณ ได้มั้ง ระหว่างนั้นก็ได้เจอหลายๆ วงที่เข้ามา ในอัลบัม ้ นีค ้ อ ื อะไร ท�าเพลงเหมือนกัน สนุกดี คริส : ก่อนทีจ่ ะเริม่ ท�าอัลบัม้ เดฟบอก ท�าไมคุณยังท�างานอย่างหนักเพือ่ สร้าง พวกเราว่าจะต้องสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่แตกต่าง ผลงานออกมาเรือ่ ยๆ มันเลยเป็นสปิรติ ของการท�าอัลบัม้ ใหม่ทกี่ า� ลัง คริส : ผมว่าเดฟเป็นส่วนส�าคัญที่ยัง จะออกนี้ ถ้าจะต้องไล่ว่าเกร็กสร้างความ- ท�าให้ Foo Fighters เดินหน้าอยู่ เขามักจะ เปลี่ยนแปลงอะไรให้กับ Foo Fighters บ้าง มีไอเดียใหม่ๆ ให้เราท�าโน่นท�านี่ ท�าสารคดี คงไล่ไม่หมด เพราะมันเยอะมาก แต่สิ่งที่ ไปเล่นคอนเสิร์ตที่เวมบลีย์ มันมีอะไรให้ท�า ส�าคัญส�าหรับผมคือ เขาสามารถท�าให้ไอเดีย อยู่ตลอด ของเดฟที่อยู่ในหัวมาเป็นปีๆ เกิดขึ้นได้จริง แพต : เดฟตื่นเต้นกับทุกอย่างที่ท�า เสียงของอัลบัม้ นีก้ เ็ ลยแตกต่างอย่างเห็นได้ชดั พอเขาตื่นเต้นก็ท�าให้คนอื่นๆ ในวงตื่นเต้น แพต : ตั้งแต่ที่รู้จักเดฟมาหลายสิบปี ไปด้วย เขาจะบอกตลอดว่า ‘เฮ้ย มึงรู้จักวงที่ชื่อว่า รามี : เขาคืออาวุธลับของเรา 10cc หรือเปล่าวะ ที่มีเสียงร้องประหลาดๆ’ แพต : แต่เขาไม่ลับแล้วนะ! (หัวเราะ) ซึง่ เราก็ไม่รนู้ ะว่าต้องท�ายังไง เพราะเป็นเรือ่ ง การได้เป็นร็อกสตาร์ในวัยเลข 4 เลข 5 เทคนิคของโปรดิวเซอร์ลว้ นๆ ผมได้ยนิ มันพูด เป็นอย่างไร แบบนีก้ บั โปรดิวเซอร์ 5 คนทีผ่ า่ นมา (หัวเราะ) แพต : มันไม่แตกต่างหรอก เพราะ พวกเขาก็จะตอบแบบเดิมๆ ว่าให้ลองท�า 20 ปีกอ่ นเราก็ไม่ได้ท�าตัวบ้าบอหรือหลุดโลก แบบโน้นแบบนี้ ซึง่ ก็ไม่ตรงตามทีเ่ ดฟต้องการ ขนาดนั้น นั่นคือเหตุผลที่เรายังมีชีวิตอยู่ถึง สักที พอมาถึงตาเกร็ก เดฟก็เอาเพลงของ วันนี้ และยังท�าดนตรีอยู่ เราค่อยๆ เรียนรู้ 10cc ให้ฟังอีก แล้วเกร็กก็บอกเลยว่าต้องท�า ผ่านตัวเอง ผ่านช่วงเวลามากกว่า ยังไง แค่นั้นเลย รามี : เราก็นั่งดื่มน�า้ เปล่า ดื่มกาแฟ นอกจากโปรดิ ว เซอร์ ค นใหม่ แ ล้ ว อยู ่ นี่ ไ ง คุ ณ ก็ ล องคิ ด เอาเองแล้ ว กั น คุณยังมีสมาชิกใหม่อย่างรามีดว้ ย (หัวเราะ) แพต : แต่เขาไม่ใหม่แล้วนะ! (หัวเราะ) จ�าได้เลยตอนที่ผมเล่าให้เมียฟังเรื่องที่รามี จะมาเป็นสมาชิกใหม่ของวง เธอมองผม เหมือนผมเป็นคนโง่แล้วบอกว่า ‘รามีก็อยู่ใน วงอยูแ่ ล้วหรือเปล่า นานพอๆ กับทีค่ ณ ุ อยูใ่ น


a day BULLETIN

T ส� า หรั บ คุ ณ เดฟ โกรห์ ล อาจจะเป็นอดีตมือกลองของวง ที่ เ คยดั ง ที่ สุ ด ในยุ ค 90s หรื อ อาจจะเป็ น ฟรอนต์ แ มนของวง Foo Fighters หรืออาจจะเป็นแค่ นักดนตรีคนหนึ่ง

F

ส�าหรับเรา เดฟ โกรห์ล ไม่ใช่เทพเจ้า แต่ เ ป็ น มนุ ษ ย์ ค นหนึ่ ง ที่ มี ทั้ ง พรสวรรค์ ความอัจฉริยะทางดนตรี และความมุ่งมั่นที่จะ สร้างสิ่งต่างๆ ให้ส�าเร็จ กับวัย 48 ปีในวันนี้ เดฟ โกรห์ล ได้พสิ จู น์ แล้วว่าเขาคืออีกหนึ่งบุคคลส�าคัญในประวัติศาสตร์แห่งวงการดนตรี หลายๆ ครั้งที่เราต้องคอยตอบค�าถาม เพือ่ นๆ ว่าท�าไมถึงชอบวง Foo Fighters เหลือเกิน การหาค� า ตอบมาให้ ค นอื่ น มั น ช่ า งยากเย็ น เพราะเรารู้อยู่แค่ในใจเราว่าดนตรีของ Foo Fighters มันถูกจริต เราเข้าถึงได้ และทุกเพลง มีอิทธิพลต่อความคิดในแต่ละช่วงเวลาในชีวิต ของเรา ซึ่งนี่คือจุดเริ่มต้น พออยากรูอ้ ะไรมากขึน้ การอ่านให้เยอะ ดูให้เยอะ ทุกเรื่องเกี่ยวกับ เดฟ โกรห์ล และวง Foo Fighters คือค�าตอบส�าหรับเรา เพื่ อ จะรู ้ ใ ห้ ม ากขึ้ น ต้ อ งย้ อ นกลั บ ไป ตั้งแต่เมื่อเราเริ่มรู้จัก เดฟ โกรห์ล ในฐานะ มื อ กลองวง Nirvana (ปี 1990) กั บ อั ล บั้ ม Nevermind ซึง่ ถือเป็นอัลบัม้ ทีส่ ร้างปรากฏการณ์ และเปลีย่ นโลกการฟังดนตรีของคนทัง้ โลก เรา ไม่ได้โฟกัสที่ เคิร์ต โคเบน เหมือนกับคนอื่นๆ เรากลับไปโฟกัสที่ เดฟ โกรห์ล ตัง้ แต่ตอนนัน้ เลย ในใจเราคิดว่า “โอ้โฮ... มือกลองคนนี้ ท� า ไมเวลาตี ก ลองมั น หนั ก หน่ ว งได้ ข นาดนี้ โคตรมันเลย” เราคอยจึงติดตามมาเรื่อยๆ จนกระทั่ง วันที่เคิร์ตเสียชีวิต แล้วก็ไม่คิดว่าจะได้เห็น มือกลองคนนี้อีกแล้ว เพราะวงแห่งต�านานนี้ คงยุบไป และมือกลองที่อยู่ข้างหลังสุดก็คง เลือนหายไป เราไม่เคยคิด และคงไม่มีใครคิด ด้วยว่า เดฟ โกรห์ล คนนีจ้ ะลุกขึน้ มาตัง้ วงใหม่ แล้วก็เปลี่ยนบทบาทจากมือกลองเบื้องหลัง มาเป็นนักร้องน�าและเล่นกีตาร์อยู่เบื้องหน้า เสี ย ดายที่ เ ราไม่ ไ ด้ ไ ปดู ค อนเสิ ร ์ ต ใน อัลบั้มแรก Foo Fighters ตอนที่มาเมืองไทย ในปี 1996 เพราะตอนนั้นยังไม่อินกับการไปดู คอนเสิร์ต เราใช้วิธีติดตามผลงานของพวกเขา จากช่องทางอื่น อย่างการซื้อเทป ซีดี และ ตามอ่ า นบทสั ม ภาษณ์ ที่ ล งในแมกกาซี น ต่างประเทศ พอมาถึ ง ยุ ค หลั ง ๆ ก็ เ ริ่ ม มี ห นั ง สื อ

G issue 502 04 SEP 2017

F

H

18

I ชีวประวัติเกี่ยวกับ เดฟ โกรห์ล ออกวางตลาด พออ่านมากขึ้นก็ท�าให้อินมากขึ้น ตามดูสารคดี ทุ ก เรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ วง ซึ่ ง นั่ น ถื อ เป็ น จุ ด เปลี่ ย น เราซึ ม ซั บ ทุ ก ตั ว อั ก ษร ทุ ก ประโยค ทุ ก ค� า พู ด ท� า ให้ รู ้ ไ ทม์ ไ ลน์ ใ นชี วิ ต ของเขาว่ า ปี นั้ น วั น นั้ น ตอนนั้น เดฟก�าลังคิดอะไร ก�าลังท�าอะไร เรื่องราวทุกอย่างของเดฟและวงอยู่ในหัว หมด เห็นพัฒนาการของวงที่ค่อยๆ ไต่ระดับขึ้น เรื่อยๆ แล้วความชอบก็ค่อยๆ ซึมซับจนกลายเป็น ว่า เดฟ โกรห์ล คือนักดนตรีที่เราชอบที่สุด และวง Foo Fighters คือวงดนตรีที่ดีที่สุดในความเห็น ของเราเช่นกัน ความชอบนีย้ งั ไม่เคยแชร์กบั ใคร เก็บความชอบไว้กับตัวเอง มีความสุขอยู่กับตัวเอง เพราะ เอาเข้าจริงๆ ในบ้านเรา Foo Fighters ไม่ใช่วงทีโ่ ด่งดัง หรือแมสในขนาดที่พอเอ่ยชื่อแล้วทุกคนจะรู้จัก

I

G O

G


H

G

“แน่นอนว่าการจะกลับมายิ่งใหญ่แบบตอนอยู่ Nirvana คงเป็นไปไม่ได้ แต่นั่นไม่มีใครรู้หรอกว่าสิ่งที่ เดฟ โกรห์ล ก�าลังพยายามท�าอยู่ คือการช่วยให้ เขาข้ามผ่านความเศร้าจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น... เดฟบอกกับตัวเองว่าเขาจะถอยหลังไม่ได้ เขารักดนตรี เขาต้องลุกขึ้นท�ามันต่อไป”

G

19 จนกระทั่งถึงวันที่มีงานทริบิวต์ในธีม เดฟ โกรห์ล เราก็ไปร่วมงานแล้วได้รู้จักกับ ‘คุณใหม่’ - พิชชานันท์ ชัยศิริ ซึ่งเป็นแอดมิน Nirvana Thailand group, Foo Fighters Thailand Fanpage และ Foo Fighters Thailand group ในเฟซบุ๊ก พอคุยกันถูกคอ เลยให้เรามาเป็น แอดมินทั้งในเพจและในกลุ่ม ซึ่งเขาเองก็ยอมรับว่า ในเพจของเรานี้มันเงียบๆ นะ ไม่ค่อยได้อัพเดตอะไร เพราะคนชอบไม่เยอะเท่าวงอื่นๆ หลังจากนัน้ มาเราพยายามท�าคอนเทนต์เรือ่ งของ Foo Fighters อย่างตั้งใจ พอมาถึงตรงนี้เราก็ต้องรู้ ต้องอ่าน ต้องเข้าใจมากกว่าคนอื่น เลยใช้วิธีเริ่มศึกษา ข้อมูลให้เยอะขึ้นไปอีก คอยอัพเดตข่าว Foo Fighters ทุกวัน ดูสารคดีทกุ เรือ่ ง แม้แต่หนังเรือ่ งไหนใช้เพลงประกอบ ของ Foo Fighters จดบันทึกทุกสิ่งอย่าง ทั้งเหตุการณ์ ส�าคัญๆ หรือแม้กระทั่งค�าพูดของทุกคนในวงที่สามารถ เอามาเป็นคอนเทนต์ที่ดีได้ เราศึกษาจนเข้าใจประวัติทั้งหมด ถึงแม้ว่าเรื่อง ดนตรี เรื่องคอร์ด เราอาจไม่รู้เท่านักดนตรี ถามมา ตอบไม่ได้หรอก แต่ถ้ามาถามเรื่องตั้งแต่เดฟเกิด จนถึง ปัจจุบันนี่เราตอบได้หมด ในทีม Foo Fighters Thailand วิเคราะห์แม้กระทั่งเซตลิสต์ในแต่ละโชว์เล่นเพลงไหน เล่นเพลงในอัลบัม้ อะไรมากน้อยกว่ากัน จนเราจับทางได้ จุดหมายอย่างเดียวคือท�าให้เพื่อนๆ ในแฟนเพจ Foo Fighters เข้าใจและชอบ Foo Fighters มากขึน้ เหมือน กับเรา ถ้าใครมีโอกาสได้ดสู ารคดีของวงนีม้ าบ้าง จะรูเ้ ลย ว่าทุกคนคืออัจฉริยะ โดยเฉพาะ เดฟ โกรห์ล วิธีการคิด มุม มอง การพู ด การใช้ชีวิต ทั้ง บนเวทีแ ละชีวิต จริง ทุกอย่างมันท�าให้เรารักคนคนนี้ได้ ประโยคหนึ่ ง ซึ่ ง เราจดจ� า ขึ้ น ใจ เดฟบอกว่ า “มันโคตรน่าร�าคาญเลยทีใ่ ครมาบอกว่าผมเป็นร็อกสตาร์ ที่นิสัยดีที่สุด ผมก็เป็นแค่มนุษย์คนหนึ่งที่มีอารมณ์รัก โลภ โกรธ หลงเหมือนกับมนุษย์ทุกคนนั่นแหละ” ในขณะที่สื่อต่างบอกว่าเดฟคือ ‘The nicest guy in rock’ ถ้าลองสังเกตทีผ่ า่ นมา เดฟเป็นคนทีเ่ ข้ากับทุกคน ทุกวงได้ดี สามารถกระโดดขึน้ ไปแจมบนเวทีหรือท�าเพลง กับใครก็ได้ แทบไม่มีข้อจ�ากัดอะไรเลย การที่ชาวอิตาเลียน 1,000 คน ในเมืองเล็กๆ พร้อมใจกันเล่นเพลง Learn To Fly เพื่อเป็นการขอร้อง ให้วงมาเปิดคอนเสิรต์ เดฟรีบตอบกลับทันทีและก็ไปโชว์ ที่นั่นจริงๆ ตอนปี 2015 ที่ เ ดฟตกเวที ข าหั ก ขณะไปโชว์ ที่ประเทศสวีเดน เดฟเลือกที่จะไปปฐมพยาบาล แล้ว กลับขึ้นมาโชว์ต่อจนจบด้วยสปิริตนักดนตรี ล่าสุด คนระดับเดฟคือซูเปอร์วีไอพีที่สามารถ เรี ย กร้ อ งอะไรก็ ไ ด้ แต่ เ ดฟเลื อ กที่ จ ะดู ค อนเสิ ร ์ ต วง Metallica กับแฟนเพลงทุกคนด้านล่าง เรามองว่าการทีว่ ง Foo Fighters ได้รบั เลือกให้เป็น headliner ในงานเทศกาลดนตรีระดับโลกต่างๆ จาก อั ล บั้ ม แรกที่ มี ค นดู แ ค่ ห ลั ก ร้ อ ยจนวั น นี้ ที่ มี ค นดู เ ป็ น หลักแสน นี่คือข้อพิสูจน์แล้วว่า Foo Fighters ยิ่งใหญ่ ขนาดไหน เดฟเองกลับไม่เคยมองว่าวงของเขายิ่งใหญ่เลย เขาเคยบอกว่า เราจะท�าทุกอย่างให้พัฒนาขึ้นไปอีก เราจะหาอะไรใหม่ๆ ให้คนฟังตลอดไป สิง่ ที่ Foo Fighters ก�าลังท�าไม่ใช่เพื่อตัวพวกเขาเอง แต่เขาท�าเพื่อคนฟัง ทุกคน นั่นจึงเป็นจุดที่ท�าให้วง Foo Fighters ไม่หยุด พัฒนาตัวเอง ช่วงหลังๆ เราอินกับการดูคอนเสิร์ต โดยเริ่ม มาจากการได้พูดคุยกับ แพท บุญสินสุข พี่แพทเล่า บรรยากาศให้ ฟ ั ง ตอนไปดู ค อนเสิ ร ์ ต Foo Fighters นั่นเป็นอีกหนึ่งจุดเปลี่ยนที่ท�าให้เราอยากไปดู อยากไป เห็นกับตา อยากไปรู้สึกด้วยตัวเอง หลายๆ คนบอกว่า

H

O

H abouT Her

มัลลิกา บุญยืน (ตัม ้ )

