ISSUE 102 I 19 - 25 FEBRUARY 2016
COFFEE CULTURE
ขอขอบคุณร้าน Casa Lapin X26 ซอยสุขุมวิท 26 เอื้อเฟื้อสถานที่ในการถ่ายท�าภาพปก
ปีที่ 2 ฉบับที่ 102 วันที่ 19 - 25 กุมภาพันธ์ 2559
NOTE ON LIFE
Coffee Culture
ประสบการณ์การดื่มกาแฟตลอดหลายปีที่ผ่านมา ย่อมมีทั้งความทรงจ�าที่ดีและไม่ดีเหมือนทุกๆ คนนั่นแหละ และบ่อยครั้งความทรงจ�าที่ไม่ดี ก็เหมือนคราบกาแฟที่ฝังแน่น ล้างออกยาก ก็อย่างที่เขาบอกว่า ต่อให้บรรยากาศร้านดีแค่ไหน ถ้ากาแฟไม่อร่อย ก็สามารถท�าลายบรรยากาศของร้านได้ แต่สิ่งที่ร้ายแรงยิ่งกว่า คือการได้ชิมกาแฟรสเลิศ ในร้านที่เจ้าของร้านเหมือนไม่เต็มใจขาย ครั้งหนึ่งเคยเจอร้านประเภทที่เมล็ดกาแฟ เครื่องชง บรรยากาศ ทุกอย่างดีงามไร้ที่ติ ชิมกาแฟไปค�าแรก หัวใจแทบจะเคลิ้มลอย แต่เมื่อสบตากับใบหน้าบูดบึ้ง น�้าเสียงกึ่งร�าคาญของเจ้าของร้าน กาแฟแก้วนั้นก็พลันขื่น-ขม นาทีนั้น เราสัญญากับตัวเองว่าจะไม่กลับมาอีก แม้จะคิดถึงกาแฟแก้วนั้น แต่ชีวิตก็ควรต้องเดินทางต่อไปยังร้านใหม่ๆ ที่ขายกาแฟด้วยหัวใจ วัฒนธรรมกาแฟไม่ใช่แค่กจิ กรรมการซือ้ ขายทัว่ ไป หากแต่คอื กิจกรรมของชีวติ และความสัมพันธ์ระหว่างคนทีห่ ลงรัก และหลงใหลในสิ่งเดียวกัน คนขายกับคนซื้อกาแฟอาจไม่จ�าเป็นต้องพูดคุยกันในทันที แต่หากกาแฟรสชาติถูกใจ คนขายยินดีต้อนรับ เราต่างรู้กันดีว่าเราจะกลับมาเจอกันอีก และถ้าโอกาสดี เราอาจสร้างบทสนทนาร่วมกันได้ ตรงกันข้าม แม้เราจะหลงรักกาแฟแก้วนั้นเพียงใด แต่เราอาจไม่มีวันได้พูดคุยกันอีกเลย เพราะใบหน้าบูดบึ้ง และอารมณ์อันแห้งแล้ง ทิ้งคราบฝังแน่นไว้ในใจมากเกินกว่าจะล้างให้ลบเลือน วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม บรรณาธิการบริหาร Twitter : @khaopan www.facebook.com/adaybulletin
CONTENTS
4 The Stuff
6 Feature
14 Make a Dish
สารพัดสิง่ รอบตัวเรา การเดิ น ทางของ หนึ่งจานอร่อยจาก ทีเ่ ล่าผ่านตัวเลข เมล็ ด กาแฟจาก ร้านดังที่เราอยาก มื อ ผู ้ ป ลู ก สู ่ ก าแฟ ชวนคุ ณ ไปลิ้มลอง กลิ่นหอมแก้วโปรด
16 Calendar
22 20 Supermarket HOME MADE
ใคร ท�าอะไร ที่ไหน เช็กดูได้ สุดสัปดาห์นี้ จะได้ไม่พลาด เรื่องราวสนุกๆ
ฉวยตะกร้ า คว้ า รถเข็ น แ ล ้ ว ไ ป เดินเล่นจับจ่ายกับ เราใน Supermarket แห่งนี้
บ้ า นที่ เ ป็ น เหมื อ น บันทึกการเดินทาง เล่มโตของ สุพจน์ โล่หค์ ณ ุ สมบัติ นักเดินทางและนักเขียน อิสระ
24 Selective
26 The 5ive
30 Out There
34 THE WORD
ของรักทีบ่ ง่ บอกตัวตน ของศิลปินพ็อพอาร์ต สุดเก๋าอย่าง กงพัฒน์ ศักดาพิทกั ษ์
5 หนังสือในความทรงจ�าของ ธนาพร ตั้ ง เ จ ริ ญ มั่ น ค ง เ จ ้ า ข อ ง ห นั ง สื อ Lots of Love 7,300 วันทีเ่ รารักกัน
เพราะเราเชื่ อ ว่ า โลกใบนี้ มี ส ถานที่ มากมายรอให้ ไ ป ค้นหา
พลิ ก มุ ม คิ ด ปรั บ มุมมอง กับ ‘หนึ่ง ถ้อยค�า... ที่เปลี่ยน ความคิด’
LETTER เริ่มต้นอ่าน a day BULLETIN LIFE เพราะถูกใจหน้าปก แต่ก็ได้อ่านบ้างไม่ได้อ่านบ้างเนื่องจากแถวบ้านไม่ค่อยมีวางแจก ชอบ a day BULLETIN LIFE ตรงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวที่เรามักไม่ค่อยได้สังเกตเห็น มีสาระ และแฝงไปด้วยความน่ารัก - ภาพตะวัน
ส่งจดหมายติชม ทักทาย และให้คา� แนะน�า a day BULLETIN LIFE มาได้ที่ adaybulletinmagazine@gmail.com และสามารถติดตามความเคลือ่ นไหวและกิจกรรมดีๆ ได้ที่ Facebook/Twitter: a day BULLETIN และ Instagram: adaybulletinlife
A TEAM ทีป่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผูพ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย บรรณาธิการอ�านวยการ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สงิ ห์ บรรณาธิการบริหาร วิไลรัตน์ เอมเอีย่ ม ซับเอดิเตอร์ / นักเขียน วสิตา กิจปรีชา บรรณาธิการบทความ ประพัฒน์ สกุณา เอกพล บรรลือ ห้วหน้ากองบรรณาธิการ วรรณวนัช ท ว้ มสมบูรณ์ กองบรรณาธิการ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล นภษร ศรีวลิ าศ บรรณาธิการภาพ นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย ช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกติ ติบตุ ร ภาสกร ธวัชธาตรี วงศกร ยีด่ วง มณีนชุ บุญเรือง บรรณาธิการศิลปกรรม วีระยุทธ คงเทศน์ ศิลปกรรม เอกพันธ์ ครุมนต์ตรี จิตต์โสมนัส กองแสง พิสจู น์อกั ษร หัสยา ตัง้ พิทยาเวทย์ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ไม้ลา� ดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝา่ ยผลิต วิทยา ภูท่ อง ทศพล บุญคง ทีป่ รึกษาฝา่ ยโฆษณา ศรวณีย ์ ศิริจรรยากุล ผูอ้ า� นวยการฝ่ายโฆษณา นุจนารถ สินธนาภัทร ผูจ้ ดั การฝา่ ยโฆษณา ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 09-2964-1635, พงศ์ธดิ า อังศุวฒ ั นากุล 09-4415-6241, มนัสนันท์ รุง่ รัตนสุทธิกลุ 08-4491-9241 ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา วาณี กนกวิลาศ 09-5592-9419, มาสสุภา เอีย่ มมงคลศิลป์ 08-5056-0083, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ธนาภรณ์ ศรีจฬุ างกูล 08-1639-1929, สุธาวัลย์ สุวรรณสิงห์ 08-1304-7070, ดวงใจ ดวงจังหวัด 08-6802-9996 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ผูจ้ ดั การ จัณฑรัศมิ์ เกียรติยศ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ ณัฐธยาน์ อึง้ ตระกูลนิธศิ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ผูผ้ ลิต บริษทั เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วจิ ยั 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com เว็บไซต์ www.daypoets.com, www.godaypoets.com นักศึกษาฝึกงาน จรัตพร โมรา วัลญา นิม่ นวลศรี ศิรกิ าญจน์ ศรีเจริญ ณัฐณิชา หงษ์อา�่
STUFF
LunchBox สมัยเด็กๆ ควำมบันเทิงอย่ำงหนึ่งระหว่ำงกินข้ำวถำดที่โรงเรียนจัดไว้ให้ คือเสียงเฮฮำเวลำเพื่อนที่กินอำหำรของโรงเรียนไม่ได้ เปิดกล่องอำหำรรูปกำร์ตูน แล้วเห็นกับข้ำวจัดเรียงมำเป็นรูปกำร์ตูนเหมือนบนฝำกล่องเป๊ะ ตอนนั้นสนุกที่ได้เห็น ไม่นึกด้วยซ�้ำว่ำกำรที่เพื่อนต้องกินข้ำวจำกที่บ้ำนเพรำะแพ้อำหำรหลำยอย่ำง แต่ตอนนี้รู้แล้วว่ำนอกจำกเรื่องควำมอิ่มท้องแล้ว กล่องอำหำรกลำงวันยังสำมำรถสะท้อนสถำนภำพ สิ่งแวดล้อม และสุขภำพของผู้ทำนได้ด้วย
1904
1185 1800
กล่องเก็บอุณหภูมิและขวดสุญญำกำศเกิดขึ้นในช่วง ปี ค.ศ. 1904 เพือ่ แก้ปญ ั หำอำหำรเย็นชืดก่อนถึงเวลำ พักกลำงวัน พัฒนำมำจำกกล่องยำสูบของชนชั้น แรงงำนแบบเดิม กลำยเป็นเทรนด์กล่องอำหำรกลำงวัน ส�ำหรับพนักงำนออฟฟิศและชนชั้นกลำงยุคนั้น
กล่องข้ำวญี่ปุ่น หรือเบนโตะ นั้นสืบย้อนไปได้ถึงยุคคำมำคุระ (1185-1333) เดิมทีเป็นถุงเล็กๆ เพื่อใช้ใส่ hoshi-ii แปลตรงตัวว่ำ ‘dried meal’ หรือข้ำวตำกญี่ปุ่น ซึ่งสำมำรถทำนทั้งแห้งๆ หรือหุงใหม่ก็ ได้ ต่อมำในสมัย อะซุชิโมะโมะยะมะ (1568-1600) จึงได้เปลี่ยนรูปแบบมำเป็นกล่องไม้ลงรัก ดังที่เห็นในปัจจุบัน ซึ่งนิยมใช้เวลำไปปิกนิกชมดอกไม้
