ความเห็นและข้อเสนอแนะ
เรื่อง
การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น ๒-๓ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๑๕ หรือ ตู้ ปณ. ๑๒ ปณฝ. ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๑๕ โทร. ๐-๒๑๔๑-๓๓๓๓ โทรสาร. ๐-๒๑๔๓-๙๗๐๗-๘ E-mail : nesac@nesac.go.th , www.nesac.go.th
“...เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้ถึง แนวทางการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศ ให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์...” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ชื่อหนังสือ
ค วามเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง “การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
พิมพ์ครั้งที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๕ จำ�นวน ๕,๐๐๐ เล่ม ผู้จัดทำ�
คณะทำ�งานวิชาการ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ผู้จัดพิมพ์
สำ�นักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ที่ปรึกษา ภรณี สมพร ชั่งทอง พรทิพย์
ลีนุตพงษ์ เทพสิทธา โอภาสศิริวิทย์ โรจน์ธำ�รงค์
ประธานคณะทำ�งานวิชาการ รองประธานคณะทำ�งานวิชาการ คนที่ ๑ เลขาธิการสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รองเลขาธิการสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญส่ง ไข่เกษ รองประธานคณะทำ�งานวิชาการ คนที่ ๒ บุญยงค์ เวชมณีศรี สมาชิกคณะทำ�งานวิชาการ กองบรรณาธิการ ชวลิต นิ่มละออ รองศาสตราจารย์ ดร.ใยอนงค์ ทิมสุวรรณ ดร.สธญ ภู่คง จรัสโฉม วีระพรวณิชย์กุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แตงอ่อน มั่นใจตน ณัฐนันท์ พงษ์มงคลสาม วริทธิ์ พิพิธพจนการณ์ ทศพนธ์ นรทัศน์ ณัฐนริน พรพงศ์โชติวิทย์ สุภัทรา ชาญวิเศษ รัชนันท์ ลือวรศิริกุล วรรณวิชฎา นาคแดง อคนาท ศรีสุข พิมพ์ที่
โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
ISBN
978-974-01-9903-8
ลิขสิทธิ์ / ติดต่อ
สำ�นักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น ๒-๓ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๑๕ หรือ ตู้ ปณ. ๑๒ ปณฝ. ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๑๕ โทร. ๐-๒๑๔๑-๓๒๓๑ โทรสาร. ๐-๒๑๔๓-๙๗๑๖-๗ E-mail : nesac@nesac.go.th , www.nesac.go.th
คำ�นำ� เนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงเจริญ พระชนมพรรษา ๗ รอบ ในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ สภาที่ปรึกษา เศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ซึ่ ง เป็ น องค์ ก รอื่ น ตามรั ฐ ธรรมนู ญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๕๘ ได้ตระหนักถึง ความสำ � คั ญ ของการเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย นของประเทศไทย ซึ่ ง ประกอบด้วย ๓ เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซี ย น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น และประชาคมสั ง คมและ วั ฒ นธรรมอาเซียน ตามเป้าหมายที่ อ าเซี ย นได้ กำ � หนดไว้ ภายใน ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ จะส่งผลกระทบด้านบวกและด้านลบต่อประเทศไทย เนื่องจาก ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มุ่งหวังที่จะเป็น ประชาคมซึง่ มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสงั คมทีเ่ อือ้ อาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี และมีการพัฒนาในทุกด้าน เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชน และส่ ง เสริ ม การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์ของอาเซียน สำ�หรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะมีผลผูกพันให้ต้อง เปิดเสรีในหลายด้าน ไม่วา่ จะเป็นด้านการค้าสินค้า การค้าบริการ การลงทุน การเคลือ่ นย้ายเงินทุน การเคลือ่ นย้ายแรงงานฝีมอื และการดำ�เนินงาน ตามความร่วมมือรายสาขาอื่นๆ เช่น ความร่วมมือด้านเกษตร อาหาร และป่าไม้ ความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น จากบทบาทและหน้ า ที่ ข องสภาที่ ป รึ ก ษาเศรษฐกิ จ และ สังคมแห่งชาติ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และพระราชบั ญ ญั ติ ส ภาที่ ป รึ ก ษาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ฉบับปี พ.ศ. ๒๕๔๓ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๑๐ ที่ กำ � หนดให้ เ ป็ น องค์ ก รสะท้ อ นปั ญ หาเศรษฐกิ จ และสั ง คม โดยให้ คำ�ปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในปัญหาทีเ่ กีย่ วกับเศรษฐกิจและ สังคม เพื่อประโยชน์ในการดำ�เนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐที่ บัญญัติในหมวด ๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงได้กำ�หนด กรอบในการศึกษาเพียง ๒ เสาหลัก คือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และประชาคมสั ง คมและวั ฒ นธรรมอาเซี ย น (ASCC) หรื อ อาจกล่ า วได้ ว่ า ทำ � การศึ ก ษาเพี ย ง ๒ มิ ติ คื อ มิ ติ ด้ า นเศรษฐกิ จ และมิติด้านสังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนให้ความสำ�คัญกับการเป็น องค์กรสะท้อนปัญหา และความเห็นจากทุกภาคส่วนของสังคมสู่รัฐบาล (Bottom Up) จึ ง ได้ ดำ � เนิ น การจั ด สั ม มนาระดมความคิ ด เห็ น ๔ ภู มิ ภ าค เรื่ อ ง “การเตรี ย มความพร้ อ มของประเทศไทยเข้ า สู่ ประชาคมอาเซี ย น ด้ ว ยปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” ระหว่ า ง วันที่ ๒๗ มีนาคม – ๑๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ และการสัมมนาวิชาการ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เรื่อง “การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เนื่องในโอกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔” ระหว่างวันที่ ๑๖ - ๑๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อรวบรวม ประมวลผล และสังเคราะห์ข้อมูลประกอบการจัดทำ�ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง “การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เสนอต่อคณะรัฐมนตรีต่อไป
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ความสำ�เร็จในการดำ�เนินการจัดทำ�ความเห็นและข้อเสนอแนะ ในเรื่ อ งดั ง กล่ า ว ของสภาที่ ป รึ ก ษาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ต้องขอกราบขอบพระคุณ ฯพณฯ องคมนตรีทุกท่านที่ให้เกียรติมากล่าวเปิด การสัมมนาและปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ ขอขอบพระคุณท่านวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ที่ได้กรุณามา เผยแพร่ความรูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับ “ประชาคมอาเซียน” และท่านผูเ้ ข้าร่วมสัมมนา ทุกคน ซึ่งมาจากผู้แทนภาคราชการ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ทั้งใน เวทีการสัมมนาระดมความคิดเห็น ๔ ภูมิภาค และในเวทีการสัมมนา วิชาการ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้มีส่วนร่วมในการสะท้อนปัญหาด้านต่างๆ และร่วมนำ�เสนอแนวทางการกำ�หนดนโยบายที่สอดคล้องและเหมาะสม กั บ สถานการณ์ ใ นปั จ จุ บั น และในอนาคตของประเทศ ตลอดจน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ และหน่วยงานต่างๆ ที่สนับสนุนข้อมูลและเอกสาร ทางวิ ช าการ ซึ่ ง เป็ น ประโยชน์ ต่ อ การประมวลผล วิ เ คราะห์ และ สั ง เคราะห์ ข้ อ มู ล เพื่ อ จั ด ทำ � ความเห็ น และข้ อ เสนอแนะต่ อ รั ฐ บาล ในการพัฒนาประเทศ ภายใต้การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่ ก ารเตรี ย มความพร้ อ มของประเทศไทยเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล และมีภมู คิ มุ้ กันต่อการเปลีย่ นแปลง สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เมษายน ๒๕๕๕
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สารบัญ
บทสรุปผู้บริหาร
หน้า
ก
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรือ่ ง “การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ๑. ความเป็นมา
๑
๒. วิธีการศึกษาและการดำ�เนินงาน
๔ ๔ ๕
๒.๑ การจัดสัมมนา ๒.๒ การสำ�รวจความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติ และความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมสัมมนา ๒.๓ การศึกษาจากเอกสารและรายงาน
๓. สาระสำ�คัญของเรื่องและข้อวิเคราะห์
๓.๑ สรุปสาระสำ�คัญของประชาคมอาเซียน (ASEAN Community : AC) ๓.๒ สถานการณ์และสภาพปัญหาของการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนของประเทศไทย ๓.๒.๑ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ๑) การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วมกัน ๑.๑) การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี ๑.๒) การเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี ๑.๓) การเคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี ๑.๔) การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ๑.๕) การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี
๖ ๘ ๘ ๑๔ ๑๔ ๑๔ ๑๔ ๒๐ ๒๔ ๒๗ ๓๐
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
๑.๖) การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในสาขานำ�ร่อง ๑.๗) ความร่วมมือด้านอาหาร การเกษตร และป่าไม้ ๒) การมีขดี ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูง ๒.๑) นโยบายการแข่งขัน ๒.๒) การคุ้มครองผู้บริโภค ๒.๓) การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ๒.๔) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ๒.๕) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ๒.๖) พลังงาน ๓) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ๓.๑) การพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Small and Medium Enterprises : SMEs) อย่างเหมาะสมตามความหลากหลาย ของประเทศสมาชิกอาเซียน ๓.๒) การลดช่องว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ๔) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ๓.๒.๒ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) ๑) การพัฒนามนุษย์ ๑.๑) การให้ความสำ�คัญกับการศึกษา ๑.๒) การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ๑.๓) การส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม
หน้า ๓๓ ๓๖ ๓๙ ๓๙ ๔๒ ๔๔ ๔๗ ๕๑ ๕๔ ๕๖ ๕๖ ๕๙ ๖๑ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๗๖ ๘๐
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน้า ๘๔
๑.๔) การส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Information and Communication Technology : ICT) ๑.๕) การอำ�นวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์ ๘๗ และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์ ๑.๖) การเสริมสร้างทักษะในการประกอบการ ๙๒ สำ�หรับสตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และคนพิการ ๑.๗) การพัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ ๙๕ ๒) การคุ้มครองและสวัสดิการ ๙๙ ๒.๑) การขจัดความยากจน ๑๐๐ ๒.๒) เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและ ๑๐๔ ความคุ้มกันจากผลกระทบด้านลบจาก การรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัตน์ ๒.๓) การส่งเสริมความมั่นคงและความปลอดภัย ๑๑๐ ด้านอาหาร ๒.๔) การเข้าถึงการดูแลสุขภาพและส่งเสริม ๑๑๓ การดำ�รงชีวิตที่มีสุขภาวะ ๒.๕) การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ ๑๒๐ ๒.๖) การรับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด ๑๒๓ ๒.๗) การสร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัยพิบัติและ ๑๒๖ ประชาคมที่ปลอดภัยขึ้น ๓) ความยุติธรรมและสิทธิ ๑๓๐ ๓.๑) การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการ ๑๓๑ สำ�หรับสตรี เด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
หน้า ๓.๒) การคุม้ ครองและส่งเสริมสิทธิแรงงานโยกย้ายถิน่ ฐาน ๑๓๖ ๓.๓) การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ ๑๓๙ Corporate Social Responsibility (CSR) ๔) การส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม ๑๔๒ ๔.๑) การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก ๑๔๓ ๔.๒) การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษ ๑๔๕ ทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน ๔.๓) การส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษา ๑๔๙ ด้านสิง่ แวดล้อมและการมีสว่ นร่วมของประชาชน ๔.๔) การส่งเสริมเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๑๕๔ (Environmentally SoundTechnology : EST) ๔.๕) การส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำ�รงชีวติ ๑๕๖ ในเมืองต่างๆ ของอาเซียนและเขตเมือง ๔.๖) การทำ�การประสานกันเรื่องนโยบาย ๑๕๘ ด้านสิ่งแวดล้อมและฐานข้อมูล ๔.๗) การส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝั่ง ๑๖๐ และทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน ๔.๘) การส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ๑๖๓ ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลาย ทางชีวภาพอย่างยั่งยืน ๔.๙) การส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้ำ�จืด ๑๖๘ ๔.๑๐) การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทางสภาพ ๑๗๒ ภูมิอากาศ และการจัดการต่อผลกระทบ
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน้า ๔.๑๑) การส่งเสริมการบริหารจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน ๑๗๕ (Sustainable Forest Management : SFM) ๕) การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน ๑๗๘ ๕.๑) การส่งเสริมและตระหนักรับรู้เกี่ยวกับอาเซียน ๑๘๐ และความรู้สึกของการเป็นประชาคม ๕.๒) การอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรม ๑๙๐ ของอาเซียน ๕.๓) การส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและ ๑๙๖ อุตสาหกรรม ๕.๔) การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน ๑๙๗ ๖) การลดช่องว่างทางการพัฒนา ๒๐๐
๔. ความเห็นและข้อเสนอแนะ ของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
๔.๑ การเตรียมความพร้อมด้านประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ๑) การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่วมกัน ๑.๑) การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี ๑.๒) การเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี ๑.๓) การเคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี ๑.๔) การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ๑.๕) การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี ๑.๖) การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในสาขานำ�ร่อง ๑.๗) ความร่วมมือด้านอาหาร การเกษตร และป่าไม้
๒๐๔ ๒๐๔ ๒๐๕ ๒๐๕ ๒๐๗ ๒๐๘ ๒๑๐ ๒๑๑ ๒๑๓ ๒๑๔
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
๒) การมีขดี ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูง ๒.๑) นโยบายการแข่งขัน ๒.๒) การคุ้มครองผู้บริโภค ๒.๓) การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ๒.๔) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ๒.๕) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ๒.๖) พลังงาน ๓) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ๓.๑) การพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Small and Medium Enterprises : SMEs) อย่างเหมาะสมตามความหลากหลายของประเทศ สมาชิกอาเซียน ๓.๒) การลดช่องว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ๔) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ๔.๒ การเตรียมความพร้อมด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) ๑) การพัฒนามนุษย์ ๑.๑) การให้ความสำ�คัญกับการศึกษา ๑.๒) การลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ๑.๓) การส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม ๑.๔) การส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT)
หน้า ๒๑๖ ๒๑๖ ๒๑๘ ๒๑๙ ๒๒๑ ๒๒๓ ๒๒๔ ๒๒๕ ๒๒๕
๒๒๗
๒๒๘ ๒๓๐ ๒๓๐ ๒๓๐ ๒๓๓ ๒๓๔ ๒๓๕
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หน้า ๒๓๖ ๒๓๗ ๒๓๘ ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๔๑
๑.๕) การอำ�นวยความสะดวกในการเข้าถึงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเชิงประยุกต์ ๑.๖) การเสริมสร้างทักษะในการประกอบการสำ�หรับ สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และคนพิการ ๑.๗) การพัฒนาสมรรถภาพของระบบราชการ ๒) การคุ้มครองและสวัสดิการ ๒.๑) การขจัดความยากจน ๒.๒) เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและ ความคุ้มกันจากผลกระทบด้านลบจาก การรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัตน์ ๒.๓) การส่งเสริมความมั่นคงและความปลอดภัย ๒๔๔ ด้านอาหาร ๒.๔) การเข้าถึงการดูแลสุขภาพและส่งเสริม ๒๔๕ การดำ�รงชีวิตที่มีสุขภาวะ ๒.๕) การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ ๒๕๐ ๒.๖) การรับประกันอาเซียนที่ปลอดยาเสพติด ๒๕๑ ๒.๗) การสร้างรัฐทีพ่ ร้อมรับกับภัยพิบตั แิ ละประชาคม ๒๕๒ ที่ปลอดภัยขึ้น ๓) ความยุติธรรมและสิทธิ ๒๕๔ ๓.๑) การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการ ๒๕๔ สำ�หรับสตรี เด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ ๓.๒) การคุม้ ครองและส่งเสริมสิทธิแรงงานโยกย้ายถิน่ ฐาน ๒๕๕ ๓.๓) การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ ๒๕๖ Corporate Social Responsibility (CSR)
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
หน้า ๔) การส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม ๒๕๘ ๔.๑) การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลก ๒๕๘ ๔.๒) การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษ ๒๕๘ ทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน ๔.๓) การส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการศึกษา ๒๕๙ ด้านสิง่ แวดล้อม และการมีสว่ นร่วมของประชาชน ๔.๔) การส่งเสริมเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๒๖๒ (Environmentally SoundTechnology : EST) ๔.๕) การส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำ�รงชีวิต ๒๖๓ ในเมืองต่างๆ ของอาเซียนและเขตเมือง ๔.๖) การทำ�การประสานกันเรื่องนโยบาย ๒๖๓ ด้านสิ่งแวดล้อม และฐานข้อมูล ๔.๗) การส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝัง่ และทรัพยากร ๒๖๔ ทางทะเลอย่างยั่งยืน ๔.๘) การส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ๒๖๕ ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลาย ทางชีวภาพอย่างยั่งยืน ๔.๙) การส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน�้ำจืด ๒๖๘ ๔.๑๐) การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทาง ๒๖๙ สภาพภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ ๔.๑๑) การส่งเสริมการบริหารจัดการป่าไม้อย่างยัง่ ยืน ๒๗๑ (Sustainable Forest Management : SFM)
24
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๕) การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน ๕.๑) การส่งเสริมและตระหนักรับรู้เกี่ยวกับอาเซียน และความรู้สึกของการเป็นประชาคม ๕.๒) การอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรม ของอาเซียน ๕.๓) การส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมและ อุตสาหกรรม ๕.๔) การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน ๖) การลดช่องว่างทางการพัฒนา ๔.๓ การขับเคลื่อนการเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก
หน้า ๒๗๓ ๒๗๓ ๒๗๗ ๒๘๐ ๒๘๑ ๒๘๒ ๒๘๓
๒๘๙
ภาคผนวก ก สรุปปาฐกถาพิเศษ ภาคผนวก ข รายงานผลการสำ�รวจความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติ และความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมสัมมนา ๔ ภูมิภาค และกรุงเทพมหานคร ภาคผนวก ค รายชื่อคณะทำ�งาน
๓๑๕ ๓๔๑
อภิธานศัพท์
๓๘๘
๓๘๓
บทสรุปผู้บริหาร ความเห็นและข้อเสนอแนะ ของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เรื่อง “การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เสนอต่อนายกรัฐมนตรี
ข
ค
ง
จ
ฉ
ความเห็น และข้อเสนอแนะ เรื่อง “การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
__________________________________
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
289
เอกสารอ้างอิง กัลยา วานิชย์บัญชา. ๒๕๔๐. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย SPSS for Windows. (๘ เมษายน ๒๕๕๔). กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. ๒๕๕๔. ตารางติดตาม ประเด็นดำ�เนินการภายใต้ AEC. (๒๔ มกราคม ๒๕๕๕). กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. ๒๕๕๒. ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน. (๓๑ มกราคม ๒๕๕๔). กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. ๒๕๕๔. ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC Factbook). (ระบบออนไลน์). แหล่ ง ที่ ม า : http://www.dtn.moc.go.th/dtn/files/ aecfactbook.pdf. (๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๔). กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. ๒๕๕๔. ยุทธศาสตร์ AEC (AEC strategy). (ระบบออนไลน์ ) . แหล่ ง ที่ ม า : http://www.thaifta.com/trade/aec/aec_strategy.pdf. (๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๔). กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. ๒๕๕๔. สรุปผล การประชุมคณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ครั้งที่ ๕ วันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๓ ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม. (ระบบออนไลน์). แหล่งทีม่ า : http://www.thaifta.com/thaifta/ Portals/0/aec_5-28oct531.pdf. (๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๔).
290
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. ๒๕๕๑. อาเซียน. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.thaifta.com/ thaifta/Home/tabid/36/ctl/Details/mid/582/ ItemID/4375/Default.aspx. (๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔). กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน. ๒๕๕๔. สรุปมาตรฐาน ฝีมอื แรงงานแห่งชาติ (ความรู้ ทักษะฝีมอื และความสามารถ ทีส่ �ำ คัญ) และอัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมอื รวม ๑๑ สาขา อาชีพ. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dsd.go. th/index.php/2011-06-30-07-55-23. (๖ ตุลาคม ๒๕๕๔). กรมส่ ง เสริ ม การส่ ง ออก กระทรวงพาณิ ช ย์ . ๒๕๕๔. สถานการณ์ ส่ ง ออกประจำ � เดื อ นกรกฎาคม ๒๕๕๔ (ไทย-อาเซี ย น). (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.depthai.go.th/ ข้อมูลการค้าและการส่งออก/ข้อมูลตลาด/ประเด็นร้อนทางการค้า/ อาเซียน/tabid/786/Default.aspx. (๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๔). กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. ๒๕๕๒. บันทึกการเดินทางอาเซียน. (๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔). กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. ๒๕๕๓. มารู้จักอาเซียนกันเถอะ. (๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔).
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
291
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. ๒๕๕๓. ASEAN Mini Book. (๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔). กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ. ๒๕๕๕. กลไกระงับข้อพิพาท ของอาเซียน และกฎสำ�หรับการเสนอเรื่องการไม่ปฏิบัติตาม ให้ทป่ี ระชุมสุดยอดอาเซียนตัดสิน. เอกสารประกอบการสัมมนา (๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕). กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. ๒๕๕๕. ตาราง ความคืบหน้าการดำ�เนินงานภายใต้แผนงานการจัดตัง้ ประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน. (๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕). กระทรวงการต่ า งประเทศ. ๒๕๕๒. ประชาคมอาเซี ย นคื อ อะไร. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.mfa.go.th/ web/1678.php. (๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔). กระทรวงแรงงาน. ๒๕๕๔. ตั ว บทอนุ สั ญ ญาพื้ น ฐานของ ILO. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://tls.labour.go.th/ download/16_2_1.pdf. (๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๔). กระทรวงอุตสาหกรรม. ๒๕๕๔. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โอกาสและผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมไทย : บทวิเคราะห์ โอกาสและผลกระทบต่ อ ภาคอุ ต สาหกรรมไทย จากการ เข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC). (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.industry.go.th/ops/pio/.../ Lists/.../Thai_Industry%20pdf.pdf. (๖ ตุลาคม ๒๕๕๔).
