บทที่ 7การเขียนแบบงานติดตั้งระบบไฟฟ้า

Page 1

บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

บทที่ 7 การเขียนแบบงานติดตั้งระบบไฟฟ้า สาระการเรียนรู้ 1. การเขียน One Line Diagram 2. การเขียนไรเซอร์ไดอะแกรม 3. ตารางโหลด(Load Schedule) 4. เขียนแบบระบบแสงสว่าง 5. เขียนแบบระบบกาลัง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. เขียน One Line Diagram ได้ 2. เขียนไรเซอร์ไดอะแกรมได้ 3. เขียนตารางโหลดได้ 4. เขียนแบบระบบแสงสว่างได้ 5. เขียนแบบระบบกาลังได้

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 227


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

7.1 บทนา ในการเขียนแบบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ านั้น จะต้องเขียนแบบในส่ วนที่สาคัญ ๆ ซึ่ งได้แก่ 1) One Line Diagram 2) Riser Diagram 3) ตารางโหลด(Load Schedule) 4) เขียนแบบระบบแสงสว่าง 5) เขียนแบบระบบกาลัง 7.2 วันไลน์ ไดอะแกรม(One Line Diagram) ระบบไฟฟ้ าในปั จจุบนั นี้ ส่ วนใหญ่จะมี 2 ระบบ คือ - ระบบ 1 เฟส 2 สาย(ไม่นบั สายดิน) - ระบบ 3 เฟส 4 สาย(ไม่นบั สายดิน) ดังนั้นถ้าต้องการแสดงวงจรให้สมบูรณ์ จะต้องเขียนจานวนสายไฟฟ้ าให้ครบ ซึ่ งจะดูสับสนมาก เพื่อความสะดวกเราจึงเขียนวงจรไฟฟ้ าทั้งหมดด้วยไดอะแกรมเส้นเดียว(One Line Diagram) โดยชนิด ของวันไลน์ไดอะแกรมจะแทนทุกๆ ตัวนาและอุปกรณ์ต่างๆในวงจรทั้งหมด และมีสัญลักษณ์หรื อคา ขยายความประกอบในวันไลน์ไดอะแกรมนั้นๆ ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้วา่ วันไลน์ไดอะแกรม หมายถึง ไดอะแกรมที่ใช้แทนโดยเส้นเพียงเส้นเดียว(Single Line) นัน่ เอง 7.2.1 ข้ อมูลในการเตรียมการทีจ่ ะเขียนวันไลน์ ไดอะแกรม ข้อมูลในการเตรี ยมการที่จะเขียนวันไลน์ไดอะแกรม จะเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นอย่างหนึ่ง ของ การเขียนแบบไฟฟ้ า โดยจะต้องคานึงถึงข้อมูลพื้นฐานต่าง ๆ หลายประการ ซึ่ งได้แก่ 1) ขนาดของกระแสลัดวงจรที่มาจากการไฟฟ้ าหรื อแหล่งจ่ายไฟฟ้ า ซึ่ งเรี ยกว่ากระแส ลัดวงจรที่สามารถคานวณหรื อหาได้ทางด้านปฐมภูมิ( Primary available short-circuit current) โดยทัว่ ไป ระบบจ่ายไฟฟ้ าของการไฟฟ้ านครหลวงจะใช้แรงดันขนาด 11 KV, 12 KV, 22 KV หรื อ 24 KV และ ระบบสายส่ งเป็ น 69 KV หรื อ 115 KV แต่ในเขตการไฟฟ้ านครหลวงหม้อแปลงที่สถานีไฟฟ้ าย่อยจะใช้ ขนาด 30/40 MVA แรงดัน 69/12 kV แรงดันอิมพีแดนซ์(impedance voltage)ประมาณ 9% เพราะฉะนั้น กาลังไฟฟ้ าลัดวงจร(Short-circuit capacity)ประมาณ 40/0.09 = 444 MVA ซึ่ งในการคานวณกาลังไฟฟ้ า ลัดวงจรจะใช้ค่า 500 MVA และ X/R=10 2) ขนาดของตัวนาที่จะใช้ เช่น จานวนของสายตัวนา ขนาด และชนิด (เช่น ทองแดง อะลูมิเนียม) ชนิดของฉนวนหรื ออุปกรณ์ในการหุ ม้ ตัวนานั้น ๆ 3) ขนาดของอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่สาคัญและจะใช้ในระบบไฟฟ้ านั้น ซึ่ งได้แก่

