แผนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การออกแบบขั้นตอนวิธี

Page 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การออกแบบขั้นตอนวิธี รหัสวิชา ว 30105 รายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เวลา 4 คาบ ผู้สอน นายกฤติกร ล้อจิตติกุล ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางานและการแก้ปัญหาได้อย่าง มีประสิทธิภาพ รู้เท่าทันและมีจริยธรรม ตัวชี้วัด ม.4/1 ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคานวณในการพัฒนาโครงงานที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่น อย่างสร้างสรรค์และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา 2. ออกแบบขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหา โดยใช้รูปแบบ การกาหนดเงื่อนไข และการทาซ้า 3. เขียนขั้นตอนวิธีตามที่ได้ออกแบบไว้ 3. สาระสาคัญ / ความคิดรวบยอด ทั ก ษะการคิ ด เชิ ง ค านวณ เป็ น ทั ก ษะพื้ น ฐานของการคิ ด แก้ ปั ญ หาที่ ส ามารถน าไปประยุ ก ต์ ใ น ชีวิตประจาวัน ได้แก่ การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา การหารูปแบบ และการคิดเชิงนามธรรม สามารถนามาใช้ในการออกแบบขั้นตอนวิธีเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ การออกแบบขั้นตอนวิธีนี้มีปัจจัยที่สาคัญ คือ การออกแบบเงื่อนไขที่ถูกต้องและชัดเจน แต่ไม่มีขั้นตอนที่ตายตัว เงื่อนไขที่กาหนดในขั้นตอนวิธีอาจเป็น เงื่อนไขอย่างง่ายหรือเงื่อนไขซับซ้อน โดยเงื่อนไขอย่างง่าย จะเป็นการเปรียบเทียบ มากกว่า น้อยกว่า หรือไม่ เท่ากัน สาหรับเงื่อนไขที่ซับซ้อนประกอบด้วยเงื่อนไขตั้งแต่สองเงื่อนไขขึ้นไป และเชื่อมด้วยตัวดาเนินการ “และ” (AND) “หรือ” (OR) และ “นิเสธ” (NOT) การแก้ปัญหาอาจต้องมีการทางานลักษณะเดียวกันซ้าหลายรอบ โดยในแต่ละรอบจะต้องกระทาการ อย่างใดอย่างหนึ่งกับข้อมูลในรายการและตรวจสอบเงื่อนไข ซึ่งอาจระบุเงื่อนไขในส่วนเริ่มต้นของการทาซ้า


หรือเงื่อนไขเพื่อจบการทางาน ในการเขียนขั้นตอนวิธีเพื่อแก้ปัญหาลักษณะนี้สามารถเขียนได้โดยใช้รูปแบบ ขั้นตอนวิธีการทาซ้า 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. การออกแบบขั้นตอนวิธี 2. การทาซ้า 4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการสื่อสาร

 ความสามารถในการคิด

 ความสามารถในการแก้ปัญหา

 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์  รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

 ซื่อสัตย์สุจริต

 มีวินัย

 อยู่อย่างพอเพียง

 มุ่งมั่นในการทางาน  รักความเป็นไทย

 ใฝ่เรียนรู้  มีจิตสาธารณะ

7. ชิ้นงาน / ภาระงาน 7.1 ใบงาน เรื่อง ฝึกเขียนขั้นตอนวิธี 7.2 ใบงาน เรื่อง การออกแบบเงื่อนไข 7.3 ใบงาน เรื่อง การทาซ้า 8. การวัดและการประเมินผล 8.1 ประเมินจากใบงาน 9. กิจกรรมการเรียนรู้ 9.1 คาบที่ 13 – 14 9.1.1 ขั้นนา 1. ครูทบทวนวิธีการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ควรมีการระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหาที่ชัดเจน และทบทวนความรู้เรื่องตัวแปรเมื่อใช้ในการแทนข้อมูลสาหรับการเขียน ขั้นตอนวิธี


9.1.2 ขั้นสอน 1. ครูยกตัวอย่างจากใบความรู้ ตัวอย่างที่ 9 การตัดสินใจรดน้าต้นไม้ของระบบรดน้า ต้นไม้อัตโนมัติ เพื่ออธิบายให้นักเรียนเห็นตัวอย่างของการเขียนขั้นตอนวิธีแบบรหัสจาลอง และผังงาน รวมทั้ง ตัวอย่างของการใช้งานตัวแปรเพื่อแทนข้อมูล 2. ครูให้นักเรียนศึกษาหัวข้อที่ 4.1 การออกแบบขั้นตอนวิธี จนถึงก่อนหัวข้อที่ 4.1.2 พร้อมกับทาใบงาน เรื่อง ฝึกเขียนขั้นตอนวิธี 3. ครูให้นักเรียนศึกษาหัวข้อที่ 4.1.2 การออกแบบและพิจารณาเงื่อนไข และให้ นักเรียนจับคู่กันทาใบงาน เรื่อง การออกแบบเงื่อนไข 9.1.3 ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปประโยชน์ที่ได้จากกิจกรรมนี้ 9.2 คาบที่ 15 – 16 9.2.1 ขั้นนา 1. ครูทบทวนความรู้เดิม หัวข้อที่ 4.1 การออกแบบขั้นตอนวิธี จนถึงหัวข้อที่ 4.1.2 การออกแบบและพิจารณาเงื่อนไข ที่นักเรียนได้เคยศึกษามาแล้ว 9.2.2 ขั้นสอน 1. ครูยกตัวอย่างจากใบความรู้ ตัวอย่างที่ 11 ตรวจสอบพิกัด และตัวอย่างที่ 12 ตรวจสอบพิกัดโรงเรียน เพื่ออธิบายให้นักเรียนเห็นตัวอย่างของการเขียนขั้นตอนวิธีแบบรหัสจาลอง และผังงาน รวมทั้งตัวอย่างของการใช้งานตัวแปรเพื่อแทนข้อมูล 2. ครูให้นักเรียนศึกษา หัวข้อ 4.2 การทาซ้า และให้นักเรียนจับคู่กันทาใบงาน เรื่อง การทาซ้า 9.2.3 ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปประโยชน์ที่ได้จากกิจกรรมนี้ 10. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 10.1 สื่อ 1. ใบความรู้ เรื่อง การออกแบบขั้นตอนวิธี 2. ใบความรู้ เรื่อง การทาซ้า


10.2 แหล่งเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. ห้องกลุ่มสาะการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 3. ห้องกลุ่มสาะการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 4. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 5. https://studio.code.org/courses 6. https://curriculum.code.org/csp-1718/unit3/9/ 11. เวลาเรียน / จานวนชั่วโมง เวลาเรียน 4 คาบ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.