292
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กระทรวงอุตสาหกรรม. ๒๕๕๔. แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๗๔ (National Industrial Development Master Plan). (๖ ตุลาคม ๒๕๕๔). กระทรวงอุตสาหกรรม. ๒๕๕๔. สรุปผลการเสวนา เรื่อง “การเตรียม ความพร้ อ มเพื่ อ เข้ า สู่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น”. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.fleth.co.th/ attachments/624_624.doc. (๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๔). กองบรรณาธิ ก าร หนั ง สื อ พิ ม พ์ เ ดลิ นิ ว ส์ . ๒๕๕๔. บั น ทึ ก วิ ก ฤติ มหาอุทกภัย ๒๕๕๔. (๓๐ มกราคม ๒๕๕๕). กองอาเซีย น ๔ กรมอาเซี ย น กระทรวงการต่า งประเทศ. ๒๕๕๒. แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ค.ศ. 2009 – 2015). (๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔). ขนิษฐา ห้านิรัติศัย. ๒๕๕๔. การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย ด้ า นการศึ ก ษาสู่ ก ารสร้ า งประชาคมอาเซี ย น (เอกสาร ประกอบการบรรยาย). กรุงเทพฯ : สำ�นักความสัมพันธ์ตา่ งประเทศ สำ�นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕). คณะกรรมาธิการการศึกษา วุฒิสภา. ๒๕๕๔. รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่ อ ง “ทิ ศ ทางการศึ ก ษาไทย : สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น พ.ศ. ๒๕๕๘”. กรุงเทพฯ : สำ�นักกรรมาธิการ ๓ สำ�นักงาน เลขาธิการวุฒิสภา. (๓๐ มกราคม ๒๕๕๕).
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
293
คณะทำ�งานวิชาการ. ๒๕๕๔. ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรือ่ ง แนวทาง การปฏิรูปประเทศไทยท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๔). คณะทำ � งานสุ ข ภาพคนไทย. ๒๕๕๔. ความมั่ น คงของชี วิ ต . (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.hiso.or.th/hiso/ picture/reportHealth/ThaiHealth2011/thai2011_7.pdf/. (๓๐ มกราคม ๒๕๕๕). ครรชิต พุทธโกษา. ๒๕๕๔. สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. กรอบประเด็นการวิจัยของประเทศไทยให้พร้อมรับสถานการณ์ การรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. (ระบบออนไลน์). แหล่ ง ที่ ม า : http://www.nrct.go.th/downloads/ sci_adviser/content.pdf. (๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๔). ชู ศ รี วงศ์ รั ต นะ. ๒๕๓๗. เทคนิ ค การใช้ ส ถิ ติ เ พื่ อ การวิ จั ย . (๖ พฤษภาคม ๒๕๕๔). ธนาคารแห่งประเทศไทย. ๒๕๕๔. เครื่องชี้สถานการณ์ด้านแรงงาน (ข้อมูลสถิติปี ๒๕๕๐ – ๒๕๕๓). (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www2.bot.or.th/Statistics/ReportPage.aspx? reportID=111&language=th. (๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๔).
294
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ธนาคารแห่งประเทศไทย. ๒๕๕๔. เงินทุนเคลื่อนย้ายสุทธิภาคเอกชน (ข้อมูลสถิติปี ๒๕๕๐ – ๒๕๕๓) (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www2.bot.or.th/statistics/BOTWEBSTAT.aspx? reportID=64&language=TH. (๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๔). ธานินทร์ ศิลป์จารุ. ๒๕๕๒. การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. (๘ เมษายน ๒๕๕๔). นิ โ ลบล ปางลิ ล าศ. ๒๕๕๔. เคลื่ อ นย้ า ยแรงงานวิ ช าชี พ เข้ า สู่ ตลาดอาเซี ย นอย่ า งเสรี : โอกาสและผลกระทบต่ อ ไทย. สำ�นักงานสารสนเทศและเผยแพร่วิชาการ สถาบันระหว่างประเทศ เพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน). (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.itd.or.th/articles?download= 118%3A2011-09-19-11-29-29. (๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๔). นนทวัฒน์ มะกรูดอินทร์. ๒๕๕๔. “เปรียบเทียบขีดความสามารถ ในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ภายใต้ บ ริ บ ทไทยกลุ่ ม ประเทศ ASEAN. สํ า นั ก งาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่งชาติ (สวทน.). (ระบบออนไลน์). แหล่งทีม่ า : http://www. sti.or.th/th/images/stories/files/ASEANx.pdf. (๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๔).
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
295
นารีณัฐ รุณภัย. ๒๕๕๔. ศักยภาพและการเตรียมความพร้อมของ ภาคเกษตรกรรมไทย สู่ ก ารเข้ า ร่ ว มประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (เอกสารประกอบการบรรยาย). กรุ ง เทพฯ : สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕). ณัฏฐพงศ์ ทองภักดี. ๒๕๕๔. การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กั บ การเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น (เอกสารประกอบ การบรรยาย). กรุ ง เทพฯ : ศู นย์ ศึ ก ษาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. (๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕). ประเวศ วะสี . ๒๕๕๓. แนวคิ ด และแนวทางการทำ � งานของ คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป. กรุงเทพฯ : สำ�นักงานปฏิรูป. (๑๙ มกราคม ๒๕๕๕). ฝ่ายวิจัยธุรกิจ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย. ๒๕๕๔. ไทยกับ AEC ในยุคสมัยแห่งเอเชีย. (ระบบออนไลน์). แหล่งทีม่ า : http://www.dip.go.th/Portals/0/Tipmontha/AEC/ บทความ AEC.pdf. (๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๔). พรเพ็ญ วรสิทธา และคณะ. ๒๕๕๑. โครงการศึกษาวิจัย ข้อเสนอ การดำ � เนิ น การเชิ ง ปฏิ บั ติ เ พื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในเศรษฐกิจโลก. สำ � นั ก งานสภาที่ ป รึ ก ษาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ . (๑๐ มกราคม ๒๕๕๕).
296
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ . ๒๕๕๔. การเตรี ย มความพร้ อ มด้ า นทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ข องไทย สู่ ก ารแข่ ง ขั น เสรี ด้ า นการค้ า และการศึ ก ษาในประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย น. เอกสารประกอบการประชุ ม วิ ช าการ ระดับชาติ ๒๕๕๔. (๑๗ มกราคม ๒๕๕๕). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ๒๕๕๔. รายงาน ฉบั บ สมบู ร ณ์ โ ครงการศึ ก ษาและสำ � รวจความคิ ด เห็ น ใน ประเด็นเชิงนโยบาย หรือชิงสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจหรือ สังคมของสภาที่ปรึกษาฯ. กรุงเทพฯ : สำ�นักงานสภาที่ปรึกษา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๔). เมธี สุ ภ าพงษ์ . ๒๕๕๔. ศั ก ยภาพและการเตรี ย มความพร้ อ ม ด้ า นการลงทุ น และการเคลื่ อ นย้ า ยเงิ น ทุ น ของไทย สู่การเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เอกสารประกอบ การบรรยาย). กรุ ง เทพฯ : ฝ่ า ยเศรษฐกิ จ ในประเทศ สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย. (๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕). เรวั ต วิ ศ รุ ต เวช. ๒๕๕๔. การเตรี ย มความพร้ อ มประเทศไทย ในการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ด้าน Medical Hub Health Tourism การท่องเที่ยวและการกีฬา. เอกสาร รายงานความก้าวหน้าการดำ�เนินการของคณะอนุกรรมการ ด้านสาธารณสุข การท่องเที่ยว การกีฬาและคุณภาพชีวิต. (๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕).
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
297
วรางคณา ก่อเกียรติพิทักษ์, วทัญญู ใจบริสุทธิ์. ๒๕๕๓. ความเป็นไปได้ และข้อจำ�กัดของการสร้างประชาคมเศรษฐกิจเอเชียตะวันออก. (ระบบออนไลน์ ) . แหล่ ง ที่ ม า : http://www.asia.tu. ac.th/journal/EA_Journal52_2/A02.pdf. (๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๔). วิเชียร เกตุสิงห์. ๒๕๓๔. การแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม สำ�เร็จรูป SPSS/PC+. (๘ เมษายน ๒๕๕๔). ศศิพันธุ์ พรรณรายน์. ๒๕๕๔. การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน (เอกสารประกอบการบรรยาย). กรุงเทพฯ : สำ�นักนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ สำ�นักงาน เศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง. (๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕). ศรีรัตน์ รัษฐปานะ. ๒๕๕๔. การเตรียมความพร้อมของไทย สู่การเข้าร่วม ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เอกสารประกอบการบรรยาย). กรุงเทพฯ : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. (๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕). ศูนย์ขอ้ มูลการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. ๒๕๕๔. สรุปการค้าระหว่างประเทศของไทย กับประเทศคู่ค้าสำ�คัญ. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http:// www.dtn.go.th/vtl_upload_file//1322111037453/ TRADE_1054.htm#L03. (๗ ตุลาคม ๒๕๕๔).
298
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำ�นักปลัดกระทรวงพาณิชย์. ๒๕๕๔. ข้ อ มู ล สรุ ป การค้ า ระหว่ า งประเทศ ของไทยกั บ อาเซียน. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.ops3. moc.go.th/menucomth/trade_sum/report.asp. (๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๔). ศูนยฺ์วิจัยกสิกรไทย. ๒๕๕๔. AEC: ตลาดและฐานการผลิตเดียว… โอกาสและผลกระทบของธุรกิจ SMEs ไทย. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://business.vayoclub.com/index.php/ topic,10614. msg15819.html ?PHPSESSID=518563289 63c444f41898e3dc70fe265#msg15819. (๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๔). ศิริรุจ จุลกะรัตน์. ๒๕๕๔. ศักยภาพและการเตรียมความพร้อมของ ภาคอุตสาหกรรม สู่การเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เอกสารประกอบการบรรยาย). กรุงเทพฯ : สำ�นักเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมระหว่างประเทศ สำ�นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕). สิงหเดช ชูอำ�นาจ. ๒๕๕๔. ศักยภาพและการเตรียมความพร้อมของ ภาคแรงงานและการผลิตของไทย สู่การเข้าร่วมประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย น (เอกสารประกอบการบรรยาย). สำ�นักประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ กระทรวงแรงงาน. (๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕).
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
299
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. ๒๕๔๐. เทคนิคการวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัว สำ�หรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์ : หลักการ วิธีการและการประยุกต์. (๘ เมษายน ๒๕๕๔). สุ ร เกี ย รติ์ เสถี ย รไทย. ๒๕๕๔. “มุ ม มองเรื่ อ งการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น Sustainable Development” นิตยสารสถาบันระหว่าง ประเทศเพื่ อ การค้ า และการพั ฒ นา (องค์ ก ารมหาชน). (๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕). สำ � นั ก งานคณะกรรมการข้ า ราชการพลเรื อ น. ๒๕๔๙. เครื อ ข่ า ย การบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คลในต่ า งประเทศ (ASEAN Resource Center : ARC). (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.ocsc.go.th/ocsccms/frontweb/view. jsp?categoryID=CAT0002323/. (๓๐ มกราคม ๒๕๕๕). สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ๒๕๕๓. การประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง. (๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔). สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ๒๕๕๓. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. (๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔). สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ๒๕๕๓. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙). (๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๔).
300
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำ � ริ . ๒๕๕๐. แนวคิ ด และทฤษฎี ก ารพั ฒ นา อันเนือ่ งมาจาก พระราชดำ�ริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั . (๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕). สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. ๒๕๕๔. ซอฟต์แวร์พาร์ค ผลักดันไอทีไทยเตรียมพร้อมเดินหน้าสู่ AEC 2015 ในงาน Software Park Annual Conference 2011 (ระบบออนไลน์). แหล่ ง ที่ ม า : http://www.nstda.or.th/pr/?p=724 (๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๔). สำ � นั ก เลขาธิ ก ารคณะรั ฐ มนตรี . ๒๕๕๔. คำ � แถลงนโยบายของ คณะรัฐมนตรี นางสาวยิ่ง ลักษณ์ ชิ น วั ตรนายกรั ฐ มนตรี แถลงต่อรัฐสภา (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http:// www. cabinet.thaigov.go.th/acrobat/history_60.pdf (๒๘ มกราคม ๒๕๕๕). สถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต ๒๕๕๔. “ถนนสู่ AEC เพือ่ SMEs ไทย” ภายใต้โครงการกิจกรรมเสริมสร้าง ความแข็ ง แกร่ ง ให้ SMEs ภาคการผลิ ต เพื่ อ รั บ การเข้ า สู่ ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economic Community : AEC). (ระบบออนไลน์ ) . แหล่ ง ที่ ม า : http://www.smi.or.th/data/data_detail.asp?id=54. (๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๔).
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
301
สภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ๒๕๕๒. “ปฏิรปู สังคมไทยให้ เข้ ม แข็ ง ได้ อ ย่ า งไร”. เอกสารประกอบการสั ม นาวิ ช าการ ประจำ�ปี ๒๕๕๒ (๑๙ มกราคม ๒๕๕๕). สภาที่ ป รึ ก ษาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ . ๒๕๕๔. สรุ ป ผล การสั ม มนาระดมความคิ ด เห็ น ๔ ภู มิ ภ าค การเตรี ย ม ความพร้ อ มของประเทศไทยเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิ ม พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธั น วาคม ๒๕๕๔. เอกสารประกอบการสั ม มนาวิ ช าการ ประจำ � ปี ๒๕๕๔. (๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔). สภาที่ ป รึ ก ษาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ . ๒๕๕๔. การเตรี ย ม ความพร้ อ มของประเทศไทยเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น ด้ ว ยปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิ ม พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธั น วาคม ๒๕๕๔. เอกสารประกอบการสั ม มนาวิ ช าการประจำ � ปี ๒๕๕๔. (๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔)
302
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล. ๒๕๕๔. แผนยุทธศาสตร์ชาติเพื่อพัฒนา ประเทศไทยก่อนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี ค.ศ. 2015. (ระบบออนไลน์). แหล่งทีม่ า : http://elib3.ect.go.th/Multim/ Aped/Aped01_62.pdf. (๗ ตุลาคม ๒๕๕๔). สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย. ๒๕๕๔. ข้อมูล AEC กลุม่ สมาชิก อาเซี ย น. (ระบบออนไลน์ ) . แหล่ ง ที่ ม า : http://www. thaigarment.org/aec.html. (๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๔). สำ�นักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สำ�นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๕๔. การศึกษา : การสร้างประชาคมอาเซียน ๒๕๕๘. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.bic.moe.go.th/ th/index.php?option=comcontent&view=article&id= 60 :an-introduction-to-education-in-thailand& catid=39:2009-05-18-06-36-46. (๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๔). สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ. ๒๕๕๔. แผนแม่บทเตรียมความพร้อมรองรับ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของสำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.police8.com/ home/file/bb2.pdf. (๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๔). สำ�นักเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ. ๒๕๕๔. ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC). (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.oie.go.th/ cooperation/AEC.doc. (๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๔).
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
303
อกนิษฐ์ รอดประเสริฐ. ๒๕๕๓. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC). สำ�นักงานยุทธศาสตร์ การพาณิชย์. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www. thaifta.com. (๗ ตุลาคม ๒๕๕๔). อภิ ญ ญา เลื่ อ นฉวี . ๒๕๕๔. เคลื่ อ นย้ า ยแรงงานเสรี ใ นอาเซี ย น : ผลกระทบอย่างไรต่อไทย. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.kpi.ac.th/kpith/pdf/เคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ในอาเซียน : ผลกระทบอย่างไรต่อไทย.pdf. (๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๔). อัทธ์ พิศาลวานิช และคณะ. ๒๕๕๓. การศึกษาเรื่อง “อีก ๗ ปี ชนะหรือแพ้ภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC)” มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://dataverse.dvn.utcc. ac.th/dvn/FileDownload/?fileId=1567019&vdcId=22&xff=0. (๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๔). เอกชั ย ศรี วิ ล าส. ๒๕๕๕. การบรรยายพิ เ ศษ เรื่ อ ง “วิ สั ย ทั ศ น์ และยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคมของประเทศไทยใน ๒ ทศวรรษหน้า (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๗๕)”. สภาที่ปรึกษา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕).
304
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ASTV ผูจ้ ดั การรายวัน. ๒๕๕๓. ไอทีดี เตรียมเสนอ อภิสทิ ธิ์ ดันคลัสเตอร์ วี ซ่ า อาเซี ย นท่ อ งเที่ ย ว (ระบบออนไลน์ ) . แหล่ ง ที่ ม า : http://www.facebook.com/note.php?note_id. (๗ ธันวาคม ๒๕๕๔). ASEAN Secretariat. 2006. ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution .(online). Availiable: http://www. aseansec.org/8914.htm/. (Accessed October 12, 2011) Santi Sathipphong. 2011. “New Trade Lane” Logistics TIME. (Accessed December 2011.) Surakiart Sathirathai. 2010. “Buddhism and Sustainable Development: The Science of Sufficing and M o d e r a t e L i v i n g ” S I FA F N e w s l e t t e r . (Accessed October-December 2010). Young, Stephen. (2010). Gini Coefficient. [Online]. Available: http://www.nationmultimedia.com/home/2010/04/ 21/opinion/Gini Coefficient-30127515.html/. (Access February 12, 2011).