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 228


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

3.1) หม้อแปลงกาลัง ข้อมูลของหม้อแปลงกาลังนั้นจะประกอบไปด้วยจานวนของหม้อแปลง ขนาด ของหม้อแปลง แรงดันไฟฟ้ าทางด้านปฐมภูมิและทุติยภูมิ ชนิดของหม้อแปลง เปอร์เซ็นต์อิมพิแดนซ์ และเวกเตอร์ ไดอะแกรมของการต่อหม้อแปลง เป็ นต้น ซึ่ งสามารถแสดงสัญลักษณ์ของหม้อแปลงได้ตาม รู ปที่ 7.1

รู ปที่ 7.1 แสดงสัญลักษณ์ของหม้อแปลง จากรู ปที่ 7.1 เป็ นหม้อแปลงขนาด 1000 kVA จานวน 1 ลูก เป็ นชนิดระบายความร้อนด้วยตัวเอง แบบมีน้ ามันอยูภ่ ายใน (Oil-immersed self-cooled;(OA)) ทางด้านปฐมภูมิต่อแบบ  ที่แรงดันไฟฟ้ า 13.8 kV และในทางทุติยภูมิต่อแบบ Y มีแรงดันไฟฟ้ า 480/277 V และจุดกลางของทุติยภูมิถูกต่อลงดิน มีค่าอิมพิแดนซ์ของหม้อแปลงเท่ากับ 5.75 % ค่าพิกดั ของหม้อแปลงปกติจะเขียนทางด้านขวามือของสัญลักษณ์ ส่ วนเวกเตอร์ ไดอะแกรมนิยม เขียนทางซ้ายมือ 3.2) เซอร์ กิตเบรกเกอร์ โดยปกติเซอร์ กิตเบรกเกอร์ จะมีอยูด่ ว้ ยกันหลายชนิดและหลาย ๆพิกดั กระแส แต่สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนลงไปในวันไลน์ไดอะแกรม จะเป็ นดังรู ปที่ 7.2 - เซอร์ กติ เบรกเกอร์ ใช้ กบั แรงดันไฟฟ้ามากกว่า 600 V กระแสพิกดั ต่อเนื่อง ขนาดการทนกระแส ลัดวงจรหรื อ กาลังไฟฟ้ าลัดวงจร พิกดั แรงดัน

สัญลักษณ์สาหรับ เซอร์กิตเบรกเกอร์ ชนิดน้ ามัน สัญลักษณ์ที่แสดงถึงการทางาน A = อากาศ, S = โซลินอย, SE = ใช้พลังงานที่สะสม

(ก) เซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบน้ ามัน รู ปที่ 7.2 แสดงสัญลักษณ์ที่นิยมใช้ของเซอร์ กิตเบรกเกอร์

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 229


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

สัญลักษณ์สาหรับเซอร์กิต เบรกเกอร์ แบบอากาศ ความหมายเหมือนกับชนิดน้ ามัน

(ข) เซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบอากาศ - เซอร์ กติ เบรกเกอร์ ใช้ กบั แรงดันไฟฟ้าต่ากว่า 600 V ขนาดของเซอร์กิตเบรกเกอร์ (เฟรม) ขนาดของกระแสที่เซอร์กิตเบรกเกอร์ ทางานหรื อกระแสพิกดั ต่อเนื่อง คอยล์เปิ ดวงจรที่ต่ออนุกรมอยู่