E

Foo Fighters คือวงที่โชว์สดได้มันที่สุดของโลก มาดูกันว่า จะเป็นอย่างนั้นจริงหรือเปล่า หลังเช็กตารางทัวร์กม็ ที ญ ี่ ปี่ นุ่ ทีถ่ อื ว่าพอจะเป็นไปได้ ทั้งเรื่องงบประมาณและเวลา เราจึงเลือกไปดูที่เทศกาล ดนตรี Summer Sonic กับแอดมินเพจ Foo Fighters Thailand วันที่ 20 สิงหาคม 2560 เวลาสองทุ่มสิบห้านาที ตามเวลาประเทศญีป่ นุ่ ในขณะทีร่ อทีมงานเซตอัพเครือ่ งดนตรี วินาทีที่เห็นทีมงานถือกีตาร์ Gibson สีฟ้าตัวนั้นออกมา ซึ่งเป็นกีตาร์ประจ�าตัวของเดฟ เราน�้าตาไหลเลย มันคือ กีตาร์ที่เราเห็นในทีวีและในแมกกาซีนมาตลอด ตอนนี้เรา ได้เห็นของจริงแล้ว สองทุ ่ ม สามสิ บ ห้ า นาที ทุ ก คนในวงเดิ น ออกมา มันเป็นความรู้สึกที่บรรยายไม่ถูก นี่คือ เดฟ โกรห์ล นี่คือ ทุกคนในวง Foo Fighters ทีเ่ ราชืน่ ชม วงเลือกเล่นเพลงฮิตๆ เพราะมีเวลาโชว์แค่ 80 นาที บอกตรงๆ ว่ามันเป็นโมเมนต์ ที่ไม่อยากหยิบกล้องขึ้นมาถ่ายรูป เพราะอยากซึมซับ ทุกสิ่งทุกอย่างด้วยตาตัวเองจริงๆ พลังของเดฟและวง Foo Fighters ส่งมาถึงผู้ชม ทุกคนอย่างแท้จริง และอีกหนึ่งความประทับใจคือเรา ได้เห็นเดฟตีกลองสดๆ กับตาตัวเองเลย นี่ก็ท�าเอาน�้าตา ซึมไปด้วย ตอนที่ทุกคนร้องเพลงไปพร้อมกัน กระโดด ไปพร้อมกัน คือภาพจ�าที่ประทับใจที่สุด คิดง่ายๆ จะมีมือกลองสักกี่คนที่ลุกขึ้นมาตั้งวงของ ตัวเอง ยอมทนความกดดันจากคนรอบข้าง รวมถึงจากสื่อ ต่างๆ ทีบ่ อกว่าเดฟตัง้ วงใหม่เร็วเกินไป เพราะ Foo Fighters ก่อตั้งหลังการเสียชีวิตของ เคิร์ต โคเบน ไม่นาน ทุกคน ในตอนนัน้ รุมด่าว่าท�าไมเดฟถึงท�าใจได้เร็วแบบนี้ ไม่เสียใจ เหรอทีเ่ พือ่ นรักตาย และคอยจับตามองว่าเดฟจะไปได้ไกล แค่ไหน แน่ น อนว่ า การจะกลั บ มายิ่ ง ใหญ่ แ บบตอนอยู ่ Nirvana คงเป็นไปไม่ได้ แต่นั่นไม่มีใครรู้หรอกว่าสิ่งที่ เดฟ โกรห์ล ก�าลังพยายามท�าอยู่ คือการช่วยให้เขาข้าม ผ่านความเศร้าจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เดฟบอกกับตัวเองว่าเขาจะถอยหลังไม่ได้ เขารัก ดนตรี เขาต้องลุกขึ้นท�ามันต่อไป ส�าหรับเรา เดฟคือตัวอย่างของนักสู้ที่รักการต่อสู้ การลุกขึ้นยืนหยัดอีกครั้ง ความอดทน การไม่ยอมแพ้ การรู้ว่าแท้จริงแล้วตัวเองต้องการอะไร แล้วก็สู้ไปจนถึง จุดนั้น นีค่ อื เบือ้ งหลังความคิดของความยิง่ ใหญ่และความส�าเร็จ เราเชื่อว่าคนทุกคนมีความอัจฉริยะ แต่เดฟคือ คนที่แสดงให้เห็น เขาได้น�าจุดนั้นมาใช้ แล้วมันก็ได้ผล อย่างที่เราเห็นกัน

T

D T

บรรณาธิ ก ารความงามนิ ต ยสารฉบั บ หนึ่ ง แอดมิ น เฟซบุ๊ ก แฟนเพจ Foo Fighters Thailand รัก เดฟ โกรห์ล และ Foo Fighters


a day BULLETIN

A MUST

20

SERIES

Marvel’s The Defenders ถ้าคุณก�าลังจะเริ่มต้นดูเรื่องราวของซูเปอร์ฮีโร่ทั้ง 4 นี้ เราแนะน�าว่าให้เริ่มต้นที่ Daredevil season 1 แล้วตามด้วย Jessica Jones, Daredevil season 2, Luke Cage และ Iron Fist ตามล�าดับ ซึง่ ทัง้ หมดจะมาบรรจบทีฉ ่ ากเปิดเรือ ่ งของ Marvel’s The Defenders พอดี

ในระหว่างทีพ่ วกซูเปอร์ฮโี ร่ตวั พ่ออย่างกลุม่ Avengers ก� า ลั ง วุ ่ น วายอยู ่ กั บ การปกป้ อ งโลก และพั ว พั น อยู ่ กั บ การแก้ปัญหาส่วนตัวเรื่องความขัดแย้งในทีมของตัวเอง ยังมีซูเปอร์ฮีโร่ระดับต�าบลอยู่ตามมุมเล็กๆ ในนิวยอร์ก คอยท�าหน้าที่ปกป้องเมืองที่ตัวเองรักอยู่ พวกเขามีชื่อว่า The Defenders ซึ่งประกอบไปด้วย Daredevil ทนายความ ตาบอดตอนกลางวัน และปีศาจร้าย (ส�าหรับพวกคนเลว) ทีม่ ปี ระสาทสัมผัสเหนือมนุษย์ตอนกลางคืน, Jessica Jones นักสืบหญิงทีป่ ากคอเราะร้ายแต่มพี ละก�าลังมหาศาล, Luke Cage หนุ่มผิวสีสุดเซ็กซี่กับร่างกายที่คงกระพัน และ Iron Fist มหาเศรษฐีหนุม่ ทีไ่ ด้รบั การฝึกฝนวิชากังฟูจากนักบวช ส�านักคุนหลุน แถมมีหมัดเหล็กเรืองแสงที่ทรงพลัง ซึ่งทั้ง สี่คนที่มีเรื่องราวแยกย่อยเป็นของตัวเองก่อนหน้านี้ก็มา รวมตัวกันแบบเฉพาะกิจเพื่อต่อสู้กับ The Hand องค์กรลับ ที่มีความเป็นมาอย่างยาวนาน และมีแผนการบางอย่าง ในการท�าลายเมืองนิวยอร์ก เรื่องราวของ Marvel’s The Defenders ด�าเนินต่อ จากซีรีส์ภาคแยกของฮีโร่ทั้งสี่คนนี้ โดยไม่มีการปูพื้นถึง เรือ่ งราวก่อนหน้า ท�าให้เนือ้ เรือ่ งมีความกระชับ เดินเรือ่ งเร็ว ซึง่ เป็นผลดีตอ่ คนทีต่ ามดูเรือ่ งราวของผูพ้ ทิ กั ษ์ทงั้ สี่ ส�าหรับ ใครที่เพิ่งเริ่มดูเรื่องนี้ก็ยังสามารถท�าความเข้าใจและสนุก ไปกับเนื้อเรื่องของภาคนี้ได้ โดยอาจจะมีค�าถามเกิดขึ้น ในหัวเป็นระยะอยู่บ้างว่าตัวละครเสริมในเรื่องนั้นเป็นใคร และมีความส�าคัญกับพวกเขาอย่างไร ซึ่งเราก็แนะน�าว่า ควรไปไล่ดแู ต่ละภาคของซีรสี น์ กี้ อ่ นจะดีกว่า และ Marvel’s The Defenders ซีซันแรกมีเพียง 8 ตอนเท่านั้น จึงใช้เวลา ไม่นานที่คุณจะดูได้จนจบ Marvel’s The Defenders รับชมได้ทาง Netflffllix ซึ่งสามารถเปิดดูได้ทางสมาร์ตโฟน แทบเล็ต คอมพิวเตอร์ เพลย์สเตชัน 4 เครือ่ งเล่นบลูเรย์ สมาร์ตทีวที มี่ แี อพพลิเคชัน Netfl f fl l ix รวมถึ ง apple TV และแอนดรอยด์ บ อกซ์ (มีคา� บรรยายภาษาไทย และบางเรื่องมีพากย์ไทย) โดยมี ค่าบริการเริ่มต้นที่เดือนละ 280 บาท (ทดลองใช้งานฟรี หนึ่ ง เดื อ นในการสมั ค รครั้ ง แรก) รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม www.netffllflix.com

BOOK issue 502

MORE FORENSICS AND FICTION ฆาตกรรมช�านาญ

04 SEP 2017

คุณเคยสงสัยไหมว่า พิษงูที่อยู่ในผลไม้จะท�าให้เราเสียชีวิตได้หรือไม่ เม็ดทรายบนชายหาดจะช่วย ไขปริศนาของคดีฆาตกรรมได้อย่างไร หรือการตรวจดีเอ็นเอจะบอกได้หรือไม่ว่าผู้เสียชีวิตเป็นแวมไพร์ หากคุณเคยสงสัย คุณหมอ ดี. พี. ไลล์ จะช่วยตอบค�าถามเหล่านี้และค�าถามอื่นๆ อีกมากมายที่ส่งมาจาก นักเขียนช่างคิดทั่วโลกกว่า 200 ค�าถาม พร้อมให้ข้อมูลทางการแพทย์ นิติวิทยาศาสตร์ และการสืบสวน สอบสวนทีเ่ พลิดเพลินชวนขบคิด ซึง่ อาจจุดประกายเรือ่ งเล่าของตัวคุณเองได้เช่นเดียวกัน (ส�านักพิมพ์ a book / ราคา 420 บาท)

GADGET

สมาร์ ต โฟนสี ช มพู บ รอนซ์ ทีส่ วยงามเตะตา แถมประสิทธิภาพ ก็ ไ ม่ เ ป็ น รองใคร โดยเฉพาะ เทคโนโลยี ก ารถ่ า ยภาพแบบ Super Slow Motion 960 เฟรมต่อ วินาที ทีช่ ว่ ยเก็บภาพได้อย่างคมชัด และรวดเร็ว ท�าให้ไม่พลาดจังหวะ ดีๆ ทีเ่ กิดขึน้ อย่างอยูม่ อื จอทัชสกรีน แสดงผลระดับ 4K HDR ช่วยให้ มุ ม มองของคุ ณ ชั ด เจนอย่ า ง สมบูรณแบบ แต่ที่ส�าคัญ XperiaTM XZ Premium สี Bronze Pink มีจา� หน่าย จ� า นวนจ� า กั ด ดู ร ายละเอี ย ด เพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/ sonymobileth

EVENT

ใครที่หลงรักหนังสือศิลปะ สวยๆ ดีไซน์แปลกตา พลาดไม่ได้ กับงาน Bangkok Art Book Fair 2017 เทศกาลหนังสือศิลปะที่จัดขึ้นเป็น ครัง้ แรกในประเทศไทย ซึง่ นอกจาก จะมีหนังสือแปลกใหม่ให้ได้เสพ แล้ว ยังมีดนตรีสด และนิทรรศการ เกี่ยวกับหนังสือศิลปะที่น่าสนใจ สุ ด ๆ แล้ ว พบกั น ในวั น ที่ 7-10 กันยายน 2560 ที่ บางกอก ซิตี้ซิตี้ แกลเลอรี ค่ า เข้ า งาน 60 บาท เด็กอายุตา�่ กว่า 12 ปี เข้าฟรี


21 01

02

03

05 04

1. CONCERT

2. MOVIE

3. BEAUTY

4. PRODUCT

5. COLLECTION

ไม่ปล่อยให้แฟนๆ คอดนตรี อิเล็กทรอนิกต้องรอนาน เพราะ FKJ ดี เ จและโปรดิ ว เซอร์ ห นุ่ ม ชาวฝรั่งเศสเตรียมกลับมาเปิด คอนเสิร์ตในกรุงเทพฯ อีกครั้ง ในวันศุกร์ที่ 15 กันยายน 2017 นี้ ที่ HEAVEN Bangkok @ ZEN Central World พร้อมขนเพลงฮิตอย่าง Lying Together, So Much to Me, Learn to Fly และ Skyline มาให้ฟงั กันอย่างจุใจ ซือ้ บัตรได้ที่ www. ticketmelon.com รายละเอียด เพิ่ม เติ ม www.facebook.com/ darkwhitebkk

นิรันดร์ราตรี ภาพยนตร์ สารคดี แ นวทดลองขนาดยาว เ รื่ อ ง แ ร ก ข อ ง ว ร ร จ ธ น ภู มิ ล า ย สุ ว ร ร ณ ชั ย แ ห ่ ง ก ลุ ่ ม Eyedropper Fill ที่ ถ ่ า ยทอด เรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ ธนบุ รี ร ามา โรงหนังสแตนด์อโลนแห่งสุดท้าย ในกรุงเทพฯ ที่เปิดให้บริการมา ยาวนานกว่ า 40 ปี พร้ อ มกั บ ติดตามชีวิตของ ‘ฤทธิ์’ - สัมฤทธิ์ ประประโคน ผู ้ เ คยเป็ น คน ฉายหนังในธนบุรรี ามา ทีย่ งั คงใช้ ชีวิตอยู่ในโรงหนังดังกล่าวจนถึง ทุ ก วั น นี้ ฉายที่ โ รงภาพยนตร์ House RCA ดูรายละเอียดได้ที่ www.houserama.com

ใครที่ก�าลังหาตัวช่วยใน การฟืน้ ฟูผวิ หน้าให้กลับมาสดใส ลองเซรั ม ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ของ อาร์ทิสทรี อย่าง Artistry Ideal Radiance Spot Essence Concentrate ซึ่ ง ใช้ เ ทคโนโลยี เ อเอทู จี สกินไบรเทนนิง ทีช่ ่วยให้ผวิ หน้า กระจ่างใส แถมมีสารสกัดดอก สตาร์ลิลลีเบลนด์จากประเทศ กรีซ และส่วนผสมจากธรรมชาติ อี ก มากมายมาเสริ ม ความแข็ ง แรงให้ ผิ ว หน้ า ได้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ขนาด 30 มิ ล ลิ ลิ ต ร ราคา 3,400 บาท

Swatch รุน่ Fall Collection เอาใจคนสายธรรมชาติ ด ้ ว ย การใช้สีสันและการออกแบบให้ เข้ากับช่วงฤดูใบไม้รว่ ง ผสมผสาน รู ป แบบของนาฬิ ก าร่ ว มสมั ย แบ่ ง ออกเป็ น สามคอลเล็ ก ชั น ได้ แ ก่ Countryside ถ่ า ยทอด เรื่ อ งราวของชนบทในดิ น แดน ยุโรป Time to Swatch ถ่ายทอด ความสุ ข ผ่ า นความเรี ย บง่ า ย แฝงด้ ว ยความร่ า เริ ง และ Swissness ภูเขาใหญ่ที่เขียวขจี ที่ ย อดเขาปกคลุ ม ด้ ว ยหิ ม ะ ใส่ ก ลิ่ น อายของช็ อ กโกแลต เข้มข้นหอมมัน และชีสแสนอร่อย ไว้อย่างกลมกลืน

เมื่อกระเป๋าหนังดีไซน์เท่ โมเลสกิน ที่หยิบไอเดียมาจาก สมุ ด บั น ทึ ก เพื่ อ เอาใจเหล่ า นักเดินทาง ได้ส่งกระเป๋ารุ่นแรก ออกมาเมื่อปี 2011 โดย กิวลิโอ แลคเคตติ ดีไซเนอร์แห่งมิลาน มาปีนยี้ งั คงเอาใจแฟนๆ เช่นเดิม ด้ ว ยการส่ ง กระเป๋ า สวยๆ อี ก 10 รุ่น ให้คุณเลือกใช้ โดยมีสอง วัสดุให้เลือกคือ หนังแท้ 100% และโพลี ยู รี เ ทนคุ ณ ภาพสู ง ป้ อ งกั น น�้ า ซึ ม เข้ า มาพร้ อ ม ความเรียบหรูดูทันสมัย ซับใน ด้วยผ้าลายโมโนแกรม ช้อปปิ้ง ออนไลน์ได้ที่ Youmakeithappen. com, Kingpoweronline.com และ Shopseason.com


a day BULLETIN

CONNECTING THE DOTS

เรื่อง : กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร

22

1 9 97 ท�าการเปิดโรงเรียน ส อ น ภ า ษ า ญี่ ปุ่ น Mainichi สาขาแรก

2004 • เ ริ่ ม โ ค ร ง ก า ร นักเรียนแลกเปลีย ่ น Mainichi Japanese Exchange Scholarship (MJES) • จั ด งาน Japan Festa ครั้งที่ 1

2011 ก่อตั้งบริษัท G Yu Creative เพื่อดูแล งานด้านอีเวนต์

20 1 5 จัดงาน Japan Expo ครั้ ง ที่ 1 โดยรวม Japan Festa เข้าเป็น ส่วนหนีง่ ของงาน

issue 502 04 SEP 2017


23

Profile : เรื่องเล่าการเดินทางสายธุรกิจของ ยุพเรศ เอกธุระประคัลภ์ ผู้บริหารคนเก่งแห่ง Mainichi Academic Group จากโรงเรียนสอนภาษาญี่ปุ่นเล็กๆ ที่เกิดจากความรัก สู่การเป็นแรงขับเคลื่อนหลักของคลื่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น ในประเทศไทย

“พอมี ค รู แ ล้ ว ที นี้ ต ้ อ งหา นักเรียน เริม่ มีการตลาดเข้ามา ยิ่งเราท�าดีมากเท่าไหร่ก็ยิ่ง ได้ความเชื่อใจสะท้อนกลับ มามากเท่านัน้ คุณครูทกุ คน ท�าให้ไมนิจิมีวันนี้ได้ จาก วันแรกที่มีนักเรียน 2-3 คน กลายเป็น 10 คน แล้วก็เป็น 20 คน จนเราค่อยๆ เติบโต ขึ้ น จึ ง ได้ เ ริ่ ม ส่ ง อาจารย์ ไปสอนในมหาวิทยาลัย ได้ ท�าหลักสูตรให้กับโรงเรียน หลายๆ แห่ง พูดเหมือนเร็ว แต่ที่จริงมันค่อยๆ ใช้เวลา หลายปีนะ เหมือนเราเป็น ลูกบอลหิมะที่ค่อยๆ หมุน และขยายกว้างขึ้น ได้เห็น อะไรมากขึ้นเรื่อยๆ”

