บทที่ 1 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ จุดประสงค์ของการประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ใช้ในสมัยแรก ๆ นั้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ได้ทางานบางอย่างแทนมนุษย์ได้ เช่น การคานวณเลข ซึ่งถ้าเป็ นตัวเลขจานวนมากๆ มนุษย์จะใช้เวลาในการคานวณมากและมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาดสูง ในขณะที่คอมพิวเตอร์ สามารถคานวณได้เร็วกว่า อีกทั้งยังมีความแม่นยาและมีความผิดพลาดน้อยกว่ามนุษย์ การทางานจะให้มีประสิ ทธิภาพสูงจะ ต้องทาเป็ นหมู่คณะ หรื อทีมเวิร์ค (Teamwork) คอมพิวเตอร์ซ่ ึงถูกสร้างมาเพื่อทางานแทนมนุษย์กจ็ าเป็ นที่ตอ้ งมีการสื่ อสารซึ่ งกันและกัน เช่นกัน ฉะนั้นคอมพิวเตอร์เครื่ องใดที่ไม่ได้เชื่อมต่อเข้ากับเครื่ องอื่นก็เปรี ยบเสมือนคนที่ ชอบความสันโดษ ในการเชื่อมต่อกันเป็ นเครื อข่ายนั้น เป็ นสาเหตุที่เนื่องมาจากการที่ผใู้ ช้ ต้องการทางานเป็ นกลุ่มหรื อทีม ซึ่งการทางานแบบนี้ยอ่ มมีประสิ ทธิภาพมากกว่าการทางาน แบบเดี่ยว ๆ หลังจากที่คอมพิวเตอร์ได้คิดค้นขึ้นมาแล้วนั้น ก็ยงั ได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง และรวดเร็วจนในปัจจุบนั เป็ นที่ยอมรับมากว่า อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์เป็ นอุตสาหกรรมที่ มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วมากที่สุดอุตสาหกรรมหนึ่ง ในสมัยแรก ๆ คอมพิวเตอร์ถูกออกแบบให้ใช้งานแบบรวมศูนย์ (Centralized Computing) เช่น เมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น ซึ่ งคอมพิวเตอร์จะถูกสร้าง และเก็บไว้ ในห้อง ๆ หนึ่ง เนื่องจากสมัยนั้นคอมพิวเตอร์มีราคาแพงมาก ผูใ้ ช้แต่ละคนจะใช้จอภาพ (Dump Terminal) เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับเครื่ องเมนเฟรม
เมนเฟรมและดัมพ์เทอร์มินอล หลังจากนั้นก็ได้มีการคิดค้นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก หรื อเรี ยกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) ซึ่งได้มีการใช้กนั อย่างแพร่ หลายในปั จจุบนั เนื่องจากราคาถูกกว่าเดิมและยังมีประสิ ทธิภาพไม่นอ้ ยไปกว่าเครื่ องเมนเฟรมด้วย ถ้า เครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ทางานเดี่ยวๆ(Stand-alone) ก็จะเป็ นเหมือนกับการที่คน ๆ หนึ่ง ทางานเพียงคนเดียว เป็ นที่ทราบกันดีวา่ การทางานเพียงคนเดียวนั้นจะได้ผลลัพธ์ไม่ ดีเท่าที่ควร การทางานของมนุษย์น้ นั จาเป็ นที่จะต้องทางานกันเป็ นกลุ่มหรื อทีมถึงจะมี ประสิ ทธิภาพ คอมพิวเตอร์กเ็ ช่นกัน ควรจะทางานเป็ นกลุ่มหรื อทีม ซึ่งการทางาน เป็ นกลุ่มหรื อทีมของคอมพิวเตอร์น้ ีจะเรี ยกว่า “ เครื อข่าย (Network) ”
เครือข่ายคอมพิวเตอร์คืออะไร เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์อย่าง น้อยสองเครื่ องเชื่อมต่อกันโดยใช้สื่อกลาง และก็สื่อสารข้อมูลกันได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ ซึ่งทาให้ผใู้ ช้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่ องสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่ งกันและ กันได้ นอกจากนี้ยงั สามารถใช้ทรัพยากร(Resources) ที่มีอยูใ่ นเครื อข่ายร่ วมกันได้ เช่น เครื่ องพิมพ์ ซีดีรอม สแกนเนอร์ ฮาร์ดดิสก์ เป็ นต้น แนวคิดในการสร้างเครื อข่ายคอมพิวเตอร์น้ นั เริ่ มมาจากการที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการที่จะ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันอย่างมีประสิ ทธิภาพและรวดเร็ ว คอมพิวเตอร์เดี่ยวๆ เป็ นอุปกรณ์ที่มี ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลในปริ มาณมากอย่างรวดเร็ วอยูแ่ ล้ว แต่ขอ้ เสี ยคือ ผูใ้ ช้ ไม่สามารถแชร์ขอ้ มูลนั้นกับคนอื่นอย่างมีประสิ ทธิภาพได้ก่อนที่จะมีเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบพื้นฐานของเครือข่าย การที่คอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อกันเป็ นเครื อข่ายได้ ต้องมีองค์ประกอบพื้นฐาน ดังต่อไปนี้ - คอมพิวเตอร์ อย่างน้อย 2 เครื่ อง - เน็ตเวิร์ดการ์ด หรื อ NIC ( Network Interface Card) เป็ นการ์ดที่เสี ยบเข้ากับ ช่องที่ เมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็ นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์และเครื อข่าย - สื่ อกลางและอุปกรณ์สาหรับการรับส่ งข้อมูล เช่น สายสัญญาณ ส่ วน สายสัญญาณที่นิยมที่ใช้กนั ในเครื อข่ายก็เช่น สายโคแอ็กเชียล สายคู่เกลียวบิด และสายใย แก้วนาแสง เป็ นต้น ส่ วนอุปกรณ์ เครื อข่าย เช่น ฮับ สวิตช์ เราท์เตอร์ เกตเวย์ เป็ นต้น - โปรโตคอล ( Protocol) โปรโตคอลเป็ นภาษาที่คอมพิวเตอร์ใช้ติดต่อสื่ อสารกัน ผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ที่สามารถสื่ อสารกันได้น้ นั จาเป็ นที่ตอ้ งใช้ “ภาษา” หรื อใช้ โปรโตคอลเดียวกันเช่น OSI, TCP/IP, IPX/SPX เป็ นต้น - ระบบปฏิบตั ิการเครื อข่าย หรื อ NOS (Network Operating System) ระบบปฏิบตั ิการเครื อข่ายจะเป็ นตัวคอยจัดการเกี่ยวกับการใช้งานเครื อข่ายของผูใ้ ช้แต่ละคน