1981
MRE หรือ Meal, Ready to Eat พัฒนำมำเพื่อทดแทน อำหำรเรชันแบบกระป๋องส�ำหรับทหำรที่ ไปออกรบในปี ค.ศ. 1981 ในหนึ่งแพ็กที่เห็นมีทั้งอำหำรคำวและหวำน ที่มีสำรอำหำรครบถ้วนส�ำหรับหนึ่งมื้อ ฉีกกินได้ทันที โดยไม่ต้องอุ่น มีหลำกหลำยรสชำติและสัญชำติอำหำร ให้เลือก ปัจจุบนั สำมำรถหำซือ้ ได้ทวั่ ไป จึงเริม่ เป็นทีน่ ยิ ม ในกลุ่มนักเดินป่ำและแคมปิ้ง
1890
Oyster pail หรือ กล่ อ งกระดำษใส่ อำหำรจีน แรกเริ่ม ผ ลิ ต ขึ้ น เ พื่ อ ใ ส ่ หอยนำงรมทีแ่ กะแล้ว จำกร้ำนกลับบ้ำน ในช่วงปี ค.ศ. 1890 กลำยมำเป็นกล่อง ใ ส ่ อ ำ ห ำ ร จี น ยอดนิ ย มในช่ ว ง สงครำมโลกครั้งที่ สอง เพรำะมีรำคำ ถู ก ถื อ ง่ ำ ย ใส่ ไ ด้ ตั้ ง แ ต ่ ข ้ ำ ว ผั ด ไปจนถึงเกี๊ยวน�้ำ
Metal Lunchbox เป็นสัญลักษณ์ของชนชั้น แรงงำนในยุโรปและอเมริกำยุค 1800s ตอนปลำย ซึ่งคนงำนจะใช้กล่องยำสูบหรือกล่องคุกกี้ใส่ อำหำรเพื่อน�ำไปกินที่ท�ำงำน เนื่องจำกไม่มีเงิน พอทีจ่ ะซือ้ อำหำรท�ำใหม่ ถือเป็นกำร upcycling หรือกำรเอำของเก่ำมำประยุกต์ใช้ใหม่ในยุคแรก ก็ว่ำได้
1935
กล่องข้ำวลำยมิกกี้เมำส์เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1935 ถือเป็นกล่อง อำหำรกลำงวันยุคแรกที่พิมพ์ลำยตัวกำร์ตูนยอดฮิตที่มี ‘pie tray’ ถำดส�ำหรับใส่ขนมแบบถอดได้ซ้อนอยู่ด้ำนในเพื่อแยกของหวำน ออกจำกอำหำรคำว ซึ่งรำคำปัจจุบันของเจ้ำกล่องข้ำวมิกกี้เมำส์ รุ่นแรกนั้นอยู่ที่ 2,000 เหรียญสหรัฐฯ
ปิ่นโตส�ำหรับใส่อำหำรของคุณยำยคุณย่ำที่เรำคุ้นเคยนั้น ไทย มำเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ รับและปรับมำจำก ‘Dabbas’ อุปกรณ์ใส่อำหำรของอินเดียซึ่งรับมำจำก ‘Safartas’ หรือ travel bowls ของอำหรับอีกที
FEATURE
Coffee Culture หลายคนอาจไม่ทราบว่ากว่าจะมาเป็นกาแฟหนึ่งแก้วในมือเรา มันต้องผ่านมือคนมาแล้วไม่ต�่ากว่า สี่สิบมือ และกระบวนการผลิตอีกหลายสิบขั้นตอนจนน่าทึ่ง ฉบับนี้เราจึงพาผู้อ่านเข้าสู่โลกของกาแฟ โลกที่หอมหวล อบอวลด้วยกรรมวิธีที่กลั่นออกมาจากใจทั้งคนปลูก คนเลือก คนชิม คนคั่ว จนถึงคนชง และเราเชื่อว่าทุกแก้วที่คุณจะดื่มต่อจากนี้จะเป็นแก้วที่มีเรื่องราว และความหมายมากขึ้นกว่าแต่ก่อนอย่างแน่นอน
COFFEE FARMERS
BONGKOCHSASADA CHAIPROM เรื่อง : ประพัฒน์ สกุณา
บงกชษศฎา ไชยพรหม เจ้าของไร่กาแฟที่อมก๋อย คือแชมป์ปลูกกาแฟปี พ.ศ. 2558 จากการประกวดของ TQC Thailand Quality Coffee ที่เริ่มต้นด้วยตัวเองจากศูนย์ พื้นฐานความคิดแรกในการท�ากาแฟของเธอ คือการทดลองท�าสิ่งที่เธอเชื่อว่า หากท�ากาแฟดีๆ มีคุณภาพได้ ก็จะเป็นประโยชน์กับทั้งตัวเธอเอง และเป็นประโยชน์กับเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟทั่วไปด้วย “เริม่ ต้นปลูกกาแฟ ก็เพราะความรักทีม่ ตี อ่ ป่า เพราะเราเดินป่าบ่อย เลยเริม่ เห็นการเปลีย่ นแปลง ของสภาพอากาศ อากาศเริ่มร้อนขึ้น เพราะป่า หายไป เปลีย่ นเป็นพืน้ ทีท่ า� การเกษตร เราก็เลยเริม่ คิดว่าพืชอะไรทีส่ ามารถปลูกได้โดยไม่เสียป่า มัน ก็เลยมาจบที่กาแฟ เราก็คิดว่าจะลองปลูกกาแฟ บนพืน้ ทีข่ องตัวเองทีย่ งั เป็นป่าอยู ่ แต่กาแฟตอนนัน้ ราคาไม่ดี เราก็เลยศึกษาว่าท�าอย่างไรกาแฟ ที่เราปลูกจะมีคุณภาพดี และยังรักษาป่าด้วย “เริ่มเรียนรู้การปลูกกาแฟจากการอ่านต�ารา ต่างๆ แล้วก็สา� รวจพื้นที่ของตัวเองว่าเป็นอย่างไร โชคดีทตี่ อนนัน้ เราพบว่าพืน้ ทีข่ องเราเหมาะสมกับ การปลูกกาแฟ เพราะอากาศดี ดินดี ครั้งแรก เริ่มต้นปลูกสองหมื่นต้น แต่ก็ประสบปัญหาเรื่อง
แมลง แต่ก็ไม่ท้อ ล้มเหลวในครั้งแรก ก็เริ่มใหม่ โดยเริ่ ม ทบทวนความผิ ด พลาดแล้ ว ตั้ ง เป้ า ว่ า ท�าอย่างไรจะได้ผลผลิตทีด่ ี พยายามไปหาความรู้ จากคนโน้นคนนี้ แล้วลองศึกษาหาความรู้ด้วย ตัวเองด้วย ท�าอยูส่ ามปี ก็เป็นช่วงทีล่ ม้ ลุกคลุกคลาน เกือบจะท้ออยู่เหมือนกัน แต่ด้วยความตั้งใจของ เราที่ คิ ด ว่ า ไหนๆ ท� า แล้ ว ก็ น ่ า จะท� า ให้ ส� า เร็ จ แล้วก็โชคดีทมี่ ผี รู้ หู้ ลายคนมาให้ความรู ้ ในปีทสี่ าม ก็เริม่ ดีขนึ้ รูจ้ ดุ ผิดพลาดของตัวเองมากขึน้ โดยได้ บทเรี ย นว่ า เราสามารถเชื่ อ ต� า ราได้ บ างส่ ว น แต่ สิ่ ง ส� า คั ญ ในการปลู ก กาแฟคื อ การสั ง เกต ศึกษาพื้นที่แล้วจดบันทึก ซึ่งเมื่อเราเข้าใจพื้นที่ ปลู ก ของเราแล้ ว ก็ จ ะรู ้ ว ่ า อะไรที่ เ หมาะและ ไม่เหมาะกับพื้นที่การปลูกกาแฟของเรา “การใส่ใจทุกกระบวนการ เป็นหัวใจหลักใน ความส�าเร็จ อย่างเช่น พืน้ ทีส่ ภาพดินเป็นอย่างไร อยู ่ ใ กล้ พื ช ที่ ไ ม่ ดี ห รื อ ดิ น ที่ ส กปรกหรื อ เปล่ า เมล็ดกาแฟที่เก็บมามีคุณภาพแค่ไหน อันไหน ไม่ได้คุณภาพก็คัดออก หรือแทนที่จะตากบนพื้น ซีเมนต์อย่างทีช่ าวบ้านเขาท�ากันในอดีต เราก็ตาก บนแคร่ เพื่อให้เมล็ดกาแฟไม่ซึมซับกลิ่นที่ไม่ด ี กระสอบที่จะใช้ใส่เมล็ดกาแฟก็ต้องมีการผึ่งแดด เสี ย ก่ อ น ความชื้ น ของกาแฟเป็ น อย่ า งไร ทัง้ หมดเป็นรายละเอียดในการท�ากาแฟแทบทัง้ สิน้ คือถ้าใส่ใจทุกกระบวนการเราก็จะได้กาแฟที่ดี มีคณ ุ ภาพ และส่งผลต่อผู้ผลิตที่จะได้ราคากาแฟ ที่สูงขึ้นด้วย”
COFFEE TRADERS
MINGKWAN CHANDAPENG เรื่อง : ประพัฒน์ สกุณา
มิ่งขวัญ จันดาเพ็ง เจ้าของสวนสดชื่น ต�าบลล�าเลียง อ�าเภอกระบุรี จังหวัดระนอง คือหนึ่งในผู้ที่รัก กาแฟโรบัสตาคนส�าคัญ เขาเริ่มศึกษาการปลูกและดูแลกาแฟโรบัสตาจากไร่กาแฟซึ่งเป็นมรดก จากพ่อแม่ ยิ่งศึกษาเขาก็ยิ่งเข้าใจการปลูกและดูแลกาแฟชนิดนี้ให้มีรสชาติโดดเด่นในแบบที่มันเป็น และส่งต่อองค์ความรู้นี้ให้กับชาวบ้านที่สนใจปลูกกาแฟโรบัสตา เพื่อให้กาแฟโรบัสตาได้รับความนิยม จากคนรักกาแฟมากขึ้น และท�าให้ผู้ปลูกกาแฟโรบัสตามีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น “ผมเคยท�างานในเมือง วันหนึ่งผมก็กลับไป ท�าสวนทีบ่ า้ น ซึง่ บ้านเราก็ปลูกกาแฟอยูแ่ ล้ว เป็น กาแฟโรบัสตา ตอนนัน้ สิง่ ทีเ่ ราเห็นจากชาวบ้านที่ เขาปลูกกาแฟโรบัสตาก็คือ เรื่องของการควบคุม คุณภาพการผลิตกาแฟ ซึ่งเมื่อก่อนเวลาได้เมล็ด กาแฟแล้วเขาก็จะส่งโรงงานแปรรูป ซึง่ ผมมองว่า ไม่ได้ยกระดับกาแฟโรบัสตาเท่าไหร่ รวมถึงราคา
