2 Operator และ Matrix Mechanics

Page 1

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-1

2

Operator และ Matrix Mechanics

เนื้อหา 2.1 Operator 2.2 Basis State 2.3 Matrix Mechanics 2.4 Expectation Value และ Uncertainty 2.5 Rotation Operator 2.6 บทสรุป 2.7 ปญหาทายบท ฟสิกสคงจะเปนเรื่องที่นาเบือ่ ถาสถานะของระบบที่เราตองการศึกษานั้นหยุดนิ่งอยูก ับที่ และไมมี ความเปลี่ยนแปลงใดๆเลย หากแตในความเปนจริงแลว quantum mechanics เต็มไปดวยการ เปลี่ยนแปลง จากสถานะหนึ่งไปยังอีกสถานะหนึ่งอยางไมหยุดนิ่ง ในบทที่ 1 ที่ไดกลาวไปแลวนั้น ก็เพื่อใหนกั ศึกษาสามารถที่จะอธิบายสถานะของระบบโดยใช ระเบียบวิธีของ quantum mechanics หากแตการที่เราสามารถอธิบายวาระบบอยูในลักษณะอยางไร นั้น ไมเพียงพอในการศึกษาฟสิกส มีความจําเปนที่จะตองมีระเบียบแบบแผน ที่สามารถควบคุม หรือเปลี่ยนแปลงสถานะของระบบนั้นๆไดดว ย ในบทที่ 2 นี้ เราจะมาเริ่มศึกษากลไกหรือ กระบวนการที่ quantum mechanics ใชทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงจากสถานะเริ่มตน ไปเปนสถานะ ผลลัพธ หรือที่เรียกวา operator นั่นเอง

2.1 Operator ในการศึกษา quantum mechanics เบื้องตน นักศึกษารูจกั กับคําวา operator ดวยความเขาใจทีว่ ามันมี ความเชื่อมโยงกับกระบวนการวัดหรือการทดลองในทางฟสิกส ยกตัวอยางเชน เราแทน กระบวนการวัดโมเมนตัมของระบบ ดวยสิง่ ที่เรียกวา momentum operator หรือ แทนกระบวนการ วัดพลังงานจลนของระบบดวยสิ่งที่เรียกวา kinetic energy operator ซึ่ง operator ตางๆเหลานี้ ก็จะมี รูปแบบทางคณิตศาสตรที่แตกตางกันออกไป Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-2

ถึงแมวาคํานิยามของ operator ดังที่กลาวไวขางตน เปนคํานิยามที่ถูกตอง แตมีความหมายทีแ่ คบ จนเกินไปและมีขอจํากัดอยูห ลายประการ ดังนั้น ใน Section 2.1 นี้ เราจะมาเริ่มทําความรูจักกับ operator ของ quantum mechanics ในความหมายที่กวางมากขึ้น และใน Section 2.3 เราจึงจะตี กรอบของ operator ใหแคบลง ซึ่งมีความหมายเฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับกระบวนการวัด หรือ measurement ในทางฟสิกส operator คือ กลไกหรือกระบวนการที่ quantum mechanics ใชทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงจากสถานะ เริ่มตน ไปเปนสถานะผลลัพธ สมมุติวาเราเตรียมอนุภาคหรืออิเล็กตรอน ใหมันอยูในสถานะ + X จากนัน้ ไมวาดวยเหตุผล อะไรก็ตามแต เราตองการที่เปลี่ยนสถานะของอิเล็กตรอนมาอยูในสถานะ + Y ดังในภาพ 2.1 z

~~ ~~ ~~

N

+Y

y ~~~ ~~ ~

S

+X x

ภาพ 2.1 เราสามารถที่จินตนาการไดวาอิเล็กตรอนซึ่งเดิมอยูในสถานะ สถานะ + Y ดวยสิ่งที่เรียกวา operator

+X

ถูกเปลี่ยนใหอยูใน

ในแงของการออกแบบการทดลองนั้น การเปลี่ยนสถานะดังกลาว อาจจะสามารถทําไดดว ยการปอน สนามแมเหล็กที่ขนานกับแนวแกน y เขาไปในระบบ การบังคับให spin ของอนุภาคใหมีทิศทาง ตามที่เราตองการนี้ หาไดเปนแตเพียงกระบวนการทีน่ ักทฤษฏีจินตนาการในเชิงวิชาการเทานั้น หากแตมี application ที่ชัดเจน ยกตัวอยางเชน MRI (Magnetic Resonance Imaging) อยางไรก็ตาม ในเนื้อหาที่กําลังกลาวถึงนี้ เรายังจะไมสนใจวาการที่จะเปลี่ยนสถานะของอนุภาค จาก + X ใหเปน + Y นั้น สามารถทดลองใหเห็นจริงไดอยางไร ในขั้นตนนี้ เราจะมาศึกษา เพียงในเชิงทฤษฏีเทานั้น

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-3

ตามระเบียบวิธีของ quantum mechanics การเปลี่ยนแปลงจากสถานะหนึ่ง ไปยังอีกสถานะหนึ่ง เรา เขียนใหอยูใ นรูปทั่วๆไป ดังตอไปนี้ ϕ = Oˆ ψ

__________________________ สมการ (2.1)

จะเห็นวา เดิมทีนั้น ระบบอยูในสถานะ ψ แตดว ยสิ่งที่เราเรียกวา operator Oˆ ทําให ระบบ เปลี่ยนมาอยูใ นสถานะ ϕ การใชสัญลักษณที่แสดงความเปน operator นั้น เรามักจะใชสัญลักษณ ที่มีลักษณะคลายๆกับหมวก ที่อานวา hat ขอควรระวัง ในการอานสัญลักษณในสมการ (2.1) operator Oˆ มิไดคูณอยูกับสถานะ ψ เหมือนดังเชนสมการ (1.30) ที่คาสัมประสิทธิ์ d คูณอยูกบั สถานะ − Z หากแต จะตองอานวา operator Oˆ กระทํากับสถานะ ψ และทําใหไดสถานะ ϕ ขึ้นมา ในตัวอยางที่ไดกลาวไวขางตน ซึ่งเกี่ยวของกับการเปลี่ยนสถานะ spin ของอนุภาค อาจจะเขียนให อยูในรูปที่คลายกับสมการ (2.1) ไดวา ˆ +X +Y = Ω

_____________________ สมการ (2.2)

มาถึงขั้นนี้ เราไดกลาวถึง operator ในสองประเด็นคือ 1) สัญลักษณที่ใช และ 2) ผลกระทบที่มีตอ สถานะของระบบ ยกตัวอยางเชน เปลี่ยนจาก + X ใหกลายเปน + Y ถึงกระนัน้ ก็ตาม ยัง ปรากฏโจทยทสี่ ําคัญซึ่งยังมิไดรับคําตอบที่ชัดเจน นั่นก็คอื ในทางคณิตศาสตรแลว operator Ωˆ ดังกลาว มีรูปรางหนาตาเปนอยางไร +X =

1 2

+Z +

operator

1 2

−Z

operator ที่วานี้ รูปแบบ ทางคณิตศาสตรอยางไร

ˆ Ω

คําตอบ +Y =

1 2

+Z +

i 2

−Z

ˆ ≡ + Z + Z + i −Z −Z Ω

ภาพ 2.2 ถา operator ดังกลาวสามารถที่จะเปลี่ยนสถานะของ spin ได คําถามก็คือ แลว operator ที่วานี้ รูปรางหนาตาเปนอยางไร ดวยการออกแบบที่ชาญฉลาดและลงตัว quantum mechanics ใช Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

สัญลักษณ "ket-bra" หรือ

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-4

เปนตัวแทนของ operator

ซึ่งเปนลักษณะทีว่ าง ket ไวทาง ภาพ 2.2 แสดงถึงแนวทางการเขียน operator ใหอยูในรูปของ ซายมือและวาง bra ไวทางขวามือ หรืออาจจะเรียกวา "ket-bra" จากนั้นเราลองมาวิเคราะหดวู า การ เขียน operator ในลักษณะดังกลาวนี้ จะมีผลอยางไรกับสถานะที่มันกําลังกระทําอยู

1) ket

1 2

+Z

2) operator

แสดงสถานะของระบบ

−Z + Z

3) คงเหลือเพียง ket

ยายมาคูณดานหนา เพราะตัวเลขมี สมบัติการสลับที่ของการคูณ ⎧ ⎫⎧ 1 ⎫ +Z ⎬ ⎨ −Z +Z ⎬ ⎨ 2 ⎩ ⎭ ⎩ ⎭

เขาไปกระทํา 1 −Z 2

bra และ ket เจอกัน เปลี่ยนเปน probability amplitude ซึ่งเปนเพียงตัวเลข

ภาพ 2.3 แสดงลําดับขั้นตอนในการที่ operator กระทํากับสถานะใดๆ จากภาพ 2.3 เริ่มดวยการพิจารณาสถานะของระบบ ซึ่งแทนดวยเครื่องหมาย ket

1 +Z 2

จากนั้นนํา operator ที่แทนดวยเครื่องหมาย − Z + Z ซึ่งเปนการเขียนในลักษณะของ ket-bra ถา เรานํา operator ดังกลาวนี้วางไวทางซายมือ และ นําสถานะ ket วางไวทางขวามือ ดังที่แสดงในภาพ จะเห็นวา 1) สัมประสิทธิ์

1 2

ที่คูณอยูกับ ket นั้น เปนเพียงตัวเลขที่เราสามารถที่ยายมาวางไวตําแหนงใดๆก็

ได เพราะวาตัวเลขโดยทัว่ ไปนั้น มีสมบัตกิ ารสลับที่ของการคูณ 2) เนื่องจากกลเม็ดในการจัดวางตัวที่ชาญฉลาดและลงตัวของสัญลักษณที่เราใชแทน operator ให สังเกตวา สวนที่เปน bra ของ operator จะเขามาพบกับสวนที่เปน ket ของสถานะที่มีอยู ทําใหเกิด ซึ่งจาก Section 1.3 ในบทที่ 1 มีความหมายเปน probability การรวมตัวกันเปน bra-ket หรือ amplitude อันมีคุณสมบัติเปนเพียงตัวเลขจํานวนเชิงซอนตัวหนึ่งเทานั้น ในกรณีของตัวอยางที่ แสดงในภาพ 2.3 นั้น probability amplitude + Z + Z = 1 และในทายทีส่ ุดแลว เราก็จะไดสถานะที่เกิดขึ้นเปนผลลัพธคือ

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

1 −Z 2

ซึ่งสามารถสรุปไดวา

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา ⎡ 1 ⎤ 1 Oˆ ⎢ +Z ⎥ = −Z 2 ⎣ 2 ⎦

2 Operator และ Matrix Mechanics

เมื่อ Oˆ =

−Z + Z

_________________ สมการ (2.3)

จากสมการ (2.3) พบวา operator Oˆ สามารถที่จะเปลี่ยนสถานะ ket ket +X

1 −Z 2

2-5

1 +Z 2

ใหกลายเปนสถานะ

และในลําดับตอไป เราจะกลาวถึงตัวอยางของ operator ที่สามารถเปลี่ยนสถานะ

ใหเปนสถานะ

+Y

จากภาพ 2.2 เรากําหนดให ˆ = + Z + Z + i −Z −Z Ω

จากนั้นแทนคาของ Ωˆ ดังกลาวเขาไปกระทํากับ

+X

_________________ สมการ (2.4)

ดังในสมการ (2.2) จะไดวา

ˆ + X = ⎧⎨ + Z + Z + i − Z − Z ⎫⎬ + X Ω ⎩ ⎭

_________________ สมการ (2.5)

แตจากการวิเคราะหในบทที่ 1 พบวา เราอาจจะเขียน + X ใหอยูในรูป superposition ของ ดวยเหตุนี้ สมการ (2.5) ขางตนจึงสามารถเปลี่ยนใหอยูใ นรูปดังตอไปนี้ ˆ + X = ⎨⎧ + Z + Z + i − Z − Z Ω ⎩ 1 +Z +Z +Z + 2 = i + −Z −Z + Z + 2

±Z

⎫⎧ 1 1 ⎫ +Z + −Z ⎬ ⎬⎨ 2 ⎭ ⎭⎩ 2

________ สมการ (2.6)

1 +Z +Z −Z 2 i −Z −Z −Z 2

ในสมการ (2.6) ขางตน เราทําการกระจายใหกลายเปน 4 เทอมดวยกัน จากนั้นโดยอาศัยคุณสมบัติ ดังที่ไดกลาวในบทที่ 1 ที่วา + Z + Z = 1 , − Z + Z = 0 จะไดวา ˆ + X = 1 + Z + i −Z Ω 2 2

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

________ สมการ (2.7)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

จากสมการ (1.34) เราทราบวา

+Y =

2 Operator และ Matrix Mechanics 1 2

+Z +

i 2

−Z

2-6

ซึ่งตรงกันกับเทอมทางขวามือของ

สมการ (2.7) ขางตน ทําใหในทายที่สุดแลว ˆ + X = +Y Ω

ภาพประกอบแบบฝกหัด 2.1 spin ของ อิเล็กตรอนไมจําเปนตองชี้ในทิศขนานกับแกน x, y, หรือ z เสมอไป

z

θ ϕ

___________________ สมการ (2.8)

y

x

แบบฝกหัด 2.1 ในแบบฝกหัด 1.8 สถานะ

θ

θ

+ n = cos( ) + Z + eiϕ sin( ) − Z 2 2

แทน spin ที่

อาจจะชี้ไปในทิศทางใดๆก็ได โดยที่ตวั แปร θ และ ϕ มีความหมายเปนมุม 2 มุมที่กําหนดทิศทาง เหลานั้น ดังภาพ จงพิสูจนวา Ωˆ + n มีผลทําให สถานะดังกลาว หมุน 90 องศารอบแกน z จากตัวอยางขางตน เราจะเห็นวา operator Ωˆ ที่เขียนอยูใ นรูปดังสมการ (2.4) นั้น สามารถที่จะ เปลี่ยนสถานะ + X ใหกลายเปน + Y ไดตามที่เราตองการ

2.2 Basis State มีเซตของ state หรือ สถานะ อยูจําพวกหนึง่ ที่เราสามารถใชเปนตัวแทนของ state อื่นๆได ซึ่งเราเรียก เซตเหลานี้วา basis state ทั้งนี้เพื่อใหนักศึกษาเขาใจถึงแนวความคิดที่เกี่ยวของกับ basis state เรา ลองมาวิเคราะหตัวอยาง 2 ตัวอยางดวยกัน โดยที่ตัวอยางทั้งสอง ดูผิวเผินนั้น ไมเกี่ยวของกับ basis state แตอยางใด หากแตในความเปนจริงแลว มีแนวความคิดของ basis state ซุกซอนอยู

Basis State ในรูปแบบตางๆ ตัวอยางแรกก็คือระบบของพิกัด ที่เราใชในการบอกตําแหนงของวัตถุใดๆ เชน ในระบบ Cartesian coordinate เราใชทิศทางที่เปน unit vector ในแนวแกน x, y, และ z เปนตัวแทนของ vector ใดๆ r = rx i + ry j + rz k

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

___________________ สมการ (2.9) teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-7

จาก สมการ (2.9) ขางตนจะเห็นวา ไมวา vector r จะชี้ไปยังตําแหนงไหนก็ตาม สามารถเขียนให อยูในรูปผลบวกของ basis vector i , j , และ k โดยที่สัมประสิทธิ์ rx , ry , และ rz เปนตัวกําหนด ความยาวของ vector ตามแนวทิศทางของ basis vector ทั้งสาม นอกจากนี้ เราอาจจะละ basis vector i , j , และ k ไวในถานทีเ่ ขาใจ และเขียน vector r แบบยอๆ โดยใชเฉพาะสัมประสิทธิ์ทั้งสามตัวในการสื่อความหมาย เชน

(

r = rx , ry , rz

)

______________________ สมการ (2.10)

ตัวอยางที่สองเกี่ยวของกับคณิตศาสตรในเรื่องของฟงชันก เมื่อพิจารณาฟงชันกใดๆในหนึ่งมิตจิ ะ พบวา เราสามารถเขียนใหอยูในรูปของอนุกรม Taylor ไดดังนี้ f ( x) =

∑ an xn ______________________ สมการ (2.11)

n=0

ยกตัวอยางเชน e x = 1 + x + 1 x 2 + 1 x3 … หรือ sin x = x − 1 x3 + 1 x5 … ซึ่งจะเห็นวา basis 2!

3!

3!

