ISSUE 97 I 15 - 21 JANUARY 2016
ปีที่ 2 ฉบับที่ 97 วันที่ 15 - 21 มกราคม 2559
NOTE ON LIFE
Happy Bittersweet Life “ในที่สุดแล้ว ชีวิตมันก็ไม่แย่นักหรอก” เราได้ยินประโยคนี้บ่อยครั้ง เมื่อพูดคุยกับผู้คนมากหน้าหลายตา บางคนเกี่ยวข้องเพราะหน้าที่การงาน ขณะที่บางคนเป็นคนคุ้นเคย ไม่ตอ้ งไปเสียเวลาค้นหาว่าใครเป็นคนพูดประโยคนัน้ เป็นคนแรก เพราะมันเป็นความจริงของชีวติ ทีใ่ ครจะพูดก็ได้ ขอเพียงผ่านพ้นช่วงขมขื่นของชีวิตมาก่อน ย่อมสามารถอธิบายความหวานที่รออยู่ปลายทางได้ พี่คนหนึ่งเลิกกับสามีที่อยู่ด้วยกันมาสิบกว่าปีเพราะทัศนคติไม่ตรงกัน แกไม่หวังพึ่งพาใครอีก แต่ย้ายออกมาเปิดร้านขายของอย่างขยันขันแข็ง “พี่ไม่เครียดหรอก เราท�ามาหากินได้ สบายใจกว่าอยู่กับเขา แล้วชีวิตหยุดอยู่กับที่ ท�าอะไรก็ต้องมาคอยห้าม” ส�าหรับแก การห้ามไม่ใช่ความรัก การให้อิสระต่างหากที่ใช่ คุณลุงอีกคน ท�าธุรกิจร้านขายข้าวแกงขาดทุนอยู่เป็นปี เครียดจนล้มป่วย ท�าท่าว่าต้องเลิกกิจการ แต่ลูกๆ คิดขึ้นได้ว่า พ่อเคยขายข้าวเลี้ยงลูก วันนี้ลูกก็แค่ต้องมาขายข้าวเลี้ยงพ่อ และถ้ายังมีข้าวกิน ยังไงก็ไม่อด เลยลาออกจากงานมาช่วยกันเปิดร้านใหม่ ในที่สุดลูกค้าก็หลั่งไหลเข้ามาจนตั้งตัวได้อีกครั้ง ไม่มีชีวิตใครไม่ขมขื่น อยู่ที่เราเชื่อหรือเปล่าว่า จุดที่ขมที่สุดมันต้องผ่านไป วิไลรัตน์ เอมเอี่ยม บรรณาธิการบริหาร Twitter : @khaopan www.facebook.com/adaybulletin
CONTENTS
4 The Stuff
6 Feature
12 Calendar
14 Supermarket
สารพัดสิ่งรอบตัวเรา ทีเ่ ล่าผ่านตัวเลข
แง้มดูรถบ้านของคน 3 คน ที่ไม่ได้หรูหรา เท่ากับการเช็กอินใน โรงแรม แต่ ก็ ส ร้ า ง ความทรงจ�าให้แตกต่าง อย่างประทับใจ
ใคร ท�าอะไร ที่ไหน เช็กดูได้ สุดสัปดาห์นี้ จะได้ไม่พลาด เรื่องราวสนุกๆ
ฉวยตะกร้ า คว้ า รถเข็น แล้วไปเดินเล่น จั บ จ ่ า ย กั บ เ ร า ใ น Supermarket แห่งนี้
18 Make a Dish
หนึ่ ง จานอร่ อ ยจาก ร้ า นดั ง ที่ เ ราอ ย า ก ชวนคุ ณ ไปลิ้มลอง
19 HOME MADE
20 Selective
22 Out There
26 THE WORD
บ้านทีส่ ร้างจากความเป็น ครอบครั ว ใหญ่ ข อง อาทิตย์ ลีลาสมานชัย เพื่อสร้างความอบอุ่น ให้ ค รอบครัว ได้ น าน เท่านาน
ข้าวของของสาว นักเดินทาง สุภลักษณ์ ศรบรรจง ทีไ่ ม่วา่ หยิบ ขึน้ มาดูอกี กีค่ รัง้ ก็ทา� ให้ อยากจะจัดทริปและ ออกเดินทางอยู่เสมอ
เพราะเราเชื่ อ ว่ าโลก ใ บ นี้ มี ส ถ า น ที่ มากมายรอให้ไป ค้นหา
พ ลิ ก มุ ม คิ ด ป รั บ มุ ม มอง กั บ ‘หนึ่ ง ถ้ อ ยค� า ... ที่ เ ปลี่ ย น ความคิด’
LETTER ครั้งแรกที่ได้อ่าน a day BULLETIN LIFE รู้สึกชอบมาก ทั้งเรื่องราวที่ให้แง่คิด และความสวยงามของรูปภาพ โดยเฉพาะคอลัมน์ Out There ที่ช่วยเปิดประสบการณ์การท่องเที่ยวให้กับเรา ท�าให้เราอยากออกไปเที่ยวบ้าง และที่สา� คัญ a day BULLETIN LIFE ท�าให้เราอ่านหนังสือมากขึ้นด้วย อยากให้ทีมงานผลิตงานดีๆ แบบนี้อีกเรื่อยๆ นะคะ - Chanikan
ส่งจดหมายติชม ทักทาย และให้คา� แนะน�า a day BULLETIN LIFE มาได้ที่ adaybulletinmagazine@gmail.com และสามารถติดตามความเคลือ่ นไหวและกิจกรรมดีๆ ได้ที่ Facebook/Twitter: a day BULLETIN และ Instagram: adaybulletinlife
A TEAM ทีป่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการผูพ ้ มิ พ์ผโู้ ฆษณา นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย บรรณาธิการอ�านวยการ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สงิ ห์ บรรณาธิการบริหาร วิไลรัตน์ เอมเอีย่ ม ซับเอดิเตอร์ / นักเขียน วสิตา กิจปรีชา บรรณาธิการบทความ ประพัฒน์ สกุณา เอกพล บรรลือ ห้วหน้ากองบรรณาธิการ วรรณวนัช ท้วมสมบูรณ์ กองบรรณาธิการ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ไอรดา รืน่ ภิรมย์ใจ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล นภษร ศรีวลิ าศ บรรณาธิการภาพ นิตพิ ฒ ั น์ สุขสวย ช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกติ ติบตุ ร ภาสกร ธวัชธาตรี วงศกร ยีด่ วง มณีนชุ บุญเรือง บรรณาธิการศิลปกรรม วีระยุทธ คงเทศน์ ศิลปกรรม กิตติ ศรีวเิ ชียร เอกพันธ์ ครุมนต์ตรี จิตต์โสมนัส กองแสง พิสจู น์อกั ษร หัสยา ตัง้ พิทยาเวทย์ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ไม้ลา� ดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝา่ ยผลิต วิทยา ภูท่ อง ทศพล บุญคง ทีป่ รึกษาฝา่ ยโฆษณา ศรวณีย ์ ศิริจรรยากุล ผูอ้ า� นวยการฝ่ายโฆษณา นุจนารถ สินธนาภัทร ผูจ้ ดั การฝ า่ ยโฆษณา ศุภลักษณ์ เลิศกาญจนวัฒน์ 09-2964-1635, พงศ์ธดิ า อังศุวฒ ั นากุล 09-4415-6241, มนัสนันท์ รุง่ รัตนสุทธิกลุ 08-4491-9241 ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การฝ่ายโฆษณา วาณี กนกวิลาศ 09-5592-9419, มาสสุภา เอีย่ มมงคลศิลป์ 08-5056-0083 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ธนาภรณ์ ศรีจฬุ างกูล 08-1639-1929, สุธาวัลย์ สุวรรณสิงห์ 08-1304-7070, ดวงใจ ดวงจังหวัด 08-6802-9996 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ผูจ้ ดั การ จัณฑรัศมิ์ เกียรติยศ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ ณัฐธยาน์ อึง้ ตระกูลนิธศิ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม ผูผ้ ลิต บริษทั เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วจิ ยั 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล adaybulletinmagazine@gmail.com เว็บไซต์ www.daypoets.com, www.godaypoets.com นักศึกษาฝึกงาน จรัตพร โมรา วัลญา นิม่ นวลศรี