1. เน็ตเวิร์คการ์ ด เน็ตเวิร์คการ์ดจะเป็ นจุดเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และระบบเครื อข่าย ส่ วน ใหญ่จะเรี ยกว่า “NIC (Network Interface Card)” หรื อบางทีกเ็ รี ยกว่า “LAN การ์ด (LAN Card)” อุปกรณ์เหล่านี้จะทาการแปลงข้อมูลเป็ นสัญญาณที่สามารถส่ งไปตามสายสัญญาณ หรื อสื่ อแบบอื่นได้ ปัจจุบนั นี้กไ็ ด้มีการแบ่งการ์ดออกเป็ นหลายประเภท ซึ่งจะถูกออกแบบ ให้สามารถใช้ได้กบั เครื อข่ายประเภทแบบต่าง ๆ เช่น อีเธอร์เน็ตการ์ด โทเคนริ ง การ์ด เป็ นต้น การ์ดในแต่ละประเภทอาจใช้กบั สายสัญญาณบางชนิดเท่านั้น หรื ออาจจะ ใช้ได้กบั สายสัญญาณหลายชนิด
เน็ตเวิร์คการ์ด
เน็ตเวิร์คการ์ดจะติดตั้งอยูก่ บั คอมพิวเตอร์ โดยเต้าเสี ยบเข้ากับช่องบนเมนบอร์ด ของคอมพิวเตอร์ ส่ วนมากคอมพิวเตอร์ที่ผลิตในปัจจุบนั จะมีเฉพาะช่อง PCI ซึ่ งก็ใช้บสั ที่มี ขนาด 32 บิต อย่างไรก็ตาม ยังมีคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าที่ยงั มีช่องแบบ ISA อยู่ ซึ่งมีบสั ขนาด 16 บิต และมีการ์ดที่เป็ นแบบ ISA จะประมวลผล ข้อมูลช้ากว่าแบบ PCI
2. สายสั ญญาณ ปั จจุบนั มีสายสัญญาณที่ใช้เป็ นมาตรฐานในระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์อยู3่ ประเภท 2.1 สายคู่บดิ เกลียว สายคู่บิดเกลียว ( twisted pair ) ในแต่ละคู่ของสายทองแดงซึ่ งจะถูกพันกันตาม มาตรฐาน เพื่อต้องการลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ากับคู่สายข้างเคียงได้แล้วผ่าน ไปยังสายเคเบิลเดียวกัน หรื อจากภายนอกเท่านั้น เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนั้นมีราคาไม่ แพงมากใช้ส่งข้อมูลได้ดี แล้วน้ าหนักเบา ง่ายต่อการติดตั้ง จึงทาให้ถูกใช้งานอย่าง กว้างขวางตัวอย่างคือสายโทรศัพท์สายแบบนี้มี 2 ชนิดคือ ก. สายคู่บดิ เกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็ นสายคู่บิด เกลียวที่หุม้ ด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีกชั้นดังรู ป เพื่อป้ องกันการรบกวนของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ า
สายคู่บิดเกลียวชนิดหุม้ ฉนวน
ข. สายคู่เกลียวชนิดไม่ หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็ นสายคู่บิด เกลียวที่หุม้ ด้วยฉนวนชั้นนอกด้วยซึ่งบางทีกห็ ุม้ อีกชั้นดังรู ป ซึ่งทาให้สะดวกในการโค้ง งอ แต่กส็ ามารถป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าได้นอ้ ยกว่าชนิดแรก
สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุม้ ฉนวน
2.2 สายโคแอกเชียล สายโคแอกเชียล เป็ นตัวกลางการเชื่อม โยงที่มีลกั ษณะเช่นเดียวกับสายทีวที ี่มีการ ใช้งานกันอยูเ่ ป็ นจานวนมากไม่วา่ จะใช้ในระบบเครื อข่ายเฉพาะที่ และใช้ในการส่ งข้อมูล ระยะที่ไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรื อการส่ งข้อมูล สัญญาณวีดีทศั น์ ซึ่ งสายโคแอกเชียล ที่ใช้ทวั่ ไปก็มีอยู่ 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิทอล และชนิด 75 โอห์ม ซึ่งก็จะใช้ส่งข้อมูลสัญญาณอนาล็อก สายโคแอกเชียลมีฉนวนหุม้ เพื่อป้ องกันการ รบกวนของคลื่นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้ า และก็เพื่อป้ องกันสัญญาณรบกวนอื่น ๆ ซึ่ งก็เป็ น ส่ วนหนึ่งที่ทาให้สายแบบนี้มีช่วงความถี่ที่สญ ั ญาณไฟฟ้ าสามารถส่ งผ่านได้กว้างถึง 500 Mhz จึงสามารถส่ งข้อมูลด้วยอัตราของการส่ งสู งขึ้น
สายโคแอกเชียล
2.3 เส้ นใยแก้ วนาแสง เส้นใยนาแสง ( fiber optic ) เป็ นการที่ใช้ให้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว ซึ่ง สามารถส่ งข้อมูลด้วยเป็ นอัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลที่สูงมาก ที่ปัจจุบนั ถ้าใช้ เส้นใยนาแสงกับระบบอีเธอร์เน็ตก็ใช้ได้ดว้ ยความเร็ ว 10 เมกะบิต ถ้าใช้กบั FDDI ก็จะ ใช้ได้ดว้ ยความเร็วสูงถึง100 เมกะบิต
เส้นใยนาแสง
3. อุปกรณ์ เครือข่ าย อุปกรณ์ที่นามาใช้ในเครื อข่ายทาหน้าที่จดั การเกี่ยวกับการรับ- ส่ งข้อมูลใน เครื อข่าย หรื อใช้สาหรับทวนสัญญาณเพื่อให้การรับ-ส่ งข้อมูลได้ดี และส่ งในระยะที่ไกล มากขึ้น หรื อใช้สาหรับขยายเครื อข่ายให้มีขนาดใหญ่ข้ ึน อุปกรณ์เครื อข่ายที่พบเห็น โดยทัว่ ไป เช่น ฮับ สวิตซ์ เราท์เตอร์ 3.1 ฮับ (Hub) ฮับ (HUB) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมกันระหว่างกลุ่มของคอมพิวเตอร์ ฮับมีหน้าที่รับส่ ง เฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง เพื่อส่ งไปยังทุก ๆ พอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วธิ หรื ออัตราข้อมูลของเครื อข่าย
ฮับ (HUB)
