9 Time Independent Perturbations

Page 1

Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9

9 Time Independent Perturbations

9-1

Time Independent Perturbations

เนื้อหา 9.1 Introduction 9.2 Non-Degenerate Perturbation Theory 9.3 Applications 9.4 Degenerate Perturbation Theory 9.5 Application - Relativistic Correction 9.6 Application - Zeeman Effect 9.7 บทสรุป 9.8 ปญหาทายบท

9.1 Introduction เนื้อหาในทุกๆกรณีที่ผานมา ถึงแมบางครั้งจะเปนไปดวยความยากลําบากอยูบาง แตเราสามารถนํา กระบวนการทางคณิตศาสตรเขามาทําการวิเคราะหหา eigen energy และ eigenstate ของระบบได อยางแมนยํา ยกตัวอยางเชน rotation ของ nuclear spin, finite potential well, harmonic potential, หรือแมกระทัง่ central potential ใน 3 มิติ วิธีในการคํานวณระดับพลังงานของระบบที่แตกตางกันเหลานี้ ก็มีกลไกที่คลายคลึงกัน กลาวคือ กําหนด Hamiltonian ของระบบ จากนั้นสราง eigen equation Hˆ ψ n = En ψ n

ผลเฉลยของสมการขางตน ก็คือเซตของ eigen energy {En } และ eigenstate { ψ n } ของระบบที่ เรากําลังศึกษานั่นเอง อยางไรก็ตาม ในความเปนจริงนัน้ ระบบในทางฟสิกสมีความซับซอนและมี ปจจัยอืน่ ๆที่จะมีผลกระทบตอระบบที่เรากําลังพิจารณา ยกตัวอยางเชน

Quantum Well ภายใตสนามไฟฟา Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-2

ในการศึกษา quantum well เราใช finite square well ใน 1 มิติ เพื่อเปน model อยางงายในการ วิเคราะหหาระดับพลังงาน ตลอดจน probability amplitude ของระบบ ในคราวนี้สมมุติวาเราตอ แบตเตอรี่เขากับขั้วทั้งสองขางของ quantum well ทําใหเกิดสนามไฟฟา E

สนามไฟฟาภายนอก ที่ปอ นให quantum well

model ในการศึกษา

E

V ( x)

x

x 2a บอพลังงานศักย

GaAlAs

GaAs

2a

เมื่อทบทวนเนือ้ หาของ electrostatic พื้นฐาน จะพบวา อันตรกริยาระหวาง สนามไฟฟากับ อิเล็กตรอนซึ่งมีประจุ q = −e สามารถแทนดวยพลังงานศักย Velectric ( x) = qφ ( x) = −e E ( x − a ) เมื่อ φ ( x) ก็คือ electrical potential ซึ่งมีความสัมพันธกับ สนามไฟฟาในรูปของ E = −∇φ และเมื่อรวมกับพลังงานศักยทมี่ ีอยูเดิม ซึ่งมีลักษณะเปน square well ⎧V0 ⎪ Vwell ( x) = ⎨ 0 ⎪V ⎩ 0

x < −2 a − 2a < x < 0 0< x

ก็จะทําใหไดพลังงานศักย V ( x) = Vwell ( x) + Velectric ( x) สุทธิดังแสดงในภาพขางตน อยางไรก็ ตาม พลังงานศักยในลักษณะดังกลาวมีความซับซอน และไมงายนักที่เราจะคํานวณระดับพลังงาน และ eigenstate ของระบบ perturbations เปนกลไกที่ quantum mechanics ใชในการประมาณคาของระดับพลังงาน และ ประมาณ eigenstate ของระบบที่มีความซับซอน เกินกวาที่เราจะหาคําตอบไดโดยตรง

Polarization ของอะตอม Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-3

พิจารณา hydrogen atom ในสถานะ ground state ที่อยูทามกลางสนามไฟฟา E ภายนอก ซึ่งมีทิศทาง ตามแนวแกน z แตเดิมเมื่อปราศจากสนามไฟฟาภายนอกนั้น พลังงานของระบบอยูในรูปของ พลังงานจลน และ Coulomb potential หรือ Hˆ 0 =

pˆ 2 e2 Z − 2m 4πε 0 r

สนามไฟฟาทําให spectrum ของ hydrogen atom เปลี่ยนแปลง

E

z

สนามไฟฟาทําใหกลุมหมอกอิเล็กตรอนของ hydrogen atom เปลี่ยนรูปราง

ภาพ (9.1) สนามไฟฟาที่ปอ นเขาไปในระบบของ hydrogen atom และมีผลทําใหระดับพลังงานของ อะตอมเปลี่ยนแปลงไป แตเมื่ออยูทามกลางสนามไฟฟาภายนอกดังกลาว ซึ่งมีอันตรกริยาอยูใ นรูปของพลังงาน Hˆ 1 = −e E zˆ นั้น ทําให Hamiltonian โดยรวมของระบบ กลายเปน ⎛ pˆ 2 e2 Z ⎞ − Hˆ = Hˆ 0 + Hˆ 1 = ⎜ ⎟ − e E zˆ ⎜ 2m 4πε 0 r ⎟ ⎝ ⎠

เมื่อ Hamiltonian เปลี่ยนแปลงไป เปนที่แนนอนวา eigen energy และ eigenstate ก็จะตอง ปรับเปลี่ยนตามไปดวย ซึ่งจะแสดงออกมาใหเห็นไดจากลักษณะของ spectrum และลักษณะของ กลุมหมอกอิเล็กตรอนที่ปรากฏวา เบี่ยงเบนไปจากเดิม อยางไรก็ตาม Hamiltonian Hˆ ขางตน มีความซับซอนทางคณิตศาสตรเกินกวาทีเ่ ราจะแกสมการหา ผลเฉลยของ eigen energy หรือ eigenstate ไดโดยตรง จะทําไดก็แตเพียงการประมาณคําตอบโดย คราวๆเทานั้น ซึ่งก็จะตองอาศัยสิ่งที่เรียกวา perturbation theory เปนเครือ่ งมือในการประมาณผล เฉลยดังกลาว

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-4

Interaction ระหวางอะตอมและแสง จากตัวอยางใน 2 กรณีขางตน จะพบวาเรานิยมแทน อันตรกริยาที่เพิ่มเขามา (และทําใหระบบมีความ ซับซอนทางคณิตศาสตรเพิม่ ขึ้น) ดวยสัญลักษณ Hˆ 1 ซึ่งมีชื่อเรียกโดยทัว่ ไปวา "perturbations" (แปลวา ปจจัยที่เขามารบกวนระบบ) En

ระดับพลังงานของ atom r

E3

nf

E2

ni

E1

อิเล็กตรอนกระโดดขึ้นไปที่ระดับพลังงานสูงขึ้น ภายหลังจากทีถ่ ูกกระตุนดวยคลื่นแมเหล็กไฟฟา V0 ( r )

Hˆ = Hˆ 0 − 2ε ⋅ μ e cos ωt

นอกจากนี้ perturbation Hˆ 1 ยังอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงที่เปนฟงชันกของเวลา กลาวคือ Hˆ 1 = Hˆ 1 (t ) ยกตัวอยางเชนในกรณีที่คลื่นแมเหล็กไฟฟา เคลื่อนที่เขาไปทําอันตรกริยากับอะตอม ที่ผานมาเรามักจะถือวา เมื่อพลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟาดังกลาว มีคาเทากับ ΔE = Ef − Ei ของ อะตอม ก็จะมีการดูดกลืนแสง แตเรายังไมเคยใหความสนใจในกระบวนที่แทจริงของการดูดกลืน ดังกลาว วามีรายละเอียดเปนอยางไร ในกรณีที่ perturbation เปนฟงชันกของเวลานั้น กระบวนการทางคณิตศาสตรในการประมาณระดับ พลังงาน และ eigenstate มีความยุงยากมากขึ้นไปอีก และเรามักจะเรียกกรณีเชนนี้วา timedependent perturbation theory อยางไรก็ตาม เราจะไมกลาวถึง time dependent perturbation theory ในบทนี้

Formal Notations เพื่อมิใหเกิดความสับสน เราจําเปนจะตองระมัดระวังอยางมากในการใชสัญลักษณเมื่อกลาวถึง สถานะตางๆของระบบ ตามระเบียบวิธีของ perturbation theory ดังจะไดขยายความในลําดับ ตอไปนี้

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-5

กําหนดให Hamiltonian ของระบบ สามารถเขียนใหอยูในรูปของ ______________________ สมการ (9.1)

Hˆ = Hˆ 0 + Hˆ 1

ในที่นี้เราสนใจที่จะทราบผลเฉลยของ eigenstate { ψ n } และ eigen energy {En } ที่ทําใหสมการ ______________________ สมการ (9.2)

Hˆ ψ n = En ψ n

เปนจริง แตเนื่องจากความซับซอนทางคณิตศาสตรของ Hamiltonian ดังกลาว เราจึงพยายามแบง Hˆ ออกเปน 2 สวนดวยกันคือ 1)

Hˆ 0

เปนสวนของ Hamiltonian ที่เราสามารถหาผลเฉลยของ eigenstate และ eigen energy ของมัน

ได หรืออีกนัยหนึ่ง เราจะตองทราบเซตของ

{ ψ } และ {E } ที่ทําใหสมการ (0) n

(0) n

______________________ สมการ (9.3)

Hˆ 0 ψ n(0) = En(0) ψ n(0)

นั้นเปนจริง ใหสังเกตการใช superscript (0) กํากับสถานะและกํากับพลังงานในสมการขางตน เพื่อใหเห็นอยางชัดเจนวามันเปนผลเฉลยของ Hamiltonian Hˆ 0 และแตกตางจากสถานะในสมการ (9.2) 2) Hˆ 1 เปนสวนของ Hamiltonian ที่เรียกวา "perturbations" ซึ่งแทนปจจัยอื่นๆที่เขามามีบทบาทกับ ระบบที่กําลังพิจารณา และมีผลทําให Hamiltonian Hˆ = Hˆ 0 + Hˆ 1 สุทธิที่เกิดขึ้น มีความซับซอน ทางคณิตศาสตรมากเสียจนเราไมสามารถหาคําตอบไดโดยตรง ทั้งนี้ สมมุติวา Hˆ 1 มีขนาดเล็กเมื่อเปรียบเทียบกับ Hˆ 0 ดวยสมมุติฐานประการนี้ ในบางครั้งเราจึง เรียก Hˆ 1 วาเปน perturbing Hamiltonian และ เรียก Hˆ 0 วาเปน unperturbed Hamiltonian perturbations theory เปนกลไกในการประมาณผลเฉลย eigenstate { ψ n } และ eigen energy {En } ของ Hamiltonian

{En(0) } Dr. Teepanis Chachiyo

Hˆ = Hˆ 0 + Hˆ 1

และอาศัยสมมุติฐานที่วา

Hˆ 1

โดยอาศัยขอมูลของ

{ ψ } และ (0) n

มีขนาดเล็กเมือ่ เปรียบเทียบกับ

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

Hˆ 0

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-6

9.2 Non-Degenerate Perturbation Theory ในขั้นตนนี้ เพื่อความสะดวก เราจะสมมุติวา perturbing Hamiltonian Hˆ 1 ไมมีสวนที่ขนึ้ กับเวลา หรือที่เรียกวา "time independent perturbation" ที่ Erwin Schrödinger และ Lord Rayleigh เปนผู ไดรับการยอมรับวาเปนบุคคลที่ใหกําเนิดทฤษฏีดังกลาว เพื่อที่จะ derive สูตรในการประมาณผลเฉลย eigenstate { ψ n } และ eigen energy {En } เราเริ่ม ดวยการเขียน Hamiltonian ดังในสมการ (9.1) เสียใหม ใหอยูใ นรูปของ Hˆ = Hˆ 0 + λ Hˆ 1

______________________ สมการ (9.4)

โดยที่ตัวเลข λ นั้นมีขนาดเล็ก กลาวคือ 0 ≤ λ ≤ 1 การนําตัวแปร λ เขามาคูณอยูก ับ perturbing Hamiltonian นั้นมีประโยชนถึงสองประการดวยกันคือ 1) เปนการแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา เทอม λ Hˆ 1 นั้นมีขนาดเล็ก และถือไดวา เปน perturbation ของ Hamiltonian Hˆ 0 และ 2) เราจะใช λ เปนตัวชวยในการจัดรูปทางคณิตศาสตรไดเปนระเบียบ และ งายขึน้ ดังจะไดเห็นในลําดับตอไป หัวใจสําคัญของ perturbation theory นั้นก็คือการสมมุติวา เราสามารถเขียนผลเฉลย eigen energy En และ eigenstate ψ n ใหเปน summation ของเทอมที่มีขนาดเล็กลง ลดหลั่นกันลงไปเรื่อยๆ กลาวคือ En = En(0) + λ En(1) + λ 2 En(2) + λ 3 En(3) +

___________ สมการ (9.5)

จากสมการขางตน เนื่องจาก 0 ≤ λ ≤ 1 เราจะเห็นวา โดยหลักการแลว En(0) < λ En(1) < λ 2 En(2) ทั้งนี้ คือ eigen energy ของ unperturbed Hamiltonian

เทอมแรก

En(0)

เทอมที่สอง

คือ 1st order correction term ซึ่งเปนเทอมเมื่อเขามารวมกับ En(0) ก็จะทําให ผลบวกมีคาใกลเคียงกับ En ที่ปรากฏอยูทางซายมือของสมการไดดียิ่งขึน้

เทอมที่สาม

En(2)

Hˆ 0

En(1)

Dr. Teepanis Chachiyo

คือ 2nd order correction term ซึ่งเปนเทอมที่มีขนาดเล็กลงไปอีก แตเมื่อ ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

นํามารวมกับเทอมทั้งสองขางตน ก็จะทําใหเราประมาณคาของ มากขึ้นอีก เปนลําดับขั้น เชนนี้เรื่อยไป

9-7 En

ไดแมนยํา

มาถึงจุดนี้ เราทราบแตเพียงวา En(0) มีคาเปนเทาใด ซึ่งก็จะไดทําการวิเคราะหเพื่อหาสูตรสําเร็จใน การคํานวณคาของเทอม En(1) , En(2) , ในลําดับตอไป

1st order และ 2nd order Perturbations ในทํานองเดียวกันกับ eigen energy อยูในรูปของ

En

ดังในสมการ (9.5) เราสามารถเขียน eigenstate

ψn

ให

___________ สมการ (9.6)

ψ n = ψ n(0) + λ ψ n(1) + λ 2 ψ n(2) + λ 3 ψ n(3) +

และเมื่อแทนเทอมของ Hamiltonian Hˆ ดังสมการ (9.4) , eigen energy ดังสมการ (9.5) , และ eigenstate ดังสมการ (9.6) ทั้งสามนั้น เขาไปในสมการ (9.2) จะไดวา

( Hˆ 0 + λ Hˆ1 ) ( ψ n(0)

+ λ ψ n(1) + λ 2 ψ n(2) +

(

= En(0) + λ En(1) + λ 2 En(2) +

หรือ

(

0 = Hˆ 0 + λ Hˆ 1

(

) ( ψ n(0)

) ( ψ n(0)

)

+ λ ψ n(1) + λ 2 ψ n(2) +

)

+ λ ψ n(1) + λ 2 ψ n(2) +

− En(0) + λ En(1) + λ 2 En(2) +

) ( ψ n(0)

+ λ ψ n(1) + λ 2 ψ n(2) +

)

)

___________________ สมการ (9.7) สมการขางตน เมื่อกระจายออกมาจะประกอบดวยเทอมจํานวนมาก เราสามารถจัดกลุมของเทอม ทั้งหลายเหลานี้ โดยอาศัย เลขยกกําลังของ λ เปนหลัก ดังตอไปนี้ เทอมที่คูณอยูก ับ λ 0 :

{ Hˆ

0

ψ n(0) − En(0) ψ n(0)

0

เทอมที่คูณอยูก ับ λ1 : Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

{ Hˆ

0

9 Time Independent Perturbations

ψ n(1) + Hˆ 1 ψ n(0) − En(0) ψ n(1) − En(1) ψ n(0)

9-8

1

เทอมที่คูณอยูก ับ λ 2 :

{ Hˆ

0

ψ n(2) + Hˆ 1 ψ n(1) − En(0) ψ n(2) − En(1) ψ n(1) − En(2) ψ n(0)

2

เชนนี้เปนตน และเนื่องจาก λ เปนตัวแปรทีเ่ ราสมมุติขึ้นมาเทานั้น การที่สมการ (9.7) จะเปนจริง ไดโดยไมสนใจวา λ จะมีคาเปนเทาในนั้น ทุกๆเทอมในวงเล็บปกกาที่แสดงขางตน จะตองเทากับ ศูนย หรืออีกนัยหนึ่ง Hˆ 0 ψ n(0) = En(0) ψ n(0)

_________ สมการ (9.8)

Hˆ 0 ψ n(1) + Hˆ 1 ψ n(0) = En(0) ψ n(1) + En(1) ψ n(0)

_________ สมการ (9.9)

Hˆ 0 ψ n(2) + Hˆ 1 ψ n(1) = En(0) ψ n(2) + En(1) ψ n(1) + En(2) ψ n(0)