5!

function ที่เราใชเปนตัวแทนของฟงชันกใดๆ ดังสมการ (2.11) นั้น ก็คือ polynomial นั่นเอง โดย ที่เซตของสัมประสิทธิ์ {an } มีคาแตกตางกันออกไปตามฟงชันก f (x) ที่เรากําลังพิจารณา แบบฝกหัด 2.2 จงหา Taylor expansion ของฟงชันก e x ,

cos x, sin x

จากนั้นพิสูจนวา

eiθ = cos θ + i sin θ

แบบฝกหัด 2.3 จงใชอนุกรม Taylor ในการพิสูจนวา

a 2 + b2 ≅ b +

a2 2b

เมื่อ a

b

การเขียนฟงชันกใดๆใหอยูในรูปของ basis function มิไดจํากัดอยูแตในกรณีของฟงชันกของหนึ่งตัว แปรดังในสมการ (2.11) ในกรณีของฟงชันกของสองตัวแปร มีตวั อยางที่นักศึกษาคุนเคยก็คือ f (θ , ϕ ) =

+l

∑ ∑

l = 0 m =−l

Dr. Teepanis Chachiyo

flmYlm (θ , ϕ )

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

______________________ สมการ (2.12)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-8

สมการ (2.12) แสดงใหเห็นวา ฟงชันกของสองตัวแปร f (θ , ϕ ) ใดๆ สามารถเขียนใหอยูในรูป summation ของ basis function Ylm (θ , ϕ ) คูณกับ สัมประสิทธิ์ flm โดยที่ฟงชันก Ylm (θ , ϕ ) มี ชื่อเรียกกันโดยทั่วไปวา spherical harmonic ซึ่งนักศึกษาไดเคยพบกับฟงชันกดังกลาวนี้มาแลวในการ แกสมการ Schrödinger สําหรับอะตอมของ hydrogen ในวิชา Quantum Mechanics เบื้องตน โดยที่ เราจะมาทบทวนสมบัติทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของอีกครั้งหนึ่ง ในเนื้อหาของบทที่ 9 ถาวกกลับมาที่ quantum mechanics เราเรียกเซตของ state ที่สามารถใชเปนองคประกอบของ state อื่นๆวา basis state ซึ่งเซตดังกลาวนี้ก็ขนึ้ อยูกับระบบทางฟสิกสที่กําลังพิจารณา ตัวอยางที่เห็น ชัดเจนที่สดุ ก็คือ เซตของ { + Z , − Z } โดยที่เราสามารถเขียนสถานะใดๆที่เกีย่ วของกับ spin ของ อิเล็กตรอนไดในรูปของ superposition ไดดังนี้ ψ = a+ + Z + a− − Z

______________________ สมการ (2.13)

อยางไรก็ตาม อาจจะมีเซตของ basis state อยูมากกวาหนึง่ เซตใหเลือกใชในการแทนสถานะของ ระบบที่เรากําลังศึกษา การมีอิสระที่จะเลือกใช basis state ในทาง quantum mechanics นั้น มีความ คลายคลึงกับอิสระที่จะเลือกใชพิกัดทีแ่ สดงถึงตําแหนงของวัตถุใน 3 มิติ ซึ่งเราสามารถเลือกใชวา จะเปนระบบ Cartesian coordinate, spherical coordinate, หรือ แมกระทั่ง cylindrical coordinate ยกตัวอยางเชน ในกรณีของแบบฝกหัด 2.1 ที่เราแสดงสถานะเชิง spin ของอิเล็กตรอนที่ชี้ในทิศซึ่ง กําหนดโดยมุม θ และ ϕ โดยที่สถานะ + n ดังกลาว เมื่อเขียนอยูในรูปของ basis state ที่เปน { + Z , − Z } จะไดวา θ

θ

+ n = cos( ) + Z + eiϕ sin( ) − Z 2 2

______________________ สมการ (2.14)

อยางไรก็ตาม สมมุติวาเครื่องมือที่ใชตรวจวัด spin -ของเราไมไดวางตัวอยูตามแนวแกน z หากแต อยูในแนวแกน x เพราะฉะนั้นเราอาจจะเลือกใช { + X , − X } เปน basis state ในกรณีเชนนี้ เราก็สามารถเขียน + n ไดวา + n = c+ + X + c− − X

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

______________________ สมการ (2.15)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-9

โดยที่สัมประสิทธิ์ c+ , c− ก็คือ probability amplitude ที่จะพบ + n อยูในสถานะ + X และ − X ตามลําดับ และจาก Section 1.8 ในบทที่ 1 c+ , c− สามารถเขียนใหอยูใ นรูป c+ = + X + n

______________________ สมการ (2.16)

c− = − X + n

เราคํานวณปริมาณทางขวามือในสมการ (2.16) ไดจากนํา สถานะ bra ket + n ในสมการ (2.14) จะไดวา θ

+X

θ

+ X + n = cos( ) + X + Z + eiϕ sin( ) + X − Z 2 2

เขาประกบกับสถานะ

________ สมการ (2.17)

สืบเนื่องจาก Section 1.6 ในเรื่องการทดลองของ Stern-Gerlach เราทราบจากสมการ (1.28) วา +Z + X =

1 2

และ

−Z + X =

1 2

เพราะฉะนั้นแลว ∗

1 2 1 ∗ + X −Z = −Z + X = 2

+ X +Z = +Z + X

=

________ สมการ (2.18)

และเมื่อแทนสมการ (2.18) เขาไปในสมการ (2.17) จะทําให θ 1 θ 1 + X + n = cos( ) + eiϕ sin( ) = c+ 2 2 2 2

________ สมการ (2.19)

θ 1 θ 1 − X + n = cos( ) − eiϕ sin( ) = c− 2 2 2 2

________ สมการ (2.20)

และในทํานองเดียวกัน

และในทายทีส่ ุด จะทําใหเราสามารถเขียนสถานะ { + X , − X } ดังนั้น

Dr. Teepanis Chachiyo

+n

ใหอยูใ นรูปของ basis state

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา +n =

2 Operator และ Matrix Mechanics

1 ⎛ θ θ ⎞ 1 ⎛ θ θ ⎞ iϕ iϕ ⎜ cos( ) + e sin( ) ⎟ + X + ⎜ cos( ) − e sin( ) ⎟ − X 2 2 ⎠ 2 2 ⎠ 2⎝ 2⎝

2-10

สมการ (2.21)

ทั้งนี้เมื่อเราเปรียบเทียบสมการ (2.14) และสมการ (2.21) จะพบวา ถึงแมเราจะมีอิสระในการเลือกที่ จะแสดงสถานะของระบบใหอยูใน basis state ใดๆก็ได แตการเลือกทีไ่ มเหมาะสมจะทําใหการ วิเคราะหทางคณิตศาสตรมีความซับซอนเกินความจําเปน ดังจะเห็นวา สถานะ + n ในรูปของ basis state { + X , − X } มีความซับซอนมากกวาในรูปของ { + Z , − Z } เปนตน แบบฝกหัด 2.4 จากแบบฝกหัด 1.8 และ 1.9 จงเขียน

{ +Y

, −Y

+n

และ

−n

ในรูปของ basis state

}

คณิตศาสตรของ Operator และ Basis State เนื้อหาใน Section 1.8 เราไดเกริ่นถึงการแสดงสถานะของระบบใหอยูใ นรูป superposition ของ basis state ไดวา N

Ψ = ∑ ci φ i

____________________ สมการ (2.22)

i =1

เมื่อ { φ i } คือเซตของ basis state หรือ เหตุการณพื้นฐานตางๆที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นไดทั้งหมด ซึ่งมี ทั้งสิ้น

N

สถานะดวยกัน

ดังที่ไดแสดงเปนตัวอยางใน Section 2.1 และ ในสมการ (2.4) ในเรื่องของการเขียน operator ใหอยู ในครั้งนี้เราจะนําตัวอยางดังกลาวมาเปนพืน้ ฐานในการเขียน ในรูปของ ket-bra หรือ operator Oˆ ใดๆ ซึ่งไมจํากัดอยูแ ตเฉพาะในกรณีของระบบที่มี basis state เปน { + Z , − Z } เพียง เทานั้น จากกรณีตัวอยางดังในสมการ (2.4) operator Oˆ ใดๆ ของระบบดังกลาว สามารถเขียนใหอยูใ นรูป N N

Oˆ = ∑ ∑ oij φ i i =1 j =1

Dr. Teepanis Chachiyo

φj

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

____________________ สมการ (2.23)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-11

เมื่อ สัมประสิทธิ์ oij ก็คือคาคงที่ ซึ่งก็ขึ้นอยูกบั operator และ ระบบทางฟสิกสที่เรากําลังศึกษา ยกตัวอยางเชน operator Ωˆ ใน Section 2.1 ซึ่งมี N = 2 และ φ1 = + Z , φ2 = − Z เพราะฉะนั้น o11 = +1, o12 = 0, o21 = 0, o22 = +i เปนตน เพื่อเปนตัวอยางของการนําเอารูปแบบการเขียน operator ดังในสมการ (2.23) เราจะมาวิเคราะห operator ที่เรียกวา identity operator identity operator ซึ่งโดยทั่วไปเขียนดวยสัญลักษณ 1ˆ เปน operator ที่เมื่อกระทํากับสถานะใดๆ จะ ไมมีผลทําใหสถานะนั้นๆเกิดการเปลี่ยนแปลงแตอยางใด หรือเขียนในรูปของสมการไดวา ____________________ สมการ (2.24)

1ˆ Ψ = Ψ

N N

จากคํานิยามในสมการขางตน เราสามารถพิสูจนไดวา 1ˆ = ∑ ∑ δ ij φ i i =1 j =1

N

1ˆ = ∑ φ i

φi

i =1

N

การพิสูจนใหเห็นวา operator ∑ φ i i =1

φi

φj

หรืออีกนัยหนึง่

____________________ สมการ (2.25)

ในสมการ (2.25) เมื่อไปกระทํากับสถานะใดๆแลว ไม

ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของสถานะนั้นๆ ทําไดโดยการพิจารณา ⎧⎪ N ⎨∑ φ i ⎩⎪i =1

⎫⎪

⎧⎪ N

⎭⎪

⎩⎪i =1

⎫⎪ N

φ i ⎬ Ψ = ⎨∑ φ i

ในสมการขางตน เราเขียนสถานะของระบบ

φ i ⎬ ∑ cn φ n ⎭⎪ n =1

Ψ

______________ สมการ (2.26)

ใหอยูใ นรูป superposition ของ basis state { φ n

}

จากนั้นสามารถกระจาย summation ซึ่งจะไดวา ⎧⎪ N ⎨∑ φ i ⎩⎪i =1

N N ⎫⎪ φi ⎬ Ψ = ∑ ∑ φi i =1 n =1 ⎭⎪

φ i cn φ n

N N

______________ สมการ (2.27)

= ∑ ∑ φ i cnδ in i =1 n =1

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-12

เนื่องจาก Kronecker delta function δin ทําใหเทอมตางๆของ summation ในสมการ (2.27) เปนศูนย เกือบทั้งหมด ยกเวนแตในกรณี i = n ดังนั้น ⎧⎪ N ⎨∑ φ i ⎪⎩i =1

⎫⎪

N

⎪⎭

n =1

φ i ⎬ Ψ = ∑ cn φ i = Ψ

______________ สมการ (2.28)

ซึ่งก็เปนจริงตามคํานิยามในสมการ (2.24) identity operator 1ˆ โดยตัวมันเองแลว ไมมปี ระโยชนใน แงของการนํามาวิเคราะหปรากฏการณทางฟสิกส เพราะ 1ˆ เปรียบเสมือนตัวเลข 1 ซึ่งเมื่อคูณกับ ฟงชันกใดก็ยอ มไมเกิดอะไรขึ้น แต identity operator 1ˆ จะเปนตัวชวยในการวิเคราะหเชิง คณิตศาสตร ดังจะไดแสดงเปนตัวอยางในลําดับตอไป แบบฝกหัด 2.5 สมการ (2.23) เปนการเขียน operator Oˆ ในรูปของสัมประสิทธิ์ oij ในทาง กลับกัน จงเขียนสัมประสิทธิ์ oij ในรูปของ operator Oˆ และพิสูจนวา oij = φ i Oˆ φ j

บอกใบ: ใชสมบัติความเปน orthogonal ของ basis state { φ i

____________________ สมการ (2.29)

}

ในแบบฝกหัด 2.4 เราทําการเปลี่ยนการแสดงสถานะ + n โดยที่แตเดิมอยูในรูปของ basis state { + Z , − Z } ใหอยูใ นรูปของ basis state { +Y , −Y } ซึ่งเปนกรณีตวั อยางของระบบที่มี จํานวน basis state N=2 ในคราวนี้ เราสามารถที่จะใช identity operator เปนเครื่องมือในการเปลี่ยน basis state ของสถานะของระบบ สมมุตวาแตเดิม เราเขียนสถานะของระบบ

Ψ

ดวยเซตของ basis state { φ i } กลาวคือ N

Ψ = ∑ ci φ i

____________________ สมการ (2.30)

i =1

โดยที่เราทราบคาของสัมประสิทธิ์ {c i } พิจารณาเซตของ basis state { η j } อีกชุดหนึ่ง จาก identity operator ในสมการ (2.25) เราสามารถเขียนไดวา

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics 1ˆ =

N

∑ηj j =1

η

2-13

____________________ (2.31)

j

ซึ่งเมื่อใช identity operator ที่เขียนในรูปสมการ (2.31) เขาไปแทรกในเทอมทางขวามือของสมการ (2.30) จะไดวา N

Ψ = ∑ ci 1ˆ φ i i =1

N ⎧⎪ N ⎫⎪ = ∑ ci ⎨ ∑ η j η j ⎬ φ i ⎪ j =1 ⎪⎭ i =1 ⎩

____________________ สมการ (2.32)

N N

= ∑ ∑ ci η j η j φ i i =1 j =1

และในเมื่อ

η j φi

Ψ =

เปนเพียงตัวเลขจํานวนเชิงซอน จึงสามารถจัดรูปไดดังตอไปนี้ N

N

∑ b j η j เมื่อ b j ≡ ∑ ci i =1

j =1

φi η

j

____________________ สมการ (2.33)

โดยทั่วไปแลว การเปลี่ยนสถานะที่เขียนในรูปของ basis state { φ i state { η j

}

}

ใหอยูในรูปของ basis

สามารถทําไดโดยใชสมการ (2.33) นั่นเอง

2.3 Matrix Mechanics นอกจากทีเ่ ราใชระบบทางสัญลักษณที่เรียกวา bra และ ket ในการอธิบาย quantum mechanics แลว matrix mechanics ยังเปนอีกรูปแบบหนึ่งทีส่ ามารถทําได และใน Section 2.3 นี้เราจะเริ่มดวยการ ทบทวน linear algebra เพื่อใหนักศึกษาคุนเคยกับระบบของ vector และ matrix จากนั้นเราจะ กลาวถึงระบบของ matrix mechanics ที่ Heisenberg, Born, และ Jordan คิดคนขึ้น และในสุดทาย จะกลาวถึง spin operator ที่อยูในรูปของ matrix

ทบทวนพีชคณิตของ Vector และ Matrix

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-14

เพื่อใหนักศึกษาคุนเคยกับเนื้อหาของ vector และ matrix ที่อยูในวิชาพีชคณิตเชิงเสน (Linear Algebra) ในขั้นตนนี้ เราจะทบทวนคํานิยามและเอกลักษณทางคณิตศาสตรตางๆของ vector และ matrix vector คือ กลุมของตัวเลข ซึ่งอาจเปนเพียงจํานวนจริงหรือจํานวนเชิงซอน ที่โดยทั่วไปเขียนใหอยู ในลักษณะเปนแถวในแนวตั้ง ยกตัวอยางเชน ⎡ c1 ⎤ ⎡ 2i ⎤ ⎢c ⎥ ⎡1⎤ a = ⎢ ⎥ , b = ⎢⎢1 − i ⎥⎥ , หรือ c = ⎢ 2 ⎥ ⎢ ⎥ ⎣8⎦ ⎢⎣1 + i ⎥⎦ ⎢ ⎥ ⎣cN ⎦

เปน vector _____________ สมการ (2.34)

จํานวนของตัวเลขภายใน vector ซึ่งในกรณีนี้ก็คือจํานวนของแถว แสดงถึง dimension (มิติ) ของ vector ดังจะเห็นไดจากตัวอยางขางตน ประกอบดวย vector ที่มี 2, 3, และ N dimension ตามลําดับ จะสังเกตเห็นวา เราใชสัญลักษณ a , b , และ c แทน vector และในการอางถึงตัวเลขตางๆภายใน vector เราใช index หรือ ดัชนีกํากับตําแหนง ซึ่งแสดงถึงลําดับของแถวที่ตัวเลขนั้นๆปรากฏอยู ยกตัวอยางเชน a2 = 8 หรือ b3 = 1 + i เปนตน matrix คือ การจัดกลุมของตัวเลขที่มีความซับซอนมากขึ้นจาก vector กลาวคือ เปนการเขียนที่มี ลักษณะเปนทัง้ แถวควบคูไปกับคอลัมน ยกตัวอยางเชน ⎡ 1 ⎡ 1 5⎤ A=⎢ , B = ⎢⎢ 0 ⎥ ⎣ −5 2 ⎦ ⎢⎣1 + i ⎡ c1,1 c1,2 … ⎢ c c … หรือ C = ⎢⎢ 2,1 2,2 ⎢ ⎢⎣ cN ,1 cN ,2 …