ที่ขึ้นอยู่กับพ่อค้าคนกลาง คนปลูกก็ไม่สามารถ ก�าหนดเองได้ ดังนัน้ ผมก็เลยคิดใหม่วา่ ถ้าอย่างนัน้ เรามาท�ากาแฟโรบัสตาให้ตา่ งจากเดิม มันก็นา่ จะ ช่ ว ยให้ ค นปลู ก กาแฟโรบั ส ตามี ต ลาดรองรั บ ทีห่ ลากหลายมากขึน้ ราคาดีขนึ้ และช่วยให้กาแฟ โรบัสตากลายเป็นกาแฟที่คนไม่มองข้าม “ผมเริ่มต้นการท�ากาแฟโรบัสตาที่มีคุณภาพ จากความคิดทีว่ า่ ถ้าเราท�ากาแฟคุณภาพทีส่ ะอาด ควบคุมที่กระบวนการผลิต เราก็จะได้กาแฟที่ดี สุดท้ายเราก็สามารถเลือกตลาดรองรับผลผลิตเราได้ ช่วงแรกผมศึกษาด้วยตัวเอง ต่อมาก็ชกั ชวนเพือ่ นบ้าน ให้หนั มาสนใจท�ากาแฟคุณภาพด้วยกัน ตอนแรกๆ ยากมาก เพราะชาวบ้านเขาไม่เชือ่ มัน่ ว่าสิง่ ทีเ่ ราท�า จะเห็นผลไหม แล้วขัน้ ตอนก็ยงุ่ ยาก แต่ตอ่ มาเมือ่ เขา เห็นว่าสิง่ ทีเ่ ราท�าเห็นผล ก็มคี นสนใจมากขึน้ โดย เราไม่ได้ทา� อะไรใหญ่โต จะเริม่ จากออร์เดอร์เล็กๆ ก่อน เช่น คนสนใจซือ้ กาแฟ 500 กิโลกรัม ผมก็จะ เอาโควตาเหล่านี้มาแจกกับเกษตรกร โดยจะให้ ชาวบ้านมาเรียนรูก้ ารท�ากาแฟโรบัสตาทีม่ คี ณ ุ ภาพ กับผมก่อน เมือ่ ได้เรียนรูช้ าวบ้านก็มคี วามรูต้ ดิ ตัว ในครัง้ ต่อๆ ไปเขาก็สามารถท�ากาแฟคุณภาพเองได้ และยังสามารถถ่ายทอดความรู้ไปถึงคนอื่นด้วย “ผมหวั ง ให้ ก าแฟพั น ธุ ์ นี้ ไ ด้ รั บ ความนิ ย ม มากขึ้น โดยผมเริ่มจากตัวเองก่อน ด้วยการผลิต กาแฟโรบัสตาคุณภาพดี เมื่อกาแฟมีคุณภาพ ดีแล้ว นักดืม่ ก็จะยอมรับในตัวกาแฟโรบัสตามากขึน้ ส� า หรั บ ผมเองคิ ด ว่ า เสน่ ห ์ ข องกาแฟโรบั ส ตา อยู ่ ต รงที่ ค วามเข้ ม ข้ น รสชาติ ที่ ห นั ก แน่ น มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง ความหวังของผมตอนนี้ คืออยากให้คนหันมาลองดืม่ กาแฟโรบัสตามากขึน้ และชาวไร่กาแฟสามารถน�าความรู้ในการปลูก กาแฟอย่างมีคุณภาพไปเผยแพร่ ซึ่งในที่สุดแล้ว จะยกระดับกาแฟโรบัสตาได้ในที่สุด”
COFFEE CUPPERS
VARATT VICHIT-VADAKAN
BARISTA AND FOUNDER AT ROOTS COFFEE เรื่อง : วรรณวนัช ท้วมสมบูรณ์ ภาพ : มณีนุช บุญเรือง
วรัตต์ วิจติ รวาทการ ผูก้ อ่ ตัง้ และบาริสตาของ Roots Coffee โรงคัว่ เมล็ดกาแฟคุณภาพสูงและคาเฟ่นงั่ สบาย แต่วนั นีเ้ ขารับหน้าทีอ่ ธิบายบทบาทของ Cuppers คนชิมกาแฟทีม่ หี น้าทีว่ ดั มาตรฐานของเมล็ดกาแฟให้เราฟัง “คัปเปอร์ส (Cuppers) เกิดขึน้ ทีท่ า่ เรือขนส่งกาแฟ ด้วยความจ�าเป็นทีจ่ ะต้องมีคนควบคุมคุณภาพของกาแฟ ทีจ่ ะส่งออก ว่าคุณภาพเป็นอย่างทีต่ กลงกันไว้หรือเปล่า คนที่ท�าหน้าที่คัดเลือกกาแฟและชิมกาแฟ (cupping) ก่อนการซือ้ ขายก็เลยเกิดขึน้ คัปเปอร์สจะเอากาแฟที่ คัว่ แล้วมาชัง่ ในปริมาณทีเ่ หมาะสม บดให้ได้ขนาดของ เกรนทีถ่ กู ต้องแล้วก็ใส่ลงไปในถ้วย เติมน�า้ ร้อน รอเวลา แล้วเริม่ ชิม ประเมินตัง้ แต่เวลาทีน่ า�้ กาแฟยังอุน่ แล้วก็ ค่อยๆ เย็นลง จนถึงเย็นเลย ดูวา่ เมือ่ อุณหภูมเิ ปลีย่ นไป รสชาติคงที่หรือเปลี่ยนตามอย่างไรบ้าง ซึ่งกาแฟที่ดี จะมีค�าเฉพาะเรียกว่า ‘ยูนิฟอร์ม’ (uniform) คือต้องดี เหมือนๆ กัน มีการเปลีย่ นแปลงได้แต่ไม่แย่ลง นอกนัน้ ก็จะต้องประเมินรายละเอียดว่าบดออกมาแล้วกลิ่น เป็นอย่างไร (dry aroma) รสชาติ (test) แอซิดติ ี้ (acidity)
บอดี ้ (body) ความหนักเบา (mouthfeel) รสชาติหลังจาก ดืม่ (after test) เป็นอย่างไร นอกจากนัน้ ก็ยงั ประเมินเรือ่ ง ความสมดุล (balance) ว่ารสขม เปรี้ยว หวาน สมดุล กันไหม แต่เราจะสนใจและให้นา�้ หนักกับความหวานทีส่ ดุ “สิ่งที่คัปเปอร์สควรจะคาดหวังคือกาแฟที่สะอาด โปรเซสมาโดยไม่มีอะไรผิดพลาด เป็นกาแฟที่ไม่มี ความเขียวฝาดจากการคัดเลือกเมล็ดทีไ่ ม่ได้มาตรฐาน กาแฟตั ว เดี ย วถ้ า เราชิ ม สามแก้ ว แล้ ว ผลออกมา ไม่เหมือนกัน อาจแปลว่าเราไม่สามารถเชื่อถือใน กระบวนการโปรเซสของไร่นนั้ ได้ จริงๆ แล้วทุกคนเป็น คัปเปอร์สได้นะครับ บาริสตา โรสเตอร์ หรือคนปลูกกาแฟ ก็ควรเป็นคัปเปอร์สที่ด ี เพราะคุณควรต้องรู้ว่า สิ่งที่ คุณก�าลังจะซือ้ ชงหรือคัว่ อยูน่ ี้ รสชาติมนั เป็นอย่างไร อะไรคือจุดเด่นของมัน และการที่จะท�ามันออกมาให้ ดีที่สุดได้ภายใต้การควบคุมของคุณต้องท�าอย่างไร “อย่างถ้าเป็นโรงคัว่ ของเรา ก็จะมีคนเลือกกาแฟ ประจ�าปี แล้วก็บอกว่าปีนี้เขาอยากได้กาแฟตัวนี้นะ เพราะลูกค้าชอบหรือพิเศษยังไง จากนัน้ หลังคัปปิง้ กาแฟ เสร็จเขาก็จะสื่อสารกับโรสเตอร์ว่า กาแฟเป็นแบบนี้ คัว่ แล้วมันควรจะออกมาเป็นกาแฟทีไ่ บรต์นะ พอโรสเตอร์ ลองคัปปิง้ ดูเขาก็อาจจะบอกว่า โอเค เห็นความเป็นไปได้ ที่สอดคล้องกัน ดังนั้น จะคั่วเพื่อให้เวลาไปชงแล้วได้ รสชาติแบบนี ้ ก็เท่ากับว่าคนคัว่ ก็ตอ้ งเล่นบทบาทของ คัปเปอร์สและบาริสตาด้วย พอมาถึงบาริสตาเขาก็จะ ท�าหน้าที่ของเขาได้เต็มที ่ สารที่ส่งต่อๆ กันมาตั้งแต่ คนปลูกจนถึงคนชง ก็ยงั คงเป็นคุณสมบัตขิ องเมล็ดกาแฟ ชนิดนัน้ เพราะหลังจากกาแฟถูกปลิดจากต้น คุณภาพ มันก็จะตกลงเรือ่ ยๆ โดยทีไ่ ม่มใี ครสามารถท�าให้มนั ดี ขึน้ ได้ ดังนัน้ ทัง้ กระบวนการมันก็คอื ความตัง้ ใจทีอ่ ยาก จะเก็บความดัง้ เดิมของเมล็ดไว้ให้มากทีส่ ดุ ”OFFEE
COFFEE ROASTERS
KORN SANGUANKEAW
HEAD ROASTER AT ROOTS COFFEE เรื่อง : วรรณวนัช ท้วมสมบูรณ์ ภาพ : มณีนุช บุญเรือง
กรณ์ สงวนแก้ว เคยเรียนดนตรีอย่างจริงจัง จนกระทัง่ ประสบการณ์ชว่ งหนึง่ ในโรงคัว่ กาแฟ ได้เปลีย่ นท่วงท�านองของชีวติ เขา ให้กลายเป็นโรสเตอร์ฝมี อื ดีคนหนึง่ ของกรุงเทพฯ
“ที่มาของอาชีพโรสเตอร์ (Roaster) ของผมเริ่ม หลังเรียนจบด้านดนตรีจากศิลปากรแล้ว ก�าลังจะไป เรียนต่อทีส่ วิตเซอร์แลนด์ เรียนภาษา เตรียมตัวพร้อมแล้ว ระหว่างรอก็เล่นดนตรีกับกลุ่มเพื่อนซึ่งมีคนหนึ่งเป็น เจ้าของโรงคัว่ กาแฟ จ�าไม่ได้แล้วว่าท�าไมถึงสนใจ แต่ก็ ไปคุยกับเขาเรือ่ งกาแฟจนในทีส่ ดุ ก็ขอเขาไปลองท�างาน ไปถึงเขาก็จับไปโยนไว้หน้าเครื่องคั่วโดยที่ผมไม่รู้ อะไรเลย (หัวเราะ) ข้อดีคือผมได้เรียนรู้และได้ลอง เยอะมากโดยแทบไม่มกี รอบ ตอนนัน้ อยากรูไ้ ปหมดว่า ‘ท�าไม’ ไม่วา่ จะเป็นอุณหภูม ิ เวลา ตัวแปรต่างๆ ท�าไม ต้องใช้เท่านีเ้ พราะมันมีทางเลือกเยอะ แต่ถ้าจะให้ได้ กาแฟทีด่ ที สี่ ดุ เราจะเลือกใช้อะไรล่ะ ใช้เวลาเป็นปีถงึ ได้ เข้าใจว่ามันไม่มีสูตรตายตัว เหมือนส้มต�าที่ไม่มีใคร มานั่งบอกว่าต้องใส่มะละกอเส้นหนา 2 มิลลิเมตร จ�านวน 240 กรัม แต่พอเรายิง่ ได้ศกึ ษา ขุดลงไปลึกขึน้ เรือ่ ยๆ ก็เริม่ เห็นภาพชัดเจน ตอนนีก้ เ็ หมือนเข้าใจเยอะขึน้ แต่พอมองไปข้างหน้าก็เหมือนมีอะไรอีกมากมายรออยู ่ “เราคั่วกาแฟเพื่อให้เซลล์ในกาแฟใหญ่ขึ้น และ ผนังเซลล์บางลงเพือ่ ให้เกิดรูพรุน (porosity) ทีน่ า�้ จะแทรก เข้าไปแล้วชะเอารสออกมาได้ เพราะทุกรสทีเ่ ราได้รบั จากการดื่มกาแฟไม่ว่าจะหวาน ขม เปรี้ยว ล้วนแต่ อยู่ในเซลล์ทั้งนั้น อย่างที่สองคือรสชาติของกาแฟซึ่ง ก็เกิดจากการคั่วเหมือนกัน เพราะในเมล็ดกาแฟก็มี สารประกอบทางเคมีหลายชนิดที่ต้องผ่านความร้อน ถึงจุดหนึง่ จึงจะแสดงรสออกมา ดังนัน้ ปัจจัยทีส่ า� คัญ ทีส่ ดุ ในการคัว่ กาแฟคือ อุณหภูม ิ เพราะเราต้องท�าให้ เมล็ดกาแฟร้อนขึ้นถึงจุดที่สารตั้งต้นที่ท�าให้เกิดกลิ่น และรสชาติเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี กลายเป็น เมล็ดกาแฟพร้อมกิน และเมล็ดกาแฟแต่ละชนิดก็ ต้ อ งการอุ ณ หภู มิ ที่ แ ตกต่ า งกั น เพื่ อ ให้ ไ ด้ ร สชาติ เฉพาะตัวที่ดีที่สุด ดังนั้น โรสเตอร์จึงต้องพิจารณาถึง สายพันธุ์ ขนาด ความชื้น ลักษณะของเมล็ดกาแฟ ทัง้ จากการวัดเองและข้อมูลจากทางผูป้ ลูกกาแฟ ฯลฯ ก่อนที่จะตัดสินใจว่าจะใช้วิธีการคั่วแบบไหน ซึ่งการตัดสินใจก็ตอ้ งใช้ทงั้ ข้อมูลและสัญชาตญาณทีม่ าจาก ประสบการณ์เท่าๆ กัน เพราะการคั่วกาแฟมันมี การชั่งตวงวัดได้ก็จริง แต่ผัสสะ (sense) ที่เราได้รับ ระหว่างการคัว่ กาแฟ เช่น ตาเห็นสีทเี่ ปลีย่ นไป ขนาด ของเมล็ดที่ขยาย ย่น หรือมีน�้ามันออกมา กลิ่นที่ เปลีย่ นไปจนถึงจุดทีเ่ ราต้องการ เสียงระเบิดของเมล็ด สิ่งเหล่านี้จะช่วยชี้น�าสัญชาตญาณและการตัดสินใจ ของโรสเตอร์อีกที “ถ้าถามว่าท�าไมเราต้องจริงจัง ใส่ใจ ทุ่มเทกับ การคัว่ กาแฟ ก็เพราะคุณภาพของมันลดลงทันทีตงั้ แต่ปลิด ออกจากต้นมา เราไม่มที างท�าให้เมล็ดกาแฟอร่อยกว่าเดิม ได้ ดังนั้น โรสเตอร์ที่ดีมีหน้าที่หาวิธีท�าให้เมล็ดกาแฟ พร้อมกินได้ และสูญเสียรสชาติดั้งเดิมน้อยที่สุด”