“ท�าโรงเรียนไปสัก 5 ปี ก็เริม่ มองหาความท้าทายก้าวใหม่ อีกครั้ง เราชอบความสนุก และการเรียนภาษาก็ตอ้ งการ ความสนุกเหมือนกัน ซึง่ จะ สนุกได้กต็ อ่ เมือ่ นักเรียนรูส้ กึ รั ก หรื อ ผู ก พั น กั บ มั น ก่ อ น ตรงนี้ท�าให้เราเริ่มโครงการ นักเรียนแลกเปลี่ยนขึ้นมา โดยให้นกั เรียนไปเรียนทีญ ่ ปี่ นุ่ ประมาณ 10 เดือน โดยอาศัย อยู่กับครอบครัวชาวญี่ปุ่น ซึง่ ช่วงแรกก็ยากอีกนัน่ แหละ ก็คอ่ ยๆ ท�ามาจนตอนนี้ 10 กว่าปีแล้ว ได้ตอ่ ยอดเป็นค่าย Summer Camp in Japan อีกหลายรุ่น เราดีใจมากที่ ความคิ ด เล็ ก ๆ ของเรา สามารถสร้างคนเก่งให้กับ ประเทศได้”

“ทีผ่ า่ นมามีหลายช่วงทีไ่ มนิจิ หาไม่เจอว่าอนาคตจะเติบโต ไปยั ง ไงเหมื อ นกั น ในหั ว มีความคิดจะท�านั่นท�านี่ฟุ้ง ไปหมด จนบางครั้งยิ่งคิดหา ทางออกมากเท่าไหร่กย็ งิ่ เปิด โอกาสให้ ตั ว เองหนี ม าก เท่านั้น เวลาเจออุปสรรคมัน เหมื อ นกั บ เราอยู ่ ใ นห้ อ ง แคบๆ หายใจไม่ออก เลย มองหาประตู เ พื่ อ ออกไป ข้างนอก ซึง่ ถ้าเรามองมุมใหม่ ว่าในห้องนี้ไม่มีประตู เราจะ เริ่ ม คิ ด หาทางมี ชี วิ ต รอด ภายในห้องนี้ได้ นี่แหละ เรา เอาชนะได้ ด ้ ว ยการเผชิ ญ หน้ากับมัน ท�างานอยูใ่ นห้อง ต่อไป ให้มันแตกต่าง ดีขึ้น และเหนือชัน้ กว่า นีค่ อื ทางรอด”

“เราเริม่ ท�าอีเวนต์และได้ผล ตอบรับทีด่ มี าก G Yu Creative จึงเกิดขึน้ เพือ่ ดูแลงานส่วนนี้ ได้ตอ่ ยอดคอนเน็กชันทีส่ ะสม มา โชคดีที่คนญี่ปุ่นรักใคร แล้วรักยาวๆ ไม่ค่อยอยาก เปลีย่ นแปลง พอเราสามารถ รักษาความไว้ใจทีพ่ วกเขามี ให้ ไ ด้ จึ ง ยิ่ ง ส่ ง เสริ ม กั น การท�างานกับคนญีป่ นุ่ สอน เราทุกวันว่า ไม่วา่ คุณจะท�า อะไร คุณต้องท�าให้ดีที่สุด ไม่วา่ ปัญหาจะเหน็ดเหนือ่ ย แค่ไหน เราจะก้าวผ่านไปได้ เสมอ ถ้าเราเชือ่ และอดทน”

“จากงาน Japan Festa ปีแรก ที่ มี ค นมางานห้ า พั น คน ก็กลายเป็นหมืน่ เป็นหลาย หมืน่ จนต้องขยายสเกลเป็น Japan Expo ซึ่งกลายเป็น พื้นที่ส�าหรับทุกคนที่สนใจ เกี่ยวกับญี่ปุ่น มีทั้งอาหาร แฟชั่ น การท่ อ งเที่ ย ว การศึกษา และบันเทิง เมือ่ มี ช่องทาง โอกาสและประโยชน์ จึงเกิดขึน้ มากมาย คนญีป่ นุ่ ในเมืองไทยก็ได้มคี อมมูนติ ี้ ทีก่ ว้างขึน้ คนท�าธุรกิจได้มา เจอลูกค้า มาต่อยอดกิจการ ในไทย งานนีจ้ งึ เป็นสะพาน เชือ่ มต่อทัง้ ในแง่ของคนและ วัฒนธรรม ทีส่ า� คัญคือท�าให้ คนญี่ปุ่นได้รู้ว่ามีคนรักเขา มากขนาดนี้ (ยิม้ )”

“ตอนนั้ น การเรี ย นภาษา ญี่ ปุ ่ น ยั ง ไ ม ่ แ พ ร ่ ห ล า ย เ ห มื อ น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ มี ค� า ถามเกิ ด ขึ้ น มากมาย จะเริ่มยังไง? เรียนแล้วเอา ไปท�า อะไร? ขนาดตั ว เรา เป็ น คนเริ่ ม ยั ง รู ้ สึ ก ว่ า ยาก อยู ่ เ หมื อ นกั น เพราะมั น ไม่ ใ ช่ แ ค่ ใ ครมาสอนก็ ไ ด้ เราอยากเปิ ด โรงเรี ย นที่ เหมือนไปเรียนทีญ ่ ปี่ นุ่ ก็เริม่ โดยการติดต่อโรงเรียนไป เป็นสิบๆ แห่ง ไปดูสถานที่ เกือบ 20 ที่ จนสุดท้ายมี 2-3 โรงเรียนตอบตกลงและส่ง ครู ม า เราจึ ง ได้ เ ริ่ ม เปิ ด โรงเรียนเล็กๆ แห่งแรกขึ้น”

ST RIP A D

“ส�าหรับไมนิจิ ทุกอย่างเริ่ม มาจากสิ่งที่เรารัก คือความเป็ น ญี่ ปุ ่ น เราเลื อ กธุ ร กิ จ การศึกษา เพราะมองว่ามัน เป็ น เรื่ อ งพื้ น ฐาน ทุ ก คน อยากได้ รั บ การศึ ก ษาที่ ดี และส่ ง ต่ อ ไปยั ง ลู ก หลาน แล้วเราก็เป็นคนที่เคยได้รับ ทุนไปแลกเปลีย่ นทีต่ า่ งประเทศ เรารู้สึกว่ามันเปลี่ยนแปลง หลายอย่างในชีวติ เพราะฉะนัน้ ถ้ า เราสามารถจุด ประกาย ให้กับคนอื่นๆ ได้ก็น่าจะดี”


a day BULLETIN

HE SAID

เรื่อง : พิมพ์อร นทกุล, กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ภาพ : ภาณุทัช โสภณอภิกุล

ใครจะรู ้ ว ่ า เทคโนโลยี กั บ ศิ ล ปะ จะสามารถรวมอยู ่ ใ นผลงาน ชิ้ น เดี ย วกั น ได้ จนกระทั่ ง ในเย็ น วันหนึ่งเรามีโอกาสได้นั่งพูดคุยกับ ไคลี แมคโดนั ล ด์ ศิ ล ปิ น ชาว อเมริกัน ผู้ ใช้โค้ดในการสร้างงาน ศิลปะ เขามองว่าเทคโนโลยีไม่ใช่แค่ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นซึ่งเต็มไปด้วย ตรรกะและไร้ความคิดสร้างสรรค์ และศิ ล ปะก็ ไ ม่ จ� า เป็ น ต้ อ งอยู ่ ใ น รูปแบบของภาพเขียนหรือรูปปั้น แกะสลักเพียงอย่างเดียว issue 502 04 SEP 2017

จุดเริม่ ต้น... ผมเริม่ ทัง้ สองอย่างมาพร้อมๆ กัน ตอนเด็กๆ ผมทัง้ แต่งเพลง ทัง้ วาดรูป และในขณะเดียวกันก็เขียนโค้ดด้วย ผมเป็น คนเดียวในรุน่ ทีส่ นใจคอมพิวเตอร์มากกว่าใคร แต่พอกลับมามองดีๆ ก็พบว่าผมใช้เทคโนโลยีไม่เหมือนคนอืน่ ๆ ผมสนใจเทคโนโลยีจากอีก แง่มมุ หนึง่ ตอนนัน้ เลยได้รวู้ า่ ผมไม่ใช่นกั วิทยาศาสตร์เชิงเทคโนโลยี แต่ผมสนใจทีจ่ ะใช้มนั ในเชิงสร้างสรรค์มากกว่า ศิลปินหรือไม่ใช่… ผมมองว่าตัวเองเป็นศิลปิน แม้บางครั้งคนที่เป็นศิลปินแบบดั้งเดิมอย่างจิตรกรหรือประติมากรจะบอกว่า ‘อย่างคุณน่ะเขาไม่ได้เรียกว่าศิลปินนะ’ แต่ผมคิดว่าศิลปินทุกคนต่างมีเทคนิคเฉพาะตัว หลายคนมองว่าคอมพิวเตอร์ไม่ใช่สว่ นหนึง่ ของสังคม ทีเ่ หลือ คนทีเ่ ชีย่ วชาญด้านนีก้ ด็ จู ะเนิรด์ และห่างไกลกับคนทัว่ ไปมาก แต่จติ รกรทีใ่ ช้พกู่ นั สร้างงานศิลปะทีเ่ รามักมองว่าไม่เนิรด์ ความจริง คือเนิรด์ นะ (หัวเราะ) เขาก็เนิรด์ ในแบบของเขา ความรูส้ กึ ของผูค้ นทีม่ ตี อ่ อาชีพหนึง่ ๆ จึงเป็นเรือ่ งของมุมมองส่วนใหญ่ในสังคมมากกว่า ไปโฟกัสถึงสิง่ ทีพ่ วกเขาท�าจริงๆ Encoding… การเขียนโค้ดก็เหมือนการเขียนขัน้ ตอนในการท�าอะไรบางอย่าง เพียงแต่คนทีน่ า� ไปใช้ไม่ใช่มนุษย์ แต่เป็นคอมพิวเตอร์ โดยระหว่างทีเ่ ขียนโค้ดเหล่านัน้ ขึน้ มา คุณสามารถใส่ความตัง้ ใจ ความคิดสร้างสรรค์ ได้เหมือนกับการสร้างงานศิลปะอืน่ ๆ บางคนสือ่ สาร โดยให้โปแกรมเมอร์เขียนโค้ด แต่ผมพยายามท�าทัง้ สองอย่างไปด้วยกัน เทคโนโลยีกบั ผูค้ น… เราได้รบั อิทธิพลจากเทคโนโลยีทกุ ครัง้ ทีเ่ ช็กโทรศัพท์มอื ถือ อย่างเช่นทวิตเตอร์ทเี่ ข้ามาเป็นส่วนส�าคัญในชีวติ ประจ�าวันของชาวอเมริกนั จนกลายเป็นอีกสังคมหนึง่ ส�าหรับผม เทคโนโลยีจงึ มีอทิ ธิพลมากพอๆ กับทีส่ งั คมมีตอ่ ผูค้ น ซึง่ โซเชียลมีเดีย น่าจะเป็นตัวอย่างทีช่ ดั เจนทีส่ ดุ จบอย่างสมบูรณ์... ผมเคยได้ยนิ คนพูดว่า ศิลปะไม่มจี ดุ จบหรอก มีแต่จดุ ทีค่ ณ ุ เลิกประนีประนอมแล้ว ต่อให้เป็นจิตรกรเขาก็จะพูด แบบนี้ มันไม่มงี านชิน้ ไหนเสร็จสมบูรณ์ ทุกอย่างจบก็ตอ่ เมือ่ เขาส่งต่องานชิน้ นัน้ ให้คนอืน่ งานของผมก็เช่นกัน ในทางเทคนิคนีไ่ ม่มวี นั จบ แน่นอน เพราะมันจะมีบกั๊ ใหม่ๆ เกิดขึน้ เรือ่ ยๆ ส่วนในทางสร้างสรรค์ ก็จะมีสงิ่ ทีผ่ มอยากปรับเปลีย่ นอยูต่ ลอด จนถึงจุดหนึง่ ทีอ่ ยากส่งต่อให้ คนอืน่ ๆ ได้มปี ระสบการณ์รว่ มกับมัน ถึงตอนนัน้ ก็หวังว่างานชิน้ นัน้ จะยังไม่เสร็จดี เพราะคนทีม่ าดูจะได้มโี อกาสเติมเต็มให้สมบูรณ์ในแบบ ของแต่ละคน แต่ถา้ ต้องเลือก ‘จุดจบ’ จริงๆ ก็คงเป็นโมเมนต์ทคี่ นดูกบั งานของผมได้เจอกันเป็นครัง้ แรกแหละครับ บทเรียน... เหตุการณ์จากคนดูทผี่ มจ�าได้แม่นเลยคือ เมือ่ ปี 2010 เป็นงาน installation แรกๆ ทีผ่ มท�าร่วมกับศิลปินคนอืน่ ๆ เราสร้าง เครือ่ งสแกนเนอร์สามมิตขิ นึ้ มาเพือ่ ถ่ายภาพพอร์เทรตของผูค้ นทีเ่ ข้ามาเยีย่ มชม ทุกคนสนุกกับมันมาก จนกระทัง่ มีเด็กนักเรียนกลุม่ หนึง่ มาชมงาน นักเรียนสองสามคนแรกลองเล่นแล้วก็สนุกมากๆ ได้ภาพพอร์เทรตทีส่ วยงาม พอถึงตาเด็กอีกคนหนึง่ ปรากฏว่าเครือ่ งไม่ทา� งาน กับเขา ตอนแรกผมก็หาค�าตอบไม่ได้ ไม่รจู้ ะแก้ไขปัญหายังไง จนสุดท้ายเพิง่ สังเกตเห็นว่าสีผวิ เด็กคนนีเ้ ข้มกว่าเพือ่ นคนอืน่ ๆ ซึง่ เราไม่เคย ลองใช้เครือ่ งกับคนผิวเข้มมาก่อน ผมจึงได้เรียนรูว้ า่ กลุม่ เป้าหมายของผมยังไม่กว้างพอ และถึงจะคิดว่าตัวเองเป็นคนใจกว้าง เปิดใจแค่ไหน ผมก็ยงั คงปิดตัวเองอยูก่ บั สิง่ แวดล้อมและคนรอบๆ ตัว เหตุการณ์ครัง้ นัน้ เลยเป็นบทเรียนครัง้ ใหญ่สา� หรับผมในฐานะศิลปินคนหนึง่

24


CALENDAR

25

InvIsIble AngkArn

THrOUgH THe lens OF HIs MAJesTY kIng

นิทรรศการ ‘ร�าลึก 5 ปี แห่ ง การจากไปของ อังคาร กัลยาณพงศ์’ รวบรวมผลงานส่วนหนึง่ ที่ ไ ม่ เ คยมี ใ ครได้ เ ห็ น ของ อังคาร กัลยาณพงศ์ เช่น ผลงานสมัยเรียน หนั ง สื อ งานคั ด ลอก จิตรกรรมโบราณ บทกวี คัดลายเส้นคอแร้งใน ยุคเก่า ผลงานลายเส้น ชาร์โคล ฯลฯ วันนีถ้ งึ 30 ตุลาคม 2560 ณ Artery Gallery ซ.สีลม 21 (เว้น วันอาทิตย์)

นิทรรศการ ‘ภาพถ่าย ฝี พ ระหั ต ถ์ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช’ อั ญ เ ชิ ญ ภ า พ ถ ่ า ย ฝีพระหัตถ์จา� นวนมาก ที่ยังไม่เคยเผยแพร่ให้ คนไทยได้ชม วันนี้ถึง 7 มกราคม 2561 ณ ห้องนิทรรศการหลัก ชัน้ 9 หอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร (เว้นวันจันทร์)

sIAM rAngers

POlITIcAl lAnDscAPe

จากป่าสูเ่ มือง บันทึก หยุดเขื่อนน�้าโจน

นิทรรศการ ‘เป็นฮีโร่ มันเหนือ่ ย’ โดย ปรียวิศว์ นิลจุลกะ หรือ ปาล์ม Instinct น�าเสนอผลงาน จิตรกรรมกว่า 20 ชิ้น และงานประติมากรรม ขนาดเท่าคนจริงอีก 1 ชิน้ สะท้ อ นมุ ม มองของ ศิลปินในฐานะคนไทย คนหนึ่ ง มี ต ่ อ อาชี พ ต�ารวจ ทั้งชื่นชม ทั้ง ขมขื่น ครบทุกรสชาติ วันนี้ถึง 10 กันยายน 2560 ณ ศุภโชค ดิ อาร์ต เซ็นเตอร์ ซ.สุขมุ วิท 39

นิ ท รรศการภาพถ่ า ย ‘Political Landscape’ โดย ยอง ฮวาน ลี เมือ่ ภาพในรู ป แบบของ ภาพถ่ า ยนั้น มิไ ด้ เ ป็ น การสร้างโลกเสมือนจริง แต่ ใ นการรั บ รู ้ แ ละ ความเข้าใจของเรา ภาพ ดังกล่าวนั้นคือตัวแทน ของความจริง วันนี้ถึง 30 กั น ยายน 2560 ณ RMA Institute ซ . ส า ย น�้ า ทิ พ ย ์ 2 (เว้นวันจันทร์)