3.2 สวิตซ์ (Switch) สวิตซ์ (Switch) หรื อ บริ ดจ์ (Bridge) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อ LAN สองเครื อข่ายเข้าด้วยกัน โดยจะต้องเป็ น LAN ชนิดเดียวกัน และก็ใช้โปรโตคอลในการ รับส่ งข้อมูลเหมือนกัน เช่น ใช้ในการเชื่อมต่อ Ethernet LAN ทั้งสองเครื อข่ายเข้าด้วยกัน
สวิตซ์ชิ่ง (Switching) 3.3 เราท์ เตอร์ ( Routing ) เป็ นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อในระบบเครื อข่ายกับหลายระบบเข้าด้วยกันที่ คล้ายกับบริ ดจ์ แต่กม็ ีส่วนการทางานจะซับซ้อนมากกว่าบริ ดจ์มาก โดยเราท์เตอร์กม็ ี เส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างแต่ละเครื อข่ายเก็บไว้เป็ นตารางเส้นทาง เรี ยกว่า Routing Table ทาให้เราท์เตอร์สามารถทาหน้าที่จดั หาเส้นทาง และเลือกเส้นทาง เหมาะสมที่สุดเพื่อใช้ในการเดินทาง และเพื่อการติดต่อระหว่างเครื อข่ายได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ
เราท์ เตอร์
3.4 โปรโตคอล (Protocol) ในการเชื่อมโยงของเครื อข่ายเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในแต่ละเครื่ องอาจก็ตอ้ งมีระบบ ที่เหมือนกัน หรื อแตกต่างกัน เช่นในการใช้งานในเครื อข่ายจึงต้องเป็ นมาตรฐานหรื อ ระเบียบที่ใช้ในการติดต่อ ให้แต่ละเครื่ องมีวธิ ีการสื่ อสารที่เป็ นไปตามแนวทางเดียวกัน ได้ เพื่อให้เป็ นการเชื่อมโยงข้อมูล และในการติดต่อสื่ อสารของเครื่ องคอมพิวเตอร์ในแต่ละ เครื่ องต้องมีความเข้าใจ ถูกต้องตรงกันและสามารถทางานร่ วมกันได้เป็ นอย่างดี ไม่เกิด ความเสี ยหายนั้นเกิดขึ้น จึงมีการกาหนดวิธีการมาตรฐานขึ้นเรี ยกว่า โปรโตคอล ดังนั้นอาจ กล่าวได้วา่ โปรโตคอล หมายถึง กฎเกณฑ์ ข้อตกลง ภาษาสื่ อสาร รู ปแบบ วิธีการเชื่อมต่อ ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ในเครื อข่าย (ระบบใดๆ ก็ตาม)ให้สามารถติดต่อสื่ อสารมีการใช้งาน ร่ วมกันได้หลากหลาย Applicat ion Ping
TELNET
FTP
SPNM
SMTP
DNS
Transport TCP
UDP
Net w ork I CMP
IP
I GMP
ARP
I nt erface
RARP
Dat a Link
โปรโตคอลแสตคของ TCP/IP
TFTP
NFS
บทที่ 2 ไอพี แอดเดรส (IP Address) IP Address คือหมายเลขประจาเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มี เครื่ องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1 หรื อ 172.16.10.1 เป็ นต้น Class ของแต่ ล่ะ IP Address Class IP Address
Network Address Host Address
A
w.x.y.z
w
x.y.z
B
w.x.y.z
w.x
y.z
C
w.x.y.z
w.x.y
z
ทาไมต้ องแบ่ งเป็ น Classต่ าง ๆ เพือ่ อะไร เพื่อความเป็ นระเบียบไงครับ ทางองค์กรกลางที่ดูแลเรื่ องของ IP Address จึงได้มีการ จัด Class หรื อ หมวดหมู่ของ IP Address ไว้ท้ งั หมด 5 Class โดย Class ของ Address จะเป็ นตัวกาหนดว่า Bit ใดบ้างใน หมายเลข IP Addressที่ตอ้ งถูกใช้เพื่อเป็ น Network Address และ Bit ใดบ้าง ที่ตอ้ งถูกใช้เป็ น Host Address นอกจากนั้น Class ยังเป็ น ตัวกาหนดด้วยว่า จานวนของ Network Segment ที่มีได้ใน Class นั้น ๆ มีเท่าไร และจานวน ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่สามารถมีได้ ภายในNetwork Segment นั้น ๆ มีเท่าไร
Class D Class นี้จะไม่ถูกนามาใช้กาหนดให้กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์ทวั่ ไป แต่จะถูกใช้สาหรับ การส่ งข้อมูลแบบ Multicast ของบาง Application Multicast คือ เป็ นการส่ งจากเครื่ องต้นทางหนึ่งไปยัง กลุ่ม ของเครื่ องปลายทาง อีกกลุ่มหนึ่ง แต่ไม่ใช่ ทุกเครื องใน Network Segment นัน่ ๆ Class E Class นี้เป็ น Address ที่ถูกสงวนไว้ก่อน ยังไม่ถูกใช้งานจริ ง ๆ
Default Subnet mask ของแต่ ล่ะ Class ดั้งนี้ „ Class A จะมี Subnet mask เป็ น 255.0.0.0 หรื อเลขฐานสองดังน้ ้ ี 11111111.00000000.00000000.00000000 (รวมเลข 1 ให้หมด ก็จะได้เท่ากับ 255) „ Class B จะมี Subnet mask เป็ น 255.255.0.0 หรื อเลขฐานสองดังน้ ้ ี 11111111.11111111.00000000.00000000 „ Class C จะมี Subnet mask เป็ น 255.255.255.0 หรื อเลขฐานสองดังน้ ้ ี 11111111.11111111.11111111.00000000
การตั้งค่ า IP เครื่องคอมพิวเตอร์ และ Notebook
การตั้งให้ คอมพิวเตอร์ รับค่ า IP Address จากโมเด็ม
1. ไปที่ Start >Setting > Control panel จากนั้น double click ที่ Network Connections
2. ที่ Network Connections จะเห็นว่ามี icon local area connection
3. Click เม้าส์ ด้านขวาที่ icon local area connection แล้ว click ที่ properties
4. คลิกเลือกที่ internet protocol (TCP/IP) จากนั้นเลือกที่ properties
5. เลือก option obtain an IP address automaticallyและ obtain DNS server address automatically จากนั้นกด OK ออกมาจนหมด