STUFF 4
TIME KEEPERS หนึ่งในของชินตาในชีวิตประจําวัน ที่บางทีเราก็ลืมนึกไปว า นอกจากหน าป ดดิจิตอลหรือแอนะล็อกบนข อมือที่คุ นตาแล ว ยังมีรูปแบบการบอกเวลาอื่นๆ ที่คิดค นขึ้นมาก อนหน าอีกมาก บางอย างก็ยังใช กันมาจนป จจุบัน และจะสร างขึ้นในอนาคต ดังนั้น ถ าจะมีอะไรสักอย างที่อยู คู กับกาลเวลา เราว าก็น าจะเป นนาฬ กานี่แหละ
3,500
725
นาฬ ก าที่ เ ก า แก ที่ สุ ด เ ท า ที่ มี บั น ทึ ก อ ยู คื อ เสาโอเบลิสก (Obelisk) ถือกําเนิดขึน้ เมือ่ 3,500 ป ก อนคริสตกาล คาดว า คนโบราณใช การประมาณ เวลาจากเงาแดดที่ พ าด ลงมาจากเสา
17 นาฬ กาคุกคู เป นนาฬ กาลูกตุ มที่ทุกครั้งเมื่อครบ ชั่ ว โมงจะมี น กคุ ก คู โ ผล ม าพร อ มเสี ย งร อ งที่ เกิ ด จากกลไกแบบออร แ กน ถื อ กํ า เนิ ด ในเขต แบล็กฟอเรสต ของเยอรมนี ราวศตวรรษที่ 17 ได รบั ความนิยมอย างล นหลามจนกลายเป นของฝาก ยอดฮิต และถามใครก็ยังไม มีใครรู ว าทําไมถึงต อง เป นนกคุกคู
21 70
21 ล านเหรียญสหรัฐฯ คือค าลิขสิทธิ์ที่บริษัท แอปเป ล ต อง จ ายให การรถไฟของสวิตเซอร แลนด หลังจากที่มีคนพบว า หน าป ดนาฬ กาใน iOS 6 ดันไปเหมือนกับนาฬ กาที่พนักงาน ของการรถไฟสวิสออกแบบไว ในป 1944 ซึง่ เป นทัง้ สัญลักษณ ของสถานี ร ถไฟสวิ ต เซอร แ ลนด และสั ญ ลั ก ษณ แ ห ง ความตรงต อเวลาของคนสวิส
นาฬ ก าพั บ นาฬ ก าไร เ ข็ ม ที่ ใ ช ป า ยตั ว เลขบอกเวลา มี ก ลไกง า ยๆ ของชุ ด เฟ อ ง 2 ชุ ด ที่ ห มุุ น ด ว ยความเร็ ว ไม เท ากันพัฒนาขึ้นในอิตาลีช วงปลายยุค 40s เพื่อให ง าย ต อการอ านเวลา แต ไม รู ทําไมจึงมาได รับความนิยมใช เป น นาฬ ก าหั ว เตี ย งแทบทุ ก บ า นในยุ ค 70s เราคิ ด เอาเองว า เป น เพราะไม มี เ สี ย งติ๊ ก ต อ กรบกวนเวลานอนนั่ น เอง
มี บั น ทึ ก ว า นาฬ ก าดาราศาสตร จี น เกิ ด ขึ้ น ใน สมัยราชวงศ ถัง ราว ค.ศ. 725 โดยวิศวกรทหาร ชื่ อ เหลี ย นหลิ ง ซาน และพระนั ก ดาราศาสตร นั ก คณิตศาสตร และวิศวกรชื่อ อี้สิง โดยแรกเริ่มนั้น สร างขึน้ เพื่อเป นอุปกรณ ทางดาราศาสตร ที่บอกเวลา ได ถือเป นครั้งแรกที่มีการสร างนาฬ กาที่มีกลไกขึ้น นอกทวีปยุโรป
1,500 ราว 1,500 ป ก อนคริสตกาล ชาวอียิปต ได มีการปรับ รูปแบบเครือ่ งบอกเวลาให มขี นาดเล็กลง จนกลายเป น Egyptian Sundial นาฬ ก าแดดแบบอี ยิ ป ต และ ปรับปรุงมาเรื่อยๆ จนกลายเป นนาฬ กาแดดแบบที่เรา เห็นได ทั่วไปในป จจุบัน
นาฬ กาที่ใช เป นมาตรฐานเวลาทั่วโลกขณะนี้คือ Atomic Clock ซึ่งมีความคลาดเคลื่อนเพียง 1 วินาทีในระยะเวลา 30 ล านป และแม จะมีชื่อว าอะตอมมิกซึ่งทําให นึกถึงพลังงานนิวเคลียร แต ที่จริงแล วใช พลังงานกลจากหลักฟ สิกส เป นกลไกของนาฬ กา
FEATURE
Way Back Into Life การเดินทางด้วยบ้านเคลือ่ นทีน่ นั้ เดิมมาจากการย้ายถิน่ ฐานเพือ่ แสวงหาทรัพยากร อย่างเกวียนของผูอ้ พยพซึง่ มุง่ หน้าหาแผ่นดินใหม่ หรือเกวียนสีสดทีเ่ ปลีย่ นจุดหมายตามใจของกองคาราวานยิปซี แต่ในปัจจุบนั นี้ ‘รถบ้าน’ กลายเป็นอุปกรณ์เสริมเพือ่ เพิม่ ประสบการณ์เดินทาง ทีอ่ าจจะไม่สะดวกสบายเท่ากับการเช็กอินในโรงแรมหรู แต่กม็ เี สน่หบ์ างประการทีท่ า� ให้นกั เดินทางผูห้ ลงรักรถบ้านหลายคนถอนตัวไม่ขนึ้ ส่วนจะเพราะอะไรนัน้ สามนักเดินทางทีเ่ ราไปเคาะประตู (รถ) บ้านถามมา จะเป็นคนให้คา� ตอบ
KANJANAPORN & SUPPHAKARN PLODPAI เรื่อง : นภษร ศรีวิลาศ ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
เมื่อได้รู้ว่าเจ้าของรถบ้านที่เราก�าลังจะได้พูดคุยคือนักแสดงและผู้จัดละครที่เราติดตามผลงาน อยู่ตลอดอย่าง ‘เจี๊ยบ’ - กาญจนาพร ปลอดภัย และลูกชาย ‘เจย์’ - ศุภกาญจน์ ปลอดภัย ตอนแรกเราจึงแอบคิดไปถึงรถบ้านคันใหญ่โตตกแต่งหรูหรา แต่ปรากฏว่ารถบ้าน ของครอบครัวปลอดภัยที่ได้เห็นจริงๆ นั้นขนาดกะทัดรัด และท�าให้เราเผลออุทานค�าว่าน่ารัก ได้ตลอดเวลา แถมเรื่องราวที่มาและบรรยากาศของการใช้งานจริงๆ รวมถึงแผนการเดินทางครั้งต่อไป ของรถบ้านคันนี้ ก็ท�าให้เราได้แอบยิ้มตามอย่างไม่ทันรู้ตัว THE STARTING point :