ร่ ว มร� า ลึ ก เหตุ ก ารณ์ ส�าคัญทางสิง่ แวดล้อม ครั้งใหญ่ของประเทศ ในงาน ‘จากป่าสูเ่ มือง บันทึกหยุดเขือ่ นน�า้ โจน (ร�าลึก 27 ปี สืบ นาคะเสถียร)’ พบกับกิจกรรม มากมาย อาทิ ชม ภ า พ ย น ต ร ์ ส า ร ค ดี Siam Species การแสดง ดนตรี เสวนา ฯลฯ วันนี้ ถึง 10 กันยายน 2560 ณ ห้องอเนกประสงค์ ชัน้ 1 BACC รายละเอียด เพิม่ เติม www.seub.or.th

bHUMIbOl ADUlYADeJ

green cOncerT #20 ปุ๊ ปาน ป๊ อ ด THe 3 MAsTers

การรวมตัวของ 3 ศิลปิน ผูส้ นั่ สะเทือนวงการเพลง ไทย พร้อมแขกรับเชิญ ปุ๊ อัญชลี ปะทะ คริสตินา่ อากีล่าร์, ปาน ธนพร ปะทะ แอม เสาวลักษณ์ และ ป๊อด ธนชัย ปะทะ แสตมป์ อภิ วั ช ร์ ใน ‘กรีนคอนเสิรต์ ครัง้ ที่ 20 ปุ๊ ปาน ป๊อด The 3 Masters’ วันนี้ เวลา 19.00 น. และ 10 กันยายน เวลา 17.00 น. ณ รอยัลพารากอนฮอลล์ จ�าหน่าย บัตรทีไ่ ทยทิกเก็ตเมเจอร์

greeTIngs FrOM FUkUsHIMA

ภาพยนตร์เรือ่ ง ‘Greetings From Fukushima’ มารี หนีเหตุการณ์รา้ วฉานใน ชีวิตคู่ด้วยการเข้าร่วม เป็นอาสาสมัครกูภ้ ยั เพือ่ ช่วยเหลือผูร้ อดชีวติ จาก เหตุแผ่นดินไหวทีจ่ งั หวัด ฟู กุ ชิ ม ะ เธอติ ด ตาม เกอิชาชื่อซาโตมิไปที่ บ้านเกิด และทีน่ เี่ องที่ มิตรภาพระหว่างผูห้ ญิง สองคนค่อยๆ ก่อตัวขึน้ ชมฟรี วันนี้ เวลา 13.00 น. ณ หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ศาลายา


a day BULLETIN

BULLETIN BOARD

26

อัพเดตแวดวงข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจในรอบสัปดาห์ BULLETIN TALK 01 : CHOOSE MUSIC. CHOOSE LIFE. จบไปแล้ ว อย่ า งสวยงามกั บ อี เ วนต์ เ ล็ ก ๆ ครั้ ง แรกของ นิตยสาร a day BULLETIN ที่ได้พาทุกคนมานั่งล้อมวงฟังเรื่องเล่า วัฒนธรรมดนตรีจากสปีกเกอร์หลากหลายอาชีพ พร้อมตัดสลับ บรรยากาศบทสนทนาด้วยการจิบเครือ่ งดืม่ และฟังเพลงจากเพลย์ลสิ ต์ สุดพิเศษที่สปีกเกอร์จัดมาให้ เริ่มต้นด้วยหัวข้อ ‘ความติ่งของ นักฟังเพลงสองยุค’ โดย ‘แหม่ม’ - วีรพร นิติประภา และ ‘ต่อ’ คันฉัตร รังษีกาญจน์ส่อง ต่อด้วยหัวข้อ ‘ท�าไมดนตรีถึงกลายเป็น รากฐานวัฒนธรรมของยุคสมัย?’ โดย โน้ต Dudesweet และ โจโจ้ Trasher สองผู้ก่อตั้งปาร์ตี้ดนตรีสุดแซ่บ ปิดท้ายด้วยหัวข้อ ‘จัดคอนเสิรต์ สักที ต้องเจอดีอะไรบ้าง?’ โดย ‘กิ’ - กิรตรา พรหมสาขา ณ สกลนคร และ ‘แป๋ง’ - พิมพ์พร เมธชนัน สองผู้ก่อตั้ง HAVE YOU HEARD? ด�าเนินรายการโดย แพท บุญสินสุข เมื่อวันที่ 19 สิงหาคมที่ผ่านมา ณ Sentimental Cafée ติดตามกิจกรรมสนุกๆ โดย a day BULLETIN ได้ที่ www.facebook.com/adaybulletin

issue 502 04 SEP 2017


About ELMA ELMA เป็นรำงวัลอันทรงเกียรติส�ำหรับผู้ประกอบกำรที่มีควำมเป็น เลิศด้ำนกำรบริหำรจัดกำรโลจิสติกส์ เป็นเสมือนเครื่องหมำยรับรอง คุ ณ ภำพมำตรฐำนของธุ ร กิ จ โลจิ ส ติ ก ส์ ไ ทยให้ ก ้ ำ วสู ่ ม ำตรฐำนสำกล กรมส่งเสริมกำรค้ำระหว่ำงประเทศ กระทรวงพำณิชย์ได้จดั ประกวดรำงวัล Excellent Logistics Management Award ขึ้ น ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2550 โดยตระหนักถึงควำมท้ำทำยใหม่ๆ ที่ผู้ประกอบกำรธุรกิจโลจิสติกส์ไทย ต้องเผชิญ และส่งเสริมให้ผู้ประกอบกำรธุรกิจโลจิสติกส์ไทยพัฒนำ ศั ก ยภำพอย่ ำ งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ ให้ ส ำมำรถปรั บ ตั ว กั บ สภำพกำรแข่ ง ขั น ที่เปลี่ยนแปลงไป

รางวัล ELMA “เป็ น เหมื อ นกั บ สิ่ ง ที่ รั บ ประกั น ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของบริ ษั ท และ ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ ตื่ น ตั ว ต ล อ ด เ ว ล า ถ้ า เ ร า ไ ม่ พั ฒ น า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง อ ง ค์ ก ร ต่ อ ห รื อ พ อ ใ จ กั บ ความส� า เร็ จ แล้ ว ก็ เ หมื อ นกั บ เรา ไ ม่ ใ ห้ ค ว า ม ส� า คั ญ กั บ ร า ง วั ล ทีท ่ รงเกียรติน”ี้

คุณคิดว่าอะไรคือสิง ่ ทีท ่ า� ให้บริษท ั วี. คาร์โก จ�ากัด เป็นผู้ชนะในการแข่งขันครั้งนี้

“จุดแข็งที่ท�ำให้เรำชนะกำรแข่งขัน คงเป็นเพรำะเรำ มีประสิทธิภำพในกำรบริหำรระบบขนส่ง ทัง้ ส่วนทีเ่ ป็นรถขนส่ง ของเรำเอง และรถร่วมทีใ่ ช้บริกำรกับผูค้ ำ้ รำยอืน่ ๆ เช่น รถของ บริษทั เถ้ำแก่นอ้ ย ซึง่ เรำมีกำรใช้ขอ้ ตกลงร่วมกัน และยึดถือ กฎระบียบอย่ำงเคร่งครัด หลักกำรนีจ้ งึ ช่วยให้บริษทั สำมำรถ ขยำยธุรกิจได้อย่ำงรวดเร็ว เมือ่ เรำเข้ำไปถึงในรอบสุดท้ำยของ กำรแข่งขัน ทำงคณะกรรมกำรก็จะดูวำ่ รำยงำนทีเ่ รำน�ำเสนอ มำนั้ น เป็ น เรื่ อ งจริ ง หรื อ ไม่ ก็ จ ะมี ก ำรลงพื้ น ที่ ไ ปส� ำ รวจ กำรท�ำงำนของบริษทั ” ความส�าเร็จในธุรกิจของคุณที่เห็นภาพได้ชัดเจน คืออะไร

“ตัวอย่ำงของประสิทธิภำพในกำรขนส่งสินค้ำของเรำ ก็เช่น โปรเจ็กต์ทเี่ รำได้รบั มอบหมำยจำกไปรษณียไ์ ทย ซึง่ เรำ ด�ำเนินกำรมำเป็นเวลำสำมปีแล้ว เป็นกำรขนส่งน�ำ้ ยำล้ำงไต ให้กบั ผูป้ ว่ ยถึงบ้ำน ซึง่ รถทีใ่ ช้สง่ น�ำ้ ยำนัน้ ต้องเป็นรถทีต่ ดิ ตัง้ เครือ่ งปรับอำกำศเพือ่ ควบคุมอุณหภูมขิ องตัวยำ และใช้ระบบ GPS ในสมำร์ตโฟนในกำรตรวจสอบกำรรับมอบสินค้ำ รวมถึง ถ่ำยรูปขณะส่งมอบสินค้ำไว้เพื่อบันทึกเป็นข้อมูลให้เรำ สำมำรถตรวจสอบได้วำ่ ในแต่ละวันเรำด�ำเนินกำรได้เท่ำไหร

ความท้ า ทายของการท� า ธุ ร กิ จ ไม่ ไ ด้ มี แ ค่ การเดิ น หน้ า ไปให้ ถึ ง ยั ง เป้ า หมายที่ ว างไว้ เพียงเท่านั้น แต่ยังมีเรื่องของการพัฒนา ประสิทธิภาพของบริษัทให้ดียิ่งขึ้นไปอย่าง ไม่ ห ยุ ด ยั้ ง ด้ ว ยเหตุ นี้ อุ ด ม ศรี ส งคราม กรรมการผู้จัดการ บริษัท วี. คาร์โก จ�ากัด จึงเดินหน้าเข้าร่วมประกวดรางวัลผูป ้ ระกอบ การทีม ่ ค ี วามเป็นเลิศด้านการบริหารจัดการ โลจิ ส ติ ก ส์ (Excellent Logi st ics Management Award) หรือ ELMA เพื่อ พิ สู จ น์ ศั ก ยภาพของทุ ก ๆ คนในองค์ ก ร ผ่านหลักเกณฑ์ที่เข้มงวด และคว้ารางวัล อันทรงเกียรตินี้มาครอบครองจนส�าเร็จ

Business Proffiilefiflfi บริษัท วี. คำร์โก จ�ำกัด ให้บริกำรโลจิสติกส์ (Logistics) งำนขนส่ง สินค้ำและบริกำรน�ำเข้ำส่งออก ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2531 โดยมีควำมช�ำนำญ ในด้ำนกำรจัดกำรพิธีกำรศุลกำกร (Customs Brokerage) กำรจองระวำง บรรทุกสินค้ำทั้งทำงเรือและทำงอำกำศ (Freight Forwarder) ให้บริกำรด้ำน กำรน�ำเข้ำและส่งออก (Customs Clearance) ปัจจุบันบริษัทครอบคลุม กำรให้บริกำรด้ำนโลจิสติกส์ ตั้งแต่กำรขนส่งวัตถุดิบเข้ำโรงงำน กำรขนส่ง ผลิตภัณฑ์จำกโรงงำนถึงร้ำนค้ำ และจำกร้ำนค้ำส่งตรงถึงผู้บริโภคอย่ำง ครบวงจร

และมีปญ ั หำอะไรระหว่ำงกำรขนส่งเกิดขึน้ หรือไม่ ซึง่ จุดเด่นนี้ เรำก็นำ� ไปใช้กบั กำรรับส่งสินค้ำกับทำง Lazada ด้วย” “ค�ำถำมส�ำคัญทีค่ ณะกรรมกำรถำมเรำคือ เป้ำหมำย ของบริษทั เรำจะมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเป็นเลิศในธุรกิจนีอ้ ย่ำงไร และ สร้ำงควำมคำดหมำยที่เหนือไปกว่ำสิ่งที่ต้องกำรได้อย่ำงไร ซึง่ ผมตอบไปว่ำ เรำมีกำรวัด KPI ทุกเดือน ทุกขัน้ ตอนของ กำรท�ำงำนเรำจะมีกำรเก็บบันทึก แล้วมำดูว่ำแต่ละเดือน มีปญ ั หำตรงไหนต้องแก้ไข ระบบจะบอกข้อผิดพลำดให้เรำ รูท้ นั ที เพรำะกำรรับส่งสินค้ำนัน้ มีควำมละเอียดอ่อน อย่ำงทำง Lazada ซึ่งเป็นเทรนด์ใหม่ในกำรซื้อสินค้ำของคนสมัยนี้ ก็จะมีขอ้ ก�ำหนดทีเ่ ยอะมำก เรำต้องท�ำให้ได้ทกุ ข้อตำมทีเ่ ขำ ก�ำหนดไว้ ดังนัน้ เรำต้องดึงข้อมูลทีบ่ นั ทึกเก็บไว้มำตรวจสอบ เพื่อดูว่ำประสิทธภำพของเรำในแต่ละเดือนวัดออกมำเป็น ตัวเลขได้กี่เปอร์เซ็นต์ เป็นไปตำมเป้ำหมำยที่วำงไว้หรือไม่ ถ้ำยังไม่ถงึ ตำมทีต่ อ้ งกำรก็ตอ้ งมำแก้ไขกันใหม่จนกว่ำจะดีขนึ้ ” รางวั ล ELMA ที่ ไ ด้ รั บ มานี้ ช่ ว ยให้ คุ ณ พั ฒ นา หรือต่อยอดองค์กรได้แค่ไหน

“เรำคงไม่หยุดกำรพัฒนำองค์กรเพียงแค่นี้ เพรำะ รำงวัล ELMA ช่วยให้เรำเป็นที่รู้จักทั้งในและนอกประเทศ มำกขึ้น ทำงกระทรวงพำณิชย์กช็ ว่ ยสนับสนุนเรำอย่ำงเต็มที่ ทั้งในเรื่องของกำรประชำสัมพันธ์องค์กรของเรำ และพำไป

ออกงำนแสดงต่ำงๆ เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบกำรและสมำคมต่ำงๆ รูจ้ กั เรำมำกขึน้ เพรำะธุรกิจโลจิสติกส์นนั้ มีกำรแข่งขันสูงมำก ทัง้ ในคนไทยด้วยกันเอง และบริษทั ข้ำมชำติทเี่ ข้ำมำท�ำธุรกิจนี้ ถ้ำเรำหยุดหรือไม่พฒ ั นำต่อก็จะแข่งขันกับใครไม่ได้ รวมถึง เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงเสมอ ท�ำให้เรำต้องไม่พอใจกับ ควำมส�ำเร็จทีไ่ ด้มำ ต้องท�ำให้ดขี นึ้ กว่ำเดิม โดยเห็นได้จำก เทรนด์กำรซือ้ ของออนไลน์ของคนในตอนที่ เมือ่ เขำกดสัง่ ซือ้ สินค้ำแล้วเรำต้องส่งของให้กับเขำเลยในวันนั้นส�ำหรับ กรุงเทพฯ และไม่เกินสองหรือสำมวันส�ำหรับต่ำงจังหวัด ถ้ำใช้ ระบบเก่ำๆ ให้ลูกค้ำต้องรอนำนเป็นอำทิตย์แบบแต่ก่อน เรำก็จะสูก้ บั ใครไม่ได้” เป้าหมายต่อไปที่น่าตื่นเต้นส�าหรับคุณในอนาคต

“เรำมีเป้ำหมำยทีจ่ ะขยำยกำรให้บริกำรด้ำนโลจิสติกส์ ไปยังประเทศเพือ่ นบ้ำน เพรำะประเทศไทยเป็นศูนย์กลำงของ กำรคมนำคมทัง้ ทำงบก อำกำศ และทำงเรือในอำเซียน ล่ำสุด ผมได้รว่ มงำนกับบริษทั รับส่งสินค้ำทีป่ ระเทศมำเลเซีย และ เวียดนำม โดยเป้ำหมำยใหญ่ของเรำคือกำรเข้ำไปร่วมงำน รับส่งสินค้ำกับทำงประเทศจีน ซึ่งจะเป็นตลำดที่ใหญ่มำก และมีกำรเติบโตทีส่ งู ”


a day BULLETIN

BULLETIN BOARD

28

อัพเดตแวดวงข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจในรอบสัปดาห์ WELCOME TO THE GOOD LIFE เ ปิ ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ ห ม่ ที่ G o o d Life Studio จาก Emporium Department Store Emporium Department Store ชวนคุณมาเปิด ประสบการณ์ใหม่ และค้นหาค�านิยามของค�าว่า ‘The Good Life’ ที่ Good Life Studio (ตรงพื้นที่ E-space GF) ซึง่ จะจัดขึน้ ตัง้ แต่วนั ที่ 7-20 กันยายนนี้ โดยในงานมีกจิ กรรมมากมายทัง้ การออกก�าลังด้วย บาร์จาก Physique 57 ถ่ายรูปสนุกๆ ทีโ่ ฟโต้บธู และ นอกจากนีย้ งั มีสนิ ค้าสุดพิเศษ ทีเ่ อ็มโพเรียมร่วมกับ แบรนด์สปอร์ตแวร์ชนั้ น�าอย่าง Jenim Sports ร่วมกัน ผลิ ต ชุ ด ออกก�า ลั ง กายสุ ด เอ็ ก ซ์ ค ลู ซี ฟ แถมยั ง มี อุปกรณ์ออกก�าลังกายอีกเพียบให้คณ ุ ได้เลือกสรร

issue 502 04 SEP 2017

เป๊ ป ซี่ ช วนซ่ า ล่ า รถในฝั น แจกสนัน ่ 60 วัน 6,000 รางวัล

เทสโก้ โลตั ส เตรี ย มจั ด ‘เทสโก้ โลตัส เอ็กซ์โป ’60’

‘The Finest Thai’ ไทยไลฟ์ สไตล์เฟสติวล ั ระดับอินเตอร์

Cape Panwa Hotel Phuket Raceweek 2017

เจมส์ มาร์ ชวนลุ้นเป็นเจ้าของ BMW 118i M Sport รถแฮตช์แบ็ก ห้ า ประตู สุ ด เท่ ในแคมเปญ ‘เป๊ ป ซี่ ชวนซ่า ล่ารถในฝัน’ และมีรางวัลอื่นๆ อีกกว่า 6,000 รางวัล ตลอด 60 วัน เพียง กด *775* ตามด้วยรหัสสิบหลักใต้ฝา ขวดพลาสติก หรือรหัสใต้ห่วงกระป๋อง ของเครือ่ งดืม่ เป๊ปซี,่ เป๊ปซี่ แมกซ์ เทสต์, มิ ริ น ด้ า และเซเว่ น อั พ ตามด้ ว ย เครือ่ งหมาย # และโทร.ออก ฟรี ไม่มี ค่าใช้จ่าย ตั้งแต่วันนี้ถึง 29 กันยายน 2560 เริ่ ม จั บ รางวั ล ครั้ ง แรกเมื่ อ วั น ที่ 1 สิงหาคมทีผ่ า่ นมา รายละเอียดเพิม่ เติม www.pepsipromotion.com

สมพงษ์ รุ ่ ง นิ รั ติ ศั ย ประธานกรรมการฝ่ า ยการพาณิ ช ย์ เทสโก้ โลตัส ผนึกคู่ค้าและผู้ผลิตสินค้าชั้นน�า ทั่วประเทศ เตรียมจัด ‘เทสโก้ โลตัส เอ็กซ์โป ’60’ หนึง่ ในมหกรรมแสดงและ จ�าหน่ายสินค้าทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของปี ขนทัพ ของดีราคาถูกนานาชนิดกว่า 500 บูธ อาหารเด็ ด จากร้ า นทั่ ว ไทย พร้ อ ม กิจกรรมแน่น บนพืน้ ที่ 20,000 ตารางเมตร ในวันที่ 9-12 พฤศจิกายนนี้ ณ ชาเลนเจอร์ ฮอลล์ 2 ศู น ย์ แ สดงสิ น ค้ า อิ ม แพ็ ก คาดคนเข้าชมงานกว่า 1.5 แสนคน สร้ า งสี สั น ช้ อ ปปิ ้ ง ท้ า ยปี ภายใต้ คอนเซ็ปต์ กินดี อยูด่ ี ชุมชนดี

บริษัท แสนสิริ จ�ากัด (มหาชน) ร่ ว มกั บ สถานเอกอั ค รราชทู ต ไทย ณ ประเทศสิงคโปร์ กรมส่งเสริมการค้า ระหว่ า งประเทศ, การท่ อ งเที่ ย ว แห่งประเทศไทย และผู้ประกอบการ ชั้ น น� า ในประเทศไทย เพื่ อ ยกระดั บ ภาพลั ก ษณ์ ที่ ดี ข องไทยในระดั บ นานาชาติ จัดงานแถลงข่าวเตรียมยก ความอลังการของกิจกรรมช้อป ชิม ชิล ทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่างสูงอย่าง ‘Winter Market Fest’ ที่แสนสิริจัดขึ้นในเดือน ธันวาคมของทุกปี ต่อยอดจัดงานเป็น ครัง้ แรกในต่างประเทศ ณ สถานทูตไทย ประเทศสิ ง คโปร์ ระหว่ า งวั น ที่ 8-10 กันยายน 2560 เวลา 12.00-21.00 น.