การตั้งค่ า IP Address จากคอมมานด์ พร็อมท์ รูปแบบคาสั่ ง: netsh interface ip set address [name=][[source=]dhcp [source=] static [addr=]IP address [mask=]IP subnet mask] [[gateway=]none [gwmetric=]integer] เมื่อ…. - name = ชื่ออินเทอร์เฟชที่ตอ้ งการตั้งค่า โดยทัว่ ไปเป็ น Local Area Connection สามารถดูชื่ออินเทอร์เฟชได้โดยใช้คาสัง่ netsh interface show interface - IP address = หมายเลขไอพีแอดเดรสที่ตอ้ งการกาหนดให้กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์ - mask = ซับเน็ตมาก์สของคลาสของไอพีแอดเดรส - gateway = หมายเลขไอพีแอดเดรสของดีฟอลท์เกตเวย์ (สามารถกาหนดเป็ น none ได้) -gwmetric = ค่าเมตริ กซ์ของเกตเวย์ เป็ นตัวเลขจานวนเต็ม เช่น 1,2,3...โดย 0=Automatic matric วิธีการตั้งค่ า IP Address จากคอมมานด์ พร็อมท์ วิธีการตั้งค่า IP Address จากจากคอมมานด์พร็อมท์ มีข้ นั ตอนดังนี้ 1. ทาการเปิ ดคอมมานด์พร็อมท์โดยคลิกที่ Start คลิก Run พิมพ์ cmd แล้วคลิก OK หรื อกด Enter
2. ในหน้าต่างคอมมานด์พร็อมท์ (C:>) ให้พิมพ์คาสัง่ ตามด้านล่าง เสร็จแล้วกด Enter netsh interface ip set address "Local Area Connection" static 192.168.1.19 255.255.255.0 192.168.1.254 0 3. จากนั้นทาการตรวจสอบการตั้งค่าโดยรันคาสัง่ IPCONFIG /ALL ที่คอม มานด์พร็อมท์ ซึ่งจะแสดงหมายเลข IP address ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ตามตัวอย่าง ด้านล่าง (ตัดบางส่ วนออก) หมายเหตุ: หากต้องการกาหนดให้เครื่ องคอมพิวเตอร์รับค่า IP Address จาก DHCP เซิร์ฟเวอร์ ให้รันคาสัง่ ดังนี้ netsh interface ip set address "Local Area Connection" source=dhcp
ซับเน็ตมาสก์ (Subnet Mask) ในการแบ่งซับเน็ต จะทาให้เราสามารถใช้งานแอดเดรสได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ และ การทาซับเน็ตมาสก์กจ็ ะทาควบคู่ไปกับการทาซับเน็ต ซับเน็ตมาสก์หรื อการทามาสกิ้ง เป็ น กระบวนการที่บอกให้รู้วา่ เครื อข่ายของเราได้มีการแบ่งเป็ นซับเน็ต จานวนบิตที่ใช้แบ่ง เครื อข่ายย่อยนั้นมีกี่บิต และใช้ตาแหน่งใดเพื่อระบุเป็ นหมายเลขเครื อข่ายย่อย ดังนั้น ในการ ออกแบบเครื อข่าย จึงจาเป็ นต้องมีการระบุซบั เน็ตมาสก์ดว้ ยเพื่อให้รู้วา่ แอดเดรสนี้มีการแบ่ง ส่ วนหมายเลขเครื อข่ายและส่ วนของหมายเลขโฮสต์อย่างไร ตามปกติ ค่าของซับเน็ตมาสก์น้ นั จะมีการระบุค่าไว้อยูแ่ ล้ว ซึ่ งเรี ยกว่าค่าปกติหรื อค่าดีฟอลต์ (Default) กล่าวคือหากไม่มีการทาซับเน็ต ค่าของซับเน็ตมาสก์กจ็ ะเป็ นค่าปกติหรื อค่าดี ฟอลต์นนั่ เอง ซึ่งค่าดีฟอลต์ของซับเน็ตมาสก์ของแต่ละคลาส แสดงได้ดงั รู ปที่ 1 Class Subnet Mask
Binary
A A
255.0.0.0 11111111.00000000.00000000.00000000
B
255.255.0.0 11111111.11111111.00000000.00000000
C 255.255.255.0 11111111.11111111.11111111.00000000 รู ปที่ 1 ค่าดีฟอลต์ซบั เน็ตมาสก์ของแต่ละคลาส
ซับเน็ตมาสก์มาสกจะมีขนาด 32 บิตเท่ากันกับไอพีแอดเดรส การตั้งค่าให้กบั ซับเน็ตก็ทาได้ ด้วยการตั้งค่าบิตให้ซบั เน็ตมาสก์มีค่าเป็ น 1 (ไบนารี ) โดยค่าที่ถูกติดตั้งเป็ น 1 จะตรงกับ หมายเลขเครื อข่าย และหมายเลขเครื อข่ายย่อย ในขณะที่บิตที่ถูกตั้งค่าเป็ น 0 นั้นจะตรงกับ หมายเลขโฮสต์ Class Subnet Mask
Address
Network Address
(Example)
(Example)
A
255.0.0.0
15.32.56.7
15.0.0.0
B
255.255.0.0
135.67.13.9
135.67.0.0
255.255.255.0 201.34.12.72
201.34.12.0
C
รูปที่ .2 เครื อข่ายที่ไม่มีการทาซับเน็ต
จากรู ปที่ 2 แสดงรายละเอียดเครื อข่ายที่ไม่ได้มีการมาสก์เพื่อทาซับเน็ต โดยรู ปดังกล่าวยังมี ตัวอย่างของไอพีแอดเดรส และหมายเลขเครื อข่ายประกอบ ให้สงั เกตค่าของซับเน็ตมาสก์ซ่ ึ ง เป็ นค่าดีฟอลต์ ในขณะที่รูป 3 แสดงรายละเอียดเครื อข่ายที่มีการมาสก์เพื่อทาซับเน็ต
Class
Subnet Mask
Address
Network Address
(Example)
(Example)
A
255.255.0.0
15.32.56.7
15.32.0.0
B
255.255.255.0
135.67.13.9
135.67.13.0
255.255.255.192 201.34.12.72
201.34.12.64
C
รูปที่ 3 เครื อข่ายที่มีมาสก์เพื่อทาซับเน็ต
การกาหนดซับเน็ตมาสก์ จะขึ้นอยูก่ บั ความต้องการของจานวนโฮสต์สูงสุ ดที่ตอ้ งการในแต่ ละซับเน็ตผูอ้ อกแบบจาเป็ นต้องศึกษาและออกแบบให้เหมาะสมกับการใช้งาน จากรู ปที่ 4 จะเห็นได้วา่ มีการใช้ซบั เน็ตมาสก์ของคลาส B กับแอดเดรสคลาส A ซึ่ งส่ งผลให้สามารถมี ซับเน็ตได้ 254 ซับเน็ต และแต่ละซับเน็ตจะมีจานวนโฮสต์ได้ 65, 534 โฮสต์ หรื ออาจใช้ ซับเน็ตมาสก์ของคลาส C กับ แอดเดรสคลาส A ก็จะทาให้มีซบั เน็ตได้ 65, 534 ซับเน็ต และ แต่ละซับเน็ตก็สามารถมีจานวนโฮสต์เท่ากับ 254 โฮสต์ เป็ นต้น
