ISSUE 128 I 19 - 25 AUGUST 2016
FROM PATTANI WITH LOVE
ปีที่ 3 ฉบับที่ 128 วันที่ 19 - 25 สิงหาคม 2559
NOTE ON LIFE 2
The Place of Belief
ถ้าความเชื่อท�าให้เราออกเดินทางเพื่อไปตามหาและมีจุดหมายปลายทางเพื่อค้นพบสิ่งที่ทา� ให้เราเชื่อ ความไม่เชื่อ... ก็สามารถท�าให้เราออกเดินทางได้เช่นกัน แต่คงเป็นการออกเดินทางเพื่อหาข้อพิสูจน์ว่า สิ่งที่เราไม่เคยเชื่อมาก่อนเลยนั้น เอาเข้าจริงแล้วมันจะเป็นอย่างไร ด้วยการเข้าไปคลุกคลี ขุดคุ้ย มองพื้นที่นั้นๆ ด้วยสายตาของตัวเอง ไม่ใช่ผ่านสายตาของคนอื่น เพื่อสร้างความเข้าใจที่ไม่เหมือนใคร เพราะความเข้าใจใหม่ๆ ย่อมเกิดจากการได้สัมผัสรูป รส กลิ่น เสียง ที่ต่างไปจากเดิม เป็นธรรมดาที่การก้าวออกไปเจอสิ่งที่ไม่คุ้นเคย ย่อมท�าให้กลัว แต่ท้ายที่สุด ความกลัวก็วางตัว อยู่บนเชือกเส้นเดียวกันกับความกล้า แค่อยู่กันคนละปลายเชือก เมื่อไหร่ที่ก้าวออกจากฝั่งความกลัวแล้ว เราก็เข้าใกล้ความกล้ามากขึ้นอีกนิด ยิ่งเราถอยหลังกลับน้อยลงเท่าไหร่ เราก็เข้าใกล้ที่สุดของความกล้ามากขึ้นเท่านั้น อย่างน้อย... มันก็คือการกล้าที่จะไป สถานที่สวยงามที่เคยเห็นผ่านภาพถ่าย พอไปถึงจริงๆ กลับไม่เห็นจะสวยอย่างที่คิด ทั้งที่จริงๆ แล้วเรา อาจคิดไปเองว่ามันต้องสวย จึงไม่ได้เตรียมใจส�าหรับความไม่สวยงามที่แอบซ่อนอยู่ ตรงกันข้ามกับ สถานทีบ่ างแห่ง ทีเ่ คยคิดว่าไม่สวยมาตลอด แต่เมือ่ เจอด้วยตาตัวเองจริงๆ กลับสวยจนต้องเปลีย่ นความคิด องค์ประกอบและการจัดวางส�าคัญอย่างยิ่งต่อความสวยงามของภาพ แต่การพาตัวเองไปเป็นองค์ประกอบจริงของภาพนั้น อาจท�าให้ค้นพบความสวยงาม ในแบบที่เราไม่เคยเชื่อว่าจะมี ไม่เชื่อ แม้จะมองจากสายตาตัวเองด้วยซ�า้ วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม บรรณาธิการบริหาร Twitter : @khaopan www.facebook.com/adaybulletin
CONTENTS
4 The Stuff
6 Feature
สารพัดสิง่ รอบตัวเรา เรื่องราวของความที่เล่าผ่านตัวเลข รื่ น รมย์ ใ นจั ง หวั ด ปัตตานีที่เราไม่เคย รูว้ า่ มีมาก่อน
12 Calendar
18 SELECTIVE
ใคร ท�าอะไร ที่ไหน ของใช้ ที่ บ อกเล่ า เช็กดูได้ สุดสัปดาห์นี้ ตัวตนของ เอ็มโซจ ะ ไ ด ้ ไ ม ่ พ ล า ด เฟียน เบญจเมธา เรื่องราวสนุกๆ
14 Supermarket
20 HOME MADE
22 Make a Dish
ฉวยตะกร้ า คว้ า รถเข็น แล้วไปเดิน เล่นจับจ่ายกับเรา ใน Supermarket แห่งนี้
บ ้ า น ก ล ่ อ ง ท ร ง หนึ่งจานอร่อยจาก โมเดิรน์ ของ นทกา ร้านดังที่เราอยาก สะอาด ทีผ่ สมผสาน ชวนคุ ณ ไปลิ้มลอง กั บ ศิ ล ป ะ ม ล า ยู ได้อย่างลงตัว
23 THE 5ive
26 Out There
30 THE WORD
หนังสือทีจ่ ดุ ประกาย ให้ อุมมีสาลาม อุมาร อยากเขียนหนังสือ ของตัวเองขึ้นมา
เพราะเราเชื่ อ ว่ า โลกใบนี้ มี ส ถานที่ มากมายรอให้ ไ ป ค้นหา
พลิ ก มุ ม คิ ด ปรั บ มุ ม มอง กับ ‘หนึ่ง ถ้อยค�า... ที่เปลี่ยน ความคิด’
LETTER เราเห็นถึงความตั้งใจของทีมงานในการท�า a day BULLETIN LIFE ฉบับที่ 125 ที่ทา� ให้เราได้เห็นกรุงเทพฯ ที่ดูโล่งน่าอยู่ ซึ่งคงไม่บ่อยนักที่เราจะได้เห็นภาพบรรยากาศของกรุงเทพฯ แบบนี้ และส�าหรับเรา a day BULLETIN LIFE เป็นนิตยสารที่สามารถอ่านได้ทุกหน้าจริงๆ และอ่านได้หมดทุกตัวอักษร ทั้งภาพและตัวหนังสือของ a day BULLETIN LIFE เมื่ออยู่รวมกันแล้วสวยงามมาก - Khanungnit
ส่งจดหมายติชม ทักทาย และให้คา� แนะน�า a day BULLETIN LIFE มาได้ที่ adaybulletinmagazine@gmail.com และสามารถติดตามความเคลือ่ นไหวและกิจกรรมดีๆ ได้ที่ Facebook/Twitter: a day BULLETIN และ Instagram: adaybulletinlife
A TEAM ทีป่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผูพ ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย บรรณาธิการอ�านวยการ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สงิ ห์ บรรณาธิการบริหาร วิไลรัตน์ เอมเอีย่ ม ซับเอดิเตอร์ / นักเขียน วสิตา กิจปรีชา ห้วหน้ากองบรรณาธิการ วรรณวนัช ท้วมสมบูรณ์ กองบรรณาธิการ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล นภษร ศรีวลิ าศ มิง่ ขวัญ รัตนคช บรรณาธิการภาพ นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย ช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกติ ติบตุ ร ภาสกร ธวัชธาตรี วงศกร ยีด่ วง มณีนชุ บุญเรือง บรรณาธิการศิลปกรรม วีระยุทธ คงเทศน์ ศิลปกรรม เอกพันธ์ ครุมนต์ตรี ทัตชญา มิง่ ขวัญ พิสจู น์อกั ษร หัสยา ตัง้ พิทยาเวทย์ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ไม้ลา� ดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภูท่ อง ทศพล บุญคง ทีป่ รึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจิ รรยากุล ผูอ้ า� นวยการฝ่ายโฆษณา นุจนารถ สินธนาภัทร ผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 09-2964-1635, มนัสนันท์ รุง่ รัตนสุทธิกลุ 08-4491-9241 ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา วาณี กนกวิลาศ 09-5592-9419, มาสสุภา เอีย่ มมงคลศิลป์ 08-5056-0083, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ธนาภรณ์ ศรีจฬุ างกูล 08-1639-1929, สุธาวัลย์ สุวรรณสิงห์ 08-1304-7070, ดวงใจ ดวงจังหวัด 08-6802-9996 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ผู้จัดการ จัณฑรัศมิ์ เกียรติยศ ผู้ช่วยผู้จัดการ ณัฐธยาน์ อึ้งตระกูลนิธิศ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ผู้ผลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com เว็บไซต์ www.daypoets.com, www.godaypoets.com นักศึกษาฝึกงาน ชัญญานิษฐ์ ชัยณรงค์สิงห์
STUFF