________ สมการ (9.10)

ขั้นตอนในการวิเคราะหหาสูตรสําเร็จในการคํานวณ 1st order energy correction term หรือที่เราใช สัญลักษณวา En(1) สามารถทําไดโดยนําเอาสถานะ bra ψ n(0) เขามาประกบทั้งสองขางของ สมการ (9.9) จะทําให ψ n(0) Hˆ 0 ψ n(1) + ψ n(0) Hˆ 1 ψ n(0) = ψ n(0) En(0) ψ n(1) + ψ n(0) En(1) ψ n(0)

(0) n

)

Hˆ 0† ψ n(1) + ψ n(0) Hˆ 1 ψ n(0) = En(0) ψ n(0) ψ n(1) + En(1) ψ n(0) ψ n(0) =1

จะสังเกตวาในเทอมแรกนัน้ เราเปลี่ยนเอา Hamiltonian

Hˆ 0

ซึ่งพรอมกันนัน้ จะเปลีย่ นใหกลายเปน adjoint operator

Hˆ 0†

Hermitian operator ดังนั้น Hˆ 0† = Hˆ 0 หรืออีกนัยหนึ่ง

มากระทํากับสถานะ bra

ψ n(0)

แทน

แตเนื่องจาก Hamiltonian เปน

ψ n(0) Hˆ 0† = ψ n(0) Hˆ 0 = ψ n(0) En(0)

เพราะฉะนั้น สมการขางตน ลดรูปเหลือเพียง ψ n(0) En(0) ψ n(1) + ψ n(0) Hˆ 1 ψ n(0) = En(0) ψ n(0) ψ n(1) + En(1) ψ n(0) ψ n(0) =1

หรือ Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations En(1) = ψ n(0) Hˆ 1 ψ n(0)

9-9

______________ สมการ (9.11)

สมการขางตน เปนสูตรสําเร็จในการคํานวณ 1st order correction ของ eigen energy ซึ่งอยูในรูป ของ bra-ket ที่ประกบเอา operator Hˆ 1 ไวภายใน และในกรณีของ 1st order correction ของ eigenstate หรือ เซตของ eigen state

{ ψ } นั้นเปน complete เซต (0) n

ψ n(1)

เราเริ่มดวยการตั้งขอสังเกตวา

เพราะฉะนัน้ เราสามารถเขียนสถานะใดๆก็

ได ใหอยูในรูป linear superposition ของเซตดังกลาว รวมไปถึงสถานะ

ψ n(1)

ดวยเชนกัน

เพราะฉะนั้นเราสามารถเขียน ψ n(1) =

∑ ck ψ k(0)

k ≠n

เมื่อ ck =

ψ k(0) ψ n(1)

เมื่อ ck คือสัมประสิทธิ์ของ expansion ที่เราจะตองวิเคราะหหาคาที่แทจริงในลําดับไป และสาเหตุ ที่ summation ของ k มีเงื่อนไขที่วา k ≠ n นั้น เพราะจากสมการ (9.6) จะเห็นวาสถานะ ψ k(0)= n ไดปรากฏอยูในเทอมแรกของสมการอยูแลว และไมมีความจําเปนจะตองรวมเขาไปเปนสวนหนึง่ ของ linear superposition อีก สวนในกรณีของสัมประสิทธิ์ ck นั้น สามารถหาไดโดยการนําสถานะ bra

ψ k(0)

เขาไปประกบ

ทั้งสองขางของสมการ (9.9) และจะไดวา ψ k(0) Hˆ 0 ψ n(1) + ψ k(0) Hˆ 1 ψ n(0) = ψ k(0) En(0) ψ n(1) + ψ k(0) En(1) ψ n(0) Ek(0) ψ k(0) ψ n(1) + ψ k(0) Hˆ 1 ψ n(0) = En(0) ψ k(0) ψ n(1) + En(1) ψ k(0) ψ n(0) =0

หรือ ψ k(0)

ψ n(1) =

ψ k(0) Hˆ 1 ψ n(0) En(0) − Ek(0)

เมื่อ k ≠ n

เพราะฉะนั้นแลว

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

ψ n(1) =

9 Time Independent Perturbations

k ≠n

ψ k(0) Hˆ 1 ψ n(0)

ψ k(0)

En(0) − Ek(0)

9-10

______________ สมการ (9.12)

และกอนทีจ่ ะยกตัวอยางการนํา perturbation มาใชงานนัน้ เพื่อใหไดประโยชนสูงสุดเราควรจะ derive สูตรในการคํานวณ 2nd order energy correction เสียกอน ซึ่งทําไดไมยากนักโดยการนํา สถานะ bra ψ n(0) เขาประกบทั้งสองขางของสมการ (9.10) จะไดวา ψ n(0) Hˆ 0 ψ n(2) + ψ n(0) Hˆ 1 ψ n(1) = ψ n(0) En(0) ψ n(2) + ψ n(0) En(1) ψ n(1) + ψ n(0) En(2) ψ n(0) =0

หรือ En(2) = ψ n(0) Hˆ 1 ψ n(1)

และเมื่อแทน

ψ n(1)

ดังในสมการ (9.12) เขาไปทางขวามือของสมการขางตน จะทําให

En(2)

=

ψ k(0) Hˆ 1 ψ n(0) En(0)

k ≠n

=

∑ ∑

ψ n(0) Hˆ 1 ψ k(0)

ψ k(0) Hˆ 1 ψ n(0) ψ n(0) Hˆ 1 ψ k(0) En(0) − Ek(0)

k ≠n

En(2) =

− Ek(0)

ψ k(0) Hˆ 1 ψ n(0) ψ k(0) Hˆ 1 ψ n(0)

En(0) − Ek(0)

k ≠n

หรืออีกนัยหนึง่ En(2) =

k ≠n

ψ k(0) Hˆ 1 ψ n(0) En(0) − Ek(0)

2

______________ สมการ (9.13)

ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตนวา ตัวแปร λ ที่ปรากฏในสมการ (9.4) เปนเพียงสิ่งที่สมมุติขึ้นเพื่อชวย จัดกลุมของเทอมตางๆเพื่อความสะดวกของการ derive สูตรสําเร็จในการคํานวณ correction term

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-11

ดังที่ปรากฏในสมการ (9.11) , (9.12) , และ (9.13) และในทายที่สุด เมือ่ นําระเบียบวิธี perturbation theory มาใชงานจริง เราจะกําหนดให λ = 1 กลาวคือ ______________ สมการ (9.14)

En = En(0) + En(1) + En(2) + En(3) +

และ ___________ สมการ (9.15)

ψ n = ψ n(0) + ψ n(1) + ψ n(2) + ψ n(3) +

Simple Application เพื่อเปนการยกตัวอยางการนํา perturbation theory มาใชเปนเครื่องมือในการวิเคราะหระบบ สมมุติ วาเราตองการคํานวณ eigen energy ของ Hamiltonian pˆ 2 1 + mω 2 x 2 + bx 2 Hˆ = 2m 2

________________ สมการ (9.16)

นักศึกษาที่มีไหวพริบอยูบาง ยอมจะสังเกตเห็นไดทันทีวา Hamiltonian ขางตนนั้น สามารถหาผล เฉลยของ eigen energy ไดโดยตรง และไมมีความจําเปนที่จะตองประมาณคําตอบโดยอาศัยกลไก ของ perturbation theory แตอยางใด แตในขัน้ ตนเราจะแสรงทําเปนไมทราบ โดยมองวา Hamiltonian Hˆ ดังในสมการ (9.16) นั้นมี ความซับซอนเกินกวาจะหาผลเฉลยของ eigen energy ไดโดยตรง และเริ่มจากการเขียน Hˆ ใหอยู ในรูปของ pˆ 2 1 + mω 2 x 2 + bx 2 = Hˆ 0 + Hˆ 1 Hˆ = 2m 2

_____________ สมการ (9.17)

Hˆ 0

ซึ่งมองวา

Hˆ 1 = bx 2

มีลักษณะเปน perturbing term และสมมุติฐานขอนี้จะสมเหตุผลก็ตอเมื่อ

คาคงที่ b นั้นมีขนาดเล็กมาก สวนในแงของ

pˆ 2 1 ˆ H0 = + mω 2 x 2 2m 2

นั้น ก็เปนระบบของ

simple harmonic potential ซึ่งเราไดศึกษาและทราบ eigen energy ตลอดจน eigenstate ของมันเปน อยางดี กลาวคือ

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations 1⎞ ⎛ En(0) = ω ⎜ n + ⎟ 2⎠ ⎝

ในขณะที่ eigenstate

ψ n(0)

ของ

Hˆ 0

aˆ ψ n(0) = n ψ n(0) −1

9-12

___________________ สมการ (9.18)

มีสมบัติที่เกี่ยวของกับ raising และ lowering operator ที่วา และ aˆ † ψ n(0)

_______ สมการ (9.19)

= n + 1 ψ n(0) +1

เราจะอาศัยสมบัติที่เกี่ยวของกับ raising และ lowering operator ดังกลาวเพื่อชวยในการประมาณ eigen energy ของ Hamiltonian ดังในสมการ (9.16) กอนอื่นจะตองเขียน perturbing Hamiltonian Hˆ 1 = bx 2 ใหอยูใ นรูป

(

⎧⎪ Hˆ 1 = bx 2 = b ⎨ aˆ + aˆ † ⎩⎪ 2mω

)

2

(

⎫⎪ b ˆ ˆ † + aˆ †aˆ + aˆ †2 aˆ 2 + aa ⎬ = 2mω ⎭⎪

)

_______ สมการ (9.20)

จากสมการ (9.11) จะไดวา 1st order energy correction ก็คือ En(1) = ψ n(0) Hˆ 1 ψ n(0)

( aˆ 2 + aaˆ ˆ† + aˆ†aˆ + aˆ†2 ) ψ n(0)

b ψ n(0) 2mω ⎧ b ⎪⎪ (0) En(1) = ⎨ ψn 2mω ⎪ ⎪⎩ =

⎫ ⎪⎪ ˆ ˆ † ψ n(0) + ψ n(0) aˆ † aˆ ψ n(0) + ψ n(0) aˆ †2 ψ n(0) ⎬ aˆ 2 ψ n(0) + ψ n(0) aa ⎪ =0 =0 ⎪⎭ n +1 n +1 n n

หรือ En(1) =

b 1 1 ⎛ 2b ⎞ ( 2n + 1) = ω ⎛⎜ n + ⎞⎟ ⎜ 2 ⎟ 2mω 2 ⎠ 2 ⎝ mω ⎠ ⎝

__________ สมการ (9.21)

ในขณะที่ 2nd order energy correction มีคาเทากับ

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

En(2) =

k ≠n

ψ k(0) Hˆ 1 ψ n(0)

9-13

2

En(0) − Ek(0) 2

⎛ b ⎞ =⎜ ⎟ ∑ ⎝ 2mω ⎠ k ≠ n En(2)

9 Time Independent Perturbations

(

)

ˆ ˆ † + aˆ †aˆ + aˆ †2 ψ n(0) ψ k(0) aˆ 2 + aa

2

En(0) − Ek(0)

2 ⎛ b ⎞ ⎧ n ( n − 1) ( n + 1)( n + 2 ) ⎫ =⎜ − ⎬ ⎟ ⎨ 2 ω ⎝ 2mω ⎠ ⎩ 2 ω ⎭

หรือ 1 ⎞⎛ 1 ⎞ ⎛ 2b ⎞ ⎛ En(2) = ω ⎜ n + ⎟⎜ − ⎟ ⎜ 2 ⎠⎝ 8 ⎠ ⎝ mω 2 ⎟⎠ ⎝

2

, En(1) , และ En(2) เราสามารถประมาณคา eigen energy Hˆ = Hˆ 0 + Hˆ 1 ไดทันทีวา

ซึ่งจาก

En(0)

2 1 ⎞ ⎧⎪ 1 ⎛ 2b ⎞ 1 ⎛ 2b ⎞ ⎫⎪ ⎛ En ≅ ω ⎜ n + ⎟ ⎨1 + ⎜ ⎟− ⎜ ⎟ ⎬ 2 ⎠ ⎪ 2 ⎝ mω 2 ⎠ 8 ⎝ mω 2 ⎠ ⎪ ⎝ ⎩ ⎭

____________ สมการ (9.22)

En

ของ Hamiltonian

___________ สมการ (9.23)

สมการขางตน เปนผลลัพธจาก non-degenerate perturbation theory ที่สามารถประมาณคาระดับ พลังงาน En ของระบบ และเพื่อที่จะแสดงใหเห็นวา ระดับพลังงานที่ไดจากการประมาณดังกลาว เปนการประมาณที่ถูกตอง สมเหตุผล เราจะไดทําการคํานวณ eigen energy En ที่แทจริง โดย ปราศจากการประมาณ เพือ่ จะไดเปรียบเทียบกับสมการ (9.23) จาก Hamiltonian

pˆ 2 1 + mω 2 x 2 + bx 2 Hˆ = 2m 2

เราสามารถเขียน

pˆ 2 1 Hˆ = + mω 2 x 2 + bx 2 2m 2 2

⎛ ⎞ pˆ 2 1 ⎜ = + m ω 2 + 2b m ⎟ x 2 ⎟ 2m 2 ⎜ ω′ ⎝ ⎠ pˆ 2 1 Hˆ = + mω ′2 x 2 2m 2

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

ลักษณะของ Hamiltonian ความถี่เทากับ ω ′ =

9 Time Independent Perturbations

9-14

ขางตนนั้น เปรียบเสมือนระบบแบบ simple harmonic potential ที่มี

ω 2 + 2b m

1⎞ ⎛ En = ω ′ ⎜ n + ⎟ = 2⎠ ⎝

และในกรณีนี้เอง ระดับพลังงานมีคาเทากับ ⎛ ⎝

1⎞

ω 2 + 2b m ⎜ n + ⎟ = ω 1 + 2 ⎠

2b ⎛ 1⎞ n+ ⎟ 2 ⎜⎝ 2⎠ mω

หรือ 1⎞ 2b ⎛ En = ω ⎜ n + ⎟ 1 + 2⎠ ⎝ mω 2

________________ สมการ (9.24)

เพื่อที่จะตอบโจทยวา ระดับพลังงาน En ในสมการ (9.24) มีความคลายคลึงกับที่ไดจาก perturbation ในสมการ (9.23) อยางไรนัน้ ลองพิจารณา Taylor expansion 1 1 1 5 4 β + 1+ β = 1+ β − β 2 + β 3 − 2 8 16 128

เพราะฉะนั้นแลว

2

3

1 ⎛ 2b ⎞ 1 ⎛ 2b ⎞ 1 ⎛ 2b ⎞ 1+ = 1+ ⎜ ⎟− ⎜ ⎟ + ⎜ ⎟ − 2 2 2 2 ⎝ mω ⎠ 8 ⎝ mω ⎠ 16 ⎝ mω 2 ⎠ mω 2b

หรืออีกนัย

หนึ่ง สมการ (9.24) สามารถเขียนใหอยูใ นรูปของ Taylor expansion ไดวา 2 3 1 ⎞ ⎧⎪ 1 ⎛ 2b ⎞ 1 ⎛ 2b ⎞ 1 ⎛ 2b ⎞ ⎛ En = ω ⎜ n + ⎟ ⎨1 + ⎜ ⎟− ⎜ ⎟ + ⎜ ⎟ − 2 ⎠ ⎪ 2 ⎝ mω 2 ⎠ 8 ⎝ mω 2 ⎠ 16 ⎝ mω 2 ⎠ ⎝ ⎩

⎫⎪ ⎬ ⎭⎪

______ สมการ (9.25)

ดังนั้นเราสรุปไดวา ระดับพลังงานในสมการ (9.23) ทีไ่ ดจาก perturbation theory นั้น เปนการ ประมาณที่สมเหตุผลของระดับพลังงานในสมการ (9.24) นั่นเอง แบบฝกหัด 9.1 จงคํานวณระดับพลังงานของ Hamiltonian

pˆ 2 1 Hˆ = + mω 2 x 2 − e E xˆ 2m 2

เมื่อ e

คือประจุของอิเล็กตรอน และ E คือความเขมของสนามไฟฟาในระบบ a) ดวยวิธีการประมาณแบบ perturbation โดยใชความละเอียดในการประมาณอยางนอย 2nd order b) ดวยวิธกี ารหาคําตอบที่แทจริง c) วาดภาพแสดงระบบทางฟสิกสของ Hamiltonian ดังกลาว

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-15

9.3 Applications กระบวนการในการประมาณคําตอบของ eigen energy และ eigenstate ที่เรียกวา non-degenerate time-independent perturbation theory ที่เราไดศึกษาผานไปแลวนัน้ สามารถนํามาใชประยุกตใน การวิเคราะหระบบตางๆอยูม ากพอสมควร ดังจะไดเสนอ 2 ตัวอยางดวยกันคือ 1) แบบจําลองทีม่ อง วานิวเคลียสนัน้ มิไดเปน point charge หากแตเปนทรงกลมที่มีรัศมี R และ 2) ground state energy ของ helium atom