กาญจนาพร : เราตัดสินใจว่าต้องมี รถบ้าน เพราะว่าการท�างานของเราบางทีตอ้ ง อยูใ่ นทีท่ ไี่ ม่มหี อ้ งน�้า หรือบางทีทา� งานทัง้ วัน ไม่สะดวกในเรื่องที่พัก อีกอย่างเราเป็นคน ชอบรถบ้านอยู่แล้ว เวลาเดินทางไปเที่ยว ต่างประเทศ ได้เห็นฝรัง่ เขาใช้รถบ้านเป็นเรือ่ ง ปกติมาก แล้วเราเป็นคนชอบขับรถ ก็คิดว่า น่าจะขับรถบ้านไหว แต่พอได้ศกึ ษาก็พบว่า รถบ้านมีหลากหลายรุ่น หลากหลายราคา จึงเลือกมองหาแบบที่พอดีกับเราทั้งในเรื่อง ราคาและขนาด จนมาเจอรถบ้านคันนี้ ซึง่ เป็น รถบ้านมือสองทีเ่ ราถูกใจตัง้ แต่ครัง้ แรกทีเ่ ห็น เลย ไม่ได้ตกแต่งสวยงามอะไรมากมาย เพราะว่ า ตั้ ง ใจเอาไว้ ใ ช้ ง านจริ ง ๆ เราจึ ง ไม่ได้ค�านึงถึงความสะดวกสบายในด้าน อื่นๆ หรือความหรูหราขนาดนั้น นี่ก็ได้ใช้ไป ถ่ายละครมาแล้ว 2-3 คิว ส่วนมากใช้ส�าหรับ พักผ่อน เพราะบางคิวใช้เวลาถ่ายทั้งวัน และมีคิวเช้าตรู่ในวันต่อมา รถบ้านจึงช่วย ประหยัดเวลาเดินทางและเพิ่มเวลาส�าหรับ พักผ่อนได้ ซึ่งก็ตรงกับความตั้งใจของเรา ทีจ่ ะใช้รถบ้านเป็นตัวช่วยให้มสี ขุ ภาพทีด่ ขี นึ้ WAY BACK INTO LIFE :
กาญจนาพร : ในรถมีที่นั่งกินข้าว ที่นั่ง คุย ทีน่ อน ห้องครัวเล็กๆ ห้องน�้ามีซงิ ก์นา�้ เล็กๆ มีตู้เสื้อผ้า การใช้รถบ้านท�าให้เรา รู้จักความเป็นระเบียบ รู้จักช่วยเหลือตัวเอง มากขึ้น ยิ่งพื้นที่เล็กเรายิ่งต้องระมัดระวัง การเดินเหิน ระมัดระวังเรื่องอุปกรณ์ที่เรา อาจจะไม่ค่อยคุ้นเคย เช่น การเปิดหน้าต่าง ประตูควรล็อกอย่างไร ที่ใส่อุปกรณ์อะไรอยู่ ตรงไหน เราต้องศึกษาวิธีและท�าเองให้ได้ ส่วนการใช้รถบ้านส�าหรับท่องเที่ยว ครั้งนี้ เป็นครั้งแรก ชอบบรรยากาศมากจนถึงกับ โทร.ตามพี่สาวให้มาเที่ยวด้วยกัน และนี่ก็
ก�าลังวางแผนกับน้องสาวชวนกันไปเที่ยว สวนผึ้งด้วย ศุภกาญจน์ : ผมชอบในรูปทรงทีด่ วู นิ เทจ ไม่ได้ดูทันสมัยจนเกินไป อีกอย่างนอกจาก ความเป็นบ้านเคลื่อนที่แล้วยังให้ความรู้สึก เป็นร็อกสตาร์แบบสมัยก่อนด้วย (หัวเราะ) ถ้าถามว่า มีรถบ้านท�าให้เดินทางสะดวกขึน้ ไหม ส�าหรับเรา คิดว่าไม่นะ บางทีมีรถบ้าน ก็ท�าให้เดินทางยากขึ้น เพราะแม้จะสนุก แต่ไม่สะดวกขึ้นแน่นอน โดยเฉพาะถนนใน ประเทศไทยที่ไม่ได้เหมาะกับการเดินทาง ลักษณะนีเ้ ท่าไหร่นกั ขับเร็วไปก็ไม่ได้ ดังนัน้ การใช้รถบ้านแต่ละครั้งต้องมีการวางแผน มีการเตรียมตัวที่ดี แล้วรถบ้านก็ไม่ได้ใช้กัน ง่ายๆ ขนาดนั้น จ�าเป็นต้องมีรถที่มีอุปกรณ์ เชื่อมต่อเพื่อพ่วงรถบ้านไปที่ต่างๆ และยัง ต้องศึกษาการใช้งานอื่นๆ ด้วย
RECREATIONAL VEHICLE (RV) : ERIBA-NOVA
เป็นรถบ้านรุ่นที่เราจะพบเห็น ในภาพยนตร์ ห ลายเรื่ อ ง ไม่ว่าจะเป็น 8 Miles, Child’s Play, Confessions of a Shopaholic บางรุน่ สามารถ ขับไปได้โดยไม่ต้องใช้รถลาก รุ่นนี้จะเป็นรถที่มีสิ่งอ�านวย ความสะดวกครบครัน ยิ่งใน รุ่นใหม่ๆ ก็จะมีเตียงนอนถึง สองเตี ย ง เตาไฟฟ้ า ตู ้ เ ย็ น เครื่องปั่นไฟ มีห้องน�้าในตัว เหมาะกับการจอดนานๆ
NATTHIKARN JIRAWATSUNTHORN เรื่อง : นภษร ศรีวิลาศ ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
ภาพบรรยากาศเทศกาลดนตรีที่ผู้ร่วมงานจากทั่วสารทิศมาใช้ชีวิตร่วมกันในที่ที่หนึ่ง คงเป็นภาพแสนคุ้นตาในต่างประเทศ และส�าหรับประเทศไทย ก็ใช่ว่าจะไม่มีเทศกาลดนตรีที่เปิดให้เราซึมซับบรรยากาศแบบนี้ เมื่อสบโอกาสได้มาร่วมงานเทศกาลดนตรีและศิลปะที่เป็นที่พูดถึงมากที่สุดงานหนึ่งของปี ‘ม้าน�้า’ - นัทฐิกานต์ จิรวัฒน์สุนทร นักสะสมงานศิลป์ และเพื่อนๆ จึงรวมตัวกันเลือกเช่ารถบ้าน โดยเธอบอกเหตุผลที่เราได้แต่พยักหน้าเห็นด้วยแรงๆ ว่า “มาเทศกาลดนตรีและศิลปะที่จัดทั้งวันทั้งคืนแบบนี้ เราก็ควรอยู่ที่งานซึมซับบรรยากาศทั้งกลางวันและกลางคืนให้เต็มที่
เปลีย่ น-ดึง-ยกตรงนัน้ ตรงนี้ กะทัดรัดไปหมด ทุกอย่าง สร้างความตื่นตาตื่นใจให้เรามาก ส�าหรับทริปต่อๆ ไป คิดว่าในประเทศไทย อาจจะค่อนข้างยาก เพราะไม่คอ่ ยมีจดุ จอด ส� า หรั บ คาราวานหรื อ มี ที่ ช าร์ จ ไฟอ�า นวย ความสะดวก นอกจากจะเป็นเทศกาลดนตรี แบบนี้ ซึง่ ก็คงขึน้ อยูก่ บั โอกาสต่อไป หรือหาก มี โ อกาสไปต่ า งจั ง หวั ด ที่ มี พื้ น ที่ จุ ด จอด ของเราเอง เราก็อาจจะพ่วงรถบ้านไปด้วย เหมือนมีอปุ กรณ์เพิม่ ความสนุกให้ทริปนัน้ ๆ
THE STARTING point :
จุ ด เริ่ ม ต้ น มาจากปี ที่ แ ล้ ว ที่ เ ราได้ ม า เทศกาลดนตรี Wonderfruit 2014 แล้วเห็นว่า รถบ้านน่าจะตอบโจทย์การใช้ชีวิตที่ได้มา เทศกาลดนตรี แ บบนี้ ซึ่ ง ส� า หรั บ งานปี นี้ เราเลือกเช่ารถบ้านจากจ�านวนเพือ่ นทีจ่ ะมาพัก ด้วยกันเพื่อให้ได้ขนาดรถบ้านที่เหมาะสม อย่างคันนีอ้ ยูไ่ ด้เต็มที่ 3 คน มีเตียงใหญ่และ มีโซฟาเล็ก มีห้องครัว มีห้องน�า้ แม้จะเป็น การเคลื่อนย้ายตัวเราให้มาอยู่ท่ามกลางที่ ทีไ่ ม่มสี งิ่ อ�านวยความสะดวกอะไรเลย แต่วา่ สนุ ก กว่ า ที่ จ ะออกไปพั ก โรงแรมข้ า งนอก เราคิดว่าเวลาเรามาเทศกาลดนตรีทจี่ ดั ทัง้ วัน แบบนี้ เราก็ควรอยู่ที่งานซึมซับบรรยากาศ ทั้งกลางวันและกลางคืนให้เต็มที่”
RECREATIONAL VEHICLE (RV) : ABBEY