0 1− i⎤ 4 −2i ⎥⎥ , 2i 1 ⎥⎦ c1, N ⎤ ⎥ c2, N ⎥ ⎥ เปน matrix ⎥ cN , N ⎥⎦

_____________ สมการ (2.35)

เนื่องจาก matrix มีทั้งแถวและคอลัมน เราใชตัวเลข 2 ตัวในการบงบอกถึง dimension ของมัน ซึ่ง จากตัวอยางขางตน ประกอบดวย matrix ที่มี 2x2, 3x3, และ NxN dimension ตามลําดับ ในกรณี เชนนี้ เราใชคาํ วา matrix A มี 2 แถวและมี 2 คอลัมน หรือ matrix C มี N แถวและมี N คอลัมน Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-15

อยางไรก็ตาม จํานวนของแถวและจํานวนของคอลัมนไมจําเปนตองเทากัน แตถาทั้งสองมีคาเทากัน เราเรียก matrix นั้นวา square matrix โดยทั่วเราใชตวั อักษร Roman และมีเครื่องหมาย tilde เพือ่ แสดงถึงความเปน matrix ยกตัวอยางเชน A , B , และ C และในทํานองเดียวกันกับ dimension ของ matrix ในการอางถึงตัวเลขภายใน matrix เราจะใชตัวเลข 2 ตัวเพื่อเปน index หรือ ดัชนีกํากับตําแหนงทีต่ วั เลขนั้นๆปรากฏอยู ยกตัวอยางเชน A2,1 = −5 , B3,1 = 1 + i

และ

B1,3 = 1 − i

โดยที่ index ตัวแรกแสดงถึงแถว และ index ตัวที่สองแสดงถึงคอลัมน ทั้งนี้ ตัวเลขที่เปนสมาชิก ของ matrix เรียกอีกชื่อหนึ่งวา matrix element matrix-vector operation เราสามารถนํา matrix เขามากระทํากับ vector และทําใหเกิด vector ขึ้นมาใหม ซึ่งในบางครั้งเราเรียกกระบวนการดังกลาวนี้วา "การคูณ" ของ matrix เขากับ vector

กําหนดให

a = Bb

จะไดวา

0 1 − i ⎤ ⎡ 2i ⎤ ⎡ 1 ⎢ 0 4 −2i ⎥⎥ ⎢⎢1 − i ⎥⎥ ⎢ ⎢⎣1 + i 2i 1 ⎥⎦ ⎢⎣1 + i ⎥⎦

หรือเขียนในรูปทั่วไป

a1 = B1,1 ⋅ b1 + B1,2 ⋅ b2 + B1,3 ⋅ b3

1 ⋅ (2i ) + 0 ⋅ (1 − i ) + (1 − i) ⋅ (1 + i) = 2 + 2i = 6 − 6i = 1 + 5i

ai =

N

∑ Bi, j ⋅ b j j =1

ภาพ 2.4 แสดง matrix - vector operator ดังแสดงในภาพขางตน สมมุติวามี matrix B ขนาด 3x3 และ มี vector b ซึ่งมี dimension เทากับ 3 เชนเดียวกัน เมื่อกําหนดให a = Bb จะไดวา vector ผลลัพธที่เกิดขึ้นจะมีคาเทากับ ai =

Dr. Teepanis Chachiyo

N

∑ Bi, j ⋅ b j เมื่อ a = Bb ____________________ สมการ (2.36) j =1

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-16

เมื่อสังเกตสีของภาพขางตน จะพบวา สมาชิกในแถวที่ 1 ของ vector a ไดมาจากการคูณกัน ระหวางแถวที่ 1 ของ matrix B กับ vector b นั่นเอง matrix-matrix operation นอกจากนี้ matrix ยังสามารถกระทํากับ matrix ดวยกันเอง เกิดเปน matrix ขึ้นมาใหม กําหนดให AB = C C1,3 = A1,1 ⋅ B1,3 + A1,2 ⋅ B2,3 + A1,3 ⋅ B3,3

แถว 1 ⎡1 0 1 ⎤ ⎡ 1 แถว 2 ⎢⎢0 4 0⎥⎥ ⎢⎢ 0

0 1− i⎤ 4 −2i ⎥⎥ ⎢⎣1 0 3⎥⎦ ⎢⎣1 + i 2i 1 ⎥⎦

⎡ 2 + i 2i 2 − i ⎤ ⎢ 0 16 −8i ⎥⎥ ⎢ ⎢⎣ 4 + 3i 6i 4 − i ⎥⎦

คอลัมน 1 คอลัมน 3 N

หรือในรูปทั่วไป Ci, j = ∑ Ai, k ⋅ Bk , j k =1

ภาพ 2.5 แสดง matrix - matrix operation ดังตัวอยางของภาพที่ไดแสดงขางตน กําหนดให A และ B เปน square matrix ที่มี dimension NxN เพราะฉะนั้น ผลลัพธของ matrix - matrix operation AB = C ก็คือ Ci, j =

N

∑ Ai,k ⋅ Bk , j เมื่อ C = AB ____________________ สมการ (2.37)

k =1

ยกตัวอยางเชน สมาชิกของ matrix C ที่อยู ณ ตําแหนง แถว 1 และ คอลัมน 3 หรือ C1,3 สามารถ คํานวณไดจากการคูณกันระหวาง แถว 1 ของ A และ คอลัมน 3 ของ B นั่นเอง แบบฝกหัด 2.6 จาก matrix กรณีดังกลาว BA ≠ AB

A

และ B ดังในภาพ 2.5 จงคํานวณ

BA

และแสดงใหเห็นวา ใน

conjugate transpose ของ matrix กระบวนการทางคณิตศาสตรที่สําคัญอันหนึ่งก็คือการนํา matrix มาสลับแถว ⇔ คอลัมน และในกรณีที่ matrix มีสมาชิกเปนเลขจํานวนเชิงซอน นอกจากการสลับ ตําแหนงดังกลาวยังมีการเปลี่ยนตัวเลขใหเปน complex conjugate ของตัวมันเอง ยกตัวอยางเชน

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

ถา

⎡1 + 6i 2 + 5i ⎤ A = ⎢⎢3 + 4i 4 + 3i ⎥⎥ ⎢⎣5 + 2i 6 + 1i ⎥⎦

2 Operator และ Matrix Mechanics

แลว conjugate transpose ของ

A

คือ

2-17

⎡1 − 6i 3 − 4i 5 − 2i ⎤ A† = ⎢ ⎥ ⎣ 2 − 5i 4 − 3i 6 − 1i ⎦

ตัวอยางขางตนเปน การหา conjugate transpose ของ matrix ขนาด 3x2 ซึ่งจะไดผลลัพธเปน matrix ขนาด 2x3 นอกจากนี้ ตัวอยางดังกลาวยังสามารถเขียนใหอยูใ นรูปของสมาชิกของ matrix ไดวา Bi, j = A∗j ,i

เมื่อ

B = A†

____________________ สมการ (2.38)

ใหสังเกตการสลับที่ของ index i ⇔ j พรอมทั้งการคํานวณ complex conjugate ของสมการใน matrix ดังในสมการ (2.38) ซึ่งเปนคุณสมบัติของ conjugate transpose conjugate transpose เรียกอีกอยางหนึ่งวา adjoint ที่จะมีความสําคัญในอนาคตเมื่อเรากลาวถึง eigenvalue ของ matrix แบบฝกหัด 2.7 จงใชคํานิยามของ adjoint หรือ conjugate transpose ในสมการ (2.38) เพื่อพิสูจนวา (a) ( A† )

=A

และ (b) ( AB )

= B† A†

แบบฝกหัด 2.8 เราสามารถที่จะมอง vector วาเปน matrix ที่มี dimension Nx1 นัน่ ก็คือ ถา vector a เรียงกันเปนแถวในแนวตั้ง จะไดวา a † เรียงกันเปนคอลัมนในแนวนอน ถา

⎡ a1 ⎤ ⎢a ⎥ a=⎢ 2⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎣aN ⎦

แลว adjoint ของ a คือ

a † = ⎡ a1∗ ⎣

a2∗

a∗N ⎤ ⎦

จงพิสูจนโดยอาศัยหลักการของ matrix-matrix operator ดังที่ไดกลาวไว เพื่อแสดงวา a) a †a = ตัวเลขจํานวนเชิงซอน 1 ตัว b) aa † = matrix ที่มี dimension NxN แบบฝกหัด 2.9 matrix ซึ่งมีสมบัติพิเศษคือเปน adjoint ของตัวมันเอง เราเรียก matrix ประเภทนีว้ า Hermitian matrix หรืออีกนัยหนึ่ง matrix H มีชื่อเรียกวา Hermitian matrix ถา Dr. Teepanis Chachiyo

H = H†

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

____________________ สมการ (2.39) teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-18

จงพิสูจนวา diagonal element ของ Hermitian matrix จะตองเปนจํานวนจริง [หมายเหตุ: diagonal element คือ matrix element ที่ปรากฏอยูในแนวเสนทแยงมุมของ matrix กลาวคือ อยู ณ ตําแหนง H i ,i ] eigenvector และ eigenvalue ของ matrix ความเขาใจเรื่อง eigenvalue และ eigenvector ของ matrix มิใชเปนแตเพียงกลยุทธทางคณิตศาสตรที่เปนนามธรรมและเปนประโยชนแตเฉพาะในแง ของการฝกฝนเชาวปญญาแตเพียงอยางเดียว หากแตมีการนํามาประยุกตใชงานอยางเปนรูปธรรม ในทาง quantum mechanics และ อธิบายปรากฏการณตางๆในทางฟสิกส อยางไรก็ตามในขั้นตนนี้ เราจะ focus อยูแตเฉพาะในทางคณิตศาสตรและจะวกกลับมากลาวถึงการ ประยุกตใชงานใน Section อื่นๆอีกตอไป ยกตัวอยางเชนเมื่อเราพิจารณา matrix ขนาด 2x2 ⎡1 2⎤ A=⎢ ⎥ ⎣2 3⎦

จะพบวา มี vector อยู 2 vector ดวยกันคือ ⎡ + 5 − 1⎤ a1 = ⎢ ⎥ ⎣ 2 ⎦

และ a2 = ⎢ − ⎣

5 − 1⎤ ⎥ 2 ⎦

ซึ่งเมื่อ A กระทํากับ a1 หรือ a2 แลว กลับไดผลลัพธเปน a1 หรือ a2 เชนเดิม คูณดวยคาคงที่ ดังจะเห็นไดจาก ⎡ 5 − 1⎤ ⎡1 2 ⎤ ⎡ 5 − 1⎤ ⎡ 3 + 5 ⎤ Aa1 = ⎢ ⎥ = 2+ 5 ⎢ ⎢ ⎥=⎢ ⎥ ⎥ ⎣ 2 3 ⎦ ⎣ 2 ⎦ ⎢⎣ 4 + 2 5 ⎥⎦ ⎣ 2 ⎦

(

(

)

)

__________ สมการ (2.40)

Aa1 = 2 + 5 a1

และในทํานองเดียวกัน ในกรณีของ a2

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

⎡ − 5 − 1⎤ ⎡1 2 ⎤ ⎡ − 5 − 1⎤ ⎡ 3 − 5 ⎤ Aa2 = ⎢ ⎥ = 2− 5 ⎢ ⎢ ⎥=⎢ ⎥ ⎥ ⎣ 2 3 ⎦ ⎣ 2 ⎦ ⎣⎢ 4 − 2 5 ⎥⎦ ⎣ 2 ⎦

(

(

)

)

2-19

__________ สมการ (2.41)

Aa2 = 2 − 5 a2

จากสมการทั้งสองจะเห็นวา คาคงที่ ที่ไดกลาวถึง มีคาเทากับ (2 + 5) ในกรณีของ a1 และ มีคา เทากับ (2 − 5) ในกรณีของ a2 โดยที่คุณสมบัติพิเศษของ vector a1 และ a2 สามารถสรุปให อยูในรูปทัว่ ไปไดวา พิจารณา square matrix A ขนาด NxN ใดๆ จะปรากฏมี vector an และ คาคงที่ λn ที่มี ความสัมพันธดังสมการ Aan = λn an

เราเรียก

___________________ สมการ (2.42)

วาเปน eigenvector ของ matrix A วาเปน eigenvalue ของ eigenvector an

vector an คาคงที่ λn

ใหสังเกตวา เรากํากับ eigenvector และ eigenvalue ดังในสมการ (2.42) ดวย index n ที่เปนเชนนีก้ ็ เพราะวาจํานวนของ eigenvector ที่ทําใหสมการดังกลาวเปนจริงนั้น มีจาํ นวนทั้งสิ้น N vector ดวยกัน หรือ กลาวอีกนัยหนึ่ง โดยทั่วไปจะมีเซตของ eigenvector {a1, a2 ,… , aN } และ เซตของ eigenvalue {λ1, λ2 ,… , λN } ที่ ทําใหสมการ (2.42) นั้นเปนจริง คําถามที่เกิดขึน้ ตามมาก็คือ การหาคา eigenvalue และ eigenvector ดังตัวอยางของ matrix ⎡1 2⎤ A=⎢ ⎥ ⎣2 3⎦

นั้น มีขั้นตอนอยางไร ? คําตอบแบงออกเปน 2 สวน คือ (1) หา eigenvalue และ (2)

หา eigenvector 1) เซตของ eigenvalue {λ1, λ2 ,… , λN } สามารถหาไดจากการกําหนดให

(

)

det A − λ I = 0

Dr. Teepanis Chachiyo

เมื่อ คือ I identity matrix ___________________ สมการ (2.43)

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-20

สมการ (2.43) จะทําใหเกิด polynomial degree N ซึ่งอยูในรูป ς N λ N + + ς 2λ 2 + ς1λ + ς 0 = 0 ซึ่งมีรากของสมการเปนจํานวนเทากับ N คําตอบ และเปนที่มาของ {λ1, λ2 ,… , λN } ดังกลาว ยกตัวอยางเชน กําหนดให

⎡1 2⎤ A=⎢ ⎥ ⎣2 3⎦

เราสามารถจัดรูปของเทอมตางๆใหเหมือนกับสมการ

(2.43) ไดวา ⎧⎡1 2⎤ 2 ⎤ ⎡1 0 ⎤ ⎫ ⎡1 − λ det ⎨ ⎢ −λ ⎢ ⎬ = det ⎢ ⎥ ⎥ ⎥=0 2 3 0 1 2 3 λ − ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎣ ⎦ ⎩ ⎭

____________ สมการ (2.44)

ถาอนุมานเอาวา นักศึกษาคุน เคยกับการคํานวณ determinant ของ matrix เปนอยางดี จะไดวา ทาง ซายมือของสมการ (2.44) มีคาเทากับ (1 − λ )(3 − λ ) − 4 = 0

λ 2 − 4λ − 1 = 0

____________ สมการ (2.45)

จะเห็นวาสมการ (2.45) อยูในรูปของ polynomial degree 2 เพราะวา matrix A ในกรณีตัวอยางนี้ มี ขนาดเปน 2x2 นั่นเอง และจากสมการขางตน มีผลเฉลยอยูสองคาดวยกันคือ λ=

4 ± 16 + 4 = 2± 5 2

____________ สมการ (2.46)

2) เซตของ eigenvector {a1, a2 ,… , aN } สามารถคํานวณไดดวยการแทนคาของ eigenvalue เขาไป ในสมการ (2.42) ซึ่งในกรณีของ a1 = ⎡⎢

x⎤ ⎥ ⎣ y⎦

จะไดวา

⎡1 2⎤ ⎡ x ⎤ ⎡ x⎤ 2 5 = + ⎢2 3⎥ ⎢ y ⎥ ⎢ y⎥ ⎣ ⎦⎣ ⎦ ⎣ ⎦

(

)

____________ สมการ (2.47)

จากนั้น เราทําการเปลี่ยนสมการ (2.47) ใหอยูใ นรูปของระบบสมการ 2 ตัวแปรดังนี้

( ) 2x + 3y = (2 + 5 ) y x + 2y = 2 + 5 x

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

____________ สมการ (2.48)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-21

หรือ 5 +1 x 2 2 y= x 5 −1 y=

____________ สมการ (2.49) ____________ สมการ (2.50)

ทั้งนี้เมื่อวิเคราะหใหถี่ถวนแลวจะพบวา สมการ (2.49) และ (2.50) นั้น เปนสมการเดียวกัน! เพราะฉะนั้นเราจึงสามารถกําหนดคา x ไดอยางอิสระ และเมื่อแทนคา x เขาไปในสมการ (2.49) ก็ จะไดคาของ y ตามมา ดังในกรณีของตัวอยางทีก่ ําลังกลาวถึง เราเลือกให x = 5 − 1 ซึ่งจะไดคา y = 2 อิสระในการ เลือกคาของ x ดังกลาวนี้ เปนคุณสมบัติโดยทัว่ ไปของ eigenvector ซึ่งก็คือ "ถา a เปน eigenvector ของ matrix A แลว จะไดวา ca ก็เปน eigenvector ดวยเชนกัน เมื่อ c คือคาคงที่ใดๆ" แบบฝกหัด 2.10 โดยใชวธิ ีในทํานองเดียวกันกับสมการ (2.40) จงแสดงใหเห็นวา vector ⎡ 5 − 1⎤ ⎢ ⎥, ⎣ 2 ⎦