South and Sound ‘โอ่โอ ปักษ์ใต้บ้านเรา โอ่โอ ปักษ์ใต้บ้านเรา แม่น�้า ภูเขา ทะเล กว้างไกล อย่าไปไหน กลับใต้บ้านเรา’ นอกจากเสียงของทะเลน�้าใสๆ และลมอ่อนๆ ที่พัดผ่านภูเขากระทบหน้า มนต์เสน่ห์ของเสียงดนตรีจากเครื่องดนตรีภาคใต้ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่หล่อหลอมวัฒนธรรมและผู้คนเข้าด้วยกัน ลองมาท�าความรู้จักเครื่องดนตรีพื้นบ้านเหล่านี้ แล้วฟังเสียงผ่านหน้ากระดาษนี้ดู คุณอาจจะเผลอจองตั๋วล่องใต้ให้รางวัลตัวเองในวันหยุดยาวครั้งหน้าก็เป็นได้ โหม่ง หรือฆ้องคู่ เป็นเครือ่ งดนตรีประเภทตีชนิดหนึง่ ใช้ประกอบการเล่นหนังตะลุง มโนห์รา และลิเกป่า ปัจจุบนั ท�าด้วยโลหะขนาดเล็ก 1 ใบ และใหญ่ 1 ใบ รวมเป็น 2 ใบ บรรจุในกล่องไม้เพื่อให้เกิดเสียงก้องกังวานเวลาบรรเลง เสียงแหลมที่เกิดขึ้น เรียกว่า ‘เสียงโหม้ง’ ขณะทีเ่ สียงทุม้ จะเรียกว่า ‘เสียงหมุง่ ’ หรือบางครัง้ อาจจะเรียก ว่าลูกเอกและลูกทุม้ ซึง่ มีเสียงแตกต่างกันเป็นคูห่ า้ แต่ปจั จุบนั เป็นคูแ่ ปด
12
กลองหนัง หรือกลองโนรา เครือ่ งดนตรีประเภทตี ใช้ประกอบ การแสดงโนราหรือหนังตะลุง มีลกั ษณะเป็นกลองสองหน้า ตัวกลองท�าจากไม้เนื้อแข็งอย่างแก่นไม้ขนุน มีส่วนสูง ประมาณ 12 นิ้ว ใช้หนังวัวหรือควายหนุ่มหุ้มหน้ากลอง ซึ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 นิ้ว ตีด้วยไม้ ขนาดพอเหมาะ 1 คู่ เวลาตีต้องตั้งกลองไว้ที่พื้นหรือ ขาตั้งเพื่อให้ตีได้สะดวก นิยมใช้ในการละเล่นของภาคใต้ ทัง้ งานมงคลและงานอวมงคลทัว่ ไป
10 แตระพวง หรือกรับพวง เป็นเครื่องประกอบจังหวะ ตอนกลางท�าด้วยไม้บางๆ แผ่นทองเหลืองหรือแผ่นงา ขนาด 0.5 x 2 x 6 นิ้ว ซ้อนกันประมาณ 10 แผ่น จากนัน้ ใช้ ไม้แก่น 2 อัน เจาะรูตอนหัว ร้อยเชือกประกบ ไว้ 2 ข้าง เหมือนด้ามพัด เวลาตีใช้มือข้างหนึ่งถือ ตรงหัวทางเชือกร้อย แล้วฟาดลงไปบนอีกฝ่ามือหนึ่ง เกิดเป็นเสียงกรับขึ้นหลายเสียง จึงเรียกว่ากรับพวง ใช้ตีประกอบการเล่นมโนห์รา โนราแขก และมะโย่ง
2 5
ร�ำมะนำ เป็นเครือ่ งดนตรีประเภทเครือ่ งตีชนิดหนึง่ ใช้บรรเลงร่วมกับโทน มีลกั ษณะ เป็นกลองที่ขึงหนังหน้ำเดียว ตัวกลองสั้น ท�ำจำกไม้เนื้อแข็ง มีรูปร่ำงคล้ำย ชำมกะละมัง ลักษณะกำรตีทแี่ ตกต่ำงกันท�ำให้เกิดเสียงทีแ่ ตกต่ำงกัน 5 เสียง ได้แก่ เสียงพรึมหรือเสียงทิง เสียงจ�ง เสียงติง เสียงเถอะ และเสียงสอดสลับ ตัวกลอง ร�ำมะนำสำมำรถแบ่งเรียกตำมขนำดได้ 2 ชนิด ได้แก่ ร�ำมะนำมโหรี ซึง่ มีขนำดเล็ก และมีหน้ำกว้ำง 26 เซนติเมตร และร�ำมะนำล�ำตัด ที่มีขนำดใหญ่กว่ำโดยมี หน้ำกว้ำง 48 เซนติเมตร
8
ทับ เป็นกลองที่ท�ำด้วยไม้เนื้อแข็ง เอวคอด ปำกบำน ท้ำยเรียวบำนออกเล็กน้อย ขึงด้วยหนังสัตว์หน้ำเดียว แล้วใช้หวำยรัดดึงให้ตึง กลองทับมีหลำยขนำด ได้แก่ ทับหนัง ซึง่ มีเส้นผ่ำศูนย์กลำงด้ำนหน้ำ 5 นิว้ ใช้บรรเลง ประกอบกำรแสดงหนังตะลุง ทับโนรำ ทีม่ เี ส้นผ่ำศูนย์กลำง ด้ำนหน้ำ 8 นิ้ว ใช้บรรเลงประกอบกำรเล่นมโนห์รำ และทับโต๊ะครึมขนำดใหญ่ 12 นิว้ ใช้บรรเลงกำรเล่นโต๊ะครึม นิยมตีคกู่ บั กลองโทน จึงมีชอื่ เรียกคูก่ นั ว่ำ โทนทับ
37
ปี่กลาง หรือเรียกว่าปี่หนังตะลุงและปี่โนรา เพราะใช้ ประกอบการแสดงหนังตะลุงและมโนห์รา ตัวปี่ท�าจาก ไม้ เ นื้ อ แข็ ง หรื อ ใช้ แ ก่ น ไม้ บ างชนิ ด เช่ น ไม้ ก ระถิ น ไม้มะม่วง ไม้รักป่า หรือไม้มะปริง ขนาดยาวประมาณ 37 เซนติเมตร กว้างประมาณ 4 เซนติเมตร มีรูบังคับ เสียงจ�านวน 6 รู ปี่กลางมีส�าเนียงเสียงอยู่ระหว่าง ปี ่ น อกกั บ ปี ่ ใ น นั่ น คื อ จะไม่ แ หลมหรื อ ว่ า ต�่ า เกิ น ไป แต่จะอยู่ในระดับปานกลาง
หนังตะลุงมลายู หรือวายังกูลิต หรือที่ชาวไทยมุสลิมเรียกว่า วอแยกูเละ หรือวายังกูเละ เป็นศิลปะการเล่นเงาที่นิยมแสดงกันมาช้านาน ในพื้นที่บริเวณสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส นิยมแสดงในงานรื่นเริง ซึ่งจะแตกต่างออกไปจากหนังตะลุงที่เล่นอยู่ในถิ่นอื่น โดยเฉพาะในแง่ที่เป็นการผสมผสานวัฒนธรรมทั้งแบบมลายูมุสลิมและไทยพุทธไว้อย่างมีเสน่ห์และงดงาม
FEATURE
From Pattani with Love เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
ปัตตานี และเมืองอื่นๆ ในเขตจังหวัดชายแดนภาคใต้ อาจไม่ได้เป็นตัวเลือกล�าดับต้นๆ ของคนที่อยากออกเดินทางท่องเที่ยว เพราะรู้สึกหวั่นเกรงกับข่าวความรุนแรงที่ได้รับรู้ มาตลอดหลายปี แต่ถ้าคุณทิ้งความกลัวนี้ไป และลองมาสัมผัสกับที่นี่ จะพบว่าปัตตานีเป็นเมืองที่น่ารักมากอีกแห่งหนึ่งของประเทศไทย เราจึงขออาสาพาคุณไปพบกับความรื่นรมย์ ในแบบต่างๆ ของเมืองนี้ บนพื้นที่ความสุขใน 3 รูปแบบ ซึ่งเชื่อว่าถ้ามีโอกาสได้มาเยือนที่นี่สักครั้ง คุณจะหลงรักเมืองนี้ไม่น้อยไปกว่าเรา
MON D MARKET สีหน้ายิ้มแย้มและการต้อนรับด้วยไมตรีจิตคือสิ่งแรกที่เราเจอเมื่อก้าวเข้ามาสู่เมืองปัตตานี จนภาพความรุนแรงจากเหตุการณ์ความไม่สงบที่เคยรับรู้มลายออกไปจากหัวอย่างสิ้นเชิง และคนที่นี่ก็ใช้ชีวิตกันอย่างปกติเหมือนที่อื่น ซึ่งเราก็รู้มาอีกว่ามีอีเวนต์ส�าคัญ ที่คนปัตตานี (และพื้นที่ใกล้เคียง) รอคอยกันอยู่ คืองานถนนคนเดิน Mon D Market ซึ่งเกิดจากน�้าพักน�้าแรงของ ‘โรส’ - นิโรสตีน่า นิสะนิ สถาปนิกหญิง และพรรคพวก ที่ช่วยกันสร้างโปรเจ็กต์ระยะสั้นนี้ขึ้นมา เพื่อเปลี่ยนบรรยากาศที่อึมครึมไปด้วย ความตึงเครียด ให้กลายเป็นความรื่นรมย์จนคนเมืองกรุงอย่างเรายังแอบอิจฉา THE STARTING POINT :
ก่อนที่เราจะมาท�าตลาดนัด Mon D Market เราเคยจัดงานตลาดน�้า Bazaar Tani มาก่อน ซึง่ โครงการนีก้ ม็ าจากทางศูนย์อา� นวยการบริหาร จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ทีอ่ ยากท�าอะไร เกีย่ วกับนักธุรกิจรุน่ ใหม่ในพืน้ ทีแ่ ถบสามจังหวัดนี ้ โดยเขาอยากได้งานที่ไม่ใช่รูปแบบเดิมๆ ที่เป็น งานประจ�าจังหวัดอยู่แล้ว เราจึงอยากท�าอีเวนต์ เหมือนกับที่กรุงเทพฯ มี ก็ได้หัวเรี่ยวหัวแรงของ คนในพืน้ ทีห่ ลายๆ คน และเขาอยากให้เรามาช่วย ออกแบบงาน ซึ่งเราก็สนใจเพราะอยากให้เมือง มีบรรยากาศที่ดีขึ้น มีความผ่อนคลายขึ้น เพราะ ภาพของสามจังหวัดชายแดนใต้นั้น คนข้างนอก เขามองว่าเป็นพื้นที่ที่มีความรุนแรง สถานการณ์ ไม่สงบ ท�าให้เขาจินตนาการไม่ออกว่าจริงๆ แล้ว ไลฟ์สไตล์ของคนที่นี่เป็นอย่างไร TIME TO CHANGE :