รถบ้านขนาดเล็กที่ใช้รถลาก มีขนาดไม่ใหญ่มาก เป็นรุ่นยอดนิยมที่มักพบเห็นในเทศกาลดนตรีตั้งแต่ ยุคปลาย 60s ส่วนใหญ่จะไม่มหี อ้ งน�า้ ในตัว นอกจาก บางรุน่ เท่านัน้ ปัจจุบนั รถรุน่ นีอ้ อกแบบมาให้ทนั สมัย ด้วยเครือ่ งอ�านวยความสะดวกมากมาย ไม่วา่ จะเป็น ชุดครัว ตู้เย็น มีไฟฟ้าจากเครื่องปั่นไฟ
WAY BACK INTO LIFE :
ความรู้สึกแรกเมื่อได้มาพักในรถบ้าน เราชอบนะ เราไม่ เ คยอยู ่ ใ นพื้ น ที่ เ ล็ ก ๆ แต่มีทุกอย่างครบแบบนี้ คันนี้พื้นที่ขนาด 10 ตารางเมตรเองนะ เรารู้สึกว่ามันสนุกดี อย่ า งการพั บ เปลี่ ย นเบาะให้ เ ป็ น ที่ น อน
9
YUTTHPON WETCHAPINAN เรื่อง : นภษร ศรีวิลาศ ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
ใครก็รู้ว่าต่อให้เราติดต่อสื่อสารกันต่อเนื่องไม่มีขาดมากแค่ไหน ก็ ไม่อาจสู้การได้พบเจอและใช้เวลาอยู่ร่วมกันแม้ในระยะเวลาอันสั้นได้ ดังนั้น เมื่อบรรยากาศเป็นใจ แถมยังน�าไปสู่การพักผ่อนที่ตอบโจทย์ ไลฟ์สไตล์ด้วยแล้ว ก็ ไม่มีเหตุผลอื่นใดที่ควรจะพลาด ‘ตู่’ - ยุทธพล เวชชาภินันท์ อดีตช่างภาพนิตยสาร Image จึงชักชวนเพื่อนๆ ออกมาใช้เวลาด้วยกันในเทศกาลดนตรีโดยมีรถบ้านเป็นฉากหลัง เสียงหัวเราะที่ดังออกมาจากกลุ่มเพื่อน เป็นระยะๆ ระหว่างการสละเวลาพักผ่อนมาพูดคุยกับเรา ท�าให้อดอิจฉาช่วงเวลาที่แสนพิเศษของเขาไม่ได้
THE STARTING point :
พอรู ้ รู ป แบบการจั ด งานของเทศกาล ที่ เ ราตั้ ง ใจจะมาว่ า มี ที่ ส� า หรั บ รถบ้ า น เราก็วางแผนชวนเพื่อนๆ มาด้วยกัน และ คิดว่าการเช่ารถบ้านมาอยู่รวมกันน่าจะดี ซึ่ ง เพื่ อ นๆ เห็ น ตรงกั น ว่ า อยากซึ ม ซั บ บรรยากาศเทศกาลนี้แบบเต็มๆ เหมือนกัน และรถบ้านทีไ่ ม่ตอ้ งย้ายทีไ่ ปไหนแต่จอดอยู่ ในงานเลยก็ น ่ า จะช่ ว ยได้ ภายในรถมี ห้องนอน ห้องน�า้ ทีอ่ าบน�า้ มีการแบ่งสัดส่วน ไว้ใจได้เรื่องระบบความปลอดภัย เราก็แค่ เตรียมอาหารการกินมาให้พร้อมเท่านั้น WAY BACK INTO LIFE :
ความรู้สึกแรก เราว่ารถบ้านน่ารักดีนะ อาจจะไม่ได้สบายเหมือนบ้านจริงๆ แต่เมื่อ เตรียมตัวมาพร้อมอยู่แล้วเราก็ต้องอยู่ให้ได้ ชอบที่รถบ้านท�าให้เราได้ใช้เวลาอยู่ร่วมกัน กับเพื่อน ซึ่งบรรยากาศแบบนี้หาไม่ได้จาก การพักโรงแรมนะ เพราะเมื่อถึงที่โรงแรม
ส่วนมากก็ต่างคนต่างอยู่ห้องใครห้องมัน แต่บรรยากาศแบบนี้พอจบจากงานดนตรี แล้ว เราก็ยงั สามารถมานัง่ เล่นกันทีห่ น้าบ้าน ในตอนเช้าตื่นมาก็มีกิจกรรมกินข้าวร่วมกัน สนุกสนาน ตอบโจทย์เรื่องการพักผ่อนและ การใช้เวลาอยูก่ บั เพือ่ นๆ ซึง่ จะว่าไปก็เหมือน เราได้มาเติมพลังด้านบวก
RECREATIONAL VEHICLE (RV) : FOXTROT
รถบ้านอีกรุ่นที่ต้องใช้รถลาก มีขนาดเล็กกะทัดรัด มีหนึง่ เตียงไว้สา� หรับนอนเท่านัน้ สามารถใช้รถเล็กๆ ลากได้เพราะมีนา�้ หนักเบา ได้รบั ความนิยมในอเมริกา ตั้งแต่ช่วงยุค 70s ถึงปัจจุบัน เพราะมีราคาไม่แพง สามารถจอดได้ทุกที่ เราจะเห็นรถบ้านรุ่นนี้ ได้ ใน เทศกาลดนตรีใหญ่ๆ ที่มีพื้นที่จ�ากัด
CALENDAR FRI
MON
18
COCKTAILS THE MUSICAL พบกับเรือ่ งราวความรัก ของมิกโซโลจิสต์หนุม่ ในผับ แห่งหนึ่ง ที่เปรียบเสมือน คอกเทลชนิดต่างๆ บางครัง้ ได้ ร สที่ ถู ก ใจ บางครั้ ง ก็ เปรี้ยวไป หรือบางครั้งก็ ท�าให้เรามัวเมาจนลุม่ หลง แล้ ว คอกเทลชนิ ด ไหน จ ะ เ ห ม า ะ กั บ เ ข า กั น ร่วมค้นหาไปกับละครเวที เรือ่ ง ‘Cocktails the Musical’ วันนีถ้ งึ 15 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ทองหล่ อ อาร์ ต สเปซ ติดตามรอบการแสดงและ จ� า หน่ า ยบั ต รที่ โ ทร. 095924-4555 (เว้นวันพุธ)
TUE
19
WED
BOARD GAME PARTY ร่วมสนุกกับส่วนหนึ่ง ของวั ฒ นธรรมเยอรมั น ‘ ป า ร ์ ตี้ เ ก ม ก ร ะ ด า น ’ ม า ท� า ค ว า ม รู ้ จั ก แ ล ะ ส นุ ก ส น า น ไ ป กั บ เ ก ม กระดานหลากรู ป แบบ อย่างนักบุกเบิกแห่ง Catan เกมกระดานแสนคลาสสิก, สุ ด ย อ ด เ ก ม ก ร ะ ด า น ประจ�าปี 2015 Colt Express และเกมอืน่ ๆ อีกกว่า 50 เกม วันนี้ เวลา 18.00 น. ณ ห้องสมุดสถาบันเกอเธ่ โทร. 0-2108-8242
20
SERAPHINE เชิ ญ ชมภาพยนตร์ เรือ่ ง ‘Seraphine’ การถักทอ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง พ่อค้าศิลปะผูม้ องการณ์ไกล กั บ หญิ ง ท� า งานบ้ า นผู ้ มี วิสัยทัศน์ เมื่อ วิลแฮล์ม อุฮด์ นักสะสมชาวเยอรมัน ได้ สั ง เกตเห็ น ภาพเขี ย น ขนาดเล็กทีว่ าดบนแผ่นไม้ ที่ บ ้ า นของผู ้ มี ฐ านะทาง สัง คม ผู ้ รัง สรรค์ ผ ลงาน จะเป็นใครไปไม่ได้ นอกเสี ย จากเซราฟี น ชมฟรี วันนี้ เวลา 19.00 น. ณ สมาคมฝรัง่ เศสกรุงเทพ โทร. 0-2670-4231
วงศทนง ชัยณรงคสิงห 295.-
THU
15
SAT
16
SUN
17
21
LONELY IN BANGKOK นิทรรศการภาพถ่ายสี แนวตั้ ง ชุ ด ‘เดี ย วดาย กลางกรุ ง ’ โดย ฌองเซบาสเตี ย น สะท้ อ น สายตาคนหลงทางใน เขาวงกตแห่งป่าคอนกรีต ที่ เ ต็ ม ไ ป ด ้ ว ย ตึ ก สู ง เสาตอม่อรถไฟฟ้า และ แผ่ น ป้ า ยโฆษณายั ก ษ์ ซึ่ ง ป ิ ด บั ง ส า ย ต า แ ล ะ เส้ น ขอบฟ้ า จนท� า ให้ หลงทิ ศ ผิ ด ทางได้ ง ่ า ย วั น นี้ ถึ ง 28 กุ ม ภาพั น ธ์ 2559 ณ คัดมันดู โฟโต้ แกลเลอรี สี ล ม โทร. 0-2234-6700 (เว้ น วั น อาทิตย์และจันทร์)