ภาคเหนื อ จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม่
ภาคเหนื อ จั ง ห วั ด เ ชี ย ง ใ ห ม่
ภาคใต้ จั ง ห วั ด ต รั ง
ภาคใต้ จั ง ห วั ด ต รั ง
ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ จั ง ห วั ด ข อ น แ ก่ น
ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ จั ง ห วั ด ข อ น แ ก่ น
ภาคกลาง จั ง ห วั ด ช ล บุ รี
ภาคกลาง จั ง ห วั ด ช ล บุ รี
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก สรุปปาฐกถาพิเศษ การสัมมนาวิชาการประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เรื่อง “การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔” วันเสาร์ที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพมหานคร
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
317
สรุปคำ�กล่าวเปิดการสัมมนา และปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดย ฯพณฯ พลอากาศเอก กำ�ธน สินธวานนท์ องคมนตรี ท่านรองนายกรัฐมนตรี ท่านประธาน ท่านรองประธาน และ ท่านสมาชิกสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วิทยากรผูท้ รงคุณวุฒิ และผู้ มี เ กี ย รติ ที่ เข้ า ร่ ว มสั ม มนาทุ ก ท่ า นในวั น นี้ ผมรู้ สึ ก ยิ น ดี และ ขอขอบคุณ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ให้เกียรติ ผมเป็นประธานกล่าวเปิดการสัมมนาวิชาการ ประจำ�ปี พ.ศ.๒๕๕๔ เรือ่ ง “การเตรีย มความพร้อมของประเทศไทยเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔” ในวันนี้ และทีส่ �ำ คัญต้องขอขอบคุณผูเ้ ข้าร่วมสัมมนา ทุกท่านทีก่ รุณาสละเวลาอันมีคา่ และให้เกียรติเข้าร่วมสัมมนากับสภาทีป่ รึกษา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพือ่ ระดมความคิดเห็น และให้ขอ้ เสนอแนะ ในด้านต่างๆ ซึง่ จะเป็นประโยชน์ตอ่ การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดสัมมนาวิชาการ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ของสภาทีป่ รึกษาฯ ครัง้ นี้ นอกจากจะเป็นการร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๘๔ พรรษา ในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ แล้ว ยังมีสว่ นสนับสนุนภารกิจ
318
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และหน้ า ที่ข องสภาที่ป รึ ก ษาฯ ในฐานะองค์ ก รอื่น ตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๕๘ ทีใ่ ห้ความสำ�คัญกับ “การเป็ น องค์ ก รสะท้ อ นปั ญ หา ความเห็ น และข้ อ เสนอแนะจาก ภาคประชาชนสูร่ ฐั บาล” ในรูปแบบจากข้างล่างสูข่ า้ งบน (Bottom Up) โดยการรวบรวม ประมวลผล และสังเคราะห์ข้อมูลประกอบการจัดทำ� ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรือ่ ง “การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เสนอ คณะรัฐมนตรีต่อไป การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป็นเรือ่ งทีม่ คี วามสำ�คัญต่อการกำ�หนดทิศทางและแนวทางการดำ�เนินงาน ของประเทศไทย ในอีก ๔ ปีขา้ งหน้า ดังนัน้ จะต้องระดม “พลังความคิด พลังความร่วมมือ และการบูรณาการจากทุกภาคส่วน” ทัง้ จาก ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานจากภาครัฐ หน่วยงานจากภาคเอกชน สถาบันการศึกษา กลุ่มองค์กรเครือข่าย ภาคประชาชน ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดใหญ่ ผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) นักวิชาการ และสื่อมวลชน ซึ่งสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จะเป็นเวทีและกลไกหนึ่ง ของสังคม ที่จะช่วยส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคลื่อนร่วมกับภาคส่วน ต่างๆ ให้ประเทศไทยสามารถเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ภายใต้การน้อมนำ�แนวคิด “เศรษฐกิจพอเพียง” ซึง่ เป็นปรัชญาทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชดำ�รัส ชีแ้ นะ แนวทางการดำ�เนินชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๓๐ ปี แล้ว
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
319
ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งสามารถ ประยุกต์ใช้ได้ ตั้งแต่ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม ระดับประเทศ หรือระหว่างประเทศ เพื่อความยั่งยืนของการพัฒนาประเทศ ภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์ และมีความมั่นคงในสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง ต่างๆ ของโลกอย่างรอบด้าน “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อให้ ชีวิตดำ�เนินไปในทางสายกลางที่สอดคล้องเหมาะสมกับวิถีความเป็นอยู่ ของคนไทย ซึ่ ง สามารถนำ � มาประยุ ก ต์ ใช้ กั บ ประชาชนทุ ก ระดั บ ทั้ ง ระดั บ บุ ค คล ครอบครั ว ชุ ม ชน องค์ ก ร และระดั บ ประเทศได้ โดยจะต้องมีความพอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกัน ซึ่งในการ ดำ�เนินการต่างๆ นั้น จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และ ความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำ�วิชาการต่างๆ มาประยุกต์ใช้ เช่น การวางแผนการใช้จ่ายของครอบครัว ในระยะยาว ตลอดจน ให้มีกลไก ในการดำ�เนินการ และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจ ของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักวิชาการ และนักธุรกิจ ในทุกระดับ ให้มีคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต และให้มีความรอบรู้ ที่เหมาะสมในการดำ�เนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ จึงจะทำ�ให้การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลอย่างแท้จริง ดังนัน้ การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน จึงมีความจำ�เป็นต้องรูจ้ กั และเรียนรู้ ทัง้ ในด้านการค้าขาย และวัฒนธรรม ของประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ ประกอบด้วย
320
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สำ�หรับการจัดสัมมนา ในครั้งนี้ จะบรรลุความสำ�เร็จได้ นั้น ก็ดว้ ยความร่วมมือจากทุกท่านในทีน่ ้ี จึงขอให้ผมู้ เี กียรติทกุ ท่าน โปรดระดม ความคิดเห็นจากฐานองค์ความรู้ และประสบการณ์ เพื่อร่วมนำ�เสนอ ความเห็นและข้อเสนอแนะต่อสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้อย่างเต็มที่ สุดท้ายนี้ ขอให้การจัดสัมมนาวิชาการ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ของสภาที่ ป รึ ก ษาฯ ครั้ ง นี้ บรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ และเป้ า หมาย ตามเจตนารมณ์ทุกประการ และขออำ�นาจคุณพระศรีรัตนตรัย และ สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ง้ั หลาย ทีม่ อี ยูใ่ นสากลโลก จงดลบันดาลให้ผมู้ เี กียรติทกุ ท่าน ซึ่งมุ่งหวังและปรารถนาดีต่อประเทศชาติ ที่เข้าร่วมสัมมนาในครั้งนี้ จงประสบแต่ความสุข ความเจริญ ความสำ�เร็จในชีวิต ด้วยอายุ วรรณะ สุข พละ และปลอดภัยตลอดไป บัดนี้ ได้เวลาอันสมควรแล้ว ผมขอเปิดการสัมมนาวิชาการ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เรือ่ ง “การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔” ณ บัดนี้ ขอขอบคุณ
*********************************
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
321
สรุปปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “แนวทางการเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน” โดย นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ กราบเรียน ฯพณฯ องคมนตรี (พลอากาศเอก กำ�ธน สินธวานนท์) เรี ย นท่ า นศาสตราจารย์ ดร.สุ ร เกี ย รติ เสถี ย รไทย ท่ า นประธาน ท่านรองประธาน และท่านสมาชิกสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตลอดจนท่านวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ และท่านผู้มีเกียรติที่เข้าร่วมสัมมนา วิชาการที่เคารพทุกท่าน ผมในฐานะที่ได้รับมอบหมายจากท่านนายก รัฐมนตรี (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) ขอนำ�เรียนความปรารถนาดีและ ชืน่ ชมต่อสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทีไ่ ด้ทมุ่ เทการทำ�งาน ให้กับประเทศชาติ ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน และต้องขอขอบคุณ สภาที่ปรึกษาฯ ที่ให้เกียรติและเรียนเชิญให้มากล่าวปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “แนวทางการเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน” ในเวทีการสัมมนาวิชาการ ประจำ�ปี พ.ศ.๒๕๕๔ ในวันนี้ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ หรืออีกเพียงประมาณ ๓ ปี กลุ่มประเทศ สมาชิกอาเซียน ทั้ง ๑๐ ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว เวียดนาม พม่า และกัมพูชา ทีม่ กี ารพัฒนา ความสัมพันธ์กันมาอย่างต่อเนื่อง จะเข้าสู่ระดับความร่วมมือที่สูงขึ้น คือ การเป็น “ประชาคมอาเซียน” ซึง่ ผูน้ �ำ อาเซียนได้มกี ารลงนามในปฏิญญา ว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ ๒ (Bali Concord II) และ
322
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในปฏิญญาเซบูว่าด้วยการเร่งรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ (Cebu Declaration on the Acceleration of the Establishment of an ASEAN Community By 2015) ทำ�ให้เป้าหมาย การจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) เร็วขึ้นอีก ๕ ปี จากเดิมที่กำ�หนดไว้ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ และที่สำ�คัญได้มีการประกาศใช้ กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวางกรอบ ทางกฎหมาย และโครงสร้างองค์กรของสมาคม และเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ของอาเซียน ในการดำ�เนินการตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย เพือ่ รองรับ การเป็นประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย ๓ เสาหลัก คือ ๑) ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ๒) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ๓) ประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน ซึ่งมีความหมายสรุปโดยย่อได้ว่า ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น มี เ ป้ า หมายเพื่ อ เสริ ม สร้ า ง ความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจ และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของ อาเซียนในตลาดโลก ด้วยองค์ประกอบ ๔ ประการ คือ การเป็นตลาดและ ฐานการผลิตเดียว การเสริมสร้างให้อาเซียนเป็นภูมภิ าคทีม่ คี วามสามารถ ในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน และการบูรณาการ เข้ากับเศรษฐกิจโลก โดยมีการใช้เครื่องมือสำ�คัญ อาทิ การเปิดเสรี การค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน การลดช่องว่างการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ และการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) เป็นต้น ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มีเป้าหมายให้อาเซียน เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรมีสภาพความเป็นอยูท่ ด่ี ี และมีการพัฒนาในทุกด้าน เพือ่ ยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
323
ระมัดระวังเพื่อความยั่งยืน ประกอบด้วย ความร่วมมือใน ๖ ด้าน ได้แก่ การพัฒนามนุษย์ การคุม้ ครองและสวัสดิการสังคม สิทธิและความยุตธิ รรม ทางสังคม ส่งเสริมความยัง่ ยืนด้านสิง่ แวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน และการลดช่องว่างทางการพัฒนา ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน จะช่วยเสริมสร้าง สันติภาพและความมีเสถียรภาพทางการเมืองของภูมิภาค ทั้งสามเรื่องดังกล่าว มีความเกี่ยวข้องกับชีวิตความเป็นอยู่ของ ผูค้ นในสังคมในเกือบทุกมิติ ทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สาธารณสุข การศึกษา วัฒนธรรม แรงงาน สวัสดิการ สังคม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม การป้องกันภัยพิบัติ โดยประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศมีข้อผูกพันที่จะต้องดำ�เนินการ ในแต่ ล ะเรื่ อ งที่ เ ป็ น ส่ ว นประกอบของแต่ ล ะเสาหลั ก ให้ เ ป็ น ไปตาม แผนการดำ�เนินงานที่ร่วมกันกำ�หนดไว้ ทั้งนี้ การดำ�เนินการของไทยในส่วนนี้จะเป็นความรับผิดชอบ ของหน่ ว ยงานภาครั ฐ โดยในเรื่ อ งประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น มีกระทรวงพาณิชย์เป็นหน่วยงานหลัก สำ�หรับเรื่องประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน และประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน มีกระทรวงการต่างประเทศเป็นหน่วยงานหลักในการทำ�งานร่วมกับหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน โดยมีข้อผูกพันซึ่งทำ�ให้ต้องเปิดเสรีในหลายๆ ด้าน เช่น การค้าสินค้า การค้าบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายเงินทุน การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือ และการดำ�เนินงานตามความร่วมมือ รายสาขาอื่ น ๆ เช่ น ความร่ ว มมื อ ด้ า นเกษตร อาหาร และป่ า ไม้ ความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น
324
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การจั ด ตั้ ง ประชาคมอาเซี ย น จะทำ � ให้ ป ระเทศไทยได้ รั บ ทั้งประโยชน์ และอาจก่อให้เกิดปัญหาและผลกระทบจากการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ในหลายประการ ดังต่อไปนี้ ประโยชน์ต่อประเทศไทย ๑) ลดปั ญ หาความยากจน รั ก ษาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิง่ แวดล้อม และพัฒนาสุขภาพได้ตามเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ การศึกษาเพื่อปวงชน และการพัฒนาการศึกษาอย่างยั่งยืน ๒) รั ก ษาตลาดและเพิ่ ม โอกาสในการส่ ง ออกสิ น ค้ า ไทยสู่ ตลาดอาเซียนและตลาดโลก เนื่องจากตลาดอาเซียนที่มีขนาดใหญ่และ ไม่มีภาษีหรือภาษีลดลง การมีแหล่งนำ�เข้าวัตถุดิบที่หลากหลาย และ ราคาถูกกว่าในประเทศ เป็นต้น ๓) รักษาและเสริมสร้างโอกาสในการดึงดูดการลงทุน และ เทคโนโลยีจากต่างประเทศ รวมทั้งนักลงทุนไทยสามารถเคลื่อนย้าย การลงทุนไปยังประเทศสมาชิกอาเซียนได้อย่างคล่องตัวขึน้ และสามารถ แสวงหาแหล่งลงทุนที่เหมาะสม ทั้งในด้านวัตถุดิบ และแรงงาน ๔) สามารถส่งออกแรงงานคุณภาพ ควบคู่ไปกับการแสวงหา แรงงานคุณภาพในสาขาที่ขาดแคลนมาใช้ เพื่อการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ปัญหาและผลกระทบต่อประเทศไทย ๑) สินค้าของประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถเข้าสู่ตลาดไทย ได้โดยง่าย ทำ�ให้มีการแข่งขันสูงขึ้น
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
325
๒) อาจจะเป็นการเปิดโอกาสให้มกี ารเข้ามาลงทุนของนักธุรกิจ ทีม่ คี วามเข้มแข็งจากต่างชาติมากขึน้ รวมทัง้ เข้ามาใช้ประโยชน์จากโครงสร้าง พื้นฐานของประเทศที่ยังมีข้อจำ�กัดได้ เช่น ชลประทาน การพัฒนาทีด่ นิ การส่งเสริมการเกษตร การอุดหนุนผลผลิตทางการเกษตร รวมถึงการวิจยั ในสาขาต่างๆ ซึง่ อาจสร้างผลกระทบต่อความมัน่ คงทางอาหารของประเทศ ๓) เกษตรกรไทยบางสาขาอาจได้รบั ผลกระทบด้านราคาสินค้าตกต�ำ่ เมือ่ มีการน�ำเข้าสินค้าราคาถูกจากประเทศสมาชิกอาเซียน อีก ๙ ประเทศ ๔) ผู้ประกอบการ โดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ที่มีประสิทธิภาพในการผลิตต�่ำ อาจไม่สามารถแข่งขันกับ ต่างประเทศได้ ๕) การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือได้อย่างเสรี อาจทำ�ให้เกิด การเคลือ่ นย้ายแรงงานมีฝมี อื ของไทยไปยังประเทศทีพ่ ร้อมให้คา่ ตอบแทน ทีส่ ูงกว่า ดังนัน้ รัฐบาลได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการเข้าสูป่ ระชาคม อาเซียนของประเทศไทย จึงได้กำ�หนดนโยบายการต่างประเทศและ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ เพือ่ นำ�ไปใช้เป็นแนวทางการเตรียมความพร้อม ของประเทศไทยเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น โดยส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน ตลอดจนสร้างความสามัคคีและ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียน เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ในการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน และส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศอืน่ ๆ ในอาเซียน ภายใต้กรอบความร่วมมือด้านต่างๆ และเตรียมความพร้อม ของทุกภาคส่วนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ทั้งใน ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม และด้านการเมืองและความมัน่ คง
326
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รั ฐ บาลตระหนั ก ดี ถึ ง ความสำ � คั ญ ของการรวมตั ว กั น เป็ น ประชาคมอาเซียน โดยหน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐที่มีบทบาทหน้าที่ เกี่ยวข้อง จึงได้เร่งการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม และด้านการเมืองและความมัน่ คง ทัง้ นี้ ก็เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดในทุกๆ ด้าน รวมทัง้ ได้ด�ำ เนินการอย่าง เต็มความสามารถในการบรรเทาผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ อาทิ การดำ�เนินกิจกรรม เพือ่ สร้างเสริมความรู้ และความตระหนัก เรือ่ ง การเปิดเสรีทางการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน โดยจะต้องร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อ การเตรียมความพร้อมในการปรับตัวรองรับการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ แนวทางการเตรี ย มความพร้ อ มของประเทศไทยเข้ า สู่ ประชาคมอาเซียน ก็คือ การที่เราจะต้อง “รู้- รับ- ปรับตัว-รุก” รู้ หมายถึง ตระหนัก รู้ถึงความเป็นไป และสิ่งที่จะเกิดขึ้นของ ความเป็นประชาคมอาเซียน รับ หมายถึง การยอมรับว่า การเป็นประชาคมอาเซียนจะเข้ามา มีส่วนเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเรา อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ปรับตัว หมายถึง การที่เราจะต้องมีการพัฒนา ปรับปรุง เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพ ความเข้มแข็ง และความสามารถในการแข่งขันให้กับ ทรัพยากรของประเทศ ไม่ว่าจะเป็น ด้านทรัพยากรมนุษย์ ด้านทุน และ ด้านเทคโนโลยี ควบคู่ไปกับการมองหาโอกาสในการใช้ประโยชน์จาก การเชื่อมโยงของภูมิภาค รุ ก หมายถึ ง การเตรี ย มที่ จ ะดำ � เนิ น การขยายธุ ร กิ จ เช่ น การตัง้ โรงงาน หรือสำ�นักงาน ในประเทศสมาชิกอาเซียน หรือความพร้อม ด้ า นการตลาดในการจำ � หน่ า ยสิ น ค้ า และบริ ก าร ทั้ ง ทางตรง หรื อ ผ่านคู่ค้า/หุ้นส่วนกับประเทศสมาชิกอาเซียน
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
327
เราจะต้องพัฒนาประเทศให้มีความเข้มแข็ง โดยทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจะต้องเข้ามามีส่วนร่วม จะต้องมีการเตรียม บุคลากรรุ่นใหม่ในสถาบันการศึกษาที่จะเติบโตมาในยุคของความเป็น ประชาคมอาเซียน ปรับปรุงและพัฒนาในสิง่ ทีย่ งั มีความอ่อนแอ เพิม่ พูน ศักยภาพของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นด้านบุคคลากร โครงสร้าง พื้ น ฐาน การใช้ ป ระโยชน์ จ ากการเชื่ อ มโยงระหว่ า งอาเซี ย นไปยั ง ประเทศทีส่ าม ทีส่ �ำ คัญ คือ ต้องมองไปในระยะยาวให้ไกลกว่าปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เนื่องจากปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นเพียงปีแห่งการเริ่มต้น สุดท้ายนี้ ขอให้ผู้มีเกียรติที่เข้าร่วมสัมมนา ผู้ประกอบการ และ ประชาชนทุกท่าน มีความมั่นใจว่า รัฐบาลและหน่วยงานต่างๆ ของ ภาครัฐที่มีบทบาทหน้าที่เกี่ยวข้อง ให้ความสำ�คัญกับภารกิจดังกล่าว เป็นอย่างยิง่ และขอให้มนั่ ใจต่อนโยบายของรัฐบาลซึง่ ได้แถลงต่อรัฐสภา เพราะจะช่วยปรับสมดุลประเทศไทยให้มกี �ำ ลังซือ้ ภายในประเทศมากขึน้ โดยไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นผู้บริโภคให้กลายเป็นผู้บริโภคนิยม เหมื อ นดั ง เช่ น หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งที่ จ ะช่ ว ยดู แ ลให้ ประชาชนสามารถปรับตนเองสู่ความพอดี ดังนั้น นโยบายการดำ�เนินงานสำ�หรับประชาชนผู้มีรายได้น้อย คือ ทำ�ให้มีรายได้สูงขึ้นอย่างสอดคล้องกับผลิตภาพและผลิตผลของ ประชาชนอย่างทัว่ ถึง มีความพอเพียง มีคณ ุ ภาพเป็นทรัพยากรบุคคลทีม่ ี ความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้เป็นอย่างดี *************************************