เราเชือ่ ว่าทุกคน ไม่จา� เป็นต้องเป็นคนทีน่ หี่ รอก ต่างก็ต้องการพื้นที่ที่มีบรรยากาศของความผ่อนคลาย ซึง่ จริงๆ คนทีน่ กี่ ใ็ ช้ชวี ติ กันตามปกติ เพียงแต่ งานในลักษณะนี้ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ถ้ามีก็จะ เป็นงานตลาดนัดจังหวัดในอีกแบบหนึ่ง และ โปรเจ็กต์ของเราเป็นโครงการระยะสัน้ ทีท่ ดลองจัด ขึน้ มาแค่ 4 ครัง้ เท่านัน้ ซึง่ คนทีม่ างานต่างก็บอกว่า อยากให้มีงานแบบนี้อีก และด้วยความที่เราเป็น สถาปนิก เวลาทีจ่ ะท�างานขึน้ มาสักชิน้ เราจะมอง ภาพรวมเป็นหลักก่อน จะไม่ได้คิดถึงแต่เรื่องของ ตัวงาน แต่เราต้องคิดถึงผลทีจ่ ะเกิดกับสิง่ รอบข้าง ด้วย ดังนั้น ความแตกต่างในเรื่องวัฒนธรรมของ ที่นี่เราจะจับมารวมไว้ตรงกลาง จะไม่หยิบเอา คาแร็กเตอร์ใดคาแร็กเตอร์หนึง่ ขึน้ มาเป็นจุดส�าคัญ เพราะจริ ง ๆ แล้ ว เสน่ ห ์ ข องสามจั ง หวั ด นี้ คื อ ความหลากหลาย จะไม่เหมือนกับที่อื่นที่มีการแบ่งกันอยูอ่ ย่างชัดเจน ดังนัน้ เราจึงท�าพืน้ ทีน่ ใี้ ห้เป็น ตรงกลางของทุกคน ไม่อยากให้ใครคิดว่าเราท�า งานนีข้ นึ้ มาให้กบั คนกลุม่ นีห้ รือกลุม่ นัน้ เราเชือ่ ว่า เมื่ อ มองข้ า มเรื่ อ งของเชื้ อ ชาติ แ ละศาสนาไป เราก็คือคนปกติที่ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันได้ THE HAPPINESS IS... :
เรามีอิสระในการตัดสินใจว่าจะท� าให้งาน ตลาดนัด Mon D Market นี้ออกมาเป็นแบบไหน
และเราก็สามารถท�าให้เกิดพืน้ ทีท่ สี่ ร้างแรงบันดาลใจ ตรงนีข้ นึ้ มาได้ ทุกคนสามารถมาแชร์ประสบการณ์ ด้วยกันได้ และพอเราบอกว่าจะจัดงานนี ้ คนทีเ่ คย ร่วมงานตลาดน�า้ Bazaar Tani ก็ตอบรับว่าขอมาร่วม กับเรา ซึ่งในงานก็จะแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ ร้านที่มีการตกแต่งสวยงามเหมือน flffllea market ในกรุงเทพฯ กับส่วนที่เป็นร้านเรียบง่ายขายขนม ขายอาหารต่างๆ ซึ่งทั้งสองโซนก็ตอบรับความต้องการของทุกคน และส่วนทีเ่ ป็นร้านอาหารก็จะ อยู่ริมแม่น�้า คนที่มาเดินก็ซื้อของกินไปนั่งกิน ตรงริมน�า้ ได้ ก็ได้บรรยากาศที่รื่นรมย์ไปอีกแบบ FROM PATTANI WITH LOVE :
มีหลายคนถามเหมือนกันว่า แล้วอะไรคือ อัตลักษณ์ของความเป็นมลายูที่อยู่ในงานนี้ แต่ เราเชือ่ ว่าการอนุรกั ษ์นนั้ ท�าให้เป็นสิง่ ทีท่ นั สมัยได้ ถึงรูปแบบของตลาดนัด Mon D Market จะมีความโมเดิรน์ แต่คนทีเ่ ข้ามาเดินในงานเขาก็โชว์อตั ลักษณ์ ของตัวเองได้อยู่แล้ว ความสมัยใหม่คือการที่เรา หลอมรวมไปกับอะไรก็ได้ และวันที่เราจัดงานนี้ ขึน้ มาครัง้ แรก คนทีน่ ตี่ นื่ เต้นกับงานนีม้ าก พวกเขา ดีใจที่มีงานแบบนี้เกิดขึ้น เราเจอคุณลุงคนหนึ่ง ปั ่ น จั ก รยานมาจอดตรงที่ เ ราก� า ลั ง จั ด งานอยู ่ คุณลุงให้เราช่วยถ่ายรูปตัวเองกับงานให้ บอกว่า จะส่งรูปนี้ไปให้เพื่อนที่อยู่เชียงใหม่กับกรุงเทพฯ ดู ว่าจังหวัดปัตตานีกม็ งี านแบบนี ้ ได้ยนิ แบบนีเ้ รา ก็รู้สึกดีใจมาก
FACEBOOK : MON D MARKET
SAIBURI LOOKER การเดินทางมาเยี่ยมเมืองปัตตานีของเราคงจะไม่สมบูรณ์ ถ้าไม่มีโอกาสได้มาทักทายกับ อานัส พงค์ประเสริฐ และเพื่อนๆ ของพวกเขาที่รวมตัวกันในนาม Saiburi Looker กลุ่มคนหนุ่มรุ่นใหม่ไฟแรงหลากหลายอาชีพ ตั้งแต่พ่อค้าเสื้อมือสองในอีเบย์ คนท�าผ้ามัดย้อม สถาปนิก นักสเกตบอร์ด พวกเขาเฝ้ามองเมืองสายบุรี และสถานที่ต่างๆ ในสามจังหวัดชายแดนใต้ เพื่อช่วยทวงคืนความสุขที่หายไปของคนในบ้านเกิด
THE STARTING POINT :
เรารวมตัวกันได้ประมาณสีป่ แี ล้ว เริม่ มาจาก กลุม่ เพือ่ นทีเ่ รียนหรือท�างานอยูก่ รุงเทพฯ พวกเรา เบือ่ ความเป็นเมืองหลวงและก็คดิ ถึงบ้านมากด้วย เลยตัดสินใจกลับมาอยูท่ บี่ า้ นเกิด ซึง่ ช่วงทีก่ ลับมา ก็มีสถานการณ์รุนแรงเกิดขึ้นในพื้นที ่ พอเรากลับ มาอยูก่ ค็ ดิ ถึงสมัยก่อน สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วหลายๆ แห่ง ในประเทศไทยก็ได้รบั การพัฒนาให้กลับมามีชวี ติ อีกครั้ง อย่างพวกย่านเก่าหรือชุมชนเก่าแก่ของ จังหวัดต่างๆ ซึง่ บ้านเราก็มสี ถานทีแ่ บบนีอ้ ยู ่ พวกเรา ก็ไปตามหาดูวา่ เมืองของเรามีสถานทีเ่ ก่าแก่ตรงไหน ทีน่ า่ สนใจบ้าง จากทีเ่ ริม่ ต้นด้วยการไปถ่ายรูปกับ เพือ่ นๆ ในกลุ่ม ก็เกิดความคิดว่าเราน่าจะท�าเพจ ขึ้นมาแล้วเล่าเรื่องผ่านรูปภาพ ซึ่งระหว่างนั้น เราก็ มี โ อกาสได้ คุ ย กั บ คนนั้ น คนนี้ ก็ พ บว่ า บรรยากาศของเมืองเริม่ เปลีย่ นไป มีความตึงเครียด ความสั ม พั น ธ์ ข องคนในพื้ น ที่ เ องก็ เ ปลี่ ย นไป เกิดหวาดระแวงซึ่งกัน ซึ่งไม่เหมือนกับเมื่อก่อน จะถื อ กล้ อ งออกไปถ่ า ยรู ป ยั ง มี ค นถามเลยว่ า ถ่ายไปท�าอะไร เจ้าหน้าที่ก็ระแวงเรา สื่อเองก็ น�าเสนอแต่ความรุนแรง เราจึงต้องขอออกมาพูด เพือ่ ให้คนทัว่ ไปรูว้ า่ จริงๆ แล้วบ้านของเราเป็นอย่างไร
กลุ่มสถาปนิกในพื้นที่ ก็เข้ามาช่วยให้งานของ พวกเราเกิดขึน้ ได้ หรือมูลนิธหิ ะยีสหุ ลง อับดุลกอเดร์ โต๊ะมีนา ก็มาช่วยเราในด้านต่างๆ ซึ่งภาคีต่างๆ ที่เข้ามาร่วมด้วย ท�าให้งานของเราเกิดขึ้นได้ใน ทุกๆ ครั้ง ต้องยอมรับว่าอ�าเภอสายบุรีที่เราอยู่ เป็นพืน้ ทีเ่ ขตสีแดง แต่เราก็ใช้ความเป็นคนในพืน้ ที่ มาท�าความคุน้ เคยกับคนอืน่ ๆ เพราะคนข้างในยังไง ก็รจู้ กั กันอยูแ่ ล้ว แค่มเี ส้นบางๆ บางอย่างเกิดขึน้ มา เพื่อแยกคนออกจากกันเท่านั้นเอง ถ้าเราท�าอะไร ให้สนุก คนก็จะค่อยๆ เปิดใจให้ เพราะความอึมครึม และความตึงเครียดมันอยู่ตรงนี้มาเป็นสิบปีแล้ว เราจึงต้องหาอะไรสนุกๆ มาเติมลงไปให้คนได้รจู้ กั ความสุนทรีย์บ้าง FROM PATTANI WITH LOVE :