⎡ ⎢ ⎢⎣

(

)

5 − 1 2⎤ ⎥ , และ ⎥⎦ 1

และในกรณีของ a2 = ⎡⎢

x⎤ ⎥ ⎣ y⎦

⎡ 4 ⎤ ⎢ ⎥ ⎣ 2 5 + 2⎦

ซึ่งมี λ2 = 2 −

ลวนแลวแตเปน eigenvector ของ

5

A

เปน eigenvalue จะไดระบบสมการคือ

( ) 2x + 3y = (2 − 5 ) y

____________ สมการ (2.51)

1− 5 x 2

____________ สมการ (2.52)

x + 2y = 2 − 5 x

ซึ่งนําไปสูสมการ y=

ซึ่งถาเราเลือก

x = − 5 −1

Dr. Teepanis Chachiyo

ก็จะไดคาของ

y=2

ทําให a2 = ⎢ −

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

5 − 1⎤ ⎥ 2 ⎦

ดังในสมการ (2.41)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics ⎡ E0 − A⎤ ⎥ ⎣ − A E0 ⎦

แบบฝกหัด 2.11 จงหา eigenvector และ eigenvalue ของ matrix ⎢

2-22

เมื่อ

E0

และ

A

คือจํานวนจริงใดๆ ภาพของ Heisenberg (ซาย) ในป 1927 และ Max Born (ขวา) [Credit: The American Institute of Physics]

Quantum Mechanics ในรูปของ Matrix ความหนักหนวงเชิงคณิตศาสตรที่เกี่ยวของกับ vector และ matrix ที่นักศึกษาตองทบทวนใน Section ที่ผานมา จะมีผลที่คุมคากับการไดสัมผัสกับผลงานชิ้นเอกของ Werner Heisenberg, Max Born, และ Pascual Jordan ในป 1925 ผูเปนบิดาแหง Matrix Mechanics และ Heisenberg ไดรับรางวัล โนเบลในป 1932 แทนสถานะของระบบดวย vector เมื่อพิจารณาการเขียนสถานะ ket ใหอยูใ นรูป superposition ของ basis state ยกตัวอยางเชน

+Y =

1 2

+Z +

i

2

−Z

ซึ่งเราสามารถเขียนใหอยูใ นรูปของ

vector ไดดังนี้ 1 ⎡1⎤ + Y ⎯⎯ ⎯ ⎯ ⎯ ⎯→ ⎢⎥ ± Z basis 2 ⎣i ⎦

โดยที่ในบางครั้งอาจจะละไวในถานทีเ่ ขาใจวา เรากําลังใช ดังกลาวใหสั้นลงไดวา

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

±Z

_________________ สมการ (2.53) เปน basis state และเขียนสถานะ

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา +Y →

1 2

⎡1⎤ ⎢⎥ ⎣i ⎦

1 ⎡1⎤ ⎢⎥ 2 ⎣1⎦ ⎡1 ⎤ +Z → ⎢0⎥ ⎣ ⎦

+X →

2 Operator และ Matrix Mechanics ⎡1⎤ ⎢ ⎥ ⎣ −i ⎦ 1 ⎡1⎤ −X → ⎢ ⎥ 2 ⎣ −1⎦ −Y →

2-23

1 2

−Z →

_______________ สมการ (2.54)

⎡0⎤ ⎢1 ⎥ ⎣ ⎦

จากตัวอยางในสมการ (2.53) และ สมการ (2.54) เราสามารถสรุปขั้นตอนการเปลี่ยนจากการอธิบาย สถานะของระบบซึ่งเดิมอยูในรูปของ superposition ของ basis state ใหกลายเปนรูปแบบของ vector ไดดังตอไปนี้ ⎡ c1 ⎤ ⎢c ⎥ N Ψ = ∑ ci φ i ⎯⎯⎯⎯⎯→ ⎢ 2 ⎥ φ i basis ⎢ ⎥ i =1 ⎢ ⎥ ⎣cN ⎦

_________________ สมการ (2.55)

นอกจากสถานะ ket ดังในสมการ (2.55) แลว ในบทที่ 1 Section 1.8 เราไดกลาวถึงสถานะ bra N

Ψ = ∑ ci∗ φ i

และการที่เราจะเปลี่ยนรูปแบบของการเขียนสถานะ bra ดังกลาวใหอยูในรูป

i =1

ของ vector จําเปนตองมีความระมัดระวังเปนพิเศษเนื่องจากมีขอสังเกตอยู 2 ประการ 1) ในการเปลี่ยนจาก ket ใหเปน bra นั้น สัมประสิทธิ์ที่เดิมคูณอยูกับสถานะ ket จะกลายเปน complex conjugate ของตัวมันเองเมื่อเปลีย่ นใหอยูใ นรูปของ bra ดังในสมการ (1.45) 2) เมื่อสถานะ bra เขามากระทํากับสถานะ ket จะตองมีสภาพเปนตัวเลขจํานวนเชิงซอน หรือที่ เรียกวา probability amplitude ดังในสมการ (1.3) เมื่อเราพิจาณาขอสังเกตทั้ง 2 ขอดังกลาว จะพบวา เราสามารถแสดงสถานะ bra ใหอยูในรูปของ vector ไดโดยสิ่งที่เรียกวา conjugate transpose ของ vector ดังที่เราไดทบทวนในเนือ้ หาของ Section ที่ผานมา กลาวคือ †

⎡ c1 ⎤ ⎢c ⎥ N ∗ Ψ = ∑ ci φ i ⎯⎯⎯⎯⎯→ ⎢ 2 ⎥ = ⎡ c1∗ c2∗ … c∗N ⎤ ⎦ φ i basis ⎢ ⎥ ⎣ i =1 ⎢ ⎥ ⎣cN ⎦

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

______ สมการ (2.56)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-24

การเขียนสถานะ bra ใหอยูในรูป adjoint หรือ conjugate transpose ในสมการ (2.56) มีผล สอดคลองกับขอสังเกตทั้งสองขอดังกลาว ซึ่งก็คือ 1) เมื่อสังเกตกลุมของตัวเลขในทางขวามือของสมการ (2.56) จะพบวามันเปน complex conjugate ซึ่งเปนผลโดยอัตโนมัติสืบเนื่องจากความเปน adjoint 2) ดังแสดงในแบบฝกหัด 2.8 ที่เมื่อ bra มาพบกับ ket ยอมตองเกิดเปนตัวเลขจํานวนเชิงซอนที่ ตีความไดวาเปน probability amplitude ยกตัวอยางเชน เมื่อเรานํา adjoint ของ vector ในสมการ (2.56) มากระทํากับ vector ในสมการ (2.55) จะไดวา ⎡ c1 ⎤ ⎢ ⎥ N N 2 ∗ ∗ ∗ ⎤ ⎢ c2 ⎥ ∗ ⎡ Ψ Ψ = c1 c2 … cN = c c = c ⎣ ⎦⎢ ⎥ ∑ i i ∑ i i =1 ⎢ ⎥ i =1 c ⎣ N⎦

ซึ่งสอดคลองอยางลงตัวกับคํานิยามของ Ψ Ψ แทนสถานะ bra ดวย adjoint ของ vector นั่นเอง

______ สมการ (2.57)

และดวยเหตุนี้เอง จึงเปนการเหมาะสมที่เรา

เพราะฉะนั้นแลว สถานะ bra ที่แสดงถึง spin ของอิเล็กตรอนในการทดลองของ Stern-Gerlach สามารถเขียนใหอยูใ นรูปของ adjoint vector ภายใต basis state ± Z ไดวา 1 [1 −i ] 2 1 +X → [1 1] 2 +Z → [1 0] +Y →

1 [1 +i ] 2 1 −X → [1 −1] ____________ สมการ (2.58) 2 +Z → [0 1] −Y →

จากตัวอยางของสถานะ ket และ สถานะ bra ที่เขียนใหอยูในรูป vector และ adjoint vector ดังใน สมการ (2.54) และ (2.58) ตามลําดับนั้น จะปรากฏวา การคํานวณเชิงคณิตศาสตรใดๆที่เกี่ยวของ กับ ket และ bra ก็จะสามารถทําไดโดยใชกฎเกณฑของ linear algebra หรือ พีชคณิตเชิงเสนเขามา เปนตัวชวย ยกตัวอยางเชน

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา − X −Y

2

2 Operator และ Matrix Mechanics =

1 [1 − 1] 1 ⎡⎢ ⎤⎥ 2 2 ⎣− i ⎦

1

1 = (1 + i ) 2 1 = 2

2

2-25

2

________________ สมการ(2.59)

ซึ่งการวิเคราะหโดยใช linear algebra เชนนี้ มีกฎเกณฑที่ตายตัวและโดยเฉพาะอยางยิ่ง งายตอการใช คอมพิวเตอรในการคํานวณ ขอควรระวัง สถานะที่เขียนใหอยูใ นรูปของ vector นั้น ถึงแมวาเราจะละไวในถานทีเ่ ขาใจวาใช ± Z เปน basis state แตก็ไมจาํ เปนเสมอไป อาทิเชน ในกรณีที่เราใช ± X เปน basis state จะสามารถเขียน

⎡1 ⎤ + X ⎯⎯ ⎯ ⎯ ⎯ ⎯→⎢ ⎥ ± X basis ⎣0⎦

เพราะฉะนั้น กอนทีจ่ ะทําการคํานวณที่เกี่ยวของกับ

สถานะตางๆ โดยใช linear algebra นั้น ตองแนใจวา ทุกๆสถานะ เขียนขึ้นโดยใช basis set อัน เดียวกัน แบบฝกหัด 2.12 จงคํานวณ matrix mechanics

− X −Z

2

,

−Y − Z

2

,

−X −X

, และ

−X +X

โดยใช

แทน operator ของระบบดวย matrix เมื่อสังเกตการเขียน operator ดังสมการ (2.23) ซึ่งก็คือ N N

Oˆ = ∑ ∑ oij φ i i =1 j =1

φj

จะสังเกตเห็นวา

1) คาคงที่ oij นั้น มี index หรือ ดัชนีกํากับอยูส องตัวดวยกัน ซึ่งสอดคลองกับ index กํากับ ตําแหนงของ matrix 2) operator เมื่อกระทํากับ สถานะ ket จะเกิดขึ้นเปนสถานะ ket อันใหมขึ้นมา ในทํานองเดียวกัน กับที่ matrix เมื่อกระทํากับ vector ก็จะได vector เกิดขึ้นมา 3) จากแบบฝกหัด 2.5 เราสามารถคํานวณ oij ไดจากเอกลักษณทางคณิตศาสตร oij =

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

φ i Oˆ φ j

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-26

เพราะฉะนั้นจึงที่เหมาะสมอยางยิ่งที่เราจะใช matrix แทน operator โดยกอนที่เราจะกลาวถึงใน กรณีทั่วๆ จะขอยกตัวอยางของระบบที่มีจํานวนของ basis state เทากับ 2 สมมุติวาเรากําลังศึกษาระบบทางฟสิกสที่ใช เขียนใหอยูใ นรูปของ matrix ดังตอไปนี้ ⎡ +Z Oˆ ⎯⎯⎯⎯⎯→ ⎢ ± Z basis ⎢ − Z ⎣

±Z

เปน basis state จะไดวา operator Oˆ สามารถ

Oˆ + Z Oˆ + Z

+ Z Oˆ − Z ⎤ ⎥ − Z Oˆ − Z ⎥⎦

___________ สมการ (2.60)

เพื่อใหงายในการทําความเขาใจ เราจะลองมาวิเคราะหตวั อยาง operator Ωˆ ดังที่ไดกลาวไวใน Section 2.1 ดังนั้น ˆ +Z = 1 +Z Ω ˆ −Z = 0 +Z Ω ˆ +Z = 0 −Z Ω

____________________ สมการ (2.61)

ˆ −Z = i −Z Ω

เทอมตางๆ ในสมการ (2.61) เรียกอีกอยางหนึ่งวา matrix element ของ operator Ωˆ ซึ่งเมื่อนํามา เขียนใหอยูใ นรูปของ matrix จะทําให ˆ ⎯⎯⎯⎯⎯→ ⎡1 0 ⎤ Ω ± Z basis ⎢⎣0 i ⎥⎦

___________ สมการ (2.62)

แบบฝกหัด 2.13 จาก Section 2.1 เราทราบวา Ωˆ + X = +Y จงใชรูปแบบของ operator ใน สมการ (2.62) และ รูปแบบของสถานะในสมการ (2.54) ประกอบกับ matrix-vector operation เพื่อ แสดงใหเห็นวา Ωˆ + X = +Y มาถึงขั้นนี้เราสามารถที่จะกําหนดระเบียบวิธีในการเขียน operator Oˆ ใดๆ ใหอยูใ นรูปของ matrix ไดดังตอไปนี้ กําหนดใหเซตของ { φ i } ใดๆ เปน basis state จะไดวา

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา ⎡ φ 1 Oˆ φ 1 ⎢ ⎢ φ Oˆ φ 1 Oˆ ⎯⎯⎯⎯⎯⎯ →⎢ 2 ⎢ φ i basis ⎢ ⎢ φ N Oˆ φ 1 ⎣

{ }

แบบฝกหัด 2.14 a) จงเขียน operator b) จงเขียน operator

Jˆ+ =

+ Z −Z

(

1 Jˆ x = Jˆ+ + Jˆ− 2

2 Operator และ Matrix Mechanics φ 1 Oˆ φ N ⎤

φ 1 Oˆ φ 2

⎥ ˆ φ2 O φN ⎥ ⎥ ⎥ ⎥ φ N Oˆ φ N ⎥ ⎦

φ 2 Oˆ φ 2 φ N Oˆ φ 2

และ operator

Jˆ− =

) ในรูปของ matrix

c) จงใชสมบัตกิ ารคูณ matrix - vector เพื่อพิสูจนวา

2-27

−Z + Z

______ สมการ (2.63)

ในรูปของ matrix

โดยใช matrix ที่ไดจาก (a)

Jˆ x ± X = ±

2

±X

Quantum Postulate และ Eigen Equation ใน Section 2.1 เราไดเขาใจกับคําวา operator ซึ่งเปนกลไกทาง quantum mechanics ที่ใชในการ เปลี่ยนแปลงสถานะเริ่มตนใหเปนสถานะผลลัพธ อันเปนคํานิยามของ operator ที่มีขอบเขตของการ ตีความอยูใ นวงกวาง quantum mechanics ยังมี operator ที่มีคุณสมบัติพิเศษอยูจําพวกหนึ่ง ซึ่งมีความหมายและเอกลักษณ ทางคณิตศาสตรที่เปนสมบัติเฉพาะ และมีความเกีย่ วของกับกระบวนการวัดหรือ measurement ในทางฟสิกส ซึ่งเปนคํานิยามของ operator ในกรอบที่แคบลงมา อันจะไดกลาวถึงในลําดับตอไปนี้ ตามขอกําหนด (postulate) ของ quantum mechanics เราเรียกปริมาณตางๆทางฟสิกสที่สามารถทํา การทดลองหรือตรวจวัดไดดว ยเครื่องมือวา observable ยกตัวอยางเชน โมเมนตัม ตําแหนงของวัตถุ หรือ พลังงานจลน ถือวาเปน observable และเราแทนกระบวนการวัดเพื่อที่จะทราบคา observable อันเปนสมบัตทิ างฟสิกสของระบบที่เรากําลังศึกษาเหลานี้ดวย operator จากคํานิยามทั้งสอง ประเด็นดังกลาว เราสามารถสรุป postulate (ขอกําหนด) อันสําคัญของ quantum mechanics ได ดังตอไปนี้

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-28

Postulate I: เมื่อพิจารณา observable A ยกตัวอยางเชน โมเมนตัม, พลังงาน, หรือ มวลของระบบ จะมี operator Aˆ ที่ใชเปนตัวแทนกระบวนตรวจวัดระบบซึ่งอยูในสถานะ a และทําใหทราบคา α ซึ่งเปนจํานวนจริงที่แสดงถึงปริมาณทางฟสิกสที่วัดได และเปนสมบัติเฉพาะตัวของสถานะ a นั้นๆ โดยทีก่ ระบวนการดังกลาว เขียนใหอยูในรูปแบบของคณิตศาสตรไดวา Aˆ a = α a

___________________ สมการ (2.64)

จากสมการขางตน Aˆ คือ operator ที่เมื่อเขาไปกระทํากับสถานะ a จะเปนการดึงเอา α ซึ่งเปน สมบัติเฉพาะตัวของ a ออกมา ทั้งนี้ เมื่อเราเปรียบเทียบผลของ operator ที่เขียนในสมการ (2.64) กับผลของ operator ที่เขียนในสมการ (2.1) มีขอสังเกต 4 ขอคือ 1) เรียก สมการ Aˆ a สถานะ a คาคงที่ α

=α a

วาเปน eigen equation วาเปน eigenstate ของ operator Aˆ วาเปน eigenvalue ของสถานะ a