328
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สรุปปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ประชาคมอาเซียน” โดย ศาสตราจารย์ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศ กราบเรียน ฯพณฯ องคมนตรี (พลอากาศเอก กำ�ธน สินธวานนท์) เรียนท่านรองนายกรัฐมนตรี (นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง) ท่านประธาน ท่านรองประธาน ท่านสมาชิก และท่านเลขาธิการสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ตลอดจนท่านวิทยากรผูท้ รงคุณวุฒิ และท่านผูม้ เี กียรติ ที่เคารพทุกท่าน ในระยะเวลา ๔๐ กว่าปีที่ผ่านมา อาเซียนได้มีความร่วมมือกัน ในด้านต่างๆ โดยเริม่ มีการเจรจาให้เปิดเขตการค้าเสรีดา้ นบริการ ทีเ่ รียกว่า Trade Service และมีวิสัยทัศน์ ปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ. ๒๕๖๓) ตลอดจน มีการตกลงกันเปิดเขตการค้าเสรีในอาเซียน ทีเ่ รียกว่า AFTA อย่างไรก็ตาม ความร่วมมือต่างๆ ก็ยงั เป็นความร่วมมือแบบหลวมๆ เพราะมีบางประเทศ ไม่ได้ปฏิบัติตามพันธกรณี นอกจากนี้ ยังเป็นเพียงความร่วมมือทางด้าน เศรษฐกิจเท่านัน้ ยังขาดมิตขิ องความร่วมมือทางด้านสังคมและประชาชน รวมทั้ง ความร่วมมือด้านระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ๑๐ ประเทศ เนื่องจากการตอบสนองต่อประเด็นสำ�คัญทางการเมืองและเศรษฐกิจ ทำ�ได้ยาก เพราะแต่ละประเทศก็มีอธิปไตยของตนเอง จึงทำ�ให้ต้องยึด หลักความมัน่ คง และไม่เข้าไปแทรกแซงในกิจการภายในของประเทศอืน่ แต่ภายหลังจากเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงิน ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ประเทศใน ทวีปต่างๆ ของโลก ได้ให้ความสนใจอาเซียนลดลง ทำ�ให้อาเซียนเริม่ หลุด
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
329
ออกไปจาก “Radar Screen” คือ หลุดออกไปจากความสนใจของโลก โดยเฉพาะประเทศในทวีปยุโรป ก็ได้ลดความสนใจอาเซียนลง ดังจะเห็นได้จาก ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ขณะที่ผมดำ�รงตำ�แหน่งรัฐมนตรี ได้มีการจัดประชุม ความร่วมมือระหว่างเอเชียกับยุโรป จำ�นวน ๒ ครั้ง ซึ่งยุโรปได้เป็น เจ้าภาพหนึ่งครั้ง ณ กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก (Czech Republic) สำ�หรับเอเชียก็เป็นเจ้าภาพอีกครั้งหนึ่ง โดยประเทศต่างๆ ในเอเชีย เช่น จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ให้ความสำ�คัญกับการประชุมดังกล่าว จึงได้ส่ง รัฐมนตรีเป็นผู้แทนเดินทางเข้าร่วมประชุมถึงยุโรป ในขณะที่ ประเทศ ต่างๆ ในยุโรป กลับส่งผู้แทนซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งระดับรัฐมนตรีเข้าร่วม ประชุมไม่ถึงครึ่ง ภายหลังจากเหตุการณ์ ๙๑๑ ที่มีเครื่องบินชน World Trade Tower ถล่มเสียหาย ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ก็ได้มีการประชุม ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) เมือ่ ปลายปี พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยประเทศมหาอำ�นาจ ทางเศรษฐกิจ ขอให้ทุกประเทศช่วยเร่งพัฒนาและกระตุ้นเศรษฐกิจ ภายในประเทศของตนเอง (Domestic Economy) และทำ�การค้าขาย ระหว่างกันให้มากขึ้น โดยเอเปค มีทั้งหมด ๒๑ เขตเศรษฐกิจ กว้างกว่า อาเซียนที่มีเพียง ๑๐ เขตเศรษฐกิจ รวมทั้งมีข้อตกลงร่วมกันว่า จะเปิด เขตการค้าเสรีระหว่างกันให้เร็วขึ้น จากปี ค.ศ. 2020 เป็นปี ค.ศ. 2010 สำ�หรับประเทศพัฒนาแล้ว ในขณะทีป่ ระเทศกำ�ลังพัฒนา ซึง่ เป็นสมาชิก เอเปกก็ผ่อนปรนให้ จากปี ค.ศ. 2020 เป็นปี ค.ศ. 2015 ดังนั้น ประเทศ สมาชิกอาเซียนจะอยู่เฉยไม่ได้ เพราะความสนใจของโลกต่ออาเซียน มีแนวโน้มหลุดออกไปจากความสนใจของประเทศต่างๆ ที่สำ�คัญในโลก เนื่องจาก มีความตื่นตระหนกและวิตกกังวลต่อภัยจากการก่อการร้าย
330
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ส่งผลทำ�ให้ประเทศสมาชิกอาเซียนต้องพึง่ ตนเองมากขึน้ และการรวมกลุม่ ที่กว้างกว่าอาเซียน ก็ต้องปรับเป้าหมายให้เร็วขึ้นเช่นกัน แนวคิดการรวมกลุ่มจัดตั้งประชาคมอาเซียน เป็นเป้าหมาย ที่ต้องชัดเจนกว่าวิสัยทัศน์ ๒๐๒๐ ซึ่งหลายคนไม่ว่าจะเป็น ผู้นำ�อาเซียน รัฐมนตรีอาเซียน ก็ไม่ทราบว่าแปลว่าอะไร เพราะเป็นนามธรรมเหลือเกิน โดยประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย ๓ เสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมือง และความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน จึงทำ�ให้อาเซียนพึ่งพาตลาดภายในของประเทศ ตนเองมากยิ่งขึ้น ด้านความมั่นคง ก็เห็นได้ชัดในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นต้นมา แต่เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้มีปัจจัยใหม่ที่ส่งผลต่อความมั่นคง เกิดขึ้น เช่น การก่อการร้าย การค้ามนุษย์ โรคระบาด ไข้หวัดซาร์ส ไข้หวัดนก ยาเสพติด ซึ่งเป็นเรื่องระหว่างประเทศในภูมิภาคที่จะต้อง ร่วมมือกันบริหารจัดการ ดังนั้น เฉพาะประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจึงยัง ไม่เพียงพอ ต้องมีประชาคมที่เกี่ยวข้องกับการเมืองและความมั่นคงด้วย เพื่อเสริมสร้างให้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ดำ�เนินการมาหลายสิบปี แต่ความเป็นอาเซียนร่วมกัน ก็ยังไม่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน ดังนั้น จะทำ� อย่างไรที่จะช่วยกันเสริมสร้างความรู้สึกของคนไทยต่อความเป็นคนอาเซียน ให้เกิดขึ้นได้จริง ซึ่งเป็นเรื่องที่พูดง่าย แต่ทำ�ยังไม่ค่อยได้ เนื่องจาก ประเทศไทยต้ อ งปรั บ ทั ศ นคติ ต่ อ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น เพราะการมี แนวพรมแดนทางการเมืองทัง้ หลายจะลดลง แต่ความเป็นประชาคมอาเซียน จะก่อให้เกิดการทำ�งานร่วมกันในด้านการเมือง เพือ่ แก้ปญ ั หาความมัน่ คง และปากท้องร่วมกัน สำ�หรับด้านสังคมและวัฒนธรรมจะเป็นเรื่องที่ เข้ามาในอาเซียนมากยิ่งขึ้นเป็นลำ�ดับ เพราะฉะนั้น เมื่อสิ่งต่างๆ เหล่านี้
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
331
เกิ ด ขึ้ น การเป็ น อาเซี ย น จึ ง เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยผู้ นำ � ประเทศอาเซียนได้ตกลงกันที่บาหลีหลังจากที่ระดับรัฐมนตรีที่กำ�หนด เป้าหมายของการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายใน ปี ค.ศ. 2015(พ.ศ. ๒๕๕๘) แต่ใช่ว่าจะเริ่มนับตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ มีผลเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการทันที แต่ยังต้องมองไปไกล กว่า ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ว่าจะทำ�อย่างไรให้เป็นประชาคมอาเซียนได้จริงๆ อย่ า งสมบู ร ณ์ ในขณะที่ ป ระชาสั ง คมและวั ฒ นธรรมอาเซี ย น และ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เป็นสิ่งที่ไม่ได้พูดกัน แต่ถือเป็น ๒ เสาหลักทีม่ คี วามสำ�คัญทีจ่ ะทำ�ให้เสาหลักประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สามารถเดินต่อไปได้ เพราะประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน จะสร้างความมัน่ ใจให้เกิดขึน้ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ที่จะเปิดเสรีทางด้านการค้า การบริการ การลงทุนระหว่างกัน และจะเป็นเสาหลักของประชาคมอาเซียน ที่จะ สร้างภูมิคุ้มกัน ต่อการเกิดผลกระทบในการเปิดเสรีด้านต่างๆ ขึ้นได้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีความสำ�คัญอย่างมาก เพราะว่า อาเซียน มีประชากรรวมกัน เกือบ ๖๐๐ ล้านคน และมีการเคลื่อนไหว อย่างเสรี (Free Flow) ด้านสินค้า หมายถึง การลดภาษี และลดข้อกีดกัน ทางการค้า ซึ่งกระทรวงพาณิชย์ เรียกว่า มาตรการที่เป็นอุปสรรคที่ไม่ใช่ ภาษี โควต้า และมาตรฐานสินค้าทัง้ หลาย นอกจากนี้ ยังมีการเคลือ่ นไหว เสรี ด้ า นบริ ก าร ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น เรื่ อ งที่ สำ � คั ญ มาก เพราะการบริ ก ารมี ความสัมพันธ์ และมีผลกับการดำ�รงชีวิตประจำ�วันทุกวัน ไม่ว่าจะเป็น การขนส่ง การโทรคมนาคม การใช้โทรศัพท์ การเงิน ธนาคาร ประกันภัย การก่อสร้าง การเคลือ่ นไหวของแรงงานทีม่ ที กั ษะ และการเปิดเสรีแรงงาน วิ ช าชี พ ทำ � ให้ นั ก กฎหมาย แพทย์ สถาปนิ ก จะสามารถเข้ า ไป
332
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประกอบอาชี พ ในแต่ ล ะประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น นอกจากนี้ ก็ ยั ง มี การเคลือ่ นไหวอย่างเสรีของแรงงานทีม่ ที กั ษะด้านการลงทุน (Investment) และด้านเงินทุน (Capital) จึงมีขอ้ สังเกตว่า มีการใช้คำ�ว่า “การเคลือ่ นไหว อย่างเสรี” ในขณะทีด่ า้ นเงินทุน ประเทศสมาชิกอาเซียน ทัง้ ๑๐ ประเทศ ยังคงตื่นตัวกับ “การเคลื่อนไหวอย่างเสรีมากขึ้น” เนื่องจากวิกฤต เศรษฐกิจ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นผลมาจากการเปิดเสรีการเงินมากเกินไป สำ � หรั บ ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คงอาเซี ย น เน้ น และให้ ความสำ � คั ญ กั บ การอยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งสั น ติ แก้ ไขปั ญ หาความขั ด แย้ ง โดยสันติวธิ ี ค่านิยมประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน การป้องกันอาชญากรรม ข้ามชาติ และการต่อต้านภัยพิบัติร่วมกัน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ให้ความส�ำคัญกับ การสร้างภูมิคุ้มกันต่อผลกระทบทางลบ ที่อาจเกิดจากการรวมตัวในอาเซียน ดังนั้น อาเซียนต้องปรับตัว เนื่องจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เช่น การรวมกลุม่ ในอนุภมู ภิ าคของอาเซียน เป็นสามเหลีย่ มเศรษฐกิจ สีเ่ หลีย่ ม เศรษฐกิจ ในอาเซียน รวมทัง้ ความสัมพันธ์ตา่ งๆ ทัง้ ในกลุม่ ประเทศสมาชิก อาเซียน หรือประเทศนอกกลุ่มอาเซียน ก็เป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะน�ำไป เสริมสร้างให้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเกิดขึ้นได้จริง ซึ่งมียุทธศาสตร์ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง ระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม (Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy : ACMECS) เป็นกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ในระดับอนุภูมิภาคที่จัดตั้งขึ้น เพื่อใช้ประโยชน์จากความแข็งแกร่งและ ความหลากหลายของ ทั้ง ๕ ประเทศสมาชิก เพื่อส่งเสริมการพัฒนา อย่างสมดุล เช่น การสร้างสะพานมิตรภาพไทย-ลาว ซึง่ เป็นสะพานข้ามแม่นำ�้ โขง
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
333
จ�ำนวน ๔ แห่ง ได้แก่ จังหวัดหนองคาย (หนองคาย- เวียงจันทน์) จังหวัด มุกดาหาร (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) และอีก ๒ แห่ง ที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น ในปีนี้และปีหน้า คือ จังหวัดนครพนม (นครพนม-ค�ำม่วน) และจังหวัด เชียงราย (เชียงของ-ห้วยทราย) การสร้างถนนเชื่อมโยงระหว่างไทยกับ กัมพูชา การมีสายการบินเชื่อมโยงกับประเทศต่างๆ นอกจากนี้ ยังมี ความร่วมมือในลุม่ แม่นำ�้ โขง ทีม่ ปี ระเทศไทยกับประเทศเพือ่ นบ้าน ได้แก่ พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา และจีน ในขณะที่ ญี่ปุ่น ก็ให้ความส�ำคัญ เข้าร่วมในลุม่ แม่นำ�้ โขง ภายใต้ความร่วมมือ “เจแปนแม่นำ�้ โขง” ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา และญี่ปุ่น (ไม่มีจีน) นอกจากนี้ สหรัฐอเมริกา ก็เป็นอีกประเทศทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการสร้างความร่วมมือ ในบริเวณลุ่มแม่น�้ำโขง โดยไม่มีจีนและพม่า ก็เลยคิดค�ำใหม่ เมื่อ ๒ ปีที่แล้ว เป็น “ยูเอส – โลเวอร์แม่โขง อินชิ เิ อทีฟ” (US-Lower Mekhong Initiative)” หรือ “โลเวอร์แม่โขง” หรือ “ลุม่ แม่นำ�้ โขงตอนล่าง” ประกอบด้วย ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา และสหรัฐ (ไม่มีจีนและพม่า) เพราะฉะนั้น อาเซียน ค่อนข้างประสบความส�ำเร็จ เพราะการเป็นประชาคมอาเซียน ซึง่ ประกอบด้วย ๓ เสาหลัก เริ่มกลับเข้ามาอยู่ในจอเรด้าร์ใหม่ เนื่องจากประเทศที่ส�ำคัญ ของโลกได้ ใ ห้ ค วามสนใจและให้ ค วามส�ำคั ญ กั บ อาเซี ย นมากยิ่ ง ขึ้ น ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น และสหรัฐ ในขณะที่ กรอบความร่วมมือ IMT-GT ของไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในด้านการท่องเที่ยว การประมง และผลิตภัณฑ์ฮาลาล รวมทั้งความร่วมมือระหว่างบรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ก็ได้มีการขยายความร่วมมือออกไปอีก สิ่งเหล่านี้ ถือเป็นความร่วมมือในอนุภูมิภาค (Sub Regional) เพื่อท�ำให้อาเซียน แข็งแกร่งขึน้ และท�ำให้กลุม่ ประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ (CLMV) ทีอ่ าจมี
334
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความล้าหลังกว่าประเทศอื่น ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม สามารถทีจ่ ะเข้าร่วมในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้ดขี นึ้ เพราะฉะนั้น ความร่วมมือในอนุภมู ภิ าค จึงมีความส�ำคัญต่อประชาคมอาเซียน เช่นกัน ประเทศสมาชิกอาเซียน ยังมีความร่วมมือกับประเทศนอกกลุ่ม อาเซียน ซึ่งเป็นการเตรียมตัวที่จะเข้าสู่การเป็นประชาคมที่ดีที่เข้มแข็ง โดยอาเซียนร่วมกับ จีน เกาหลี ญี่ปุ่น เป็น ASEAN+3 เพื่อร่วมมือกัน ที่จะทำ�ให้มีกองกลางของเงินทุนสำ�รองที่เรียกว่า “Pool of Reserve” เพือ่ ใช้เป็นกองทุนช่วยเหลือประเทศทีอ่ าจประสบวิกฤติ อันเป็นผลมาจาก การเรียนรูแ้ ละประสบการณ์จากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจต้มยำ�กุง้ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งในขณะนี้ อาเซียนกับอีก ๓ ประเทศ คือ เกาหลีใต้ จีน และญี่ปุ่น ได้ท�ำ ความตกลงว่า จะจัดตัง้ กองทุนเงินสำ�รอง ๑๒๐,๐๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐ ภายใต้กรอบ ASEAN+3 เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง และเสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจของระบบการเงินในภูมิภาค นอกจากนี้ ยั ง มี ค วามร่ ว มมื อ ในเอเชี ย ที่ เรี ย กว่ า “Asia Cooperation Dialogue” หรือ ACD ซึง่ มีประเทศในเอเชีย ๓๐ ประเทศ ร่วมมือกัน มีโครงการอีก ๒๐ กว่าโครงการ ทั้งหมดต้องการชี้ให้เห็นว่า ความเป็นมาของการเป็นประชาคมอาเซียน ความจำ�เป็นในการเร่งสร้าง ความเป็นประชาคมอาเซียนอย่างเป็นรูปธรรม ทั้ง ๓ เสาหลัก ตลอดจน ความร่วมมือ และการเปิดเสรีระหว่างประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน ซึง่ มีความสำ�คัญเป็นอย่างสูง จึงขอให้รฐั บาลชุดปัจจุบนั ให้ความสำ�คัญกับ เศรษฐกิจและความร่วมมือในอนุภมู ภิ าคต่อไป เพือ่ ผลักดันให้ประเทศไทย สามารถก้ า วเดิ น สู่ ป ระชาคมอาเซี ย นได้ อ ย่ า งมี ค วามมั่ น คง และ มีเสถียรภาพขึ้น อย่างไรก็ตาม สิ่งท้าทายที่สุดของอาเซียน คือ การขาด ความตระหนักของการเป็นประชาคมอาเซียนอยูใ่ นหัวใจ โดยผลการสำ�รวจ
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
335
ได้บง่ ชีใ้ ห้เห็นว่า ประเทศไทยเป็นอันดับเกือบสุดท้ายของประเทศอาเซียน เกี่ยวกับ “การรับรู้และรู้จักอาเซียน” ในขณะที่ ลาว กัมพูชา และ เวียดนาม อยู่ในอันดับที่สูงกว่า กระผมขอชืน่ ชมสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทีไ่ ด้ จัดการสัมมนาวิชาการระดับชาติ ในครัง้ นี้ โดยมีการถ่ายทอดสด ทัง้ ทางวิทยุ และโทรทัศน์ ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่สำ �คัญสำ�หรับทุกรัฐบาลเหมือนกัน คือ การทำ�งานเพือ่ จะสร้างความตระหนักของความเป็นประชาคมอาเซียน ถ้ า ถามว่ า ทำ � ไมคนถึ ง ไม่ ค่ อ ยรู้ สึ ก ว่ า เป็ น ประชาคมอาเซี ย น เพราะ พวกเราขาดการสัมผัสสิง่ รอบตัว ลองคิดดูวา่ ตัง้ แต่เช้าทำ�อะไรทีเ่ กีย่ วข้อง กับอาเซียนบ้าง ก็บอกว่านึกไม่ออก สินค้าที่ใช้ตั้งแต่หัวเตียง อาจจะมี แหล่งผลิตอยู่ในอาเซียนก็ได้ แต่มันไม่มีอะไรที่สะท้อนว่าเป็นอาเซียน เนื่องจากเรายังขาดการสื่อสารต่อสังคม (Social Media) ของอาเซียน นอกจากนี้ ภาพที่เห็นในทีวี ซึ่งผู้นำ�ประเทศอาเซียนยืนกอดอกไขว้กัน หรือผู้นำ�กับรัฐมนตรีจับมือกัน ซึ่งผมก็ได้เคยปฏิบัติมาหลายครั้งแล้ว ในระยะ ๖ ปี ที่ผ่านมา แต่เมื่อนั่งดูแล้ว ภาพเหล่านั้นไม่ได้สื่ออะไรกับ สังคมไซเบอร์ หรือกับเยาวชนรุ่นใหม่ว่า “ไปยืนทำ�อะไรอยู่บนเวที” ดังนัน้ สิง่ ทีท่ า่ นรองนายกฯ ได้กล่าวไว้จงึ เป็นเรือ่ งสำ�คัญอย่างยิง่ และเป็น ภาระหนักของรัฐบาลในการดำ�เนินการต่อไป นอกจากนี้อาเซียนยังขาดนโยบายต่างๆ ร่วมกัน เช่น นโยบาย ต่างประเทศกับประเทศนอกกลุม่ อาเซียน จุดยืนในเวทีเอเชีย-ยุโรป จุดยืน ร่วมกันในเอเปก (APEC) และจุดยืนร่วมกันในบางเรือ่ งในองค์การการค้าโลก (WTO) เนือ่ งจากประเทศสมาชิกอาเซียนจะพบปะหารือกันค่อนข้างยาก ในขณะทีป่ ระเทศสมาชิกยุโรป รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศ จะมีการพบปะหารือกันเป็นประจำ�ทุกเดือน เพราะถือว่า “กิจการของยุโรป
336
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาเป็นอันดับแรก” ในขณะที่ประเทศในอาเซียนยังขาดความรู้สึกร่วม ที่เรียกว่า “ASEAN Affair come first” การคุกคามต่อประเทศหนึ่ง ประเทศใดในอาเซียนเป็นการคุกคามต่ออาเซียนทั้งหมด และการพบปะ หารือกันของผูก้ �ำ หนดนโยบายอย่างไม่เป็นทางการก็ยงั น้อย เพราะส่วนใหญ่ ค่อนข้างมีพธิ กี ารมาก ดังนัน้ สิง่ ทีท่ า้ ทายและเป็นโอกาสของประชากรอาเซียน ๖๐๐ ล้านคน จะรวมตัวกันได้มากน้อยเพียงใด เร็วช้าเพียงใด ทีส่ �ำ คัญ คือ ความพอดี และความพอเหมาะต่อสังคมอาเซียน เนื่องจากจะเป็นอย่าง ประชาคมยุโรปก็ไม่ได้ เพราะอาเซียนไม่เหมือนการรวมตัวของหมู่เกาะ แปซิฟิก หมู่เกาะคาริเบียน ประเทศแอฟริกา และอเมริกาเหนือ ดังนั้น การรวมตัวของประชาคมอาเซียน คือ ความเหมาะสม ความพอดี การตระหนักรับรู้ของสังคม และการมีส่วนร่วมของประชาชนในวงกว้าง จึงมีความจำ�เป็นต่อความสำ�เร็จของการเป็นประชาคมอาเซียน โดยทำ�ให้ ประชาชนมีส่วนร่วมกับรัฐบาลและทุกภาคส่วนในการสร้างความตื่นตัว และความรับผิดชอบต่อการเป็นประชาคมอาเซียน สำ�หรับแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสำ �คัญ เป็นอย่างยิง่ แต่หลายคนอาจจะไม่เข้าใจ คิดว่า “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หมายถึ ง ต้ อ งประหยั ด ไม่ ใ ห้ ใช้ เ งิ น ไม่ ต้ อ งลงทุ น ซึ่ ง ความจริ ง เป็ น ความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง ผมจำ�ได้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเคยรับสัง่ ว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” สามารถหรูหราได้ แต่ขอให้เป็นไป ตามอัตภาพ เป็นไปตามความเหมาะสมของแต่ละคน ให้มีความพอดี สมเหตุสมผล และมีภูมิคุ้มกัน โดยในช่วงระยะ ๕-๗ ปีที่ผ่านมา ผมได้มี การจัดการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (อังค์ถัด) The United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD) ซึ่งเป็นองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการค้า และการพัฒนาของ
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