CIDR Notation (Classless Inter-Domain Routing) การอ้างอิงหมายเลขไอพีแอดเดรสข้างต้นเป็ นไปตามแบบมาตรฐาน แต่อย่างไรก็ ใน ปัจจุบนั ได้มีรูปแบบการอ้างอิงหมายเลขไอพีแอดเดรสด้วยการเพิ่มเครื่ องหมาย / (Slash) และตามด้วยขนาดของมาสก์ โดยในส่ วนของหมายเลขเครื อข่ายจะเรี ยกว่า พรีฟิกซ์ (Prefix) ในขณะที่หมายเลขโฮสต์น้ นั จะเรี ยนกว่า ซัฟฟิ กซ์ (Suffix) ตัวอย่างเช่น หมายเลขไอพี แอดเดรส 128.10.0.0 ซึ่งจะมี 16 บิตแรกเป็ นพรี ฟิกซ์ และ 16 บิตหลังนั้นเป็ นซัฟฟิ กซ์ถา้ เขียนให้อยูใ่ นรู ปแบบของสัญลักษณ์ CIDR ก็จะได้ดงั นี้คือ 128.10.0.0/16 และด้วยการเขียน แอดเดรสให้อยูใ่ นรู ปแบบ CIDR นี่เอง จึงทาให้เราสามารถรับรู้ถึงว่า แอดเดรสนี้วา่ มีการ มาสก์อย่างไรไปในตัว คราวนี้ลองมาดูวา่ การใช้หลักการกาหนดหมายเลขไอพีแอดเดรสด้วยหลักการ CIDR นั้น จะช่วยให้เกิดความยือหยุน่ ต่อการใช้งานอย่างไร เช่น สมมติวา่ บริ ษทั ที่บริ การ อินเทอร์เน็ตหรื อ ISP ได้มีหมายเลขไอพีคลาส B คือ 128.211.0.0 ไว้คอยบริ การลูกค้า และ หากมีการใช้ดีฟอลต์ซบั เน็ตมาสก์ของคลาส B เองก็จะทาให้เครื อข่ายนี้มีเพียงหนึ่งเครื อข่าย ดังนั้น ทาง ISP จึงต้องกาหนดพรี ฟิกซ์น้ ีให้กบั ลูกค้าเพียงรายเดียวเท่านั้น และภายในหนึ่ง เครื อข่ายก็สามารถมีจานวนโฮสต์แอดเดรสได้มากถึง 2 16 โฮสต์ดว้ ยกัน โดยหาก ISP รายนี้ เกิดมีลูกค้าที่ตอ้ งการเครื อข่ายที่เชื่อมต่อกับจานวนโฮสต์มากมายเหล่านี้ ก็ถือว่าสามารถ ให้บริ การพรี ฟิกซ์น้ ีได้กบั ลูกค้ารายนั้น แต่ถา้ หาก ISP รายนี้เกิดมีลูกค้า 2 รายที่ตอ้ งการเพียง จานวนโฮสต์ 12 เครื่ องเท่านั้น การกาหนดพรี ฟิกซ์ดงั กล่าว คงไม่สามารถจะกระทาได้เพื่อ รองรับเหตุการณ์น้ ี คราวนี้ เราลองมาพิจารณาด้วยการใช้หลักการภายใต้ CIDR โดยกรณี แรกถ้าต้องการ กาหนดพรี ฟิกซ์ให้กบั หนึ่งหน่วยงาน ทาง ISP ก็สามารถใช้ 16 บิต CIDR มาสก์ได้เลย ซึ่ งก็ คือ 128.211.0.0/16
สาหรับกรณี ที่ 2 ที่ทาง ISP มีลูกค้าสองรายที่ตอ้ งการจานวนโฮสต์เพื่อเชื่อมต่อเพียง 12 โฮสต์เท่านั้น ทาง ISP ก็จะสามารถใช้ CIDR ในการแบ่งส่ วนแอดเดรสให้กบั ลูกค้าทั้งสอง รายได้ดงั ต่อไปนี้ ลูกค้ารายแรก ได้ชุดหมายเลขไอพี 128.211.0.16/28 ลูกค้ารายที่สอง ได้ชุดหมายเลขไอพี 128.211.0.32/28 ถึงแม้วา่ ลูกค้าทั้งสองรายจะมีมาสก์ขนาดเดียวกัน (28 บิต) แต่พรี ฟิกซ์จะแตกต่างกัน ซึ่ ง ไม่ได้ก่อให้เกิดปัญหาใดๆ เนื่องจากลูกค้าแต่ละรายนั้นจะมีพรี ฟิกซืของตัวเองไม่ซ้ ากับใคร และที่สาคัญยิง่ ไปกว่านั้นก็คือ ทาง ISP จะสามารถเก็บกักหมายเลขไอพีจานวนมากของตน เพื่อบริ การให้แก่ลูกค้ารายอื่นๆ ได้อีกจานวนมาก ด้วยการลดจานวนหมายเลขที่ตอ้ งสูญเสี ย ไปโดยใช่เหตุ สาหรับหน่วยงานที่ใช้งานหมายเลขไอพีแอดเดรสไม่เต็มจานวนกับคลาสที่ ได้รับ ซึ่ งถือว่าเป็ นวิธีการจัดการแบ่งปันหมายเลขไอพีได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ การหาแอดเดรสซับเน็ต ในการหาแอดเดรสซับเน็ต จะใช้ประโยชน์จากหมายเลขซับเน็ตมาสก์และไอพี แอดเดรส Boundary-Level Masking ปกติการตั้งค่าซับเน็ตมาสก์ตามมาตรฐาน จะกระทาด้วยการกาหนดบิตเป็ น 1 หรื อ 0 จน ครบ 8 บิต ซึ่งจะตรงกับค่าของเลขฐานสิ บคือ 255 หรื อ 0 การกาหนดด้วยวิธีดงั กล่าวเป็ นการ กาหนดภายในขอบเขตหรื อเรี ยกว่า Boundary-Level Masking ซึ่งจะทาให้สามารถหา แอดเดรสซับเน็ตได้ง่ายมาก โดยแสดงรายละเอียดการหาแอดเดรสของซับเน็ตดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ ตัวอย่ างที่ 1 IP address 45 . 23 . 21 . 8 Mask 255 . 255 . 0 . 0 Subnetwork address 45 . 23 . 0 . 0
ตัวอย่ างที่ 2 IP address 173 . 23 . 21 . 0 Mask 255 . 255 . 255 . 0 Subnetwork address 173 . 23 . 21 . 0 Nonboundary-Level Masking สาหรับกรณี มาสกิ้งที่ไม่ได้กาหนดเป็ น 255 หรื อ 0 จะถือเป็ นการกาหนดที่อยูภ่ ายนอก ขอบเขตหรื อเรี ยกว่า Nonboundary-Level Masking ซึ่ งวิธีน้ ีจะใช้ค่าของซับเน็ตมาสก์เป็ น ตัวกาหนดจานวนซับเน็ตและจานวนโอสต์ข้ ึนเองตามความเหมาะสม ดังนั้น ในการหาก แอดเดรสซับเน็ตสาหรับกรณี น้ ีจะใช้วธิ ีการเทียบบิตด้วยตัวลอจิก AND โดยนาตาแหน่งไบต์ ของมาสก์ที่มีค่านอกเหนือจาก 0 หรื อ 255 ไปเทียบกับหมายเลขไอพีแอดเดรสแสดงดัง ตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่ างที3่ IP address 45 . 123 . 21 . 8 Mask 255 . 192 . 0 . 0 Subnetwork address 45 . 64 . 0 . 0 สังเกตได้วา่ ตาแหน่งไบต์ที่ 1, 3 และ 4 นั้นง่ายต่อการแปลง ในขณะที่ตาแหน่งไบต์ที่ 2 จะ ได้ค่าซับเน็ตเวิร์กเป็ น 64 ซึ่งมีกระบวนการหาดังต่อไปนี้ 123 = 0 1 1 1 1 0 1 1 192 = 1 1 1 1 1 1 1 1 _____________________________________ (เปรี ยบเทียบบิตด้วยลอจิก AND) 64 = 0 1 0 0 0 0 0 0