UNWRAPPING CULTURE เชิญชม ‘Unwrapping Culture’ การพบกันของ อั ล แ ว ง น ์ เ อ ร า ส ก า โตเลนติ โ น และ พิ เ ชฐ ก ลั่ น ชื่ น ก า ร แ ส ด ง ที่ ผสมผสานระหว่างเทคนิค การแสดงละครและ องค์ประกอบการแสดงโขน โดยใช้วตั ถุนยิ มแบบสุดขัว้ เป็ น เครื่ อ งมื อ เพื่ อ แสดง การวิ พ ากษ์ วิ จ ารณต่ อ ก า ร ค อ ร ์ รั ป ชั น ใ น วัฒนธรรมไทย วันนี้ และ 16 มกราคม 2559 เวลา 19.30 น. ณ สมาคม ฝรั่งเศสกรุงเทพ จ�าหน่าย บัตรที่โทร. 0-2670-4233
REVISITS นิ ท ร ร ศ ก า ร ศิ ล ป ะ ‘คื น เยื อ น’ โดย ไมเคิ ล เชาวนาศัย นิทรรศการนี้ เป็นทัง้ จุดจบและจุดเริม่ ต้น ของการเดินทางทีเ่ ราทุกคน ต่างเดินวนเวียนกันไปมา ด้วยความหวังว่าวันหนึ่ง เ ร า จ ะ ไ ป ถึ ง จุ ด ห ม า ย ปลายทางแห่งโชคชะตา ของแต่ ล ะคน วั น นี้ ถึ ง 6 กุ ม ภ า พั น ธ ์ 2 5 5 9 ณ หอศิลปวิทยนิทรรศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร. 0-2218-2965 (เว้นวัน อาทิตย์)
MOM THE MUSICAL จากบทประพันธ์ของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ที่ ต ราตรึ ง ใจผู ้ อ ่ า น สู ่ ละครเวที ‘มอม เดอะ มิว สิคัล ’ เรื่องราวความผูกพันระหว่าง ‘นาย’ กับสุนขั พันทางชือ่ ‘มอม’ ทีส่ ะท้อน ความรั ก ความซื่ อ สั ต ย์ ความจงรักภักดีของมอม ที่ มี ต ่ อ นาย วั น นี้ และ 23-24 มกราคม 2559 เวลา 14.00 น. (วันเสาร์ เพิม่ รอบ 19.30 น.) ณ โรงละคร เอ็ม เธียเตอร์ ถ.เพชรบุรี ตั ด ใหม่ จ� า หน่ า ยบั ต รที่ www.dreambox.co.th
หนังสือวาดวยการเดินทางเลมแรกของ วงศทนง ชัยณรงคสิงห จากความประทับใจในสิ่งที่พบเจอระหวางเดินทางทองเที่ยวไปในซากะ จังหวัดเล็กๆ บนเกาะคิวชู ประเทศญี่ปุน โดยมีไกดเฉพาะกิจอยาง เรียวตะ ซูซูกิ ที่พาเขาไปสัมผัสวิถีชีวิตอันเรียบงายและบรรยากาศอันนารื่นรมย จนเขาตกหลุมรักเมืองนี้เขาอยางจัง วางจําหนายแลววันนี้ที่รานหนังสือชั้นนําทั่วไป หรือสั่งซื้อออนไลนไดที่ godaypoets.com ในราคาลด 10% และลดพิเศษ 15% สําหรับสมาชิก #abooker
State of the Arts
ชีวิตที่รวดเร็วเกินไป มักจะท�ำให้เรำหลงลืมหรือทิ้งอะไรสักอย่ำงไว้เบื้องหลังเสมอ ด้วยเหตุนั้น ปิยังกุล จันทรกุล จึงอยำกสร้ำงสรรค์งำนศิลปะเพื่อบันทึกช่วงเวลำในปัจจุบันเอำไว้ ซึ่งควำมทรงจ�ำที่เขำบันทึกเอำไว้ในผลงำนชิ้นนี้ ก็ ได้พำเขำไปสัมผัส รำงวัลเหรียญเงิน ประเภทศิลปินใหม่หรือสมัครเล่น จำกกำรประกวดจิตรกรรมยูโอบี (UOB Painting of the Year) ปี 2558
Piyangkul Jantarakul Drawing with heat 121 x 175 cm
Behind the Picture : “ค�าว่าบ้าน บ่งบอกอะไรหลายๆ อย่างของผู้คน แต่ละยุคสมัย ถึงแม้ตัวบ้านในภาพจะถูกสร้างขึ้นก่อน แต่การพัฒนานั้นมีอยู่ตลอดเวลา เทคโนโลยีไวกว่า การใช้ชีวิตของผู้คน บางทีในอนาคตที่ตรงนี้อาจเกิด การเปลี่ยนแปลง ตัวบ้านอาจจะหายไปกลายเป็นตึก 18 ชัน้ วิถชี วี ติ ทีเ่ คยเป็นอยูก่ จ็ ะหายไปพร้อมกับวัตถุใหม่ ที่เข้ามาแทน ผมจึงมีความคิดที่จะสร้างผลงานเพื่อ จะบันทึกสิ่งนี้ไว้”
The Artist : “จริงๆ แล้วศิลปะเข้ามาใน ชีวิตผมตั้งแต่เด็กๆ เพียงแค่ผม ไม่ รู ้ ว ่ า ตั ว เองชอบสิ่ ง นี้ จ ริ ง จั ง แค่ไหน ตอนนั้นคิดแค่ว่าสนุก กว่าวิชาอื่นๆ จนมาเริ่มจริงจัง ก็ ต อนจะจบชั้ น ม.6 ตอนนั้ น รู ้ เ ลยว่ า การอ่ า นหนั ง สื อ หรื อ การค� า นวณมั น ไม่ ส นุ ก เท่ า การขีดๆ เขียนๆ”
Reflections : “จริงๆ แล้วผมเคยสร้างกรอบให้ตัวเอง จนกระทั่งเกิด การระแวง กลัวเกินขอบเขต กลัวจะไม่ดี คิดไปต่างๆ นานา จนสุดท้ายก็คดิ ได้วา่ ควรท�างานแต่ละครัง้ เพือ่ ความสบายใจ ของตัวเอง ซึง่ ศิลปะกลายเป็นทุกๆ อย่างไปแล้วในความคิด ผม แค่มองเห็นว่าสวย แค่ได้ยินว่าไพเราะ แค่สัมผัสแล้ว ตื่นเต้น สิ่งเหล่านี้มันเข้ามากระทบความรู้สึกในร่างกาย และกลายเป็นผลงานศิลปะทั้งนั้น”
การประกวดจิตรกรรมยูโอบี (UOB Painting of the Year) คือการประกวดผลงานจิตรกรรมระดับอาเซียนทีจ่ ดั โดยกลุม่ ธนาคารยูโอบี เปิดกว้างส�าหรับศิลปินอาชีพ และศิลปินใหม่หรือสมัครเล่น ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลชนะเลิศจากประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย จะมีโอกาสได้ชงิ รางวัล UOB Southeast Asian Painting of the Year และจัดแสดง ณ ประเทศสิงคโปร์ การประกวดจิตรกรรมยูโอบีเปิดรับผลงานประมาณเดือนกันยายนของทุกปี ผูท้ สี่ นใจสามารถติดตามรายละเอียดเกีย่ วกับการประกวดได้ทาง www.uobpoy.com 13
SUPERMARKET
Sticky Sweet
หลายคนที่มีต้นไม้หรือสวนเล็กๆ ที่บ้าน คงเข้าใจดีว่าเมื่อต้นไม้แสนรักเหล่านี้ออกผลเมื่อไหร่ ก็เป็นอันว่าถึงเวลาที่จะได้ชิมผลไม้หวานๆ กันจนเบื่อ นี่จึงเป็นที่มาของการถนอมอาหารโดยการ ‘กวน’ โดยเอาผลผลิตที่เหลือมากวนกับน�้าตาล เมื่อผ่านกรรมวิธีแล้ว ผลผลิตที่เกือบจะต้องทิ้งเพราะเน่าเสีย ก็จะกลายเป็นขนมอร่อยๆ ให้เราทานไปได้อีกนาน