12
BARISTA
SASA SESTIC
DIRECTOR AND BEAN HUNTER AT ONA COFFEE เรื่อง : วรรณวนัช ท้วมสมบูรณ์ ภาพ : มณีนุช บุญเรือง
ซาช่า เซสติค อดีตนักกีฬาโอลิมปิกทีเ่ ปลีย่ นตัวเองมาเป็นคนรักกาแฟ พร้อมความมุง่ มัน่ ทุม่ เทจนท�าให้ได้ ต�าแหน่ง World Barista Championship (WBC) 2015 และมาบรรยายพิเศษทีก่ รุงเทพฯ ในช่วงเวลาเหมาะเจาะ เราจึงได้โอกาสไปพูดคุยถึงชีวติ ของคนกาแฟระดับอินเตอร์มาเพิม่ สีสนั ให้กบั สกูป๊ Coffee Culture ฉบับนี้ “ผมดื่มกาแฟครั้งแรกตอนอายุ 22 และเริ่ม อาชีพบาริสตา 3 ปีแรก โดยไม่ได้ชอบรสชาติของ กาแฟด้วยซ�้า แต่มีความสุขที่ได้ท�าให้ลูกค้ามี ความสุข ได้สร้างประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้กับ ลูกค้าผ่านกาแฟ หรือท�าให้ลูกค้ามีความสุขกับ กาแฟแก้วพิเศษให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ บาริสตาต้องมีความรู้เฉพาะทางเรื่องกาแฟอย่าง ลึกซึ้ง ต้องรู้ไปถึงกระบวนการในฟาร์ม การคั่ว การสกัดกาแฟ รวมถึงต้องมีทักษะในการบริการ ลูกค้า จากประสบการณ์และการศึกษาทีจ่ ะท�าให้ พรีเซนต์กาแฟได้ดที สี่ ดุ พูดง่ายๆ ว่าต้องรูท้ กุ เรือ่ ง “ผมเริ่มท�างานเกี่ยวกับกาแฟที่แคนเบอรา ปี 2008 ด้วยความคิดแค่วา่ อยากขายกาแฟรสชาติดี นั่นน�าพามาซึ่งการหัดคั่วกาแฟในโรงรถที่บ้าน การเปิดร้านกาแฟชื่อ ONA ผลิตเครื่องชงกาแฟ
และซือ้ ไร่กาแฟ ซึง่ ต้องตัง้ ชือ่ ตามภรรยาเพราะผม ตัดสินใจซื้อโดยไม่ได้บอกภรรยาก่อน ก็เลยใช้ชื่อ เธอเป็นการเอาใจไว้กอ่ น (หัวเราะ) ทัง้ หมดนีร้ วมกัน เป็น Project Origin ซึง่ มีเป้าหมายว่าจะ connecting community to quality เรามีไร่กาแฟที่นิการากัว และฮอนดูรัส ซึ่งทั้งสองที่เป็นฟาร์มขนาดเล็ก เราทดลองวิธกี ารปลูกและกระบวนการผลิตกาแฟ ต่างๆ ในฟาร์ม และถ้าวิธไี หนเวิรก์ เราก็จะแบ่งปัน ความรู้ที่ได้ให้กับไร่เพื่อนบ้าน แล้วก็รับซื้อกาแฟ จากพวกเขาด้วย ดังนัน้ ทุกวันนีผ้ มเรียกตัวเองว่า บาริสตาก็จริง แต่ท�าทุกอย่างเลย ทุกวันนี้เวลา กรอกเอกสารเข้าเมืองยังไม่รู้ว่าจะเขียนในช่อง อาชีพว่าอะไรดี (หัวเราะ) “ผมเชื่อว่าการจะท�าความเข้าใจกาแฟได้ดี ทีส่ ดุ เราต้องพาตัวเองเข้าไปอยูใ่ นทุกกระบวนการ ของการผลิตกาแฟ และผมเชื่อว่าการจะพัฒนา ธุร กิจ นี้ เราต้ อ งรู ้ ว ่ า เกิดอะไรขึ้นในฟาร์ ม บ้ า ง ต้องรู้จักเครื่องคั่วกาแฟและเครื่องชงกาแฟอย่าง ทะลุปรุโปร่งเพื่อใช้มันได้อย่างเต็มศักยภาพและ พัฒนามันได้ ซึง่ ผมท�าทัง้ หมดนีเ้ พือ่ จุดหมายเดียว คือเสิร์ฟกาแฟที่ดีที่สุดให้กับลูกค้า และไม่ใช่แค่ เรื่องรสชาตินะครับ คิดง่ายๆ ถ้าคุณเดินเข้าร้าน กาแฟ แล้วเจอพนักงานหน้าตายิม้ แย้ม จ�าชือ่ คุณได้ รูว้ า่ คุณชอบกาแฟแบบไหน คุณก็จะมีความสุขและ อาจจะกลายเป็นลูกค้าประจ�า แต่ถา้ คุณเข้าไปแล้ว เจอร้านกาแฟที่บาริสตาดูคูลมาก แต่ไม่สนใจจะ คุยกับลูกค้า ถึงคุณจะได้กาแฟหนึง่ แก้วทีร่ สชาติ ดีมาก แต่มนั ก็ไม่มบี รรยากาศทีจ่ ะผูกพันคุณเอาไว้ เพราะฉะนั้น ส�าหรับผม บาริสตาที่เก่งต้องชง กาแฟอร่อยและเอาใจใส่ลูกค้าเท่าๆ กับกาแฟ”
LATTE ART
RAWIRAT TECHASITTHANET เรื่อง : ประพัฒน์ สกุณา ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
รวีรัตน์ เตชะสิทธิ์ธเนศ หลายคนรู้จักเธอในชื่อ ‘Jibbi’ เจ้าของแชมป์ National Latte Art Championship ปี 2016 และยังเป็นเจ้าของ Jibbi Academy สถาบันอบรมและฝึกสอนทักษะการท�ากาแฟระดับมืออาชีพ แต่ก่อนที่เธอจะก้าวมาเป็นแชมป์ลาเต้อาร์ตในปัจจุบัน เธอต้องผ่านการฝึกฝนและเวทีการแข่งขันมามากมาย อะไรคือหัวใจของการท�าลาเต้อาร์ต นาทีนี้คงจะเป็นเธอเท่านั้นที่ตอบได้
13
“จริงๆ เริ่มมาอยู่ในวงการกาแฟก็ตอนที่ไป เรียนต่อที่ออสเตรเลีย ตอนนั้นนอกจากเรียนแล้ว เราก็ตอ้ งท�างานเพือ่ เป็นค่าใช้จา่ ยของตัวเอง ก็ได้มี โอกาสไปท�างานร้านอาหาร แล้ววันหนึง่ ก็ตอ้ งไปชง กาแฟ หลังจากนั้นเราก็เริ่มสนใจอาชีพที่เกี่ยวกับ กาแฟ เริม่ ฝึกฝนเก็บประสบการณ์การชงกาแฟจาก ร้านอาหารที่ท�างาน เพื่อที่จะได้เป็นบาริสตาอย่าง ทีต่ งั้ ใจ หลังจากนัน้ ก็ยา้ ยไปสมัครงานเป็นบาริสตา แต่กว่าจะได้ก็ต้องสมัครถึง 3 ที่ แล้วพอได้ท�างาน เป็นบาริสตา เราก็เรียนรูอ้ ย่างตัง้ ใจ อ่านหนังสือเอง บ้าง ค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต หรือบางครั้ง เฮดบาริสตาทีร่ า้ นก็จะคอยถ่ายทอดความรูใ้ ห้เราด้วย “หลังจากเป็นบาริสตาแล้วเราก็สนใจในเรื่อง ของลาเต้อาร์ต ก็เริ่มเข้าแข่งขันในหลายรายการ จริงๆ การแข่งขันลาเต้อาร์ตนัน้ จะต่างจากบาริสตา และวิธีการแข่งขันก็จะแบ่งเป็นการท�า 3 ดริงก์ เหมื อ นกั น แต่ จ ะเน้ น ที่ ค วามสวยงามและ ความเหมือน สมมติถา้ มีกรรมการ 2 คน เราต้องท�า 2 แก้วลายเดียวกัน และต้องได้ออกมาเหมือนกัน สมมติ ว ่ า เราอยากจะท� า นก เราก็ ต ้ อ งส่ ง รู ป ให้ กรรมการดูดว้ ย งานทีเ่ ราจะท�าก็ตอ้ งเหมือนนกด้วย นกสองตัวนี้จะต้องเหมือนกันอย่างกับฝาแฝดเลย อั น นี้ จ ะเป็ น ตั ว บอกทั ก ษะความแม่ น ย�า ของเรา ซึ่งการท�าซ�้าเนี่ยยากที่สุด ขนาดเราวาดรูปสองรูป ยังวาดไม่เหมือนกันเลย “ลาเต้อาร์ตมันคือศิลปะในแก้วกาแฟ หัวใจ ของมันคือการดึงดูดลูกค้า และท�าให้กาแฟน่าสนใจ มากกว่าแค่กลิ่นหรือรสที่ดี บางครั้งเราก็ต้องใส่ใจ บุคลิกของลูกค้าด้วยว่าเป็นอย่างไร แล้วจะท�า ลวดลายอะไรให้เขา เหมือนกับการชงกาแฟให้ลกู ค้า บางครั้งเราต้องจดจ�าสิ่งที่ลูกค้าชอบให้ได้ บางครั้ง ก็ต้องถามชื่อลูกค้าบ้าง ชมลูกค้าบ้าง วันนี้สวยจัง ชอบกินอะไรหรอ แล้วต้องจ�าเมนูเขาให้ได้ การทีเ่ รา จ�าได้เขาจะรู้สึกว่าเขาเป็นคนพิเศษ ลาเต้อาร์ต ก็ เ หมื อ นกั น มั น คื อ การใส่ ค วามพิ เ ศษลงใน แก้ ว กาแฟ เพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า รู ้ สึ ก ว่ า กาแฟแก้ ว นี้ เป็นสิ่งพิเศษส�าหรับเขา”
CALENDAR FRI
MON
22
TUE
23