Nucleus with Finite Size เมื่อครั้งที่เราไดศึกษาระดับพลังงานของ hydrogen atom หรืออะตอมใดๆที่ประกอบดวยอิเล็กตรอน เพียงหนึ่งตัว ซึ่งเคลื่อนที่อยูภายใตอิทธิพลของ Coulomb potential ของนิวเคลียสซึ่งมีประจุเทากับ + Ze นั้น เรามองวานิวเคลียสมีลักษณะเปน "point charge" ซึ่งเปรียบเสมือนจุดที่มีรัศมีเทากับศูนย และในกรณีดงั กลาวนี้ พลังงานศักยของอิเล็กตรอนมีคาเทากับ −

e2 Z 4πε 0 r

ในคราวนี้ เราจะสราง model ของนิวเคลียสใหสมจริงมากขึ้น โดยมองวาประจุขนาด + Ze มิได กระจุกตัวอยูเปนจุดที่มีขนาดเปนศูนยแตอยางใด หากแตมีการกระจายตัวของประจุเปนทรงกลมซึ่ง มีรัศมีเทากับ R ดังแสดงใน ภาพ (9.2)

ประจุ + Ze กระจายตัวอยูภายในทรงกลมรัศมี R ⎧ Ze ,r ≤ R ⎪ ρproton (r ) = ⎨ 4π R3 3 ⎪ 0 ,r > R ⎩

ภาพ (9.2) แสดง model ของนิวเคลียสทีป่ ระกอบดวยประจุบวก กระจายตัวอยางสม่ําเสมอภายใน ทรงกลมซึ่งมีรัศมี R แบบฝกหัด 9.2 จงทบทวนเนื้อหาของ electrostatic พื้นฐานเพื่อพิสูจนวา พลังงานศักยของ อิเล็กตรอนภายใตอิทธิพลของการนิวเคลียสดังใน ภาพ (9.2) อยูในรูปของ

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

2 ⎧ e2 Z ⎡ ⎛r⎞ ⎤ ⎪− ⎢3 − ⎜ ⎟ ⎥ , r ≤ R ⎪ 4πε 0 2 R ⎢⎣ ⎝ R ⎠ ⎥⎦ V (r ) = ⎨ ⎪ e2 Z ,r > R − ⎪ 4πε 0 r ⎩

9-16

____________ สมการ (9.26)

บอกใบ: ใชกฎของ Gauss จากพลังงานศักยขางตนจะพบวา ในกรณีที่อิเล็กตรอนอยูภายในนิวเคลียส รูปแบบทางคณิตศาสตร ของ V (r ) จะมีลักษณะแตกตางออกไปจาก Coulomb potential กลาวคือแปรผันกับ ∼ r 2 เมื่อ เปนเชนนี้ เราสรุปไดวา ระดับพลังงานของ hydrogen atom ในกรณีดงั กลาวนี้ จะตองเปลี่ยนแปลงไป จากเดิม ทีเ่ ราเคยสมมุติเอาวา นิวเคลียสเปน "point charge" เพื่อที่จะคํานวณระดับพลังงานของระบบ เราเขียน Hamiltonian ไดวา pˆ 2 ˆ H= + V (r ) 2m

______________________ สมการ (9.27)

เมื่อ V (r ) เปนพลังงานศักยดังแสดงในสมการ (9.26) อยางไรก็ตาม เราไมทราบ eigen energy ของ Hamiltonian ดังกลาว เนื่องจากความซับซอนของพลังงานศักย V (r ) ดังนัน้ เราจะใช timeindependent perturbation โดยเริ่มจากการเขียน Hamiltonian ใหอยูใ นรูป pˆ 2 e2 Z ˆ Hˆ = − + H1 (r ) 2m 4πε 0 r

________________ สมการ (9.28)

Hˆ 0

เมื่อ ⎧ e2 Z ⎡ ⎛ r ⎞2 2 R ⎤ ⎪⎪− ⎢3 − ⎥ ,r ≤ R − Hˆ 1 (r ) = ⎨ 4πε 0 2 R ⎢ ⎜⎝ R ⎟⎠ r ⎥ ⎣ ⎦ ⎪ 0 ,r > R ⎪⎩

____________ สมการ (9.29)

ในขั้นตอนตอไป เราสังเกตเห็นวา eigen energy และ eigenstate ของ Hamiltonian Hˆ 0 นัน้ ก็คือ ระดับพลังงาน และ wave function ของ hydrogen atom นั่นเอง กลาวคือ ในสถานะ ground state (0) (0) r , θ , ϕ ψ ground = ψ ground (r ,θ , ϕ ) = R10 (r )Y00 (θ , ϕ )

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-17

โดยที่ 32

⎛Z ⎞ R10 (r ) = 2 ⎜ ⎟ ⎝ a0 ⎠

e − Zr a0

เมื่อ a0 คือ Bohr radius และ Y00 (θ , ϕ ) =

1 2 π

2

และระดับพลังงาน ground state ก็คือ

⎛ Ze2 ⎞ m Eground = − ⎜ ⎟ ⋅ 2 ⎜ 4πε 0 ⎟ 2 ⎝ ⎠

เมื่อเปนเชนนี้ เราสามารถ

คํานวณ 1st order correction ของระดับพลังงาน ground state ไดวา (1) (0) (0) Eground = ψ ground Hˆ 1 ψ ground

ซึ่งสามารถเขียนใหอยูในรูปของ integration ไดก็คือ (1) Eground (0)∗ (0) (r , θ , ϕ ) Hˆ 1ψ ground (r ,θ , ϕ ) = ∫ d3rψ ground 2π π R 2 ⎫ ⎡ ⎛ r ⎞2 2 R ⎤ 2⎪ Z ⎪⎧ e ⎪⎫ ⎪⎧ 2 ∗ 0 ⎢ ⎥ ( ) 3 ( ) sin ( , ) drr R r R r d d Y ϕ θ θ θ ϕ = ⎨− − − ⎬ ⎨ ⎬ 10 10 0 ⎜ ⎟ ∫ ∫∫ r ⎥ ⎢⎣ ⎝ R ⎠ ⎪⎩ 4πε 0 2 R 0 ⎪⎭ ⎪⎩ 0 0 ⎪⎭ ⎦ =1

=−

e2

Z ⎛Z ⎞ 4⎜ ⎟ 4πε 0 2 R ⎝ a0 ⎠

3R

⎡ 2 r4 ⎤ − 2 Zr a 0 dr ∫ ⎢⎢3r − R 2 − 2 Rr ⎥⎥ e ⎣ ⎦ 0

เนื่องจากเทอม e− 2Zr a0 ที่ปรากฏอยูในสมการขางตน ทําใหการ integrate มีความซับซอนมากขึ้น แตถาเราประมาณวา รัศมีของนิวเคลียสนัน้ มีขนาดเล็กกวา Bohr radii มาก หรือ R a0 เมื่อเปน R

เชนนี้ ภายในชวงของการ integrate ∫ dr นั้น 0

r a0

1

และจะมีผลให e− 2 Zr a0

≅1

ดังนั้น

แลว R ⎡ 2 r4 ⎤ − 2 Zr a ⎡ 2 r4 ⎤ R3 0 − − ≅ − − = − dr r Rr e dr r Rr 3 2 3 2 ⎥ ⎥ ∫ ⎢⎢ ∫ ⎢⎢ 5 R2 R2 ⎥⎦ ⎥⎦ ⎣ ⎣ ≅1 0 0

R

ทําให (1) Eground

Dr. Teepanis Chachiyo

3

e 2 Z ⎛ Z ⎞ R3 4 ⎛ ZR ⎞ (0) 4⎜ ⎟ = = − Eground ⎜ ⎟ 4πε 0 2 R ⎝ a0 ⎠ 5 5 ⎝ a0 ⎠

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

2

เมื่อ R

a0

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

ทั้งนี้เมื่อเรารวมเทอม

(0) Eground

และ

9 Time Independent Perturbations

(1) Eground

9-18

เขาดวยกัน เพื่อเปนการประมาณ ground state

energy ของระบบดังกลาวนี้ จะไดวา Eground ≅

(0) Eground

(1) + Eground

=

(0) Eground

2 ⎡ ⎛ ⎞ ⎤ ⎢1 − 4 ⎜ ZR ⎟ ⎥ ⎢ 5 ⎝ a0 ⎠ ⎥ ⎣ ⎦

เมื่อ R

a0

___ สมการ (9.30)

จากสมการขางตนจะพบวา การที่เรามองนิวเคลียสเปนการกระจายตัวของประจุแบบทรงกลม ที่มี รัศมีเทากับ R นั้น มีผลทําใหระดับพลังงานเพิ่มขึ้นเปนอัตราสวนเทากับ

4 ⎛ ZR ⎞ ⎜ ⎟ 5 ⎝ a0 ⎠

2

(ที่เพิ่มขึ้น

เพราะระดับพลังงานเดิมนั้น ติดลบ) และเพื่อที่จะทราบขนาดของ correction energy อยางคราวๆ เราอาจจะลองแทนคารัศมีของ นิวเคลียสใหมคี าเทากับ 1×10−15 m และกําหนดให Z = 1 ซึ่งจะไดวา 2

(1) Eground

4 ⎛ 1× 10−15 m ⎞ = 13.6 eV × ⎜ ⎟ = 3.89 × 10−9 eV − 11 5 ⎜⎝ 5.29 ×10 m ⎟⎠

หรือมีพลังงานเทากับคลื่นความถี่วิทยุ 0.941MHz ซึ่งนับวานอยมาก และเปนการยากทีจ่ ะ ตรวจสอบดวยกลไกของการทดลอง โจทยขอนี้จึงถือไดวาเปนเพียงแบบฝกหัดทางทฤษฏีที่ เกี่ยวของกับ perturbation แตเพียงเทานั้น

Ground State Energy ของ Helium Atom เมื่อเราพิจารณา Hamiltonian ของอิเล็กตรอนที่อยูภายใน helium atom ก็จะพบวามันมีความ ซับซอนไมแพกัน ดังแสดงใน ภาพ (9.3) จะเห็นวา helium atom ประกอบดวย 2 อิเล็กตรอน และ นิวเคลียสที่มี atomic number เปน Z = 2 เพราะฉะนัน้ Hamiltonian จะอยูในรูปของ

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-19

อะตอมของ helium ที่ประกอบดวยอิเล็กตรอน 2 ตัว

z r1

r2

y

Z = +2

x ภาพ (9.3) อะตอมของ helium ที่ประกอบดวยอิเล็กตรอน 2 ตัว ซึ่งมีแรงผลักกันจากกฎของ Coulomb pˆ 2 e 2 Z pˆ 22 e2 Z e2 1 Hˆ = 1 − + − + 2m 4πε 0 r1 2m 4πε 0 r2 4πε 0 r1 − r2 1st electron

2nd electron

________ สมการ (9.31)

repulsion term

เทอมตางๆภายใน Hamiltonian ขางตนแบงออกเปน 3 กลุมใหญๆดวยกันคือ 1)

pˆ12 e2 Z − 2m 4πε 0 r1

คือพลังงานเฉพาะที่เกีย่ วของกับอิเล็กตรอนตัวแรก ซึ่งรวมทั้งพลังงานจลน

และพลังงานศักยที่มันกระทํากับนิวเคลียส 2)

pˆ 22 e2 Z − 2m 4πε 0 r2

คือพลังงานเฉพาะที่เกีย่ วของกับอิเล็กตรอนตัวที่สอง

3)

e2 1 4πε 0 r1 − r2

คือ Coulomb interaction ระหวางอิเล็กตรอนทั้งสอง ใหสังเกตวาฟงชันก

ของพลังงานเปนบวก ซึ่งหมายถึงแรงผลัก ในโจทยขอนี้ เราสนใจที่จะทราบ ground state energy หรือระดับพลังงานต่ําสุดของ Hamiltonian ดัง ในสมการ (9.31) ซึ่งในปจจุบัน ยังไมมใี ครสามารถหาคําตอบที่แทจริงโดยไมมกี ารประมาณไดเลย เพราะฉะนั้น ในขั้นตนนี้ เราจําเปนจะตองใช perturbation theory เขามาชวย และจะทําการ เปรียบเทียบคําตอบที่ได กับคําตอบที่ไดจากการทดลองในโอกาสตอไป Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

ในขั้นตน เราเขียน Hamiltonian ใหอยูใ นรูป

Hˆ = Hˆ 0 + Hˆ 1

9-20

โดยที่

pˆ 2 e2 Z pˆ 22 e2 Z + − Hˆ 0 = 1 − 2m 4πε 0 r1 2m 4πε 0 r2

________ สมการ (9.32)

และ e2 1 ˆ H1 = 4πε 0 r1 − r2

___________________ สมการ (9.33)

ในขั้นที่สอง เราจะตองทําการหา eigenstate หรือ ที่เรียกวา wave function ของ Hˆ 0 เสียกอน ซึ่งจะ มีความสะดวกในการอธิบายความ ถาเราใชภาษาของ wave function เปนหลัก พิจารณา Hˆ 0ψ (0) = E (0)ψ (0)

จากสมการ (9.32) จะเห็นวา Hˆ 0 เปนฟงชันกของทั้ง r1 และ r2 เพราะฉะนัน้ โดยหลักของการแก สมการอนุพันธแลว wave function ควรจะตองเปนฟงชันกของ r1 และ r2 ดวยเชนกัน กลาวคือ 2 ⎡ 2 2 e2 Z e2 Z ⎤ (0) (0) (0) ∇1 − − ∇ 22 − ⎢− ⎥ψ ( r1, r2 ) = E ψ ( r1, r2 ) 4πε 0 r1 2m 4πε 0 r2 ⎥⎦ ⎢⎣ 2m

_____________________ สมการ (9.34) เมื่อเครื่องหมาย Laplacian ∇12 ที่ประกอบดวย subscript 1 นั้นหมายถึง Laplacian เทียบกับพิกัดของ อิเล็กตรอนตัวแรกเพียงเทานัน้ ยกตัวอยางเชน ∇ 22

∂2 ∂x22

+

∂2 ∂y22

+

∂2 ∂z22

∇12

∂2 ∂x12

+

∂2 ∂y12

+

∂2 ∂z12

และ

เชนนี้เปนตน

อนึ่ง เมื่อกลาวถึงระบบทีป่ ระกอบดวย 2 อิเล็กตรอนขึ้นไป โดยทั่วไปแลวนอกจากพิกัดบอก ตําแหนงแลว เราจะตองวิเคราะหถึง spin ของมันทั้งสองดวย แตในขัน้ ตนนี้ เนื่องจากเรากําลัง กลาวถึงระดับพลังงาน ground state ซึ่งอิเล็กตรอนทั้งสองมี spin ตรงกันขามกันพอดี จึงพอจะ อนุโลมขามประเด็นของ spin ไปเสียกอน

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-21

ผลเฉลยของสมการ (9.34) นัน้ สามารถหาไดโดยใชเทคนิคที่เรียกวา separation of variables กลาวคือ สมมุติให ψ (0) ( r1, r2 ) = φ ( r1 ) φ ( r2 )

เมื่อ φ ( r ) คือฟงชันกใดๆ และถาแทนสมมติฐานขางตนเขาไปในสมการ (9.34) ประกอบกับ ทักษะเชิงพีชคณิตขั้นพืน้ ฐาน จะนําไปสูผลลัพธที่วา 2

ground state energy ของ

Hˆ 0

ground state wave function

(0) Eground

⎛ Ze2 ⎞ m = −2 ⎜ ⎟ ⋅ ⎜ 4πε 0 ⎟ 2 2 ⎝ ⎠

(0) ψ ground ( r1, r2 ) = φ ( r1 ) φ ( r2 )

เมื่อ Z = 2 เมื่อ φ (r ) = R10 (r )Y00 (θ , ϕ )

_____________________ สมการ (9.35) แบบฝกหัด 9.3 จงพิสูจนสมการขางตน โดยใชเทคนิค separation of variables อยางไรก็ตาม ระดับพลังงาน ground state ดังแสดงในสมการ (9.35) นั้น เปนเพียง ground state ของ Hamiltonian Hˆ 0 ที่ปราศจาก interaction ซึ่งเปนแรงผลักระหวางอิเล็กตรอนทั้งสอง จึงไมใช ระดับพลังงานของ helium atom เสียเลยทีเดียว Hamiltonian Hˆ = Hˆ 0 + Hˆ 1 ตางหาก ที่เปนแสดงถึงระบบของ helium atom อยางแทจริง เพียงแต วา การที่จะคํานวณระดับพลังงาน ground state โดยตรงนัน้ ทําไดยาก เราจึงตองใช perturbation theory แทน โดยมองวา Hˆ 1 =

e2 1 4πε 0 r1 − r2

เปน perturbation ซึ่งจะไดวา 1st order energy ของ

ground state ก็คือ (1) (0) (0) (0)∗ (0) Eground = ψ ground Hˆ 1 ψ ground = ∫∫ d3r1d3r2 ψ ground (r1, r2 ) Hˆ 1ψ ground (r1, r2 )

(0) และเมื่อแทน ψ ground ( r1, r2 ) จากสมการ (9.35) จะไดวา

e2 (1) Eground = 4πε 0

Dr. Teepanis Chachiyo

2 0 2⎛ 3 2 0 2⎞ 1 3 d r ( ) ( , ) d r ( ) ( , ) θ ϕ θ ϕ R r Y R r Y ⎜ ⎟⎟ 1 10 1 0 1 1 2 10 2 0 2 2 ∫ ⎜∫ r1 − r2 ⎝ ⎠