กาลังไฟฟ้ าลัดวงจร ชนิดของการเปิ ดวงจร

(ค) เซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบอากาศ

(ง) เซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบโมลเคส (Molded Case) รู ปที่ 7.2 (ต่อ) แสดงสัญลักษณ์ที่นิยมใช้ของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ในรู ปที่ 7.2 กระแสพิกดั ต่อเนื่อง หมายถึง ค่ากระแสสู งสุ ดของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่จะเริ่ มทางาน (เปิ ดวงจร) และขนาดการทนกระแสลัดวงจร หมายถึง ระดับของกาลังไฟฟ้ าที่เซอร์ กิตเบรกเกอร์ จะ สามารถทนอยูไ่ ด้โดยตนเองไม่มีอนั ตรายและเสี ยหาย อีกประการหนึ่งในกรณี เซอร์ กิตเบรกเกอร์ เป็ น ชนิดที่ใช้กบั แรงดันไฟฟ้ าสู ง อาจจะบอกพิกดั ของแรงดันไฟฟ้ ามาด้วย ทั้งนี้เพราะเวลาใช้งาน จะต้องให้ ค่าพิกดั แรงดันมากกว่าแรงดันที่ใช้งานจริ ง ส่ วนในกรณี ของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ที่ใช้กบั แรงดันไฟฟ้ าต่ากว่า 600 V จะประกอบไปด้วยขนาด ของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ และจะบ่งบอกถึงกลุ่มของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ เพื่อที่จะสะดวกในการเลือกใช้ โดย บอกในรู ปของแอมแปร์ และแอมแปร์ น้ ีจะหมายถึงกระแสสู งสุ ดที่จะหาได้ในกลุ่มของเซอร์ กิตเบรกเกอร์ นั้น ๆ ปกติเซอร์ กิตเบรกเกอร์ จะมีอยู่ 2 ชนิด คือ แบบโมลเคส(molded case) และเซอร์ กิตเบรกเกอร์ แบบ กาลังสู ง

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 230


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

3.3) ฟิ วส์ ฟิ วส์สามารถแสดงสัญลักษณ์ได้ดงั รู ปที่ 7.3

(ก) (ข)

(ค)

(ง) (จ)

ดังรู ปที่ 7.3 แสดงสัญลักษณ์ของฟิ วส์ ในรู ปที่ 7.3 (ก) หมายถึง ฟิ วส์ขนาด 300 one-time fuse) ซึ่งมี I.C. 10 kA

A และ STD หมายถึง สแตนดาร์ดไทม์ฟิวส์ (Standard

ในรู ปที่ 7.3 (ข) หมายถึง ฟิ วส์ขนาด 100 A และเป็ นแบบหน่วงเวลา(T.D.) ฟิ วส์ซ่ ึงจะใช้ใน สวิตช์นิรภัย(safety switch) โดยปกติแล้วฟิ วส์ชนิดนี้อาจจะมี I.C. สู งกว่า 100 kA ในรู ปที่ 7.3 (ค) หมายถึง ฟิ วส์ที่ทาหน้าที่เป็ นสวิตช์ปลดวงจรส่ วนมากจะใช้ในแรงดันที่มากกว่า 600 V โดยอาจใช้เป็ นฟิ วส์คตั เอาต์ ส่ วน C.L. หมายถึง ฟิ วส์ชนิดจากัดกระแสซึ่ งมี I.C. สู งถึง 200 kA ในรู ปที่ 7.3 (ง) แสดงถึงฟิ วส์แรงสู ง ซึ่ งจะต่อเข้ากับสวิตช์ปลดวงจร ส่ วนค่า 100 E ตาม ความหมายของ NEMA หมายถึง ฟิ วส์แรงสู งซึ่ งมีพิกดั ต่อเนื่อง 100 A ในรู ปที่ 7.3 (จ) แสดงถึง HRC ฟิ วส์หรื อฟิ วส์ที่มีความสามารถในการทนกระแสลัดวงจรได้สูง (high rupturing capacity fuse) โดยปกติแล้ว HRC ฟิ วส์น้ ีจะมีค่า I.C. สู ง 3.4) การต่อเข้ากับโหลด การต่อโหลดและลักษณะของโหลดสามารถแสดงไว้ดงั รู ปที่ 7.4

(ก) (ข)

(ค) (ง) รู ปที่ 7.4 แสดงชนิดและลักษณะของโหลด

ในรู ปที่ 7.4 (ก) หมายถึง มอเตอร์ขนาด 20 แรงม้า ในรู ปที่ 7.4 (ข) หมายถึง ลวดทาความร้อนขนาด 30 kW ในรู ปที่ 7.4 (ค) หมายถึง หม้อแปลง ในรู ปที่ 7.4 (ง) หมายถึง โหลดของบัส เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 231