สิ้นสุดลงไปแล้วกับงานแข่งขัน เรือใบ ‘เคปพันวา โฮเทล ภูเก็ต เรซวีก 2017’ ซึ่งจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 14 ระหว่าง วันที่ 19-23 กรกฎาคมทีผ่ า่ นมา บริเวณ นอกฝัง่ ทะเลทิศตะวันออกของเกาะภูเก็ต ถื อ เป็ น การแข่ ง ขั น เพื่ อ สะสมคะแนน รายการแรกของงานเอเชียน ยอชติ้ง กรังด์ปรีซ์ ประจ�าปี 2560/2561 โดยได้ รับความสนใจจากทั้งนักแข่งขันเรือใบ กว่า 25 ประเทศ และมีเรือใบเข้าแข่งขัน กว่า 40 ล�า ซึง่ ผูจ้ ดั งานหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าความสนุกของการแข่งขัน กิจกรรม บนฝัง่ และความสวยงามของเกาะภูเก็ต จะเป็นสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นความทรงจ�าของนักแข่ง ทุกคน


DID YOU KNOW ? ‘สิ่งแวดล้อม’ มีส่วนส�ำคัญอย่ำงยิ่งต่อสุขภำพและควำมปลอดภัยของเด็กๆ เพรำะหำกสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวไม่เหมำะสมหรือไม่สะอำด อำจท�ำให้เกิด ปัญหำต่ำงๆ ตำมมำมำกมำย อำทิ กำรติดเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัส กำรเกิดอุบัติเหตุต่ำงๆ เป็นต้น บริษัท กรุงเทพประกันภัย จ�ำกัด (มหำชน) ได้สร้ำงสรรค์กิจกรรมเพื่อส่งต่อควำมแคร์และกำรดูแลให้แก่สังคมมำตลอดระยะเวลำ 70 ปี แห่งกำรด�ำเนิน งำน จึงเห็นควำมส�ำคัญต่อสิ่งต่ำงๆ เหล่ำนี้ โดยเฉพำะจุดเริ่มต้นเล็กๆ อย่ำงในโรงเรียน ที่เป็นศูนย์แห่งกำรเรียนรู้เสริมสร้ำงให้เด็กนักเรียนได้เติบโตขึ้นเป็น ก�ำลังส�ำคัญของประเทศ บริษัทกรุงเทพประกันภัย จึงได้ริเริ่มโครงกำรต่ำงๆ ที่สำมำรถช่วยสนับสนุนให้เกิดกำรพัฒนำกำรในด้ำนต่ำงๆ ให้แก่น้องๆ เยำวชน

Care For Good Health ‘น�ำ้ ดืม่ ’ เป็นปัจจัยพืน้ ฐำนทีส่ ำ� คัญอย่ำงมำกในกำรด�ำรงชีวติ ซึง่ มีหลำยๆ โรงเรียนในพืน้ ทีต่ ำ่ งจังหวัด ที่ประสบปัญหำเรื่องน�้ำดื่มที่ยังไม่ถูกสุขลักษณะ ซึ่งอำจส่งผลให้เกิดโรคต่ำงๆ ตำมมำได้ ด้วยเหตุนี้ บริษัทกรุงเทพประกันภัย จึงจัด โครงการน�้าดื่มสะอาดเพื่อน้อง ซึ่งเป็นกำรมอบเครื่องกรองน�้ำดื่ม โดยเข้ำไปติดตัง้ ระบบเครือ่ งกรองน�ำ้ ให้แก่โรงเรียนต่ำงๆ ทัว่ ทุกภูมภิ ำคของประเทศ ซึง่ ช่วยแก้ปญ ั หำน�ำ้ ดื่มในบำงพื้นที่ที่ยังไม่ถูกสุขลักษณะอีกด้วย ท�ำให้น้องๆ ได้มีสุขอนำมัยที่ดียิ่งขึ้น โดยมีเป้ำหมำยจะ ด�ำเนินกำรติดตั้งให้ครบทั้งสิ้น 70 โรงเรียน นอกจำกนี้ ปัญหำทีใ่ ครหลำยๆ คนอำจมองข้ำม แต่บริษัทกรุงเทพประกันภัย ยังคงให้ควำมส�ำคัญ ก็ คือปัญหำเรื่องห้องน�้ำที่ไม่เพียงพอ รวมถึงปัญหำเรื่องควำมสะอำดของห้องน�ำ้ ในโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ โครงกำรห้องน�้ำสะอำดเพื่อน้อง จึงเกิดขึ้น โดยบริษัทกรุงเทพประกันภัย ได้เข้ำไปจัดสร้ำงห้องน�้ำเพิ่ม เติมให้แก่โรงเรียน เพื่อยกระดับมำตรฐำนควำมสะอำดถูกสุขลักษณะ พร้อมทั้งยังช่วยสร้ำงกำรกระตุ้น ให้เยำวชนมีพฤติกรรมกำรใช้หอ้ งน�ำ้ อย่ำงถูกวิธี โดยเน้นพัฒนำด้ำนควำมสะอำด ควำมปลอดภัยและ ควำมเพียงพอต่อกำรใช้งำน เพือ่ สุขอนำมัยทีด่ เี ป็นหลัก ซึง่ บริษทั ตัง้ เป้ำหมำยในกำรจัดสร้ำงห้องน�ำ้ เพิม่ เติมให้แก่โรงเรียน 70 โรงเรียนเช่นเดียวกัน

Happy Every Day เด็กในวันนี้ คือก�ำลังที่ส�ำคัญของสังคมในวันหน้ำ เพรำะฉะนั้นเด็กๆ ที่มีสุขอนำมัยที่ดี และได้เรียน รูเ้ รือ่ งของกำรเป็นผูร้ บั ก็จะยังได้เรียนรูเ้ พือ่ เป็นผูใ้ ห้ตอ่ ไปในอนำคตด้วย เพือ่ ให้ทกุ ๆ คนในสังคมมีควำม สุขได้ในทุกๆ วัน

ติดตามเรื่องราวกิจกรรมดีๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนให้แก่ สังคมของบริษัทกรุงเทพประกันภัย ครั้งต่อไปได้ในนิตยสาร a day BULLETIN หรือทาง www.bangkokinsurance.com #ให้ทุกวันคือการดูแล


a day BULLETIN

LIFE

เรื่อง : ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ, ทรรศน หาญเรืองเกียรติ, พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

issue 502 04 SEP 2017

สภาพสั ง คมที่ เ ร่ ง รี บ ท� า ให้ ห ลายคนต่ า งโฟกั ส ไปที่เรื่องพลังของคนหนุ่มสาวว่าเป็นก�าลังส�าคัญใน การผลักดันเศรษฐกิจของประเทศ และให้ความส�าคัญ กับการเป็นสตาร์ทอัพ จนลืมไปว่าครัง้ หนึง่ เหล่าผูส ้ งู วัย ในตอนนี้ ก็ เ คยเป็ น คนหนุ่ ม สาวที่ เ ป็ น แรงขั บ เคลื่ อ น เรื่องต่างๆ ของประเทศเหมือนกัน ศู น ย์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร ส�านักปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน ่ คง ของมนุษย์ (2557) คาดการณ์ว่า ในปี พ.ศ. 2568 ประเทศไทยจะมี ผู้ สู ง อายุ อ ายุ ตั้ ง แต่ 60 ปี ขึ้ น ไป 13.9 ล้านคน นับไปนับมาจะอยู่ในล�าดับที่ 5 ของทวีป เอเชีย ในขณะที่อีกหลายๆ ประเทศทั่วโลกก็ก�าลังจะ เข้ า สู่ สั ง คมสู ง อายุ เ ช่ น กั น รวมถึ ง สหรั ฐ อเมริ ก า ทีค ่ าดการณ์กน ั ว่า ในอีก 25 ปีขา้ งหน้า ผูส ้ ง ู อายุตง ั้ แต่ 65 ปีขึ้นไป จะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ชายหญิงวัยหนุ่มสาวที่เคยแข็งแรง มีพลังท�าสิ่ง ต่างๆ มากมายในครั้งนั้น เมื่อเวลาหมุนเปลี่ยนเข้าสู่ วัยชรา และเริ่มเกษียณอายุในวัย 60 ปี (หลายคนอาจ จะเกษียณตัวเองเร็วกว่านั้น) แต่ก็ยังมีคนอีกจ�านวน ไม่น้อยที่ยังไม่มีโอกาสปลดวางภาระลงแม้จะอายุเลย วัยเกษียณไปนานแล้ว รวมทั้งยังมีอีกจ�านวนไม่น้อย ทีม ่ ท ี ศ ั นคติของการใช้ชว ี ต ิ ต่อไปด้วยร่างกายทีอ ่ อ ่ นล้า และหัวใจที่สิ้นหวัง การเพิม ่ ขึน ้ ของผูส ้ ง ู อายุกา� ลังจะบอกอะไรกับโลก และบอกอะไรกับผู้ที่อยู่ในช่วงหนุ่มสาววัยท�างาน… สิ่งนี้ก�าลังจะเปรยให้ทุกคนได้รับรู้ว่า ความชรา จะยืนยาวอยูค ่ ก ู่ บ ั มนุษย์มากกว่าเดิมถึง 2 เท่า เมือ ่ อายุ ยื น ยาว การปล่ อ ยให้ จิ ต ใจและร่ า งกายทิ้ ง ดิ่ ง ไปกั บ กาลเวลาอาจจะไม่ใช่ค�าตอบ การใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ให้มี คุณค่าต่อตัวเองอาจจะไม่ใช่แค่การเลีย ้ งหลาน แต่ยง ั มี แรงและก�าลังมากพอที่จะท�าสิ่งดีๆ เพื่อสังคมได้อีก มากมาย เหล่าคนหนุ่มสาวที่อ่านมาจนถึงบรรทัดนี้อาจจะ คิดว่ายังไม่ถง ึ เวลาทีจ่ ะต้องมาตระหนักอะไรกับเรือ ่ งนี้ แต่จริงๆ แล้วเวลาทีเ่ หลืออยูต ่ อ ่ จากนีค ้ อ ื คุณภาพชีวต ิ ของคนข้างกาย อย่างพ่อแม่ทเี่ ราจะไม่ปล่อยให้พวกเขา รูส ้ ก ึ ด้อยค่าหรือไม่มเี หตุผลให้อยูต ่ อ ่ เหมือนกับเรือ ่ งราว ของคุณลุงคุณป้าวงดนตรีจิตอาสา คณะเพลินอาสา ที่ยังคงความเฟี้ยวฟ้าวแม้อยู่ในวัยเกษียณ วัยที่อายุ ไม่ได้เป็นเรื่องส�าคัญกับชีวิตอีกต่อไป

30


31

ปรียา สุวรรณวลัยกร อายุ 72 ปี

BEFORE : เคยเป็นมะเร็งถึง 3 ครัง ้ ทันทีทไี่ ด้รบ ั ค�าชวนร่วมวงจึงไม่ลง ั เลด้วยเหตุผลว่า ไม่มวี ธ ิ ใี ดคลายกังวลได้เท่าการร้องเพลง AFTER : นักร้องประจ�าวงผู้ที่หายขาดจากโรงมะเร็งด้วยการร้องเพลง

วิภาณี หุตะโชค อายุ 68 ปี

BEFORE : อดีตนักร้อง TU Band ม. ธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ. 2515 และอดีตเจ้าหน้าทีป ่ ระชาสัมพันธ์ สยามกลการยุคแรก AFTER : นักร้องประจ�าวงผู้หลงใหลเสียงเพลง รักการวาดรูป และยังเป็นจิตอาสาของสภากาชาดอีกด้วย


a day BULLETIN

32

issue 502

04 SEP 2017


33 กัลยา สุภัทรวณิชย์ อายุ 53 ปี สุวดี สุวรรณวลัยกร อายุ 67 ปี

BEFORE : ผู้ตรวจสอบบัญชี และเจ้าของบริษัท AFTER : นักร้องประจ�าวง ผู้ที่มักออกสเต็ปโชว์การเต้นลีลาศแสนพลิ้ว

“สมัยนี้ 60 ปียังไม่แก่นะ ยังท�ำงำนได้ และท�ำอะไร ได้อีกเพียบ” ‘เปี๊ยก’ - สุวดี สุวรรณวลัยกร นักร้องหญิง วัย 67 ปี หนึง่ ในสีน่ กั ร้องของคณะเพลินอำสำ เริม่ ต้นชวนคุย ด้วยเสียงเบำๆ แต่กลับมีน�้ำหนักที่ชัดเจน ข้อมูลตัวเลขของผูส้ งู อำยุชำวญีป่ นุ่ ทีม่ อี ำยุ 65 ปีขนึ้ ไป มีจำ� นวนกว่ำ 20% ทีย่ งั คงท�ำงำนอยู่ ยังเป็นแรงงำนทีส่ ำ� คัญ ในตลำดของประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน ซึ่งผู้สูงอำยุเหล่ำนี้ เต็มใจที่จะหำเงินให้เพียงพอต่อกำรใช้จ่ำยของตัวเอง และ เป็นกำรบอกกลำยๆ กับใครๆ ว่ำเขำไม่ได้เป็นภำระของใคร ประเทศไทย แม้จะยังไม่พบกับวิกฤตของคนวัยชรำ แต่เพื่อเตรียมรับมือและชี้ให้เห็นถึงพลังของผู้สูงอำยุ เรำก็ มีโครงกำรทีต่ งั้ ขึน้ มำเพือ่ แสดงให้เห็นถึงคุณค่ำของคนสูงวัย อย่ ำ งร้ ำ นหนั ง สื อ ซี เ อ็ ด มี โ ครงกำร ‘อำยุ 60 ปี มี ไ ฟ ในกำรท�ำงำน’ โดยให้ผู้สูงอำยุวัยเกษียณกลับมำท�ำงำน ในต�ำแหน่งเจ้ำหน้ำที่ร้ำนหนังสือ ท�ำงำนดูแลหนังสือและ ต้ อ นรั บ ลู ก ค้ ำ สำมำรถเลื อ กท� ำ งำนได้ ทั้ ง รำยวั น หรื อ รำยชั่วโมง และได้เสียงตอบรับกลับมำอย่ำงท่วมท้นจำก คนที่เข้ำมำสมัครท�ำงำนตำมสำขำต่ำงๆ จ�ำนวนมำก ไม่ตำ่ งจำกพนักงำนเก็บค่ำโดยสำรหญิงสูงวัยประจ�ำ รถโดยสำรสำย 11 “ปีนี้ป้ำ 66 ปีแล้วหนู ยังเป็นสำวนะ แต่เป็นสำวเหลือน้อย” ป้ำยิ้มแฉ่งก่อนจะเล่ำให้ฟังต่อว่ำ “นี่เป็นรถของน้อง ป้ำมำช่วยเขำ ดีกว่ำอยู่บ้ำนเฉยๆ น่ะ เรำยังท�ำงำนได้อยู่” ระหว่ำงนั้นก็เอื้อมมือไปรับแบงก์ร้อย จำกผู้โดยสำร แล้วเปรยขึ้นมำเบำๆ ว่ำ “อูย ปวดขำจัง” ก่อนจะคิดทอนเงินได้อย่ำงคล่องแคล่ว พร้อมเคลื่อนกำย ไปตำมกำรเคลื่อนที่ของรถเมล์ได้โดยไม่มีสะดุด แต่หำกย้อนกลับไปหลำยสิบปีกอ่ น ผูส้ งู อำยุอำจไม่มี ควำมคิดเรือ่ งกลับมำท�ำงำนอีก หลังจำกทีท่ ำ� งำนมำเนิน่ นำน หลำยคนเลือกหยุดตัวเอง และอยูบ่ ำ้ นเลีย้ งหลำน มีควำมสุข ได้รกั และถูกรักอยูต่ ลอดเวลำ แต่เมือ่ วันเวลำหมุนไป ควำมเป็น ครอบครั ว ใหญ่ ก็ ถู ก ปรั บ ให้ เ ป็ น ครอบครั ว เดี่ ย วมำกขึ้ น คนแก่คนเฒ่ำจึงอยู่อย่ำงโดดเดี่ยว ไม่มีหลำนให้เลี้ยง ลูกๆ ก็ออกไปท�ำงำน ผู้สูงอำยุส่วนใหญ่จึงหดหู่ สิ้นหวัง คิดว่ำ ตัวเองไร้ค่ำ ท้ำยสุดจะเฉำและหมดพลังที่จะท�ำสิ่งใดอีก แต่อย่ำลืมว่ำพลังของมนุษย์เรำสำมำรถกระตุ้นและ ปลุกมันขึ้นมำได้เสมอ “สว. (หมำยถึง สูงวัย) อย่ำงเรำและอีกหลำยๆ คน เป็นบุคลำกรที่มีคุณภำพ อย่ำงวงของเรำเล่นดนตรีและ ร้องเพลงได้ ไม่ใช่แค่เพื่อตัวเอง แต่เพื่อไปกระตุกพลังของ สว. ท่ำนอื่นให้กลับมำลุกโชติช่วงอีกครั้ง” ‘นิดหน่อย’ กั ล ยา สุ ภั ท รวณิ ช ย์ หั ว หน้ ำ วงและเอนเตอร์ เ ทเนอร์ อำรมณ์ดี อธิบำยด้วยน�้ำเสียงที่มั่นใจ ในขณะที่ผู้สูงอำยุอีกหลำยร้อยคนมีประสบกำรณ์ อุดมไปด้วยเรื่องรำวของชีวิตที่ผ่ำนคมเขี้ยวมำเยอะ รู้ทัน เล่หเ์ หลีย่ มของคนมำกมำย “คนพวกนีไ้ ม่นำ่ ให้อยูบ่ ำ้ นเฉำๆ เขำควรได้รับเลือกให้เป็นผู้ให้ค�ำปรึกษำกับคนรุ่นใหม่สิ ประสบกำรณ์ของเขำมีค่ำจะตำย” กัลยำกล่ำวเพิ่มเติม แต่สงิ่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ นัน้ อยูท่ ที่ ศั นคติของคนเรำ อย่ำปล่อยให้ ค�ำว่ำ ‘แก่’ มำวัดค่ำของคน