ตัวอย่ างที่ 4 IP address 213 . 23 . 47 . 37 Mask 255 . 255 . 255 . 240 Subnetwork address 213 . 23 . 47 . 32 สังเกตได้วา่ ตาแหน่ง 3 ไบต์แรกสามารถกาหนดได้ทนั ที ในขณะที่ตาแหน่งไบต์สุดท้าย จะต้องดาเนินการต่อไปนี้ 37 = 0 0 1 0 0 1 0 1 240 = 1 1 1 1 0 0 0 0 _____________________________________ (เปรี ยบเทียบบิตด้วยลอจิก AND) 32 = 0 0 1 0 0 0 0 0 ตัวอย่ างการแบ่ งซับเน็ตของแอดเดรสคลาส B w 255.555.0.0/16 (11111111 . 11111111 . 00000000 . 00000000) 1 เครื อข่าย/65534 โฮสต์ (ไม่มีซบั เน็ต เนื่องจากใช้ดีฟอลต์ซบั เน็ต) w 255.255.192.0/18 (11111111 . 11111111 . 11000000 . 00000000) 2 ซับเน็ต/ซับเน็ตละ 16,382 โฮสต์ w 255.255.252.0/22 (11111111 . 11111111 . 11111100 . 00000000) 62 ซับเน็ต/ซับเน็ตละ 1, 022 โฮสต์ w 255.255.255.0/24 (11111111 . 11111111 . 11111111 . 00000000) 254 ซับเน็ต/ซับเน็ตละ 254 โฮสต์ w 255.255.255.240/28 (11111111 . 11111111 . 11111111 . 11110000) 4, 096 ซับเน็ต/ซับเน็ตละ 14 โฮสต์
ตัวอย่ างการแบ่ งซับเน็ตของแอดเดรสคลาส C w 255.255.255.0/24 (11111111 . 11111111 . 11111111 . 00000000) Length
Address Mask
Notes
/0
0.0.0.0
All Os (equivalent to no
/1
128.0.0.0
mask)
/2
192.0.0.0
/3
224.0.0.0
/4
240.0.0.0
/5
248.0.0.0
/6
252.0.0.0
/7
254.0.0.0
/8
255.0.0.0
/9
255.128.0.0
/10
255.192.0.0
(CIDR)
Original Class A mask
/11
255.224.0.0
/12
255.240.0.0
/13
255.248.0.0
/14
255.252.0.0
/15
255.254.0.0
/16
255.255.0.0
/17
255.255.128.0
/19
255.255.224.0
/20
255.255.240.0
/21
255.255.248.0
/22
255.255.252.0
/23
255.255.254.0
/24
255.255.255.0
/25
255.255.255.128
/26
255.255.255.192
/27
255.255.255.224
/28
255.255.255.240
Original Class B mask
Original Class C mask
/29
255.255.255.248
/30
255.255.255.252
/31
255.255.255.254
/32
255.255.255.255
1 254 โฮสต์
All 1s (host specific mask)
เครื อข่าย/ (ไม่มี
ซับเน็ต
เนื่องจาก
ใช้ดีฟอลต์
ซับเน็ต)
w
255.255.255.192/26 (11111111 . 11111111 . 11111111 . 11000000) 2 ซับเน็ต/ซับเน็ตละ 62 โฮสต์ w 255.255.255.224/27 (11111111 . 11111111 . 11111111 . 11100000) 6 ซับเน็ต/ซับเน็ตละ 30 โฮสต์ w 255.255.255.240/28 (11111111 . 11111111 . 11111111 . 11110000)
14 ซับเน็ต/ซับเน็ตละ 14 โฮสต์ w 255.255.255.248/29 (11111111 . 11111111 . 11111111 . 11111000) 30 ซับเน็ต/ซับเน็ตละ 6 โฮสต์ รู ปที่ 4 การแอดเดรสมาสก์ดว้ ย CIDR ในรู ปแบบ Dotted Decimal Values
บทที่ 3 โดเมนเนม (domain name) โดเมนเนม ความหมายโดยทัว่ ๆ ไป หมายถึง ชื่อเว็บไซต์ ชื่อบล็อก ซึ่ งเป็ นชื่อที่ต้ งั ขึ้น เพื่อให้จดจาและนาไปใช้งานได้ง่ายทั้งในการเข้าชมผ่านบราวเซอร์ของผูใ้ ช้ทวั่ ไป ยังรวมไป ถึงผูด้ ูแลระบบโดเมนเนมซีสเทม ที่สามารถแก้ไขไอพีแอดเดรสของชื่อโดเมนเนมนั้นๆ ได้ ทันที โดยที่ผใู้ ช้ทวั่ ไปไม่จาเป็ นต้องรับรู้หรื อจดจาไอพีแอดเดรสที่มีการเปลี่ยนแปลง เครื่ อง คอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่เผยแพร่ เว็บไซต์ จะมีโดนเมนเนมเฉพาะไม่ซ้ ากับใคร โดนเมนเนม มีดอ็ ทอยูห่ ลายประเภทแต่ที่นิยมมากที่สุดนั้นก็คือ .com เพราะเป็ นด็อท ในยุคแรกๆ ที่เริ่ มใช้กนั และง่ายต่อการจดจา ประเภทของ Domain Name แบ่ งได้ เป็ น 2 ประเภท 1. โดเมน 2 ระดับ ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน 2. โดเมน 3 ระดับ ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน . ประเทศ โดนเมนเนม 2 ระดับ จะประกอบด้วย www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน เช่น www.b2ccreation.com ประเภทของโดเมน คือ คาย่อขององค์กร โดยประเภทขององค์กรที่พบบ่อย มีดงั ต่อไปนี้ * .com คือ บริ ษทั หรื อ องค์กรพาณิ ชย์ * .org คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกาไร * .net คือ องค์กรที่เป็ นเกตเวย์ หรื อ จุดเชื่อมต่อเครื อข่าย * .edu คือ สถาบันการศึกษา * .gov คือ องค์กรของรัฐบาล * .mil คือ องค์กรทางทหาร
โดนเมนเนม 3 ระดับ จะประกอบด้วย www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน . ประเทศ เช่น www.kmitnb.ac.th, www.nectec.or.th, www.google.co.th ประเภทขององค์กรที่พบบ่อยคือ * .co คือ บริ ษทั หรื อ องค์กรพาณิ ชย์ * .ac คือ สถาบันการศึกษา * .go คือ องค์กรของรัฐบาล * .net คือ องค์กรที่ให้บริ การเครื อข่าย * .or คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกาไร ตัวย่อของประเทศที่ต้งั ขององค์กร * .th คือ ประเทศไทย * .cn คือ ประเทศจีน * .uk คือ ประเทศอังกฤษ * .jp คือ ประเทศญี่ปุ่น * .au คือ ประเทศออสเตรเลีย โดนเมนเนม ถือเป็ นสิ่ งสาคัญอันดับแรกที่มองข้ามไม่ได้เลยสาหรับเว็บไซต์น้ นั ๆ โดยเฉพาะกับการโฆษณาบนอินเตอร์เน็ท ถ้าได้ชื่อที่เฉพาะเจาะจง ตรงกับกลุ่มเป้ าหมายที่มี ความสนใจเป็ นพื้นฐานเดิมอยูแ่ ล้วนั้น จะทาให้โดเมนเนม หรื อ เว็บไซต์น้ นั ๆ จะได้รับความ สนใจและเป็ นที่จดจาได้ง่ายไม่ใช่กบั ผูเ้ ข้าชมหรื อ กลุ่มเป้ าหมายที่เข้ามาชมเว็บไซต์ผา่ นโดมเนมเท่านั้นยังรวมไปถึง Search Engine ชื่อดัง ต่างๆ เช่น Google Yahoo MSN เป็ นต้น ที่จะเข้ามาแวะเวียนเข้ามาทา index กับเว็บเพจ หน้าต่างๆ ในเว็บไซต์ของเรา
หลังจากจดโดนเมนเนมเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว สิ่ งสาคัญลาดับถัดมานั้นก็คือ โฮสติ้ง (Hosting) หรื อ ที่เก็บข้อมูลเว็บไซต์ของเรานั้นเอง ซึ่ งโฮสติ้งแต่ละที่จะมี DNS หรื อ Name Server ที่ทางผูใ้ ห้บริ การโฮสติ้ง จะเป็ นคนกาหนดและแจ้งให้เราทราบเพื่อเอาไปใส่ ให้โดม เมเนมของเรา เช่น DNS ของ B2C Creation จะมีชื่อว่า NS1.B2CCREATION.COM และ NS2.B2CCREATION.COM ซึ่งคุณไม่ตอ้ งกังวลในเรื่ องนี้ เพราะถ้าคุณจด Domain Nameและใช้บริ การโฮสติ้งกับผูใ้ ห้บริ การคนเดียวกันจะไม่มี ปัญหาอะไรเลยครับ หรื อแม้วา่ จะเป็ นคนละคนกัน เพียงแค่นา DNS ที่ได้ ไประบุให้กบั โดเมนเนมนั้นตามที่ได้อธิบายไปแล้ว ส่ วนเรื่ องราคาในท้องตลาดบ้านเรามีหลากหลายราคาแล้วแต่ความพึ่งพอใจ ซึ่งทาง B2C Creation ของเราได้ให้บริ การจดโดมเมเนมนี้ดว้ ยเช่นกัน
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต ความหมาย อินเตอร์เน็ต คือระบบเครื อข่ายของข้อมูลและคอมพิวเตอร์ สาธารณะขนาดใหญ่ที่เกิด จากระบบเครื อข่ายขนาดเล็ก ๆ หลาย ๆ เครื อข่ายที่อาศัยมาตรฐานการเชื่อมต่อแบบเดียวกัน ต่อเชื่อมเข้าหากันเพื่อให้บริ การข้อมูลแก่ผใู ้ ช้บริ การ โดยไม่มีใครเป็ นเจ้าของหรื อผูด้ ูแล อินเตอร์เน็ตแต่เพียงผูเ้ ดียว ประวัติความเป็ นมา จุดกาเนิดเริ่ มแรกของอินเตอร์เน็ตนั้น เกิดขึ้นจากวัตถุประสงค์ทางการทหารและความ มัน่ คงของประเทศสหรัฐอเมริ กา เพื่อให้สามารถเชื่อมต่อเครื่ องคอมพิวเตอร์เข้าหากันแม้จะ มีระบบที่แตกต่างกันและสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้แม้วา่ เครื่ องคอมพิวเตอร์เครื่ องใด เครื่ องหนึ่งในระบบที่ต่ออยูจ่ ะไม่สามารถทางานได้ และการพัฒนาการของระบบก็มีมาอย่าง ต่อเนื่อง ดังนี้ - พ.ศ.2512 หน่วยงาน ARPA (Advance Research Project Agency) ซึ่งเป็ นผูท้ ี่ ดาเนินการวิจยั ทางด้านวิทยาศาสตร์ของสหรัฐ ได้ริเริ่ มโครงการที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ มีชื่อโครงการว่า ARPANet ผูท้ ี่ทาโครงการนี้กค็ ือผูเ้ ชี่ยวชาญที่อยูใ่ นมหาวิทยาลัยที่ร่วม โครงการ ในระยะแรกใช้สายโทรศัพท์ในการต่อเชื่อมผ่านโปรโตคอล (Protocol)
NCP
(Network Control Protocol) และจากัดจานวนเครื่ องที่สามารถต่อเข้าในระบบด้วย - พ.ศ.2514 มีการสร้างโปรแกรมรับส่ ง e-mail เพื่อสื่ อสารกันระหว่างระบบเครื อข่าย ต่าง ๆ
- พ.ศ.2516 ARPANet ได้เชื่อมต่อไปยังประเทศ อังกฤษและนอร์เวย์ - พ.ศ.2525 ARPANet เปลี่ยนจาก NCP มาเป็ น TCP/IP (Transmission Control Protocol/ Internet Protocol) - พ.ศ.2527 มีการเริ่ มใช้ระบบ DNS(Domain Name Server) - พ.ศ.2529 ก่อตั้ง NSFNET (National Science Foundation Network) มีความเร็ว 56 Kbps. เพื่อเชื่อมต่อเครื่ อง supercomputer จากสถาบันต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และได้ชื่อว่าเป็ น backbone ที่สาคัญของระบบอินเตอร์เน็ต - พ.ศ.2530 หน่วยงาน Merit Network ได้เข้ามาเป็ นผูด้ ูแล NSFNET - พ.ศ.2532 NSFNET เพิม่ ความเร็ วเครื อข่ายเป็ น 1.544 Mbps จานวนเครื่ องที่เชื่อมต่อ เข้าสู่อินเตอร์เน็ตก็เพิ่มขึ้นเป็ น 100,000 เครื่ อง - พ.ศ.2533 ARPANet หยุดดาเนินการ - พ.ศ.2534 มีการก่อตั้ง NERN (National Research and Education Network) จานวน เครื่ องที่ต่อเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ตมีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วจาก 376,000 เครื่ องในเดือน มกราคม เป็ น 617,000 เครื่ องในเดือน ตุลาคม - พ.ศ.2535 มีการเริ่ มใช้ www ที่ CERN (the European Laboratory for Particle Physics) NSFNET เพิ่มความเร็วเป็ น 44.736 Mbps จานวนเครื่ องที่ต่อเชื่อมเข้าสู่อินเตอร์เน็ต เพิม่ ขึ้นถึง 1,000,000 เครื่ อง - พ.ศ.2536 NSF ก่อตั้ง InterNIC เพื่อเป็ นผูด้ าเนินการเรื่ องการแจกจ่ายชื่อโดเมน บริ ษทั และผูส้ นใจต่าง ๆ เริ่ มเชื่อมต่อตัวเองเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ต
- พ.ศ.2537 NCSC (National Center for Computing at University of Illinois) สร้าง โปรแกรม Mosaic เป็ นโปรแกรม Web browser เริ่ มมีการทาการค้าขายผ่านอินเตอร์เน็ต และ มีโปรแกรมที่ช่วยสาหรับค้นหาข้อมูลเกิดขึ้น - พ.ศ.2538 ยกเลิกโครงการ NSFNET และเปลี่ยนไปลงทุนกับโครงการ vBNS (VeryHigh-Speed Backbone Network Service) เพื่อเป็ น backbone ให้แก่อินเตอร์เน็ตในอนาคต