ถ้ามองอีกมุมหนึ่ง ปัตตานีคือประตูที่เปิด ไปสู ่ อี ก อารยธรรมหนึ่ ง ที่ มี ค วามแตกต่ า งของ อัตลักษณ์ ไลฟ์สไตล์ และภาษา ซึ่งหาจากที่อื่น ไม่ได้ คนภายนอกอาจจะมองว่าปัตตานีเป็นแค่ เมืองบ้านนอก เป็นแดนเถือ่ น แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่เลย ถ้าคุณเดินไปเจอคนทีด่ เู จ๋งๆ แต่งตัวเท่ๆ ทีก่ รุงเทพฯ หลายคนเป็นคนทีน่ ที่ งั้ นัน้ หรืออย่างในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ถ้ามานั่งดูสถานที่ดีๆ เราเชื่อว่า TIME TO CHANGE : คุณ สามารถเดิน เที่ย วได้ ทุก ที่อ ย่ า งไม่ เ บื่อ เลย แรกๆ พวกเราก็ท�ากิจกรรมที่เป็นงานศิลปะ อยากให้ลองมาสัมผัสกันดูก่อน เพราะจริงๆ มัน เป็นหลัก เพราะคิดว่าศิลปะนีแ่ หละจะเป็นเครือ่ งมือ ไม่ได้มีอะไรเลย แค่อาจจะมีคนเข้าใจผิดคิดว่า ทีช่ ว่ ยเปิดพืน้ ทีใ่ ห้คนกลับมาคุยกันอย่างเมือ่ ก่อน สันติภาพนัน้ ต้องสร้างด้วยปืน ทัง้ ๆ ทีค่ วามสัมพันธ์ พอเราชวนศิลปินมาวาดรูปตรงย่านเมืองเก่า ก็มี ต่างหากที่เป็นตัวช่วยสร้างสันติภาพได้ดีที่สุด คนเริ่มเข้ามาดู มาพูดคุยกับเรา มีความสัมพันธ์ เกิดขึน้ เราก็อาศัยช่วงเวลานีแ้ นะน�าตัวเองว่าพวกเรา คือ Saiburi Looker และเริ่มท�ากิจกรรมกันมากขึ้น ทาง The Asia Foundation ก็ให้ทุนสนับสนุนเรา บางส่วน เราน�าเรือ่ งราวเก่าๆ ทีอ่ ยูใ่ นท้องถิน่ มาใช้ อธิบายตัวตนของคนปัตตานี จากที่ผ่านมามีแต่ คนข้างนอกที่เป็นคนอธิบายเรื่องราวของพวกเรา ล่าสุดงานของเราคือ ‘The เครา Night ตอน รือ้ ถอน สร้าง’ ซึ่งเราจะรื้อความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ ความเชือ่ เรือ่ งดนตรีของศาสนาอิสลาม ทีบ่ างคน บอกว่าห้ามฟัง ซึ่งจริงๆ ดนตรีเป็นเครื่องมือที่ดี ถ้าเราไม่เอาไปใช้ในทางที่ผิด ถอน คือการถอน ความทรงจ�าของคนที่มองว่าคนไว้เคราเป็นคนที่ ไม่มีความสุนทรีย์ ไม่มีศิลปะ ส่วนสร้างก็คือ เราจะสร้างพื้นที่นี้ขึ้นมาเพื่อให้คนมารวมตัวกัน THE HAPPINESS IS... :
เราพบว่ายังมีคนกลุ่มย่อยๆ เข้ามาร่วม เปิดพื้นที่กับเรา อย่างกลุ่ม Risk Skateboard
FACEBOOK : SAIBURI LOOKER
PATANI CONTEMPORARY ART GALLERY การอยู่ในพื้นที่ที่มีเหตุการณ์ความไม่สงบเป็นเวลาหลายปี รวมถึงความห่างไกลจากเมืองหลวง ท�าให้การพัฒนางานศิลปะกลายเป็นเรื่องยาก ที่ใครจะเข้าใจและให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ แต่ความมุ่งมั่นของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะ อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) วิทยาเขตปัตตานี ก็ยังคงลุกโชนอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเจอเรื่องร้ายแรงแค่ไหน เขาก็เป็นหนึ่งในหัวเรี่ยวหัวแรงส�าคัญ ของชาวปัตตานีที่พยายามผลักดันให้เกิดพื้นที่ส�าหรับงานศิลปะ และสร้างศิลปินรุ่นใหม่จากบ้านเกิดของตัวเองได้ส�าเร็จ
THE STARTING POINT :
ซึ่ ง กาบมะพร้ า วมั ก จะน� า มาใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ผมชอบงานศิลปะมาตั้งแต่เด็ก ผมเชื่อว่า เวลาที่เอาไปเผา ไฟจะค่อยๆ ลามไปอย่างช้าๆ พระเจ้าประทานความชอบนีใ้ ห้กบั ผม ถ้ามีโอกาส ก็เหมือนกับสถานการณ์ของที่นี่ การหยิบเอา ก็อยากเรียนทางด้านศิลปะ แต่เนือ่ งจากครอบครัว วั ต ถุ ดิ บ ต่ า งๆ เหล่ า นี้ ม าใช้ ร วมกั บ อั ต ลั ก ษณ์ ค่อนข้างยากจน ผมเลยต้องกัดฟันหาทางเรียนต่อ ที่ไม่เหมือนภาคอื่นๆ ท�าให้งานศิลปะของที่นี่ จนสามารถเข้าไปเรียนปริญญาตรีท ี่ ม.อ. ปัตตานี มีความน่าสนใจอย่างมาก ส�าเร็จ ปีนนั้ เป็นปีทมี่ หาวิทยาลัยเปิดคณะศิลปกรรมศาสตร์เป็นปีแรก และจุดเปลีย่ นทีท่ า� ให้ผมอยากเป็น FROM PATTANI WITH LOVE : ศิลปินก็คอื ตอนทีม่ โี อกาสได้พบกับ อาจารย์ถวัลย์ ปัตตานีเป็นเมืองที่มีอารยธรรมมาช้านาน ดัชนี และ อาจารย์กมล ทัศนาญชลี ที่คัดเลือก มีประวัติศาสตร์ของตัวเอง มีความหลากหลาย งานของผมไปแสดงทีส่ หรัฐอเมริกา ท�าให้เราได้ไป ทางภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งทั้งหมดนี้มีรูปแบบ เห็นงานของศิลปินระดับโลก ท�าให้เกิดความฮึกเหิม ของตัวเองทั้งหมด นับเป็นต้นทุนที่ส�าคัญมาก กลับมาเลยตั้งเป้าว่าตัวเองต้องเป็นศิลปินให้ได้ เพราะนีค่ อื รกรากของเราในฐานะคนท�างานศิลปะ และอาจารย์ถวัลย์ก็บอกกับผมว่า ‘ต้องกลับมา ปั ต ตานี คื อ วั ต ถุ ดิ บ ชั้ น ดี ใ นการท� า งานศิ ล ปะ บุกเบิกทีน่ นี่ ะ อยากเห็นงานศิลปะทีแ่ สดงความเป็น ส่วนคนจากจังหวัดอื่นนั้น ผมเชื่อว่าอะไรก็ตาม อัตลักษณ์ของที่น ี่ ฉันขอฝากความหวังไว้ด้วย’ ที่เป็นสิ่งท้าทาย เราจะลองไปหามัน อย่าปิดกั้น ตัวเอง ความกลัวนัน้ ใครๆ ก็ม ี แต่ในเมือ่ เราเกิดมา แค่ ครั้งเดีย ว ถ้ า อยากรู ้ หรือ อยากสัมผัส อะไร TIME TO CHANGE : หลังจากทีเ่ รียนจบปริญญาโทจากมหาวิทยาลัย- บางอย่างที่พิเศษให้ตัวเอง คุณต้องเข้าไปหามัน ศิลปากร ผมก็เริ่มมีชื่อเสียงจากการส่งงานศิลปะ ปัตตานีเองก็เช่นเดียวกัน เมืองนี้มีสิ่งที่น่าสนใจ ไปประกวดตามงานต่างๆ เลยมีโอกาสได้กลับมา ไม่ตา่ งกับผลทุเรียน เห็นภายนอกแล้วอาจรูส้ กึ ว่า ช่วยสอนที ่ ม.อ. ปัตตานี ซึ่งถ้ามองในแง่ของการ- น่ากลัวเพราะมีหนามแหลมคม บางคนแกะเปลือก ขับเคลือ่ นหรือความอยูร่ อดของศิลปินทีท่ า� งานศิลปะ ออกมาเจอกลิน่ ก็ไม่ชอบ เลยไม่กล้ากิน แต่พอได้ชมิ เราอยู่ไกลจากความเจริญมาก มีโอกาสน้อยมาก เนือ้ ของทุเรียนแล้วอาจจะติดใจก็ได้ ผมเชือ่ ว่าถ้า ที่ ค นจะเห็ น เรา และยั ง มี ค วามทั บ ซ้ อ นของ ได้ลองมาสัมผัสกับเมืองนี้สักครั้ง ความคิดและ สถานการณ์ไม่สงบอีก ผมเลยพลิกวิกฤตให้เป็น อคติต่างๆ ของคุณจะต้องเปลี่ยนไปแน่นอน โอกาส ในเมือ่ คนนอกรูจ้ กั พวกเราในทางลบอยูแ่ ล้ว งัน้ ผมจะหาวิธที ที่ า� ให้เขามองเราในแง่บวก นัน่ ก็คอื การสร้างงานศิลปะ ถึงศิลปะอาจจะไม่เคยช่วยใคร แต่ศลิ ปะก็ไม่เคยท�าร้ายใคร ผมจึงเปิดพืน้ ทีต่ รงนี้ ให้คนท�างานศิลปะได้แสดงออก เพราะการที่จะ น�าผลงานไปแสดงที่กรุงเทพฯ นั้นเป็นเรื่องยาก อย่ า งน้ อ ยเยาวชนของเราก็ จ ะได้ มี ที่ ป ระลอง ในการโชว์ผลงาน และผมจะต้องพิสูจน์ให้คนที่นี่ เห็ น ว่ า ศิ ล ปิ น ที่ อ ยู ่ ไ กลถึ ง ตะเข็ บ ชายแดนของ ประเทศไทยก็สามารถเลี้ยงตัวเองได้ THE HAPPINESS IS... :
สิบปีให้หลัง งานศิลปะในจังหวัดชายแดนใต้ ของเรามีความโดดเด่นขึ้นเยอะมาก ผมดีใจที่ได้ เป็นส่วนหนึง่ ทีช่ ่วยจุดชนวนให้ศลิ ปะของบ้านเรา เกิดการขับเคลือ่ น เรามีศลิ ปินทีด่ ี มีนกั ท�างานศิลปะ ที่ดีแล้ว ตอนนี้ก็ขอให้มีพื้นที่สา� หรับแสดงผลงาน ทีด่ ดี ว้ ย ส่วนจะมีใครมาซือ้ หรือให้ความสนใจอันนัน้ ผมถือว่าเป็นผลพลอยได้ ผมดีใจที่เด็กของเรา แสดงตัวตนของตัวเองผ่านงานศิลปะได้อย่าง คมคาย อย่างงานที่ใช้กาบมะพร้าวมาท�าเป็นปืน
FACEBOOK : PATANI ARTSPACE & PATANI CONTEMPORARY ART GALLERY
CALENDAR 12
FRI
MON
22