337
สหประชาชาติ โดย Mr. Rubens Ricupero เลขาธิการ UNCTAD ได้มา แถลงต่อทีป่ ระชุมร้อยกว่าประเทศ และมีระดับรัฐมนตรีอยูห่ ลายสิบประเทศ ว่า “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นทางเลือกของการพัฒนา” จึงได้ขอพระบรมราชานุญาตทีจ่ ะจัดสัมมนา เกีย่ วกับ “เศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีการเชิญรัฐมนตรีดา้ นการต่างประเทศ รัฐมนตรีดา้ นการพัฒนา และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ ทั้งจากทวีปแอฟริกา เอเชีย ละตินอเมริกา ประมาณ ๒๐ ประเทศ เข้าร่วมการประชุมวิชาการทีแ่ ปลกมาก คือ ใช้เวลา ในการสัมมนาเพียงชัว่ โมงเดียว ภายในห้องปรับอากาศ ส่วนระยะเวลาทีเ่ หลือ จะเป็นการเดินทางไปศึกษาดูงานศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ ตัง้ แต่ ห้วยทราย จังหวัดเพชรบุรี เขาหินซ้อน จังหวัดฉะเชิงเทรา ภูพาน จังหวัดสกลนคร และทีส่ �ำ คัญ ฯพณฯ อำ�พล เสนาณรงค์ องคมนตรี ได้กรุณาให้เกียรตินำ�บรรดาผู้เชี่ยวชาญและรัฐมนตรีเหล่านี้ไปเข้าเฝ้า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ณ พระราชวังไกลกังวล ซึง่ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ทรงอนุญาตให้รฐั มนตรีเหล่านัน้ สามารถซักถามเรือ่ งต่างๆ ภายหลังจากทีไ่ ด้ไปศึกษาดูงานจากศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาอันเนือ่ งมาจาก พระราชดำ�ริในจังหวัดต่างๆ แล้ว และทรงตอบข้อซักถามต่างๆ ด้วย พระองค์เอง เพราะฉะนั้น เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นที่รับรู้ และยอมรับจากต่างประเทศ ว่า ๓ ห่วง หรือ ๓ เสาหลักของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสำ�คัญอย่างมาก ประกอบด้วย ๑) ความพอประมาณ ๒) ความมี เหตุผล และ ๓) ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ควบคู่ไปกับ ๒ เงื่อนไข คือ ต้องมี ความรู้ และต้องมีคุณธรรม เพราะฉะนั้นไม่ว่า ภายในกลุ่มอาเซียน หรือ นอกกลุ่มของอาเซียน ก็สามารถน้อมนำ�ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้เป็นแนวทางการดำ�เนินงาน เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ย่ังยืนได้ คือ การพัฒนาทีไ่ ม่สง่ ผลกระทบด้านลบ ไม่เบียดเบียน ไม่ไปแย่งสวัสดิการของ
338
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การกินดีอยู่ดีของคนรุ่นถัดไป เช่น การเคลื่อนไหวอย่างเสรีด้านการค้า การบริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานที่มีทักษะ ซึ่งหากว่า การเปิด เสรีมากจนเกินไป ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งถือว่าเป็น วินัยในการดำ�เนินชีวิตและเป็นปรัชญาของความพอเพียงที่ใช้ได้กับ ทุกเรื่อง ก็จะเห็นได้ว่า ไม่พอดี ไม่พอประมาณ ไม่สมเหตุสมผล ดังนั้น การเปิดเสรีทางการค้า ก็อาจจะส่งผลทำ�ให้ผู้ประกอบการธุรกิจไทย ปรับตัวไม่ทัน ผู้อุปโภค และผู้บริโภคอาจได้รับผลกระทบ เนื่องจากไม่มี ภูมิคุ้มกัน และภู มิต้ านทานที่ ดี ก็ อาจเหมื อนกับวิก ฤตทางเศรษฐกิจ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ่งมีผลจากการเปิดเสรีการเงินและการลงทุนเพิ่มขึ้น ทำ�ให้มเี งินทุนไหลเข้ามาในประเทศจำ�นวนมากจนเกินไป ส่งผลทำ�ให้เกิด วิกฤตฟองสบูแ่ ตก จนทำ�ให้คา่ เงินบาทผันผวน และลดค่าลงมาอย่างรวดเร็ว ความพอประมาณ ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็น สิง่ ทีม่ คี วามสำ�คัญมาก แต่ในขณะเดียวกัน หากเปิดเสรีการค้าน้อยเกินไป ก็ถือว่า ไม่พอประมาณ ไม่สมเหตุสมผลเหมือนกัน เพราะจะทำ �ให้ เศรษฐกิจของประเทศไม่เติบโต และเงินลงทุนในประเทศไม่เพียงพอ จึงมีความจำ�เป็นต้องให้ต่างชาติเข้ามาลงทุน เพื่อผลักดันเศรษฐกิจไทย ให้เติบโตและประชาชนคนไทยอยู่ดีกินดี อย่างไรก็ตาม หลายประเทศในอาเซียนยังมีความแตกต่างของ ระดับความเป็นประชาธิปไตย จึงควรส่งเสริมค่านิยมประชาธิปไตย สิ ท ธิ ข องประชาชน ซึ่งประชาคมการเมืองและความมั่ นคงอาเซี ย น มีเป้าหมายเพื่อระงับข้อพิพาทอย่างสันติ หากอาเซียนเข้ามามีบทบาท และก้าวก่ายกิจการภายในของแต่ละประเทศสมาชิกมากจนเกินไป หรือ น้อยจนเกินไป ก็จะไม่มใี ครมัน่ ใจในอาเซียน เหมือนดังเช่น กรณีขอ้ พิพาท ระหว่างไทย กับกัมพูชา
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
339
นักเศรษฐศาสตร์ของโลกได้เริ่มเห็นแล้วว่า “ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวทางการป้องกันความผันผวนทางเศรษฐกิจ และช่วยท�ำให้เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เนือ่ งจากวัฏจักรทางเศรษฐกิจ มีโอกาสเติบโต และตกต�ำ่ โดยหากเศรษฐกิจเติบโต ก็จะมีการลงทุนและ การจับจ่ายใช้สอยมากขึน้ แต่หากเศรษฐกิจตกต�ำ่ การลงทุนและการจับจ่าย ใช้สอยก็จะลดลง และประชาชนจะชะลอการใช้จา่ ย ซึง่ ก็จะท�ำให้การเติบโต ทางเศรษฐกิจฝืดเคือง และเป็นการซ�้ำเติมระบบเศรษฐกิจของประเทศ ให้เสียหายขึ้นไปอีก ทั้งนี้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงให้เห็น ได้อย่างชัดเจนว่า ในช่วงเศรษฐกิจเติบโต หรือขยายตัวสูงมากๆ ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ก็สามารถน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการก�ำกับ เพือ่ ให้มกี ารลงทุนแต่พอประมาณ มีการใช้จา่ ยแต่พอประมาณ มีเหตุมผี ล และ มีภูมิคุ้มกันที่ดี แต่ถ้าหากเศรษฐกิจตกต�่ำ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ก็ไม่ได้ห้ามการใช้จ่าย เพียงขอให้มีการใช้จ่ายแต่พอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันที่ดีรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ ดังนั้น ประชาคมอาเซียน จะเป็นประชาคมที่ยั่งยืน ต้องเป็น ประชาคมที่ มี วิ นั ย ของปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น “ภูมปิ ญ ั ญาตะวันออก” หรือ เรียกว่า “Oriental Wisdom” หากเทียบกับ พระพุทธศาสนา ก็คือ “มัชฌิมาปฏิปทา” คือ การเดินสายกลาง มีสติ เพื่อนำ�สังคมไปสู่สังคมที่เจริญยั่งยืน สมานฉันท์ ดังนั้น หลักการของ การเป็นประชาคมอาเซียน ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ การรวมตัวกันอย่างพอประมาณ รวมตัวกันด้วยเหตุด้วยผล และเป็น การรวมตัวเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยในฐานะที่เป็นสมาชิกประชาคมอาเซียน ก็ต้องร่วมมือ กับอาเซียน โดยน้อมนำ�แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทีย่ ดึ หลัก
340
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันที่ดี เพราะฉะนั้น จุดยืนของ ประเทศไทยในการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ควรอยูบ่ นฐานของความพอดี พอประมาณ มีความรอบคอบในการพิจารณาแนวทางการเปิดเสรีการค้า อย่างเหมาะสม โดยยึดเหตุผลบนฐานขององค์ความรู้ และมีภมู คิ มุ้ กันทีด่ ี ซึ่งภาษาธุรกิจสมัยใหม่ เรียกว่า “การบริหารจัดการความเสี่ยง (Risk Management)” ก็จะทำ�ให้ประชาคมอาเซียน และสังคมไทยมีการพัฒนา อย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืนต่อไป สุดท้ายนี้ กระผมขอฝากให้สภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พิจารณานำ�เสนอข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี จำ�นวน ๒ ประการ ดังนี้ ประการแรก ส่งเสริมให้ประชาชนมีจิตสำ�นึก มีความรู้สึกร่วม และตระหนักถึงความเป็นประชาคมอาเซียน โดยเปิดโอกาสให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เช่น การเปิดเสรีการค้าและการลงทุน ภายใต้ เสาหลักประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และในเสาหลักอื่นๆ ต้องสร้าง การมีส่วนร่วมของประชาชนให้มีความรู้สึกร่วมถึงการเป็นประชาคม อาเซียนอยูใ่ นจิตใจ เช่น การชักธงอาเซียนคูก่ นั กับธงชาติของตน ปีละหนึง่ วัน คือ วันสถาปนาอาเซียนคงไม่เพียงพอ เพราะในยุโรปตามสถานทีร่ าชการ หรือตามสถานทูตในต่างประเทศจะชักธงคู่กัน เพื่อทำ�ให้ประชาชนได้เห็น ทุกวัน จะได้มีความรู้สึกร่วมของการเป็นประชาคมอาเซียนได้เร็วขึ้น ประการที่สอง ต้องทำ�ให้ทุกองคาพยพของประเทศ สามารถ ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักในการวางนโยบาย ที่เน้นการมีส่วนร่วมในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน และประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เพื่อ ทำ�ให้ประชาคมอาเซียนเป็นประชาคมของประชาชน และทำ�ให้ประเทศไทย สามารถดำ�รงอยูใ่ นอาเซียนได้ โดยมีความพอเพียง และสร้างภูมคิ มุ้ กันทีด่ ี ให้กับประเทศ และพี่น้องประชาชนทุกคน ขอขอบคุณครับ ***************************************
ภาคผนวก ข รายงานผลการสำ�รวจความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติ และความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมสัมมนา ๔ ภูมิภาค และ กรุงเทพมหานคร เรื่อง “การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
343
บทนำ� สภาที่ ป รึ ก ษาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ไ ด้ ดำ � เนิ น การ จัดสัมมนาระดมความคิดเห็น ในเวทีระดับภาคทั้ง ๔ ภูมิภาค และ กรุงเทพมหานคร เรื่อง “การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพือ่ ให้ทกุ ภาคส่วน มีความเข้าใจ และมีการเตรียมความพร้อมในการใช้ประโยชน์จากการเป็น ประชาคมอาเซียน ภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ภายใต้การประยุกต์ใช้ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างมีประสิทธิภาพ คณะทำ�งานเพื่อจัดทำ�แบบสำ�รวจ ประมวล และวิเคราะห์ผล จากแบบสำ �รวจความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติ และความคิดเห็นจาก ผู้เข้าร่วมสัมมนาทั้ง ๔ ภูมิภาค และสัมมนาประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เรื่อง “การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” จึงได้มกี ารจัดทำ�แบบสำ�รวจประกอบ การสัมมนาในเรื่องดังกล่าวขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อสำ�รวจความรู้ (K) ทัศนคติ (A) และการปฏิบัติ (P) เกี่ยวกับ การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ๒) เพื่อสำ�รวจความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ ทั ศ นคติ และความสามารถในการปฏิ บั ติ เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ ม ของประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ๓) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค ของการเตรียมความพร้อม ของประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
344
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๔) เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติเกี่ยวกับปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ๕) เพื่อศึกษาความพร้อมของประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖) เพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล และใช้ ป ระกอบการจั ด ทำ � ความเห็ น และข้อเสนอแนะ เพื่อเสนอต่อสภาที่ปรึกษาฯ และคณะรัฐมนตรีต่อไป
วิธีดำ�เนินการ การสำ � รวจครั้ ง นี้ ได้ ดำ � เนิ น การเก็ บ ข้ อ มู ล จากผู้ เข้ า ร่ ว ม การสัมมนาระดมความคิดเห็น ในเวทีระดับภาคทั้ง ๔ ภูมิภาคและ กรุงเทพมหานคร มีจำ�นวน ดังนี้ ๑) ภาคเหนือ ณ โรงแรมเชียงใหม่ออคิด จังหวัดเชียงใหม่ ๑๒๔ คน (ร้อยละ ๔๑.๔๗ ของผู้เข้าร่วม) ระหว่างวันที่ ๒๗-๒๙ มีนาคม ๒๕๕๔ ๒) ภาคใต้ ณ โรงแรมธรรมรินทร์ ธนา จังหวัดตรัง ๑๕๖ คน (ร้อยละ ๔๗.๑๒ ของผูเ้ ข้าร่วม) ระหว่างวันที่ ๒๙-๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ๓) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ โรงแรมโฆษะ จังหวัดขอนแก่น ๒๖๖ คน (ร้อยละ ๘๘.๓๗ ของผูเ้ ข้าร่วม) ระหว่างวันที่ ๑๐-๑๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๔ ๔) ภาคกลาง ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิต้ี จอมเทียน จังหวัดชลบุรี ๒๐๒ คน (ร้อยละ ๗๕.๖๕ ของผูเ้ ข้าร่วม) ระหว่างวันที่ ๑๖-๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๔
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
345
๕) กรุงเทพมหานคร ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น ๓๒๔ คน (ร้อยละ ๓๔.๘๐ ของผู้เข้าร่วม) รวม ๕ ภูมิภาค ๑,๐๗๒ คน (ร้อยละ ๔๓.๘๓ ของผู้เข้าร่วมทั้งหมด ๒,๔๔๖ คน) เครื่องมือในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ใช้ KAP Model เป็นกรอบ แนวคิดในการสร้างแบบสำ�รวจในส่วนที่ ๒ และใช้คำ�ถามในส่วนที่ ๓-๕ ทั้งนี้ ในการสำ�รวจไม่ได้ตั้งสมมุติฐานว่าความรู้ (K) และทัศนคติ (A) นำ�ไปสู่การเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติ (P) แต่เป็นกรอบแนวคิดที่แสดงให้ เห็นว่า ทั้งความรู้ (K) ทัศนคติ (A) และการปฏิบัติ (P) เป็นเครื่องมือที่ใช้ เป็ น กรอบวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ในการสำ � รวจครั้ ง นี้ อย่ า งไรก็ ดี ไ ด้ ค าดว่ า ค่าคะแนนทีไ่ ด้ระหว่างก่อนและหลังการเข้าร่วมสัมมนาน่าจะแตกต่างกัน ซึง่ อาจจะมากขึน้ หรือน้อยลงอันเนือ่ งมาจากข้อมูลในการสัมมนาได้มผี ใู้ ห้ ข้อมูลรอบด้าน ทัง้ ด้านบวกและด้านลบ ซึง่ ผลการสำ�รวจทีไ่ ด้รบั ปรากฏว่า มีความแตกต่าง โดยส่วนใหญ่มีค่าคะแนนเพิ่มขึ้น แต่บางส่วนลดลง แบบสำ�รวจ KAP และความคิดเห็น เรือ่ ง “การเตรียมความพร้อม ของประเทศไทยเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” แบ่งออกเป็น ๕ ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ ๒ ขอ้ มูลเกีย่ วกับการเตรียมความพร้อมของประเทศไทย สู่ประชาคมอาเซียน ส่วนที่ ๓ ข้อมูลเกีย่ วกับปัจจัยและปัญหาอุปสรรคของการเตรียม ความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
346
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ส่วนที่ ๔ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และปัญหาอุปสรรคของการเตรียมความพร้อมของ ประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ส่วนที่ ๕ ข้ อ มู ล แสดงความคิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะต่ อ การเตรี ย มความพร้ อ มของประเทศไทยเข้ า สู่ ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการสำ�รวจความรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติ และความคิดเห็นได้ ทำ�การแจกแบบสำ�รวจแบบเดียวกัน ๒ ครั้ง คือ ช่วงก่อนการสัมมนา (แจกแบบสำ�รวจเมื่อผู้เข้าร่วมลงทะเบียนและจัดเก็บแบบสำ�รวจก่อน การสัมมนาเริม่ ต้น) และช่วงหลังการสัมมนา (แจกแบบสำ�รวจในวันสุดท้าย ของการสัมมนาและจัดเก็บเมือ่ การสัมมนาสิน้ สุด) เพือ่ เป็นข้อมูลพืน้ ฐาน สำ�หรับ KAP ของผูเ้ ข้าร่วมสัมมนา และใช้เปรียบเทียบความแตกต่างของ ผลสำ�รวจในช่วงก่อนและหลังการสัมมนา ในการวิ เ คราะห์ แ ละประมวลผล KAP และความคิ ด เห็ น ได้ใช้สถิตเิ พือ่ หาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน และ หาค่าความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังการสัมมนา (T-Test) โดยใช้ โปรแกรม SPSS การสำ�รวจครั้งนี้ ได้จัดทำ�ในเวทีระดับภาค ๔ ภูมิภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง รวมถึงเวที ระดั บ ประเทศ คื อ การจั ด สั ม มนาวิ ช าการประจำ � ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ กรุงเทพฯ โดยกำ�หนดกลุ่มตัวอย่างจากผู้เข้าร่วมสัมมนาเป็น ๓ กลุ่ม
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
347
คือ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ตลอดจนสัมมนาระดมความคิดเห็น และข้ อ เสนอแนะต่ อ การเตรี ย มความพร้ อ มของประเทศไทยเข้ า สู่ ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งสภาที่ปรึกษาฯ ได้แบ่งประเด็นศึกษา ออกเป็น ๖ กลุ่มย่อย ได้แก่ กลุ่มที่ ๑ : ด้านเกษตรกรรม และทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม กลุ่มที่ ๒ : ด้านอุตสาหกรรม แรงงาน และโครงสร้างพื้นฐาน กลุ่มที่ ๓ : ด้านเศรษฐกิจมหภาค การเงิน การคลัง และ การบริการ กลุ่มที่ ๔ : ด้านศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ กลุ่มที่ ๕ : ด้านสุขภาพ คุณภาพชีวิต และกีฬา กลุ่มที่ ๖ : ด้านยุติธรรม สิทธิมนุษยชน และการมีส่วนร่วม
ส่วนที่ ๑ ข้อมูลส่วนบุคคล ผู ้ เข้ า ร่ ว มสั ม มนาที่ ต อบแบบส�ำรวจใน ๔ ภู มิ ภ าคและ กรุงเทพมหานคร* รวม ๑,๐๗๒ คน เป็นชาย ๖๔๓ คน (ร้อยละ ๖๐.๐) และหญิง ๔๒๙ คน (ร้อยละ ๔๐.๐) ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง ๕๑-๖๐ ปี จ�ำนวน ๓๖๒ คน (ร้อยละ ๓๓.๘) รองลงมา คือ มากกว่า ๖๐ ปี จ�ำนวน ๒๗๘ คน (ร้อยละ ๒๕.๙) ช่วง ๔๑-๕๐ ปี จ�ำนวน __________________________________ * ต่อจากนี้ไป จะใช้คำ�ว่า “ในทุกภูมิภาค” แทนคำ�ว่า “ใน ๔ ภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร”
348
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒๔๘ คน (ร้อยละ ๒๓.๑) และอื่นๆ (ดูเพิ่มเติมในภาคผนวก) โดย ได้ท�ำการรวบรวมข้อมูลจาก ๔ ภูมิภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ๑๒๔ คน (ร้อยละ ๑๑.๖) ภาคใต้ ๑๕๖ คน (ร้อยละ ๑๔.๖) ภาคอีสาน ๒๖๖ คน (ร้อยละ ๒๔.๘) และภาคกลาง ๒๐๒ คน (ร้อยละ ๑๘.๘) รวมถึง กรุ ง เทพมหานครในงานสั ม มนาวิ ช าการประจ�ำปี ๒๕๕๔ จ�ำนวน ๓๒๔ คน (ร้ อ ยละ ๓๐.๒) ผู ้ เข้ า ร่ ว มสั ม มนามาจาก ๓ ภาคส่ ว น ได้ แ ก่ ภ าครั ฐ ๔๔๖ คน (ร้ อ ยละ ๔๑.๖) ภาคเอกชน ๒๑๙ คน (ร้ อ ยละ ๒๐.๔) และภาคประชาชน ๔๐๗ คน (ร้ อ ยละ ๓๘.๐) นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ ๑,๐๒๓ คน (ร้ อ ยละ ๙๕.๔) คริ ส ต์ ๑๙ คน (ร้อยละ ๑.๘) และอิสลาม ๓๐ คน (ร้อยละ ๒.๘) ระดับการศึกษา สูงกว่าปริญญาตรี ๕๖๗ คน (ร้อยละ ๕๒.๙) ปริญญาตรี ๓๔๖ คน (ร้อยละ ๓๒.๓) และต�่ำกว่าปริญญาตรี ๑๕๙ คน (ร้อยละ ๑๔.๘) ผู้ตอบแบบส�ำรวจ แยกตามภาคส่วน 45.00 40.00 35.00 30.00 25.00 20.00 15.00 10.00 5.00 0.00
๔๖.๑๐
๓๘.๐๐
๒๐.๔๐
ภาครัฐ
ภาคเอกชน
ภาคประชาชน
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
349
ผู้ตอบแบบส�ำรวจ แยกตามภูมิภาค 35.00
๓๐.๒๐
30.00
๒๔.๘๐
25.00 20.00 15.00
๑๘.๘
๑๔.๖๐ ๑๑.๖๐
10.00 5.00 0.00 ภาคเหนือ
ภาคใต้
ภาคอีสาน
ภาคกลาง
ระดับประเทศ
ส่วนที่ ๒ การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน • ด้านความรู้ (K : Knowledge) แบ่งคำ�ถามออกเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับเบื้องต้น ระดับกลาง และระดับยาก โดยเก็บข้อมูล ใน ๒ ช่วง คือ ก่อนสัมมนาและหลังสัมมนา ในด้านความรู้เกี่ยวกับ เรื่ องประชาคมอาเซียน พบว่า คะแนนจากการทำ �แบบสำ� รวจหลัง การสั ม มนาของทุ ก ภาคส่ ว นในทุ ก ภู มิ ภ าคสู ง ขึ้ น ในทุ ก ระดั บ คำ � ถาม แสดงให้เห็นว่าผูเ้ ข้าร่วมการสัมมนาได้รบั ความรูเ้ พิม่ ขึน้ หลังจากได้รบั ฟัง การบรรยายแล้ว โดยในทุกระดับคำ�ถามมีความแตกต่างระหว่างก่อน และหลังการสัมมนาอย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๑
350
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ก่อน
รัฐ
หลัง
ก่อน
เอกชน
หลัง
ก่อน
ประชาชน
D = 39.00%
E = 80.00% M = 65.60%
D = 34.10%
E = 67.20% M = 57.80%
D = 44.80%
E = 83.60% M = 68.50%
D = 39.10%
E = 71.10% M = 64.50%
D = 50.00%
E = 84.20% M = 77.00%
D = 41.50%
90.00 80.00 70.00 60.00 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00
E = 74.70% M = 66.30%
ค่าร้อยละความรู้ของผู้ตอบแบบส�ำรวจ แยกตามภาคส่วน
หลัง
E = คำ�ถามระดับเบื้องต้น M = คำ�ถามระดับกลาง D = คำ�ถาม ระดับยาก อย่างไรก็ตาม ในภาพรวมทั้ง ๔ ภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร พบว่ า ภาคประชาชนยั ง มี ร ะดั บ คะแนนด้ า นความรู ้ น ้ อ ยกว่ า เมื่อเปรียบเทียบกับภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งคะแนนของค�ำถาม ระดับยากรวมทุกภูมิภาค ในทุกภาคส่วนยังอยู่ระดับต�่ำกว่า ร้อยละ ๕๐ แม้ว่าจะได้คะแนนเพิ่มขึ้นในการวัดครั้งหลังก็ตาม