DUSADEE + DUSIT A LITTLE MORE + LOVERS + DEAD นิ ท ร ร ศ ก า ร ศิ ล ป ะ ONES ‘ ที ล ะ เ ล็ ก ที ล ะ น ้ อ ย ’ นิ ท ร ร ศ ก า ร ศิ ล ป ะ โดย ทรัพย์มณี ชัยแสนสุข ‘Dusadee + Dusit + Lovers น� า เสนอผลงานศิ ล ปะ + Dead Ones’ โดย ดุษฎี เทคนิ ค สี น�้ า ที่ เ กิ ด จาก ฮันตระกูล น�าเสนอผลงาน ความสงสัย อยากเข้าใจ ศิ ล ป ะ ที่ ท� า ด ้ ว ย สื่ อ ที่ ธรรมชาติรอบตัว เรื่องราว หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ต ่ า ง ๆ ที่ สั ง เ ก ต เ ห็ น เซรามิก ภาพวาดด้วยดินสอ มีรปู แบบซับซ้อนน่าค้นหา ฯลฯ ทีเ่ ป็นทัง้ บันทึกความ- ถู ก เก็ บ สะสมไว้ ภ ายใน ทรงจ� า และภาพสะท้ อ น ทีละเล็กทีละน้อย มาเป็น ความสัมพันธ์ทศ่ี ลิ ปินมีกบั แรงบั น ดาลใจในการเพื่อนศิลปินและบุคคลอัน สร้างสรรค์ศิลปะ วันนี้ถึง เป็นทีร่ กั วันนีถ้ งึ 9 เมษายน 19 มีนาคม 2559 ณ Cassia 2559 ณ หอศิ ล ปวิ ท ย- Gallery ซอยสุขุมวิท 31 นิ ท รรศน์ จุ ฬ าลงกรณ์ โทร. 0-2662-0325 (เว้นวัน มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218- อาทิตย์) Ad.UNHCR Life#102.pdf 1 22/1/2559 12:36:13 2965 (เว้นวันอาทิตย์)
WED
24
EASTERN BOYS เชิ ญ ชมภาพยนตร์ เรื่อง ‘Eastern Boys’ เมื่อ ดานิเอลเข้าไปคุยกับมาเร็ก ในสถานี ร ถไฟแห่ ง หนึ่ ง เขาชวนมาเร็ ก ไปที่ บ ้ า น ของเขาในวั น ถั ด มา แต่ เมื่ อ ดานิ เ อลเปิ ด ประตู อพาร์ ต เมนต์ ข องเขาใน วันรุ่งขึ้น เขาไม่ได้คาดคิด แม้แต่น้อยถึงกับดักที่เขา ก� า ลั ง จะเข้ า ไปติ ด และ เป็ น สิ่ ง ที่ จ ะท� า ให้ ชี วิ ต ของเขาปั ่ น ป่ ว น ชมฟรี วั น นี้ เวลา 19.00 น. ณ สมาคมฝรัง่ เศสกรุงเทพ โทร. 0-2670-4231
THU
19
SAT
20
SUN
21
25
THAILAND COFFEE FEST 2016 เทศกาลกาแฟที่ใหญ่ ที่ สุ ด ของประเทศไทย ‘Thailand Coffee Fest 2016’ ครบเครื่ อ งเรื่ อ งกาแฟ ไม่ว่าจะเป็นการออกร้าน ข อ ง ธุ ร กิ จ ก า แ ฟ จ า ก หลากหลายแบรนด์ ดั ง ลดราคาสู ง สุ ด ถึ ง 70% สั ม ผั ส กั บ เส้ น ทางกาแฟ จากต้นน�้าสูป่ ลายน�้า ทีจ่ ะ พาคุณไปรูจ้ กั ถึงต้นก�าเนิด กาแฟคุณภาพ และสุดยอด เหล่ า เกษตรกรพั น ธุ ์ ไ ทย จากทั่ว ประเทศ วันนี้ถึง 28 กุ ม ภาพั น ธ์ 2559 ณ ศู น ย ์ ก า ร ป ร ะ ชุ ม แห่งชาติสิริกิติ์
D I A N A K R A LL WA L L F L O W E R WO R LD TO U R, LIVE IN BANGKOK 2016 พ บ กั บ ไ ด อ า น า ครอลล์ ศิลปินนักร้องและ นั ก เปี ย โนชาวแคนาดา เจ้าของ 5 รางวัลแกรมมี่ ใน ‘Diana Krall Wallflffllower World Tour, Live in Bangkok 2016’ วั น นี้ เวลา 20.00 น. ณ รอยัล พารากอน ฮอลล์, ชั้น 5 สยามพารากอน จ�าหน่าย บัตรที่ไทยทิกเก็ตเมเจอร์
SPACE ARTDICT เสพศิ ล ป์ แ ละมนต์ เสน่ ห ์ แ ห่ ง เสี ย งดนตรี ใน ‘Space Artdict’ รวบรวม กลุ ่ ม ศิ ล ปิ น หลากหลาย แขนงในเชี ย งใหม่ แ ละ กลุม่ ศิลปินดังจากทัว่ ประเทศ ร ่ ว ม ส นุ ก กั บ กิ จ ก ร ร ม มากมาย นิทรรศการ และ ร้ า นค้ า ของศิ ล ปิ น ต่ า งๆ ควบคู ่ ไ ปกั บ เสี ย งดนตรี ทั้งอินดี้ ร็อก ฮิปฮอป DJ แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม อ า ร ์ ต ๆ อีกหลากหลาย วันนี้ เวลา 16.00 น. เป็ น ต้ น ไป ณ เชียงใหม่บอลลูนพาร์ก
CHANG MUSIC CONNECTION PRESENTS
เฟสติวลั
นัง่ เล่น
เทศกาลดนตรี ที่ จ ะ เปลี่ ย นทุ ก มุ ม มองของ เทศกาลดนตรี ‘CHANG MUSIC CONNECTION presents นั่งเล่น เฟสติวัล’ เพลิดเพลินกับการแสดงสด แบบพิเศษโดย 11 ศิลปิน อาทิ สครับบ์, นิว-จิว๋ , ป๊อป ปองกูล, เบน ชลาทิศ ฯลฯ ท่ า มกลางบรรยากาศ สุดพิเศษในอ้อมกอดของ ธรรมชาติ วันนี้ เวลา 16.00 น. เป็นต้นไป ณ ซีนเนอรี ฟาร์ม สวนผึง้ จ. ราชบุรี จ�าหน่าย บัตรที่ไทยทิกเก็ตเมเจอร์
State of the Arts
ส�ำหรับ จักรพงษ์ เทพเกาะ ศิลปะเป็นสิ่งที่สัมพันธ์กับชีวิตของเขำอย่ำงแยกไม่ออก เพรำะทุกแรงบันดำลใจ ที่เขำใช้ในกำรสร้ำงสรรค์ล้วนกลั่นมำจำกประสบกำรณ์ ในชีวิต ซึ่งล่ำสุดผลงำนของเขำก็ ไปคว้ำรำงวัลเหรียญทองแดง ประเภทศิลปินใหม่หรือสมัครเล่น จำกกำรประกวดจิตรกรรมยูโอบี (UOB Painting of the Year) ปี 2558 มำอีกด้วย
Jakkapong Thapkoa Acrylic 150 x 180 CM
Behind the Picture : “ภาพนีเ้ ริม่ ต้นมาจากตัวผม โดยพูดถึงชีวติ ทีผ่ กู พันกับ ประสบการณ์ทพี่ บเจอ เป็นเหมือนการบันทึกเรือ่ งราวลงใน ผลงาน เป็นร่องรอยของชีวิตที่ไม่สิ้นสุด ซึ่งผมวาดภาพ ออกมาเป็นรูปทรงของเซลล์ แล้วก็ใส่เรื่องราว เช่น รูปสัตว์ เข้าไป สือ่ ถึงการดิน้ รนของชีวติ การเกิดแก่เจ็บตายทีอ่ ยูใ่ นนัน้ ”
The Artist : “ผมมีพชี่ ายทีเ่ ริม่ วาดภาพมาด้วยกัน ตั้งแต่ยังเด็กๆ ตอนแรกผมไม่ได้คิด อยากจะเรียนศิลปะ แต่ด้วยความที่มี โอกาสวาดภาพแทบทุกวัน รู้ตัวอีกที ผมก็หลงรักศิลปะเข้าไปแล้ว ซึ่งถ้า ถามหาเหตุผล ผมคิดว่าศิลปะให้อะไร เยอะมากกับชีวติ เป็นสิง่ ทีท่ า� ให้เข้าใจ ในความจริงและรู้จักชีวิตมากขึ้น”
การประกวดจิตรกรรมยูโอบี (UOB Painting of the Year) คือการประกวดผลงานจิตรกรรมระดับอาเซียนทีจ่ ดั โดยกลุม่ ธนาคารยูโอบี เปิดกว้างส�าหรับศิลปินอาชีพ และศิลปินใหม่หรือสมัครเล่น ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลชนะเลิศจากประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย จะมีโอกาสได้ชงิ รางวัล UOB Southeast Asian Painting of the Year และจัดแสดง ณ ประเทศสิงคโปร์ การประกวดจิตรกรรมยูโอบีเปิดรับผลงานประมาณเดือนกันยายนของทุกปี ผูท้ สี่ นใจสามารถติดตามรายละเอียดเกีย่ วกับการประกวดได้ทาง www.uobpoy.com 17
Reflections : “การท�างานศิลปะในความรู้สึกของผมคือ การบันทึกสิง่ ต่างๆ ในแต่ละช่วงขณะ ในแต่ละชิน้ งาน ทีผ่ มสร้าง เป็นเหมือนการเขียนหนังสือในแต่ละวัน แต่ละเดือน เป็นการจดบันทึกสิง่ ทีต่ อ้ งการถ่ายทอด ทัง้ ความจริงและจินตนาการออกมา ซึง่ ส่วนตัวผม เชือ่ ว่าศิลปะคือเครือ่ งบ�าบัดจิตใจให้ดขี นึ้ ”
MAKE A DISH
The Kumi เรื่อง : นภษร ศรีวิลาศ ภาพ : มณีนุช บุญเรือง
คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่า หากอยากจะทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ คุณจะต้องเลือกทานเมนูสลัด สลัด และสลัดเท่านั้น ซึ่งในความจริงแล้วคุณค่าทางอาหาร ที่ครบถ้วนในหนึ่งจานต่างหากที่ส�าคัญ และเรียกว่าเป็นเมนูเพื่อสุขภาพอย่างแท้จริง เหมือนอย่างเมนูชุดอาหารเช้า The Kumi ของร้าน Kumi ในซอยสาทร 10 ที่คุณจะได้รู้สึกดีและอร่อยเต็มค�ากับความสดของทั้งไข่ เห็ด เบคอน และอื่นๆ ตามคอนเซ็ปต์ของร้านที่ว่า ‘Healthy Eating is Happy Eating’
The Kumi ราคา : 490 บาท
Owner โธมัส เพนดิโน
INGREDIENTS เห็ดแชมปิญอง / ไข่ / เบคอน / มั น ฝรั่ ง / ผักร็อกเก็ต / เกลือ / พริกไทย / พาร์สลีย์ / น�้ามันมะกอก
OWNER's Inspiration
เมนูนี้เป็นชุดอาหารเช้าขึ้นชื่อของทางร้าน ซึ่งเราคิดจากคอนเซ็ปต์ ของร้านที่น�าเสนอวัฒนกรรมการทานอาหารเพื่อสุขภาพอย่างมีคุณภาพ นัน่ คือทัง้ มีความหลากหลายและเต็มไปด้วยคุณค่าทางอาหาร โดย The Kumi ประกอบด้วย ไข่ เห็ด เบคอน มะเขือเทศ ขนมปัง มันฝรัง่ และสลัดร็อกเก็ต ความพิเศษคือ แม้จะเป็นเมนูอาหารเช้า คุณก็สามารถมาทานได้ทั้งวัน