Indian Film Festival of Thailand เทศกาล ‘Indian Film Festival of Thailand’ ทีจ่ ะ น� า ภาพยนตร์ บ อลลี วู ด คุณภาพมี ร างวั ล การั น ตี มาให้ชมถึง 7 เรื่อง เช่น Chennai Express, PK, Piku ฯลฯ วันนี้ถึง 28 สิงหาคม 2558 ณ พารากอนซี นี เพล็กซ์ สยามพารากอน ติดตามรายละเอียดได้ที่ www.zeenung.com และ www.bollywoodbangkok. com
TUE
23
DILUVIUM นิ ท ร ร ศ ก า ร ศิ ล ป ะ ‘Diluvium’ โดย Knock ศิ ล ปิ น ชาวออสเตรเลี ย ถ่ายทอดเรื่องราวของน�้า บนดาวเคราะห์แห่งนี้ผ่าน การพ่ น ด้ ว ยสเปรย์ สี สั น สดใสและมีชวี ติ ชีวา ซึง่ เป็น สื่อกลางให้กบั การตีความ ของศิลปินถึ ง ชะตากรรม ของพวกเราที่ ก� า ลั ง จะ เกิ ด ขึ้ น เร็ ว ๆ นี้ วั น นี้ ถึ ง 3 0 สิ ง ห า ค ม 2 5 5 9 ณ MIDNICE Gallery โชคชัย 4 ซอย 18 โทร. 086282-0282 (เว้นวันอาทิตย์ และจันทร์)
WED
24
MENU นิ ท ร ร ศ ก า ร ศิ ล ป ะ ‘Menu’ โดย ฮิซาชิ คุราจิ ชาวญี่ปุ่น น�าเสนอผลงาน ภาพพิ ม พ์ สี โ มโนโครม เทคนิคผสมที่งดงามด้วย รู ป ทรงของสิ่ ง ต่ า งๆ ใน ชีวิตประจ�าวัน ซึ่งตัดทอน และต่อเติมด้วยจินตนาการ ของศิลปิน เพือ่ ค้นหารูปแบบ การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ภาพพิ ม พ์ ใ นแนวทางที่ แตกต่างและหลากหลาย วันนี้ถึง 17 กันยายน 2559 ณ อาร์ เ ดลเธิ ร ์ ด เพลส แกลเลอรี ซอยทองหล่อ 10 โทร. 0-2422-2092 (เว้นวัน อาทิตย์)
THU
19
SAT
20
SUN
21
25
Nakhon Chai Si นิ ท ร ร ศ ก า ร ศิ ล ป ะ ‘Nakhon Chai Si, stills from a daydreamed road movie’ โดย Lee Wei Swee ศิลปิน ลู ก ครึ่ ง สวิ ส -มาเลเซี ย น� า เสนอภาพถ่ า ยจาก เรื่องราวของ road movie ที่ จิ น ตนาการขึ้ น โดย ศิลปินได้รับแรงบันดาลใจ ในระหว่างการเดินทางไป จั ง หวั ด นครปฐม วั น นี้ ถึ ง 10 กั น ยายน 2559 ณ เธิ ร ์ ด ร็ อ ก แกลเลอรี ซอยพระรามเก้า 41 แยก 18 โทร. 08-7450-6116 (เฉพาะ วันพฤหัสบดีถงึ วันอาทิตย์)
ANIME FESTIVAL ASIA Thailand 2016 เทศกาลของคนชืน่ ชอบ อนิเมะ ‘Anime Festival Asia Thailand 2016’ พบกับ คอนเสิรต์ ศิลปินเพลงอนิเมะ จากญี่ปุ่น อาทิ Suzuko Mimori, Luna Haruna ฯลฯ พบปะเหล่ า นั ก พากย์ ในดวงใจ และกิ จ กรรม อีก ม า ก ม า ย วัน นี้ ถึง 2 1 สิ ง ห า ค ม 2 5 5 9 ณ รอยัล พารากอนฮอลล์ สยามพารากอน ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ พิ่ ม เ ติ ม www.facebook.com/ animefestivalasia
10 ปี ว่าน โซโล สุญญกาล อิสท์ อะโลนเวร่า นิ ท ร ร ศ ก า ร ศิ ล ป ะ คอนเสิรต์ ‘สุญญกาล’ โดย อนุโรจน์ ร่ ว มฉลองครบรอบ 10 ปี ชีวิตในวงการบันเทิง ของ ว่ า น ธนกฤต กั บ คอนเสิ ร ์ ต ‘10 ปี ว่ า น โซโลอิ ส ท์ อะโลนเวร่ า คอนเสิรต์ ตอน คนดีศรีขาว จ๋อง’ ร่วมด้วยแขกรับเชิญ พิ เ ศษ อ๊ อ ฟ ปองศั ก ดิ์ , แพท วง Klear, รัฐ Tattoo Colour และ บอย ตรัย วันนี้ เวลา 19.00 น. ณ อิมแพ็ก อารี น า เมื อ งทองธานี จ�าหน่ายบัตรทีไ่ ทยทิกเก็ต เมเจอร์
จันทร์โพธิ์ศรี การใช้พื้นผิว ที่กะเทาะเสริมเติมเข้าไป ผลงานจิ ต รกรรมจะเป็ น ตัวการส�าคัญที่ท�าให้สิ่งที่ เสื่อมสลายตามธรรมชาติ และภาพจิ ต รกรรมเดิ ม ที่พอเหลืออยู่ กลายเป็น งานสร้างสรรค์ทสี่ ะเทือนใจ ผู้ชม วันนี้ถึง 28 สิงหาคม 2559 ณ หอศิลป์จามจุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-3709
สํานักพิมพ์อะบุ๊ก รับสมัคร
อาร์ตไดเรกเตอร์ 1 ตําแหน่ง
กราฟิกดีไซเนอร์ 2 ตําแหน่ง
หากคุณหลงใหล ในการทําหนังสือ และใช้โปรแกรม ออกแบบได้คล่อง ขอให้ลองส่งประวัติ และผลงานมาที่ abookrecruit@gmail.com
SELECTIVE
The Spirits Within เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
ความเชื่อมั่นในปรัชญาและศาสนาอันแรงกล้าของ เอ็มโซเฟียน เบญจเมธา ช่างปั้นเซรามิกเจ้าของแบรนด์ Benjametha Ceramic นอกจากจะถ่ายทอดผ่านบทสนทนาอันคมเข้มของชายคนนี้แล้ว ผลงานศิลปะที่กลั่นกรองออกมาจากฝีมือของเขา และสิ่งของที่อยู่รอบตัวทุกชิ้น ก็ช่วยบอกเล่าถึงตัวตนของศิลปินชาวปัตตานีคนนี้ได้เป็นอย่างดีเช่นกัน
01
02 03
04
05 02
07
09 10 06
08
1. แผ่นป้ายเตือนใจ “ส�ำหรับผม ดินคือรำกเหง้ำ คือปัตตำนี ต่อให้ไปอยูท่ ไี่ หนก็ตำม ยังไงผมก็ตอ้ งกลับมำอยูบ่ ำ้ นของตัวเอง” 2. เครือ่ งมือปัน้ ดิน “ท�ำให้นกึ ถึงควำมผูกพันของผมกับพีช่ ำยทีเ่ ขำเคยให้เครือ่ งมือปัน้ กับผม ตอนยังเด็ก” 3. พระมหาคัมภีรอ์ ลั กุรอาน “ผมเป็นมุสลิม ผมจึงอยำกรูค้ วำมหมำยของพระมหำคัมภีรม์ ำกกว่ำกำรท่องจ�ำอย่ำงเดียว” 4. แก้วน�า้ พกพา “ผมชอบกำรออกแบบทีเ่ รียบง่ำยของแก้วใบนี”้ 5. ชุดมีดพับ “ควำมพิเศษ ของมีดพับชุดนีค้ อื เป็นคอลเล็กชันทีด่ ำ้ มจับท�ำจำกไม้” 6. ถ้วยน�า้ เซรามิก “เป็นงำนชิน้ แรกๆ ทีผ่ มท�ำเมือ่ กลับมำอยูบ่ ำ้ น ซึง่ รูปทรงและลวดลำยได้แรงบันดำลใจจำกกระปุกใส่ยำของแม่ทเี่ รำเคยเห็นตอนเด็กๆ” 7. แผ่นกระเบือ้ ง เซรามิก “กำรแตกลำยของกระเบือ้ งส�ำหรับผม คือสัญญำณทีบ่ อกถึงควำมงำมทีอ่ อกแบบไว้ผำ่ นเนือ้ ดิน และกำรมีชวี ติ ” 8. แว่นตากันแดด 9. ลูกข่างไม้ “ผมชอบดีไซน์ของกรงนกเขำทีค่ นทำงใต้ชอบเลีย้ ง จึงเอำมำประยุกต์กบั ลูกข่ำงไม้ชนิ้ นี”้ 10. การ์ดแต่งงาน “ในพระมหำคัมภีรอ์ ลั กุรอำนได้กล่ำวไว้วำ่ หนึง่ ในสัญญำณทัง้ หลำยจำกพระองค์คอื กำรเลือกคูค่ รองให้แก่พวกเจ้ำจำกตัวของพวกเจ้ำเอง เจ้ำเป็นคนอย่ำงไรก็จะได้คคู่ รองอย่ำงนัน้ ”
SUPERMARKET
To Live Well is To Eat Well ฉบับนี้เราพาคุณมุ่งหน้าลงสู่จังหวัดปัตตานี ท�าความรู้จักผลไม้ขึ้นชื่อและวัตถุดิบท้องถิ่นจากปักษ์ใต้ เพราะความแตกต่างของวัฒนธรรมการกินในแต่ละภาคของประเทศไทยคือเสน่ห์ที่หาไม่ได้จากที่ไหน จนกว่าคุณจะลอง เปิดตา เปิดใจ รวมถึงเปิดปาก เพื่อลิ้มชิมรสสารพัดเมนูอาหารมุสลิมสุดคลาสสิกเหล่านี้
SATAY
GHEE
JACKFRUIT
SQUID
VELVET TAMARIND
SHORT MACKEREL
SALTED DUCK EGG
BITTER BEAN CURRY POWDER
DRIED SHRIMP
RICE VERMICELLI
ROTI