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-22

_____________________ สมการ (9.36) มีอยูหลายวิธีที่เราจะสามารถคํานวณผลของ integration ∫ d3r2 ได วิธีหนึ่งก็คือการเขียน เราสามารถกําหนดให

1 1 = r1 − r2 r12 − 2r1 ⋅ r2 + r22

zˆ2 r1

2 2 1 R10 (r2 ) Y00 (θ 2 , ϕ2 ) r1 − r2

ซึ่งในการ integrate ตัวแปร d3r2 นั้น

ดังนั้น 1 1 = r1 − r2 r12 − 2r1r2 cos θ 2 + r22

และจะทําให ∫ d3r2

2 2 1 e− 2 Zr1 a0 1 Z − e− 2 Zr1 a0 R10 (r2 ) Y00 (θ 2 , ϕ2 ) = − r1 − r2 r1 r1 a0

ซึ่ง

เมื่อแทนผลลัพธดังกลาวเขาไปในสมการ (9.36) จะไดวา 2

(1) Eground

5 ⎛ Ze2 ⎞ m = ⎜ ⎟ ⋅ 2 8 ⎜⎝ 4πε 0 ⎟⎠ 2

_____________________ สมการ (9.37)

โดยที่เราจะปลอยใหเปนหนาที่ของนักศึกษาที่จะตอง พิสูจนในทางคณิตศาสตร เพื่อที่จะทราบที่มา ของสมการขางตน อยางถองแท แบบฝกหัด 9.4 จงพิสูจนสมการ (9.37) โดยเริ่มจากสมการ (9.36) บอกใบ: นักศึกษาสามารถศึกษาขั้นตอนในการ integrate อยางละเอียดไดใน "Theoretical Physics: ทายเลมวิชาแกน", Chapter Two-Electron System, Dr. Teepanis Chachiyo. เพราะฉะนั้น เมื่อแทน Z = 2 เราสามารถประมาณ ground state energy ของ helium atom ไดวา 2

⎛ Ze2 ⎞ m Eground ≅ ⎜ ⎟ ⋅ 2 ⎜ 4πε 0 ⎟ 2 ⎝ ⎠

Dr. Teepanis Chachiyo

5⎤ ⎡ ⎢⎣ −2 + 8 ⎥⎦ = −74.8eV

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

________________ สมการ (9.38)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับผลการทดลอง

9 Time Independent Perturbations (exp.) Eground = −79.0 eV

9-23

จะมีคา error อยูที่ 5% โดยประมาณ

และนับวาเปนที่นาพอใจในระดับหนึ่ง อยางไรก็ตาม ยังมีวิธีในการประมาณที่ใหผลแมนยํากวานี้ มากนัก อาทิเชน Hartree-Fock, หรือ CI calculation

9.4 Degenerate Perturbation Theory จากการศึกษา perturbation theory ที่ผานมาจะพบวา เมือ่ พิจารณาเทอมที่ปรากฏอยูบอยครั้ง ซึ่งก็คือ ψ k(0) Hˆ 1 ψ n(0) En(0) − Ek(0)

ในกรณีที่ eigen energy ของ unperturbed Hamiltonian กลาวคือ

Hˆ 0

มีลักษณะที่เรียกวา degenerate

degeneracy: เกิดกรณีที่ En(0) = Ek(0) ทั้งๆที่ n ≠ k จะมีผลทําใหเทอมดังแสดงขางตน ลูเขาสู infinity และเกิดปญหาในการคํานวณตามมาอยาง หลีกเลี่ยงไมได ดวยเหตุนี้เอง ถา eigenstate ของ Hˆ 0 อยูในสภาวะที่เปน degeneracy เสียแลว เรา จะตองมาวิเคราะหหาสูตรสําเร็จในการประมาณ correction energy จากเดิมที่เขียนไวในสมการ (9.11) และ (9.13) กันเสียใหมทั้งหมด นอกจากนี้ correction เทอมของ eigenstate ดังแสดงในสมการ (9.12) ก็จําเปนจะตองมีการ เปลี่ยนแปลงดวย หากแตดว ยความซับซอนที่จะตามมา และเกินขอบเขตของเนื้อหา เราจะไม กลาวถึงในกรณี correction ของ eigenstate

1st order Energy Correction เพื่อที่จะรับมือกับสถานการณของ degeneracy เราจะตองเริ่มพิจารณากันตั้งแตตน สมมุติวา eigenstate ของ Hamiltonian Hˆ 0 มีอยู N สถานะที่มีพลังงาน En(0) เทากัน กลาวคือ ψ n(0) ,i

Dr. Teepanis Chachiyo

i = 1, 2,

,N

มีพลังงาน

En(0)

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

________________ สมการ (9.39)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-24

จะสังเกตวา เราใชเลขกํากับดัชนีของสถานะขางตนถึง 2 ตัวเลขดวยกันคือ n, i โดยที่ n แสดงถึง ระดับพลังงาน ในขณะที่ i แสดงถึงสถานะตางๆที่มีโอกาสเปนไปได ในชั้นระดับพลังงานดังกลาว นี้ และเพื่อทีจ่ ะใหนกั ศึกษาเขาใจความหมายของสัญลักษณดังในสมการ (9.39) อยางเปนรูปธรรม เราจะยกตัวอยางในกรณีของ hydrogen atom เมื่อกลาวถึงสถานะ eigenstate ของ hydrogen atom เรามักจะใชสัญลักษณ n, l , m เมื่อ n = 1, 2, คือเลข quantum number ที่บงบอกถึงระดับชั้นของพลังงาน ในขณะที่ l และ m แสดงถึงสมบัติเชิง orbital angular momentum ของอิเล็กตรอน โดยที่ l =∈ {0,1, ( n − 1)} และ m ∈ {−l , − ( l − 1) , , + ( l − 1) , +l} ดวยเหตุทใี่ นแตละคาของ n มี {l , m} ที่เปนไปไดอยู หลายคาดวยกัน สถานะ eigenstate ของ hydrogen atom n, l , m จึงมีลักษณะที่เปน degeneracy ซึ่งถาเราคํานวณกันใหดี ณ ระดับพลังงาน n ใดๆ จะมี eigenstate อยูทงั้ หมด ระดับพลังงานเทากัน หรือ กลาวเปนภาษาที่คอนขางเปนทางการวา hydrogen atom ณ ระดับพลังงาน n มีอยูอยางนอย

N = n2

N = n2

สถานะที่มี

fold degeneracy

ยกตัวอยางเชน ในระดับ n = 1 มีอยูอยางนอย N = 1 fold degeneracy ซึ่งก็คือ n, l , m = 1, 0, 0 ในระดับ n = 2 มีอยูอยางนอย N = 4 fold degeneracy ซึ่งก็คือ n, l , m = 2, 0, 0 , 2,1, −1 , 2,1, 0 , 2,1, +1 แบบฝกหัด 9.5 จงพิสูจนวา hydrogen atom ณ ระดับพลังงาน n มีอยูอยางนอย N = n2 fold degeneracy และถานํา spin ของอิเล็กตรอนเขามาคิดรวมดวย ก็จะมี N = 2n2 fold degeneracy และถาเราจะโยงสัญลักษณทเี่ ราไดกลาวถึงในสมการ (9.39) มาใชอธิบายกรณีขางตน จะไดวา hydrogen atom ณ n = 2 มี eigenstate

Dr. Teepanis Chachiyo

(0) ψ 2, i

i ∈ {1, 2,3, 4}

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

_________ สมการ (9.40)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-25

เชนนี้เปนตน eigenstate ที่มีลักษณะ degenerate ดังกลาวนี้ ยังมีชื่อเรียกโดยทั่วไปวา กําหนดให

ψ n(0) ,i

i = 1, 2,

,N

เปน "sub-space" ของ degenerate eigenstate ____________________ สมการ (9.41)

เมื่อเปนเชนนี้ ถายอนกลับไปถึงการเขียน eigenstate

ψn

ดังในสมการ (9.6) โดยที่ในคราวนี้ เรา

นําเอาความเปน degeneracy เขามาวิเคราะหรวมดวย จะไดวา N

(1) 2 (2) ψ n = ∑ ci ψ n(0) + λ 3 ψ n(3) + ,i + λ ψ n + λ ψ n

___________ สมการ (9.42)

i =1

เมื่อ {ci } เปนเซตของสัมประสิทธิ์ที่เหมาะสม ที่จะตองทําการวิเคราะหหาในลําดับตอไป และเมื่อ เรานํา

ψn

ดังในสมการ (9.42) แทนเขาไปในสมการ (9.2) จากนั้นแยกเขียนเฉพาะเทอมที่คูณอยู

กับ λ1 จะไดวา N

N

i =1

i =1

(0) (0) (1) (1) Hˆ 0 ψ n(1) + Hˆ 1 ∑ ci ψ n(0) ,i = En ψ n + En ∑ ci ψ n,i

_________ สมการ (9.43)

สมการขางตนนั้น มีลักษณะที่คลายกับสมการ (9.9) เปนอยางมาก เพียงแตวา สมการ (9.9) นั้นเปน กรณีของ non-degenerate ในขณะที่สมการ (9.43) เปนกรณีของ degenerate 1st order perturbation นั่นเอง เมื่อเรานําสถานะ bra

ψ n(0) ,j

เขาประกบทั้งสองขางของสมการขางตน จะไดวา N

N

(0) (0) (0) (1) (0) (1) (1) ˆ ˆ ψ n(0) + ψ n(0) + ψ n(0) , j H0 ψ n , j H1 ∑ ci ψ n,i = ψ n, j En ψ n , j En ∑ ci ψ n,i i =1

N

∑ ci

i =1 N

∑ ci

i =1

Dr. Teepanis Chachiyo

i =1

N

(0) (0) (0) (1) ˆ ψ n(0) , j H1 ψ n,i = En ∑ ci ψ n, j ψ n,i i =1

δ ij

(0) (1) ˆ ψ n(0) , j H1 ψ n,i = En c j

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-26

________________ สมการ (9.44) ถาเราเขียนสมการขางตนใหอยูในรูปของ vector และ matrix โดยนิยามให vector

และ matrix

⎡ ψ (0) ⎢ n,1 ⎢ (0) ⎢ ψ H1 ≡ ⎢ n,2 ⎢ ⎢ (0) ⎢ ψ n, N ⎣

⎡ c1 ⎤ ⎢c ⎥ c≡⎢ 2⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎣cN ⎦

Hˆ 1 ψ n(0) ,1

(0) ˆ ψ n(0) ,1 H1 ψ n,2

(0) ⎤ ˆ ψ n(0) ,1 H1 ψ n, N

Hˆ 1 ψ n(0) ,1

(0) ˆ ψ n(0) ,2 H1 ψ n,2

(0) ˆ ψ n(0) ,2 H1 ψ n, N

Hˆ 1 ψ n(0) ,1

(0) ˆ ψ n(0) , N H1 ψ n,2

(0) ˆ ψ n(0) , N H1 ψ n, N

⎥ ⎥ ⎥ ⎥ ⎥ ⎥ ⎥ ⎦

___________________ สมการ (9.45) ดังนั้นสมการ (9.44) แปรสภาพเปน H1c = En(1) c

___________________ สมการ (9.46)

matrix element ของ degenerate sub-space ในสมการ (9.45) และสมการที่อยูในรูป eigen matrix equation ในสมการ (9.46) เปนสมการที่สําคัญในการคํานวณ 1st order energy correction En(1) และเพื่อที่จะใหนักศึกษาคุนเคยกับการนําสมการทั้งสองมาใชงาน เราลองมาวิเคราะห Stark effect ที่เกิดขึ้นกับ hydrogen atom

Stark Effect Stark effect เปนปรากฏการณที่ absorption spectrum หรือ ระดับพลังงานของอะตอม มีการ เปลี่ยนแปลงสืบเนื่องมาจากสนามไฟฟาทีป่ อนเขาไป เพื่อเปนตัวอยางในการนํา degenerate perturbation theory มาประยุกตใชงาน เราจะพิจารณา hydrogen atom ในสถานะ ground state n = 1 และ สถานะ excited state n = 2 ดังแสดงใน ภาพ (9.1) Hamiltonian ของระบบที่ประกอบดวย hydrogen atom และสนามไฟฟาภาย นอกนั้น อยูใ นรูปของ

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-27

pˆ 2 e2 Z Hˆ = − − e E zˆ 2m 4πε 0 r Hˆ 0

และเมื่อตองการทราบ energy eigenstate ของ unperturbed Hamiltonian คือ

โดยใชวิธีของ perturbation เรากําหนดให

pˆ 2 e2 Z ˆ H0 = − 2m 4πε 0 r

และ perturbing Hamiltonian คือ

Hˆ 1 = −e E zˆ

ในสถานะ ground state n = 1 จะเห็นวา eigenstate ของ unperturbed Hamiltonian Hˆ 0 นั้นอยูใ น สภาวะทีเ่ ปน non-degenerate กลาวคือ n, l , m = 1, 0, 0 และ 1st order energy correction ของ ground state นั้นก็คือ (1) (0) (0) = ψ ground Eground Hˆ 1 ψ ground

(0) เมื่อ ψ ground (r ) = R10 (r )Y00 (θ , ϕ ) คือ ground state wave function ของ hydrogen atom ซึ่งเมื่อ

ทําการ integrate จะพบวา

(

)

(1) (0)∗ (0) Eground = ∫ d3rψ ground (r ) −e E r cos θ ψ ground (r )

⎧⎪∞ ⎫ ⎧π 2π 2⎫ ⎪ 2⎪⎪ = −e E ⎨ ∫ dr r 3 R10 (r ) ⎬ ⎨ ∫ ∫ dθ dϕ sin θ cos θ Y00 (θ , ϕ ) ⎬ ⎩⎪ 0 ⎭⎪ ⎩⎪ 0 0 ⎭⎪

สมการขางตน เกิดจากการเขียน perturbing Hamiltonian Hˆ 1 = −e E zˆ = −e E r cos θ และ แยกการ integrate ออกเปนสองสวนดวยกันคือ dr r 2 และ dθ dϕ sin θ π 2π

อยางไรก็ตาม เนื่องจาก ∫ ∫

2

dθ dϕ sin θ cos θ Y00 (θ , ϕ ) = 0

จะมีผลทําให 1st order energy

0 0

correction เนื่องจากสนามไฟฟา (1) Eground =0

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

___________________ สมการ (9.47)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-28

เพราะฉะนั้นแลว เราสรุปไดวา เมื่อปอนสนามไฟฟาภายนอกที่มีความเขม E เขาไปใน hydrogen atom ระดับพลังงาน ground state แทบจะไมมีการเปลีย่ นแปลงเลย หรือถึงจะมี ก็นอยมาก ซึ่งอยู ในระดับ 2nd order correction เพียงเทานัน้ ในสถานะ 1st excited state n = 2 จะเห็นวา eigenstate ของ unperturbed Hamiltonian Hˆ 0 นั้นอยู ในสภาวะที่เปน 4-fold degeneracy กลาวคือ n, l , m = 2, 0, 0 , 2,1, −1 , 2,1, 0 , 2,1, +1 (1) ในโจทยขอนี้เราตองการทราบ 1st order energy correction E1st excite ของระบบ แตเนื่องจากความเปน 4-fold degeneracy ของ eigenstate ดังกลาว เราจําเปนจะตองใช degenerate perturbation theory ดังแสดงในสมการ (9.46) และเพือ่ ความชัดเจน เรากําหนดให ψ n(0) ,i

i = 1, 2,3, 4

เปน sub-space ของ degenerate eigenstate

i =1

ψ n(0) ,1 = 2, 0, 0

i=2

ψ n(0) ,2 = 2,1, −1

i=3

ψ n(0) ,3 = 2,1, 0

i=4

ψ n(0) ,4 = 2,1, +1

ขั้นตอนตอไป คือการสราง sub-space perturbation matrix ขนาด 4x4 ดังแสดงในสมการ (9.45) ได ดังตอไปนี้ ⎡ ⎢ ⎢ H1 ≡ ⎢ ⎢ ⎢ ⎣

2, 0, 0 Hˆ 1 2, 0, 0 2,1, −1 Hˆ 1 2, 0, 0 2,1, 0 Hˆ 2, 0, 0

2, 0, 0 Hˆ 1 2,1, −1 2,1, −1 Hˆ 1 2,1, −1 2,1, 0 Hˆ 2,1, −1 1

2, 0, 0 Hˆ 1 2,1, 0 2,1, −1 Hˆ 1 2,1, 0 2,1, 0 Hˆ 2,1, 0

2,1, +1 Hˆ 1 2, 0, 0

2,1, +1 Hˆ 1 2,1, −1

2,1, +1 Hˆ 1 2,1, 0

1

1

2, 0, 0 Hˆ 1 2,1, +1 ⎤ ⎥ 2,1, −1 Hˆ 1 2,1, +1 ⎥ ⎥ 2,1, 0 Hˆ 1 2,1, +1 ⎥ 2,1, +1 Hˆ 1 2,1, +1 ⎥⎦

ไมใชเรื่องงายนักที่เราจะทําการ integrate matrix element ทั้ง 16 ชุด แตก็ไมใชเรื่องที่เกิน ความสามารถของนักศึกษาจนเกินไป ถาทราบเทคนิค และมีกระบวนการคิดอยางเปนขั้นตอน integration ทั้ง 16 เทอมขางตนสามารถลดรูปใหอยูใ นรูปของ

∫d Dr. Teepanis Chachiyo

3

r ⎡⎣ψ n, ′, m′ (r ) ⎤⎦ z ⎡⎣ψ n, , m (r ) ⎤⎦

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-29

เมื่อ ψ n,l , m ( r , θ , ϕ ) = Rn,l (r )Ylm (θ , ϕ ) 32

( n − l − 1)! ρ l e− ρ 2L(2l +1) ( ρ ) และ ρ = 2Z ⋅ r n − l −1 n a0 2n ( n + l ) ! 2l + 1 ( l − m )! m Ylm (θ , ϕ ) = ⋅ Pl (cos θ )eimϕ 4π ( l + m ) !