BEFORE : เจ้าของบริษัทผลิตชุดหมี และผู้พิพากษาสมทบศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ AFTER : หัวหน้าวง เอนเตอร์เทเนอร์ประจ�าวง และอาสาสมัครร้องเพลงประจ�าที่สวนโมกข์กรุงเทพ


a day BULLETIN

34

รอยยิ้มเป็นประกายของผู้สูงอายุที่ได้ท�ากิจกรรมที่ตัวเองรักเป็นพลังส�าคัญที่ท�าให้พวกเขาได้รู้ว่า ชีวิตที่ยังมีอยู่นั้น สามารถท�าสิ่งต่างๆ ได้ดั่งใจไม่ต่างจากวัยหนุ่มสาว และยังได้ท�าตามความฝันของตน เมื่อวันที่ภาระหลายอย่างได้ ปลดเปลื้องออกจากบ่า เมื่อชีวิตได้กลายเป็นการใช้ชีวิตอย่างที่ใจเคยต้องการ

4 ชมรมผู้ สู ง อายุ ใ นกรุ ง เทพฯ และปริมณฑล 1. ชมรมกีฬาผู้สูงอายุ กทม. ชมรมผูส ้ ง ู วัยสุดคึกคักทีม ่ ผ ี เู้ ข้าร่วม กว่า 600 คน โดยทุกๆ ปีจะมีการจัด ก า ร แ ข่ ง ขั น กี ฬ า 7 ป ร ะ เ ภ ท เช่น เปตอง ปาเป้า ซัฟเฟิลบอร์ด โบว์ลิงสนาม รวมถึงการประกวด กองเชียร์ที่เหล่าสาวๆ สูงวัยจะได้ ย้อนกลับไปแต่งชุดแฟนซีอีกครั้ง 2. ชมรมลีลาศ ส.มก. ชมรมเก่ า แก่ ข องสมาคมศิ ษ ย์ เ ก่ า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่น� า ความสุขในวันวานกลับมาโลดแล่น อี ก ครั้ ง ในงานเต้ น ร� า ขนาดใหญ่ ทีจ่ ด ั ขึน ้ ทุกปี ไม่วา่ จะเป็นงานเต้นร�า โต้รุ่ง และงานฉลองปริญญาให้กับ บัณฑิตใหม่ 3. ชมรมคนรักเสียงเพลง ลาดพร้าว ร้านคาราโอเกะชัน ้ ใต้ดน ิ ของห้างบิก ๊ ซี ลาดพร้าว คือสถานทีท ่ อี่ บอวลไปด้วย เพลงสุ น ทราภรณ์ แ ละเพลงยุ ค โอลดีข้ องเหล่าผูส ้ ง ู อายุทม ี่ ารวมตัว กั น วั น ละหลายสิ บ คน หน้ า เวที มี ล า น โ ล่ ง ส� า ห รั บ เ ต้ น ลี ล า ศ แ ล ะ บาร์เครื่องดื่มสุดเก๋า

issue 502

4. ชมรมสูงวัยใจอาสา ชมรมผู้สูงอายุในจังหวัดปทุมธานี ที่รวบรวมภูมิปัญญาและส่งเสริม กิ จ กรรมของผู้ สู ง อายุ โดยเน้ น ที่ งานอาสาสมัครเพื่อชุมชน รวมถึง เป็ น สถานที่ แ ลกเปลี่ ย นความรู้ ใ น ฐานะชมรมผู้สูงอายุต้นแบบ

04 SEP 2017

1. Vivo Bene Village, Chiang Mai : ลองสเตย์เพือ ่ ผูส ้ ง ู อายุ ครบวงจรที่ใหญ่ที่สุดในเชียงใหม่ มีลักษณะเป็นรีสอร์ตหรูพร้อม ศูนย์ออกก�าลังกาย และสระว่ายน�า้ ทีส ่ ามารถน�าวีลแชร์ลงไปได้ โดย ผูเ้ ข้าพักจะได้รบ ั การดูแลอย่างใกล้ชด ิ จากพยาบาลชาวสวิสและชาวไทย

2. Residential and Care Center Humanitas, Netherlands : บ้านพักผู้สูงอายุใกล้มหาวิทยาลัยที่อนุญาตให้นักศึกษาเข้ามาพักได้ ฟรีๆ แต่มข ี อ ้ แลกเปลีย ่ นว่าจะต้องช่วยดูแลผูส ้ ง ู อายุเดือนละ 30 ชัว ่ โมง ท�าให้เป็นบ้านพักที่อบอวลไปด้วยมิตรภาพของคนต่างวัย


35 จรัญ เรืองลุฒิ อายุ 52 ปี

3. Older Women’s Co-Housing group, UK : ชุมชนเล็กๆ ใน อังกฤษที่เกิดจากความตั้งใจของหญิงสูงอายุกลุ่มหนึ่งที่ไม่อยากมี ชีวต ิ บัน ้ ปลายอย่างโดดเดีย ่ ว จึงชักชวนกันมาปรับปรุงอาคารหลังเก่า ให้เป็นที่พักส�าหรับผู้สูงอายุหญิงในบรรยากาศเป็นกันเอง

“เรำยังเหลือควำมฝันอันยิง่ ใหญ่ คือกำรจุดประกำย ให้คนสูงวัยคนอื่นๆ เฮฮำได้อย่ำงเรำ สดชื่นมีชีวิตชีวำ อยู่ต่อได้อย่ำงมีควำมสุข ซึ่งควำมสุขเหล่ำนั้นไม่ต้องใช้ เงินซื้อ เรำหำได้เอง เหมือนอย่ำงที่พวกเรำทุกคนได้ใช้ เสียงเพลงกระตุ้นทุกคนอย่ำงในวันนี้” กัลยำเสริม อีก 10 นำที บ่ำยสำมโมง ได้เวลำที่ผู้สูงอำยุใน บ้ำนพักคนชรำต้องเตรียมนอนกลำงวัน นักร้องจึงมอบ บทเพลงเพรำะๆ อย่ำง บ้านทรายทอง เวอร์ชันของ สวลี ผกำพันธุ์ ทันทีที่ตัวโน้ตสุดท้ำยจบลง เสียงปรบมือ ก็ดังไปทั่วห้องประชุม “ใครอยำกให้พวกเรำมำอีก ยกมือขวำขึ้น” ทันที ที่น�้ำเสียงเชิญชวนของกัลยำดังออกมำผ่ำนไมโครโฟน มือขวำนับสิบจำกเหล่ำผู้สูงวัยก็พลันชูขึ้นมำรำวกับนัด กันไว้ หน�ำซ�้ำกำรร้องเพลงในครั้งนี้มีหนึ่งในผู้สูงวัยของ บ้ำนบำงแคเดินมำขอสมัครเป็นหนึ่งในนักร้องจิตอำสำ เพื่ อ ส่ ง ต่ อ ควำมสุ ข ให้ เ กิ ด เป็ น สำยพลั ง ของผู ้ สู ง อำยุ ต่อไป

4. Trilogy at Encanterra, Arizona, USA : บ้านพักสุดหรูทเี่ ป็น เหมือนสวรรค์สา� หรับเหล่าผูส ้ งู วัยทีห ่ ลงใหลการเล่นกีฬา ประกอบด้วย สนามกอล์ ฟ ขนาดใหญ่ คลั บ นั ก กี ฬ า สระว่ า ยน�้ า และอุ ป กรณ์ อ�านวยความสะดวกครบครัน

ปิยนาถ เนาว์รุ่งโรจน์ อายุ 65 ปี

ไม่ว่ำจะเป็นกำรท�ำงำนจริงจังหรือกำรท�ำกิจกรรม อดิเรกเพือ่ ประโยชน์สว่ นตนหรือส่วนรวม กำรได้ลงมือท�ำ ล้วนแล้วแต่เป็นทำงเลือกที่ดีเสมอ แถมยังตอบตัวเองได้ อย่ำงชัดเจนว่ำ สิ่งที่ค้ำงคำหรือสิ่งที่ยังไม่มีโอกำสได้ท�ำ ในช่วงชีวิตที่ผ่ำนมำนั้น วันนี้ได้ท�ำสิ่งนั้นจนส�ำเร็จ ควำมฝันและสิ่งที่ได้ท�ำของผู้สูงอำยุนั้นท�ำให้เรำ นึกถึงภำพยนตร์กำร์ตนู เรือ่ ง Up ทีป่ ่คู ำร์ล อดีตเซลส์แมน ขำยลูกโป่งวัยปลดเกษียณ ได้พำตัวเองไปยังดินแดนทีเ่ คย ฝันกันไว้กบั ภรรยำผูล้ ว่ งลับว่ำจะไป กำรเดินทำงครัง้ ใหญ่นี้ เป็นสิง่ เดียวทีท่ ำ� ให้เขำรูว้ ำ่ เขำอยำกมีชวี ติ อยูต่ อ่ เพือ่ อะไร เมื่อท�ำส�ำเร็จ คุณปู่ก็เลือกที่จะมีชีวิตต่อด้วยเหตุผลจำก ลูกเสือน้อยจิตอำสำอย่ำงรัสเซลทีไ่ ด้เปลีย่ นเป้ำหมำยชีวติ ของเขำไปตลอดกำล นี่คงเป็นเหตุผลเช่นเดียวกับทุกคนในคณะดนตรี เพลินอำสำ “เรำได้ท�ำตำมควำมฝัน ได้ร้องเพลงอย่ำงที่สมัย สำวๆ อยำกท�ำ แต่เรำไม่ได้ทำ� เพรำะด้วยเหตุผลมำกมำย ทุกวันนี้เรำมีควำมสุขเหลือเกิน” สุวดีพูดขึ้นในขณะที่ ทุกคนพยักหน้ำเห็นด้วย

BEFORE : อดีตพนักงานบริษัทญี่ปุ่น สมัยสาวๆ เป็นไมเกรน เกษียณเมื่ออายุครบ 55 ปี AFTER : นักร้องประจ�าวงผู้เปลี่ยนไมเกรนให้เป็นไมค์ร้องเพลง

เรำยังคงจ�ำเสียงร้องหวำนๆ เริม่ ต้นด้วย... ‘ควำมรักเอย เจ้ำลอยลมมำหรือไร มำดลจิต มำดล... ใจ เสน่หำ...’ ผ่ำน น�้ำเสียงของนักร้องทั้งสี่คนในคณะเพลินอำสำ หวำนหยด จับจิตประทับใจ พร้อมด้วยนักดนตรีอำสำชำยเพียงหนึ่ง เดียวในวง ‘เอก’ - จรัญ เรืองลุฒิ วัย 52 ปี ที่บรรจง ดีดคีย์บอร์ดถึง 2 ตัว พร้อมกับเครื่องสร้ำงเสียงกลอง เท้ ำ เหยี ย บที่ ก ดเบสตำมจั ง หวะกำรปรบมื อ และโยกตั ว ไปมำของเหล่ำผู้สูงอำยุในบ้ำนพักคนชรำ บ้ำนบำงแค และมีบำงคนค่อยๆ ลุกขึ้นจับมือนักร้อง และเคลื่อนไหว ร่ำงกำยด้วยกำรเต้นลีลำศที่แสนประทับใจ นีค่ อื ควำมสุขและควำมสนุกทีค่ นในวัยเดียวกันตัง้ ใจ ท�ำเพื่อตัวเอง และส่งต่อเพื่อผู้อื่นโดยไม่หวังผลตอบแทน “กำรเป็นจิตอำสำ ไม่ว่ำจะเป็นกำรร้องเพลง หรือ อะไรก็ตำม จะท�ำให้หัวใจเบิกบำนและรู้สึกสนุกมำกขึ้น เมื่อกลับมำท�ำงำน เรำรู้สึกว่ำตัวเองมีพลังในกำรท�ำงำน มำกขึ้นกว่ำเดิม เหมือนเป็นสิ่งที่มำเติมให้เรำรู้สึกเต็มที่ กับชีวิตได้” กัลยำเล่ำให้ฟัง “พวกเรำสนุกและมีควำมสุขมำกทีม่ คี นคิดเหมือนกัน มำท�ำสิ่งดีๆ ร่วมกันมำกว่ำ 5 ปี วงนี้เริ่มต้นจำกนิดหน่อย คนเดียว ร้องเพลงและเล่นเปียโนตั้งแต่ 10 ปีก่อน” ‘ติ๋น’ - วิภาณี หุตะโชค วัย 68 ปี หนึ่งในนักร้องประจ�ำวง เป็นตัวแทนพูดถึงควำมสุขของวง “วัยแบบเรำก็มีควำมสุขได้นะ แม้จะมีเรื่องควำมเจ็บป่วยเกิดขึ้นก็ตำม” ปรียา สุวรรณวลัยกร วัย 72 ปี ผู ้ เ อำชนะมะเร็ ง มำแล้ ว ถึ ง 3 ครั้ ง ด้ ว ยเสี ย งเพลง ใช้ กำรร้องเพลงมำเป็นสิ่งตัดกังวลใดๆ จนท�ำให้หำยขำด เมื่อวันหนึ่งที่เธอเห็นและรู้จักคณะเพลินอำสำ บวกกับ กำรชักชวนของน้องสำวอย่ำงเปี๊ยก “กำรร้องเพลงท�ำให้ไมเกรนหำยเป็นปลิดทิ้งได้ด้วย” ‘ป้อม’ - ปิยนาถ เนาว์รุ่งโรจน์ วัย 65 ปี นักร้องคนที่สำม ของวงช่วยเสริม และสิง่ นีเ้ ป็นควำมสุขชิน้ ส�ำคัญของวงทีใ่ ช้ ควำมตัง้ ใจแรกไปเล่นดนตรีจติ อำสำในโรงพยำบำล เพือ่ ให้ ผู้ป่วยที่นั่งรอหมอได้ฟังเพลงเพรำะๆ ได้ขยับไหล่เล็กน้อย ได้โยกหัวตำมเบำๆ ได้รอ้ งเพลงให้หวั ใจชุม่ ชืน่ ให้เสียงเพลง ทุกตัวโน้ตสอดแทรกเข้ำไปในจิตใจ เพื่อให้ผู้ฟังรู้สึกดีขึ้น “ไม่ใช่แค่เรำที่ได้ประโยชน์ แต่คนรอบข้ำงที่ฟังเรำ ก็ได้ประโยชน์ มีบำงคนจำกที่ไม่เคยคิดจะลุกจำกรถเข็น ได้ ยิ น เพลงหนึ่ ง ที่ เ รำร้ อ ง อำจจะไปกระตุ ก ควำมรั ก ใน ควำมทรงจ�ำของเขำจนเขำค่อยยันตัวขึ้น ก�ำเงินในมือและ ค่อยๆ เคลื่อนตัวไปหย่อนเงินใส่กล่องรับบริจำคของทำง โรงพยำบำล” นีค่ งเป็นเหตุผลส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ปรียำเลือกทีจ่ ะ ร้องเพลงต่อไปเรื่อยๆ ควำมแข็ ง แรงและกำรเคลื่ อ นกำยอย่ ำ งพลิ้ ว ไหว บ่ ง บอกถึ ง สุ ข ภำพกำยและใจที่ แ ข็ ง แรงในวั ย ที่ เ ริ่ ม จะ ไม่ ส นใจตั ว เลขของอำยุ สั ก เท่ ำ นั้ น ยื น ยั น สิ่ ง นี้ ไ ด้ ที่ ‘ชรำโอเกะ’ ศู น ย์ ร วมวั ย เกษี ย ณชำยหญิ ง ที่ ชื่ น ชอบ กำรร้องเพลงลูกกรุง ก่อตั้งกันมำอย่ำงยำวนำนบริเวณ ศูนย์อำหำร ชัน้ 3 ของห้ำงสรรพสินค้ำเก่ำแก่ ดิ โอลด์ สยำม และไม่ใช่แค่ร้องเพลง แต่หมำยถึงกำรได้มำเจอเพื่อน วัยเดียวกัน กินข้ำว พูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องรำวระหว่ำงกัน ก่อนที่จะคว้ำไมค์และผลัดกำรโชว์พลังเสียง ทั้งหมดเพียง เพื่อให้เข้ำใจตรงกันว่ำ อำยุเป็นเพียงตัวเลข หัวใจต่ำงหำก ที่ยังบ่งบอกว่ำ ควำมสุขและคุณค่ำของอำยุที่มำกนั้นไม่ได้ วัดกันที่ร่ำงกำยภำยนอกเลย

BEFORE : อดีตหนุม ่ จบการศึกษาประถม 4 ผูห ้ ลงรักเสียงดนตรี จับพลัดจับผลูมค ี รูมาสอนดนตรีจนช�า่ ชองถึงทุกวันนี้ AFTER : นักดนตรีมืออาชีพ ชายที่ใช้เสียงดนตรีเป็นทั้งอาชีพเลี้ยงลูก เลีย ้ งชีวิตตัวเอง และเลี้ยงจิตวิญญาณ