GHEE กี หรือเนยแขก มาจากการสกัดก้อนนม เพือ่ ให้ได้ ไขมันเนยล้วนที่ก�าจัดน�้าออกไปจนหมด นิยมใส่ ในโรตีหรือขนมอบเพือ่ เพิม่ รสชาตินมุ่ ลิน้ หรือใช้แทน น�า้ มันในการทอดเพือ่ ให้ได้กลิน่ หอมหวานของนม CURRY POWDER ผงกะหรี่ เครื่องเทศสีเหลือง มีส่วนประกอบของ สมุ น ไพรหลายชนิ ด ใช้ ป รุ ง แต่ ง รสชาติ กลิ่ น เติมสีสันให้กับอาหาร อย่างเช่น แกงกะหรี่แบบ ปักษ์ใต้ ที่น�าผงกะหรี่ไปเคี่ยวกับกะทิจนแตกมัน แล้วใส่ผกั และเนือ้ สัตว์ จะได้รสชาติหวานมันเผ็ด RICE VERMICELLI เส้นหมี่ เส้นก๋วยเตี๋ยวท�าจากข้าว ใช้ท�ารอเยาะ อาหารว่างมุสลิมขึน้ ชือ่ โดยใช้เส้นหมีล่ วก เต้าหูท้ อด กุง้ ชุบแป้งทอดหัน่ เป็นชิน้ โรยด้วยถัว่ งอก แตงกวา และไข่ต้ม ก่อนเสิร์ฟเย็นคล้ายสลัด ROTI แป้งโรตี ใช้ท�าโรตีมะตะบะ โดยห่อไส้เนื้อสัตว์ คลุกเคล้าเครื่องเทศที่ปรุงสุก ก่อนน� าไปทอด ทานคูก่ บั อาจาดหรือผักดองในน�า้ ส้มสายชู หรือท�า ของหวาน โดยน�าไปทอดกับไข่แล้วโรยนมน�า้ ตาล JACKFRUIT ขนุน ใช้ทา� ขนมได้หลายชนิด ใส่ลอดช่องรวมมิตร หรือน�าไปอบแห้ง คนมลายูใช้ท�านาซิกายอเวาะนากอ หรือสังขยาขนุน โดยน�าขนุนฉีกคลุกไข่ เคี่ยวกับน�้าเชื่อมจนแห้ง ทานกับข้าวเหนียว VELVET TAMARIND ลูกหยี ผลไม้ทอ้ งถิน่ ของภาคใต้เรือ่ ยไปถึงประเทศ มาเลเซีย มีรสหวานอมเปรีย้ ว วิตามินซีสงู ไม่นยิ ม ทานสด แต่จะน�ามาแปรรูปเป็นลูกหยีกวน ลูกหยี ทรงเครือ่ ง ลูกหยีตากแห้ง และน�า้ ลูกหยี ผลิตภัณฑ์ ขึ้นชื่อจากปักษ์ใต้ SALTED DUCK EGG ไข่เค็ม เป็นอาหารพื้นบ้านของไทยตั้งแต่โบราณ สามารถน�าไปท�าของหวาน สอดไส้ขนมเปี๊ยะ ขนมไหว้พระจันทร์ และปรุงเป็นของคาวได้เช่นกัน ชาวใต้นิยมทานกับข้าวย�า เพื่อให้รสเค็มตัดกับ รสเปรี้ยวของส้มโอ และรสหวานจากน�้าบูดู DRIED SHRIMP กุ้งแห้ง คือกุ้งต้มแล้วน�าไปตากแดดจนแห้ง เพื่อ ถนอมให้สามารถเก็บได้นานยิ่งขึ้น ทานขบเคี้ยว เล่นได้ ชาวปักษ์ใต้นิยมน�ามาป่นใส่ในข้าวย�า พร้อมผักและสมุนไพรสด ราดด้วยน�้าบูดู หรือ น�้าปลาหมักรสเค็ม มีกลิ่นคาวปลา SHORT MACKEREL ปลาทู นอกจากน�้ า พริ ก กะปิ ป ลาทู ท อดแล้ ว อีกหนึง่ ของว่างพืน้ บ้านยอดนิยมจากปัตตานีทใี่ ช้ ปลาทูเป็นส่วนประกอบ คือซอเลาะลาดอ โดยน�า ปลาทูโขลกกับมะพร้าว กระเทียม หอมแดง ไข่ไก่ ยัดไส้พริกหยวกแล้วน�าไปต้มกะทิ SATAY สะเต๊ะเนื้อและไก่ ลักษณะคล้ายหมูสะเต๊ะของ ทางภาคกลาง ใช้เนื้อสันแล่เป็นชิ้นเล็กๆ หมักกับ ซีอวิ๊ ขาว ตะไคร้ ขมิน้ ผง น�าไปย่างไฟอ่อน ราดน�า้ แกง ท�า จากกะทิผัด พริก แดง ถั่ว ลิส ง มะขามเปี ย ก ชาวปัตตานีนิยมทานเคียงอาจาด BITTER BEAN สะตอ กลิ่นฉุนจัด รสชาติหวานมัน มีสรรพคุณ ขั บ ลมในล� า ไส้ น� า ไปต้ ม ทั้ ง ฝั ก จนเปลี่ ย นสี จะท�าให้แกะเมล็ดออกง่าย จากนัน้ น�าไปผัดกับกุง้ คลุกกะปิสด เป็นเมนูผดั สะตอกุง้ สด SQUID หมึก สามารถน�ามาท�าของหวานได้เช่นกัน เมนู ตูปะซูตง ถือเป็นขนมหวานหายาก โดยน�าหมึก มายัดข้าวเหนียว จากนั้นต้มด้วยกะทิจนแตกมัน ปรุงรสด้วยน�้าตาลแว่น เคี่ยวจนงวดพร้อมทาน
HOME MADE
The Best Journey Takes You Home เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ, มิ่งขวัญ รัตนคช ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
สายลมเอื่อยๆ พัดพาความร้อนระอุจากคาบสมุทรมาใกล้ๆ ท�าให้มองอะไรก็กลายเป็นสีส้มอมแดดไปเสียหมด เว้นแต่บ้านกล่องทรงโมเดิร์น สีเทาที่ตั้งโดดเด่นอยู่ท่ามกลางสีสันจัดจ้านของปัตตานีหลังนี้ของ ‘กิ่ง’ - นันทกา สะอาด เจ้าของร้านกาแฟรสชาติกลมกล่อมที่เบตง และเธอก็ท�าให้ประหลาดใจอีกครั้งเมื่อเราเปิดประตูเข้าไปเจอกับลวดลายแบบมลายู ซึ่งผสมผสานกันได้ลงตัวอย่างไม่น่าเชื่อ
“ที่ที่มีครอบครัว”
พบกับ a day BULLETIN และ a day BULLETIN LIFE ุงเทพฯ ได้แล้ววันนี้ที่สตาร์บัคส์ 40 สาขาทั่วกร
จุดเริ่มต้นของบ้านหลังนี้ “แต่ก่อนตอนเราอยู่ กรุงเทพฯ ก็มคี วามสุขนะ แต่ถงึ จุดหนึง่ เรารูส้ กึ ว่า เหนือ่ ยเหลือเกิน ใช้พลังเยอะ (หัวเราะ) ก็เลยย้าย กลับมาอยู่ใกล้ๆ ญาติพี่น้อง อยู่กับครอบครัว หนึง่ วันในกรุงเทพฯ กับในปัตตานีมนั ต่างกันมาก จริงๆ เราเชื่อ ว่าคนที่เคยใช้ ชีวิต ที่ต ่ า งจัง หวัด จะรู้สึกว่าเวลาที่บ้านเกิดเดินช้ากว่ากรุงเทพฯ วันๆ หนึ่งท�าอะไรได้หลายอย่าง ซึ่งบ้านหลังนี้ ก็เพิ่งสร้างเสร็จและเข้ามาอยู่ได้ปีเดียว เป็นที่ดิน เก่าของคุณพ่อคุณแม่” สไตล์การออกแบบและตกแต่งบ้าน “คอนเซ็ปต์หลัก ในการออกแบบคือ ขอให้บ้านโปร่งเข้าไว้ หันหา ทิศทางลม หน้าต่าง ประตูต้องใหญ่ บ้านหลังนี้ ไม่ ไ ด้ ต กแต่ ง ภายในมาก ส่ ว นใหญ่ จ ะเน้ น ที่ งานโครงสร้าง เราชอบศิลปะที่ดูแขกๆ มีสีสัน มีลวดลาย ได้อารมณ์มลายู ชอบประตูบานเฟีย้ ม ฉากกั้ น ที่ มี ร ายละเอี ย ด ชอบกระจกที่ มี สี สั น พวกวัสดุที่ใช้ก็ให้ดูเป็นธรรมชาติ เพราะถ้าเราใช้ วัสดุจริงจะท�าให้บา้ นไม่แข็งกระด้าง จะดูออ่ นลง” สีสนั ของบ้านทีส่ ะท้อนผ่านตัวตน “เวลาไปตาม โรงแรมแล้วเห็นเขาเล่นผนังสีจะชอบมาก เลย อยากให้บ้านเราเป็นแบบนั้น เข้าบ้านมาเจอผนัง สีเหลือง เดินมาหน่อยเจอสีเขียว ซึง่ สถาปนิกก็จะช่วย ให้ค�าแนะน�าเรื่องการใช้สีว่าต้องเป็นสีโทนไหน มันถึงจะแมตช์กัน เป็นเรื่องของการผสมผสาน ถ้าเราเลือกเองอาจจะเลอะ อาจจะแจ๊ดไป (หัวเราะ) เราเป็นคนชอบสีดุ บ้านเราถือว่าน�าเทรนด์บา้ นสีดุ ละแวกนีเ้ ลยนะ เมือ่ ก่อนคนจะไม่กล้าเล่นพวกสีเทา เขาจะเน้นสีลูกกวาด สีสดๆ แล้วพอเราสร้าง เรา
ก็เริ่มเห็นบ้านสีเทามากขึ้น ไม่รู้คิดไปเองหรือ เปล่านะ (หัวเราะ) เราคิดว่าความชอบในสีสัน มั น เป็ น ไปตามวั ย ด้ ว ย ตอนนี้ เ ราชอบสี นี้ มีความสุขกับสีนี้ในบ้านของเรา แต่ในอนาคต ต่อไปก็ไม่แน่ (หัวเราะ)” ความสุขที่ ได้จากบ้านหลังนี้ “มีความสุขทีส่ ดุ ก็ตอนที่อยู่กันครบทุกคนนี่แหละ ทุกคนมีมุม ของตัวเอง ลูกอยู่ในสนาม สามีท�านู่นนี่ก๊อกๆ แก๊กๆ ในบ้าน เราอยู่ในครัว คุณตาคุณยาย ก็มีมุมดูทีวี อ่านหนังสืออะไรไป เพราะในบ้าน มี ค นหลายช่ ว งวั ย อาศั ย อยู ่ เลยแบ่ ง พื้ น ที่ ส�าหรับการใช้สอยทีแ่ ตกต่างกันไปตามมุมต่างๆ ของบ้าน มีทวี่ งิ่ เล่นให้ลกู มีตน้ ไม้ให้คณ ุ ตาคุณยาย ส่วนเราอยูต่ รงไหนก็ได้ (หัวเราะ) เราเตรียมพืน้ ที่ ชั้นบนไว้ให้ลูก ซึ่งจะมีสีสันมากเป็นพิเศษ แต่ ตอนนีท้ กุ คนยังอยูก่ นั ทีช่ นั้ ล่างนะ เพราะลูกยัง ไม่ได้แยกห้องนอน แต่วนั หนึง่ ถ้าเขาโตพอจะแยก เราค่อยขึน้ ไปจัดการพืน้ ทีช่ นั้ บน ตอนนีข้ า้ งบน ก็เป็นห้องนอนแขกไปก่อน โปรเจ็กต์ถดั ไปทีจ่ ะท�า ในบ้านคือจัดตกแต่งสวน และจะท�าสระว่ายน�า้ ตอนลูกโตกว่านี้อีกหน่อย เพราะตอนนี้ลูก ยังเด็กและซนมาก กลัวพลัดตกลงไป”