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

3.5) อุปกรณ์การวัดและมิเตอร์ เป็ นสิ่ งที่สาคัญสิ่ งหนึ่งเพราะเป็ นตัวแสดงค่าต่าง ๆ ซึ่ งโดยปกติแล้วอุปกรณ์ เครื่ องวัดเหล่านี้มกั จะใช้ร่วมกับอุปกรณ์เครื่ องมือวัดของหม้อแปลง ซึ่ งแสดงในรู ปที่ 7.5 การต่อควรต่อให้เฟส ถูกต้องหรื อให้ถูกเฟส

สายเมน

พิกดั กระแส

จานวน จานวน

(ก)

ไปยังมิเตอร์และ อุปกรณ์อื่น ๆ สายเมน

พิกดั แรงดัน

หม้อแปลงแรงดัน

(ข) หม้อแปลงกระแส

(ค) แสดงชนิดของมิเตอร์ แบบต่าง ๆ รู ปที่ 7.5 แสดงอุปกรณ์เครื่ องมือวัดของหม้อแปลง 7.2.2 การเขียน One Line Diagram ในรู ปที่ 7.6 แสดงตัวอย่างของ One Line Diagram

รู ปที่ 7.6 แสดงตัวอย่างการเขียน One Line Diagram เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 232


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

7.3 ไรเซอร์ ไดอะแกรม(Riser Diagram) การติดตั้งระบบไฟฟ้ าในอาคารสู งโดย ทัว่ ไป จะต้องมีไดอะแกรมที่จะแสดงถึงการต่ออุปกรณ์ ทั้งหมดที่ต่อกับระบบไฟฟ้ า ซึ่ งต้องแสดงถึงรายละเอียดต่างๆ เช่น ท่อ สาย รวมถึงข้อมูลที่จาเป็ น ไดอะแกรมนี้เรี ยกว่า ไรเซอร์ ไดอะแกรม(Riser Diagram) ซึ่ งหมายถึง ไดอะแกรมที่แสดงตาแหน่งของ อุปกรณ์และรายละเอียดอุปกรณ์ ตลอดจนการต่อเชื่อมโยงกับระบบของอุปกรณ์น้ นั ๆ การแสดงไรเซอร์ ไดอะแกรมนี้สามารถทาได้ง่าย เพราะเป็ นการเขียนในลักษณะชั้นต่อชั้น และ แสดงการเชื่อมต่อของระบบในลักษณะชั้นต่อชั้นอีกด้วย 7.3.1 ข้ อมูลในการเตรียมการทีจ่ ะเขียนไรเซอร์ ไดอะแกรม ในการที่จะเขียนไรเซอร์ไดอะแกรมจะต้องรู้ถึงวันไลน์ไดอะแกรม ตลอดจนรู้ถึงความ ต้องการของระบบ เช่น ระบบควบคุมไฟไหม้ ระบบโทรศัพท์ และในบางกรณี อาจจะต้องรู ้ถึงโครงสร้าง ของอาคารด้วย 7.3.2 การวางตาแหน่ งไรเซอร์ ไดอะแกรม ทาได้โดย เขียนเส้นในแนวระนาบ แทนชั้นต่าง ๆ ที่ตอ้ งการจะออกแบบ ในบางกรณี อาจจะต้องแบ่งอาคารออกเป็ นแกน(core) ซึ่ งจะสัมพันธ์กบั ไรเซอร์ ไดอะแกรมที่จะเขียนขึ้น เช่น ในรู ปที่ 7.7 จะเห็นว่าอาคารจะถูกแบ่งออกเป็ น 3 แกน คือ แกนทางด้านทิศตะวันตก(west core) อาคารที่ทาการ ทัว่ ไป(general building)และแกนทางด้านทิศตะวันออก(east core)

ชั้นใต้หลังคา

แกนทางด้าน ทิศตะวันออก

แกนทางด้าน ทิศตะวันตก

รู ปที่ 7.7 แสดงตาแหน่งของส่ วนใช้งาน ในอาคารสู ง

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 233


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

การวางตาแหน่งอุปกรณ์ต่างๆ ในไรเซอร์ ไดอะแกรม จะต้องสัมพันธ์กบั แกนทั้ง 3 ดังรู ปที่ 7.8 West core General building East core Penthouse

ชั้นใต้ดิน

รู ปที่ 7.8 แสดงการวางตาแหน่งในไรเซอร์ ไดอะแกรม

15th 14th 13th 12th 11th 10th 9th 8th 7th 6th 5th 4th 3rd 2nd 1st Upper mezz Lobby Lower mezz ลานจอดรถ