เรื่อง : ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ ภาพ : getty image

37

FOODIE

การแตกตั ว ของเมล็ ด ข้ า ว โ พ ด ท ร ง ผี เ สื้ อ เวลาระเบิดจะบานออก คล้ า ยปี ก เมื่ อ ผสาน กลิ่ น เนยและรสเค็ ม จากเกลื อ นั่ น แหละ! คื อ ความอร่ อ ยที่ เ ป็ น เอกลักษณ์ ทั้งยังเป็น ทรงทีน ่ ย ิ มกินกันทัว ่ ไป แ ล ะ ยิ่ ง เ พ ลิ น เ มื่ อ รับประทานในโรงหนัง

ซี เมย์ส อีเวอร์ทา คือ ส า ย พั น ธุ์ ข้ า ว โ พ ด ที่ น�ามาท�าป๊อปคอร์นได้ดี ที่ สุ ด เมล็ ด เป็ น แป้ ง ชนิดแข็ง มีความชืน ้ สูง ประมาณ 14% เมื่อโดน ความร้ อ นราวๆ 180 องศาเซลเซียส จะเกิด แรงดั น ภายในท� า ให้ เนื้อสีขาวด้านในระเบิด ฟูออกมา

ข้ า วโพดคั่ ว แตกตั ว เ ล็ ก น้ อ ย ท ร ง ก ล ม รู ป ร่ า ง ค ล้ า ย เ ห็ ด นิ ย มน� า มาคลุ ก กั บ คาราเมลผสมถัว่ ลิสง แ ล้ ว จ� า ห น่ า ย ใ น รู ป แ บ บ ถุ ง ข น ม ผู้ ริ เ ริ่ ม คิ ด สู ต รและ วิ ธี นี้ คื อ สองพี่ น้ อ ง ชาวเยอรมัน Rueckheim เจ้าของแบรนด์ เก่าแก่ Cracker Jack ตั้ ง แต่ ปี ค.ศ. 1896 เป็นต้นมา

ป๊ อ ป ค อ ร์ น ม า จ า ก การรวบค� า ของชาว อเมริกัน จากค�ากริยา Popped (ลั่ น ดั ง ปั ง ) รวมกับค�านาม Corn (ข้าวโพด) เพื่อให้ออก เสี ย งสั้ น ๆ เข้ า ใจง่ า ย ท้ า ยสุ ด ก็ ฮิ ต ติ ด ปาก ทั้งชื่อเรียกและรสชาติ แบบออริจน ิ อล ซึง ่ ปรุง เพียงเนยและน�า้ มันหมู เท่านั้น

เส้นทางของป๊อปคอร์น เริ่มนิยมตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 เพราะเป็นของกินที่มีราคาถูกของชาวอเมริกัน และนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในปี ค.ศ. 1893 Charles Cretors ได้ผลิตเครื่องท�าป๊อปคอร์นขึ้นเป็นครั้งแรกของโลก หลังจากนั้นป๊อปคอร์นได้เข้าไปอยู่ในทุกๆ ที่ ตั้งแต่ สวนสาธารณะ สวนสัตว์ จนปี ค.ศ. 1929 สหรัฐอเมริกาก็ตกอยูใ่ นวิกฤต Great Depression เศรษฐกิจตกต�า่ ขีดสุด ส่งผลให้ธร ุ กิจอืน ่ ๆ ปิดตัว แต่ข้าวโพดคั่วกลับเป็นสินค้าเพียงอย่างเดียวที่ขายดี ท� าให้เจ้าของโรงภาพยนตร์ต้องน�าข้าวโพดคั่วเข้ามาขายเพื่อประคองธุรกิจ จนผ่านวิกฤตมาได้ และนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ข้าวโพดคั่วกับการดูหนังและโรงภาพยนตร์ก็เป็นสิ่งที่มาคู่กันโดยตลอด

HOW TO POPPING CORN OFF FROM THE COB BY MARTHA STEWART

มาร์ธา สจ๊วต แนะน�าวิธีท�าข้าวโพดคั่ว

ม้วนปิดปากถุงให้สนิท น�าเข้าไมโครเวฟ 2 นาที

และเนยละลายตามชอบ คลุ ก ให้ เ ข้ า กั น

แบบทัง ้ ฝัก ซึง ่ เป็นวิธท ี า� ทีส ่ นุกและง่าย เริม ่ ต้น

ระหว่างนัน ้ จะได้ยน ิ เสียงป๊อปๆ ดังมาเรือ ่ ยๆ เมือ ่

พร้อมเสิรฟ ์

ใช้ขา้ วโพดดิบ 1 ฝัก ใส่ในถุงกระดาษสีนา�้ ตาล

ครบเวลา น�าออกมาเทใส่ชามใหญ่ เติมเกลือ


a day BULLETIN

BREATHE IN

เรื่อง / ภาพ : พชร สูงเด่น

38

BREATHE IN : พชร สูงเด่น อาชีพ : นักศึกษาทุน Erasmus Mundus ด้านการศึกษาเพื่อการพัฒนา ก�าลังอยู่ในช่วงชีวิตที่ต้องวุ่นๆ สลับไปมา ระหว่างนั่งเขียนรายงานในห้องสมุด อบขนมในห้องครัว เรียนรู้ นอกห้องเรียนด้วยการเดินทางไปยังเมืองต่างๆ ในยุโรป และการนั่งเขียนบันทึกเรื่องราวทั้งหมดส่งมาให้ a day BULLETIN ที่ก�าลังจะน�ามาทยอยลงเป็นตอนๆ ทางออนไลน์ของเรา

วัฒนธรรมความกลัว และอารยะขัดขืน (อย่างสร้างสรรค์) “Look daddy, there are no people on the street, only police.” เด็กผู้หญิงคนหนึ่งพูดโพล่งขึ้นมาระหว่างรอรถไฟใต้ดิน U-Bahn ในวันที่ เมืองใหญ่เป็นอันดับสองของเยอรมนีอย่างฮัมบูรก ์ เงียบผิดปกติทง ั้ ใต้ดน ิ และบนถนน เสียงเล็กๆ ก็ดจู ะกระทบหูดง ั ขึน ้ รวมทัง ้ เสียงไซเรน เสียงเฮลิคอปเตอร์ บนท้องฟ้าที่ดังอยู่แล้วก็ดูจะสั่นโสตประสาทมากไปกว่าเดิม

issue 502 04 SEP 2017

ในที่สุดรถไฟก็มา ความคาดการณ์ ไม่ ไ ด้ ใ นเรื่ อ งขนส่ ง สาธารณะดู จ ะเป็ น เรื่ อ งที่ ลื ม ไปแล้ ว เมื่ อ อยู ่ ใ นเมื อ งที่ มี ประสิทธิภาพสูง ทุกอย่างคาดการณ์ได้ อย่างฮัมบูร์กนี้ - แต่ความเงียบสงัดบน ท้องถนน แทบไม่มีรถยนต์และผู้คนสัญจร ในเย็นวันศุกร์แบบนี้ ย่อมไม่ใช่สถานการณ์ ปกติ และการคาดการณ์ไม่ได้, ไม่ใช่แค่ เรือ่ งการเดินทาง แต่รวมถึงความปลอดภัย, ก็ดจู ะท�าให้ทอ้ งไส้ปน่ั ป่วนอย่างประหลาด รู้ตัวอีกทีก็พาตัวเองเดินผ่านถนน ร้ า งๆ มาอยู ่ ใ นห้ อ งประชุ ม ใหญ่ ใ น มหาวิ ท ยาลั ย ฮั ม บู ร ์ ก ห่ า งเพี ย งไม่ กี่ กิโลเมตรจาก Elbphilharmonie สถานที่ จัดการประชุมสุดยอดผู้น�ากลุ่มประเทศ G20 - ในความใกล้ ที่ดูจะห่างกันออกไป ทั้งในวิธีการและทัศนคติ; ณ หอประชุม แห่งนี้ เวทีจดั ขึน้ เรียบง่าย มีเพียงโปรเจกเตอร์ ขึงผ้าใบผืนใหญ่ให้คนข้างหลังมองเห็น ได้ชัด เก้าอี้พลาสติกวางเรียงกันส�าหรับ ผู้ร่วมเสวนาที่ยังอยู่ในชุดเสื้อยืด รองเท้า ผ้าใบ ไม่มสี ทู ไม่มพี ธิ รี ตี อง มีเพียงเป้าหมาย ของการที่ทุกคนมาอยู่ตรงนี้ร่วมกันเท่านั้น ที่ดูจะส�าคัญ Constructive Disobedience แปลตรงตัว ก็คอื การขัดขืนอย่างสร้างสรรค์ เป็นคอนเซ็ปต์ ทีม่ พี ฒ ั นาการในความหมายและการประยุกต์ ใช้เปลี่ยนไปตามยุคสมัยและบริบทของ สังคมนัน้ ๆ จากจุดเริม่ ต้นนิยามประชาธิปไตย

อันเป็นระบอบการปกครองที่เกิดขึ้นและ ด�ารงอยู่ด้วยความยินยอมพร้อมใจอย่าง เสรีของประชาชน (consent of the people) และเมื่ อ กล่ า วกั น ในทางทฤษฎี แ ล้ ว หากความยินยอมเห็นชอบเป็นสิทธิโดย ชอบธรรมของผู ้ ถู ก ปกครอง ประชาชน ก็ย่อมมีสิทธิในการคัดค้านในขอบเขตของ การไม่ใช้ความรุนแรงและกระทบต่อสังคม โดยรวม อารยะขัดขืน การต่อต้านการบังคับ ใช้กฎหมายหรือนโยบายต่างๆ ทีป่ ระชาชน ไม่เห็นชอบในวิธกี ารหรือเป้าหมาย จึงเป็น เรื่องที่มีความจ�าเป็น แต่ Constructive Disobedience เสนอว่าเพียงการขัดขืนนั้น ยังไม่เพียงพอทีจ่ ะขับเคลือ่ นการเปลีย่ นแปลง ให้ก้าวไปข้างหน้า การขัดขืนจะต้องมา พร้อมกับน�าเสนอทางเลือก วิธีการอื่นๆ ให้กับหนทางที่เราขัดขืนด้วย Constructive Disobedience ถูกใช้ เป็ น สโลแกนของการรวมตั ว กั น ของ กลุ ่ ม นั ก ศึ ก ษาในฮั ม บู ร ์ ก เมื อ งที่ ไ ด้ รั บ การขนานนามว่าเป็น ‘free and Hanseatic city’ ด้ ว ยความที่ เ ป็ น เมื อ งท่ า สั ญ ลั ก ษณ์ ความเป็ น เสรี ทั้ ง การค้ า และการเมื อ ง จนถูกเลือกให้เป็นทีจ่ ดั การประชุมระหว่าง กลุ่มประเทศ G20 ในครั้งนี้ - หากแต่ เป็นการประชุมนี้เองที่พลเมืองถูกกีดกัน จากการแสดงความเห็นและตั้งข้อสงสัย ในการรวมกลุ ่ ม ของผู ้ น� า ที่ ขั ด ต่ อ หลั ก

ประชาธิ ป ไตยแต่ แ รก และเป็ น ไปเพื่ อ ความสนใจเฉพาะกลุ่มใน ‘Club of the Great’ นี้ การหารื อ เกิ ด ขึ้ น ในวงแคบๆ ไม่ ไ ด้ ใ ห้ พื้ น ที่ แ ก่ ป ระเทศอื่ น ๆ ที่ ล ้ ว น เกี่ ย วข้ อ งในประเด็ น โลกที่ ไ ร้ พ รมแดน ข้อตกลงต่างๆ มีท่าทีเป็นไปอย่างลับๆ ไม่ เปิดเผยรายละเอียดการพูดคุยต่อสาธารณะ อีกทั้งยังถือโล่ปกป้องตนเองจากการถูก คัดค้านต่อต้านจากพลเมืองทีพ่ วกเขาบอก ว่าก�าลังท�าหน้าที่เป็นตัวแทนให้ ความย้อนแย้งในวิธกี ารทีก่ ลุม่ นักศึกษากล่าวใน ห้องประชุมว่า หากจะมีความยั่งยืนใดๆ ที่ พวกเขาบรรลุได้ในการประชุมครั้งนี้ ก็คือ การท� า ลายระบอบประชาธิ ป ไตย สิ ท ธิ เสรีภาพ ในการแสดงออกซึ่งความเห็น ในการมีสว่ นร่วมของประชาชนอย่างยัง่ ยืน นั่นเอง... “การรวมกลุ่มของพวกเราอาจไม่ได้ น�ามาซึ่งชัยชนะในท้ายสุดของวัน แต่มัน ส�าคัญในทางสัญลักษณ์ และอย่างน้อยเรา ก็ไม่ได้ยอมพ่ายแพ้ ยอมจ�านนต่ออ�านาจ” - ผูน้ า� นักศึกษาตอบค�าถาม หลังมีขอ้ สงสัย ว่า การรวมตัวกันแบบนี้สุดท้ายแล้วจะ สร้างการเปลี่ยนแปลงใด ในวั น ที่ ค วามรุ น แรงยั ง คงเป็ น จุดสนใจและช่วงชิงพื้นที่สื่อต่างๆ จนเป็น ช่องโหว่ที่ท�าให้คนบางกลุ่มเล็กๆ เลือกใช้ วิถคี วามรุนแรงในการเรียกร้องความสนใจ และมั น ก็ พ ลอยสร้ า งความชอบธรรม

กลายๆ ให้กับผู้บังคับใช้อ�านาจว่าท�าไม ถึงไม่ควรเปิดพื้นที่ให้เกิดการต่อต้านการชุมนุมแต่แรก จนไม่เหลือพื้นที่ให้กับผู้คน อีกจ�านวนมากที่มารวมตัวกันด้วยเจตนา ในการเรียกร้องความยุตธิ รรม และน�าเสนอ วิ ถี ท างเลื อ กต่ อ การปกครองที่ จ ะส่ ง ผล ต่อชีวิตพวกเขา ไม่ใช่ในฐานะพลเมือง ของประเทศใดประเทศหนึ่ง แต่ในฐานะ พลเมืองของโลกใบเดียวกัน แต่ในขณะทีต่ วั แทนผูช้ มุ นุมก�าลังจะ เปิ ด ประเด็ น ถึ ง วิ ถี ท างเลื อ กที่ พ วกเขา น�าเสนอนัน้ เอง เสียงไซเรนก็ดงั ขึน้ ทัว่ อาคาร ผู้คนเริ่มแตกตื่น ในขณะที่ตัวแทนผู้ชุมนุม บนเวทีลกุ ขึน้ ยืน พูดออกมาด้วยเสียงอันดัง แทนไมค์ทถี่ กู ปิดไปแล้วว่า ให้ไปรวมตัวกัน นอกอาคารด้านหน้า หากแต่สายตาแตกตืน่ ของแต่ละคน จ�านวนผูค้ นทีห่ ายไปเกือบครึง่ มันแสดงให้เห็นว่าวัฒนธรรมแห่งความกลัวนัน้ ถูกสร้างอย่างไร ได้ผลในการสลาย อารยะขัดขืนถึงเพียงใด และเกิดค�าถาม ว่าการขัดขืนหรือการยินยอมต่อบรรยากาศ แห่งความกลัว แบบไหนที่น่ากลัวกว่ากัน “There are no people on the street, only police.” เสียงของเด็กผู้หญิงคนนั้น ที่ได้ยินระหว่างทางมาร่วมประชุมดังก้อง ขึ้ น มาอี ก ครั้ ง ระหว่ า งทางเดิ น กลั บ บ้ า น ค� า พู ด เบาๆ จากเสี ย งเล็ ก ๆ ที่ ดู จ ะดั ง เกินไปในวันทีท่ อ้ งถนนร้างว่างเปล่าไร้ผคู้ น ในเย็นวันศุกร์กลางเมืองเช่นนี้

*ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผู้จัดงาน และ recommendations ของกลุ่มผู้ประท้วง ‘United instead of G20’ สามารถดูได้ที่ www.gemeinsam-statt.G20.de


เรื่อง / ภาพ : มิ่งขวัญ รัตนคช

39

BREATHE OUT

BREATHE OUT : มิ่งขวัญ รัตนคช

“เหตุการณ์ในวันนั้นเป็นเหมือนฝันร้ายที่จะตามหลอกหลอนคุณไปตลอดชีวิต คุณจะหวาดกลัวการไปสนามบิน หวาดระแวงว่าจะมีระเบิดซ่อนอยู่ไหม ทุกครั้งที่มองเห็นกระเป๋า หวาดผวากับแทบทุกสิ่งรอบตัว แม้ว่ามันจะเป็นเรื่องธรรมดาในชีวิตประจ�าวันก็ตาม ฉันยังจ�าทุกสิ่งได้ดี เสียงผู้คนกรีดร้อง ด้วยความตืน ่ ตระหนก กลิน ่ คาวเลือดคละคลุง้ และควันระเบิดทีพ ่ วยพุง่ ไปทัว่ บริเวณ”