⎛ 2Z ⎞ Rn,l (r ) = ⎜ ⎟ ⎝ na0 ⎠

l +1) L(2 n − l −1 ( ρ )

คือ associated Laguerre polynomial , Ylm (θ , ϕ ) คือ spherical harmonics , และ Plm ( x) คือ associated Legendre polynomial และอาศัยเวลาพอสมควรเราจะบอกไดวา 2

2

n 2 − ( + 1) ( + 1) − m2 3a0 ∫ d r ⎡⎣ψ n, ′,m′ (r ) ⎤⎦ z ⎡⎣ψ n, ,m (r )⎤⎦ = − 2Z n ( 2 + 1)( 2 + 3) 3

ถา

′ = +1

และ m′ = m ___________________ สมการ (9.48) ซึ่งเมื่อแทน Z = 1 และ n = 2 จะได ⎡ 0 ⎢ ⎢ 0 H1 ≡ ⎢ ⎢3a0e E ⎢ 0 ⎣

0 3a0e E 0 0 0

0

0

0

0⎤ ⎥ 0⎥ ⎥ 0⎥ 0 ⎥⎦

___________________ สมการ (9.49) แบบฝกหัด 9.6 จงพิสูจนสมการ (9.48) แบบฝกหัด 9.7 นําสมการ (9.48) มาประยุกตใชในการคํานวณ perturbation matrix ดังในสมการ (9.49) เมื่อนํา matrix ขางตนมาคํานวณหา eigen values ซึ่งเปนขั้นตอนสุดทายของ 1st order energy correction ดังแสดงในสมการ (9.46) ซึ่งจะพบวามี eigenvalue ทั้งสิ้น 4 คาดวยกันคือ Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

{

(1) E1st excite = −3a0e E , 0, 0, +3a0e E

}

9-30

______________ สมการ (9.50)

Stark Effect ของ Hydrogen Atom +3e E

1st excited

−3e E

ground Hˆ 0

Hˆ 0 + Hˆ 1

ระดับพลังงานของ hydrogen atom มีการเปลีย่ นแปลง สืบเนื่องจากสนามไฟฟา E ทีป่ อนเขาไปในระบบ ภาพ (9.4) แสดงผลของสนามไฟฟาตอระดับพลังงานของ hydrogen atom จากการคํานวณที่ผานมา ในแงของ Stark effect ซึ่งมีผลลัพธดังในสมการ (9.47) และ สมการ (9.50) เราสามารถสรุปโดยอาศัย ภาพ (9.4) ไดดังตอไปนี้ hydrogen atom โดยตัวมันเอง ขณะทีย่ ังไมมีสนามไฟฟาภายนอก มีสถานะตางๆ ซึ่งอยูในระดับ พลังงานตางๆกัน หนึ่งในนัน้ ก็คือ ground state และ 1st excited state 1) ในระดับพลังงาน ground state อิเล็กตรอนอยูในสถานะ n, l , m = 1, 0, 0 และมีพลังงานต่ําที่สุด 2) ในระดับพลังงาน 1st excited state อิเล็กตรอนมีไดทั้งสิ้น 4 สถานะดวยกันคือ 2, 0, 0 , 2,1, −1 , 2,1, 0 , 2,1, +1 ซึ่ง มีพลังงานเทากันทั้งหมด ดังจะเห็นไดจากภาพซีกซายมือ ซึ่งแสดงดวยเสนตรง 4 เสนที่อยูในระดับ เดียวกัน เมื่อมีสนามไฟฟาภายนอก ทีม่ ีความเขมเทากับ E เขามาในระบบ ปรากฏวาระดับพลังงานชั้น ตางๆก็จะตองมีการเปลี่ยนแปลง โดยประมาณแลว (1st order energy correction) จาก ภาพ (9.4) จะ เห็นวา ระดับพลังงาน ground state ยังคงไมมีการเปลี่ยนแปลงแตอยางใด ในขณะที่ระดับพลังงาน 1st excited state นั้น แยกออกเปน 3 ระดับ: −3a0e E , 0 , และ +3a0e E จะเปนวา ขนาดของ พลังงานที่แยกออกมานั้น แปรผันตรงกับขนาดความเขมของสนามไฟฟาที่ปอนเขาไป

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-31

Stark effect ที่เราไดหยิบมาเปนตัวอยางของการคํานวณ 1st order energy correction En(1) นั้นก็ เพื่อใหนักศึกษาสามารถเห็นการนํา degenerate perturbation theory มาประยุกตใชงานอยางเปน รูปธรรม ซึ่งในที่นี้เราจะสรุปขั้นตอนโดยทั่วไป ดังตอไปนี้ 1. กําหนด Hamiltonian Hˆ = Hˆ 0 + Hˆ 1 2. พิจารณา sub-space ของ degenerate eigenstate

ψ n(0) ,i

i = 1, 2,

,N

3. สราง sub-space perturbation matrix H1 ซึ่งคํานวณไดจากสมการ (9.45) 4. คํานวณ eigenvalue ของ matrix ในขอ 3 ซึ่งจะไดผลลัพธเปนเซตของ {En(1) }

9.5 Application - Relativistic Corrections ระดับพลังงาน ground state ของ hydrogen atom ที่ quantum mechanics ไดทํานายเอาไววา มีคา เทากับ Eground = −13.6 eV ตลอดจน absorption spectrum ของ hydrogen atom ที่ผลการคํานวณ ตรงกันอยางนาทึ่งกับผลการทดลอง อยางไรก็ตาม ถาพิจารณาโดยละเอียดถี่ถวนแลว ยังมีอันตร กริยาอื่นๆที่เกิดขึ้นภายใน hydrogen atom ที่เรายังไมไดนํามาวิเคราะหรวมดวย อาทิเชน relativistic correction ของพลังงานจลน และ spin-orbit interaction ซึ่งจะไดกลาวถึงโดยละเอียดในลําดับตอไป อันตกริยาที่เกิดขึ้นเหลานี้ จะเปนที่มาของสิ่งที่เรียกวา Lamb shift ซึ่งเปนงานที่ทําให W.E. Lamb ไดรับรางวัล Noble prize ในป 1953. (W.E. Lamb and R.C. Retherford, Phys.Rev.72: 241 (1947) และ Phys.Rev.86: 1014 (1952))

Relativistic Correction ของพลังงานจลน เมื่อเราพิจารณา Hamiltonian ของ hydrogen atom โดยทั่วไปนัน้ เรามองวาพลังงานจลนของ อิเล็กตรอนซึ่งมีมวล m มีคาเทากับ classical kinetic energy:

pˆ 2 Kˆ = 2m

______________ สมการ (9.51)

อยางไรก็ตาม ถาเราพิจารณาใหละเอียดถึงปรากฏการณเชิง special relativity ที่เมื่ออิเล็กตรอน เคลื่อนที่ดวยความเร็วสูงขึ้น มวลของมันก็จะเพิ่มขึน้ ดวย สงผลใหสมการในการคํานวณพลังงาน จลนในขางตน มีความผิดพลาดอยูเล็กนอย

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-32

ถาเราทบทวนเนื้อหาของ special relativity พื้นฐาน จะพบวา พลังงานจลนของอนุภาคควรจะอยูใ น รูปของ relativistic kinetic energy:

Kˆ =

( )

pˆ 2c 2 + mc 2

2

− mc 2

______________ สมการ (9.52)

เมื่อ c คือความเร็วแสง และ m คือ rest mass ของอิเล็กตรอน ดูผิวเผินนัน้ ราวกับวา รูปแบบทาง คณิตศาสตรในสมการ (9.52) มีความแตกตางโดยสิ้นเชิงกับสมการ (9.51) แตวาถาเราเขียน relativistic kinetic energy ใหอยูในรูปของ Taylor expansion ไดดังนี้ relativistic kinetic energy:

pˆ 2 pˆ 4 pˆ 6 Kˆ = − + + 2m 8m3c 2 16m5c 4

______________ สมการ (9.53)

ซึ่งจะเห็นวา เทอมแรกของ relativistic kinetic energy นั้น ตรงกันพอดีกับ classical kinetic energy เพียงแตวาพลังงานจลนดังในสมการ (9.53) มี correction เทอม −

pˆ 4 8m3c 2

เพราะฉะนั้นถา

เราจะเขียน Hamiltonian ของ hydrogen atom เสียใหม โดยนําเอา relativistic correction ของ พลังงานจลนเขามารวมวิเคราะหดว ย ซึ่งก็คือ pˆ 2 e2 Z pˆ 4 Hˆ = − − 2m 4πε 0 r 8m3c 2

______________ สมการ (9.54)

Hˆ K

Hˆ 0

เมื่อ Hˆ K = −

pˆ 4 8m3c 2

______________ สมการ (9.55)

คือ relativistic correction Hamiltonian ของพลังงานจลน และในโจทยขอนี้เราตองการที่จะทราบวา eigen energy ของ Hamiltonian ดังในสมการ (9.54) มีคาเทาใด และจะเปลี่ยนแปลงไปจาก Hamiltonian Hˆ 0 เดิมอยางไร เนื่องจาก Hamiltonian Hˆ 0 เปนของ hydrogen atom ซึ่งมี eigenstate ที่แสดงดวยสัญลักษณ n, l , m และเมื่อพิจารณาเฉพาะระดับพลังงาน n ใดๆ จะพบวามีอยูทั้งสิ้น n2 fold degeneracy ดังนั้นเรา จําเปนตองใช degenerate perturbation theory ในการตอบโจทยที่ตั้งไวขางตน Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-33

พิจารณา ณ ระดับพลังงาน n ของ hydrogen atom กําหนดให sub-space eigenstate คือ ψ n(0) i = 1, 2, , N เมื่อ N = n 2 เพื่อความชัดเจน เราจะกําหนดใหดช ั นี i ที่มีคาตั้งแต 1 ,i จนถึง N นั้น แสดงถึงสถานะตางๆของ hydrogen atom ดังตอไปนี้ i =1

ψ n(0) ,1 = n, l = 0, m = 0

i=2

ψ n(0) ,2 = n, l = 1, m = −1

i=3

ψ n(0) ,3 = n, l = 1, m = 0

i=4

ψ n(0) ,4 = n, l = 1, m = +1

i=5

ψ n(0) ,5 = n, l = 2, m = −2

i=N

ψ n(0) , N = n, l = ( n − 1) , m = +l

กลาวโดยสรุปก็คือเราแบง

ψ n(0) ,i

i = 1, 2,

,N

ออกเปนกลุมๆ โดยอาศัย orbital angular

momentum l เปนเกณฑ และในกลุมที่มี l เดียวกัน เราก็เรียง m quantum number จากนอยไปหา มาก m = −l , − ( l − 1) , , + ( l − 1) , +l ขั้นตอนตอไปของ degenerate perturbation theory ก็คือการคํานวณ matrix element {H1}ij = ψ n(0),i Hˆ K ψ n(0), j เหมือนดังสมการ (9.45) ทัง้ นี้สมมุติให ψ n(0) ,i

แทนอิเล็กตรอนอยูในสถานะ

n, l ′, m′

ψ n(0) ,j

แทนอิเล็กตรอนอยูในสถานะ

n, l , m

ดังนั้น (0) ˆ ˆ ψ n(0) ,i H K ψ n, j = n, l ′, m′ H K n, l , m

เพื่อความสะดวกในการคํานวณ matrix element ขางตน เราเขียน operator

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

Hˆ K

เสียใหมไดวา

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-34

2

⎛ pˆ 2 ⎞ e2 Z ⎞ 1 ⎛ ˆ ˆ HK = − =− ⎜ ⎟ =− ⎜ H0 + ⎟ 4πε 0 r ⎟⎠ 8m3c 2 2mc 2 ⎜⎝ 2m ⎟⎠ 2mc 2 ⎜⎝ pˆ 4

1

2

เพราะฉะนั้น n, l ′, m′ Hˆ K n, l , m = −

1 2mc 2

2

⎛ e2 Z ⎞ n, l ′, m′ ⎜ Hˆ 0 + ⎟ n, l , m ⎜ ⎟ 4 r πε 0 ⎝ ⎠ ⎧ ⎪ (0) 2 n, l ′, m′ n, l , m ⎪ En ⎪ 2 ⎪⎪ 1 (0) e n, l ′, m′ n, l , m ⎨ + 2 En 4πε 0 r ⎪ ⎪ 2 ⎪ ⎛ e2 ⎞ 1 ⎪ + ⎜⎜ Z 4πε ⎟⎟ n, l ′, m′ 2 n, l , m r 0⎠ ⎩⎪ ⎝

( )

=−

1 2mc 2

⎫ ⎪ ⎪ ⎪ ⎪⎪ ⎬ ⎪ ⎪ ⎪ ⎪ ⎭⎪

__________________ สมการ (9.56) จะเห็นวา ผลลัพธของสมการขางตนประกอบดวย 3 เทอมดวยกัน สิ่งทีเ่ ราสรุปไดทันทีก็คือ n, l ′, m′ Hˆ K n, l , m = 0

แบบฝกหัด 9.8 จงพิสูจนสมการ (9.57) โดยการเขียน n, l ′, m′ π 2π

1 r2

ถา l ′ ≠ l ______________ สมการ (9.57) n, l ′, m′ n, l , m

,

n, l ′, m′

1 n, l , m r

,

ใหอยูใ นรูป integral ของ wave function และสังเกต integral ในสวนของ

n, l , m

∫ ∫ dθ dϕ sin θ

0 0

แบบฝกหัด 9.9 จงพิสูจนสมการ (9.57) โดยเริ่มจากสมบัติที่วา ⎡⎣ Hˆ K , Lˆ2 ⎤⎦ = 0 = Hˆ K Lˆ2 − Lˆ2 Hˆ K บอกใบ: พิจารณา

n, l ′, m′ ⎡ Hˆ K , Lˆ2 ⎤ n, l , m ⎣ ⎦

n, l ′, m′ Hˆ K n, l , m = 0 ถา l ′ ≠ l ดังกลาวนี้มค ี วามสําคัญมาก เพราะจะทําให matrix element H = ψ (0) Hˆ ψ (0) มีลักษณะเปน block ยอยๆในแนวทแยง ที่ซอนอยู

สมบัติที่วา

{ 1}ij

n,i

K

n, j

ภายในตัว matrix อีกทีหนึ่ง ดังแสดงใน ภาพ (9.5)

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-35

sub-space perturbing matrix มีลักษณะเปน block ในแนวทแยงที่ซอ นอยูภายใน l = 0 l =1 l = 2 0

0

0 H1 =

0

0

l = ( n − 1)

l=0 l =1

0

0

0

l = ( n − 1)

ทฤษฏีบท: eigenvalue ของ matrix H1 ลดรูปเหลือเพียง eigenvalue ของแตละ block ยอยๆเหลานี้

ภาพ (9.5) แสดงลักษณะของ matrix H1 ที่เปนผลสืบเนื่องมากจากสมบัติที่วา n, l ′, m′ Hˆ K n, l , m = 0 ถา l ′ ≠ l จากภาพ เมือ่ เราทําการจําแนก

ψ n(0) ,i

ออกเปนกลุมๆโดยอาศัยขนาดของ orbital angular

momentum l เปนเกณฑ ดังนั้นสมการ (9.57) จะมีผลให matrix element ระหวางสถานะที่อยูคน ละกลุมกัน มีคา เทากับศูนย ดังจะเห็นในภาพที่ใหญของ matrix element มีคาเปนศูนย ยกเวนใน แนวทแยงเพียงเทานั้น ลักษณะเชนนี้เรามักจะเรียกวา matrix H1 แบงออกเปน block ยอยๆในแนวทแยง หรือ "block diagonal matrix" ซึ่งในแตละ block ที่คือกลุมของ ψ n(0),i ที่มีขนาดของ angular orbital momentum l เทากัน ในลําดับสุดทายของ degenerate perturbation theory ก็คอื การคํานวณ eigenvalue ของ matrix H1 ซึ่งลักษณะของ H1 ดังใน ภาพ (9.5) มีความสําคัญมากที่จะชวยใหเราสามารถหา eigenvalue ได อยางไมยากนัก อาศัยทฤษฏีบทที่เกี่ยวของกับ matrix และ eigenvalue ของ matrix ที่วา eigenvalue ของ block diagonal matrix มีคาเทากับ eigenvalue ของแตละ block ดวยเหตุนี้เอง เราจะพิจารณาเฉพาะ eigenvalue ของแตละ block ที่มี quantum number n และ l เทากัน