จากรู ปที่ 7.7 จะเห็นว่าชั้นใต้ดินนั้นประกอบไปด้วย ห้องรับแขก ชั้นล่างลอย และลานจอดรถ ซึ่ งมีแนวระดับแตกต่างจากแนวชั้นระดับดิน ส่ วนเส้นในแนวดิ่งจะเป็ นเส้นที่แบ่งอาคารออกเป็ น 2 ส่ วน คือ แกนทางด้านทิศตะวันตกและแกนทางด้านทิศตะวันออก ตามลาดับ 7.3.3 หลักการเขียนไรเซอร์ ไดอะแกรม หลักการในการเขียนไรเซอร์ ไดอะแกรม มีดงั นี้ 1. ทาการวางตาแหน่งของชั้น และอาจจะแบ่งเป็ นแกนต่าง ๆ 2. นิยมใช้รูปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า สี่ เหลี่ยมจัตุรัส แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ 3. ทาการออกแบบการต่อของอุปกรณ์หลักเหล่านี้ดว้ ยเส้นตรง และจะต้องสัมพันธ์กบั วันไลน์ไดอะแกรมด้วย 4. เขียนอุปกรณ์ที่เหลือ เช่น แผงย่อยหรื อศูนย์กลางควบคุมมอเตอร์ และอื่นๆ โดยจะ แทนด้วย สี่ เหลี่ยมผืนผ้า หรื อสี่ เหลี่ยาจัตุรัส ก็ได้ นอกจากนี้อาจเขียนแทนด้วยรู ปร่ างอะไรก็ได้ตามความ เหมาะสม เช่น บัสดัก อาจเขียนแทนด้วยเส้น 2 เส้นขนานกัน 5. ทาการต่อแผงย่อยและอุปกรณ์อื่นๆ เข้าด้วยกันให้ครบ 6. หลังจากนี้ก็เขียนไรเซอร์ ไดอะแกรมของอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดให้ครบ เช่น ไร เซอร์ไดอะแกรมของระบบโทรศัพท์หรื อระบบควบคุมไฟไหม้ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 234


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

7.3.4 สั ญลักษณ์ทใี่ ช้ ในการออกแบบ ในบางกรณี อาจจะต้องลงสัญลักษณ์ที่ใช้ในการออกแบบด้วย ดังรู ปที่ 7.9

รู ปที่ 7.9 แสดงสัญลักษณ์ที่อาจต้องแสดงในแบบ 7.3.5 การเขียนไรเซอร์ ไดอะแกรม ในรู ปที่ 7.10 เป็ นตัวอย่างการเขียน ไรเซอร์ ไดอะแกรมระบบไฟฟ้ า

รู ปที่ 7.10 แสดงตัวอย่าง Riser Diagram เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 235