TIPS เมนู นี้ เ น้ น การใช้ วั ต ถุ ดิ บ ที่ สดใหม่ เ ป็ น ส� า คั ญ โดยปรุ ง รส เพียงเล็กน้อยด้วยเกลือและพริกไทย เพื่ อ ดึ ง รสชาติ ที่ เ ป็ น ธรรมชาติ ของอาหารออกมา
SUPERMARKET
From Street to Kitchen สตรีทฟู้ด หรืออาหารข้างถนน น่าจะเป็นอีกหนึ่งเอกลักษณ์ของเมืองไทยที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาค้นหาความอร่อยตามรายทาง บางร้านอาจจะอยู่ตามห้องแถว บางร้านอาจจะเป็นรถเข็น ปัญหาเรื่องการกีดขวางทางเท้าจึงเป็นเรื่องที่ยังแก้ไม่ตก ฉบับนี้เราก็เลยชวนคุณยกสตรีทฟู้ดเหล่านี้มาท�ากินกันที่บ้านเสียเลย
Thai Fermented Sausage
Thai Grilled Pork
Grilled Chicken
Fish Fish Ball Ball
Thai Old Style Crepe Sausage
Grilled Squid
Meat Ball Pork Ball
Fried Insect
Thai Crepe
tokyo Crepe Roll
Fish Ball ไม่ว่าจะลวก ทอด ปิ้ง ใส่ในก๋วยเตีย๋ ว แกงเขียวหวาน ลูกชิ้นปลาก็น่าจะเป็นอาหารโปรดของหลายๆ คน สามารถซือ้ หาแบบส�าเร็จ หรือถ้าขยันกว่านัน้ ก็สามารถ ไปซื้อปลาสดๆ มาขูดเนื้อต�าให้เนียน ปั้นเป็นลูกชิ้น แบบท�าเอง Fried Insect แมลงทอด เมนู อ าหารข้ า งทางที่ สุ ด แสนอะเมซิ ง โดยเฉพาะชาวต่างชาติทเี่ ห็นรถเข็นแมลงทอดเมือ่ ไหร่ เป็นอันต้องมุงถ่ายรูปทุกทีไป ซึ่งจริงๆ แล้วแมลงนั้น ก็เป็นแหล่งสารอาหารที่ส�าคัญของมนุษย์มานาน และเป็นความหวังของนักวิทยาศาสตร์ที่จะใช้แมลง เป็นแหล่งอาหารในอนาคต Grilled Chicken ไก่ย่าง อาหารข้างทางที่สามารถหาทานได้ทั่วไป โดยแต่ ล ะท้ อ งถิ่น ก็จ ะมีไ ก่ ย ่ า งสู ต รเฉพาะที่อ ร่ อ ย แตกต่างกันไป ยิ่งมีชื่อเสียงมากก็จะพบเห็นได้ทั่วไป ดัง นั้น ใครที่ช อบทานไก่ ย ่ า ง ลองคิด ค้ น สู ต รเอง อาจจะท�าขายจนรวยไปเลยก็ได้ Grilled Squid หมึกย่าง อาหารข้างทางที่ได้กลิ่นเมื่อไหร่ต้องได้แวะ เข้าไปมุงทุกทีไป ไม่ว่าจะเป็นร้านหมึกย่างในเมือง หรือร้านหมึกย่างแถบชายทะเล แต่ส�าหรับคนที่ชอบ ปาร์ตี้ เมนูหมึกย่างจิม้ น�้าจิม้ ซีฟดู้ แซ่บๆ นัน้ ถือว่าเป็น สิ่งที่ขาดไม่ได้จริงๆ Meat Ball ลูกชิ้นเนื้อ หลายคนน่าจะติดใจลูกชิ้นเนื้อจากร้าน ก๋วยเตีย๋ วเนือ้ เจ้าประจ�า ไม่วา่ จะเป็นน�า้ ข้น น�า้ ใส แห้ง คลุกซอส ซึ่งนอกจากจะกินกับก๋วยเตี๋ยวแล้ว ลูกชิ้น เนือ้ ย่างจิม้ น�้าจิม้ อร่อยๆ ก็เป็นเมนูทชี่ ว่ ยให้อมิ่ ท้องได้ Pork Ball ลูกชิ้นหมู ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหมูล้วน หรือลูกชิ้นเอ็น แค่เอาไปปิง้ ให้พอสุกเกรียมๆ ราดด้วยน�า้ จิม้ รสเผ็ดนิด หวานหน่ อ ย ชวนเพื่ อ นๆ มาปาร์ ตี้ ลู ก ชิ้ น หมู ป ิ ้ ง กับน�้าแดงโซดาหนึ่งขวด ก็สนุกกันได้ทั้งบ่าย Sausage ไส้กรอก อาหารส�าเร็จรูปที่เอามาท�าอะไรกินก็ได้ หลากหลายอย่าง ตั้งแต่ไส้กรอกย่าง ทอด ใส่ในย�า ซึ่งร้านรถเข็นข้างทางก็มักจะมีไส้กรอกราคาย่อมเยา ขาย โดยเฉพาะตามหน้าโรงเรียน tokyo Crepe Roll ขนมโตเกียว สตรีทฟูด้ ของไทยทีไ่ ม่แน่ใจว่ามีทมี่ าจากไหน ถึงได้ชอื่ ว่าขนมโตเกียว ซึง่ ขนมชนิดนี้ ทุกคนคงรู้ดวี ่า จะหากินได้ที่ไหน ก็คือตามหน้าสถานศึกษานั้นเอง ไม่ว่าจะเป็นไส้ไข่ ไส้กรอก ใบเตย ครีม เผือก ยิ่งพอ เป็นผู้ใหญ่แล้วได้ย้อนกลับไปกินก็แฮปปี้แล้ว Thai Crepe ขนมเบือ้ งไทย ขนมเบือ้ งชิน้ เล็กๆ แผ่นบางๆ โปะด้วย ครีมสีขาวๆ โรยหน้าด้วยฝอยทองรสหวาน และ มะพร้าวรสเค็ม เวลาเห็นทีไรเป็นต้องซือ้ มาฝากเพือ่ นๆ ที่ท�างาน กินกันคนละชิ้นสองชิ้นแป๊บเดียวหมด Thai Fermented Sausage ไส้กรอกอีสาน อาหารข้างทางที่พบเห็นได้บ่อยมากๆ ไม่ว่าจะเป็นแบบเม็ดเล็ก เม็ดใหญ่ แท่งยาว เสียบไม้ ไส้กรอกวุน้ เส้น ไส้กรอกข้าว กินกับขิงดอง กะหล�า่ ปลี พริก แตงกวา หรือจะซือ้ แบบส�าเร็จรูปมาย่างเองทีบ่ า้ น ก็อร่อยกันได้หลายคน Thai Grilled Pork หมูปิ้ง อาหารข้างทางที่หลายคนฝากท้องในยามเช้า ไม่ว่าจะที่หน้าโรงเรียน อาคารส�านักงาน กินคู่กับ ข้าวเหนียวแล้วอิ่มไปนาน Thai Old Style Crepe ขนมเบือ้ งโบราณ ใครทีเ่ ป็นแฟนขนมเบือ้ ง คงจะกรีด๊ เสมอ เมื่อได้แวะเข้าร้านขนมเบื้องโบราณ ซึ่งด้วยขนาด และวัตถุดิบที่จัดเต็มกว่าขนมเบื้องไทยปกติ จึงท�าให้ ขนมเบือ้ งโบราณราคาแพงกว่า แต่กอ็ ร่อยได้เต็มค�ากว่า ทั้งฝอยทอง และลูกพลับแห้ง
HOME MADE
Loving the Journey, Living the Gallery เรื่อง : นภษร ศรีวิลาศ, จรัตพร โมรา ภาพ : มณีนุช บุญเรือง
ยังไม่ทันจบการชื่นชมสีสันโทนตุ่นๆ ของผนัง เราก็ต้องหันไปตื่นเต้นกับบรรดาของแต่งบ้านเล็กใหญ่ที่ดูก็รู้ว่าแต่ละชิ้นล้วนข้ามน�้าข้ามทะเลมาไกล จะหันไปทางไหนก็เพลิดเพลินเหมือนเดินเล่นอยู่ในพิพิธภัณฑ์เก๋ๆ สักแห่ง ที่มีเจ้าของบ้านอย่าง สุพจน์ โล่ห์คุณสมบัติ นักเดินทางและนักเขียนอิสระ เดินน�าชม พร้อมเล่าเรื่องสนุกๆ ของที่มาของแต่ละสิ่ง เขาบอกเราว่า “ทุกอย่างมีเรื่องราว ทุกแสงเงาและสีสันมีที่มา” เราจึงไม่แปลกใจหากบ้านหลังนี้จะเต็มไปด้วย ร่องรอยความทรงจ�า สิ่งที่รักที่ชอบและสะท้อนตัวตนของเจ้าของบ้าน ราวกับว่าบ้านหลังนี้เป็นบันทึกการเดินทางเล่มโต
“ที่ที่เป็นทั้งจุดหมายและปลายทาง”
พบกับ a day BULLETIN และ a day BULLETIN LIFE ุงเทพฯ ได้แล้ววันนี้ที่สตาร์บัคส์ 40 สาขาทั่วกร
จุดเริม่ ต้นของบ้านหลังนี้ “เราอยูบ่ า้ นหลังนีม้ าตัง้ แต่ เรียนอยูช่ นั้ ประถม แม่ซอื้ ให้อยูก่ บั พีช่ ายและพีส่ าว หลังจากเขาแยกย้ายกันไปแต่งงาน ก็มีหลานๆ มาอาศัยเรียนหนังสืออยูด่ ว้ ย จนหลานจบไปหมด แล้ว เราก็เริ่มรีโนเวตใหม่” สไตล์การตกแต่งบ้าน “บ้านหลังนีม้ ที กุ แบบ ไทย จีน ฝรัง่ แขก ชาวเขา ชาวเรามีหมด แค่โคมไฟก็มี ตัง้ แต่แบบโมเดิรน์ แบรนด์ดไี ซเนอร์ จนถึงสไตล์ คลาสสิก อินดัสเทรียล บาโร้ก วินเทจ เพราะฉะนัน้ บ้านนี้จึงรวมเอาแต่ละสไตล์มาวางไว้ ด ้ ว ยกั น สถาปนิกอาจออกแบบโดยค�านึงถึงฟังก์ชันเป็น อันดับแรก ส่วนของเราจะเป็นฟังฉัน คือฟังตัวฉันเอง อย่างเดียวเลย เรารู้ว่าจ�าเป็นต้องใช้อะไร ตรงไหน มากน้อยอย่างไร เราท�าบ้านเพือ่ ใช้อยู่อาศัยจริงๆ เป็นชีวติ จริงๆ ทุกอย่างเป็นของทีเ่ รารัก ไม่ได้ปรุงแต่ง อะไรมาก เพราะออกมาจากความรู้สึกล้วนๆ ทัง้ ใช้เป็นทีท่ า� งาน พักผ่อนนอนหลับ สลับกับเป็น บันทึกการเดินทางของเราไปในตัว” บรรยากาศของบ้านที่ล้วนสร้างแรงบันดาลใจ “แม้จะตัง้ อยู่ในซอยทีพ่ ลุกพล่านย่านสวนจตุจกั ร แต่พอเข้ามาในบ้านแล้วเงียบสงบมาก คนมักจะ ถามว่าอยู่คนเดียวไม่เหงาหรือ เราไม่เคยกลัว ความเหงานะ หลายครั้งก็พึ่งพาความเหงาใน การท�างาน ถือเป็นห้วงเวลาของการสร้างสมาธิ ได้ดีเลย ในตอนที่เริ่มปรับปรุงบ้าน เราสนุกกับ การเอาของที่เรามีอยู่แล้วมาตกแต่ง สลับไปมา อยากท�าบ้านให้เป็นที่ที่เต็มไปด้วยแรงบันดาลใจ เพราะคนท� า งานออฟฟิ ศ อาจจะมี บ รรยากาศ