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

block ของ quantum number n, l

{H } ( n,l ) 1

m′m

9-36

= n, l , m′ Hˆ K n, l , m

และจากสมการ (9.56) ประกอบกับเอกลักษณที่เราไดวเิ คราะหมาแลวในกรณีของ hydrogen atom ที่วา

1 Z = r n 2 a0

H1( n,l ) =

1

และ

r2

=

2Z 2

จะพบวา

n3a02 ( 2l + 1)

⎡1 0 ⎢ 8n ⎛4 ⎞ ⎢0 1 − 1⎟ ⎜ − mc 2 ⎝ Z 2l + 1 ⎠ ⎢ ⎢ ⎣0 0

( ) En(0)

0⎤ 2 (0) ⎥ E n 0⎥ 8n ⎛4 ⎞ = − − 1⎟ I ⎜ 2 ⎥ mc ⎝ Z 2l + 1 ⎠ ⎥ 1⎦

( )

2

เนื่องจาก matrix ขางตนอยูในรูปของ diagonal matrix อยูเรียบรอยแลว เราบอกไดทันทีวา eigenvalue ของมันมีคาเทากับ

relativistic kinetic energy correction

En(1) =

( ) En(0)

2

4n 1⎞ ⎛2 − − ⎟ ⎜ mc 2 ⎝ Z 2l + 1 2 ⎠

_____ สมการ (9.58)

ซึ่งในความหมายของ degenerate perturbation theory สมการขางตนก็คือ 1st order energy correction เนื่องจาก relativistic correction ของพลังงานจลน ซึ่งเปนปรากฏการณที่เกิดจากผลของ ทฤษฏี special relativity ของ Einstein

Spin-Orbit Coupling พิจารณาการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนภายใน hydrogen atom ถาในขณะหนึ่งๆ อิเล็กตรอนมี ความเร็ว v ในมุมมองของอิเล็กตรอน หรือที่เรียกวา ใน reference frame ของอิเล็กตรอน จะ มองเห็นนิวเคลียสเคลื่อนที่ดวยความเร็ว − v และถาเราทบทวนเนื้อหาของ electromagnetic พื้นฐานจะพบวา จากกฎของ Biot-Savart เมื่ออนุภาคทีม่ ีประจุ Q = + Ze เคลื่อนที่ดวยความเร็ว − v จะทําใหเกิดสนามแมเหล็กขึ้น ดังแสดงใน ภาพ (9.6)

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-37

Spin-Orbit Coupling อิเล็กตรอน

v

−e

ใน frame ของอิเล็กตรอน มองเห็นนิวเคลียส เคลื่อนที่ดวยความเร็ว −v

r Q = + Ze จากกฎของ Biot-Savart เมื่อมีประจุขนาด Q = + Ze เคลื่อนที่ดว ยความเร็ว −v ยอมเกิดสนามแมเหล็กขึน้

μ v×r B = − 0 Ze 4π r3 ภาพ (9.6) แสดงกลไกของอันตรกริยาที่เรียกวา spin-orbit coupling μ v×r B = − 0 Ze 4π r3

___________________ สมการ (9.59)

เมื่อ μ0 = 4π ×10−7 T ⋅ m A คือ permeability of free space ในหนวยของ SI unit จะสังเกตวา เทอม v × r ที่ปรากฏอยูทางขวามือของสมการขางตน มีความสัมพันธกับคํานิยามของ orbital angular momentum ของอิเล็กตรอนที่วา L = r × p = −mv × r และเมื่อแทนเขาไปในสมการ จะ ทําให B=

Zeμ0 L 4π m r 3

___________________ สมการ (9.60)

นั่นก็หมายถึง สนามแมเหล็ก B ที่เกิดขึ้น มีความสัมพันธโดยตรงกับ orbital angular momentum L ของอิเล็กตรอน ในขณะที่มน ั กําลังเคลื่อนที่ ซึ่งเราสามารถสรุปตนกําเนิดของสนามแมเหล็กดัง ในสมการ (9.60) อีกครั้งหนึง่ ดังตอไปนี้ 1. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ภายในอะตอมดวยความเร็ว v 2. ใน reference frame ของอิเล็กตรอน มันเห็นนิวเคลียสเคลื่อนที่ดวยความเร็ว − v 3. จากกฎของ Biot-Savart และ ทฤษฏี electromagnetic พื้นฐาน เมื่ออนุภาคที่มีประจุ + Ze มีการ เคลื่อนที่ ยอมทําใหเกิดสนามแมเหล็กขึน้ ในบริเวณใกลเคียง ดังในสมการ (9.59)

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-38

4. เนื่องจากเทอม v × r ที่ปรากฏ เราสามารรถโยงความสัมพันธระหวางสนามแมเหล็ก และ orbital angular momentum ของอิเล็กตรอน การวิเคราะหในเรื่องของ spin-orbit coupling จะมีความซับซอนมากขึ้น เมื่อเรามองตอไปอีกวา สนามแมเหล็ก B เกิดมีอันตกริยากับ magnetic moment ของอิเล็กตรอน เพราะฉะนั้น interaction energy ของอันตกริยาดังกลาวก็คือ ⎡ g ( −e ) ⎤ ⎡ Zeμ0 L ⎤ Ze2 μ0 −μ ⋅ B = − ⎢ S⎥ ⋅ ⎢ = L⋅S 3⎥ 2 3 ⎣ 2m ⎦ ⎣ 4π m r ⎦ 4π m r

จะเห็นวา magnetic moment μ =

gq S 2m

นั้น มีแหลงกําเนิดมาจาก spin ของอิเล็กตรอนเอง และ g-

factor g = 2 ในกรณีของอิเล็กตรอน แตในบางครั้งเรานิยมทีจ่ ะทําให permeability of free space μ0 หายไปจากสมการ โดยอาศัยความสัมพันธที่วา ε 0 μ0 = 1 c 2 เมื่อ c คือความเร็วของแสง ในสุญญากาศ และเขียน อันตรกริยาดังกลาวในรูปทัว่ ไป ไดวา −μ ⋅ B =

Ze2 L ⋅ S 4πε 0 m 2c 2 r 3

___________________ สมการ (9.61)

เพื่อที่จะวิเคราะห interaction ดังกลาวในกรอบระเบียบวิธีของ quantum mechanics เราจะตองเขียน interaction energy ที่ปรากฏในสมการขางตน ใหอยูในรูปของ operator e2 Z Hˆ SO = Lˆ ⋅ Sˆ 4πε 0 m 2c 2 rˆ 3

___________________ สมการ (9.62)

Hamiltonian ดังในสมการขางตนมีชื่อวา "spin-orbit" interaction หรือมักจะเขียนโดยยอวา SO Hamiltonian ดังกลาว แสดงถึงอันตรกริยาระหวางสมบัติเชิงฟสิกส 2 ปจจัยดวยกันคือ 1) magnetic moment μ =

gq S 2m

ของอิเล็กตรอน ซึ่งมีที่มาจาก spin และ

2) สนามแมเหล็ก B ที่เกิดขึ้นภายในอะตอม B = Zeμ0

L

4π m r 3

ซึ่งมีที่มาจาก orbital angular

momentum ของอิเล็กตรอนเอง

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-39

จึงเปนที่มาของชื่อ spin-orbit interaction ดังกลาว อยางไรก็ตาม spin-orbit Hamiltonian ดังใน สมการ (9.62) นั้นมีขอผิดพลาดซึ่งคนพบเปนครั้งแรกโดย Llewellyn Thomas เรียกวา Thomas precession เนื่องจากเราลืมนําเอาผลเชิง special relativity ของการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเขามา เกี่ยวของ ดวยขอจํากัดของเนื้อหา เราจะไมขยายความ Thomas effect ไปมากกวานี้ (L.H. Thomas, Nature. 117,514 (1926)) แตในทายที่สดุ แลว มีผลให Hamiltonian Hˆ SO ในสมการ (9.62) มีขนาด ลดลงเปนครึ่งหนึ่ง หรือ e2 Z Hˆ SO = Lˆ ⋅ Sˆ 3 2 2 4πε 0 2m c rˆ

________________ สมการ (9.63)

ดังนั้น เมื่อเราพิจารณา hydrogen atom และนํา spin-orbit interaction เขามาวิเคราะหรวมดวย จะทํา ให Hamiltonian อยูในรูปของ pˆ 2 e2 Z e2 Z Hˆ = Lˆ ⋅ Sˆ − + 2 2m 4πε 0 r 4πε 0 2m c 2 rˆ 3 Hˆ 0

________________ สมการ (9.64)

Hˆ SO

โดยที่เราสามารถที่จะมองวา Hˆ SO เปน perturbing Hamiltonian และสามารถนํากลไกของ degenerate perturbation theory มาชวยในการประมาณ energy eigen value ของ Hamiltonian ใน สมการ (9.64) ได ดังที่ไดเห็นในสมการ (9.41) จุดเริ่มตนก็คือ เราจะตองกําหนด sub-space eigenstate กันเสียกอน ทั้งนี้เมื่อเราพิจารณาระดับพลังงาน n ของ hydrogen atom จะพบวามีอยูอยางนอย N = n2 fold degeneracy อยางไรก็ตาม degeneracy ดังกลาว เกิดขึ้นจากการที่เราพิจารณาเพียง orbital angular momentum ของอิเล็กตรอนเพียงเทานัน้ ซึ่งถานํา spin ของอิเล็กตรอนเขามาวิเคราะหรวมดวยจะพบวา ในแตละสถานะ n, l , m ของ อิเล็กตรอนนัน้ มันอาจจะมี spin quantum number เปน ms = + 1 2 หรือ ms = −1 2 ก็ได ทําให จํานวน degeneracy ของอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน n มีคาเทากับ 2n2

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-40

อนึ่ง การที่เราจะตองนํา spin degree of freedom เขามาวิเคราะหรวมดวย ก็เพราะวา Hamiltonian Hˆ SO ในสมการ (9.64) มีสวนที่เกีย่ วของอยูก  ับ spin ของอิเล็กตรอน ซึ่งแตกตางจากในอดีตที่เรา พิจารณาเฉพาะ Hamiltonian

pˆ 2 e2 Z Hˆ 0 = − 2m 4πε 0 r

ที่ไมขึ้นอยู spin แตอยางใด

เมื่อเปนเชนนี้ เราจะเขียนสถานะของอิเล็กตรอนดวย เลข quantum number ถึง 4 ตัวดวยกันคือ สถานะของอิเล็กตรอน ใน hydrogen atom

n, l , m , ms

___________ สมการ (9.65)

โดยที่ n = 1, 2, , l ∈ {0,1, , ( n − 1)} , m ∈ {−l , − ( l − 1) , , + ( l − 1) , +l} และ ms ∈ {± 1 2} และจะพบวา เมื่อพิจารณา ณ ระดับพลังงาน n ใดๆ เราจะมี sub-space eigenstate ทั้งสิ้น N = 2n2 สถานะ ดวยกัน ในขั้นตอนตอไปของ degenerate perturbation theory ก็คอื การคํานวณ matrix element ของ perturbing Hamiltonian Hˆ SO ดังที่ไดอธิบายในสมการ (9.45) หรืออีกนัยหนึ่ง ตองคํานวณ 2 Lˆ ⋅ Sˆ e2 Z n, l ′, m′ , ms′ Hˆ SO n, l , m , ms = n, l ′, m′ , ms′ n, l , m , ms 3 4πε 0 4m2c 2 rˆ

____________________ สมการ (9.66) operator 2Lˆ ⋅ Sˆ ที่ปรากฏอยูทางขวามือของสมการนั้น สามารถเขียนใหอยูใ นรูป 2 Lˆ ⋅ Sˆ = Lˆ x Sˆ x + Lˆ y Sˆ y + Lˆ z Sˆ z = Lˆ+ Sˆ− + Lˆ− Sˆ+ + 2 Lˆ z Sˆ z

____________ สมการ (9.67)

เมื่อ Lˆ± และ Sˆ± นั้นเปน raising หรือ lowering operator ของ orbital angular momentum และ spin angular momentum ตามลําดับ ซึ่งมีสมบัติที่เมื่อกระทํากับสถานะ n, l , m , ms จะมีผลทําให Lˆ+ n, l , m , ms = l ( l + 1) − m ( m + 1) n, l , m + 1, ms Lˆ− n, l , m , ms = l ( l + 1) − m ( m − 1) n, l , m − 1, ms

Sˆ+ n, l , m , ms = −1 2 = n, l , m , ms = + 1 2 Sˆ+ n, l , m , ms = + 1 2 = 0 Sˆ− n, l , m , ms = − 1 2 = 0 Sˆ− n, l , m , ms = + 1 2 = n, l , m , ms = − 1 2

____________ สมการ (9.68) Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-41

จากสมบัติดังกลาว ผนวกกับสมการ (9.67) เราบอกไดทันทีวา n, l ′, m′ , ms′ Hˆ SO n, l , m , ms = 0

ถา l ′ ≠ l ____________ สมการ (9.69)

สมบัติขางตนขอนี้ มีผลคลายกับในกรณีของ relativistic kinetic energy correction ดังแสดงใน ภาพ (9.5) ที่ทําให matrix element มีลักษณะที่เปน block diagonal matrix เพราะฉะนั้นเราจะพิจารณา integral ขางตนเฉพาะในกรณีที่ l ′ = l กลาวคือ n, l , m′ , ms′ Hˆ SO n, l , m , ms =

2 Lˆ ⋅ Sˆ e2 Z n, l , m′ , ms′ n, l , m , ms 3 4πε 0 4m2c 2 rˆ

=

1 e2 Z ∗ (r ) dr r 2 Rnl R (r ) l , m′ , ms′ 2 Lˆ ⋅ Sˆ l , m , ms ∫ 3 nl 4πε 0 4m2c 2 rˆ 0

1 r3

สาเหตุที่เราสามารถแยก integral ออกมาเปนสองสวน คือ ก็เนื่องมาจากการที่ operator

1 3 rˆ

1 r3

และ

l , m′ , ms′ 2 Lˆ ⋅ Sˆ l , m , ms

นั้นเกีย่ วของกับรัศมี r ของ wave function แตอยางเดียว

ในขณะที่ operator 2Lˆ ⋅ Sˆ นั้นเกีย่ วของกับมุม (θ , ϕ ) แตเพียงเทานั้น

และอาศัยสมการ (9.67) และ สมการ (9.68) ทําใหเราสามารถคํานวณผลลัพธของ matrix element l , m′ , ms′ 2 Lˆ ⋅ Sˆ l , m , ms ในกรณีตางๆ ซึ่งจําแนกได 4 กรณีดวยกัน 1) m′

=m

and

Dr. Teepanis Chachiyo

ms′ = ms

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

e2 Z 1 n, l , m , ms Hˆ SO n, l , m , ms = 4πε 0 4m 2c 2 r 3 = =

e2

Z

1

4πε 0 4m 2c 2 r 3 e2

Z

4πε 0 4m c

2 2

1 r

3

9-42

n, l , m , ms 2 Lˆ ⋅ Sˆ n, l , m , ms n, l , m , ms 2 Lˆ z Sˆ z n, l , m , ms 2m ms 2

____________ สมการ (9.70) 2) m′

= m + 1 and

ms′ = − 1 2, ms = + 1 2

n, l , m + 1, − = = =

e2

1 ˆ 1 H SO n, l , m , + 2 2 Z

1

4πε 0 4m 2c 2 r 3 e2

Z

1

4πε 0 4m 2c 2 r 3 e2

Z

4πε 0 4m c

2 2

1 r

3

n, l , m + 1, −

1 ˆ ˆ 1 L+ S − n, l , m , + 2 2

n, l , m + 1, −

1 ˆ ˆ 1 L+ S − n, l , m , + 2 2

l ( l + 1) − m ( m + 1) 2

____________ สมการ (9.71) 3) m′

= m − 1 and

ms′ = + 1 2, ms = − 1 2 1 1 n, l , m − 1, + Hˆ SO n, l , m , − 2 2 = = =

e2

Z

4πε 0 4m c

2 2

e2

Z

1 r

3

1

4πε 0 4m 2c 2 r 3 e2

Z

4πε 0 4m c

2 2

1 r

3

n, l , m − 1, +

1 ˆ ˆ 1 L− S+ n, l , m , − 2 2

n, l , m − 1, +

1 ˆ ˆ 1 L− S+ n, l , m , − 2 2

l ( l + 1) − m ( m − 1) 2

____________ สมการ (9.72) 4) อื่นๆที่นอกเหนือจากกรณี 1)-3) l , m′ , ms′ 2 Lˆ ⋅ Sˆ l , m , ms = 0

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-43

โดยอาศัยผลทางคณิตศาสตรทั้ง 4 ขอ เราสามารถเขียน block ยอยๆของ sub-space perturbation matrix ไดดังภาพขางลาง

ลําดับในการจัดกลุม ที่ทําให matrix block diagonal ขนาด 2x2 m =

ms =

1 − 2

1 + 2

H1( n,l ) l = 0 l =1 l = 2 0

0

0

H1 =

0

0

− ( − 1) − ( − 1) 1 1 − + 2 2

=

( m , ms ) 1 − ,− 2 1 − ,+ 2

2x2

l =0 l =1

0

0

, −(

1 2

2x2

l = ( n − 1)