MANGO
Tamarind
Mung Beans
Steamed Sticky Rice Azuki Beans
Taro
PINEAPPLE
Palm Sugar
Glutinous Rice flour Santol
Banana
Durian
Mango มะม่วงกวน ขนมหวานทีน่ า� เนือ้ มะม่วงสุกบดละเอียด มากวนกับน�้าตาล ผึ่งให้แห้ง ได้มะม่วงกวน เป็นแผ่นรูปวงกลม รสชาติเปรีย้ วหวานอร่อยก�าลังดี Durian ทุเรียนกวน จังหวัดไหนทีม่ ที เุ รียนก็มกั จะมีของฝาก เป็นทุเรียนกวนขาย ซึง่ บางบ้านจะน�าทุเรียนสุกทีเ่ หลือ มากวนเก็บ ไว้ กิน เอง หรือ น�า ออกมาขายเป็ น กิจการเสริม ลองเลือกซือ้ จากร้านเล็กๆ ดูกอ็ าจจะ ได้ทุเรียนกวนรสชาติดีกว่าร้านใหญ่ๆ ก็ได้ Santol กระท้อนกวน ผลไม้รสชาติหวานเปรีย้ วทีข่ นึ้ ชือ่ เรือ่ ง ลูกดกมาก ดังนัน้ จึงหนีไม่พน้ ต้องเอามาแปรรูป นอกจากน�ามาท�ากระท้อนแช่อมิ่ แล้ว กระท้อนกวน หรือกระท้อนหยีกเ็ ป็นอีกทางเลือกทีจ่ ะน�ากระท้อน มาแปรรูปได้อย่างคุม้ ค่าเช่นกัน Mung Bean ถัว่ เขียวเมล็ดเล็กๆ เหล่านี้ หลายคนคงรูว้ า่ ภายใต้ เปลือกสีเขียวข้างในก็คือถั่วสีเหลือง และเป็น วัตถุดบิ หลักทีจ่ ะน�ามาท�าถัว่ กวน ขนมไทยทีเ่ รากิน กันมาแต่โบราณ นอกจากนัน้ ก็ยงั น�าไปท�าขนมไทย อีกหลากหลาย เช่น ลูกชุบ เม็ดขนุน Azuki Bean ถั่วแดงญี่ปุ่น ไทยเรามีถั่วเขียวกวนแล้วญี่ปุ่นก็มี ถั่วแดงกวนสไตล์ญี่ปุ่น ซึ่งใครที่ชอบทานขนม แบบญีป่ นุ่ ก็นา่ จะเจอถัว่ แดงกวนอยูใ่ นขนมต่างๆ เช่น ทานคูก่ บั ไอศกรีมชาเขียว เป็นไส้ขนมไดฟุกุ Banana กล้วยกวน ถ้าเอ่ยถึงกล้วย โดยเฉพาะกล้วยน�า้ ว้า ที่ปลูกง่ายและสารพัดประโยชน์ เมื่อได้ผลกล้วย มาทั้งเครือ ไม่ว่าจะท�าขนมหวาน บวชชี เชื่อม ก็อาจจะยังทานไม่หมด การท�ากล้วยกวนจึงเป็น อีกกิจกรรมที่ทั้งสนุกและได้ประโยชน์ Tamarind มะขามกวน ผลไม้ทหี่ ลายคนติดใจในรสชาติเปรีย้ วๆ หวานๆ ซึง่ นอกจากทานสดๆ แล้ว มะขามก็มกั จะ น�ามาแปรรูปเป็นมะขามคลุกน�้าตาลหรือบ๊วย นอกจากนีก้ ย็ งั น�ามาท�ามะขามกวนหรือมะขามหยี ได้อกี ด้วย Steamed Sticky Rice ข้าวเหนียวนึ่ง ส�าหรับน�ามาท�าข้าวเหนียวแดง ขนมไทยที่ใครๆ ก็ทานได้ ซึ่งข้าวเหนียวแดงนั้น ท�ามาจากข้าวเหนียวนึง่ กวนกับน�า้ กะทิและน�า้ ตาลปีบ๊ ใครที่ชอบทานลองท�าเองดูไม่น่าจะยาก Taro เผือกกวน ส่วนใหญ่เราอาจจะไม่ได้ทานเผือกกวน แบบโดดๆ แต่พบเจอในส่วนผสมของเมนูอื่นๆ เช่น บ๊ะจ่าง ขนมปังไส้เผือก แต่สา� หรับเผือกกวน ใส่พมิ พ์รปู ทรงสวยๆ รสชาติหวานอร่อย ก็ถอื ว่า เป็นขนมที่ดูเรียบง่ายแต่ก็อร่อยอย่างไม่น่าเชื่อ Pineapple สับปะรดกวน ผลไม้ราคาไม่แพง สามารถน�ามา แปรรูปได้หลากหลาย เช่น น�า้ สับปะรด แยมสับปะรด และส�าหรับสับปะรดกวนก็เป็นอีกหนึง่ กรรมวิธที จี่ ะ เก็บสับปะรดเอาไว้ทานได้นานๆ โดยนิยมน�ามาท�า เป็นไส้ขนมปัง Palm Sugar น�้ า ตาลปี ๊ บ หากพู ด ถึ ง การถนอมอาหารโดย การกวน วัตถุดิบที่ขาดไม่ได้ก็ต้องเป็นน�้าตาล ทีใ่ ช้ความหวานเป็นตัวเก็บวัตถุดบิ ไว้ไม่ให้เน่าเสีย โดยเฉพาะน�้ า ตาลปี ๊ บ ที่ มี ร สหวานกลมกล่ อ ม และให้สสี นั ทีส่ วยงามน่าทานด้วย Glutinous Rice Flour แป้งข้าวเหนียว ใครทีช่ อบขนมหวานเหนียวหนึบ อย่างกะละแม ลองเลือกซือ้ แป้งข้าวเหนียวมากวน กะละแมเองทีบ่ า้ น โดยมีสว่ นผสมอืน่ ๆ อีก เช่น แป้งท้าวยายม่อม กะทิ น�า้ ตาล น�า้ มันพืช
MAKE A DISH
Half Roasted Chicken เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : วงศกร ยี่ดวง
สีขาวสะอาดตาที่ตัดกับสีเขียวชอุ่มของต้นไม้ และกลิ่นหอมๆ ของกาแฟลาเต้ร้อนๆ ท�าให้เราหลงใหลในบรรยากาศของร้าน Emmie’s ในย่านพระราม 9 อย่างถอนตัวไม่ขึ้น ซึ่งนอกจากเครื่องดื่มที่โดนใจคอกาแฟแล้ว เมนูอาหารที่หลากหลายของร้านอย่าง Half Roasted Chicken ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ท�าให้เราขอกลับมานั่งอิ่มเอมกับความรู้สึก ที่เหมือนนั่งกินข้าวอยู่ในสวนหลังบ้านตัวเองอีกหลายๆ ครั้ง
Chef ทนงศักดิ์ รุ่งศรี
HALF ROASTED CHICKEN ราคา : 480 บาท
INGREDIENTS ไก่ครึ่งตัว / เฟนเนล / ไวน์ขาว / แครอต / เห็ดหอม / เซเลอรี
CHEF's Inspiration
ผมอยากท�าเมนูที่ผสมผสานระหว่างอาหารอิตาเลียนกับอาหาร เอเชี ย และปรุ ง ออกมาให้ ถู ก ปากคนไทย ก็ ล องน� า ไก่ ม าปรุ ง ด้ ว ย วิธีต่างๆ จนได้เมนูนี้ขึ้นมา โดยใช้ ไวน์ขาวมาช่วยในการดับกลิ่นคาว ของไก่ ใส่ เ ห็ ด หอมเพราะอยากให้ มี ค วามหลากหลาย และจานนี้ ก็ ใ ห้ ค วามรู ้ สึ ก ของงานปาร์ ตี้ ค ริ ส ต์ ม าสหรื อ งานเลี้ ย งฉลอง แบบครอบครัวได้ด้วย
TIPS ผมจะหมักไก่ทงิ้ ไว้ 2 ชัว่ โมง จ า ก นั้ น จึ ง น� า ไ ป อ บ ด ้ ว ย อุณหภูมติ า�่ อีก 3 ชัว่ โมง เพือ่ ให้ เนื้อไก่นุ่ม ไม่แห้ง และสุกอย่าง ทั่วถึงทั้งตัว
HOME MADE
Home is Where My Family is เรื่อง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร
เมื่อคนเราเติบโตขึ้น ก็ต้องเจอกับการเปลี่ยนแปลงในหลายๆ ด้าน รวมถึงการต้องแยกตัวออกไปสร้างครอบครัวใหม่ของตัวเอง ความห่างไกลจึงอาจท�าให้ความอบอุ่นในบ้านที่เคยมีค่อยๆ จางลงไป แต่ส�าหรับครอบครัวของ อาทิตย์ ลีลาสมานชัย กลับเลือกที่จะสร้างบ้านหลังใหม่ให้อยู่ติดกับบ้านหลังเดิม เพื่อเก็บรักษาความผูกพันให้อยู่คู่กับครอบครัวต่อไป
“บ้านที่ยังคงความอบอุ่น ของครอบครัวเอาไว้”
จุดเริม่ ต้นของบ้านหลังนี้ “ผมอยากสร้างบ้าน หลังใหม่ทอี่ ยูใ่ นละแวกบ้านหลังเดิม ก็เจอทีว่ า่ ง อยู่ประมาณ 90 ตารางวา ทางสถาปนิกก็ แนะน�าว่าเป็นพืน้ ทีท่ นี่ า่ สนใจ แต่พอมานัง่ คิด อี ก ที ผ มอยากเก็ บ ความรู ้ สึ ก ของการเป็ น ครอบครัวใหญ่เอาไว้ จึงตัดสินใจว่า ถ้าอย่างนัน้ เราสร้างบ้านอีกหลังไว้ขา้ งๆ บ้านหลังเดิมดีกว่า ถึงจะสวยน้อยหน่อยแต่มีความสุขอยู่ข้างใน บ้ า น เลยเลื อ กปลู ก บ้ า นหลั ง นี้ ต รงพื้ น ที่ ที่เคยเป็นสนามหญ้าเก่า ก็เลยบอกกับทาง ทีมนักออกแบบว่าจะสร้างบ้านตรงนี้” โจทย์ทตี่ งั้ เอาไว้ให้กบั ตัวบ้าน “ผมอยากได้บา้ น ที่โปร่งโล่ง ไม่ต้องมีลูกเล่นเยอะ ขอเพดานสูง เพราะผมเป็นคนตัวสูง และขอสระว่ายน�า้ ด้วย แต่ถ้าตัวสระอยู่ข้างบ้านรับรองว่าคงจะไม่มี ใครใช้และถูกลืม คุณจูนที่เป็นสถาปนิกก็เลย ดัดแปลงสระว่ายน�้าให้อยู่กลางบ้าน ซึ่งอาจ จะผิดหลักการสร้างบ้านไปสักหน่อย แต่ผม ก็ไม่ได้ซีเรียส และสระว่ายน�้าก็กลายเป็น ของแต่งบ้านอีกชิ้นที่สวยเหมือนกัน” การออกแบบตกแต่งภายใน “ผมคิดว่าน่าจะ เป็ น สไตล์ โ มเดิ ร ์ น แต่ ที่ อ ยากได้ บ ้ า นที่ มี โครงสร้างเหล็กเพราะเคยเห็นบ้านในประเทศ ญีป่ นุ่ ทีใ่ ช้เหล็กเป็นโครงสร้างหลัก แต่เนือ่ งจาก ช่างในบ้านเราไม่ถนัดเรื่องบ้านที่สร้างจาก เหล็ก เลยท�าให้การก่อสร้างช้ากว่าที่ตั้งใจ เอาไว้ ส่วนโทนของบ้านจะเป็นขาวกับด�า ใช้ ไ ม้ เ ก่ า ที่ คุ ณ พ่ อ เคยซื้ อ เก็ บ เอาไว้ ม าท�า เฟอร์นเิ จอร์ อย่างชัน้ วางของหรือโต๊ะกินข้าว”
ความสุขทีบ่ า้ นมอบกลับคืนมา “บ้านของเรา กลายเป็ น ศู น ย์ ร วมของคนในครอบครั ว ตัง้ แต่ผม ภรรยา และลูกย้ายเข้ามาอยูใ่ นบ้าน หลังนี้ พวกเราออกไปข้างนอกกันน้อยลง เพราะเรามีความสุขเวลาได้อยูด่ ว้ ยกันในบ้าน ตอนเย็ น ก็ ช วนกั น ว่ า ยน�้ า ส� า หรั บ ผมแล้ ว สิ่งนี้เป็นความสุขที่หาซื้อไม่ได้ โดยเฉพาะ การที่เรายังได้อยู่ใกล้ๆ กับคุณพ่อคุณแม่ เหมือนเดิม”
• นิยามที่ตั้งให้กับบ้าน... Bridge House สะพานทีเ่ ชือ่ มต่อครอบครัวเก่ากับครอบครัวใหม่ ไว้ด้วยกัน • เพลงทีฟ ่ งั แล้วอยากรีบกลับบ้าน... Home ของ บอย โกสิยพงษ์ • บรรยากาศของบ้านทีอ่ ยากหยุดเวลาไว้... ช่วงเย็นตอนแสงสุดท้ายของพระอาทิตย์ตก
SELECTIVE
A Woman of the World เรื่อง : ไอรดา รื่นภิรมย์ ใจ ภาพ : มณีนุช บุญเรือง
การเดินทางท่องโลกกว้าง นอกจากจะได้เก็บเกี่ยวประสบการณ์รอบตัวแล้ว ยังเป็นช่วงเวลาที่ท�าให้คุณได้ทบทวนตัวเอง และรู้จักตัวเองอย่างแท้จริง อย่างที่ ‘บี’ - สุภลักษณ์ ศรบรรจง เจ้าของแบรนด์เสื้อผ้าออร์แกนิก It Takes Two To Tango ที่เก็บกระเป๋าออกเดินทางกับพี่สาวฝาแฝดอยู่บ่อยครั้ง เมื่อมองข้าวของที่พกไปเดินทางในทริปก่อน ยิ่งกระตุ้นให้เธออยากจะเก็บกระเป๋าและเผชิญกับโลกอีกครั้งอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
1
3 4
6
5
7
2 8
10 9
1. อุปกรณ์ตดั เย็บ “เวลาเราเดินทาง ก็อยากจะให้ได้งานด้วย ก็เลยพกพวกอุปกรณ์ตดั เย็บไปด้วย” 2. กล้องโลโม “เราชอบออกเดินทางไปเทีย่ วและจัดทริปกับเพือ่ นๆ ซึง่ เราก็ชอบใช้กล้องฟิลม์ ในการถ่ายรูป” 3. ไอพอด “เพือ่ นซือ้ iPod shufflffl lfl e ให้เป็นของขวัญวันเกิด พร้อมกับเพลงชุดหนึง่ ทีเ่ ขาอยากให้เราฟัง” 4. เข็มกลัดนก “ตัง้ แต่เริม่ ท�างานแบรนด์เสือ้ ผ้าออร์แกนิกของตัวเอง เราก็มโี อกาสออกไปขายของตามงานต่างๆ ซึง่ ก็ได้มติ รภาพดีๆ มากมาย เข็มกลัดอันนีเ้ ป็นของขวัญทีเ่ พือ่ นทีท่ า� งาน letter press ให้มา” 5. เทปคาสเซ็ต “เราโตมากับเพลงพวกนี้ แล้วก็ซอื้ เทปคาสเซ็ตมาตัง้ แต่เด็กแล้ว” 6. ตัว๋ “เราจะเก็บทุกอย่างทีเ่ จอระหว่าง การเดินทาง ไม่วา่ จะเป็นกระดาษคลุมผ้าห่มบนรถไฟทีอ่ นิ เดีย ซองยาทีไ่ ด้จากการไปหาหมอ ใบปลิวหาเสียง ฯลฯ เป็นเหมือนจิก๊ ซอว์เล็กๆ ของการเดินทาง” 7. ผ้า “เราเป็นคนทีต่ อ้ งมีผา้ เช็ดหน้าหรือผ้าโพกผม ตลอดเวลา” 8. สมุดสเก็ตช์ภาพ “เราชอบจด ชอบวาด แล้วก็เขียนไดอารีดว้ ย” 9. รูปหิมาลัย “ตอนไปทริปทีเ่ นปาล เราขึน้ ไปแทร็กกิง้ บนเขาช่วงหน้าฝน ท�าให้เรามองไม่เห็นยอดเขาหิมาลัย ตอนลงมาข้างล่างเจอกับ นิทรรศการภาพถ่ายนี้ ก็เลยซือ้ เก็บไว้เป็นทีร่ ะลึก” 10. แพตเทิรน์ ต้นแบบ “เราไม่เก่งในเรือ่ งการท�าแพตเทิรน์ เสือ้ ผ้า ก็เลยลองเขียนเองตามความเข้าใจจนเสือ้ ชุดกะลาสีนกี้ ลายเป็นต้นแบบของความดิบทีเ่ ราชอบ”
ทุกวันเสาร 17:05 เร�่ม 23 มกราคม 2559 Thai PBS
OUT THERE