2) สถานะ ket ที่ปรากฏอยูทั้งสองขางของสมการ (2.64) นั้นเปนสถานะ ket เดียวกัน ในขณะที่ สมการ (2.1) นั้น อาจจะเหมือนหรือตางกันก็ได 3) ตัวเลข α ทางขวามือของสมการ (2.64) จะตองเปนเลขจํานวนจริง เพราะมันมีความหมายถึง observable หรือ ปริมาณทางฟสิกสที่ตรวจวัดได ยกตัวอยางเชน เราไมสามารถกลาววา วัตถุมีมวล 2 + 1i กิโลกรัม หรือ จรวดพุงขึน ้ ฟาดวยมุมเงย 2 + 43i องศา 4) ถาเรามอง operator ใหอยูใ นรูปของ matrix มีคุณสมบัติที่สําคัญของ matrix ที่วา "Hermitian matrix จะมี eigenvalue เปนจํานวนจริงเทานั้น" (ทบทวน แบบฝกหัด 2.9) เพราะฉะนั้น เราเรียก operator Aˆ ดังในสมการ (2.64) วา Hermitian operator จากขอสังเกตขางตน จะพบวา operator สามารถทําหนาที่ใน 2 ลักษณะคือ 1) ในการเปลี่ยนแปลง สถานะ ดังในสมการ (2.1) และ (2) ทําหนาที่ในการวัด หรือ measurement ดังในสมการ (2.64)

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-29

และเพื่อใหนกั ศึกษาไดคุนเคยกับ operator ที่ทําหนาที่ของ measurement มากขึ้น เราวกกลับมา กลาวถึง Stern-Gerlach experiment อีกครั้งหนึ่ง

Spin Operator ในบทที่ 1 เราไดศึกษาถึงการทดลองของ Stern-Gerlach ปรากฏวา เราพิจารณาสถานะ ket 2 สถานะดวยกันที่สามารถทําหนาที่เปน basis state ซึ่งก็คือ + Z และ − Z และ จากการทดลอง พบวา สถานะทั้งสองดังกลาว มีคุณสมบัติเฉพาะตัวซึ่งก็คือ spin angular momentum ตามแนวแกน z เทากับ + และ − ตามลําดับ 2

2

ดังนั้น เราสามารถที่สราง operator ซึ่งเปนกลไกทางคณิตศาสตรที่ใชแทนกระบวนการวัด spin angular momentum ตามแนวกัน z โดยอาจจะใชสัญลักษณวา Sˆz และอาศัยสมการ (2.64) จะไดวา Sˆ z + Z = +

2

+Z

___________ สมการ (2.65)

−Z

___________ สมการ (2.66)

และ Sˆ z − Z = −

2

จากคํานิยามของ Sˆz operator ในสมการ (2.65) และ (2.66) เราสามารถเขียน ใหอยูใ นรูปของ ketbra ดังนี้ Sˆ z = +

และในทํานองเดียวกันกับ Section 2.3 ⎡ +Z Sˆ z ⎯⎯⎯⎯⎯→ ⎢ ± Z basis ⎢ − Z ⎣

2 Sˆ z

Sˆ z + Z Sˆ z + Z

+Z +Z −

2

−Z −Z

___________ สมการ (2.67)

operator ก็สามารถแสดงใหอยูใ นรูปของ matrix + Z Sˆ z − Z ⎤ ⎡1 0 ⎤ ⎥= ⎢ ⎥ − Z Sˆ z − Z ⎦⎥ 2 ⎣0 −1⎦

______ สมการ (2.68)

นอกจากเราจะสามารถวัด spin angular momentum ในแนวแกน z ซึ่งเปนที่มาของ operator Sˆz แลว เรายังอาจที่เลือกวัด spin angular momentum ตามแนวแกน x และในทํานองเดียวกันกับสมการ (2.65) และ (2.66) คํานิยามของ Sˆx เขียนใหอยูในรูป

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics Sˆ x + X = +

2

2-30

+X

___________ สมการ (2.69)

−X

___________ สมการ(2.70)

และ Sˆ x − X = −

2

สงผลให operator Sˆx มีรูปแบบของ matrix ดังตอไปนี้ ⎡ + X Sˆ x + X →⎢ Sˆ x ⎯⎯⎯⎯⎯⎯ ± X basis ⎢ − X Sˆ + X x ⎣

+ X Sˆ x − X ⎤ ⎡1 0 ⎤ ⎥= ⎢ ⎥ − X Sˆ x − X ⎥⎦ 2 ⎣ 0 −1⎦

______ สมการ (2.71)

อยางไรก็ตาม operator Sˆx ในสมการ (2.71) นัน้ มิไดมีประโยชนแตอยางใด เพราะมันอยูในรูป ของ basis state ที่แตกตางจาก Sˆz ในสมการ (2.68) ดังที่ไดกลาวไวในขอควรระวัง ใน Section 2.3.2 ที่วา matrix หรือ vector ที่เขียนขึน้ โดยอาศัย basis state ที่แตกตางกัน จะนํามากระทําการใดๆ ทางคณิตศาสตรรวมกันไมได เพราะฉะนั้นนัน้ เราเลือกที่จะเขียน operator Sˆx ใหอยูในรูปของ basis state + Z และ สามารถทําไดโดยการเปลี่ยนรูปของสมการ (2.69) และ สมการ (2.70) ใหอยูใ นรูปของ ±X =

1 1 +Z ± −Z 2 2

−Z

ซึ่ง

ดังนั้น

1 1 ⎧ 1 ⎫ ⎧ 1 ⎫ Sˆ x ⎨ +Z + −Z ⎬ = + ⎨ +Z + −Z ⎬ 2⎩ 2 2 2 ⎩ 2 ⎭ ⎭

___________ สมการ (2.72)

1 1 ⎧ 1 ⎫ ⎧ 1 ⎫ Sˆ x ⎨ +Z − −Z ⎬ = − ⎨ +Z − −Z ⎬ 2⎩ 2 2 2 ⎩ 2 ⎭ ⎭

___________ สมการ (2.73)

และ

เมื่อนําสถานะ bra (2.73) ทําให

+Z

เขาประกบทั้งสองขางของสมการ (2.72) และ ทั้งสองขางของสมการ

+ Z Sˆ x + Z + + Z Sˆ x − Z = +

2

___________ สมการ (2.74)

และ + Z Sˆ x + Z − + Z Sˆ x − Z = −

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

2

___________ สมการ(2.75)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-31

จะสังเกตวา สมการ (2.74) และ สมการ (2.75) เปนระบบของสมการ 2 ตัวแปรที่เราสามารถหาผล เฉลยไดโดยงาย กลาวคือ ___________ สมการ (2.76)

+ Z Sˆ x + Z = 0 + Z Sˆ x − Z = +

2

___________ สมการ (2.77)

ในทํานองเดียวกัน เมื่อนําสถานะ bra − Z เขาประกบทั้งสองขางของสมการ (2.72) และ ทั้งสอง ขางของสมการ (2.73) จะใหเกิดระบบของสมการ 2 ตัวแปร อันจะนําไปสูผลเฉลยที่วา − Z Sˆ x + Z = + − Z Sˆ x − Z = 0

2

___________ สมการ (2.78) ___________ สมการ (2.79)

เมื่อทําการรวบรวมเทอมตางๆในสมการ (2.76)-(2.79) ทําใหเราสามารถแสดง operator Sˆx โดยใช basis state + Z และ − Z ไดวา ⎡ +Z Sˆ x ⎯⎯⎯⎯⎯→ ⎢ ± Z basis ⎢ − Z ⎣

Sˆ x + Z Sˆ x + Z

+ Z Sˆ x − Z ⎤ ⎡0 1 ⎤ ⎥= ⎢ ⎥ − Z Sˆ x − Z ⎥⎦ 2 ⎣1 0 ⎦

______ สมการ (2.80)

แบบฝกหัด 2.15 จงเขียน operator Sˆ y ใหอยูในรูปของ matrix โดยใช basis state และพิสูจนวา คําตอบที่ไดกค็ ือ ⎡0 −i ⎤ Sˆ y ⎯⎯⎯⎯⎯→ = ⎢ ± Z basis 2 ⎣ i 0 ⎥⎦

+Z

และ

−Z

______ สมการ (2.81)

ในเนื้อหาที่ผานมาเราสามารถที่จะออกแบบการทดลองในการวัด spin angular momentum โดยวาง แนวของแมเหล็กใน Stern-Gerlach experiment ใหอยูต ามแนวแกน x, y, และ z ซึ่งเปนที่มาของ operator Sˆx , Sˆ y , และ Sˆz ตามลําดับ และเราสรุปไดวา

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา Sx =

⎡0 1 ⎤ , 2 ⎢⎣1 0 ⎥⎦

Sy =

2 Operator และ Matrix Mechanics

⎡0 −i ⎤ , 2 ⎢⎣ i 0 ⎥⎦

และ

Sz =

⎡1 0 ⎤ 2 ⎢⎣0 −1⎥⎦

2-32

เมื่อใช basis state { + Z

, −Z

}

_____________________ สมการ (2.82) บางครั้งในการวิเคราะหคณ ุ สมบัติที่เกี่ยวของกับ spin เรานิยามสิ่งที่เรียกวา Pauli spin matrix ซึ่งใช สัญลักษณ σˆ x , σˆ y , และ σˆ z โดยที่ matrix เหลานี้มคี ํานิยามที่สัมพันธกับ spin angular momentum operator คือ

2

σˆ x = Sˆ x ,

2

σˆ y = Sˆ y , และ

2

σˆ z = Sˆ z

อยางไรก็ตาม เราไมจําเปนจะตองวางแนวของแมเหล็กไวตามแนวของแกนตางๆในพิกัด 3 มิติ เสมอไป ดังแสดงในภาพ 2.6 สมมุติวามี Stern-Gerlach experiment ที่ใชสนามแมเหล็กสองชุด แตทวาชุดแรกมิไดเรียงตัวอยูต ามแนวแกน x, y, หรือ z หากแตทมี่ ุมกม θ กับแกน z และ มุมกวาด ϕ กับแกน x SGSG-(θ , ϕ )

SG-Z SG-Z

z

พบ

+Z

เทาใด

พบ

−Z

เทาใด

S

beam 100%

S

θ

+n

50%

N y

ϕ −n

N

50%

x

ภาพ 2.6 แสดงการทดลองของ Stern-Gerlach ที่ใชสนามแมเหล็กสองชุด แตทวาชุดแรกมิไดเรียง ตัวอยูตามแนวแกน x, y, หรือ z หากแตที่มุมกม θ กับแกน z และ มุมกวาด ϕ กับแกน x ในขณะที่แมเหล็กชุดที่สองเรียงตัวอยูตามแนวแกน z และในการวิเคราะหครั้งนี้เราตองการทราบวา มีความนาจะเปนเทาใดทีจ่ ะตรวจพบอนุภาคอยูในสถานะ + Z และ − Z ตามลําดับ ในการที่จะตอบคําถามขอนี้ เราลองมาลําดับเหตุการณตางๆที่เกิดขึ้น ดังตอไปนี้

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-33

1) เมื่อ beam ของอนุภาคพุงผานสนามแมเหล็กชุดแรก ทําใหเกิดการแยกของอนุภาคออกเปนสอง ชนิด และเพื่อความสะดวกในการอธิบายความ เราเรียกสถานะของอนุภาคทั้งสองนี้วา + n และ −n

2) beam ของอนุภาค −n ถูกกั้นออกไป ในขณะที่ beam ของอนุภาคที่อยูในสถานะ สนามแมเหล็กชุดที่สอง ที่อยูตามแนวแกน z 3) ณ จุดนี้ เทากับวาเราไดเตรียมอนุภาคไวในสถานะ จะพบวาอนุภาคอยูในสถานะ ตามลําดับ

+Z

หรือ

−Z

+n

+n

พุงเขาสู

แลวทั้งหมด เพราะฉะนัน้ probability ที่

ยอมมีคาเทากับ

+ Z +n

4) จากขอ (3) จุดเริ่มตนในการตอบคําถามก็คือ เราจะตองทราบสถานะ และมีรูปแบบทางคณิตศาสตรอยางไร

+n

2

หรือ

−Z +n

2

กอนวา เปนอยางไร

5) จะสังเกตวา ถาวางสนามแมเหล็กในแนวแกน x ก็เทากับเรามี operator Sˆx ที่ทําการวัดสถานะ ของระบบ ซึ่งจะแยกออกมาเปนสองสถานะคือ + X หรือ − X โดยจะเห็นวา + X เปน eigenstate ของ operator Sˆx 6) ในทํานองเดียวกันกับการวางสนามแมเหล็กตามแนวแกน y ซึ่งแยก beam ของอนุภาคเปน หรือ −Y โดยจะเห็นวา +Y เปน eigenstate ของ operator Sˆ y

+Y

7) จากขอ (5) และ (6) การวางสนามแมเหล็กเปนมุม (θ , ϕ ) ก็เชนเดียวกัน ถาเราสามารถสราง operator ในทางคณิตศาสตรที่เปนตัวแทนของกระบวนการวัดนี้ได โดยจะเห็นวา สถานะ + n ก็ คือ eigenstate ของ operator ดังกลาว นัน่ เอง เมื่อวิเคราะหถึงลําดับเหตุการณตั้งแตขอ (1)-(7) เราสามารถนิยาม operator ในขางตนใหอยูในรูป spin angular momentum operator ในทิศ (θ , ϕ ) คือ Sˆ ⋅ nˆ _______ สมการ (2.83)

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-34

เมื่อ Sˆ ≡ Sˆx i + Sˆ y j + Sˆz k และ nˆ คือ unit vector ที่ชี้ที่กํากับดวยมุม (θ , ϕ ) ซึ่งสามารถเขียนอยู ในรูปขององคประกอบตามแนวแกน x, y, และ z ไดวา nˆ ≡ cos ϕ sin θ i + sin ϕ sin θ j + cos θ k เพราะฉะนั้นแลว Sˆ ⋅ nˆ = ( cos ϕ sin θ ) Sˆ x + ( sin ϕ sin θ ) Sˆ y + ( cos θ ) Sˆ z

_______ สมการ (2.84)

จากสมการ (2.82) เราสามารถเขียน operator Sˆ ⋅ nˆ ใหอยูในรูปของ matrix คือ ⎡0 1 ⎤ ⎡ 0 −i ⎤ ⎡1 0 ⎤ Sˆ ⋅ nˆ = ( cos ϕ sin θ ) ⎢ + + sin sin cos ϕ θ θ ( ) ( ) 2 ⎣1 0 ⎦⎥ 2 ⎣⎢ +i 0 ⎦⎥ 2 ⎣⎢ 0 −1⎦⎥ cos θ cos ϕ sin θ − i sin ϕ sin θ ⎤ ⎡ = ⎢ ⎥ − cos θ 2 ⎣cos ϕ sin θ + i sin ϕ sin θ ⎦

และเมื่ออาศัยเอกลักษณทางคณิตศาสตร e±iϕ = cos ϕ ± i sin ϕ matrix ขางตนจะลดรูปใหงายขึ้น ⎡ ⎢ + cos θ Sˆ ⋅ nˆ = ⎢ 2 ⎢ e+iϕ sin θ ⎢⎣ 2

⎤ e−iϕ sin θ ⎥ 2 ⎥ ⎥ − cos θ ⎥⎦ 2

_______ สมการ (2.85)

เพื่อคํานวณหา eigenstate ของ matrix ดังในสมการ (2.85) เราจะตองหา eigenvalue เสียกอน ซึ่งก็ ทําไดโดยการกําหนดให ⎡ ⎢ cos θ − λ det ⎢ 2 ⎢ e+iϕ sin θ ⎢⎣ 2

ซึ่งจะทําใหได polynomial:

⎛ ⎞ ⎝ ⎠

2

λ2 − ⎜ ⎟ = 0 2

_______ สมการ (2.86)

และจะไดวา eigenvalue ทั้งสองก็คือ

λ± = ±

Dr. Teepanis Chachiyo

⎤ e −iϕ sin θ ⎥ 2 ⎥=0 − cos θ − λ ⎥ ⎥⎦ 2

2

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

______________________ สมการ (2.87)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

เพื่อที่จะหา eigenstate เรานิยาม

2 Operator และ Matrix Mechanics

⎡c ⎤ + n ⎯⎯⎯⎯⎯→ ⎢ 1 ⎥ ± Z basis ⎣c2 ⎦

2-35

และใชกลไกของการคํานวณ

eigenvector ซึ่งอยูในเนื้อหาของ linear algebra ในการหาคาของ c1 และ c2 จะไดวา ⎡ ⎢ + 2 cos θ ⎢ ⎢ e+iϕ sin θ ⎣⎢ 2

⎤ ⎡ c1 ⎤ e−iϕ sin θ ⎥ ⎡ c1 ⎤ 2 ⎢ ⎥=+ ⎢ ⎥ ⎥⎢ ⎥ 2⎢ ⎥ ⎥ − cos θ ⎢⎣c2 ⎥⎦ ⎢⎣c2 ⎥⎦ 2 ⎦⎥