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

7.4 ตารางโหลด(Load Schedule) ในการจัดทาตารางโหลด( Load Schedule) ของระบบไฟฟ้ า สามารถแบ่งออกได้เป็ นระบบไฟฟ้ า 1 เฟส 2 สาย 220 V และระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย 380/220 V เนื่องจากในการจัดทาตารางโหลดนั้น ส่ วน ใหญ่จะเป็ นแบบระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย ดังนั้นในบทนี้จึงจะขอกล่าวเฉพาะวิธีการจัดทาตารางโหลด ของระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย ซึ่ งมีข้ ึนตอนดังต่อไปนี้ 1. ทาการคานวณหาโหลดของวงจรย่อยต่าง ๆ โดยเริ่ มจากวงจรย่อยไฟฟ้ าแสงสว่าง วงจรเต้ารับ วงจรย่อยโหลดเฉพาะ วงจรย่อยเครื่ องปรับอากาศ และวงจรย่อยมอเตอร์ 2. ทาการจัดวงจรย่อยไฟฟ้ าแสงสว่าง โดยให้ใช้หมายเลขย่อยตามลาดับ คือ 1 ( A), 3 (B), 5 (C) ตามด้วย 2 (A), 4 (B), 6 (C) และ 7 (A), 9 (B), 11 (C) ต่อไปเรื่ อย ๆ จนครบ เพื่อเป็ นการทาให้โหลด ไฟฟ้ าแสงสว่างเกิดความสมดุลระหว่างเฟส 3. ทาการจัดวงจรย่อยเต้ารับ โดยให้หมายเลขวงจรย่อยต่อจากหมายเลขวงจรย่อยแสงสว่าง และ พยายามจัดให้เกิดความสมดุลระหว่างเฟส 4. ทาการจัดวงจรย่อยของโหลดเฉพาะ ถ้ามีโหลดเฉพาะหลายชุดก็พยายามให้โหลดเกิดความ สมดุลกัน 5. ทาการจัดวงจรย่อยของเครื่ องปรับอากาศ ให้เกิดความสมดุล 6. ทาการจัดวงจรย่อยของมอเตอร์ ได้แก่ วงจรบริ ภณั ฑ์ไฟฟ้ าต่าง ๆ ที่ใช้มอเตอร์ เป็ นตัวขับ เช่น ปั๊ ม เป็ นต้น 7. หลังจากที่ได้ทาการจัดวงจรย่อยของโหลดต่าง ๆ จนครบแล้ว ก็จะต้องจัดให้มีวงจรย่อยสารอง (Spare Branch Circuit) และวงจรย่อยว่าง(Space Branch Circuit) โดยวงจรย่อยสารองเป็ นวงจรย่อยที่มี CB ติดตั้งอยู่ แต่จะไม่มีการจ่ายโหลด จึงไม่ตอ้ งติดตั้งสายไฟฟ้ า ส่ วนวงจรย่อยว่าง จะมีไม่ CB ติดตั้งอยู่ มีแต่ช่องว่างเท่านั้น โดยในการออกแบบควรให้มีวงจรย่อยสารองและวงจรย่อยว่าง ประมาณ 20-30% ของวงจรทั้งหมด ทั้งนี้จะต้องคานึงถึงขนาดของแผงวงจรย่อยด้วย ซึ่ งแผงวงจรย่อยจะมีจานวนมาตรฐาน เป็ น 12, 18, 24, 30, 36 และ 42 วงจร 8. ทาการรวมโหลดของแต่ละเฟส แล้วตรวจดูวา่ โหลดของแต่ละเฟสสมดุลหรื อไม่ โดยการ สมดุลที่ดีคือ มีความแตกต่างกันไม่เกิน 20 % ถ้าโหลดยังไม่สมดุลให้ทาการจัดสลับหมายเลขวงจรเพื่อให้ โหลดแต่ละเฟสมีความสมดุลกันมากขึ้น จากนั้นก็รวมโหลดแต่ละเฟสเข้าด้วยกัน เป็ นโหลดติดตั้ง ทั้งหมด(Total Connected Load) 9. จากโหลดติดตั้งทั้งหมดที่ได้ สามารถนาไปคานวณหาขนาดของสายป้ อน และขนาดของ CB ที่ป้องกันสายป้ อนนั้นต่อไป ตัวอย่าง แผงวงจรย่อยแผงหนึ่ง มีรายการโหลดดังนี้ 1) วงจรย่อยแสงสว่าง 9 วงจร วงจรละ 1500 VA 2) วงจรย่อยเต้ารับ 6 วงจร วงจรละ 1200 VA สามารถนามาจัดลงตารางโหลด( Load Schedule) ได้ดงั ตารางที่ 7.1 เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 236


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

PANEL BOARD LOAD SCHEDULE Panel LP1 Location 1st FL. Capacity 24 CKT. Mounting Surface Connected to F1 From MCB Ck. Connected Load(VA) Branch CB Description No. A B C Pole AT AF 1 แสงสว่าง 1500 1 15 50 3 แสงสว่าง 1500 1 15 50 5 แสงสว่าง 1500 1 15 50 2 แสงสว่าง 1500 1 15 50 4 แสงสว่าง 1500 1 15 50 6 แสงสว่าง 1500 1 15 50 7 แสงสว่าง 1500 1 15 50 9 แสงสว่าง 1500 1 15 50 11 แสงสว่าง 1500 1 15 50 8 เต้ารับ 1200 1 20 50 10 เต้ารับ 1200 1 20 50 12 เต้ารับ 1200 1 20 50 13 เต้ารับ 1200 1 20 50 15 เต้ารับ 1200 1 20 50 17 เต้ารับ 1200 1 20 50 14 สารอง 1000 1 20 50 16 สารอง 1000 1 20 50 18 สารอง 1000 1 20 50 19 ว่าง 21 ว่าง 23 ว่าง 20 ว่าง 22 ว่าง 24 ว่าง 7900 Total Connected Load (VA)