Riomaggiore ใครจะคาดคิดว่าเมืองเล็กๆ ติดทะเลที่มีหินผาเป็นที่ตั้งอย่างริโอเมจิโอ จะกลายเป็นหนึ่งในเมืองท่องเที่ยวส�าคัญแห่งหนึ่งของอิตาลี เสน่ห์ของเมืองชาวประมงชายฝั่งเล็กๆ แห่งนี้ น่าจะมาจากการที่ชาวเมืองทุกคนอยู่กับธรรมชาติได้อย่างกลมกลืนและมีความสุข วิถีชีวิตดั้งเดิมของเมืองนี้ไม่เปลี่ยนไปมากนัก หากอยากสัมผัสชีวิตที่แอบอิงกับท้องทะเล ได้อย่างลงตัว ริโอเมจิโอน่าจะเป็นตัวเลือกที่ใช่ที่สุดตัวเลือกแรกๆ
THE CITY FACTS ริโอเมจิโอเป็นหมูบ่ า้ นเล็กๆ ทางตอนเหนือของอิตาลี เมือ่ ศตวรรษที่ 8 ชาวโรมันบางส่วน อพยพย้ายถิน่ ฐานมายังพืน้ ทีแ่ ห่งนี้ โดยพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่มลี กั ษณะเป็นหุบเขาและมีหน้าผาตัง้ อยู่ ริมฝั่งทะเล สองสิ่งที่ถือเป็นอาชีพหลักของคนในเมืองตั้งแต่อดีตจนปัจจุบันคือการท�าประมง และการท�าไวน์ เราสามารถพบเห็นไร่องุน่ หลายแห่งตัง้ อยูบ่ ริเวณไหล่เขา ปัจจุบนั เมืองนีไ้ ด้รบั การยอมรับว่าเป็นแหล่งปลูกองุ่นท�าไวน์ทดี่ แี ห่งหนึง่ ในอิตาลี และยังเป็นแหล่งท่องเทีย่ วของ คนรักทะเลทีต่ อ้ งการบรรยากาศแบบเมืองชายทะเลโบราณทีไ่ ม่เหมือนใคร
หากถามถึงโบราณสถานที่มีชื่อเสียงของเมือง ต้องนึกถึงโบสถ์ San Giovanni Battista โบสถ์สไตล์โกธิกที่สร้างขึ้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 13 และเป็นศูนย์รวมใจของชาวเมืองมาช้านาน ใกล้ๆ กันก็ยงั มีโบสถ์สา� คัญอีกหนึง่ แห่ง นัน่ คือโบสถ์ San Lorenzo ซึง่ สร้างไล่เลีย่ กัน ทีน่ มี่ ี จุดเด่นที่กระจกของตัวโบสถ์ที่มีหลากสีสันสวยงาม และเป็นของเดิมที่อยู่มายาวนานโดย ไม่ถกู ท�าลาย และหากอยากชมวิวของริโอเมจิโอแบบเห็นทะเล ภูเขา และตัวเมืองได้อย่างชัดเจน ต้องเดินทางไปยังปราสาทเก่าแก่ของเมือง ทีน่ แี่ ม้จะไม่ใช่ปราสาททีย่ งิ่ ใหญ่เหมือนเมืองอืน่ ๆ แต่กม็ เี อกลักษณ์และความสวยงามไม่เหมือนทีไ่ หน
"ITALY, AND THE SPRING AND FIRST LOVE ALL TOGETHER SHOULD SUFFICE TO MAKE THE GLOOMIEST PERSON HAPPY." BERTRAND RUSSELL, A BRITISH PHILOSOPHER
หนึง่ ในเสน่หข์ องเมืองริโอเมจิโอทีน่ กั เดินทาง จดจ�า ได้ ก็คือ บ้ า นเรือ นหลากสีสัน อาคารปู น สลับซับซ้อนบนเนินเขา ซึ่งไม่เหมือนเมืองไหน ในโลก ภาพจ�าอีกอย่างคือถนนที่ทอดยาวไปยัง ท่าเรือทีม่ เี รือประมง เรือท่องเทีย่ ว หรือแม้แต่ผคู้ น ก�าลังลงเล่นน�้า และทะเลเบื้องล่างก็ใสสะอาด เหมือนกระจก ทัง้ หมดต้องขอบคุณการจัดการเมือง ที่ ส ามารถท� า ให้ เ มื อ งท่ อ งเที่ ย วแห่ ง นี้ ง ดงาม โดยไม่ต้องเบียดเบียนธรรมชาติ
หนึง่ ในจุดชมวิวทีด่ ที สี่ ดุ นอกจากการชม วิวบนภูเขา คือการล่องเรือชมวิวริมฝัง่ ทะเล เพราะจะได้เห็นบ้านเมืองในมุมทีแ่ ปลกตา ออกไป ภาพของตึกสีสัน สดใสที่ตั้ง อยู ่ ริ ม ฝั ่ ง และลดหลั่ น ลงมาจากภู เ ขาสู ง เป็นภาพที่บอกเล่าเรื่องราวชีวิตของผู้คน ได้มากมาย และเมือ่ คุณมองไปยังน�า้ ทะเล ที่ใสสะอาด ในนาทีนั้นเชื่อว่าใครๆ ก็ต้อง อยากลงไปแหวกว่ายในทะเลอันแสนบริสทุ ธิ์ แห่ ง นี้ และริ โ อเมจิ โ อยั ง มี ค วามโชคดี ในเรื่องที่ตั้ง เพราะเป็นพื้นที่คลื่นลมสงบ ปราศจากลมพายุใหญ่ ดังนั้น จึงเที่ยวได้ ตลอดทั้งปี
และแม้จะเป็นเมืองธรรมชาติ แต่คา�่ คืนของที่นี่ไม่เคยหลับ เพราะผู้คนที่เดินทางมาจากทั่วโลกมักดื่มกินและท�ากิจกรรม กันยามค�่าคืน แต่ถ้าอยากหลีกเร้นเสียงอึกทึก การเลือกที่พักที่ใกล้กับภูเขาก็จะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด มหาเศรษฐีจาก ทั่วโลกมักมาซื้อบ้านตากอากาศเอาไว้ที่เมืองนี้ ดังนั้น อย่าแปลกใจถ้าคุณพบเจอคนดังตามสถานที่ต่างๆ แต่ใช่ว่าริโอเมจิโอ จะมีแต่ทะเล ที่นี่ยังมีป่าและอุทยานแห่งชาติหลายแห่งให้ได้ท�ากิจกรรมเดินป่ากัน หากเบื่อทะเล การเดินป่าชมธรรมชาติ ที่หลากหลายในภูมิประเทศแบบริมฝั่งทะเลก็เป็นทางเลือกที่ดีไม่ใช่น้อย อาหารอิตาเลียนคือหนึง่ ในอาหารทีไ่ ด้รบั ความนิยมอันดับต้นๆ ของโลก แต่ทนี่ แี่ ตกต่างจากเมือง อืน่ ๆ เพราะเป็นอาหารอิตาเลียนทีผ่ สมผสานอาหาร โรมันเข้าไว้ดว้ ยกัน และยังมีอาหารทะเลสดๆ ทีป่ รุง แบบชาวทะเลซึง่ สามารถหาทานได้ตามร้านอาหาร ริมฝัง่ สิง่ หนึง่ ทีเ่ มืองริโอเมจิโอท�าได้ดเี มือ่ เปรียบเทียบ กับเมืองท่องเทีย่ วอืน่ ในโลก คือการจัดการท่องเทีย่ ว ทีย่ งั คงรักษาความสมบูรณ์ของธรรมชาติเอาไว้ได้ แต่กย็ งั มีความสะดวกสบายให้นกั เดินทางทุกกลุม่ สมแล้วที่ที่นี่ได้รับการจัดให้เป็นเมืองท่องเที่ยว ทางทะเลที่ส�าคัญของอิตาลี WHAT YOU NEED TO KNOW สถานทูตอิตาลี ประจ�าประเทศไทย 399 แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0-2285-4090 สามารถยื่นขอวีซ่าอิตาลีได้ที่ http://vfsglobal.com/italy/thailand/thai การเดินทาง สายการบินลุฟต์ฮันซา www.lufthansa.com สายการบินแอโรฟลอต www.aeroffllflot.ru สายการบินเคแอลเอ็ม www.klm.co.th ระยะเวลาในการเดินทางประมาณ 15 ชั่วโมง
THE WORD 26
การได้รกั และได้รบั ความรัก เปรียบได้กบั การได้รบั แสงอาทิตย์ทงั้ สองด้าน
- David Viscott -