__________ สมการ (2.88)

1 − cos θ sin θ

__________ สมการ (2.89)

ซึ่งจะไดความสัมพันธ c2 = c1e +iϕ

⎡ c1 ⎤ ⎥ ⎣c2 ⎦

และเนื่องจาก ⎢

มิใช eigenvector ทั่วๆไป แตเปน eigenvector ที่แทนสถานะของ quantum

mechanics ซึ่งจะตองเปนไปตามเงื่อนไขของ sum rule ดังในสมการ (1.44) ซึ่งก็คือ N

∑ ci

2

i =1

2

= 1 = c1 + c2

เมื่อพิจารณาสมการ (2.89) และ สมการ (2.90) รวมกันจะไดวา

2

2

c1 =

__________ สมการ (2.90)

sin 2 θ 1 − cos θ

และเมื่อผนวกกับ

เอกลักษณทาง trigonometry sin θ = 2sin θ cos θ , cos θ = cos2 θ − sin 2 θ จะไดวา 2

2

c1 = cos

2

θ 2

2

__________________ สมการ (2.91)

ซึ่งเมื่อแทนเขาไปในสมการ (2.89) ทําใหทราบวา c2 = e+iϕ sin

θ 2

__________________ สมการ (2.92)

ดวยเหตุนี้ เราสรุปไดวาหนึง่ ใน eigenstate ของ operator Sˆ ⋅ nˆ ก็คือ

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา + n = cos

θ 2

2 Operator และ Matrix Mechanics

+ Z + e +iϕ sin

θ 2

ซึ่งมี eigenvalue +

−Z

2

2-36

___________ สมการ (2.93)

วกกลับมาที่คําถามที่มีไวตั้งแตแรก ดังในภาพ คือความนาจะเปนที่จะพบอนุภาคอยูใ นสถานะ +Z

หรือ

−Z +n

2

−Z

ซึ่งจากลําดับเหตุการณในขอ (3) ที่ผานมา ยอมมีคาเทากับ

+ Z +n

2

หรือ

ตามลําดับ และจากสมการ (2.93) จะไดวา +Z +n

2

−Z +n

2

= cos 2 = sin

θ 2

___________ สมการ (2.94)

2

สมการ (2.94) ถือเปนความสําเร็จอยางยิ่งในการอธิบาย Stern-Gerlach experiment ที่ใชชุดแมเหล็ก สองชุด ซึ่งทํามุมกัน (θ , ϕ ) เราสามารถตรวจสอบความถูกตองของสมการ (2.94) ในขั้นตนโดย การแทนคา (θ , ϕ ) ตางๆกัน จากนัน้ เปรียบเทียบกับผลการทดลองของ Stern-Gerlach ที่ไดศึกษาใน บทที่ 1 ซึ่งการเปรียบเทียบดังกลาวสรุปไดดังนี้ ชุดแมเหล็ก

(θ , ϕ )

แนวแกน z แนวแกน x

θ =0 π θ = ,ϕ = 0 2

แนวแกน y

θ=

π

2

,ϕ =

+ Z +n

−Z +n

1 1 2 1 2

π 2

แบบฝกหัด 2.16 จงหา eigenstate

2

−n

0 1 2 1 2

2

เปรียบเทียบ ความถูกตอง กับสมการ 9 (1.21), (1.22) 9 (1.25) 9

(1.34)

ของ operator Sˆ ⋅ nˆ ซึ่งมี eigenvalue เปน −

2

2.4 Expectation Value และ Uncertainty ธรรมชาติของทฤษฏี quantum mechanics ที่นําเอาความนาจะเปนเขามาเกี่ยวของกับกระบวนการทาง วัด หรือ measurement นั้น ทําใหการวัดปริมาณทางฟสิกสในแตละครั้งมีคาที่ตรวจวัดไดแตกตาง กัน เพราะฉะนั้น หลีกเลี่ยงไมไดที่เราจะตองกลาวถึงคุณสมบัติเชิงสถิติของการวัด หรือ ในภาษา ของ quantum mechanics กลาวถึงคุณสมบัติเชิงสถิติของ operator ซึ่งประกอบดวยคาเฉลี่ยของ

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-37

การวัด หรือ เรียกอีกอยางหนึง่ วา expectation value และ คาความไมแนนอนของการวัด ที่เรียกวา uncertainty

สถิติ และ สถานะ ในสาขาวิชาสถิติ เมื่อมีเหตุการณหลายๆเหตุการณทจี่ ะอาจจะเกิดขึน้ ดวยความนาจะเปนทีแ่ ตกตาง กัน มีปริมาณเชิงสถิติหลายอยางดวยกันทีจ่ ะเปนเครื่องมือในการทําความเขาใจถึงพฤติกรรมของ ระบบทางฟสิกสที่เรากําลังศึกษาใหไดมากขึ้น อาทิเชน average (คาเฉลี่ย) และ standard deviation (คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน) กอนที่จะมุงประเด็นไปที่การเขียนสมการใหอยูใ นรูปทัว่ ไป เราควรจะพักการวิเคราะหที่หนักหนวง ในเชิง quantum mechanics และมาทบทวนในเนื้อหาของวิชาสถิติโดยใชโจทยของการเลนพนัน

ในการเลนพนัน ทอดลูกเตาแบบใหม มีกติกาวา ถาลูกเตา หงายออกมาหนาใด นักศึกษาจะไดเงินตอบแทนจากเจามือ เปนจํานวนบาท เทากับหมายเลขของหนาลูกเตานั้นๆ ยกตัวอยางเชน ถาลูกเตาหงายเลข 2 นักศึกษาจะไดเงิน 2 บาท แตมีขอแมวา ในการโยนแตละครั้ง นักศึกษาตองเสียคาธรรมเนียมใหเจามือ 3 บาท ถามวาในการ เลนแตละครั้ง เจามือจะไดกําไรหรือขาดทุน โดยเฉลี่ยแลวกี่บาท? ในการวิเคราะหหาคาเฉลี่ย เราแทนสถานะที่เปนไปไดทั้งหมด (หรือ basis state) ดวยสัญลักษณ one , two , , six ซึ่งสถานะทั้งหกมีคุณสมบัติที่สรุปเปนตารางไดวา

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

สถานะ

2 Operator และ Matrix Mechanics

ความนาจะเปน

observable คือ "เงินที่ได" eigenvalue ของ observable

1 6 2 1 c2 = 6 2 1 c3 = 6 2 1 c4 = 6 2 1 c5 = 6 2 1 c6 = 6

α1 = 1

2

c1 =

one two three four five six

2-38

α2 = 2 α3 = 3 α4 = 4

α5 = 5 α6 = 6

ในทางสถิติ เราสามารถคํานวณคาเฉลี่ยของ "เงินที่ไดรับ" ซึ่งมีคาเทากับ α=

(เงิน 1 บาท)(probability หงายเลข 1) + (เงิน 2 บาท)(probability หงายเลข 2) + … (เงิน 6 บาท)(probability หงายเลข 6)

และเขียนใหอยูในรูปของสัญลักษณดังทีแ่ สดงในตารางไดวา 2

2

α = α 1 c1 + α 2 c2 +

+ α 6 c6

2

6

= ∑ α i ci

2

= 3.5 บาท

________ สมการ (2.95)

i =1

เพราะฉะนั้นในการวัดดวงแตละครั้ง เจามือจะตองจายในนักศึกษาโดยเฉลี่ยแลว 3.5 บาท ในขณะที่ เขาไดรับเงินเพียง 3 บาทเปนคาธรรมเนียม จึงสรุปไดวา ตามกติกาการการเลนที่วานี้ "เจามือขาดทุนโดยเฉลี่ย ตาละ 50 สตางค" แบบฝกหัด 2.17 ถาเจามือทําการดัดแปลงลูกเตา ใหโอกาสที่จะหงายหนาหมายเลขหนึ่ง มีความ นาจะเปน เปน 3 เทาของหนาอื่นๆ จงหาวาในคราวนี้ เจามือจะไดกําไรเปนเงินเทาใด ถาโยน 100 ครั้ง ใหสังเกตความพยายามทีจ่ ะเขียนสัญลักษณโจทยขอดังกลาว ใหมีความคลายคลึงกับสัญลักษณทาง quantum mechanics ทั้งนีก้ ็เพื่อความสะดวกในการที่จะใหนักศึกษาสามารถเชื่อมโยงตรรกะและ ความสัมพันธ จากการคํานวณเชิงสถิติ ไปสูสิ่งที่เรียกวา expectation value Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-39

Expectation Value การวัด หรือ operator ในทาง quantum mechanics ก็มิไดแตกตางอะไรมากนักกับการที่นักพนันเปด ฝากระติบขาวเหนียวเพื่อทีจ่ ะเห็นลูกไฮโล (ลูกเตา) ที่อยูภายใน เมื่อระบบทางฟสิกสอยูในสถานะ

N

Ψ = ∑ ci a i

ซึ่งเปนสถานะผสมระหวาง basis state ตางๆที่

i =1

อาจจะเกิดขึ้นได โดยมี

ci

2

แสดงถึง probability ที่ระบบดังกลาว จะอยูใน basis state นัน้ ๆ

ในทํานองเดียวกันกับที่ สถานะ one , two , , six มีจํานวน "เงินที่ไดรับ" แตกตางกันออกไป basis state a i ก็มี eigenvalue αi แตกตางกันออกไป ซึง่ eigenvalue αi ดังกลาว ก็คือปริมาณ ทางฟสิกสเชนโมเมนตัม, พลังงาน, หรือ ความเร็ว ที่สอดคลองกับกระบวนการวัดที่เรียกวา operator Aˆ หรือ อีกนัยหนึ่ง Aˆ a i = α i a i

และในทํานองเดียวกันกับการหาคาเฉลี่ยของเงินที่ไดรับจากการพนัน ระบบซึ่งอยูในสถานะ เมื่อทําการวัดดวย operator Aˆ จะมีคาเฉลี่ยของปริมาณทางฟสิกสเทากับ

Ψ

N

คาเฉลี่ย α = ∑ ci 2 α i เรียกในภาษา quantum mechanics วา expectation value i =1

อยางไรก็ตาม เราสามารถเขียนคาเฉลี่ยในสมการขางตน ใหอยูใ นรูปแบบมาตรฐานของ quantum mechanics ดวยการใชคณ ุ สมบัติของ probability amplitude ที่วา ci 2 = ci∗ci = Ψ a i a i Ψ ซึ่งทําให N

expectation value α = ∑

i =1

Ψ ai

⎧⎪ N a i Ψ α i = Ψ ⎨∑ α i a i ⎪⎩i =1

⎫⎪ ai ⎬ Ψ ⎪⎭

___ สมการ (2.96)

โดยที่ในสมการขางตน เราทําการจัดกลุมของเทอมตางๆ สวนสถานะ ket Ψ และ สถานะ bra Ψ นั้น สามารถแยกออกมาขางนอก summation ไดเพราะไมไดเกีย่ วของกับ index i แตอยางใด Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

และจากแบบฝกหัด 2.25 เราสามารถเขียน operator

ใหอยูในรูป

2-40

N

Aˆ = ∑ α i a i i =1

ai

เพราะฉะนั้นสมการ (2.96) ลดรูปหรือเพียง expectation value หรือ เขียนสั้นๆวา

Aˆ = Ψ Aˆ Ψ

______ สมการ (2.97)

เพื่อเปนตัวอยางของการหาคาเฉลี่ย หรือ expectation value ของระบบ เราจะมาวิเคราะห spin ของ อิเล็กตรอนที่อยูภายในสนามแมเหล็ก B สมมุติวาเมื่ออิเล็กตรอนอยูทา มกลางสนามแมเหล็กที่เรียงตัวตามแนวแกน z หรือ พลังงาน ซึ่งสามารถวัดไดดว ย operator ω ω Hˆ = 0 + Z + Z − 0 − Z − Z 2 2

B = B0k

จะมี

______ สมการ (2.98)

ที่มาของ operator Hˆ ดังกลาวไมใชประเด็นที่จะตองอธิบายในคราวนี้ แตจะไดรับการขยายความใน บทที่ 4 ประเด็นที่สําคัญในการวิเคราะหครั้งนี้ก็คือ สมมุติวา spin ของอิเล็กตรอนอยูในสถานะทีช่ ี้ ในแนวแกน y หรือ Ψ = +Y จงหาพลังงานเฉลี่ยของระบบ จะเห็นวา operator Hˆ ในสมการ (2.98) นั้น เขียนอยูใ นรูปของ basis state ± Z ดังนั้นเพื่อเปน การสะดวกในการคํานวณ เราจะเขียนสถานะของระบบ Ψ = +Y ใหอยูใ นรูป Ψ =

1 i +Z + −Z 2 2

และ

Ψ =

1 i +Z − −Z 2 2

______ สมการ (2.99)

จากสมการ (2.97) เราสามารถคํานวณพลังงานเฉลี่ยไดจาก ω i i ⎧ 1 ⎫⎧ ω ⎫ ⎫⎧ 1 Ψ Hˆ Ψ = ⎨ +Z − −Z ⎬ ⎨ 0 +Z + Z − 0 −Z −Z ⎬ ⎨ +Z + −Z ⎬ 2 2 2 ⎭⎩ 2 ⎩ 2 ⎭⎩ 2 ⎭

______ สมการ (2.100) และเมื่อนํา operator Hˆ เขาไปกระทํากับสถานะ ket ทางขวามือจะไดวา Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

⎧ Ψ Hˆ Ψ = ⎨ ⎩ ⎛ =⎜ ⎝ Ψ Hˆ Ψ = 0

2 Operator และ Matrix Mechanics

ωi 1 i ⎫⎧ ω ⎫ +Z − −Z ⎬ ⎨ 0 + Z − 0 −Z ⎬ 2 2 2 2 ⎭⎩2 2 ⎭ 1 ⎞ ω0 ⎛ i ⎞ ω0i +⎜ ⎟ ⎟ 2⎠2 2 ⎝ 2⎠ 2 2

2-41

______ สมการ (2.101)

ซึ่งในทายที่สดุ จะพบวา พลังงานโดยเฉลี่ยมีคาเปนศูนย ที่เปนเชนนีก้ เ็ พราะวา เมื่อ spin ของ อิเล็กตรอนอยูใ นแนวแกน y ทําใหมี probability 50-50 ที่จะพบ spin ของอนุภาคเรียงตัวในทิศ ขนานไปกับ หรือ ในทิศตรงกันขามกับสนามแมเหล็ก B = B0k แบบฝกหัด 2.18 สมมุติวา spin ของอิเล็กตรอนอยูในสถานะ + n = cos

θ 2

+ Z + e +iϕ sin

θ 2

−Z

จงหา expectation value ของพลังงาน ที่ระบบดังกลาวมีอยู

แบบฝกหัด 2.19 จะเห็นวา operator Hˆ ในสมการ (2.98) สามารถเขียนใหอยูในรูปของ matrix ω ⎡1 0 ⎤ Hˆ ⎯⎯⎯⎯⎯→ = H = 0 ⎢ ± Z basis 2 ⎣ 0 −1⎥⎦

ในขณะเดียวกันที่ สถานะ

+n

สามารถเขียนใหอยูในรูป vector

θ ⎤ ⎡ ⎢ cos 2 ⎥ + n ⎯⎯⎯⎯⎯→ n+ = ⎢ ⎥ ± Z basis ⎢e+iϕ sin θ ⎥ ⎢⎣ 2 ⎥⎦

จงคํานวณ expectation value ของพลังงานโดยใชกระบวนการของ matrix - vector operation กลาวคือ n+† ( Hn+ ) และเปรียบเทียบผลกับแบบฝกหัด 2.18 ˆ ˆ เมื่อ Hˆ คือ operator ดังสมการ (2.98) แบบฝกหัด 2.20 พิจารณา operator Hˆ 2 ≡ HH a) จงเขียน operator Hˆ 2 ในรูปของ ket-bra b) จงเขียน operator Hˆ 2 ในรูปของ matrix c) จงหา expectation value ของระบบ Ψ = +Y เมื่อทําการวัดดวย operator Hˆ 2 ดังกลาว และ เปรียบเทียบกับในกรณีของตัวอยาง วา Ψ Hˆ 2 Ψ = 0 หรือไม

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics N 2 Aˆ = Ψ Aˆ Ψ = ∑ c i α i

แบบฝกหัด 2.21 จงใชคํานิยามของ expectation value

2-42

เพื่อพิสูจน

i =1

เอกลักษณทางคณิตศาสตรเหลานี้ a) 1ˆ = 1 คาเฉลี่ยของ unitary operator เทากับ 1 b)

γ Aˆ = γ Aˆ

c) d)

เมื่อ γ คือคาคงที่

= Aˆ

Aˆ + Bˆ = Aˆ + Bˆ

เมื่อสถานะเปลี่ยน phase Ψ → eiθ Ψ เราจะปดทายบทวิเคราะหในเนื้อหาของ expectation value ดวยคุณสมบัติที่สําคัญอีกประการหนึ่งของสถานะ Ψ โดยทั่วไป พิจารณาสถานะ Ψ ที่อธิบายพฤติกรรมของระบบทางฟสิกส เมื่อมีคาคงที่ e+iθ โดยที่ θ เปน จํานวนจริงใดๆ เขามาคูณกับสถานะ Ψ กลาวคือ Ψ → e+iθ Ψ