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
351
❖ ภาครัฐ คำ�ถามระดับเบือ้ งต้น ก่อนสัมมนา มีผตู้ อบถูกต้อง ร้อยละ ๗๔.๗ หลังสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๘๔.๒ คำ�ถามระดับกลาง ก่อนสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๖๖.๓ หลังสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๗๗.๐ คำ�ถามระดับยาก ก่อนสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๔๑.๕ หลังสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๕๐.๐ ❖ ภาคเอกชน คำ�ถามระดับเบือ้ งต้น ก่อนสัมมนา มีผตู้ อบถูกต้อง ร้อยละ ๗๑.๑ หลังสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๘๓.๖ คำ�ถามระดับกลาง ก่อนสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๖๔.๕ หลังสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๖๘.๕ คำ�ถามระดับยาก ก่อนสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๓๙.๑ หลังสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๔๔.๘ ❖ ภาคประชาชน คำ�ถามระดับเบือ้ งต้น ก่อนสัมมนา มีผตู้ อบถูกต้อง ร้อยละ ๖๗.๒ หลังสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๘๐.๐ คำ�ถามระดับกลาง ก่อนสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๕๗.๘ หลังสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๖๕.๖ คำ�ถามระดับยาก ก่อนสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๓๔.๑ หลังสัมมนา มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๓๙.๐
352
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
● ด้านทัศนคติ (A : Attitude) จากการสำ � รวจด้ า นทั ศ นคติ ข องผู้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนา ในทุ ก ภู มิ ภ าค พบว่ า ในทุ ก ภาคส่ ว น ทั้ ง ภาครั ฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชน มีทัศนคติในด้านบวกเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม ของประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในหัวข้อต่างๆ โดยอยู่ในระดับ ตั้งแต่ปานกลางถึงมากที่สุด ❖ ด้ า นที่ ค วรเตรี ย มตั ว เป็ น พิ เ ศษ จากผลการสำ � รวจ ในทุ ก ภู มิ ภ าค พบว่ า ทุ ก ภาคส่ ว น (รั ฐ เอกชน และประชาชน) มีความเห็นว่าด้านเศรษฐกิจเป็นด้านที่ควรเตรียมตัวเป็นพิเศษในการ เข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน รองลงมา คือ ด้านสังคม และด้านการศึกษา/ภาษา อย่ า งไรก็ ต าม หลั ง การสั ม มนา ผู้ ต อบมี ค วามเห็ น ว่ า ควรเตรี ย มตั ว เป็นพิเศษในด้านเศรษฐกิจลดลง และในด้านสังคมและวัฒนธรรมเพิม่ ขึน้ แต่ยงั คงมีความสำ�คัญอยูใ่ นอันดับทีส่ อง โดยในภาพรวมของทุกภาคส่วน และในส่วนของภาครัฐมีความแตกต่างระหว่างก่อน และหลังการสัมมนา อย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๑ และ ๐.๐๕ ตามลำ�ดับ ❖ ด้ า นความเข้ ม แข็ ง ของไท ย ใ น กลุ่ มอ า เซี ย น จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่าก่อนการสัมมนาทุกภาคส่วน (รั ฐ เอกชน และประชาชน) มี ค วามเห็ น ว่ า ไทยมี ค วามเข้ ม แข็ ง อยู่ ในระดับปานกลาง ร้อยละ ๕๐.๙๐ รองลงมา คือ มากถึงมากที่สุด ร้อยละ ๔๑.๙๖ เมื่อเทียบกับประเทศในกลุ่มอาเซียนด้วยกัน ในขณะที่ หลั ง การสั ม มนาทุ ก ภาคส่ ว นมี ค วามเห็ น ว่ า ไทยมี ค วามเข้ ม แข็ ง อยู่ ในระดั บ ปานกลาง เพิ่ ม ขึ้ น เป็ น ร้ อ ยละ ๕๙.๒๖ รองลงมา คื อ
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
353
มากถึงมากที่สุด ลดลงเหลือ ร้อยละ ๓๑.๙๐ เมื่อเทียบกับประเทศ ในกลุ่ ม อาเซี ย นด้ ว ยกั น โดยในภาพรวมของทุ ก ภาคส่ ว น ตลอดจน ในส่วนของภาครัฐและภาคประชาชนมีความแตกต่างระหว่างก่อน และ หลังการสัมมนาอย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๑, ๐.๐๕ และ ๐.๐๑ ตามลำ�ดับ ❖ ด้ า นผลดี ต่ อ การค้ า ขายระหว่ า งประเทศของไทย จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ก่อนการสัมมนาทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีความเห็นว่าการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน จะมีผลดีตอ่ การค้าขายระหว่างประเทศของไทยในระดับมากถึงมากทีส่ ดุ ร้อยละ ๘๓.๑๐ รองลงมาคือ ปานกลาง ร้อยละ ๑๔.๘๓ ในขณะที่ หลังการสัมมนาทุกภาคส่วน มีความเห็นว่าการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน จะมีผลดีตอ่ การค้าขายระหว่างประเทศของไทยในระดับมากถึงมากทีส่ ดุ ลดลงเหลื อ ร้ อ ยละ ๗๙.๓ รองลงมาคื อ ปานกลาง เพิ่ ม ขึ้ น เป็ น ร้อยละ ๑๙.๑๖ ในภาพรวมของทุกภาคส่วนมีความแตกต่าง ระหว่าง ก่อนและหลังการสัมมนาอย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๕ ❖ ด้ า นที่ ไ ทยจะได้ ป ระโยชน์ ท างด้ า นเศรษฐกิ จ จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ก่อนการสัมมนาทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีความเห็นว่าการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ไทยจะได้ ป ระโยชน์ ท างด้ า นเศรษฐกิ จ ในระดั บ มากถึ ง มากที่ สุ ด ร้อยละ ๗๕.๒๖ รองลงมา คือ ปานกลาง ร้อยละ ๒๑.๙๖ ในขณะที่ หลังการสัมมนาทุกภาคส่วน มีความเห็นว่าการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ประเทศไทยจะได้ประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจในระดับมากถึงมากที่สุด เพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ ๗๕.๙ รองลงมา คือ ปานกลาง เพิม่ ขึน้ เป็น ร้อยละ ๒๒.๒๖
354
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยในส่ ว นของภาคประชาชนมี ค วามแตกต่ า ง ระหว่ า งก่ อ นและ หลังการสัมมนาอย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๕ ❖ ด้านทีไ่ ทยจะได้ประโยชน์ทางด้านสังคมและวัฒนธรรม จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ก่อนการสัมมนาทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีความเห็นว่าการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ประเทศไทยจะได้ประโยชน์ทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ในระดับ มากถึงมากทีส่ ดุ ร้อยละ ๕๙.๙๓ รองลงมาคือ ปานกลาง ร้อยละ ๓๒.๒๖ ในขณะทีห่ ลังการสัมมนาทุกภาคส่วน มีความเห็นว่าการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ไทยจะได้ประโยชน์ทางด้านสังคมและวัฒนธรรมในระดับมากถึงมากทีส่ ดุ ลดลงเหลือ ร้อยละ ๕๕.๓๓ รองลงมา คือ ปานกลาง เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ ๓๘.๐๓ ❖ ด้านระดับความเห็นด้วยต่อการที่ไทยเข้าเป็นสมาชิก อาเซี ย น จากผลการสำ � รวจในทุ ก ภู มิ ภาค พบว่ า ก่ อนการสัม มนา ทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) เห็นด้วยต่อการที่ไทยเข้าเป็น สมาชิกอาเซียน ในระดับมากถึงมากที่สุด ร้อยละ ๘๔.๒๓ รองลงมา คือ ปานกลาง ร้อยละ ๑๓.๖๐ ในขณะทีห่ ลังการสัมมนา ทุกภาคส่วนเห็นด้วย ต่ อ การที่ ไ ทยเข้ า เป็ น สมาชิ ก อาเซี ย น ในระดั บ มากถึ ง มากที่ สุ ด ลดลงเหลื อ ร้ อ ยละ ๘๑.๐ รองลงมา คื อ ปานกลาง เพิ่ ม ขึ้ น เป็ น ร้อยละ ๑๗.๓๐ โดยในภาพรวมของทุกภาคส่วนมีความแตกต่าง ระหว่าง ก่อนและหลังการสัมมนาอย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๑ ❖ ด้ า นที่ ไ ทยจะได้ ป ระโยชน์ ใ นการเข้ า สู่ ป ระชาคม อาเซี ย น จากผลการสำ � รวจในทุ ก ภู มิ ภาค พบว่ า ก่ อนการสัม มนา
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
355
ทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีความเห็นว่า ประเทศไทย จะได้ประโยชน์ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในระดับมากถึงมากที่สุด ร้อยละ ๗๕.๐๓ รองลงมา คือ ปานกลาง ร้อยละ ๒๑.๗ ในขณะที่ หลั ง การสั ม มนาทุ ก ภาคส่ ว นมี ค วามเห็ น ว่ า ไทยจะได้ ป ระโยชน์ ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในระดับมากถึงมากที่สุด ลดลงเหลือ ร้อยละ ๗๐.๑๓ รองลงมา คือ ปานกลาง เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ ๒๖.๓๖ โดยในภาพรวมของทุ ก ภาคส่ ว น และในส่ ว นของภาคประชาชนมี ความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังการสัมมนาอย่างมีนยั สำ�คัญที่ ๐.๐๑ และ ๐.๐๕ ตามลำ�ดับ ❖ ด้านที่ไทยจะเสียเปรียบสมาชิกอาเซียนประเทศอื่น จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ก่อนการสัมมนาทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีความเห็นว่า เมื่อประเทศไทยเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนแล้วจะเสียเปรียบประเทศสมาชิกอืน่ ในระดับปานกลาง ร้อยละ ๔๕.๖๖ รองลงมา คือ น้อยถึงน้อยทีส่ ดุ ร้อยละ ๒๙.๗๖ ในขณะที่ หลั ง การสั ม มนา ทุ ก ภาคส่ ว นมี ค วามเห็ น ว่ า เมื่ อ ประเทศไทยเข้ า สู่ ประชาคมอาเซียนแล้วจะเสียเปรียบประเทศสมาชิกอืน่ ในระดับปานกลาง เพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ ๔๗.๖๖ รองลงมา คือ มากถึงมากทีส่ ดุ ร้อยละ ๒๕.๔๖ ❖ ด้านระดับความเชื่อมั่นต่อการพัฒนามากยิ่งขึ้นของ ประเทศไทย จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่าก่อนการสัมมนา ทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีความเชื่อมั่นต่อการพัฒนา มากยิ่งขึ้นของประเทศไทยเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในระดับมากถึง มากที่สุด ร้อยละ ๖๗.๖๖ รองลงมา คือ ปานกลาง ร้อยละ ๒๖.๕๓
356
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในขณะที่ ห ลั ง การสั ม มนาทุ ก ภาคส่ ว นมี ค วามเชื่ อ มั่ น ต่ อ การพั ฒ นา มากยิ่ ง ขึ้ น ของประเทศไทยเมื่ อ เข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น ในระดั บ มากถึงมากที่สุด ลดลงเหลือ ร้อยละ ๖๓.๗๖ รองลงมา คือ ปานกลาง เพิม่ ขึน้ เป็น ร้อยละ ๓๑.๖ โดยในส่วนของภาคประชาชนมีความแตกต่าง ระหว่างก่อนและหลังการสัมมนาอย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๕ ❖ ด้านระดับความเชือ่ มัน่ ต่อคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ของคนไทย จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ก่อนการสัมมนาทุกภาคส่วน (รั ฐ เอกชน และประชาชน) มี ค วามเชื่ อ มั่ น ต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น ของคนไทยเมื่อประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในระดับมากถึง มากที่สุด ร้อยละ ๕๓.๑๓ รองลงมา คือ ปานกลาง ร้อยละ ๓๗.๒ ในขณะที่หลังการสัมมนาทุกภาคส่วน มีความเชื่อมั่นต่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ของคนไทยเมื่อประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในระดับมากถึง มากที่สุด ลดลงเหลือ ร้อยละ ๔๙.๗๖ รองลงมา คือ ปานกลาง เพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ ๔๑.๘๓ ● ด้านการปฏิบัติ (P : Practice) ❖ ด้านการเข้ารับการอบรมสัมมนาเกี่ยวกับการเตรียม ความพร้ อ มฯ จากผลการสำ � รวจในทุ ก ภู มิ ภ าค พบว่ า ทุ ก ภาคส่ ว น (รัฐ เอกชน และประชาชน) ส่วนใหญ่ประมาณ ร้อยละ ๖๐ ไม่เคย เข้ า รั บ การอบรมสั ม มนาดั ง กล่ า ว โดยในภาพรวมของทุ ก ภาคส่ ว น มีความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังการสัมมนาอย่างมีนยั สำ�คัญที่ ๐.๐๑
357
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ด้านการปฏิบัติของภาครัฐ 60.00
๕๒.๑๐%
๔๘.๒๐%
50.00
๓๗.๙๐% ๓๓.๒๐% ๒๘.๕๐%
40.00 30.00
๔๐.๑๐% ๓๐.๔๐% ๒๘.๘๐%
20.00 10.00 0.00
ก่อน
๑ ๒ ๓ ๔
หลัง
= ได้รับนโยบายจากรัฐบาล = ได้รับมอบหมายจากหน่วยงาน = จัดทำ�ยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ = จัดสรรงบประมาณ
จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ในด้านการปฏิบัติ มีผู้แทนภาครัฐได้รับมอบหมายนโยบายจากรัฐบาลและจากหน่วยงาน ให้ปฏิบตั หิ น้าที่ รวมถึงจัดทำ�ยุทธศาสตร์หรือแผนปฏิบตั กิ าร และจัดสรร งบประมาณ ไม่ถึง ร้อยละ ๕๐ นอกจากนี้ ในหัวข้อการได้รับมอบหมาย นโยบายจากรัฐบาล และการจัดทำ�ยุทธศาสตร์ หรือแผนปฏิบัติการ
358
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังการสัมมนาอย่างมีนยั สำ�คัญที่ ๐.๐๑ และ ๐.๐๕ ตามลำ�ดับ ❖ ระดับในการเตรียมความพร้อมฯ จากผลการสำ�รวจ ในทุ ก ภู มิภ าค พบว่า ภาครัฐส่วนใหญ่ไ ด้มีก ารเตรี ย มความพร้ อ มฯ ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ในระดับน้อยถึงน้อยที่สุด ❖ ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหน้าที่ในการเตรียม ความพร้อมฯ จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่าภาครัฐส่วนใหญ่ ได้ ป ระสบปั ญ หาและอุ ป สรรคในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นการเตรี ย ม ความพร้อมฯ ในระดับปานกลาง และมีความแตกต่างระหว่างก่อน และหลังการสัมมนาอย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๑ ❖ การบู ร ณาการการทำ � งานกั บ หน่ ว ยงานอื่ น ในการ เตรี ย มความพร้ อ มฯ จากผลการสำ � รวจในทุ ก ภู มิ ภ าค พบว่ า ภาครั ฐ ส่ ว นใหญ่ ไ ด้ มี ก ารบู ร ณาการการทำ � งานกั บ หน่ ว ยงานอื่ น ในการเตรียมความพร้อมฯ ในระดับน้อยถึงน้อยที่สุด โดยในภาพรวม ของทุ ก ภาคส่ ว นมี ค วามแตกต่ า งระหว่ า งก่ อ นและหลั ง การสั ม มนา อย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๑
359
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ด้านการปฏิบัติของภาคเอกชน ๓๖.๕๐%
40.00 35.00
๒๕.๑๐% ๓๐.๑๐%
30.00 25.00 20.00
๑๓.๗๐%
15.00
๒๖.๐๐% ๒๑.๔๐% ๑๖.๙๐% ๑๓.๐๐%
10.00 5.00 0.00
ก่อน
๑ ๒ ๓ ๔
หลัง
= ได้รับนโยบายจากรัฐบาล = ได้รับมอบหมายจากหน่วยงาน = จัดทำ�ยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ = จัดสรรงบประมาณ
360
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ในด้านการปฏิบัติ ภาคเอกชนได้ รั บ มอบหมายนโยบายจากรั ฐ บาลและจากหน่ ว ยงาน ให้ปฏิบตั หิ น้าที่ รวมถึงจัดทำ�ยุทธศาสตร์หรือแผนปฏิบตั กิ าร และจัดสรร งบประมาณ ไม่ถึง ร้อยละ ๓๗ ❖ ระดับในการเตรียมความพร้อมฯ จากผลการสำ�รวจ ในทุ ก ภู มิ ภ าค พบว่ า ภาคเอกชนส่ ว นใหญ่ ไ ด้ เ ตรี ย มความพร้ อ มฯ ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ในระดับน้อยถึงน้อยที่สุด ❖ ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหน้าที่ในการเตรียม ความพร้อมฯ จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ภาคเอกชน ส่วนใหญ่ได้ประสบปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหน้าที่ในการเตรียม ความพร้อมฯ ในระดับปานกลาง ❖ การบู ร ณาการการทำ � งานกั บ หน่ ว ยงานอื่ น ในการ เตรี ย มความพร้ อ มฯ จากผลการสำ � รวจในทุ ก ภู มิ ภ าค พบว่ า ภาคเอกชนส่วนใหญ่ได้มีการบูรณาการการทำ�งานกับหน่วยงานอื่น ในการเตรียมความพร้อมฯ ในระดับน้อยถึงน้อยที่สุด
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
361
ด้านการปฏิบัติของภาคประชาชน
20.00 10.00 0.00
ก่อน
๓ = ๔๗.๖๐% ๑ = ๒๖.๖๐% ๒ = ๒๕.๘๐%
30.00
๒ = ๕๔.๓๐%
40.00
๑ = ๒๑.๑๐% ๒ = ๒๔.๖๐%
๑ = ๓๖.๔๐% ๒ = ๔๔.๕๐% ๓ = ๑๙.๒๐%
50.00
๑ = ๔๑.๒๐% ๒ = ๔๒.๙๐% ๓ = ๑๕.๙๐%
60.00
หลัง
เรื่องยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ เรื่องจัดสรรงบประมาณ เรื่องยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ เรื่องจัดสรรงบประมาณ
๑ = ทราบพอสมควร-ทราบดี ๒ = ทราบบ้าง ๓ = ไม่ทราบเลย
362
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
❖ การรั บ ทราบเรื่ อ งยุ ท ธศาสตร์ ห รื อ แผนปฏิ บั ติ ก าร ของรั ฐ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การเตรี ย มความพร้ อ มฯ จากผลการสำ � รวจ ในทุ ก ภู มิ ภ าค พบว่ า ภาคประชาชนประมาณ ร้ อ ยละ ๓๖.๔๐ ถึ ง ร้อยละ ๔๑.๒๐ รับทราบเรื่องยุทธศาสตร์หรือแผนปฏิบัติการในระดับ ทราบดี ประมาณ ร้อยละ ๔๒.๙๐ ถึง ร้อยละ ๔๔.๕๐ รับทราบเรื่อง ยุทธศาสตร์หรือแผนปฏิบตั กิ ารในระดับพอทราบบ้าง และมีความแตกต่าง ระหว่างก่อนและหลังการสัมมนาอย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๑ ❖ การรั บ ทราบเรื่ อ งจั ด สรรงบประมาณเตรี ย มการ เข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น จากผลการสำ � รวจในทุ ก ภู มิ ภ าค พบว่ า ภาคประชาชนส่วนใหญ่ประมาณ ร้อยละ ๔๗.๖๐ ถึง ร้อยละ ๕๔.๓๐ ไม่ทราบเรื่องการจัดสรรงบประมาณเตรียมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และมี ค วามแตกต่ า งระหว่ า งก่ อ นและหลั ง การสั ม มนาอย่ า งมี นัยสำ�คัญที่ ๐.๐๕ การรับทราบนโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมฯ 80.00 60.00
ทราบ ๕๘.๗๐%
ไม่ทราบ ๕๘.๗๐%
ทราบ ๕๓.๖๐% ไม่ทราบ ๔๖.๔๐%
40.00 20.00 0.00
ก่อน
หลัง
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
363
❖ การรับทราบนโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการเตรียม ความพร้อมฯ จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ภาคประชาชน ประมาณ ร้อยละ ๕๕ รับทราบนโยบายการเตรียมความพร้อมฯ โดยผ่าน ทางโทรทัศน์มากทีส่ ดุ รองลงมา คือ การประชุมสัมมนา/เอกสารเผยแพร่ รวมทัง้ หนังสือพิมพ์ และมีความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังการสัมมนา อย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๕ การติดตามข่าวสารของประเทศไทยในการเข้าประชาคมอาเซียน 70.00
๖๙.๔๐%
๖๓.๔๐%
60.00 50.00 40.00 30.00
๒๒.๖๐%
20.00 ๑๔.๐๐% 10.00 0.00
ติดตามประจ�ำ
ติดตามบ้าง
ก่อน
ไม่ติดตาม
๑๘.๓๐%
ติดตามประจ�ำ
๑๒.๓๐% ติดตามบ้าง
ไม่ติดตาม
หลัง
❖ การติ ด ตามข่ า วสารของประเทศไทยในการเข้ า สู่ ประชาคมอาเซียน จากผลการสำ�รวจในทุกภูมภิ าค พบว่า ภาคประชาชน ได้ตดิ ตามข่าวสาร เกีย่ วกับ การเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนของประเทศไทยบ้าง ประมาณ ร้อยละ ๖๕ และมีความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังการสัมมนา อย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๑
364
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ส่วนที่ ๓ ปจั จัยและปัญหา/อุปสรรคในการเตรียมความพร้อม สำ�หรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ● ปัจจัยของการเตรียมความพร้อมฯ ❖ สิง่ ทีท่ �ำ ให้มคี วามรูใ้ นเรือ่ งการเตรียมความพร้อมฯ จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ในภาพรวมของทุกภาคส่วน (รั ฐ เอกชน และประชาชน) มี ค วามเห็ น ว่ า สิ่ ง ที่ ทำ � ให้ มี ค วามรู้ ในเรื่ องการเตรียมความพร้อมฯ มากที่สุด คื อ การประชุ ม สั ม มนา รองลงมา เป็นการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และการศึกษา ❖ สิ่ ง ที่ ทำ � ให้ ป ระเทศไทยมี ค วามพร้ อ มฯ จาก ผลการสำ�รวจในทุกภูมภิ าค พบว่า ในภาพรวมของทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีความเห็นว่าสิ่งที่ทำ�ให้ประเทศไทยมีความพร้อมฯ มากที่สุด คือ นโยบายต้องนำ�ไปสู่การปฏิบัติ รองลงมา คือ ต้องเกิด ประโยชน์กบั ประชาชนอย่างทัว่ ถึง และนโยบายทีช่ ดั เจน โดยในภาพรวม ของทุ ก ภาคส่ ว นมีความแตกต่างระหว่างก่อน และหลั ง การสั ม มนา อย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๑ ❖ สิง่ ทีท่ �ำ ให้สามารถปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้เกิดความพร้อมฯ จากผลการสำ � รวจในทุ ก ภู มิ ภ าค พบว่ า ในภาพรวมของทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชนมีความเห็นว่าสิ่งที่ทำ�ให้สามารถปฏิบัติงานเพื่อให้เกิด ความพร้อมฯ มากที่สุด คือ มีกำ�ลังบุคลากรที่เพียงพอและมีคุณภาพ รองลงมา คือ มีงบประมาณ และมีคำ�สั่งที่ชัดเจน โดยในส่วนของภาครัฐ มีความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังการสัมมนาอย่างมีนยั สำ�คัญที่ ๐.๐๕
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
365