การท�างาน ความคึกคักและการสือ่ สารสนทนากัน ระหว่างการท�างาน แต่ดว้ ยงานของเราทีน่ งั่ ท�างาน อยูบ่ า้ น ความรืน่ รมย์เดียวทีเ่ รามีอยูค่ อื บรรยากาศ ที่เกิดจากข้าวของที่แวดล้อมเรานี่เอง” ศิลปะและสีสันของบ้าน “เราชอบสีผนังของ พิพิธภัณฑ์ในยุโรป ที่มักจะใช้สีก�่าๆ ทั้งแดง น�้าเงินเข้ม พาสเทล ท�าให้ภาพที่แขวนเด่นขึ้น ลบความเชื่อเก่าๆ ที่ว่าผนังสีขาวเท่านั้นที่จะ ท�าให้ภาพโดดเด่น ซึง่ เราใช้สผี นังนีใ้ นการแบ่ง พื้นที่แต่ละห้องโดยไม่ต้องกั้นผนังใดๆ ด้วย และเราก็มีภาพวาดและงานศิลปะจากเพื่อนๆ เยอะมาก จึงใช้ผนังบ้านนีแ่ หละทาสี ตอกตะปู แขวนงานเองเลย แม้แต่มมุ ในห้องน�า้ เราก็ทา� ให้ มันเป็นมุมแขวนภาพวาดเล็กๆ ได้ โดยใช้โทนสี อุน่ ๆ กรุน่ กลิน่ อายพิพธิ ภัณฑ์ทตี่ รึงใจเรามาก” ความสุ ข จากบ้ า นหลั ง นี้ “ชี วิ ต เราอาจมี จุดหมายในการใช้ชีวิตมากมาย แต่ที่สุดแล้ว ไม่วา่ จะไปถึงจุดหมายใด ในทีส่ ดุ เราก็กลับมาที่ บ้าน บ้านจึงเป็นทัง้ จุดหมายและปลายทาง”
• เหล่าต้นไม้เล็กใหญ่ ในบ้านนี้มีที่มา จาก... เราได้มาจากคุณวิทย์ Little Tree (ศิรวิ ทิ ย์ ริว้ บ�ารุง) เพือ่ นนักจัดสวนมือหนึง่ ทีเ่ อามาจัดวางไว้ให้โดยไม่คดิ ตังค์สกั บาท • ของสะสมที่ ไ ด้ จ ากการเดิ น ทาง... หนังสือ เจ้าชายน้อย กว่า 30 ภาษา จากหลายสิบประเทศ • เพลงที่ ก� า ลั ง บรรเลงอยู ่ ใ นบ้ า น ขณะนี้... เพลง The Ice Hotel ของ สเตซีย์ เคนต์ นักร้องหญิงทีเ่ ราชอบมาก
• เซ็นทรัล ลาดพร้าว ชั้น 2 • เซ็นทรัล พระราม 9 ชั้น 1 • สยามพารากอน ชั้น 1 • สยามพารากอน ชั้น 3 • สยามเซ็นเตอร์ ชั้น 3 • เซ็นทรัลเวิลด์ ชั้น 3 โซน A • Big C เอกมัย • เอ็มโพเรียม ทาวเวอร์ • เอ็มโพเรียม มอลล์ ชั้น 5 • จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส • ทองหล่อ (ระหว่างทองหล่อ ซ.11 และ 13) • มาร์เก็ตเพลส ทองหล่อ ซ.4 • เอ็มไพร์ ทาวเวอร์ ชั้น G • ออล ซีซัน เพลส • อาคารอือ้ จือเหลียง ชัน้ G • หลังสวน • สีลมคอมเพล็กซ์ • ไทมส์ สแควร์ ซ.สุขมุ วิท 12 • ไทยพาณิชย์ปาร์กพลาซ่า ชั้น 1 • จามจุรีสแควร์ • The 19th. ชิดลม • อาคารเมืองไทยภัทรคอมเพล็กซ์ • IDEO พญาไท • โรงพยาบาลบ�ารุงราษฎร์ ชั้น 1 • โรงพยาบาลบ�ารุงราษฎร์ สกายล็อบบี้ ชั้น 10 • โรงพยาบาลสมิติเวช ซอยสุขุมวิท 49 • โรงพยาบาลกรุงเทพ ชั้น 1 • โรงพยาบาลรามาธิบดี • โรงพยาบาลพระราม 9 •The Crystal • CDC • RCA • นวมินทร์ซิตี้อเวนิว • นวมินทร์ทาวน์เซ็นเตอร์ • The Nine Center • Terminal 21 • The Walk เกษตร-นวมินทร์ • The Promenade • The Scene ทาวน์อินทาวน์
ailand • SOHO Th ง อ ื ถนนบ�ารุงเม n ถนนจนั ทน์ • Vanilla Mooare 1 • Siam Squ ามย่าน • I’m Park ส Mall วัชรพล • Plearnary ังหิน • The JAS ว • ท่ามหาราช าวเวอร์ • อาคารซันท ุลราฮิมเพลส • อาคารอับด รทาวเวอร์ • อาคารสินธลพญาไท 2 • โรงพยาบา r • EmQuartieรซิตี้ทาวเวอร์ • อาคารสาธ River Walk • Yodpiman ระราม 9 • U-Place พ
SELECTIVE
The Box of Secrets เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ, วัลญา นิ่มนวลศรี ภาพ : มณีนุช บุญเรือง
ศิลปินพ็อพอาร์ตสุดเก๋าอย่าง ‘โอ่ง’ - กงพัฒน์ ศักดาพิทักษ์ เป็นที่รู้กันว่านอกจากจะมีฝีไม้ลายมือที่จัดจ้านแล้ว แนวคิด และสไตล์การใช้ชีวิตของเจ้าตัวก็เท่ไม่ซ�้าใครเหมือนกัน เมื่อมีโอกาสได้นั่งคุยกันยาวๆ เราก็ขอเจาะความลับของชายที่เรียกตัวเองว่า ‘ฉันเป็นฮิปสเตอร์’ คนนี้ เพื่อดูว่าความเก๋ ไก๋แบบส่วนตัวของเขานั้นมีอะไรบ้าง
4
1
5 3
2 7
6
8
10 9
12 11
1. กล่องใส่โปสต์การ์ด “เพือ่ นทีเ่ ป็นดีไซเนอร์ทำ� ให้เป็นของขวัญวันเกิด ซึง่ เรำประทับใจมำก” 2. ถาดใส่อาหาร “มันดูโบรำณดี เพรำะตอนเด็กๆ เรำคิดว่ำถ้ำมีโปสต์กำร์ดก็จะต้องมีถำดแบบนีว้ ำงอยูข่ ำ้ งๆ” 3. ลิงเซรามิก “เรำเกิดปีลงิ ก็เลยชอบ อีกอย่ำงเซรำมิกรูปลิงแบบนีท้ อี่ งั กฤษจะไม่คอ่ ยมีขำย” 4. กรอบใส่รปู ของพ่อ “ปกติจะไม่คอ่ ยเอำรูปใครใส่กรอบ แต่เวลำมองพ่อรูปนีพ้ อ่ ดูเป็นธรรมชำติ เรำก็เลยชอบ” 5. กล่องแห่งความลับ “เรำซื้อมือสองมำแต่ไม่ได้เปิดดูว่ำข้ำงในมีอะไร เอำมำเปิดลุ้นที่บ้ำน ซึ่งข้ำงในบรรจุข้ำวของเครื่องใช้จิ๋วไว้” 6. จานสี “หม่อมโต (หม่อมหลวง จิรำธร จิรประวัติ) ให้มำ เป็นสิ่งที่ประทับใจและมีคุณค่ำทำงจิตใจ กับเรำ” 7. แจกัน Alvar Aalto “ชอบดีไซเนอร์คนนี้ ได้มำโดยทีค่ นอืน่ เขำไม่รวู้ ำ่ มันมีคำ่ ก็เลยประทับใจ” 8. กล่องเก็บของ “ดูภำยนอกมันจะเป็นทีเ่ ขีย่ บุหรี่ แต่ถำ้ เปิดออกเรำจะใช้เป็นทีเ่ ก็บโปสต์กำร์ด เอำไว้เขียน ให้เพื่อนในวันเทศกำล” 9. กระเป๋าทรงหนังสือ “เรำวำดเองและคิดว่ำมันลงตัวดี เวลำถือก็จะเหมือนถือหนังสือ ไม่ใช่กระเป๋ำ” 10. หุ่นยนต์ “ซื้อมำจำกโซนีมิวเซียมที่นิวยอร์ก เพรำะเรำชอบหุ่นยนต์แบบนี้ มำตั้งแต่เด็กแล้ว” 11. กรอบรูปสีเขียว “ชอบสีกรอบรูป เพรำะตอนเด็กๆ เรำไม่ได้ชอบสีนี้ แต่พอโตขึ้นมำกลับชอบซะอย่ำงนั้น” 12. แว่นตาสีขาว “เรำว่ำเรำใส่แล้วมันดูดี”
THE 5IVE
Love to Read เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ
“คุณเคยไหมที่หยิบหนังสือมาอ่านสักเล่ม แล้วพบว่าเราไม่สามารถวางหนังสือเล่มนั้นลงไปได้เลย” เป็นค�าถามที่ ‘หมวย’ - ธนาพร ตั้งเจริญมั่นคง เจ้าของหนังสือ Lots of Love 7,300 วันที่เรารักกัน จากส�านักพิมพ์ a book เปิดประเด็นกับเรา และค�าถามนี้ก็ท�าให้เราย้อนนึกไปถึงหนังสือเล่มเก่าที่เคยอ่านเมื่อครั้งยังเด็ก ที่พาเราไปพบกับความตื่นเต้นของภาษาที่สวยงาม หรือเนื้อเรื่องที่ติดตรึงใจไปแสนนาน เหมือนกับที่เจ้าตัวเคยได้เจอ
01 ต้นส้มแสนรัก โดย โจเซ่ วาสคอนเซลอส “หนังสือเล่มแรกๆ ในชีวติ การอ่าน และเป็นเล่มแรกทีท่ า� ให้เสียน�า้ ตา มากมาย ตอนเป็นเด็กเราไม่ร้วู ่าเสียงในหัวคือเสียงความคิดของตัวเอง นึกว่านั่งคุยอยู่กับนก (หัวเราะ) จนได้อ่าน ต้นส้มแสนรัก ถึงได้รู้ว่าเด็กๆ จะมีนกอยูใ่ นหัวกันทัง้ นัน้ เราโตขึน้ ในบ้านทีเ่ ข้มงวด เป็นยุคสมัยทีพ่ อ่ แม่ กวดขันลูกด้วยไม้เรียว ระหว่างทีเ่ รือ่ งราวของเซเซ่ด�าเนินไป ก็เหมือนเห็น ภาพตัวเองในวัยเด็กฉายควบคูไ่ ปด้วย จนโตขึน้ นัน่ แหละถึงได้เข้าใจว่า ไม่ใช่ แค่เด็กเล็กๆ เท่านัน้ ทีเ่ ปราะบาง ชีวติ ของผูใ้ หญ่ทเี่ ต็มไปด้วยเงือ่ นไขมากมาย ตามวันเวลาและประสบการณ์ ก็เป็นใจดวงร้าวทีพ่ ร้อมจะตกแตกไม่แพ้กนั 02 เทพเจ้าแห่งสิ่งเล็กๆ โดย อรุณธตี รอย “เราซื้อ เทพเจ้าแห่งสิ่งเล็กๆ มาหลายปีกว่าจะหยิบมาอ่าน ซึ่งเป็น ช่วงเวลาที่ขาดหายการอ่านหนังสือไปนานหลายปี นอกจากเนื้อเรื่อง ที่ชวนติดตามแล้ว ภาษาคือเสน่ห์ของหนังสือเล่มนี้อย่างยิ่ง อยากรู้ว่า หน้ า ต่ อ ๆ ไปจะเป็ น อย่ า งไร แต่ ข ณะเดี ย วกั น ก็ ก ลั ว หนั ง สื อ จะจบ ไม่น่าเชือ่ ว่าประโยคสัน้ ๆ ง่ายๆ แต่ไพเราะ สามารถดึงเราให้ดา� ดิง่ ไปกับ ความเหงาอันเงียบงัน และความเศร้าที่งดงามได้”
“ความเงียบของเอสธาไม่ใช่ความเซอะซะ ไม่เอะอะ ไม่ยุ่มย่ามท�าให้ ใครเดือดร้อน ไม่ใช่ประท้วงเงียบเพื่อกล่าวโทษ ทว่าเป็นนิทราฤดูร้อน” เทพเจ้าแห่งสิ่งเล็กๆ
“ความรักเป็นนิรันดร์ ความเกลียดชังตายไปทุกวินาที” ความสุขแห่งชีวิต