ถ้อยค�ำแฝงควำมเจ็บปวดของ รีเบกกำ เกรกอรี หนึ่ ง ในนั ก วิ่ ง ผู ้ ร อดชี วิ ต แต่ ต ้ อ งสู ญ เสี ย ขำไปหนึ่ ง ข้ ำ ง จำกเหตุวินำศกรรม ณ กำรแข่งขันวิ่งมำรำธอนที่เก่ำแก่ และยิ่งใหญ่ที่สุดรำยกำรหนึ่งของโลก ‘Boston Marathon’ ไม่ใช่แค่เธอเท่ำนั้น ฉันอยู่ที่นั่น... และจดจ�ำทุกสิ่งได้ดีเช่นกัน แม้เวลำ จะผ่ำนมำกว่ำ 4 ปีแล้วก็ตำม มันเป็นวันหนึ่งในฤดูใบไม้ผลิที่สว่ำงไสว นับเป็น Patriots Day หรือวันร�ำลึกถึงสมรภูมิของเล็กซิงตันและ คอนคอร์ด ซึง่ ถือเป็นสมรภูมแิ รกของสงครำมปฏิวตั อิ เมริกำ ตรงกับวันจันทร์ที่ 3 ของเดือนเมษำยนของทุกปี และในวันนี้ จะมีกำรจัดงำน ‘Boston Marathon’ ทีเ่ หล่ำนักวิง่ จำกทัว่ โลก เดินทำงมำเข้ำร่วมเส้นทำงวิ่งระยะทำง 42.195 กิโลเมตร ผ่ำนเมืองบอสตันรอบนอก เพื่อเข้ำเส้นชัยบริเวณจัตุรัส โคพลีย์ ซึ่งตั้งอยู่ใจกลำงเมืองตลอด 117 ปีที่ผ่ำนมำ ฉันอยูท่ นี่ นั่ ... ส่งเสียงเชียร์และให้กำ� ลังใจเหล่ำนักวิง่ ณ จุดหนึ่งบนเส้นทำงวิ่งอันยำวไกลที่พวกเขำต้องพิชิต เพื่อเข้ำสู่เส้นชัยที่แลกมำด้วยพละก�ำลังจำกกำรฝึกฝน อย่ำงหนักหน่วง และควำมแข็งแกร่งของจิตใจทีไ่ ด้มำพร้อม หยำดน�ำ้ ตำ แต่ทว่ำในครัง้ นีท้ กุ อย่ำงเปลีย่ นไป เมือ่ เส้นชัย ถูกท�ำลำย ด้วยอนุภำพของระเบิดที่ถูกจุดชนวนขึ้นถึง 2 ครั้ง แรกเริ่ม ฝู ง ชนและนัก วิ่ง ที่อ ยู ่ ไ กลจำกจุด เกิด เหตุ ยังคงไม่รับรู้เรื่องรำวที่เกิดขึ้น ต่ำงโห่ร้อง ส่งเสียงเชียร์กัน อย่ ำ งสนุ ก สนำนตำมปกติ ทั น ใดนั้ น แว่ ว เสี ย งไซเรน รถต�ำรวจหวีดร้องขึ้นอย่ำงแผ่วเบำ และค่อยๆ ดังขึ้นๆ พร้อมกับข่ำวลือทีแ่ พร่สะพัดมำอย่ำงรวดเร็วรำวกับไฟลำมทุง่ ม่ำนหมอกแห่งควำมหวำดกลัวแผ่เข้ำปกคลุมบอสตันทันที

ท�ำให้บรรยำกำศคึกคัก รอยยิ้มของผู้คน และควำมอบอุ่น ที่ก�ำลังฟุ้งกระจำย จำงหำยไปภำยในเวลำไม่กี่อึดใจ ฉั น อยู ่ ที่ นั่ น ... พร้ อ มกั บ ผู ้ ค นอี ก นั บ ล้ ำ นที่ ก� ำ ลั ง ตื่นตระหนก และเป็นครั้งแรกในชีวิตที่ฉันได้สัมผัสกับ ควำมทรงพลังในกำรสืบสวนสอบสวนของ FBI เมื่อภำพ และคลิปวิดีโอบริเวณจุดเกิดเหตุจำกผู้อยู่ในเหตุกำรณ์ หลำกหลำยมุมมอง ข้อมูลและค�ำให้กำรมำกมำยจำก พยำนบุ ค คล ถู ก ปะติ ด ปะต่ อ เข้ ำ หำกั น ออกมำเป็ น สมมติฐำนเพื่อชี้ตัวสองมือวำงระเบิด กำรปะทะกันครัง้ แรกของเจ้ำหน้ำทีแ่ ละคนร้ำย ท�ำให้ ต�ำรวจหนึง่ นำยต้องปฏิบตั หิ น้ำทีจ่ นถึงวำระสุดท้ำย เขำเสียชีวติ ทันทีในที่เกิดเหตุ บริเวณสถำบันเทคโนโลยีแมสซำชูเซตส์ (MIT) หลังจำกนัน้ ไม่กชี่ วั่ โมงต่อมำ เกิดกำรปะทะกันอีกครัง้ จนหนึ่งในคนร้ำยเสียชีวิต ส่วนอีกคนหลบหนีไปได้ ฉันอยู่ที่นั่น... นำทีที่ผู้ว่ำกำรรัฐแมสซำชูเซตส์ออก ค�ำสั่งขอร้องให้ชำวเมืองเฝ้ำรอเหตุกำรณ์สงบอยู่ในบ้ำน เพื่อควำมปลอดภัย ถ้ำจะกล่ำวให้สมควำมยิ่งใหญ่กับ สิ่งที่เกิดขึ้นในวันนั้น คงต้องใช้ค�ำว่ำสั่ง ‘ปิดเมือง’ เพื่อ ตำมจั บ คนร้ ำ ยอี ก หนึ่ ง คนที่ ยั ง หลบหนี อ ยู ่ น่ ำ จะฟั ง ดู สมน�้ำสมเนื้อกว่ำ ถนนทุกสำยในเมืองเงียบสงัด ลมหนำวระลอกสุดท้ำย ของปีพัดแผ่วเบำ นำนๆ ทีจึงจะมีรถต�ำรวจขับผ่ำนมำ ท�ำลำยควำมเงียบงันชวนอึดอัดใจ ใบหน้ำของผู้คนชะโงก ผ่ำนบำนกระจกออกมำสังเกตควำมเคลื่อนไหวบนถนน เป็นระยะ เป็นบรรยำกำศหดหู่ที่ดูรำวกับไม่มีวันสิ้นสุดลง ไม่กี่ชั่วโมงต่อมำ ทันทีที่คนร้ำยถูกจับตัวได้ ผู้คนเดิน ออกมำทั ก ทำยกั น บนถนน ควำมอบอุ ่ น และสว่ ำ งไสว ของฤดูใบไม้ผลิกลับมำอีกครั้ง

สองมือวำงระเบิดถูกจับภำยในเวลำ 105 ชั่วโมง เท่ำนั้น นับจำกวินำทีที่ชนวนระเบิดถูกจุดขึ้น เพรำะควำมร่วมมือร่วมใจของชำวเมืองบอสตัน ไม่มีใครนิ่งนอนใจ กับเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้น จิ๊กซอว์เบำะแสนับร้อยนับพันถูกส่ง มำร้อยเรียงเข้ำหำกัน เพื่อมุ่งสู่จุดหมำยปลำยทำงเดียว นั่นคือควำมสงบสุขและรอยยิ้มของผู้คนที่จะกลับคืนมำ ‘Boston Strong’ วลีสั้นๆ เปี่ยมไปด้วยควำมหมำย ปรำกฏขึ้นทุกหนทุกแห่งนับจำกนั้นเรื่อยมำจนถึงทุกวันนี้ เพื่อปลุกปลอบและมอบก�ำลังใจให้แก่กัน เป็นเสมือน สัญลักษณ์ที่ยึดเหนี่ยวจิตใจให้เรำมีควำมหวังบนควำมเข้มแข็งอยู่เสมอ แม้จะต้องพบเจอกับเรื่องรำวใดๆ ก็ตำม เรำจะก้ำวผ่ำนมันไปได้ด้วยกัน “ฉันรอดชีวิตมำได้ แต่คนที่ยืนข้ำงๆ กันในวันนั้น กลับไม่ ซึง่ มันส่งผลกระทบกับสภำพจิตใจของฉันมำกกว่ำ กำรที่ฉันต้องเสียขำไปเสียอีก” รีเบกกำ เกรกอรี บอกเล่ำ ควำมรูส้ กึ ผิดบำปทีต่ นเองกลำยเป็นผูร้ อดชีวติ ผ่ำนหนังสือ ชีวประวัติของเธอที่ชื่อ Taking My Life Back จิตแพทย์ พบว่ำ เธอมีอำกำร PTSD (Post-Traumatic Stress Disorder) หรื อ ควำมผิ ด ปกติ ฝ ั ง ใจหลั ง พบควำมเศร้ ำ สะเทื อ นใจ ตลอด 4 ปีที่ผ่ำนมำ เธอค่อยๆ ฟื้นฟูสภำพจิตใจและ พลิกฟื้นร่ำงกำยที่บอบช�้ำจำกแรงระเบิด เพื่อที่จะกลับมำ วิง่ ให้ได้อกี ครัง้ ด้วยขำข้ำงขวำและขำเทียมข้ำงซ้ำยของเธอ ฉันอยู่ที่นั่น... ในเมืองที่สอนให้รู้ว่ำเรำไม่จ�ำเป็น ต้ อ งใช้ โ ทสะและควำมเกลี ย ดชั ง ต่ อ กรกั บ ผู ้ ไ ม่ ห วั ง ดี เสมอไป คนทีม่ คี วำมแข็งแกร่งทำงจิตใจต่ำงหำกคือผูช้ นะ ที่แท้จริง

อาชีพ : กองบรรณาธิการนิตยสาร a day BULLETIN เด็กสถาปัตย์เจเนอเรชันวาย ผู้ผันตัวเองสู่แวดวงสื่อสารมวลชน สนใจเรื่องราวเกี่ยวกับงานออกแบบเชิงพฤติกรรมมนุษย์ และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ สนุกกับการออกเดินทางท่องโลกกว้าง เชื่อว่าทุกเรื่องราวบนโลกสามารถถ่ายทอดผ่านตัวหนังสือได้


a day BULLETIN

,

EDITOR S NOTE

40

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

เคยแหงนมองขึ้นไปบนฟ้า ตอนที่ฝนก�าลังตกพร�าๆ ไหม?

issue 502 04 SEP 2017

กลางดึกสงัดมืดมิด คุณจะมองไม่เห็นอะไร แม้กระทัง่ หยดน�้าที่โปรยหล่นลงมาจากฟ้า นอกเสียจากจะได้ยิน เสียงเปาะแปะของมันเมือ่ กระทบเสือ้ ผ้า สัมผัสความเปียกชืน้ เมือ่ มันแผ่ซา่ นบนผิวกาย และได้กลิน่ ไอดินฉุนๆ ระเหยขึน้ มา เมือ่ มันตกกระจายลงพืน้ ถนนทีอ่ มความร้อนระอุมาตลอดวัน ฝนเริม่ ลงเม็ดมาตัง้ แต่ตอนหัวค�า่ และยังคงโปรยปราย อย่างต่อเนื่องเป็นชั่วโมงๆ บนตึกใหญ่ยังมีแสงไฟเปิดอยู่ อีกหลายชัน้ คืนนีม้ เี พือ่ นในแผนกอืน่ ทีต่ อ้ งโหมงานของตัวเอง ต่อไป ส่วนตัวผมเหนือ่ ยล้าเกินกว่าจะทนไหว ต้องขอกลับบ้าน ไปพักผ่อนก่อน ยามเฝ้าบริษทั ละสายตาจากทีวจี อเล็กหันมา กล่าวทักทาย ผมเร่งสาวเท้าก้าวออกไปทีป่ า้ ยรถเมล์เงียบร้าง ล้วงมือเข้าไปในเป้ กดปุ่มเครื่องเล่นเอ็มพีสาม เพื่อเลื่อนเลือกเพลงที่ชอบไปเรื่อยๆ ร็อก, พ็อพ, บรรเลง, เพลงเก่า, เพลงไทย, ... เหม่อมองไกลไปถึงดาว ที่เคยจองเป็นดาวของเรา ก็ยังคงอยู่ที่เดิมให้พบเจอ... เชื่อไหม? ว่าทุกเพลงจะฟัง เพราะขึน้ เมือ่ มีเสียงฝนแทรกเข้ามาประกอบ และมันจะยิง่ เพราะขึน้ ไปอีกถ้ามีภาพบางสิง่ บางอย่างก�าลังเคลือ่ นไหว อยู่ตรงหน้า ผมขยับหูฟงั สองข้างให้กระชับแนบชิดรูหเู ข้าไปอีกนิด แล้วแหงนหน้าขึน้ ฟ้ามองโคมไฟส่องถนน ท้องฟ้าสีแดงก�า่ ฉ�า่ โชกไปด้วยมวลเมฆ คืนนีไ้ ม่เห็นดาว ไม่เห็นแม้กระทัง่ จันทร์ เม็ดฝนก�าลังร่วงหล่นลงมาเป็นสาย ไฟสีเหลืองเมื่อ สาดส่องไปบนพื้นผิวเงาวาวของหยดน�้า ก็สะท้อนแสง พร่างพราวราวแสงดาวสุกกระจ่างอยูเ่ ต็มท้องฟ้า ...อยูตู่ รงนี้ มองเห็นดาว และดวงดาวคงมองเห็นเธอ อย่างน้อยเราอยู่ ใต้ดาวดวงเก่าเดียวกัน ละแวกนี้ถ้าดึกเกินสามสี่ทุ่มไปแล้วก็แทบจะไม่มี ผู้คนสัญจร แต่ถ้าพอดีบังเอิญมีใครเดินผ่านมาในตอนนี้

เขาจะไม่รู้หรอกว่าบนใบหน้าก�าลังเปียกชุ่มไปด้วยน�้าฝน หรือน�า้ ตา เขาไม่มีทางรู้ ผมเองไม่ค่อยมีความรู้เรื่องเพลงมากนัก และไม่ได้ มีรสนิยมวิไลแปลกใหม่ในการฟังเพลง แต่พอมีคนมาถาม ว่าชอบเพลงอะไรมากที่สุด เพลงอะไรที่เกี่ยวข้องกับชีวิต ของผมมากที่สุด เพลงนี้จู่ๆ ก็ผุดขึ้นมาในหัวเป็นเพลงแรก มันไม่ใช่เพลงที่เก๋ เท่ หรือฮิปๆ คูลๆ วิเศษเลิศเลอ อะไร เป็นเพลงธรรมดาหาฟังได้ในยูทูบโดยไม่มีใครใส่ใจ แต่ผมนึกถึงประสบการณ์ฟังเพลงในคืนวันนั้น และสิ่งที่ เกิดขึ้นตามมา “ให้คุณเปิดฟังเพลงคลอไปด้วยตอนเขียนหนังสือ” - ‘พีแ่ หม่ม’ - วีรพร นิตปิ ระภา เชียร์ให้ผมเริม่ ต้นเขียนนิยาย ของตัวเอง หลังจากทีเ่ คยเขียนแต่บทความแห้งแล้งจินตนาการ มาเนิ่นนาน เธอเล่าว่าเพลงที่เธอเลือกมาฟังตอนเขียนหนังสือ ส่วนใหญ่เป็นเพลงคลาสสิก เปิดบรรเลงคลอไปแบบไม่มี เนือ้ ร้องมาท�าให้เสียสมาธิ อย่างทีป่ รากฏรายชือ่ เพลงในนิยาย รางวัลซีไรต์ของเธอ มีบ้างบางครั้งที่เป็นเพลงพ็อพร็อก พังก์รอ็ ก วงโปรดของเธอ เพือ่ เป็นแรงบันดาลใจในการเลือก ใช้ถ้อยค�าหรือประโยค “เพราะเพลงจะช่วยก�ากับอารมณ์ในการเขียนของ คุณ” เธอสอน ตอนเริ่มต้นเขียนนิยายของตัวเองเมื่อกลางปีที่แล้ว ผมก็เลยไปค้นกล่องซีดเี ก่า หยิบแผ่นอัลบัม้ ต่างๆ มาทดลอง เปิดฟังวนไปเรื่อยๆ ก็ยังหาเพลงที่ถูกใจไม่ได้ สุดท้ายก็หัน มาเปิดคอมพิวเตอร์ กดเลือกเพลงเลือ่ นไปเรือ่ ยๆ บนเว็บยูทบู แล้วก็วนมาเจอเพลงนี้อีกครั้ง ‘มีแต่คิดถึง’ เพลงเป็นเหมือนกล่องเก็บความทรงจ�า มันเก็บบันทึก ไว้ได้ทงั้ หมด ทัง้ เสียง ภาพ กลิน่ สัมผัส ฯลฯ ความคิดและ ความรูส้ กึ ทีอ่ ยูภ่ ายในใจตอนนัน้ พลันย้อนกลับมาในตอนนี้ เมื่อเสียงอิเล็กโทนกรุ๋งกริ๋งเหมือนเสียงจากกล่องดนตรี

ในช่วงอินโทรของเพลงนี้ดังขึ้นมาอีกครั้ง สถานทีแ่ ละเวลาในจินตนาการก็กอ่ ตัวขึน้ แล้วมันก็ แผ่ขยายออกมาห้อมล้อมปกคลุมบรรยากาศในการนัง่ เขียน งาน ตรงหน้าไม่ใช่หอ้ งนัง่ เล่นทีบ่ า้ นและจอคอมพิวเตอร์อกี แล้ว แต่มันค่อยๆ กลืนกลายเป็นป้ายรถเมล์กลางดึก หลั ง เลิ ก งาน ใต้ โ คมไฟข้ า งถนนที่ ส ่ อ งให้ เ ห็ น หยดฝน ก�าลังโปรยปราย หลากหลายชีวิตที่ก�าลังท้อแท้สิ้นหวัง มองหาทางกลั บ บ้ า นท่ า มกลางความมื ด สองข้ า งทาง มีเพียงแสงสะท้อนระยิบระยับจากหยดฝน ที่พวกเขา หลงคิดว่าเป็นแสงดาวพร่างพราว ภาพหยดฝนสะท้ อ นแสงไฟถนนระยิ บ ระยั บ มา ปรากฏอยู่ในทุกฉากทุกตอนของนิยาย มันถูกบันทึกไว้ใน เพลง และเมื่อเปิดเพลง มันก็แผ่ออกห่มคลุมบรรยากาศ การเขียนของผมตลอดเวลา บางทีผมก็นกึ แปลกใจตัวเอง ว่าท�าไมงานเขียนของ ตัวเองจึงมักจะเศร้า มันอาจจะมีที่มาจากเพลงนี้ก็ได้ หรือบางทีมันอาจจะมาจากความเศร้าของผมเอง ที่ท�าให้ ผมเลือกเพลงนี้ เพลงเศร้าท�าให้เราเศร้า หรือว่าเราเศร้าจึงเลือกฟัง เพลงเศร้ากันแน่? นี่คือ Choose Music. Choose Life. ของผม ที่ตั้งใจ ว่าจะเล่าให้ฟังในงานอีเวนต์ BULLETIN TALK - Choose Music. Choose Life. ทีผ่ า่ นมา แต่ไม่มโี อกาสและไม่มเี วลา มากพอ จึงขอใช้พื้นที่ตรงนี้มาเล่าให้ฟังกัน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.