+ ,+

ลําดับในการจัดกลุมของสถานะที่ดจู ะเปนธรรมชาติที่สุดก็คือ ให 1 2

+

l = ( n − 1)

0

− ,+

+

− 1) , −

1 2

, −(

− 1) , +

1 2

,

,

+ ,+

1 2

m , ms =

,

− ,−

1 2

1 2

,

กลาวคือ เรียง m จากนอยไป

หามาก โดยที่ในแตละคาของ m กําหนดให ms = − 1 และ + 1 ตามลําดับ 2

2

นักศึกษาสามารถพิสูจนไดจากสมการ (9.70) , (9.72) , และ (9.72) ถาเราจัดกลุมในลักษณะดังภาพ จะมีผลทําให matrix H1(n,l ) มีลักษณะเปน block diagonal ยอยๆขนาด 2x2 โดยที่แตละ block มี ลักษณะดังตอไปนี้ sub H1( n,l ) =

e2

Z

1

4πε 0 4m 2c 2 r 3

2⎢

⎢ ⎣

(

m

(

+ 1) − m ( m + 1)

+ 1) − m ( m + 1) ⎤ ⎥ ⎥ − ( m + 1) ⎦

และเนื่องจากเปน sub matrix ขนาด 2x2 ก็จะตองมี eigenvalue อยู 2 คาดวยกันคือ

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา En(1) =

และเมื่อแทน

1 r3

=

9 Time Independent Perturbations 1 e2 Z 4πε 0 4m2c 2 r 3

2Z 3 n3a03l ( l + 1)( 2l + 1)

E (0) (1) ( n ) spin-orbit correction E = n

mc 2

,l ≠ 0

2

9-44

⎧ l ×⎨ ⎩− ( l + 1)

จะไดวา

2

⎧ l 2n ×⎨ l ( l + 1)( 2l + 1) ⎩− ( l + 1)

,l ≠ 0

__ สมการ (9.73)

จะสังเกตเห็นวา correction term ดังกลาวมีขนาด (order of magnitude) ใกลเคียงกับในกรณีของ relativistic kinetic energy correction แตตางกันตรงที่ระดับพลังงานแยกออกเปน 2 สวนยอยๆ ดวยกัน สวนกรณีที่ l = 0 กลาวคือ อิเล็กตรอนมี orbital angular momentum เทากับศูนยพอดีนั้น ในทาง ฟสิกสเราบอกไดวา spin-orbit coupling (ซึ่งเปนอันตรกริยาระหวาง L และ S ) ก็ควรจะมีคาเปน ศูนยดว ยเชนกัน แตในทางคณิตศาสตร เนื่องจากเทอม

1

r

3

แปรผันกับ 1 จึงอาจจะทําใหกลไก l

ในการคํานวณดังในสมการ (9.73) เกิดปญหาตามมา ขอขัดแยงในทางคณิตศาสตรดังกลาวนี้สามารถแกไขไดดวยกระบวนการที่เรียกวา Dirac equation ซึ่งเปนการนํา ทฤษฏี quantum mechanics และ special relativity เขามาผนวกรวมกัน และเปน รายละเอียดที่เกินขอบเขตของเนื้อหาในบทนี้ แตโดยสรุปแลว เมื่อนํา relativistic effect เขามา วิเคราะหจะพบวา

1

r3

→0

เมื่อ l = 0 และจะสงผลให spin-orbit correction

En(1) = 0

,l = 0

__________ สมการ (9.74)

แบบฝกหัด 9.10 ในทํานองเดียวกัน ภาพ (9.4) จงวาดภาพระดับพลังงานของ hydrogen atom กอนและหลังจากที่นํา spin-orbit coupling เขามารวมวิเคราะห

Spin-Orbit Coupling Revisited

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-45

ในหัวขอที่ผานมา เราพยายามที่จะเขียนสถานะเชิง angular momentum ของอิเล็กตรอนดวย quantum number 3 ตัวดวยกันคือ l , m , ms โดยเฉพาะอยางยิ่งเซตของ ( m , ms ) นัน้ ก็เพื่อเปนการแยก angular momentum ทั้ง 2 ชนิดออกจากกันใหชัดเจนระหวาง orbital angular momentum m และ spin angular momentum ms อยางไรก็ตาม ในเนื้อหาของวิชา quantum mechanics ที่เกี่ยวของกับ spin-orbit interaction นั้น ใน บางครั้งเรานิยมที่จะรวม angular momentum ทั้ง 2 ชนิดนีเ้ ขาดวยกัน โดยนิยาม J = L+S

___________________________ สมการ (9.75)

ั ลักษณของ vector เมื่อ J = L + S ก็คือ total angular momentum ของอิเล็กตรอน ซึ่งเขียนโดยใชสญ หรือโดยใชสญ ั ลักษณของ operator ใน quantum mechanics ไดวา Jˆ z = Lˆ z + Sˆ z

Jˆ 2 = Lˆ2 + 2 Lˆ ⋅ Sˆ + Sˆ 2

_______________________ สมการ (9.76) _______________________ สมการ (9.77)

ทั้งนี้ นักศึกษาที่ยังไมคุนเคยกับกลไกในการรวม angular momentum ทั้งสองเขาดวยกัน สามารถ ทบทวนเนื้อหาของ Chapter "Angular Momentum" และ Chapter "Interaction ของ Spin"

ตัวอยางของการมอง angular momentum ของอิเล็กตรอนใน 2 รูปแบบ 1. orbital และ spin แยกออกจากกัน z

S

L

J y

x

orbital: l = 1, m = +1 spin: s = 1 , ms = − 1 2

2. total angular momentum z

x

1 2

total:

3 1 j = , mj = + 2 2

2

ภาพ (9.7) (ซาย) สมมุติใหอิเล็กตรอนอยูในสถานะ ms = −

y

n, l , m = 2,1, +1

และมี spin down หรือ

(ขวา) เราสามารถรวม angular momentum ทั้ง 2 ชนิด หรือ J = L + S ซึ่งจะไดวา

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา j, m j =

9 Time Independent Perturbations

9-46

3 1 ,+ 2 2

ดัง ภาพ (9.7) แทนที่เราจะแสดงสถานะของอิเล็กตรอนดวย สมการ (9.65) เรานิยมกําหนดให สถานะของอิเล็กตรอน ใน hydrogen atom

n, l , m , ms

n, l , j , m j

เหมือนทีผ่ านมาใน

___________ สมการ (9.78)

โดยที่ ระดับพลังงาน: n = 1, 2, , ขนาดของ orbital angular momentum: l ∈ {0,1, 1⎫ ⎧ 1 j ∈ ⎨l − , l + ⎬ 2⎭ ⎩ 2 , + ( j − 1) , + j}

ขนาดของ total angular momentum: m j ∈ {− j , − ( j − 1) ,

, ( n − 1)}

,

, และ องคประกอบตามแกน z ของ J :

ตามความเปนจริงแลว สาเหตุที่เราใชรูปแบบดังสมการ (9.78) ในการอธิบายสถานะของอิเล็กตรอน แทนที่จะใชรปู แบบดังสมการ (9.65) นั้น ก็เพื่อความสะดวกในทางคณิตศาสตร นักศึกษาจะตองไมลืมวา ขั้นตอนสําคัญของ degenerate perturbation theory ก็คือการคํานวณ eigenvalue ของ sub-space matrix H1(n,l ) ดังแสดงในสมการ (9.70) , (9.71) , (9.72) และการแทน สถานะของอิเล็กตรอนดวย n, l , j, m j มีผลทําใหกระบวนการทางคณิตศาสตรงายขึ้นมาก spin-orbit coupling Hamiltonian ดังในสมการ (9.63) มีเทอม สมการ (9.77) เขาชวย จะไดวา

Lˆ ⋅ Sˆ

ปรากฏอยู ซึ่งถาเราอาศัย

e2 Z 1 ⎡ ˆ 2 ˆ2 ˆ 2 ⎤ Hˆ SO = J −L −S ⎦ 4πε 0 2m 2c 2 rˆ 3 2 ⎣

จะสังเกตเห็นวา สถานะ

n, l , j , m j

1 Lˆ ⋅ Sˆ = ⎡ Jˆ 2 − Lˆ2 − Sˆ 2 ⎤ ⎦ 2⎣

นั้น เปน eigenstate ของ operator

อยูแลวโดยอัตโนมัติ กลาวคือ

2 1 ⎡ ˆ 2 ˆ2 ˆ 2 ⎤ J − L − S n, l , j , m j = ⎦ 2⎣ 2

Dr. Teepanis Chachiyo

3⎤ ⎡ j j + − l l + − n, l , j , m j 1 1 ( ) ( ) ⎢⎣ 4 ⎥⎦

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-47

และมีผลทําให matrix element ของ sub-space matrix H1(n,l ) อยูในรูปของ e2 Z 1 n, l , j ′, m′j Hˆ SO n, l , j , m j = 2 2 4πε 0 4m c r 3

2⎡

3⎤ ⎢⎣ j ( j + 1) − l ( l + 1) − 4 ⎥⎦ δ j ′jδ m′j m j

Kronecker delta function δ j ′jδ m′j m j ทําให matrix element อยูในรูปของ diagonal matrix และ อาศัยทฤษฏีบททาง matrix algebra ที่วา eigenvalue ของ diagonal matrix ก็คือ สมาชิกที่เรียงตัวอยูใน แนวทแยงดังกลาวนั่นเอง ดังนั้น eigenvalue ก็คือ En(1) =

e2

1

Z

4πε 0 4m c

2 2

r

3

2⎡

3⎤ ⎢ j ( j + 1) − l ( l + 1) − 4 ⎥ ⎣ ⎦

_______________ สมการ (9.79) และเนื่องจาก

1⎫ ⎧ 1 j ∈ ⎨l − , l + ⎬ 2⎭ ⎩ 2

มีอยู 2 คาที่เปนไปได เราสามารถคํานวณผลลัพธของสมการ

(9.79) ออกเปน 2 กรณีดว ยกันคือ

spin-orbit correction

En(1) =

( ) En(0)

mc 2

2

1 1 ⎧ , j =l+ ⎪ j ( 2 j + 1) 2 ⎪ 2n × ⎨ 1 1 ⎪− , j=l− ⎪⎩ ( j + 1)( 2 j + 1) 2

,l ≠ 0

______________________ สมการ (9.80) spin-orbit correction ที่ไดจากสมการ (9.80) ขางตน มีคา เทากันกับสมการ (9.73) เพียงแตวา สมการขางตนนั้น เขียนอยูใ นรูปของ total angular momentum เพียงเทานั้น แบบฝกหัด 9.11 เขียนสมการ (9.80) ใหอยูในรูปของ l โดยการแทนคา

j =l+

1 2

และ

j =l−

1 2

แลวแสดงใหเห็นวาผลลัพธที่ได ลดรูปไปเปนสมการ (9.73)

Fine Structure

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-48

เราสามารถวิเคราะหระดับพลังงานของ hydrogen atom ( Z = 1 ) โดยนําเอา relativistic kinetic energy correction ในสมการ (9.58) และ spin-orbit correction ในสมการ (9.80) เขามารวมวิเคราะห ดวย Hˆ 1 = Hˆ K + Hˆ SO

______________________ สมการ (9.81)

และเนื่องจาก Hamiltonian Hˆ 1 มีขนาดเล็กและมีลักษณะที่เปน perturbation ของ Hˆ 0 ก็ยอ มทําให energy correction มีขนาดเล็กตามไปดวย เรานิยมเรียก correction energy ในลักษณะดังกลาวนีว้ า "fine structure" (fine หมายถึง โดยละเอียด) fine structure มีที่มาจากอันตรกริยาทางฟสิกสหลายอยางดวยกัน อาทิเชน relativistic correction ที่เรากําลังกลาวถึง interaction ระหวางสนามแมเหล็กภายนอกและ magnetic moment ของ อิเล็กตรอน หรือแมกระทัง่ interaction ระหวาง magnetic moment ของนิวเคลียส กับ สนามแมเหล็กที่เกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน เปนตน อันตกริยาเหลานี้ลว นทําใหระดับ พลังงานของ hydrogen atom มีความสลับซับซอนมากขึ้น สงผลใหแถบพลังงานของมันมีรูปแบบการ เรียงตัวทีแ่ ตกตางในกรณีของ Hˆ 0 นั่นเอง อนึ่ง fine structure ในสวนที่เปนปรากฏการณสืบเนื่องจากผลของ special relativity โดยหลักการ แลว การศึกษาในเรื่องของ fine structure จะตองเริ่มจาก Dirac equation และมีหนังสืออยูหลายเลม ไดรวมเอาสิ่งที่เรียกวา Darwin term หรือ Hˆ D เขารวมกับ Hamiltonian ในสมการ (9.81) ดวย แต ในทายที่สุดแลว ผลลัพธสุทธิที่จะเกิดขึ้น ก็คือสมการ (9.81) นั่นเอง นักศึกษาที่ประสงคจะศึกษาในเรื่องของ Dirac equation และ relativistic quantum mechanics สามารถอานเพิ่มเติมไดจาก R. Shankar, "Principles of Quantum Mechanics" J.D.Bjorken และ S.D.Drell, "Relativistic Quantum Mechanics" และ J.J.Sakurai,"Advanced Quantum Mechanics" ทั้งนี้ เมื่อรวมสมการ (9.58) และ (9.80) เขาดวยกัน และกําหนดให Z = 1 จะไดวา E (0) (1) ( n ) E = n

Dr. Teepanis Chachiyo

⎛ ⎞ ⎜3 2n ⎟ ⎜ − ⎟ mc 2 ⎜ 2 j + 1 ⎟ 2⎠ ⎝ 2

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

___________________ สมการ (9.82)

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

และถาเราเขียนสมการขางตนใหอยูในรูปของ fine structure constant α = ที่ไมมีหนวยและจากการทดลองมีคาเทากับ α ≅

1 137

1 4πε 0 c

ซึ่งเปนคาคงที่

mc 2α 4 ⎜ 3 2n ⎟ En(1) = − 4 ⎜2 1⎟ 4n ⎜ j+ ⎟ ⎝

e2

จะไดวา

fine structure correction

9-49

___________________ สมการ (9.83)

2⎠

และเมื่อผนวกกับระดับพลังงานของ hydrogen atom ที่วา

En(0) = −

mc 2α 2 2n 2

เราสามารถสราง

แผนภาพของระดับพลังงานดังใน ภาพ (9.8)

ระดับพลังงานของ hydrogen atom ทีเ่ ปลี่ยนไปเนื่องจาก Relativistic Correction 1 1 3 3 3 1 l , j , m j = 0, , ± , 1, , ± , 1, , ± 2 2 2 2 2 2

1st excited state

3 3 3 1 1, , ± , 1, , ± 2 2 2 2

n=2

4.53 × 10−5 eV

2 p3 2 2s1 2 , 2 p1 2

หรือ

1 1 0, , ± 2 2

10.96GHz

1 1 l , j , m j = 0, , ± 2 2

ground state n =1

1s1 2

Hˆ 0

1 1 0, , ± 2 2

Hˆ 0 + Hˆ K + Hˆ SO

ภาพ (9.8) ระดับพลังงานของ hydrogen atom ที่เปลี่ยนแปลงไปเนื่องจาก relativistic correction ดัง Hamiltonian ในสมการ (9.81) พิจารณา 1st excited state ของ hydrogen atom จะพบวาเมื่อเรานํา relativistic correction เขามารวม วิเคราะห ปรากฏวาระดับพลังงานแยกออกเปน 2 กลุมดวยกัน คือ 1) กลุมที่ ที่

j=

j=

1 2

และ 2) กลุม

3 2

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

ที่เปนเชนนีก้ ็เพราะระดับพลังงานในสมการ (9.83) นั้น ขึ้นอยูกับ ระดับพลังงานทั้งสองดังกลาวนี้ จะไดวา

j

9-50

ซึ่งถาเราคํานวณผลตางของ

⎧ ⎫ ⎞ ⎛ ⎞ ⎪⎛ ⎪ ⎜3 ⎪ mc 2α 2 α 2 mc 2α 4 ⎪⎜ 3 2n ⎟ 2n ⎟ ΔE = − − − = 4.53 × 10−5 eV ⎬= ⎟ ⎜ ⎟ 4 ⎨⎜ 2 1 1 2 16 4n ⎪⎜ ⎪ ⎜2 j+ ⎟ j+ ⎟ 2 ⎠ j= 3 ⎝ 2 ⎠ j = 1 ⎪ 13.6 eV ⎪⎝ 2 2⎭ ⎩

อนึ่ง สัญลักษณที่เรามักจะใช เมื่อกลาวถึง fine structure นั้น คอนขางจะซับซอนอยูบาง เพราะ ใน การอธิบายสถานะของอิเล็กตรอนนั้น เราใช quantum number ถึง 4 ตัวดวยกัน คือ n, l , j, m j ในการบงชี้ถึง l นั้น เราจะใชรหัสตัวอักษร s เมื่อ l = 0 , p เมื่อ l = 2 , d เมื่อ l = 3 เชนนี้เปน ตน ในขณะที่เราจะใชตวั เลข sub-script เพื่อบงชี้ถึง j ยกตัวอยางเชน 1s1 2