● ปัญหา/อุปสรรคของการเตรียมความพร้อมฯ จากผลการส�ำรวจในทุกภูมิภาค พบว่าในภาพรวมของ ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐภาคเอกชน และภาคประชาชน มีความเห็นว่า ประเทศไทยโดยภาพรวม มีปญ ั หา/อุปสรรคของการเตรียมความพร้อมฯ ในประเด็นต่างๆ โดยเรียงล�ำดับความส�ำคัญ และมีคา่ ไม่ตำ�่ กว่าร้อยละ ๕๐ ได้แก่ ❖ ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจ มีผู้ตอบ ร้อยละ ๗๕.๖๐ เห็นว่าเป็นปัญหา ❖ ขาดการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ มีผู้ตอบ ร้อยละ ๖๑.๕๗ เห็นว่าเป็นปัญหา ❖ ขาดแผนงานที่ชัดเจนและต่อเนื่อง มีผู้ตอบ ร้อยละ ๕๘.๗๗ เห็นว่าเป็นปัญหา ❖ ขาดนโยบายที่ ชั ด เจน มี ผู้ ต อบ ร้ อ ยละ ๕๒.๔๓ เห็นว่าเป็นปัญหา ❖ ขาดบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจ มีผู้ตอบ ร้อยละ ๕๐.๕๓ เห็นว่าเป็นปัญหา
366
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้ตอบแบบสอบถามในแต่ละภาคส่วนเห็นว่า ประเด็นต่างๆ ตามตารางข้างล่างเป็นปัญหา หรืออุปสรรคของการเตรียมความพร้อม โดยเรียงลำ�ดับตามจำ�นวนผู้ตอบเป็นค่าร้อยละ ดังนี้
ภาครัฐ ปัญหา/อุปสรรคของการเตรียมความพร้อมฯ ประชาชนขาดความรู้และความเข้าใจ ขาดแผนงานที่ชัดเจนและต่อเนื่อง ขาดการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ ขาดนโยบายที่ชัดเจน ขาดบุคลากรที่มีความรู้และความเข้าใจ ขาดความร่วมมือระหว่างองค์กรภาครัฐที่เกี่ยวข้อง
ภาคเอกชน ปัญหา/อุปสรรคของการเตรียมความพร้อมฯ ประชาชนขาดความรู้และความเข้าใจ ขาดการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ ขาดแผนงานที่ชัดเจนและต่อเนื่อง ขาดความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐ ขาดบุคลากรที่มีความรู้และความเข้าใจ ขาดนโยบายที่ชัดเจน ขาดงบประมาณ
เปอร์เซ็นต์ผตู้ อบ ร้อยละ ๗๖.๐ ร้อยละ ๖๗.๙ ร้อยละ ๖๓.๙ ร้อยละ ๖๐.๑ ร้อยละ ๕๙.๐ ร้อยละ ๔๔.๖
เปอร์เซ็นต์ผู้ตอบ ร้อยละ ๘๑.๓ ร้อยละ ๖๒.๖ ร้อยละ ๕๖.๖ ร้อยละ ๕๕.๗ ร้อยละ ๕๓.๐ ร้อยละ ๔๙.๓ ร้อยละ ๔๐.๖
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ภาคประชาชน ปัญหา/อุปสรรคของการเตรียมความพร้อมฯ ประชาชนขาดความรู้และความเข้าใจ ขาดการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ ขาดแผนงานที่ชัดเจนและต่อเนื่อง ขาดความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐ ขาดบุคลากรที่มีความรู้และความเข้าใจ ขาดนโยบายที่ชัดเจน ขาดงบประมาณ
367
เปอร์เซ็นต์ผู้ตอบ ร้อยละ ๘๑.๓ ร้อยละ ๖๒.๖ ร้อยละ ๕๖.๖ ร้อยละ ๕๕.๗ ร้อยละ ๕๓.๐ ร้อยละ ๔๙.๓ ร้อยละ ๔๐.๖
ส่วนที่ ๔ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและปัญหาอุปสรรคของ การเตรียมความพร้อมสำ�หรับการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ● ด้านความรู้ (K : Knowledge) จากผลการสำ � รวจด้ า นความรู้ ข องผู้ เข้ า ร่ ว มสั ม มนา ในทุกภูมิภาค พบว่า ในภาพรวมของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนมีความรู้ เกี่ยวกับ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในหัวข้อต่างๆ ในระดับค่อนข้างดีมาก
368
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
❖ เกษตรทฤษฎี ใ หม่ ป ระยุ กต์ ม าจากปรัช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง จากผลการสำ�รวจในทุกภูมภิ าค พบว่า ก่อนการสัมมนา ทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๙๐.๒๗ ในขณะที่หลังการสัมมนา ทุกภาคส่วนมีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๙๑.๙๗ ❖ ธุ ร กิ จ ระบบทุ น นิ ย มประยุ ก ต์ ม าจากปรั ช ญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง จากผลการสำ � รวจในทุ ก ภู มิ ภ าค พบว่ า ก่อนการสัมมนาทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีผตู้ อบถูกต้อง ร้ อ ยละ ๖๖.๔๓ ในขณะที่ ห ลั ง การสั ม มนา ทุ ก ภาคส่ ว นมี ผู้ ต อบ ถูกต้อง ร้อยละ ๖๗.๙๗ โดยในส่วนของภาคประชาชน มีความแตกต่าง ระหว่างก่อนและหลังการสัมมนาอย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๕ ❖ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับหลักการทางสายกลาง สอดคล้องกัน จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ก่อนการสัมมนา ทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๙๐.๘๗ ในขณะที่หลังการสัมมนา ทุกภาคส่วนมีผู้ตอบถูกต้อง ร้อยละ ๙๒.๓๗ ● ด้านทัศนคติ (A : Attitude) จากผลการสำ�รวจด้านทัศนคติของผู้เข้าร่วมสัมมนา ในทุกภูมิภาค พบว่า ในทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชน มีทัศนคติในด้านบวก เกี่ยวกับการนำ�หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในเรือ่ งต่างๆ ยกเว้นในเรือ่ งทีป่ ระเทศไทย จะนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้กบั การเตรียมความพร้อมฯ ยังมีผู้ตอบว่าไม่แน่ใจอยู่ประมาณ ร้อยละ ๓๐
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
369
❖ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถประยุกต์ ใช้ในการประกอบธุรกิจการค้า การลงทุน จากผลการสำ�รวจในทุก ภูมิภาค พบว่า ก่อนการสัมมนาทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีความเห็นว่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถประยุกต์ใช้ในการ ประกอบธุรกิจการค้า การลงทุนได้ในระดับมากถึงมากทีส่ ดุ ร้อยละ ๗๙.๐ รองลงมา คือ ปานกลาง ร้อยละ ๑๘.๕ ในขณะทีห่ ลังการสัมมนา ทุกภาคส่วน มี ค วามเห็ น ว่ า ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งสามารถประยุ ก ต์ ใช้ ในการประกอบธุรกิจการค้า การลงทุนได้ในระดับมากถึงมากที่สุด เพิม่ ขึ้นเป็น ร้อยละ ๗๙.๔๓ รองลงมา คือ ปานกลาง ลดลงเหลือ ร้อยละ ๑๗.๖๓ โดยในส่วนของภาคประชาชนมีความแตกต่างระหว่างก่อน และหลังการสัมมนาอย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๕ ❖ ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งสามารถนำ � ไป ใช้ เ ป็ น แนวทางการดำ � เนิ น ชี วิ ต จากผลการสำ � รวจในทุ ก ภู มิ ภ าค พบว่ า ก่ อ นการสั ม มนาทุ ก ภาคส่ ว น (รั ฐ เอกชน และประชาชน) มี ค วามเห็ น ว่ า ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งสามารถนำ � ไปใช้ เ ป็ น แนวทางการดำ�เนินชีวิตได้ในระดับมากถึงมากที่สุด ร้อยละ ๘๘.๑๐ รองลงมา คือ ปานกลาง ร้อยละ ๑๐.๖๓ ในขณะที่หลังการสัมมนา ทุกภาคส่วนมีความเห็นว่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำ�ไปใช้ เป็นแนวทางการดำ�เนินชีวิตได้ในระดับมากถึงมากที่สุด ลดลงเหลือ ร้อยละ ๘๖.๘๐ รองลงมา คือ ปานกลาง เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ ๑๑.๖๗ โดยในภาพรวมของทุ ก ภาคส่ ว นมี ค วามแตกต่ า งระหว่ า งก่ อ นและ หลังการสัมมนาอย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๑
370
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
❖ ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งช่ ว ยแก้ ปั ญ หา ความยากจน จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ก่อนการสัมมนา ทุ ก ภาคส่ ว น (รั ฐ เอกชน และประชาชน) มี ค วามเห็ น ว่ า ปรั ช ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงช่วยแก้ปัญหาความยากจนได้ ร้อยละ ๙๕.๓๐ ในขณะที่ ห ลั ง การสั ม มนา ทุ ก ภาคส่ ว นมี ค วามเห็ น ว่ า ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงช่วยแก้ปญั หาความยากจนได้ ลดลงเหลือ ร้อยละ ๙๔.๙๗ ❖ ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งช่ ว ยแก้ ปั ญ หา ทางเศรษฐกิจ จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ก่อนการสัมมนา ทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีความเห็นว่า ปรัชญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งช่ ว ยแก้ ปั ญ หาทางเศรษฐกิ จ ได้ ร้ อ ยละ ๙๒.๔๗ ในขณะที่ ห ลั ง การสั ม มนา ทุ ก ภาคส่ ว นมี ค วามเห็ น ว่ า ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงช่วยแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจได้ เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ ๙๓.๓๓ ❖ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงช่วยแก้ปญ ั หาสังคม จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ก่อนการสัมมนาทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีความเห็นว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่ ว ยแก้ ปั ญ หาสั ง คมได้ ร้ อ ยละ ๙๒.๓๓ ในขณะที่ ห ลั ง การสั ม มนา ทุกภาคส่วนมีความเห็นว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงช่วยแก้ปัญหา สังคมได้ เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ ๙๓.๗๓ ❖ การนำ � หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมา ประยุกต์ใช้กบั การเตรียมความพร้อมฯ จากผลการสำ�รวจในทุกภูมภิ าค พบว่ า ก่ อ นการสั ม มนาทุ ก ภาคส่ ว น (รั ฐ เอกชน และประชาชน)
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
371
มีการนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับการเตรียม ความพร้อมฯ ร้อยละ ๙๕.๔๗ ในขณะที่หลังการสัมมนา ทุกภาคส่วน มีการนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับการเตรียม ความพร้อมฯ ลดลงเหลือ ร้อยละ ๙๒.๒๓ ❖ ไทยนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ กับการเตรียมความพร้อมฯ จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ก่อนการสัมมนาทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) มีความเห็นว่า ถ้ า ไทยนำ � หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช้ กั บ การเตรี ย ม ความพร้อมฯ ไทยจะได้เปรียบ ร้อยละ ๖๔.๓๗ รองลงมา คือ ไม่แน่ใจ ร้อยละ ๓๐.๓๐ ในขณะที่หลังการสัมมนา ทุกภาคส่วนมีความเห็นว่า ถ้ า ไทยนำ � หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช้ กั บ การเตรี ย ม ความพร้อมฯ ไทยจะได้เปรียบ ร้อยละ ๖๓.๕๓ รองลงมา คือ ไม่แน่ใจ เพิม่ ขึน้ เป็น ร้อยละ ๓๑.๔๓ โดยในส่วนของภาคประชาชนมีความแตกต่าง ระหว่างก่อนและหลังการสัมมนาอย่างมีนัยสำ�คัญที่ ๐.๐๑ ● ด้านการปฏิบัติ (P : Practice) ❖ การเข้ า ร่ ว มฝึ ก อบรมเกี่ ย วกั บ ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และประชาชน) ส่วนใหญ่ประมาณ ร้อยละ ๕๐ ไม่เคย เข้ารับการอบรมสัมมนาดังกล่าว ❖ การนำ � หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ไปใช้ ใ นชี วิ ต ประจำ � วั น จากผลการสำ � รวจ ในทุ ก ภู มิ ภ าค พบว่ า ทุ ก ภาคส่ ว น (รั ฐ เอกชน และประชาชน) ได้ นำ � หลั ก ปรั ช ญาของ
372
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิ จ พอเพี ย งไปใช้ ใ นชี วิ ต ประจำ � วั น ในระดั บ มากถึ ง มากที่ สุ ด ประมาณร้อยละ ๗๒ รองลงมา คือ ปานกลาง ประมาณ ร้อยละ ๒๓ ❖ การนำ�ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ ใช้ในการเตรียมความพร้อมฯ จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ในส่ ว นของภาครั ฐ และภาคเอกชนส่ ว นใหญ่ ป ระมาณ ร้ อ ยละ ๖๓ ได้ นำ � ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาประยุ ก ต์ ใช้ ส่ ว นที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ ดำ�เนินการเตรียมความพร้อมฯ ประมาณ ร้อยละ ๓๕ ❖ ความเข้าใจเกีย่ วกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และ ประชาชน) ได้ประเมินว่าตัวเองมีความเข้าใจอยูใ่ นระดับมากถึงมากทีส่ ดุ ร้อยละ ๕๕.๕๗ รองลงมาคือ ปานกลาง ร้อยละ ๓๙.๙๐ ❖ ช่องทางการรับรูเ้ กีย่ วกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และ ประชาชน) รับรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านทางโทรทัศน์ มากที่สุด รองลงมา คือ นิตยสาร/วารสาร และการประชุมสัมมนา ❖ การรับรูป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากบุคคล จากผลการสำ�รวจในทุกภูมิภาค พบว่า ทุกภาคส่วน (รัฐ เอกชน และ ประชาชน) รับรูป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากวิทยากร รองลงมา คือ ศึกษาเอง และครู/อาจารย์ อย่างไรก็ดี ถ้าพิจารณาในรายภาคส่วน พบว่า ภาคประชาชนรับรูป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากแกนนำ�กลุม่ / องค์กรด้วย
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
373
ปั ญ หา/อุ ป สรรคของการประยุ ก ต์ ใช้ ป รั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเตรียมความพร้อมฯ ❖ จากผลการส�ำรวจในทุกภูมภิ าค พบว่า ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีความเห็นว่าประเทศไทย ในภาพรวม มี ป ั ญ หา/อุ ป สรรคของการประยุ ก ต์ ใ ช้ ป รั ช ญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มฯ ในประเด็ น ต่ า งๆ โดยเรียงตามล�ำดับความส�ำคัญ และมีค่าร้อยละที่ไม่ต�่ำกว่า ๕๐ ได้แก่ ❖ ขาดการเผยแพร่ / ประชาสั ม พั น ธ์ มี ผู้ ต อบ ร้อยละ ๖๐.๙๗ เห็นว่าเป็นปัญหา ❖ ความไม่ เข้ า ใจปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง มีผู้ตอบ ร้อยละ ๖๐.๖๐ เห็นว่าเป็นปัญหา ❖ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มีผู้ตอบ ร้อยละ ๕๕.๖๐ เห็นว่าเป็นปัญหา ❖ ไม่สามารถประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเข้ากับการเตรียมความพร้อมฯ ได้ มีผู้ตอบ ร้อยละ ๔๘.๒๐ เห็นว่าเป็นปัญหา ผู้ ต อบแบบสอบถามในแต่ ล ะภาคส่ ว นเห็ น ว่ า ประเด็นต่างๆ ตามตารางข้างล่าง เป็นปัญหา/อุปสรรค ของการประยุกต์ ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเตรียมความพร้อมฯ โดยเรียง ลำ�ดับตามจำ�นวน ผู้ตอบมีค่าเป็นร้อยละ ดังนี้
●
374
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ภาครัฐ
ปัญหา/อุปสรรคของการประยุกต์ใช้ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเตรียมความพร้อมฯ ความไม่เข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขาดการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ ไม่สามารถประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับการเตรียมความพร้อมฯ ได้ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ร้อยละ ๖๙.๓ ร้อยละ ๕๗.๘ ร้อยละ ๕๕.๔ ร้อยละ ๕๓.๔
ภาคเอกชน
ปัญหา/อุปสรรคของการประยุกต์ใช้ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเตรียมความพร้อมฯ ขาดการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความไม่เข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เปอร์เซ็นต์ผู้ตอบ
เปอร์เซ็นต์ผู้ตอบ ร้อยละ ๖๑.๒ ร้อยละ ๕๖.๖ ร้อยละ ๕๕.๗
ภาคประชาชน
ปัญหา/อุปสรรคของการประยุกต์ใช้ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเตรียมความพร้อมฯ ขาดการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ ความไม่เข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไม่สามารถประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับการเตรียมความพร้อมฯ ได้
เปอร์เซ็นต์ผู้ตอบ ร้อยละ ๖๓.๙ ร้อยละ ๕๖.๘ ร้อยละ ๕๖.๘ ร้อยละ ๔๓.๒
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
375
ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้แสดงความเห็นและให้ข้อเสนอแนะ ในด้านและประเด็นต่างๆ ตามตารางข้างล่าง โดยตัวเลขค่าร้อยละ แสดงจำ�นวนผู้ตอบที่เห็นว่าเรื่องนั้นๆ มีความสำ�คัญ หรือเป็นปัญหา ที่รุนแรงต่อการเตรียมความพร้อมของประเทศไทยฯ หัวข้อ ๑) ด้านเกษตรกรรม และทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ผลกระทบจากการระบาดของโรคพืชจาก ประเทศกลุ่มอาเซียน การทะลักเข้ามาของสินค้าเกษตร การบุกรุกทำ�ลายทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม นโยบายและการบริหารจัดการสินค้า การเกษตรที่เกี่ยวข้องกับอาเซียน ไม่ชัดเจน การละเมิดสิทธิบัตรของสินค้าเกษตร
เปอร์เซ็นต์ผู้ตอบ ร้อยละ ๘๔.๒๘ ร้อยละ ๘๖.๔๖ ร้อยละ ๘๓.๘๘ ร้อยละ ๘๒.๗๐ ร้อยละ ๘๑.๓๖ ร้อยละ ๗๙.๙๕
หมายเหตุ : ความสำ�คัญ/ความรุนแรงของปัญหาที่มีผู้ตอบน้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ ไม่ได้นำ�มาเสนอไว้ในที่นี้
376
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หัวข้อ ๒) ด้านอุตสาหกรรม แรงงาน และ โครงสร้างพื้นฐาน ปัญหาการแข่งขันด้านการลงทุนจาก ต่างประเทศ ปัญหาความพร้อมทางด้านกฎหมายที่ รองรับการค้าการลงทุนและผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม ปัญหาขาดความรู้ความเข้าใจ ทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และแนวทาง การดำ�เนินธุรกิจของประเทศสมาชิกอื่นๆ ในอาเซียน ปัญหาการขาดการประสานงานและ บูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้อง ปัญหาต้นทุนการขนส่งและโลจิสติกส์สูง ปัญหาการขาดแคลนพลังงาน ปัญหาขาดแหล่งเงินทุนและยากต่อ การเข้าถึงแหล่งเงินทุน
เปอร์เซ็นต์ผู้ตอบ ร้อยละ ๘๔.๐๕ ร้อยละ ๘๖.๕๕ ร้อยละ ๘๕.๖๖ ร้อยละ ๘๔.๑๘
ร้อยละ ๘๓.๒๘ ร้อยละ ๘๒.๘๙ ร้อยละ ๘๒.๔๗ ร้อยละ ๘๐.๘๑
หมายเหตุ : ความสำ�คัญ/ความรุนแรงของปัญหาที่มีผู้ตอบน้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ ไม่ได้นำ�มาเสนอไว้ในที่นี้
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
หัวข้อ ๓) ด้านเศรษฐกิจมหภาค การเงิน การคลัง และการบริการ ปัญหาความสามารถทางการแข่งขัน ด้านการเงิน การคลัง และการบริการ ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการเงิน การคลัง และการบริการ ปัญหาและผลกระทบจากการลงทุน ภาคธุรกิจบริการ ปัญหาการเคลื่อนย้ายเงินทุน ระหว่างประเทศ ผลกระทบจากการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ ภาคบริการ ผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชน ผลกระทบต่อระบบบัญชี/ ระบบมาตรฐานบัญชี ปัญหาการผันผวนทางการเงิน
377
เปอร์เซ็นต์ผู้ตอบ ร้อยละ ๘๓.๙๔ ร้อยละ ๙๑.๑๖ ร้อยละ ๘๕.๙๒ ร้อยละ ๘๕.๓๐ ร้อยละ ๘๕.๒๗ ร้อยละ ๘๓.๓๓ ร้อยละ ๘๒.๔๑ ร้อยละ ๘๑.๒๖ ร้อยละ ๗๔.๘๘
หมายเหตุ : ความสำ�คัญ/ความรุนแรงของปัญหาที่มีผู้ตอบน้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ ไม่ได้นำ�มาเสนอไว้ในที่นี้
378
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หัวข้อ เปอร์เซ็นต์ผู้ตอบ ๔) ด้านศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ร้อยละ ๘๓.๔๒ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสารสนเทศ ปัญหาการผลิตบุคลากรไม่สอดคล้องกับ ร้อยละ ๘๙.๑๒ ความต้องการของตลาดแรงงาน ปัญหาการขาดวินัยในตนเองและวิถีชีวิต ร้อยละ ๘๙.๐๗ ที่ไม่ส่งเสริมการทำ�งานหนัก ปัญหาคุณภาพการศึกษาในทุกระดับ ร้อยละ ๘๗.๑๐ ปัญหาการวิจัยและพัฒนาทางด้าน ร้อยละ ๘๔.๔๕ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสารสนเทศ ปัญหาการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ร้อยละ ๘๓.๘๑ และนวัตกรรม ผลกระทบต่อศาสนาและความเสื่อมศีลธรรม ร้อยละ ๘๓.๓๗ ปัญหาทางด้านการเรียนการสอนและการวิจัย ร้อยละ ๘๑.๐๗ ทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสารสนเทศ ปัญหาขาดบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ ร้อยละ ๘๐.๗๖ เทคโนโลยี และสารสนเทศ ผลกระทบจากการทุ่มลงทุนด้าน ร้อยละ ๗๙.๗๑ การศึกษาจากประเทศสมาชิกอาเซียน ผลกระทบต่อวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ไทย ร้อยละ ๗๙.๙๑ ปัญหาขาดแคลนอุปกรณ์และเครือ่ งมือทางด้าน ร้อยละ ๗๘.๒๓ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสารสนเทศ หมายเหตุ : ความสำ�คัญ/ความรุนแรงของปัญหาที่มีผู้ตอบน้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ ไม่ได้นำ�มาเสนอไว้ในที่นี้
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
หัวข้อ ๕) ด้านสุขภาพ คุณภาพชีวิต และกีฬา ปัญหาสังคมและอาชญากรรม ปัญหาด้านการแพทย์และสาธารณสุข ปัญหาโรคอุบัติใหม่ที่มาจาก การเคลื่อนย้ายประชากร คุณภาพและมาตรฐานสินค้าที่นำ�เข้า ปัญหาการเคลื่อนย้ายบุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุข ปัญหาคุณภาพและมาตรฐานของยาและ เวชภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศ
379
เปอร์เซ็นต์ผู้ตอบ ร้อยละ ๘๔.๓๓ ร้อยละ ๘๙.๑๐ ร้อยละ ๘๕.๕๓ ร้อยละ ๘๕.๔๗ ร้อยละ ๘๓.๗๕ ร้อยละ ๘๑.๓๖ ร้อยละ ๘๐.๔๐
หมายเหตุ : ความสำ�คัญ/ความรุนแรงของปัญหาที่มีผู้ตอบน้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ ไม่ได้นำ�มาเสนอไว้ในที่นี้
380
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หัวข้อ ๖) ด้านยุติธรรม สิทธิมนุษยชน และ การมีส่วนร่วม ปัญหาการลักลอบขนย้ายยาเสพติดและ สิ่งผิดกฎหมาย ปัญหาขาดความรู้และความเข้าใจกฎหมาย ระหว่างประเทศ ปัญหาอาชญากรระหว่างประเทศ ปัญหาด้านสิทธิมนุษยชน ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชน ปัญหากฎหมายระหว่างประเทศ ผลกระทบต่อกระบวนการยุติธรรมของไทย ปัญหาด้านกฎหมายไทยที่ไม่เอื้อต่อ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
เปอร์เซ็นต์ผู้ตอบ ร้อยละ ๘๔.๘๖ ร้อยละ ๙๑.๐๐ ร้อยละ ๘๘.๑๕ ร้อยละ ๘๗.๑๗ ร้อยละ ๘๗.๑๙ ร้อยละ ๘๔.๗๓ ร้อยละ ๘๓.๓๐ ร้อยละ ๗๘.๖๔ ร้อยละ ๗๘.๒๗
หมายเหตุ : ความสำ�คัญ/ความรุนแรงของปัญหาที่มีผู้ตอบน้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ ไม่ได้นำ�มาเสนอไว้ในที่นี้
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
381
สรุป จากการเตรียมความพร้อมของประเทศเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยผลการสำ�รวจด้านความรู้ พบว่า ผู้ตอบจากภาครัฐ เอกชน และ ภาคประชาชนสามารถตอบคำ � ถาม เกี่ ย วกั บ ประชาคมอาเซี ย น ในระดับเบื้องต้นและระดับกลางได้ถูกต้อง ในระดับกลางถึงมาก คือ ตอบถูกต้องตั้งแต่ ร้อยละ ๕๘ ถึง ร้อยละ ๗๕ แต่สามารถตอบคำ�ถาม ในระดับยากได้นอ้ ย คือ ตอบได้ถกู ต้องตัง้ แต่ ร้อยละ ๓๔ ถึง ร้อยละ ๔๑ ชีใ้ ห้เห็นว่า ผูต้ อบมีความรูใ้ นระดับลึกเกีย่ วกับประชาคมอาเซียนมีจ�ำ นวนน้อย ผลการสำ�รวจด้านทัศนคติ เกีย่ วกับ การเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนของ ประเทศไทย พบว่า ผู้ตอบส่วนใหญ่จากภาครัฐ เอกชนและประชาชน มีทศั นคติในทุกด้าน (ทีส่ อบถามทัง้ หมด ๑๐ ด้าน) ในระดับดีมากถึงดีมากทีส่ ดุ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ผู้ ต อบมองการเข้ า ร่ ว มสู่ ป ระชาคมอาเซี ย นของประเทศไทย ในแง่ดีมาก ผลการสำ�รวจด้านการปฏิบัติ เกี่ยวกับ การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนของประเทศไทย พบว่า ผูต้ อบจากภาครัฐจำ�นวนเกือบครึง่ หนึง่ กล่าวว่าได้รับนโยบายจากรัฐบาล ผู้ตอบ ๑ ใน ๓ กล่าวว่าได้รับมอบหมาย จากหน่วยงานและได้จดั ทำ�ยุทธศาสตร์ หรือแผนปฏิบตั กิ าร แต่ผตู้ อบน้อยกว่า ๑ ใน ๓ (ประมาณ ร้อยละ ๒๓) กล่าวว่าได้มีการจัดสรรงบประมาณ สำ�หรับการดำ�เนินงานตอบยุทธศาสตร์หรือแผนปฏิบัติงาน ชี้ให้เห็นถึง ความไม่สอดคล้องกันระหว่างนโยบายของรัฐบาลกับการรับรู้นโยบายของ รัฐบาลและการนำ�นโยบายไปสู่การปฏิบัติซึ่งยังมีช่องห่างอยู่มาก
382
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้ ต อบจากภาคเอกชนจำ � นวนน้ อ ยกล่ า วว่ า ได้ รั บ นโยบาย จากรัฐบาล ได้รบั มอบหมายจากหน่วยงาน ได้มกี ารจัดทำ�ยุทธศาสตร์ หรือ แผนปฏิบตั กิ าร แต่มจี �ำ นวนน้อยมากทีต่ อบว่า ได้มกี ารจัดสรรงบประมาณ สำ�หรับการดำ�เนินตามยุทธศาสตร์หรือแผนปฏิบัติงาน ส่ ว นผู้ ต อบจากภาคประชาชนประมาณ ๑ ใน ๔ ตอบว่ า ไม่ทราบเกี่ยวกับเรื่องยุทธศาสตร์หรือแผนปฏิบัติการและประชาชน ไม่ทราบเรื่องการจัดสรรงบประมาณของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการเตรียม ความพร้อมของประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน อย่างไรก็ดี ผู้ตอบประมาณ ร้อยละ ๘๐ ตอบว่า มีการติดตามข่าวสารประจำ� หรือ ติดตามข่าวสารบ้างในเรื่องที่ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในเรื่ อ งปั ญ หาหรื อ อุ ป สรรคของการเตรี ย มความพร้ อ มฯ ผู้ตอบจากทุกภาคส่วนให้น�้ำหนักมากที่สุดใน ๓ เรื่อง คือ ประชาชน ขาดความรู ้ ค วามเข้ า ใจ ขาดการเผยแพร่ ป ระชาสั ม พั น ธ์ และ ขาดแผนงานที่ชัดเจนและต่อเนื่อง ส่ ว นในเรื่ อ งปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและปั ญ หาและ อุปสรรคของการเตรียมความพร้อมของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้ตอบส่วนใหญ่จากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน ตอบว่าตนเองมีความรู้ในระดับ ดีถึงดีมาก มีทัศนคติในระดับดีมาก และมีการปฏิบัติในระดับดีถึงดีมาก ส่วนในเรือ่ งปัญหาและอุปสรรคของการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ เตรียมความพร้อม ผูต้ อบให้นำ�้ หนักไปทีก่ ารขาดการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ความไม่เข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และบุคลากรขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ภาคผนวก ค รายชื่อคณะทำ�งาน • คณะทำ�งานวิชาการ • คณะทำ�งานจัดทำ�ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง “การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
385
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ชุดที่ ๓ นายโอกาส เตพละกุล ประธานสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นายสมควร รวิรชั รองประธานสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คนที่ ๑ นางภรณี ลีนตุ พงษ์ รองประธานสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คนที่ ๒
คณะทำ�งานวิชาการ นางภรณี นายสมพร ผศ.ดร.บุญส่ง นายชาวันย์ นายประสิทธิ์ นางพรรณี ดร.สงขลา ศ.นพ. อนุวัตร นางจุไรรัตน์ นายทรงศักดิ์ นายมังกร นายชัชวาล นายทวี นายภราดร นางสุทธินี ดร.กัลยาณี
ลีนุตพงษ์ เทพสิทธา ไข่เกษ สวัสดิ์–ชูโต ปทุมารักษ์ จารุสมบัต ิ วิชัยขัทคะ รุ่งพิสิทธิพงษ์ ปันยารชุน ประจงจัด ธนสารศิลป์ ศรีวชิราวัฒน์ เตชะธีราวัฒน์ นุชิตศิริภัทรา เมธีประภา ธรรมจารีย ์
ประธานคณะทำ�งาน รองประธานคณะทำ�งาน คนที่ ๑ รองประธานคณะทำ�งาน คนที่ ๒ ที่ปรึกษาคณะทำ�งาน ที่ปรึกษาคณะทำ�งาน ที่ปรึกษาคณะทำ�งาน ที่ปรึกษาคณะทำ�งาน ที่ปรึกษาคณะทำ�งาน ที่ปรึกษาคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน
386
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คณะทำ�งานวิชาการ (ต่อ) นายรุจิพงษ์ นายสไกร นายบุญยงค์ นายชาญยุทธ์ นางเตือนใจ ดร.นิวัตร รศ.ดร.วิทยา นายวรเดช ดร.สธญ นายเมธัสสิทธิ์ ดร.สุวิทย์ ดร.ปราศรัย นางจรัสโฉม
ทูปคันโธ พิมพ์บึง เวชมณีศรี เจนธัญญารักษ์ บุรพรัตน์ ตันตยานุสรณ์ กุลสมบูรณ์ อมรวรพิพัฒน์ ภู่คง ลัคนทินวงศ์ ธนียวัน ประวัติรุ่งเรือง วีระพรวณิชย์กุล
สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งานและเลขานุการ สมาชิกคณะทำ�งานและผู้ช่วยเลขานุการ
ฝ่ายเลขานุการคณะทำ�งาน นางณัฐนันท์ พงษ์มงคลสาม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการพิเศษ นายวริทธิ์ พิพิธพจนการณ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ นายทศพนธ์ นรทัศน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ นางสาวเติมศิริ ชื่นสกุล พนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน นางศิราณี ปัดถาวงษ์ พนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน นางสาวสุภัทรา ชาญวิเศษ พนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน นางสาวรัชนันท์ ลือวรศิริกุล พนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
387
คณะทำ�งานจัดทำ�ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรือ่ ง “การเตรียมความพร้อม ของประเทศไทยเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ผศ.ดร.บุญส่ง นายสมพร นายบุญยงค์ นายชวลิต รศ.ดร.ใยอนงค์ ผศ.ดร.แตงอ่อน ดร.สธญ
ไข่เกษ เทพสิทธา เวชมณีศรี นิ่มละออ ทิมสุวรรณ มั่นใจตน ภู่คง
ประธานคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งาน สมาชิกคณะทำ�งานและเลขานุการ
ฝ่ายเลขานุการคณะทำ�งาน นางณัฐนันท์ นายวริทธิ์ นายทศพนธ์ นางสาวณัฐนริน นางสาวสุภัทรา นางสาวรัชนันท์
พงษ์มงคลสาม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการพิเศษ พิพิธพจนการณ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ นรทัศน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ พรพงศ์โชติวิทย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ ชาญวิเศษ พนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน ลือวรศิริกุล พนักงานวิเคราะห์นโยบายและแผน
อภิธานศัพท์
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
389
A AEC Blueprint ASEAN Centre for Biodiversity (ACB) ASEAN Charter ASEAN Community (AC) ASEAN Comprehensive Agreement on Investment (ACIA) ASEAN Conference on Civil Service Matters (ACCSM) ASEAN Humanitarian Assistance (AHA) ASEAN Earthquake Information Centre (AEIC) ASEAN Economic Community (AEC) ASEAN Environmental Education Action Plan (AEEAP) ASEAN Environmental Education Inventory Database (AEEID) ASEAN Food Security Reserve Board (AFSRB) ASEAN Framework Agreement on Services (AFAS)
กฎบัตรและปฏิญญา ว่าด้วยแผนงานการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ศูนย์อาเซียนว่าด้วย ความหลากหลายทางชีวภาพ (เอซีบี) กฎบัตรอาเซียน ประชาคมอาเซียน ความตกลงด้านการลงทุน อาเซียน การประชุมอาเซียนว่าด้วย กิจการพลเรือน ศูนย์ช่วยเหลือด้าน มนุษยธรรมอาเซียน ศูนย์ข้อมูลแผ่นดินไหว แห่งอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แผนปฏิบัติการสิ่งแวดล้อม ศึกษาอาเซียน ฐานข้อมูลสิ่งแวดล้อมศึกษา อาเซียน คณะกรรมการสำ�รองอาหาร เพื่อความมั่นคงอาเซียน กรอบความตกลงว่าด้วย การบริการของอาเซียน
390
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
A ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Inter – State Transport ASEAN Integrated Food Security Framework ASEAN Mechanism to Enhance Surveillance Against Illegal Dislodging and Disposal of Tanker Sludge at Sea ASEAN Multilateral Agreement on Air Services ASEAN Multilateral Agreement on the Full Liberalization of Air Freight Services ASEAN Occupational Safety and Health Network (OSHNET) ASEAN Peatland Management Initiative (APMI) ASEAN Political-Security Community (APSC) ASEAN Resource Centres (ARCs) ASEAN Science and Technology Network (ASTNET) ASEAN Single Window (ASW)
กรอบความตกลงว่าด้วย การอำ�นวยความสะดวก การขนส่งข้ามแดน แผนนโยบายบูรณาการ ความมั่นคงด้านอาหาร ของอาเซียน กลไกของอาเซียนสำ�หรับ การติดตาม ตรวจสอบ ต่อต้านการทิ้ง กากตะกอนจากถังลงสู่ทะเล ความตกลงว่าด้วย การบริการขนส่งทางอากาศ ความตกลงว่าด้วยการเปิดเสรี บริการการขนส่งสินค้าทางอากาศ เครือข่ายความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของอาเซียน ข้อริเริ่มในการจัดการป่าพรุ ประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน ศูนย์ทรัพยากรอาเซียน เครือข่ายด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอาเซียน ระบบการอำ�นวยความสะดวก ด้านศุลกากรด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ASEAN Specialised Meteorological Centre (ASMC ) ASEAN Socio - Cultural Community (ASCC) ASEAN Trade in Goods Agreement (ATIGA) ASEAN Working Group on Intellectual Property (AWGIPC) ASEAN Virtual Institute of Scienceand Technology (AVIST) ASEAN University Network (AUN) Asia Development Bank (ADB) Asia-Middle East Dialogue (AMED) Asia-Pacific Economic Cooperation (APEC) Asia Pacific Strategy for Emerging Diseases (APSED) Asian Bond Markets Initiative (ABMI) Asian Monetary Fund (AMF) Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy (ACMECS)
391
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาเฉพาะทาง อาเซียน ประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน ความตกลงการค้าสินค้า ของอาเซียน คณะทำ�งานความร่วมมือด้าน ทรัพย์สินทางปัญญาอาเซียน สถาบันวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเสมือนจริงอาเซียน เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ธนาคารเพือ่ การพัฒนาแห่งเอเชีย กรอบความร่วมมือระหว่าง เอเชีย และแอฟริกาเหนือ มีสมาชิก ๕๐ ประเทศ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ในเอเชีย-แปซิฟิก ยุทธศาสตร์เอเชียแปซิฟิก สำ�หรับโรคอุบัติใหม่ กรอบการริเริ่มการพัฒนา ตลาดพันธบัตรเอเชีย กองทุนเงินสำ�รองเอเซีย ยุทธศาสตร์ความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ อิระวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง
392
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
B Bali Concord II ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือใน อาเซียน ฉบับที่ ๒ /แถลงการณ์ บาหลีฉบับที่ ๒ Basel Convention Regional Centre ศูนย์ภูมิภาคอนุสัญญาบาเซล for Training and (BCRC-SEA) เพื่อการฝึกอบรมและถ่ายทอด เทคโนโลยี ภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ Brunei-Indonesia-Malaysia-Philippines เขตเศรษฐกิจอาเซียน East ASEAN Growth Area ตะวันออก บรูไน อินโดนีเซีย (BIMP-EAGA) มาเลเซีย ฟิลิปปินส์
C Cambodia, Lao PDR and Thailand (CLT) Cambodia, Lao PDR, and Viet Nam (CLV) Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Viet Nam (CLMV) Carbon Footprint Cebu Declaration on the Accelartion of the Establishment of an ASEAN Community by 2015
กัมพูชา ลาว และไทย กัมพูชา ลาว และเวียดนาม กัมพูชา ลาว พม่า และ เวียดนาม ร่องรอยการสร้างสารคาร์บอน ปฏิญญาเซบูว่าด้วย การเร่งรัดการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
393
C Climate Change and ASEAN Coastal Areas: Vulnerability, Impacts and Adaptation Committee on Culture and Information (COCI) Complementary and Alternative Medicine (CAM) Comprehensive Economic Partnership (CEP) Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora (CITES) Corporate Social Responsibility (CSR) Credit Guarantee and Investment Facility (CGIF)
การสร้างภูมิคุ้มกันจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และชายฝั่งทะเลของอาเซียน : ช่องโหว่ผลกระทบและการปรับตัว คณะกรรมการด้าน วัฒนธรรมและสารสนเทศ การแพทย์ทางเลือก ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจ อนุสัญญาว่าด้วยการค้า ระหว่างประเทศชนิดพันธุ์ สัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์ ความรับผิดชอบของ องค์กรธุรกิจต่อสังคม กลไกการค�้ำประกันเครติต และการลงทุน
E East-West Economic Corridor (EWEC) Economy of Scale
เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจ แนวตะวันออก-ตะวันตก การประหยัดต่อขนาดของ การผลิต
394
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
E Economy of Scope Environmental Education (EE) Environmentally Sound Technology (EST) Environmentally Sustainable Development (ESD)
การประหยัดจากการผลิตสินค้า สิ่งแวดล้อมศึกษา เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม การพัฒนาที่ยั่งยืนด้าน สิ่งแวดล้อม
F Foreign Direct Investment ( FDI) Free Trade Agreement (FTA)
การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ เขตการค้าเสรี
G Gender and Development (GAD) Greater Mekong Sub-region (GMS) Gross Domestic Product (GDP) Generalized System of Preferences (GSP)
เพศและการพัฒนา โครงการพัฒนาความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาค ลุ่มแม่น�้ำโขง ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร เป็นการทั่วไป
H Harmonization standard for interlocking block for ASEAN countries)
การจัดทำ�มาตราฐานร่วมกัน ของประเทศสมาชิกอาเซียน
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
395
I Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle (IMT-GT) Information and Communication Technology (ICT) Information Exchange on Marine Ecosystem for ASEAN Countries Initiative for ASEAN Integration (IAI) International Monetary Fund (IMF) International Finance Corporation (IFC) Invisible transactions and current transfers Inward and outward foreign investment
สามเหลี่ยมเศรษฐกิจ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร โครงการแลกเปลี่ยนข้อมูล ด้านระบบนิเวศน์ทางทะเล สำ�หรับประเทศสมาชิกอาเซียน แผนงานความคิดริเริ่ม ในการรวมกลุ่มอาเซียน กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ความร่วมมือทางการเงิน ระหว่างประเทศ เงินโอนและบริจาค การเคลื่อนย้ายเงินลงทุน ที่เข้ามาจากต่างประเทศและ นำ�ออกไปยังต่างประเทศ
M Millennium Development Goals (MDGs) Multilateral Environmental Agreements (MEAs)
เป้าหมายการพัฒนาแห่ง สหัสวรรษ ความตกลงพหุภาคีด้าน สิ่งแวดล้อม
396
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
M Mutual Recognition Arrangements (MRAs)
ข้อตกลงยอมรับร่วมในสาขา วิชาชีพ ๗ สาขา ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ นักบัญชี วิศวกร พยาบาล สถาปนิก และนักสำ�รวจ
N Narrowing the Development Gap (NDG) Non Governmental Oganizations (NGOs) Non - Tariff Measures (NTMs)
การลดช่องว่างการพัฒนา องค์กรที่มิใช่ของรัฐบาล มาตรการทางการค้าที่มิใช่ภาษี
P Personal Protective Equipment (PPE) Product Specific Criteria Public Private Partnership (PPP)
อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล กฎว่าด้วยถิ่นกำ�เนิดเฉพาะ รายสินค้า ความร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชน
R Rule of Origin (ROO)
กฎว่าด้วยถิ่นกำ�เนิดสินค้า ของอาเซียน
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
397
S Science and Technology (S&T) Senior Labour Officials Meeting (SLOM) Senior Officials Meeting on Culture and Arts (SOMCA) Senior Officials Responsible for Information (SOMRI) Single market and Production base Small and Medium-sized Cultural Enterprises (SMCEs ) Southeast Asia Ministers of Education Organization (SEAMEO) Sustainable Forest Management (SFM)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส ด้านแรงงาน การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส ด้านวัฒนธรรม และศิลปะ เจ้าหน้าที่อาวุโสสารนิเทศ อาเซียน การเป็นตลาดเดียวและ ฐานการผลิตร่วมกัน ธุรกิจด้านวัฒนธรรม ขนาดกลางและขนาดเล็ก องค์การความร่วมมือของภาคพืน้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
T Ten Accomplished Youth Organisations (TAYO) The Common Effective Preferential Tariff (CEPT) Traditional Medicine (TM) Trans Pacific Partnership (TPP)
โครงการสิบองค์กรเยาวชน ที่ประสบความสำ�เร็จ ความตกลงว่าด้วยการใช้ อัตราภาษีพิเศษที่เท่ากัน สำ�หรับเขตการค้าเสรีอาเซียน ยาแผนโบราณ กรอบการเจรจาการค้าเสรี แบบพหุภาคี
398
ความเห็นและข้อเสนอแนะ เรื่อง การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
U Urban Water Demand Management Learning Forum
การจัดประชุมว่าด้วย การเรียนรู้ด้านการบริหาร จัดการอุปสงค์การใช้น�้ำ ในเมือง
W Wildlife Enforcement Network (WEN)
เครือข่ายปราบปราม การลักลอบค้าสัตว์ป่า