04 ความสุขแห่งชีวิต
โดย วิลเลียม ซาโรยัน
“เด็กหนุ่มจ�านวนมหาศาล ของโลกล้มลงในสนามรบ แม้ไม่เคย มีความแค้นเคืองต่อกัน ต่างฝ่าย อาจมีโอกาสเห็นหน้าและสบตากัน เพียงเสี้ยววินาที แต่เพียงเพราะ นายอยู่ฝั่งโน้น แล้วเราอยู่ฝั่งนี้ สงครามโหดร้าย น่ารังเกียจ และ สร้างบาดแผลให้คนทุกวัย แต่ ความสุขแห่ ง ชีวิต กลับ สะท้ อ น หัวใจอันบอบช�า้ ของผูท้ ตี่ อ้ งเผชิญ การสู ญ เสี ย จากผลพวงของ สงครามได้อย่างอ่อนโยน งดงาม และเอือ้ อารี เป็นการบอกกับเราว่า ภราดรภาพเท่านัน้ ทีโ่ ลกต้องการ และหากถึงที่สุดแล้ว คนเราจะ สูญเสียอะไรก็ได้ ขอเพียงอย่า สูญเสียความดีงาม”
03 ขุมทรัพย์ที่ปลายฝัน โดย เปาโล โคเอโย “เรื่องราวของเด็กหนุ่มเลี้ยงแกะผู้ปรารถนาจะท่องโลก การเดินทางของเขาสะท้อนภาวะอารมณ์ของมนุษย์ไว้อย่าง ครบครัน ทัง้ ความกล้าหาญ ความหวาดกลัว ความขลาดเขลา ความเข้าใจ และความรัก ขุมทรัพย์ทซี่ านดิเอโกออกตามหา กลับอยูท่ จี่ ดุ เริม่ ต้นของการออกเดินทาง อาจดูเหมือนโดนหลอก ให้ออกไประหกระเหินในดินแดนแปลกหน้า แต่ใช่หรือไม่ที่ การก้าวเท้าออกจากบ้านท่องไปในโลกกว้าง ถ้าเราไม่ผา่ นวันเวลา การเรียนรู้ และท�าความเข้าใจ เราก็คงไม่พบขุมสมบัตนิ นั้ ”
05 ถนนสายหนึ่ง โดย วรพจน์ พันธุ์พงศ์ “เริ่มต้นอ่านงานของวรพจน์จริงจังเมื่อต้นปีที่แล้ว โดยเริ่มจาก ถนนสายหนึง่ เป็นเล่มแรก จากนัน้ ก็ตดิ ตามอ่านงานเขียนของเขาเรือ่ ยมา เรือ่ งราวของผูค้ นทีว่ รพจน์ถา่ ยทอดออกมา ท�าให้เราได้รจู้ กั บุคคลนัน้ ผ่านการเล่าเรือ่ งทีเ่ รียบง่าย สัน้ กระชับ แต่กลับสะท้อนคนคนนัน้ ได้อย่าง ชัดเจน และมีพลังดึงดูดอย่างน่าประหลาด ชอบในมุมมองความคิดของ วรพจน์ทสี่ อื่ ผ่านน�า้ เสียงและจังหวะทีเ่ รารูส้ กึ ว่าพอดีมากๆ กระชับแต่ กลับรูส้ กึ ถึงความเนิบช้า มีเสียงของตัวเขาเองผ่านเรือ่ งราวของผูค้ นทีเ่ ขา เล่าได้อย่างเรียบเนียน ไม่ปลุกเร้า แต่ทงิ้ บางสิง่ ค้างไว้ให้ครุน่ คิด”
OUT THERE
Siem Reap หากนึกถึงอาณาจักรที่เคยยิ่งใหญ่ในอินโดจีนเมื่อครั้งอดีต ก็คงต้องนึกถึงจักรวรรดิขแมร์ และมรดกส�าคัญที่ยังคงเหลือและสะท้อนความยิ่งใหญ่ของอาณาจักรแห่งนี้ได้ดีก็คือ สิ่งมหัศจรรย์ของโลกอย่างนครวัด นครธม ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา ในแต่ละปีจะมีนักเดินทางจากทั่วโลกเดินทางมาชมความยิ่งใหญ่ของมรดกทางวัฒนธรรมแห่งนี้ ไม่เคยขาด หลายคนย้อนกลับมาอีกครั้ง เพราะมนต์ขลังบางประการที่เสียมเรียบแตกต่างจากที่อื่น หากคุณรักการผจญภัย เสียมเรียบมีอะไรให้ค้นหามากมายนัก
THE City Facts เสี ย มเรี ย บเป็ น เมื อ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ ส� ำ คั ญ ของ ประเทศกั ม พู ช ำ เป็ น อู ่ อำรยธรรมที่ ส� ำ คั ญ ของ ภูมภิ ำคอินโดจีน ยุคทีร่ งุ่ เรือง ที่ สุ ด ของเสี ย มเรี ย บก็ คื อ ในสมัยพระเจ้ำชัยวรมันที่ 2 ที่ ท รงรวบรวมเมื อ งต่ ำ งๆ และประกำศอิสรภำพจำก อำณำจั ก รชวำได้ ส� ำ เร็ จ และได้ทรงก่อสร้ำงเมืองใหม่ ขึน้ มำ จนในสมัยพระเจ้ำชัยวรมันที่ 7 นครธมก็ก่อสร้ำง แล้ ว เสร็ จ และกลำยเป็ น เ มื อ ง ห ล ว ง ส� ำ คั ญ ข อ ง อำณำจักรกัมพูชำในอดีต
สถำนที่ ท ่ อ งเที่ ย วส� ำ คั ญ ที่ ค วรไปเยื อ นเป็ น อั น ดั บ แรกคื อ นครวั ด และนครธม เพรำะที่นี่คือจุดส�ำคัญที่บอกเล่ำเรื่องรำวควำมรุ่งเรืองในอดีตได้เป็นอย่ำงดี โดยนครวัด สร้ำงขึ้นเพื่อเป็นศำสนสถำนในสมัยพระเจ้ำสุริยวรมันที่ 2 ในช่วงที่มีกำรปฏิรูปศำสนำ ครัง้ ใหญ่ และนครวัดก็ได้กลำยเป็นหนึง่ ในศำสนสถำนทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลกมำจนถึงปัจจุบนั ส�ำหรับปรำสำทนครธมนั้นสร้ำงโดยพระเจ้ำชัยวรมันที่ 7 เป็นเมืองหลวงแห่งสุดท้ำยของ จั ก รวรรดิ ข แมร์ ใจกลำงนครเป็ น ปรำสำทหลั ก ที่ ป ระทั บ ของพระเจ้ ำ ชั ย วรมั น โดยรอบจะประดั บ ไปด้ ว ยหิ น สลั ก รู ป ยั ก ษ์ เทพ พญำนำค และรู ป พระพั ก ตร์ ข อง พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร และถ้ำเทียบควำมสมบูรณ์ของอำณำจักรโบรำณทั่วโลก ที่ยังหลงเหลือแล้ว ที่นี่เป็นนครที่ยังคงควำมสมบูรณ์ที่สุดก็ว่ำได้
"THE GLADDEST MOMENT IN HUMAN LIFE, METHINKS, IS A DEPARTURE INTO UNKNOWN LANDS." SIR RICHARD BURTON, a BRITISH EXPLORER
นอกจำกนครวัด นครธมแล้ว ยังมีปรำสำทอีกหลำยแห่งที่ควรไปเยี่ยมเยือน ไม่ว่ำจะเป็นปรำสำทตำพรหม ปรำสำท บันทำยสรี ปรำสำทพนมกุเลน ปรำสำทบันทำยส�ำเหร่ ปรำสำมพนมบำแคง และอีกหลำยแห่งที่ควรมีเวลำเดินทำงไปแวะเวียน เพื่อศึกษำเรื่องรำวของอำณำจักรโบรำณแห่งนี้ให้ลึกซึ้งมำกยิ่งขึ้น
หำกอยำกเข้ำใจวิถีชีวิตของชำวเสียมเรียบได้ดียิ่งขึ้น กำรล่องเรือในโตนเลสำบเป็นสิ่งที่ไม่ควรพลำด เพรำะจะได้เห็นวิถีของ ผู้คนริมน�้ำ ที่พึ่งพิงทะเลสำบขนำดใหญ่แห่งนี้มำนับพันปี โตนเลสำบถือว่ำเป็นทะเลสำบที่ใหญ่ติดอันดับโลก มีบ้ำนเรือนตั้งอยู่ ริมน�ำ้ มำกมำย เป็นแหล่งท่องเทีย่ วส�ำคัญ และยังเป็นพืน้ ทีท่ ำงเศรษฐกิจของชำวเมือง ว่ำกันว่ำในแต่ละปีมกี ำรจับปลำในโตนเลสำบ ได้หลำยพันตัน ลองชิมอำหำรพื้นเมืองของเสียมเรียบบนแพริมน�้ำดูสักครั้ง แล้วจะเข้ำใจวิถีของชำวโตนเลสำบได้เป็นอย่ำงดี
แต่ใช่ว่ำเสียมเรียบจะมีแต่ของโบรำณแต่เพียงอย่ำงเดียว ปัจจุบัน เสียมเรียมยังได้ชื่อว่ำเป็นเมืองที่มีกำรพัฒนำทำงด้ำนกำรท่องเที่ยว เติบโตต่อเนื่องตลอดหลำยปี ดังจะเห็นได้จำกร้ำนอำหำรมำกมำยที่มี ตั้งแต่ร้ำนขนำดกลำงไปจนถึงภัตตำคำรหรู นอกจำกนั้นยังมีโรงแรม มำกมำยตั้งแต่สำมดำวจนถึงห้ำดำว ส�ำหรับคนที่ชอบช้อปปิ้ง แม้ว่ำ ที่นี่อำจไม่มีของหรูหรำหรือทันสมัย แต่สินค้ำพื้นเมืองหลำยอย่ำง ควรค่ำแก่กำรเก็บสะสม เพื่อเอำไว้เป็นเครื่องเตือนควำมทรงจ�ำ หลำยคนที่ไม่เคยไปกัมพูชำอำจมองว่ำที่นี่ คงไม่สะดวกสบำยเท่ำเมืองใหญ่ๆ แต่ปัจจุบัน ไม่ได้เป็นอย่ำงนั้น เสียมเรียบเดินทำงสะดวก ทัง้ ทำงอำกำศและทำงบก มีโรงแรมมำกมำยหลำย รำคำให้ได้เลือกพัก กำรมำเสียมเรียบนัน้ ก็เหมือน เรำย้อนเวลำกลับไปดูควำมรุง่ เรืองของอำณำจักร โบรำณ บนแผ่นดินที่ครั้งหนึ่งเคยยิ่งใหญ่ที่สุดใน อินโดจีน และยังเป็นเพื่อนบ้ำนกับประเทศไทย ที่ส่งต่อวัฒนธรรมกันมำกว่ำพันปี หำกทริปหน้ำ ไม่อยำกเดินทำงไกล แต่อยำกผจญภัย กำรไป เสียมเรียบเป็นทำงเลือกแรกๆ ที่แสนพิเศษ WHAT YOU NEED TO KNOW ประเทศกัมพูชำยกเว้นวีซ่ำ 14 วันส�ำหรับนักเดินทำง ชำวไทย การเดินทาง สำยกำรบินไทยสมำยล์มีเที่ยวบินตรงสู่เสียมเรียบ ทุกวัน สำมำรถตรวจสอบเทีย่ วบินและส�ำรองทีน่ งั่ ได้ที่ www.thaismileair.com ระยะเวลำในกำรเดินทำงประมำณ 1 ชั่วโมงครึ่ง
THE WORD 34
Insecure people only your sun because they're jealous of your daylight and tired of their dark, starless nights คนที่ข้างในไม่มั่นคง จะสร้างเงามืดบนพระอาทิตย์ของคุณ เพราะพวกเขาอิจฉาแสงสว่าง และเหน็ดเหนื่อยกับความมืดและค�่าคืนที่ไร้แสงดาว
- Shannon L. Alder -