หมายถึง

n, l , j , m j = n = 1, l = 0, j = 1 2, m j

2s1 2

หมายถึง

n, l , j , m j = n = 2, l = 0, j = 1 2, m j

2 p1 2

หมายถึง

n, l , j , m j = n = 2, l = 2, j = 1 2, m j

2 p3 2

หมายถึง

n, l , j , m j = n = 2, l = 2, j = 3 2, m j

จาก ภาพ (9.8) จะพบวา relativistic effect Hˆ 1 = Hˆ K + Hˆ SO มีผลทําใหระดับพลังงาน 2s1 2 , 2 p1 2 , และ 2 p3 2 แยกออกเปน 2 กลุม ทั้งๆที่เดิมถาเราพิจารณาเฉพาะ Hamiltonian Hˆ 0 สถานะเหลานีล้ วนมีพลังงานเทากันทั้งหมด อยางไรก็ตาม จากแผนภาพเราจะพบวา สถานะ 2s1 2 และ 2 p1 2 ยังมีระดับพลังงานเทากันอยู เมื่อป 1947 W.E.Lamb และ R.C.Retherford สังเกตเห็นวาระดับพลังงานของสถานะ 2s1 2 และ 2 p1 2 นั้นมีคาแตกตางกันอยูเล็กนอย จากการทดลองพบวาผลตางของพลังงานนั้นเทากับ 4.4 ×10−6 eV หรือ 1058 MHz เรียกกันโดยทัว่ ไปวา "Lamb Shift" ผลงานชิ้นนี้ทําให Lamb ไดรับรางวัล Noble prize เมื่อป 1953 (W.E. Lamb and R.C. Retherford, Phys.Rev.72: 241 (1947) และ Phys.Rev.86: 1014 (1952)) Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-51

ในเชิงทฤษฏี Lamb shift เปนปรากกฎการณทางฟสิกสอีกอันหนึ่งทีท่ ําใหเกิด fine structure ขึ้น เปนผลสืบเนื่องจากทฤษฏีที่เรียกวา quantum electrodynamics (QED) และผลการทดลองซึ่งตรงกับ ผลการคํานวณนั้น นับวาเปนปริมาณทางฟสิกสที่แมนยําที่สุดอันหนึ่งในโลก เพราะตัวเลขของ พลังงาน 1058 MHz นั้น เปนการวัดทีม่ ีเลขทศนิยมถึง 11 ตําแหนง ! Richard Feynman มักจะ เปรียบเทียบวา เปนการวัดระยะทางจาก Los Angeles ไปถึง New York โดยใชไมบรรทัดที่ละเอียด ขนาดเทาเสนผมของคนเลยทีเดียว

9.6 Application - Zeeman Effect ในป 1896 Zeeman คนพบวาถาปอนสนามแมเหล็กภายนอก มีผลตอแถบ spectrum ของแสงที่ อะตอมเปลงออกมา กลาวคือสนามแมเหล็กมีผลตอระดับพลังงานของอิเล็กตรอนภายในอะตอม นั่นเอง อันตกริยาที่เกิดขึ้นนั้น สืบเนื่องมาจาก interaction ระหวาง magnetic moment ของอิเล็กตรอนและ สนามแมเหล็ก B ⎡ ( −e ) ( −e ) ⎤ L+ S⎥ ⋅ B −μ ⋅ B = − ⎢ 2 m m ⎣ ⎦

เพื่อความสะดวกเราจะกําหนดใหสนามแมเหล็กดังกลาว มีทิศทางอยูใ นแกน z และมีขนาดความ เขมเทากับ B = B เพราะฉะนัน้ แลว

(

eB ˆ Hˆ B = Lz + 2 Sˆ z 2m

)

___________________ สมการ (9.84)

เมื่อ Hˆ B คือ Hamiltonian ที่แสดงถึง interaction ระหวาง magnetic moment ของอิเล็กตรอน และ สนามแมเหล็ก B และเพื่อที่จะคํานวณ energy correction ที่เกิดจาก Hamiltonian ดังกลาว เรา จําเปนจะตองใช degenerate perturbation theory ในทํานองเดียวกันกับกรณีของ spin-orbit coupling เราจะเขียนสถานะของอิเล็กตรอนโดยใช basis state n, l , j, m j เนื่องจาก

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

n, l ′, j ′, m′j Hˆ B n, l , j , m j = 0

9-52

ถา l ′ ≠ l

นั่นก็หมายความวา perturbation matrix element มีลักษณะดังใน ภาพ (9.5) และจะทําให eigenvalue ของ matrix ทั้งหมด มีคาเทากับ eigenvalue ของ block ยอยๆในกลุมที่มี l เดียวกัน เพราฉะนั้น เราพิจารณา

(

)

eB ˆ n, l , j ′, m′j Hˆ B n, l , j , m j = n, l , j ′, m′j J z + Sˆ z n, l , j, m j 2m

____ สมการ (9.85)

โดยที่ในสมการขางตน เราใช total angular momentum Jˆ z แทน orbital angular momentum Lˆz ทั้งนี้ก็เพื่อใหเหมาะสมกับ basis state n, l , j, m j ที่เรากําลังใชอยูนนั่ เอง สมการ (9.85) ขางตน สามารถกระจายออกเปนสองเทอมดวยกัน คือเทอมแรก n, l , j , m′j

และเทอมที่สอง กระจายสถานะ

n, l , j , m′j n, l , j , m j

eB ˆ eB J z n, l , j , m j = m j δ m′j m j 2m 2m

eB ˆ S z n, l , j , m j 2m

ซึ่งเราจะคํานวณเทอมที่สองนี้ได จะตอง

ใหอยูในรูป superposition ของ { n, l , m

, ms

} โดยใชกลไกของ

Clebsch-Gordan coefficient กลาวคือ

1 j = l ± ,mj = 2

1 1 l ∓ mj + 1 1 2 l, m − , + ± 2 l, m + 1 , − 1 j j 2l + 1 2 2 2l + 1 2 2

l ± mj +

___________________ สมการ (9.86) แบบฝกหัด 9.12 จงพิสูจนสมการ (9.86) บอกใบ: ทบทวน Chapter 5 Interaction ของ Spin ในหัวขอเรื่อง การรวมกันของ "Angular Momentum" เพื่อใหการคํานวณมีความซับซอนนอยลง เราจะประมาณวา ถา

j′ ≠ j

และเนื่องจาก

Dr. Teepanis Chachiyo

1⎫ ⎧ 1 j ∈ ⎨l + , l − ⎬ 2⎭ ⎩ 2

n, l , j ′, m′j

eB ˆ S z n, l , j , m j ≅ 0 2m

ซึ่งเราจะแยกคิดใน 2 กรณีดว ยกันคือ

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-53

1)

j =l+

1 2

n, l , j , m′j

eB ˆ eB m j S z n, l , j , m j = + δ m′ m 2m 2m ( 2l + 1) j j

2)

j =l−

1 2

n, l , j , m′j

eB ˆ eB m j S z n, l , j , m j = − δ m′ m 2m 2m ( 2l + 1) j j

ซึ่งเมื่อรวมสองเทอมเขาดวยกัน จะไดวา sub-space perturbation matrix อยูในรูปของ 1 ⎡ ⎤ 1+ 0 ⎥ ⎢ eB 2l + 1 sub H1( n,l ) = mj ⎢ ⎥ 1 ⎥ 2m ⎢ 0 1− 2l + 1 ⎦⎥ ⎣⎢

และจะมีผลทําให eigenvalue ของ matrix ขางตน (หรือ ในความหมายของ degenerate perturbation theory ก็คือ 1st order energy correction term เนื่องจากสนามแมเหล็กภายนอก) มีคาเทากับ 1 1 ⎧ 1+ , j =l+ ⎪ eB ⎪ 2l + 1 2 EB(1) = mj ×⎨ 1 2m ⎪1 − 1 , j =l− 2 ⎩⎪ 2l + 1

อนึ่ง สัมประสิทธิ์ ⎛⎜1 ± ⎝

1 ⎞ ⎟ 2l + 1 ⎠

_______________ สมการ (9.87)

มีชื่อเรียกวา Lande-g factor เพราะมันทําหนาที่คลายๆกัน g-factor

ของอนุภาคเมือ่ เราตองการคํานวณ magnetic momentum ของมัน กลาวคือ μ z =

gq Sz 2m

จากสมการ (9.87) จะเห็นวาระดับของ energy correction ขึ้นอยูกับ m j และ l ของระบบ ดังแสดง ใน ภาพ (9.9) ที่ทําใหเห็นการเปลี่ยนแปลงของระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในสถานะ s1 2 , p1 2 , และ p3 2 เมื่อปอนสนามแมเหล็กเขาไปในระบบ ทําใหเกิดการแยกชัน้ ของระดับพลังงานยอยๆ หรือที่เรียกวา Zeeman splitting นั่นเอง

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-54

ผลของ Zeeman Effect ตอระดับพลังงานตางๆกัน 3 3 l , j , m j = 1, , + 2 2

p3 2

⎧ 3 1 ⎪ 1, 2 , ± 2 ⎪ l , j, m j = ⎨ ⎪ 1, 3 , ± 3 ⎪⎩ 2 2

3 1 l , j , m j = 1, , + 2 2 3 1 l , j , m j = 1, , − 2 2 3 3 l , j , m j = 1, , − 2 2

p1 2

1 1 l , j , m j = 1, , ± 2 2

s1 2

1 1 l , j , m j = 0, , ± 2 2

1 1 l , j , m j = 1, , + 2 2 1 1 l , j , m j = 1, , − 2 2 1 1 l , j , m j = 0, , + 2 2 1 1 l , j , m j = 0, , − 2 2

ภาพ (9.9) ผลของ Zeeman effect ตออิเล็กตรอนในสถานะ s1 2 , p1 2 , p3 2 ลูกศรในแนวดิ่ง แสดงถึงโอกาสที่อิเล็กตรอนจะสามารถการกระโดดและเปลงแสงออกมาได โดยอาศัย selection rule Δl = 1 และ Δm j = 0, ±1

9.7 บทสรุป time independent perturbation theory เปนกลไกในทาง quantum mechanics ที่ใชในการประมาณ eigen energy และ eigenstate ของระบบที่มี Hamiltonian Hˆ ที่คอนขางซับซอน สมมุติวาเรา สามารถเขียน Hˆ = Hˆ 0 + Hˆ 1

โดยที่ Hˆ 0 คือ unperturbed Hamiltonian ที่เราทราบคําตอบ

{ ψ } และ {E } อยูแลว (0) n

(0) n

กลาวคือ Hˆ 0 ψ n(0) = En(0) ψ n(0)

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-55

และ Hˆ 1 คือ perturbing Hamiltonian ซึ่งไมขึ้นกับเวลาและจําเปนจะตองมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับ Hˆ 0 time independent perturbation theory มีสมมุติฐานเบื้องตนก็คือวา เราสามารถเขียนระดับ พลังงานของ Hˆ ใหอยูใ นรูป En = En(0) + En(1) + En(2) + En(3) +

โดยที่เทอมทางขวามือ มีขนาดเล็กลง ลดหลั่นกันไปเรื่อยๆ และมีลักษณะเปน correction energy อาทิเชน เรียก En(1) วาเปน first order correction หรือ En(2) วาเปน 2nd order correction เปนตน และในแงของ eigenstate ก็เชนเดียวกัน ψ n = ψ n(0) + ψ n(1) + ψ n(2) + ψ n(3) +

perturbation theory เปนขั้นตอนที่วาดวยการคํานวณ correction term ณ order ตางๆเหลานี้ โดยแบง ออกเปน 2 กรณีใหญดวยกัน คือ 1) non-degenerate perturbation theory และ 2) degenerate perturbation theory ในกรณีของ non-degenerate perturbation theory นั้น เซตของ eigen energy {En(0) } จะตองมีคาไม ซ้ํากัน ยกตัวอยางเชน harmonic potential ซึ่งในกรณีดังกลาวนี้ จะไดวา

En(1) = ψ n(0) Hˆ 1 ψ n(0)

,

En(2) =

k ≠n

ψ k(0) Hˆ 1 ψ n(0)

2

En(0) − Ek(0)

และ ψ n(1) =

k ≠n

ψ k(0) Hˆ 1 ψ n(0) En(0) − Ek(0)

ψ k(0)

ในกรณีของ degenerate perturbation theory นั้น เซตของ eigen energy {En(0) } มีโอกาสที่จะซ้ํากัน ได ยกตัวอยางเชนในกรณีของ hydrogen atom ซึ่งระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในสถานะ 2s และ 2 p มีคาเทากัน เนื่องจากความซับซอน โดยทัว่ ไป เรามักจะกลาวถึงเฉพาะ 1st order energy correction เพียงเทากัน โดยที่

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-56

H1c = En(1) c

เนื่องจาก eigenstate

{ ψ } มีความเปน degeneracy (0) n

1st order energy correction En(1) ก็จะมีอยู

ดวยกันหลายคา ซึ่งก็คือ เซตของ eigen value ของสมการขางตนนั่นเอง สําหรับ sub-space perturbation matrix H1 นั้น สามารถคํานวณไดจาก ⎡ ψ (0) ⎢ n,1 ⎢ (0) ⎢ ψ H1 ≡ ⎢ n,2 ⎢ ⎢ (0) ⎢ ψ n, N ⎣

เมื่อ

ψ n(0) ,i

i = 1, 2,

Hˆ 1 ψ n(0) ,1

(0) ˆ ψ n(0) ,1 H1 ψ n,2

(0) ⎤ ˆ ψ n(0) ,1 H1 ψ n, N

Hˆ 1 ψ n(0) ,1

(0) ˆ ψ n(0) ,2 H1 ψ n,2

(0) ˆ ψ n(0) ,2 H1 ψ n, N

Hˆ 1 ψ n(0) ,1

(0) ˆ ψ n(0) , N H1 ψ n,2

(0) ˆ ψ n(0) , N H1 ψ n, N

,N

⎥ ⎥ ⎥ ⎥ ⎥ ⎥ ⎥ ⎦

เปน "sub-space" ของ degenerate eigenstate

และเพื่อที่จะใหนักศึกษาคุนเคยกับการนํา perturbation theory ทั้งสองชนิดมาประยุกตใชในการ วิเคราะหระดับพลังงานของระบบ เราไดทําการศึกษาตัวอยางในหลายๆกรณีดว ยกันคือ perturbing harmonic potential, nucleus with finite size, ground state energy ของ helium atom, stark effect, relativistic correction, spin-orbit coupling, และ Zeeman effect เปนตน

9.8 ปญหาทายบท แบบฝกหัด 9.13 จงพิสูจนวา 2nd order perturbation ของ eigenstate ในกรณีของ non-degenerate perturbation อยูในรูปของ ⎧ ⎫ ˆ ˆ ˆ ˆ H H H H ⎪ 1 1 1 1 ⎪ ⎪ (0) ki in nn kn ⎪ ψ n(2) = ∑ ⎨ ∑ − ⎬ ψk 2 (0) (0) (0) (0) (0) (0) En − Ei ⎪ k ≠ n ⎪i ≠ n En − Ek En − Ek ⎪⎩ ⎪⎭ Hˆ 1 ≡ ψ k(0) Hˆ 1 ψ i(0) , Hˆ 1 ≡ ψ i(0) Hˆ 1 ψ n(0) , Hˆ 1 ≡ ψ n(0) Hˆ 1 ψ n(0)

(

เมื่อ {

}ki

{ } { }

{ } { }

)(

) (

{ }in

แบบฝกหัด 9.14 พิจารณา perturbing Hamiltonian Hamiltonian ที่อยูในรูปของ harmonic potential

)

{ }nn

Hˆ 1 = bxˆ 4

ในกรณีของ un-perturbed

pˆ 2 1 Hˆ 0 = + mω 2 xˆ 2 2m 2

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-57

จงคํานวณหา 1st order energy correction term เฉลย:

En(1)

=

3 2b 2 2

4m ω

(1 + 2n + 2n2 )

แบบฝกหัด 9.15 ประมาณ eigen energy ของ Hamiltonian ⎧⎪ −e E x , 0 < x < L V ( x) = ⎨ , elsewhere ⎪⎩ 0

เนื่องจากสนามไฟฟาความเขม

pˆ 2 Hˆ = + V ( x) 2m

เมื่อ

ซึ่งเปนกรณีของ infinite square well ที่มีกนบอเฉียงแบบฟนปลา

E

แบบฝกหัด 9.16 พิจารณา harmonic potential ใน 2 มิติ ˆ2 pˆ x2 1 2 ˆ2 py 1 ˆ + mω x + + mω 2 yˆ 2 จงประมาณ eigen energy ของ Hamiltonian H0 = 2m 2 2m 2 ˆˆ เมื่อ b คือคาคงที่ซึ่ง b 1 Hˆ = Hˆ 0 + 2bxy

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum Mechanics ระดับบัณฑิตศึกษา

9 Time Independent Perturbations

9-58

This page is intentionally left blank

Dr. Teepanis Chachiyo

ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน

teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.