หรือ ในรูปของ bra

Ψ → e−iθ Ψ

การเปลี่ยนแปลงของสถานะในลักษณะเชนนี้ จะสงผลให expectation value ของ operator ที่สอดคลองกับกับสถานะใหมที่เกิดขึน้ ดังกลาว มีคาเทากับ

{

}{

Ψ Aˆ Ψ ⎯⎯⎯ → Ψ e −iθ Aˆ e+iθ Ψ

} = e−iθ e+iθ

ใดๆ

Ψ Aˆ Ψ = Ψ Aˆ Ψ

ขางตนจะเห็นวา เมื่อสถานะของระบบมีการเปลี่ยน phase หรือ Ψ → e+iθ Ψ จะไมทําให ปริมาณตางๆในทางฟสิกสที่ตรวจวัดได มีการเปลี่ยนแปลงแตอยางใด เพราะฉะนั้นแลว การที่ สถานะของระบบไดรับการคูณดวยคาคงที่ e+iθ เปนกลไกทางคณิตศาสตรที่ไมมีนัยสําคัญอันใดตอ quantum mechanics ยกตัวอยางเชน เราอาจจะเขียนสถานะ

+n

ดังสมการ (2.93) เสียใหมใหอยูในรูป

+ n → e−iϕ + n = e−iϕ cos

θ 2

+ Z + sin

θ 2

−Z

หรือ −i

ϕ

−i

ϕ

+ n → e 2 + n = e 2 cos

Dr. Teepanis Chachiyo

θ

+i

ϕ

θ + Z + e 2 sin − Z 2 2

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-43

ก็มิไดทําใหนยั ยะทางฟสิกสเกิดการเปลีย่ นแปลงแตประการใด

Uncertainty คาเฉลี่ย หรือ expectation value เพียงอยางเดียว บงบอกถึงพฤติกรรมของระบบไดไมครบถวน ยกตัวอยางเชน การที่ประเทศสองประเทศมีประชากรซึ่งมีรายไดโดยเฉลี่ยที่เทากัน คือ 15,000 บาท ตอเดือน ประเทศที่หนึ่งอาจจะไมไดมีชองวางระหวางคนรวยและคนจนมากมายนัก นั่นก็หมายถึง ประชากรสวนใหญสามารถทํามาหาเลี้ยงตนเองไดในระดับหนึ่งและมีความสุขตามอัตภาพ ในขณะ ที่ประเทศที่สอง มีประชากรสวนใหญยากจนและดอยโอกาส ดวยเงินรายไดเพียงเดือนละ 4,000 บาท ซึ่งไมเพียงพอที่จะซื้อหาแมกระทั่งสิ่งจําเปนในการดํารงชีวิต และมีประชากรสวนนอยที่ร่ํารวย มหาศาลและกุมทรัพยากรของชาติไวในมือ อยางไรก็ตาม ประเทศที่สองมีรายไดโดยเฉลี่ย 15,000 บาท ตอเดือนตอคน หากแตมีชองวางของรายไดจํานวนมหาศาล ในทางสถิติ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน หรือ standard deviation (S.D.) แสดงถึงปริมาณการกระจายตัว ของปริมาณตางๆ วาอยูหางจากคาเฉลี่ยมากนอยแคใด ดังในตัวอยางขางตน เราบอกวา รายไดของ ประชากรในประเทศที่หนึ่งมี S.D. ต่ํา ในขณะที่ประเทศที่สองมี S.D. สูง ซึ่งคา standard deviation ในทางสถิติสามารถคํานวณไดจาก S.D. =

{ x − x }2

______________ สมการ (2.102)

ในทาง quantum mechanics เมื่อทําการวัดปริมาณทางฟสิกสดวย operator Aˆ และพบวาตรวจวัดได คาเฉลี่ยเทากับ Aˆ แตดว ยความไมแนนอนทีเ่ ปนธรรมชาติพื้นฐานของทฤษฏี quantum mechanics การวัดแตละครั้งก็จะไดคาที่แตกตางกันออกเปน ถาแตกตางกันมาก แสดงวาการวัดมี ความคลาดเคลื่อนสูง หรือถากระจุกตัวอยูใ กลเคียงกับ expectation value Aˆ ก็แสดงวามีความ แมนยํา เพราะฉะนัน้ เราสามารถนิยาม uncertainty หรือ ความไมแนนอนของการวัดดวย operator Aˆ ในทํานองเดียวกับสมการ (2.102) ไดวา uncertainty ΔA ≡

Dr. Teepanis Chachiyo

{

Aˆ − Aˆ

}

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

2

______________ สมการ (2.103)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-44

จะเห็นวา เราใชสัญลักษณ ΔA แสดงถึง ความไมแนนอนของการวัด หรือ uncertainty และผนวก กับเอกลักษณทางคณิตศาสตรในแบบฝกหัด 2.21 เราสามารถลดรูปสมการ (2.103) ใหงายขึน้ โดย อาศัย { Aˆ −

}

2

2 = Aˆ 2 − 2 Aˆ Aˆ + Aˆ

{ Aˆ − Aˆ }

2

เพราะฉะนัน้

2 = Aˆ 2 − 2 Aˆ Aˆ + Aˆ

= Aˆ 2 + −2 Aˆ Aˆ +

{

Aˆ − Aˆ

}

2

2 Aˆ

2 = Aˆ 2 − 2 Aˆ Aˆ + Aˆ

ในกระบวนการขางตน เราใชสมบัติการกระจายดังในแบบฝกหัด 2.21d และตามดวยสมบัติใน แบบฝกหัด 2.21b และ 2.21c ทําใหในทายที่สุดแลว ΔA =

2 Aˆ 2 − Aˆ

______________ สมการ (2.104)

ยกตัวอยางเชน สมมุติเรามีระบบที่มี spin อยูในสถานะ + Z และตองการทราบ uncertainty ของ การวัด spin ตามแนวแกน x หรืออีกนัยหนึ่ง ตองการทราบ ΔS x การคํานวณ uncertainty ดังสมการ (2.104) แบงออกเปนสองขั้นตอน คือ 1) คํานวณ

Sˆ x = Ψ Sˆ x Ψ

และเพื่อเปนการทบทวนเราจะใชกระบวนการทาง matrix

mechanics ในการคํานวณ กลาวคือ ⎡0 1 ⎤ ⎡1 ⎤ Ψ Sˆ x Ψ = [1 0] ⎢ =0 2 ⎣1 0 ⎥⎦ ⎢⎣0 ⎥⎦

2) คํานวณ

______________ สมการ (2.105)

ทั้งนี้เราสามารถเขียน operator Sˆx2 ใหอยูในรูปของ matrix

Sˆ x2 = Ψ Sˆ x Sˆ x Ψ

ไดโดยอาศัย matrix-matrix operation Sˆ x Sˆ x =

Dr. Teepanis Chachiyo

2 1 0 ⎡0 1 ⎤ ⎡0 1 ⎤ ⎡ ⎤ = ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ 2 ⎣1 0 ⎦ 2 ⎣1 0 ⎦ 4 ⎣ 0 1 ⎥⎦

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-45

เพราฉะนั้น Sˆ x2 = [1 0]

2 ⎡1 0 ⎤ ⎡ 1 ⎤ = 4 ⎢⎣0 1 ⎥⎦ ⎢⎣ 0 ⎥⎦ 4 2

______________ สมการ (2.106)

ทั้งนี้ การคํานวณในสมการ (2.105) และ สมการ (2.106) เราละไวในถานที่เขาใจวา กําลังใช basis state ± Z และสืบเนื่องจากสมการทั้งสอง uncertainty ดังในสมการ (2.104) มีคาเทากับ ΔS x =

2 Sˆ x2 − Sˆ x =

2

แบบฝกหัด 2.22 (a) จงหาความไมแนนอนของการวัด spin ตามแนวแกน x ของระบบ ถากําหนดใหระบบอยูใน สถานะ

+ n = cos

θ 2

+ Z + e +iϕ sin

θ 2

−Z

(b) มุม (θ , ϕ ) เปนเทาใดจึงจะวัดไดแมนยําที่สดุ และในกรณีใดทีว่ ัดไดหยาบที่สุด

2.5 Rotation Operator เนื้อหาในลําดับสุดทายของบทที่ 2 เราจะกลาวถึง rotation operator ที่จะเปนการนําความรูเรื่อง operator ในประเด็นตางๆมาสังเคราะหรวมกัน เมื่อกลาวถึง spin ของอนุภาคที่อาจจะชี้ไปใน ทิศทางตางๆกัน อาทิเชน + X และใน Section 2.1 เราไดเกริน่ ถึง operator Ωˆ ที่สามารถจะหมุน + X เปนมุม 90 องศา ใหกลายเปน +Y rotation operator ก็ทําหนาที่คลายๆกัน แตมันสามารถ ที่จะหมุน spin ของระบบรอบแกน z ดวยมุม ϕ ใดๆ

Infinitesimal Rotation พิจารณา operator ที่ทําใหสถานะ spin ของอนุภาคมีการหมุน 90 องศา ดังแสดงในภาพ 2.7a จะ เห็นวา แทนทีจ่ ะหมุนสถานะดังกลาวนี้รวดเดียว 90 องศา เราสามารถหมุนสถานะเปนมุมเล็กๆ dϕ องศา (infinitesimal rotation) ดังในภาพ 2.7b ซึ่งถาหมุนซ้ํากันหลายๆครั้ง ในทายที่สุดผลที่ เกิดขึ้นก็จะเปรียบเหมือนวา เราไดหมุนสถานะดังกลาวไปแลว 90 องศาดังที่ตองการ

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

z

2-46

z

+Y y

+X

y

90 o

x

x

dϕ (b)

(a)

ภาพ 2.7 a) พิจารณา operator ที่หมุนสถานะไป 90 องศา b) แทนที่จะหมุน 90 องศาในครั้งเดียว เราสามารถที่หมุนคราวละ dϕ องศา ซึ่งเปนมุมที่มีขนาดเล็กมาก (infinitesimal rotation) การเขียนหรือการใหคํานิยามของ operator ที่สามารถหมุนสถานะเปนมุมขนาดเล็กๆ dϕ องศานั้น สามารถเขียนอยูในรูปของ ˆ Rˆ (dϕ k ) = 1 + dϕ Φ

___________________ สมการ (2.107)

การเลือกใชสญ ั ลักษณ Rˆ ก็เพียงเพื่อใหสื่อถึง rotation operator และ การเขียน (dϕ k ) กํากับ ก็ เพียงเพื่อขยายความวาเปนการหมุนดวยมุม dϕ ซึ่งมีขนาดเล็กๆ รอบแกน z ซึ่งในลําดับตอไป เรา จะเรียก operator Rˆ (dϕ k ) นี้วา infinitesimal rotation การเขียน infinitesimal rotation operator Rˆ (dϕ k ) ใหอยูในรูปของ 1 + dϕ Φˆ มีความเหมาะสมดวย เหตุที่วา ถาหาก dϕ → 0 แลว จะทําให Rˆ (dϕ k ) → 1 นั่นก็หมายความวา ถาเราหมุนสถานะ ดวยมุม 0 องศา สถานะผลลัพธที่เกิดขึ้น ก็คือสถานะเดิม ไมมีการเปลี่ยนแตอยางใด ในกรณีที่ dϕ ≠ 0 operator Φˆ จะเปนตัวกําหนดการเปลี่ยนแปลงไปของสถานะ ซึ่งในขั้นตนนี้ เรายังไมทราบวา operator Φˆ จะตองมีรูปแบบในทางคณิตศาสตรอยางไร จึงจะทําใหเกิดการหมุน ดังที่เราตองการ

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-47

นอกจากนี้ infinitesimal rotation operator ดังที่เห็นในสมการ (2.107) นั้น ยังมีเอกลักษณทาง คณิตศาสตรที่สําคัญอยางยิ่งอันหนึ่ง ซึ่งจะไดกลาวถึงดังตอไปนี้ สมมุติวา เราตองการที่จะหมุนสถานะเปนมุม ϕ องศา แทนที่จะหมุนภายในครั้งเดียว เราสามารถ แบงการหมุนออกเปน N ครั้ง โดยที่ N เปนจํานวนเต็มบวก จะไดวา ในการหมุนยอยๆแตละครั้งนั้น dϕ =

ϕ N

ซึ่งเราจะตองทําการหมุนทั้งสิ้น N ครั้งซอนๆกัน จะไดวา ⎡ ⎛ ϕ ⎞ ˆ ⎤⎡ ⎛ ϕ ⎞ ˆ ⎤ Rˆ (dϕ k ) = ⎢1 + ⎜ ⎟ Φ ⎥ ⎢1 + ⎜ ⎟ Φ ⎥ ⎝ N ⎠ ⎦⎣ ⎝ N ⎠ ⎦ ⎣ N terms

Rˆ (ϕ k ) = Rˆ (dϕ k ) Rˆ (dϕ k )

⎡ ⎛ϕ ⎞ ˆ⎤ ⎡ ⎛ϕ ⎞ ˆ⎤ ⎢1 + ⎜ N ⎟ Φ ⎥ = ⎢1 + ⎜ N ⎟ Φ ⎥ ⎣ ⎝ ⎠ ⎦ ⎣ ⎝ ⎠ ⎦

N terms

แตเนื่องจากคํานิยามขางตนของ operator Rˆ (dϕ k ) = 1 + dϕ Φˆ มีสถานะเปน infinitesimal rotation ดังนั้นเราจําเปนจะตองหมุนเปนมุมขนาดเล็ก dϕ → 0 ซึ่งในทางคณิตศาสตร ทําไดโดยกําหนดให limit N → ∞ เพราะฉะนั้นแลว ⎡ ⎛ϕ ⎞ ˆ⎤ Rˆ (ϕ k ) = lim ⎢1 + ⎜ ⎟ Φ ⎥ N →∞ ⎣ ⎝ N ⎠ ⎦

N

___________________ สมการ (2.108)

แบบฝกหัด 2.23 จงพิสูจนวา N

x⎤ ⎡ lim 1 + ⎥ = e x N →∞ ⎢ ⎣ N⎦

โดยการหาอนุกรม Taylor ของเทอมทั้งสองขางของสมการ แลวตรวจสอบวา อนุกรมทั้งสองนั้น มีคา เทากันหรือไม สืบเนื่องจาก แบบฝกหัด 2.23 และรูปแบบในสมการ (2.108) นั้น เราใชเอกลักษณทางคณิตศาสตร บอกไดวา rotation operator ที่สามารถหมุนระบบเปนมุม ϕ องศานั้น สามารถเขียนใหอยูในรูป ˆ Rˆ (ϕ k ) = eϕ Φ

___________________ สมการ (2.109)

อยางไรก็ตาม การเขียน infinitesimal rotation ใหอยูใ นรูป Rˆ (dϕ k ) = 1 + dϕ Φˆ ดังสมการ (2.107) หรือแมกระทัง่ การเขียน finite rotation ใหอยูในรูปดังสมการ (2.109) ก็ดี เปนแตเพียงการหนีเสือ Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009

N


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-48

ปะจระเข กลาวคือ เราก็ยังไมทราบอยูดีวารูปแบบทางคณิตศาสตรที่ชัดเจนของ operator Φˆ นี้วาเปน อยางไร และ มันจะสามารถหมุนสถานะตางๆ ไดอยางที่เราตองการหรือไม หรือแมกระทั่งคําถาม ที่วา Φˆ มีความหมายที่เกีย่ วของกับการวัดปริมาณทางฟสิกสวาอยางไร

ถาดินสอวางในทิศเอียง

ถาดินสอมีทิศในแนวแกน z

z

z

y

x

ทิทิศศทางเปลี ทางเปลี่ย่ยนแปลงภายหลั นแปลงภายหลังง การหมุ การหมุนนรอบแกน รอบแกนzz

y

x

ทิทิศศทางคงเดิ ทางคงเดิมมภายหลั ภายหลังง การหมุ การหมุนนรอบแกน รอบแกนzz

ภาพ 2.8 แสดงผลของการหมุนรอบแกน z ที่มีผลตอทิศทางของดินสอ (ซาย) ถาสถานะของ ดินสอมีทิศที่เอียง เมื่อไดรบั การหมุน ทิศทางจะเปลี่ยนไป (ขวา) ถาสถานะของดินสอมีทิศใน แนวแกน z อยูกอนแลว การหมุนรอบแกน z ไมมีผลกระทบใดๆ

เอกลักษณของ Φˆ เมื่อเราพิจารณาผลของการหมุนรอบแกน z ตอ spin ของระบบ จะพบวา ถาระบบมีสถานะเปน + Z หรือ − Z แลว operator Rˆ (ϕ k ) ไมควรจะมีผลใดๆตอสถานะทั้งสองดังกลาว ความจริงในขอนี้สามารถเห็นไดจากภาพ 2.8 ที่แสดงผลของการหมุนรอบแกน z ที่มีผลตอทิศทาง ของดินสอ (ซาย) ถาสถานะของดินสอมีทิศที่เอียง เมือ่ ไดรับการหมุน ทิศทางจะเปลี่ยนไป (ขวา) ถาสถานะของดินสอมีทิศในแนวแกน z อยูกอนแลว การหมุนรอบแกน z ไมมีผลกระทบใดๆ เพราะฉะนั้นแลว Rˆ (ϕ k ) + Z =

(คาคงที่) + Z และ

Rˆ (ϕ k ) − Z =

(คาคงที่)

−Z

________ สมการ (2.110)

สมการขางตนเปนการเขียนทางคณิตศาสตรเพื่อที่จะแสดงวา operator Rˆ (ϕ k ) ไมมีผลกระทบใดๆ ตอสถานะ + Z หรือ − Z และในเมื่อ Rˆ (ϕ k ) เกี่ยวพันโดยตรงกับ operator Φˆ เราบอกไดวา

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

และ Φ

ˆ +Z = γ +Z Φ +

2 Operator และ Matrix Mechanics

−Z = γ − −Z

2-49

เมื่อ γ + , γ − คือคาคงที่ ________ สมการ (2.111)

และสืบเนื่องจากสมการ (2.109) เราสามารถกระจายเทอมทางขวามือใหอยูในรูป Taylor expansion ˆ ϕ2 Φ ˆ 2 ϕ3 Φ ˆ3 ˆ ϕΦ + + + Rˆ (ϕ k ) = eϕ Φ = 1 + 1! 2! 3!