• ของชิ้นโปรดของคนในบ้าน... เรามี แทรมโพลีนที่เล่นกันทั้งบ้าน มันจะช่วย พวกเรือ่ งกระดูกและการทรงตัวของเด็กด้วย • กิ จ กรรมยามว่ า งในครอบครั ว ... บ้านเราจะท�ากิจกรรมตอนเย็นๆ กันทีส่ วน ลูกคนโตวิ่งเล่นไป เรายืนอุ้มลูกคนเล็ก คอยให้กา� ลังใจ (ยิ้ม) • เมนูโปรดประจ�าบ้าน... ขนมจีน แกงส้ม ถ้าเป็นมื้อพิเศษจะท�าแกงเป็ด
• เซ็นทรัล ลาดพร้าว ชั้น 2 • เซ็นทรัล พระราม 9 ชั้น 1 • สยามพารากอน ชั้น 1 • สยามพารากอน ชั้น 3 • สยามเซ็นเตอร์ ชั้น 3 • เซ็นทรัลเวิลด์ ชั้น 3 โซน A • Big C เอกมัย • เอ็มโพเรียม ทาวเวอร์ • เอ็มโพเรียม มอลล์ ชั้น 5 • จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส • ทองหล่อ (ระหว่างทองหล่อ ซ.11 และ 13) • มาร์เก็ตเพลส ทองหล่อ ซ.4 • เอ็มไพร์ ทาวเวอร์ ชั้น G • ออล ซีซัน เพลส • อาคารอือ้ จือเหลียง ชัน้ G • หลังสวน • สีลมคอมเพล็กซ์ • ไทมส์ สแควร์ ซ.สุขมุ วิท 12 • ไทยพาณิชย์ปาร์กพลาซ่า ชั้น 1 • จามจุรีสแควร์ • The 19th. ชิดลม • อาคารเมืองไทยภัทรคอมเพล็กซ์ • IDEO พญาไท • โรงพยาบาลบ�ารุงราษฎร์ ชั้น 1 • โรงพยาบาลบ�ารุงราษฎร์ สกายล็อบบี้ ชั้น 10 • โรงพยาบาลสมิติเวช ซอยสุขุมวิท 49 • โรงพยาบาลกรุงเทพ ชั้น 1 • โรงพยาบาลรามาธิบดี • โรงพยาบาลพระราม 9 •The Crystal • CDC • RCA • นวมินทร์ซิตี้อเวนิว • นวมินทร์ทาวน์เซ็นเตอร์ • The Nine Center • Terminal 21 • The Walk เกษตร-นวมินทร์ • The Promenade • The Scene ทาวน์อินทาวน์
ailand • SOHO Th ง อ ื เม ถนนบ�ารุง n ถนนจนั ทน์ • Vanilla Mooare 1 • Siam Squ ามย่าน • I’m Park ส Mall วัชรพล • Plearnary ังหิน • The JAS ว • ท่ามหาราช าวเวอร์ • อาคารซันท ุลราฮิมเพลส • อาคารอับด รทาวเวอร์ • อาคารสินธลพญาไท 2 • โรงพยาบา r • EmQuartieรซิตี้ทาวเวอร์ • อาคารสาธ River Walk • Yodpiman ระราม 9 • U-Place พ
MAKE A DISH
Fried Rice With Anchovy Sauce เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ, พิมพ์อร นทกุล ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
ว่ากันว่า เรายังไปไม่ถึงที่ ถ้ายังไม่ได้ชิมอาหารพื้นเมืองเสียก่อน การมาเยือนจังหวัดปัตตานีในครั้งนี้ เราจึงต้องขอแวะมาลองทาน ข้าวผัดบูดู จานเด็ดของห้องอาหารบุหงารายา ที่โรงแรมซี.เอส.ปัตตานี ซึ่งขึ้นชื่อในเรื่องของอาหารพื้นเมืองที่มีหลากหลายเมนูให้เลือก และได้พบว่าถ้าทานข้าวผัดบูดูคู่กับชาชักชื่อดังของที่นี่ จะยิ่งท�าให้เมนูจานนี้เอร็ดอร่อยเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัว
Chef จ�าเนียร โนรี
FRIED RICE WITH ANCHOVY SAUCE (BUDU)
ราคา : 100 บาท
INGREDIENTS น�้ า บู ดู / กุ ้ ง สด / มะนาว / หอมแดง / น�า้ ตาลทราย / สะตอ / พริกซอย / ตะไคร้ / ใบมะกรูด
CHEF'S INSPIRATION ข้าวผัดบูดูเป็นเมนูเอกลักษณ์ของอาหารพื้นเมืองของทางสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ น�้าบูดูที่เราใช้เป็นผลิตภัณฑ์ของอ�าเภอสายบุรี เมนูนี้เป็นเมนู ขึน้ ชือ่ ของโรงแรมเรา โดยผักทีน่ า� มาใช้เป็นเครือ่ งเคียงก็เป็นผลิตผลตามฤดูกาล จากคนในท้องที่ เพราะเราต้องการที่จะสนับสนุนให้ชาวปัตตานีได้มีส่วนร่วม ในธุรกิจของชุมชน
TIPS วัตถุดบิ ทีเ่ ราใช้จะสดใหม่ตลอด กุ้งก็ต้องกุ้งสด สะตอที่อยู่ในข้าว ก็ต้องสด จะได้มีรสหวาน อาหาร จานนี้ ถ ้ า ทานคู ่ กั บ ผั ก สดรสชาติ จะกลมกล่อมมาก
THE 5IVE
Dream a Little Dream of Me เรื่อง : นภษร ศรีวิลาศ, ทรรศน หาญเรืองเกียรติ
จุดเริ่มต้นที่ท�ำให้ อุมมีสาลาม อุมาร นักเขียนหญิงรุ่นใหม่ชำวปัตตำนี เจ้ำของรำงวัล Young Thai Artist Award สำขำวรรณกรรม และรำงวัลเซเว่นบุ๊คอวอร์ด ครั้งที่ 12 ประจ�ำปี 2558 จำกงำนรวมเรื่องสั้น กลางฝูงแพะหลังหัก นอกจำกควำมสนใจในกำรเขียนหนังสือส่วนหนึ่งของเธอจะมำจำก ควำมต้องกำรที่จะสะท้อนวิถีชีวิตของชำวมุสลิมแล้ว หนังสือ 5 เล่มนี้ยังเป็นตัวจุดประกำยให้เธออยำกเขียนหนังสือของตัวเองขึ้นมำด้วย
01 ต้นส้มแสนรัก โดย โจเซ่ วาสคอนเซลอส
แปลโดย มัทนี เกษกมล
“เป็นหนังสือเล่มที่เราอ่านบ่อยที่สุด เราชอบภาษาที่ใช้ในเล่มมาก เป็นภาษาง่ายๆ แต่ดา� เนินเรือ่ งราวอย่างน่าประทับใจ เป็นอีกหนึง่ เล่มที่ สร้างแรงบันดาลใจให้เราอยากเขียนหนังสือได้แบบนีบ้ า้ ง ซึง่ เรือ่ งราวชีวติ ของตัวละครในเรือ่ งคล้ายกับชีวติ จริงของเรามาก ท�าให้รสู้ กึ เข้าใจและอิน เป็นพิเศษ เหมือนได้เจอเพือ่ นทีเ่ ข้าใจเรา เล่มนีเ้ ราได้รบั มาจากห้องสมุด ของโรงเรียนสมัยประถม คุณครูมอบให้เพราะเห็นว่าเรายืมไปอ่าน หลายครั้งมาก ยิ่งเวลาผ่านไปเท่าไหร่ เรากลับมาอ่านอีกกี่ครั้งก็รู้สึก ประทับใจเรือ่ งราวมากขึน้ ๆ ทุกครัง้ ” 02 แผ่นหลังพ่อ โดย แพร จารุ “เรื่องราวของครอบครัวหนึ่งในจังหวัดนครศรีธรรมราช พูดถึงเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อและลูกๆ ตั้งแต่เล็กจนถึงวันที่พ่อป่วยเป็น โรคมะเร็ง ซึง่ ตัวผูเ้ ล่าจะค่อยๆ บรรยายถึงฉากตัง้ แต่เล็กทีข่ แี่ ผ่นหลังพ่อ ก่อนจะค่อยๆ เร้าอารมณ์ผอู้ า่ น เราอ่านตัง้ แต่ตอนเป็นเด็ก และรูส้ กึ พิเศษ กับหนังสือเล่มนีม้ ากๆ”
“แช่ในน�้าอุ่นให้ท่วมก�าลังดี และทิ้งไว้ครึ่งชั่วโมง เห็ดจะค่อยๆ บานออกและเนื้อนุ่ม แล้วจะปล่อยกลิ่นฉุนแรงออกมาและท�าให้น�้าที่แช่ ไว้เป็นสีน�้าตาลเข้ม” รสรัก รสพิศวาส
03 รสรัก รสพิศวาส โดย ลิลลี่ ไพรเออร์
“ฉันคิดว่าเธอเป็นคนตัวเล็กๆ ที่กล้าหาญนะ ทีนี้เรามาดูซิว่าเธอจะพิสูจน์ ได้ ไหมว่าเธอเป็นอย่างนั้นจริงๆ”
แปลโดย งามพรรณ เวชชาชีวะ
“พอโตขึน้ มาเราจะเริม่ ชอบนวนิยายทีม่ เี รือ่ งราวหรือฉาก เกีย่ วกับการท�าอาหารมาก เพราะส่วนตัวเราชอบท�าอาหารอยูแ่ ล้ว ซึง่ เรือ่ งนีแ้ ตกต่างจากนวนิยายท�าอาหารทัว่ ไปเพราะเรารูส้ กึ เต็ม มากกว่า อิม่ มากกว่า มีทงั้ เรือ่ งราวและอารมณ์ทเี่ กีย่ วกับผูห้ ญิง ความรัก และการท�าอาหารซึ่งส่วนใหญ่เป็นเมนูท้องถิ่นที่เรา ไม่คนุ้ เราชอบวิธกี ารเล่าของผูเ้ ขียนทีเ่ หมือนจะเฉลยแต่กไ็ ม่เฉลย หรือการบรรยายฉากทีท่ า� ให้จนิ ตนาการภาพตาม เช่น ตอนที่ ตัวละครท�าอาหารและกลิน่ หอมคละคลุง้ ปลุกคนทีห่ ลับใหล”