พืน้ ฐานการทางานของระบบอินเตอร์ เน็ต ระบบอินเตอร์เน็ตในปัจจุบนั นั้นอาศัยโปรโตคอล TCP/IP เป็ นหลัก สิ่ งสาคัญที่ควร ทราบเกี่ยวกับโปรโตคอล TCP/IP ก็คือ การต่อเชื่อมเครื่ องคอมพิวเตอร์หรื ออุปกรณ์ใดเข้าสู่ ระบบเครื อข่ายที่เป็ น TCP/IP นั้นทุกเครื่ องจะต้องมีหมายเลขกากับเสมอ เพื่อระบุแหล่งที่มา ของข้อมูลหมายเลขที่กากับนี้มีชื่อว่าหมายเลย IP หมายเลขนี้จะเป็ นเลขฐาน 2 ขนาด 32 บิต สามารถเขียนได้เป็ นเลขฐาน 2 จานวน 4 ชุดแยกจากกันโดยใช้จุดคัน่ เลขแต่ละชุดสามารถ สามารถเปลี่ยนได้ต้งั แต่ 0-255 เช่น 192.150.249.11, 64.4.43.7 เป็ นต้น 11111 . 11111 . 11111 . 111111 111
111
111
112
255
. 255
. 255
. 255
จากหมายเลข IP ขนาด 32 บิตที่ใช้ในปัจจุบนั ทาให้สามารถมีจานวนเครื่ องที่เข้าใช้ ได้ จานวนหลายพันล้านเครื่ องแล้วแต่จานวนขนาดนี้ยงั ไม่เพียงพอต่อความต้องการทาให้ตอ้ งมี โครงการขยายหมายเลข IP ออกไปอีกในปัจจุบนั ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่ใช้อยูท่ ุกเครื่ องที่ สามารถต่อเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตได้ จะต้องมีหมายเลข
IP ด้วยเสมอสามารถดูได้จาก
โปรแกรมที่เตรี ยมไว้ในเครื่ อง เช่นในระบบ windows จะใช้คาสัง่ winipcfg สามารถเข้าไปที่ Start / Run / winipcfg แล้วกด ok จะมีหน้าต่างแสดงข้อมูลเกี่ยวกับหมายเลข IP ปรากฏ ขึ้นมาดังภาพ
ถ้าเป็ นระบบอื่น ๆ ก็จะใช้คาสัง่ ที่แตกต่างกันไปสามารถตรวจสอบได้จากคู่มือที่มากับเครื่ อง
บทที่ 5 อินทราเน็ต(intranet) อินทราเน็ต คือ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์แบบภายในองค์กร ใช้เทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต ในการใช้งานอินทราเน็ตจะต้องใช้โปรโตคอล IP เหมือนกับอินเทอร์เน็ต สามารถมีเว็บไซต์และใช้เว็บเบราว์เซอร์ได้เช่นกัน รวมถึงอีเมล์ ถ้าเราเชื่อมต่ออินทราเน็ต ของเรากับอินเทอร์เน็ต เราก็สามารถใช้ได้ท้ งั อินเทอร์เน็ต และ ไปพร้อม ๆ กัน แต่ในการใช้ งานนั้นจะแตกต่างกันด้านความเร็ว ในการโหลดไฟล์ใหญ่ ๆ จากเว็บไซต์ในอินทราเน็ต จะ รวดเร็วกว่าการโหลดจากอินเทอร์เน็ตมาก ดังนั้นประโยชน์ที่จะได้รับจากอินทราเน็ต สาหรับองค์กรหนึ่ง คือ สามารถใช้ความสามารถต่าง ๆ ที่มีอยูใ่ นอินเทอร์เน็ตได้อย่างเต็ม ประสิ ทธิภาพ 1. ประโยชน์ และข้ อดีทเี่ กิดกับองค์ กรทัว่ ไป โดยประโยชน์ นี้ จะเกิดกับทุกองค์ กร ทีไ่ ด้ นา อินทราเน็ต มาใช้ รายละเอียดต่ างๆมีดงั นี้ คือ 1.1 การนา อินทราเน็ตมาใช้งาน จะเสี ยค่าใช้จ่ายน้อยกว่า เมื่อเทียบกับซอฟต์แวร์ ประเภท โดยสามารถทางานได้คล้ายกันทั้งนี้เนื่องจาก ซอฟต์แวร์ หลายตัวของ อินเตอร์เน็ต ที่สามารถนามาใช้ใน อินทราเน็ต สามารถ download จากอินเตอร์เน็ต มาใช้โดยไม่เสี ย ค่าใช้จ่ายเลย 1.2 ลดปัญหาเกี่ยวกับ ฮาร์ดแวร์ เนื่องด้วย อินทราเน็ต ที่พฒั นาจาก อินเตอร์เน็ต นั้นมี แนวความคิดหลักที่ให้ระบบนี้ สามารถทางานได้บนฮาร์ดแวร์ หลากหลายรู ปแบบเช่น สามารถใช้งาน อินเตอร์เน็ตบนเครื่ องที่ใช้ Windows, Macintosh, หรื อ UNIX เป็ นต้น ระบบ อินทราเน็ต สามารถติดต่อสื่ อสารกับ ฮาร์ดแวร์ เหล่านี้ได้ท้งั หมด และถ้าองค์กรใดมีระบบ Ethernet Local Area Network (LAN) อยูแ่ ล้ว สามารถพัฒนาระบบนี้ บนเครื อข่ายของ ปัจจุบนั ใช้ได้ทนั ที
1.3 ลดปัญหาในการพัฒนาระบบ จากเดิมที่มีหลากหลายรู ปแบบ หลากหลาย โปรแกรม โดยองค์กร สามารถใช้เครื่ องมือพัฒนาในรู ปแบบเดียวคือ ใช้เครื่ องมือที่ใช้ใน การพัฒนาระบบของ อินเตอร์เน็ต, อินทราเน็ต เช่นภาษา Java, ภาษา HTML (Hyper Text Markup Language) หรื อ CGI (Common Gateway Interface) ซึ่งสามารถทางานบน แพลท ฟอร์มใดๆ ตัดปัญหาการจ้างผูพ้ ฒั นาระบบจากหลาย แพลทฟอร์ม และการบารุ งรักษาระบบ รวมทั้งแก้ไขปัญหาระบบในภายหลังลงได้เป็ นอย่างมาก 1.4 ลดเวลาในการฝึ กอบรมพนักงาน (Users) เนื่องจากการทางานของ อินทราเน็ต ใช้ ไคลเอนต์ซอฟต์แวร์ เป็ น เวบเบราเซอร์เพียงตัวเดียว ข้อมูลทุกอย่างไม่วา่ จะเป็ น ไปรษณี ยอ์ ิเล็กโทรนิคส์ การเรี ยกใช้ขอ้ มูลต่างๆ สามารถใช้งานบน เวบเบราเซอร์เพียงตัว เดียว หากผูใ้ ช้งานเคยใช้งาน อินเตอร์เน็ต มาก่อนแล้ว ยิง่ ไม่ตอ้ งเรี ยนรู้อะไรเพิ่มเติมอีก 1.5 ข้อมูลในระบบ อินทราเน็ต จะทันสมัยอยูต่ ลอดเวลา เนื่องจากระบบของ อินทราเน็ต สามารถเชื่อมต่อกับ ฐานข้อมูลของบริ ษทั ได้โดยตรง เมื่อเราแก้ไขข้อมูลใน ฐานข้อมูลใดๆ ข้อมูลที่ปรากฏใน อินทราเน็ต จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย และด้วยระบบนี้ จะช่วยกระจายข่าวสาร ไปทั้งองค์กรอย่างทัว่ ถึงในทันที 1.6 ระบบไปรษณี ยอ์ ิเล็กโทรนิคส์ เป็ นประโยชน์อีกอย่างหนึ่งของ อินทราเน็ต และ ช่วยในการทางานด้าน documentation work flow รวมทั้งไปรษณี ยอ์ ิเล็กโทรนิคส์ ที่ต้ งั ขึ้นใน ระบบอินทราเน็ต สามารถเชื่อมต่อกับ ระบบอินเตอร์เน็ตได้ในทันทีถา้ ต้องการ 1.7 เราสามารถค้นหา ข้อมูลทั้งหมดในองค์กรได้ง่ายกว่าที่ผา่ นมาในอดีต โดยจาลอง เทคนิคการหาข้อมูล ที่ใช้กนั อยูใ่ นอินเตอร์เน็ต มาใช้กบั ระบบอินทราเน็ตของเรา ตัวอย่าง การค้นหาข้อมูลที่นิยมกัน ได้แก่ โปรแกรมที่ใช้ ณ. site yahoo.com เป็ นต้น