___________ สมการ (2.112)

โดยอาศัยสมบัติของ Φˆ ในสมการ (2.111) เราสรุปไดวา ˆ +Z = γ +Z Φ + ˆ 2 +Z = γ 2 +Z Φ + ˆ3

Φ

และ

+ Z = γ +3 + Z

ˆ −Z = γ −Z Φ − ˆ 2 −Z = γ 2 −Z Φ − ˆ 3 −Z = γ 3 −Z Φ −

เพราะฉะนั้น เมื่อ operator Rˆ (ϕ k ) = eϕ Φ กระทํากับสถานะ ˆ

+Z

จะทําให

⎧⎪ ϕ Φ ˆ ϕ2 Φ ˆ2 ⎫⎪ Rˆ (ϕ k ) + Z = ⎨1 + + + ⎬ +Z 1! 2! ⎪⎩ ⎪⎭ ˆ ˆ2 ϕΦ ϕ2 Φ = 1 +Z + +Z + +Z + 1! 2! = 1 +Z +

ϕ γ+

ϕ γ +2

+Z + 2! ⎫⎪ ϕ 2 γ +2 ⎪⎧ ϕ γ Rˆ (ϕ k ) + Z = ⎨1 + + + + ⎬ +Z 1! 2! ⎪⎩ ⎪⎭ 1!

+Z +

ซึ่งในทายที่สดุ Rˆ (ϕ k ) + Z = eϕγ + + Z

___________ สมการ (2.113)

Rˆ (ϕ k ) − Z = eϕγ − − Z

___________ สมการ (2.114)

และในทํานองเดียวกัน

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

จากสองสมการ (2.113) และ (2.114) ขางตนจะพบวา ถาเรากําหนดให Φˆ ทําใหสมการ (2.110) เปนจริง ดวยเหตุผลที่ใหไวในภาพ 2.8

±Z = γ ± ±Z

2-50

แลว จะ

ในขั้นตอไป เราจะตองทําการหาคาที่แทจริงของ γ + , γ − ซึ่งกระทําไดโดยวิเคราะหผลของ operator Rˆ (ϕ k ) ที่กระทําตอสถานะของ spin ที่ไมไดอยูใ นแนวแกน z ยกตัวอยางเชน θ θ + n = cos 0 + Z + eiϕ0 sin 0 − Z 2 2

___________ สมการ (2.115)

โดยที่มุม (θ0 , ϕ0 ) บงบอกถึงทิศทางที่ spin กําลังชี้อยู และใหสังเกตวา ϕ0 คือมุมกวาดรอบแกน z เพราะฉะนัน้ operator Rˆ (ϕ k ) ควรจะมีผลกระทบโดยตรงตอมุมดังกลาว θ ⎧ θ ⎫ Rˆ (ϕ k ) + n = Rˆ (ϕ k ) ⎨cos 0 + Z + eiϕ0 sin 0 − Z ⎬ 2 2 ⎩ ⎭ θ θ = cos 0 Rˆ (ϕ k ) + Z + sin 0 eiϕ0 Rˆ (ϕ k ) − Z 2 2

และเมื่ออาศัยสมการ (2.113) และ สมการ (2.114) จะไดวา θ θ Rˆ (ϕ k ) + n = cos 0 eϕγ + + Z + sin 0 eiϕ0 eϕγ − − Z 2 2 θ ⎧ θ ⎫ = eϕγ + ⎨cos 0 + Z + sin 0 eiϕ0 +ϕ (γ − −γ + ) − Z ⎬ 2 2 ⎩ ⎭

สังเกตเทอมทางขวามือของสมการขางตน วาเราแยกตัวประกอบเอาคาคงที่ eϕγ + ออกมา ทั้งนี้ก็ เพื่อใหการวิเคราะหงายขึน้ จาก Section 2.4.2 เราทราบวา เมื่อสถานะของระบบมีการคูณดวย คาคงที่ จะไมทําใหสถานะมีเปลี่ยนแปลงแตอยางใด เพราะฉะนัน้ ในที่นี้เราจะไมนําคาคงที่ eϕγ + ในสมการขางตนเขามาวิเคราะหรวมดวย ดังนั้น θ θ Rˆ (ϕ k ) + n = cos 0 + Z + sin 0 eiϕ0 +ϕ (γ − −γ + ) − Z 2 2

___________ สมการ (2.116)

ทั้งนี้เมื่อเราสังเกตคํานิยามของสถานะ + n ในสมการ จะพบวา เมื่อมีการหมุนรอบแกน z ดวยมุม ϕ แลวนั้น สถานะ + n ที่มี ϕ0 เปนมุมกวาดรอบแกน z อยูเดิม ควรจะเปลี่ยนจาก

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-51

และดังสมการ (2.116) การเปลี่ยนแปลงในลักษณะดังกลาวจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อ iϕ0 + ϕ (γ − − γ + ) = i (ϕ0 + ϕ ) ซึ่งจะนําไปสูค  วามสัมพันธที่วา

ϕ0 → ϕ0 + ϕ

__________________ สมการ (2.117)

γ− −γ+ = i

นอกจากนี้ เมือ่ เราพิจารณาคํานิยามของ γ + , γ − ในสมการ (2.111) ประกอบกับความสมมาตรของ ระบบ คาคงที่ทั้งสองควรจะมี γ− = γ+

___________________ สมการ (2.118)

จากสมการ (2.117) และ (2.118) ทําใหเราสรุปไดวา γ − = + i , 2

สองเขาไปในสมการ (2.111) จะทําใหไดคุณสมบัติทสี่ ําคัญ operator ˆ +Z = − i +Z Φ 2 ˆ −Z = + i −Z Φ 2

i และเมื่อแทนคาคงที่ทั้ง 2 ˆ ที่วา Φ

γ+ = −

___________________ สมการ (2.119)

นอกจากนี้ เนื้อหาใน Section 2.3.4 ในเรือ่ งของ spin operator ที่วา Sˆ z + Z = + Sˆ z − Z = −

2 2

+Z

___________________ สมการ (2.120)

−Z

และเมื่อเราเปรียบเทียบสมการ (2.119) และ สมการ (2.120) จะไดเอกลักษณขอที่สองของ operator ˆ นั่นก็คือ Φ ˆ = − i Sˆ Φ z

___________________ สมการ (2.121)

Generator of Rotation เมื่อแทนเอกลักษณของ operator Φˆ ขางตน เขาไปในคํานิยามของ infinitesimal rotation operator ดังสมการ (2.107) จะทําให Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

i Rˆ (dϕ k ) = 1 − dϕ Sˆ z

2-52

___________________ สมการ (2.122)

และนําไปสู rotation operator ที่สามารถหมุนสถานะเชิง spin ของระบบดวยมุมใดๆ ไดวา Rˆ (ϕ k ) = e

i − ϕ Sˆ z

___________________ สมการ (2.123)

ในทายที่สุดเราก็พบกับความหมายที่สําคัญของ operator Sˆz ซึ่งมีอยูทั้งสิ้นสองประเด็นดวยกันคือ 1) Sˆz คือ operator ที่ใชแทนการวัด spin angular momentum ตามแนวแกน z ซึ่งเปนความหมาย โดยทั่วไปของ Sˆz ดังที่ไดกลาวมาแลวใน Section 2.3.4 2) Sˆz คือ Generator of Rotation หรือ operator ที่ทําใหเกิด (generate) การหมุน สําหรับที่มาของ ชื่อดังกลาว แสดงใหเห็นดวยสมการ (2.122) ในการหมุนเปนมุมขนาดเล็กๆนั้น เมือ่ operator Rˆ ( dϕ k ) เขาไปกระทํากับสภานะ Ψ ของระบบ จะทําใหสถานะทีว่ า นี้เกิดการหมุน หรือ เปลี่ยนแปลง แตจากสมการ

i Rˆ (dϕ k ) = 1 − dϕ Sˆ z

มีอยูสองเทอม เทอมแรกคือ identity operator 1ˆ ที่ไมมีผล

อันใดกับสถานะของระบบ ในขณะที่เทอมที่สองคือ

i

dϕ Sˆ z

ซึ่งจะทําหนาที่ใหเกิดการ

เปลี่ยนแปลงของระบบ สงผลใหเกิดการหมุน และดวยคุณสมบัติอันนี้ เราเรียก Sˆ z

เปน Generator of Rotation Rˆ (ϕ k ) ___________________ สมการ (2.124)

คําทํานายทีท่ าทาย นอกจากนี้ rotation operator ที่เราไดกลาวถึงยังมีบทสรุปอีกอันหนึ่งทีน่ าทึ่งและทาทาย เพื่อที่จะ อธิบายประเด็นดังกลาว ลองตั้งคําถามวา ถาเราหมุนสถานะใดๆก็ตาม เปนมุม 360 องศา สถานะ ผลลัพธจะเปนอยางไร? สืบเนื่องจากรูปแบบของ operator Rˆ (ϕ k ) ในสมการที่ (2.123) เราจะไดวา

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา Rˆ (2π k ) Ψ = e

2 Operator และ Matrix Mechanics −

i 2π ˆ Sz

{c+

+ Z + c− − Z

} ___________ สมการ (2.125)

จากสมการขางตน เราเขียนสถานะ Ψ ใหอยูใ นรูป superposition Ψ = c+ c+ , c− คือ คาคงที่ใดๆ และเมื่อใชเอกลักษณทวี่ า e±iπ = −1 จะทําให Rˆ (2π k ) Ψ =

2-53

+ Z + c− − Z

เมื่อ

i 2π ⎛ ⎞ i 2π ⎛ ⎞ − ⎜ ⎟ ⎜− ⎟ 2 2 ⎝ ⎠ +Z + c e ⎝ ⎠ −Z c+ e − −

= −c+ + Z − c− − Z

หรือ Rˆ (2π k ) Ψ = − Ψ

___________ สมการ (2.126)

นี่เปนคําทํานายในเชิงทฤษฏีที่ทาทายตอการพิสูจนโดยการทดลองเปนอยางยิ่ง เพราะ quantum mechanics กําลังบอกโดยใชสมการ (2.126) วา ในระบบอนุภาคที่มี spin เปน 1/2 นั้น ถาเราหมุน สถานะของระบบเปนมุม 360 องศา สถานะผลลัพธที่เกิดขึ้น จะมีคาเปน ลบ ของตัวมันเอง ในบทที่ 4 ที่วาดวย Time Evolution เราจะวกกลับมาศึกษาถึงการทดลองที่สามารถพิสูจนการทํานาย อันนี้ โดย S.A. Werner, R. Collella, A. W Overhauser1, and C.F. Eagen ในป 1975. แบบฝกหัด 2.24 จงเขียน rotation operator ใช { + Z , − Z } เปน basis state

Rˆ (ϕ k )

ดังสมการ (2.123) ใหอยูใ นรูปของ matrix โดย

2.6 บทสรุป ในบทที่ 2 เราไดศึกษาถึง operator และคุณสมบัติหลายๆประเด็นของ operator ในความหมายอยาง กวางของ operator Oˆ ก็คือสิ่งที่ทําใหสถานะของระบบเปลี่ยนแปลง จากสถานะเริ่มตนไปยังสถานะ ผลลัพธ

R. Colella และ W. Overhauser สอนอยูที่ Purdue University ในขณะที่ผูแตงเรียน Ph.D. อยู ณ มหาวิทยาลัยแหงนี้ โดยที่ Colella นั้นสอนวิชา Electromagnetic และ Overhauser นั้นสอนวิชา Thermodynamic ใหแกขาพเจา ทานทั้งสองมีความเชี่ยวชาญแตกฉานในวิชาที่สอน เพราะทัง้ สองทานลวนสอนปากเปลา ไมมี note อยูในมือใดๆทัง้ สิน้ 1

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-54

φ = Oˆ ψ

ซึ่งการเขียน operator โดยทั่วไปอาจจะทําใหอยูใ นรูปของ ket-bra ของ basis state { φ i N N

Oˆ = ∑ ∑ oij φ i i =1 j =1

}

กลาวคือ

φj

และนอกเสียจากรูปแบบของ quantum mechanics ที่ใช ket และ bra เปนสัญลักษณพนื้ ฐาน เรายัง สามารถใช vector และ matrix ในการแสดงสถานะและแสดง operator ซึ่งสามารถเขียนไดวา ⎡ c1 ⎤ ⎢c ⎥ Ψ = ∑ ci φ i ⎯⎯⎯⎯⎯→ ⎢ 2 ⎥ φ i basis ⎢ ⎥ i =1 ⎢ ⎥ ⎣cN ⎦ N

⎡ φ 1 Oˆ φ 1 ⎢ ⎢ φ Oˆ φ 1 ˆ O ⎯⎯⎯⎯⎯⎯ →⎢ 2 φ i basis ⎢ ⎢ ⎢ φ N Oˆ φ 1 ⎣

{ }

φ 1 Oˆ φ 2

φ 1 Oˆ φ N ⎤

φ 2 Oˆ φ 2

φ 2 Oˆ φ N ⎥

φ N Oˆ φ 2

⎥ ⎥ ⎥ φ N Oˆ φ N ⎥ ⎦

หลังจากนัน้ เราเริ่มกลาวถึงความหมายอยางแคบของ operator ซึ่งก็คือกลไกในการวัดปริมาณทาง ฟสิกส หรือ observable และนําไปสูสิ่งที่เรียกวา eigen equation Aˆ a = α a

โดยที่ตัวอยางของ operator ในลักษณะดังกลาวนี้ก็คือ spin operator ที่ใชในการวัด spin angular momentum ของระบบในทิศทางตางๆกัน ไดแก Sx =

⎡0 1 ⎤ , 2 ⎢⎣1 0 ⎥⎦

Dr. Teepanis Chachiyo

Sy =

⎡ 0 −i ⎤ , 2 ⎢⎣ i 0 ⎥⎦

และ S z =

⎡1 0 ⎤ 2 ⎢⎣0 −1⎥⎦

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

เมื่อใช basis state { + Z

, −Z

}

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-55

ในความหมายของ operator ที่เกี่ยวของกับการวัดนี้เอง หลีกหนีไมพน ที่จะตองกลาวถึงคาเฉลี่ยของ การวัด และ ความไมแนนอนของการวัด หรือ ที่เรียกวา expectation value และ uncertainty expectation value uncertainty

Aˆ = Ψ Aˆ Ψ 2 Aˆ 2 − Aˆ

ΔA =

และในทายทีส่ ุด เพื่อเปนตัวอยางของการนําความรูทั้งหมดเกีย่ วกับ operator มาประมวลและ สังเคราะห เราไดกลาวถึง rotation operator และ generation of rotation Rˆ (ϕ k ) = e

i − ϕ Sˆ z

2.7 ปญหาทายบท แบบฝกหัด 2.25 โดยเริ่มจากคํานิยามของ operator ในสมการ (2.23) จงพิสูจนวา เราสามารถเขียน operator ใหอยูในรูป

N

Aˆ = ∑ α i a i i =1

ของ operator

ai

เมื่อ

ai

และ αi คือ eigenstate และ eigenvalue

แบบฝกหัด 2.26 ในทํานองเดียวกันกับแบบฝกหัดขางตน เราสามารถเขียน operator Sˆ x =

{

+X +X − −X −X 2 2 + Z , −Z }

จงเขียน operator Sˆx ใหอยูใ นรูปของ matrix โดยใช basis

แบบฝกหัด 2.27 จงเขียน rotation operator { + Z , − Z } เปน basis state

Dr. Teepanis Chachiyo

Rˆ (θ1 i)

และ Rˆ (θ2 j) ใหอยูในรูปของ matrix โดยใช

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

2 Operator และ Matrix Mechanics

2-56

This page is intentionally left blank

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.