ต้นส้มแสนรัก
04 เสียงแห่งขุนเขา โดย
ยาสึนาริ คาวาบาตะ แปลโดย อมราวดี
“เราตามหาหนั ง สื อ เล่ ม นี้ เพราะเคยอ่านตอนเด็กๆ แล้ว ติดตากับฉากการเดินทางด้วย รถไฟของพ่อกับลูกชายที่ผ่านวิว ต้นสนข้างทาง The Sound of the Mountain หรือ เสียงแห่งขุนเขา เป็ น วรรณกรรมเอกแห่ ง เอเชี ย ที่ได้รับรางวัลโนเบลเมื่อปี ค.ศ. 1968 เป็นเรือ่ งราวของครอบครัว ญี่ ปุ ่ น ครอบครั ว หนึ่ ง กั บ ความเจ็บปวดที่เกิดจากจิตใจที่สับสน ในช่วงยุคหลังสงคราม หรืออย่าง เรื่ อ งราวการนอกใจของสามี ทีส่ ง่ ผลให้ภรรยาตัดสินใจท�าแท้ง”
05 มาทิลดา นักอ่านสุดวิเศษ โดย โรอัลด์ ดาห์ล
แปลโดย สาลินี ค�าฉันท์
“ส่วนตัวเราชอบอ่านงานของ โรอัลด์ ดาห์ล อยู่แล้ว เรารู้สึกว่า เราและมาทิลดามีอะไรคล้ายกันอยู่ เช่น ความชอบในการอ่านหนังสือ ตั้ ง แต่ เ ด็ ก แม้ เ ราอาจจะไม่ ถึ ง ขั้ น มาทิ ล ดาที่ เ ป็ น อั จ ฉริ ย ะมากๆ แต่ ก็ เ ป็ น การจุ ด ประกายให้ เ ราอยากที่ จ ะเป็ น แบบเขา หนั ง สื อ เล่มนี้สอนเราว่าการอ่านมากๆ จะช่วยท� าให้เราค้นพบเส้นทาง หรือแนวคิดทีเ่ ป็นของตัวเราเอง ได้เห็นความส�าคัญของการมีหนังสือ เป็นเพื่อน”
OUT THERE
Langkawi หลังจากทีอ่ า่ นเรือ่ งราวของความรืน่ รมย์ในจังหวัดปัตตานีอย่างเพลิดเพลินแล้ว ก็ถงึ เวลาข้ามน�า้ ข้ามทะเลไปเกาะในประเทศเพือ่ นบ้าน อย่างเกาะลังกาวี ประเทศมาเลเซีย ทีเ่ ล่าขานกันว่าเป็นดินแดนต้องค�าสาป ถ้าพูดชือ่ ของเกาะนีเ้ มือ่ ไหร่ เรามักจะนึกถึงอาถรรพ์และความแค้น จนบางครัง้ ก็มองข้าม ความรืน่ รมย์และธรรมชาติทสี่ วยงามของเกาะแห่งนี้ เหมือนกับทีเ่ รามองข้ามจังหวัดปัตตานีอย่างไรอย่างนัน้
The ISLAND Facts เกาะลังกาวีตั้งอยู่ในทะเลอันดามัน ใกล้ ฝ ั ่ ง ทะเลตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ของ คาบสมุท รมาเลเซีย โดยอยู ่ ห ่า งจาก เกาะตะรุ เ ตา จั ง หวั ด สตู ล เพี ย งแค่ 4 กิโลเมตรเท่านั้น ชื่อของเกาะนี้ได้รับ พระราชทานจากสมเด็จพระราชาธิบดี สุลต่านอับดุล ฮาลิม แห่งมาเลเซีย โดย ชื่อแบ่งความหมายออกได้เป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือค�าว่า ‘ลัง’ ย่อมาจาก ‘ฮลัง’ แปลว่า นกอินทรี ส่วน ‘กาวี’ หมายถึง สีน�้าตาลแดง ซึ่งตรงตามลักษณะของ เกาะทีม่ นี กอินทรีอยูม่ ากมาย ทัง้ สายพันธุ์ Sea Eagle และ Brown Eagle
มีต�านานเล่าขานกันในหมู่ชาวลังกาวีว่า ในอดีตเกาะแห่งนี้เคยมีสุลต่านปกครอง โดยมีพระนางมะห์สหุ รีเป็นคูค่ รอง ต่อมานางถูกใส่รา้ ยว่าคบชู้ สุลต่านไม่พอใจจึงสัง่ ประหาร เสีย ก่อนสิ้นใจพระนางมะห์สุหรีจึงอธิษฐานว่า ถ้าหากนางบริสุทธิ์จริงและไม่ได้ทา� ความผิด ใดๆ ขอให้เลือดของนางกลายเป็นสีขาว และให้ทกุ คนในเกาะลังกาวีพบแต่ความทุกข์ทรมาน ไม่เจริญรุง่ เรืองไปอีกเจ็ดชัว่ อายุคน เมือ่ สิน้ ค�าอธิษฐาน เพชฌฆาตจึงประหารนาง แล้วพบว่า เลือดที่ไหลออกมาเป็นสีขาวจริงๆ
แม้จะเป็นเกาะกลางทะเล แต่ในลังกาวีกม็ ภี เู ขาสวยๆ ให้ผคู้ นได้ขนึ้ ไป ชมวิวทิวทัศน์ อย่างเช่น Gunung Raya ทีไ่ ด้ชอื่ ว่าเป็นภูเขาทีส่ งู ทีส่ ดุ ในเกาะ แห่งนี้ แถมยังได้รบั ความนิยมอย่างมากในหมูน่ กั ท่องเทีย่ ว เนือ่ งจากสามารถ มองเห็นธรรมชาติจากความสูงที่ 881 เมตร ได้อย่างชัดเจน บริเวณเขาแห่งนี้ อุดมสมบูรณ์มาก จึงเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าหลายชนิดตั้งแต่ ค้างคาวแม่ไก่ ลิงกัง กระรอก เหยีย่ วภูเขา อินทรีทะเลปากขาว ไปจนถึงนกเงือก
"Malaysia is a country unlike any other : Full of promise and fragility. Its history, cultural and religious diversity make it a rich, compelling and surprising land."
หากเทีย่ วภูเขาและเต็มอิม่ กับบรรยากาศสีเขียว จนหน�าใจแล้ว ถ้าอยากลงไปชมวิวทิวทัศน์ใต้ทอ้ ง ทะเลก็สามารถไปทีอ่ ทุ ยานทางทะเลปูเลาปาเยอร์ หมูเ่ กาะทีต่ งั้ อยูท่ างตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะลังกาวี อยูห่ า่ งจากลังกาวีประมาณ 30 กิโลเมตรเท่านัน้ คนนิยมเรียกหมูเ่ กาะแห่งนีว้ า่ หมูเ่ กาะสีเขียวหยก ขึ้นชื่อเรื่องความสวยงามของโลกใต้นา�้ ทัง้ สัตว์นา�้ นานาชนิดและหมูป่ ะการังทีเ่ รียกกันว่า Coral Garden จนได้รับการขนานนามว่าเป็นอุทยานทางทะเลที่ สวยทีส่ ดุ บนชายฝัง่ ด้านตะวันตกของมาเลเซีย
Tariq Ramadan, a Swiss academic, philosopher and writer
จบทริปด้วยการชมวิวกลางท้องฟ้าที่สะพานลังกาวีสกาย สะพานข้ามเขาที่มีความยาวถึง 125 เมตร ให้เราได้เดินชม วิวทิวทัศน์ธรรมชาติและฟ้าใสแบบ 360 องศา สะพานแห่งนี้มีลักษณะโค้งเป็นพระจันทร์เสี้ยว ตั้งแต่ที่สร้างเสร็จสมบูรณ์ ก็มีคนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวแวะเวียนเข้ามาเยี่ยมชมไม่ขาดสาย ซึ่งหากใครไม่ชอบเดินก็สามารถใช้บริการกระเช้า ที่มีระยะทางถึง 2.2 กิโลเมตร เชื่อมต่อไปถึงยอดเขาที่มีความสูงอันดับสองในเกาะลังกาวี
แม้เรือ่ งราวของค�าสาปทีเ่ ล่าขานต่อๆ กันมา ตัง้ แต่อดีตจะยังเป็นเรือ่ งราวทีค่ นรุน่ หลังพูดถึง อยูเ่ รือ่ ยๆ แต่ตอ้ งยอมรับว่าเกาะลังกาวีไม่เหมือน เมื่อหลายปีก่อนแล้ว ลังกาวีในวันนี้กลายเป็น ปลายทางของนักเดินทางจากทั่วโลกที่เข้ามา ค้นหาและสัมผัสความสวยงามของธรรมชาติ โดยมองข้ า มต� า นานโศกเศร้ า จากในอดี ต ที่เคยบดบังความงดงามที่ซ่อนไว้ ณ เกาะ ที่มีชื่อว่า ลังกาวี แห่งนี้ WHAT YOU NEED TO KNOW เว็บไซต์การท่องเทีย่ วมาเลเซีย http://malaysia.travel/th-th การเดินทาง โดยสารเครือ่ งบินหรือรถทัวร์ไปลงทีอ่ า� เภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ต่อรถตูโ้ ดยสาร ไปท่าเรือต�ามะลัง จังหวัดสตูล เพือ่ ต่อเรือ ไปยังเกาะลังกาวี 29
THE WORD
Constantly talking isn't necessarily communicating.
3:47 PM
3:48 PM
3:49 PM
การพูดไปเรื่อย ไม่จ�าเป็นต้องเป็นการสื่อสารเสมอไป
- Charlie Kaufman -
3:49 PM