7900 23700

7900 Main CB 3P 50 AT/100 AF

Wire Size Type 2.5 T-4 2.5 T-4 2.5 T-4 2.5 T-4 2.5 T-4 2.5 T-4 2.5 T-4 2.5 T-4 2.5 T-4 4.0 T-4 4.0 T-4 4.0 T-4 4.0 T-4 4.0 T-4 4.0 T-4

4x16 T-4 G-6 Conduit 32 mm 1 1/4" IMC

ตารางที่ 7.1 ตารางโหลด (Load Schedule) เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 237


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

7.5 ระบบแสงสว่าง โหลดไฟฟ้ าแสงสว่างสาหรับอาคารที่มีระบบปรับอากาศจะมีค่าประมาณ 20-50 % ของโหลด ทั้งหมด และถ้าหากคิดต่อพื้นที่จะประมาณ 20-100 VA ต่อตารางเมตร โหลดไฟฟ้ าแสงสว่างอาจคิดแยก เป็ นจุด ๆ ได้ โดยจะคิดตามชนิดและขนาดของหลอดไฟฟ้ า 1) หลอดไส้( Incandescent Lamp) หลอดไส้เป็ นโหลดไฟฟ้ าที่มีตวั ประกอบกาลัง ( Power Factor,P.F.) 100 %  โหลด (VA) = W เช่น ดวงโคมไฟฟ้ าใช้หลอดไส้ 100 W มีโหลด = 100 VA 2) หลอดฟลูออเรสเซนต์(Fluorescent Lamp) หลอดฟลูออเรสเซนต์( FL) เป็ นหลอดไฟฟ้ าที่ใช้แพร่ หลายที่สุด ขนาดที่นิยมใช้มากที่สุด คือ 18 W(20 W) และ 36 W(40 W) หลอดฟลูออเรสเซนต์ จะต้องใช้ร่วมกับบัลลาสต์ ดังนั้น จะต้องคิด กาลังไฟฟ้ าของหลอดรวมกับกาลังสู ญเสี ยของบัลลาสต์ ค่าโหลดของหลอด FL ทั้ง และหลอดประหยัดไฟ แสดงไว้ในตารางที่ 7.2 และ 7.3 โหลด(VA) กาลังไฟฟ้ า(W) LPF บัลลาสต์ HPF บัลลาสต์ 18 (20) 90 40 36 (40) 100 60 ตารางที่ 7.2 ค่าโหลดของหลอด FL กาลังไฟฟ้ า โหลด (VA) ของโหลด (W) 9 15 11 20 15 25 20 35 หลอด PL 5, 7, 11 40 ตารางที่ 7.3 ค่าโหลดของหลอดประหยัดไฟ

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 238


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

3) หลอดก๊าซแรงดันสู ง( High Indensity Discharge, HID Lamp) หลอด HID สามารถแบ่งได้เป็ น 3.1) หลอดแสงจันทร์ (High Pressure Mercury) 3.2) หลอดโซเดียมความดันไอสู ง (High Pressure Sodium) 3.3) หลอดเมทัลฮาไลด์ (Metal Halide) หลอด HID ต้องใช้ร่วมกับบัลลาสต์เหมือนหลอด FL โดยบัลลาสต์อาจเป็ นแบบ LPF หรื อ HPF ก็ได้ โหลดโดยประมาณของหลอด HID แสงไว้ในตารางที่ 7.4 กาลังไฟฟ้ า โหลด (VA) ของหลอด (W) LPF บัลลาสต์ HPF บัลลาสต์ 80 180 100 125 260 160 250 500 300 400 750 500 700 1250 850 1000 1900 1200 ตารางที่ 7.4 ค่าโหลดของหลอด HID 7.5.1 สั ญลักษณ์ทใี่ ช้ ในการเขียนแบบระบบแสงสว่าง 1) ชุ ดแสงสว่ าง โคมติดลอยโดยหลอดที่ใช้เป็ นแบบเผาไส้ หรื อความดันไอปรอท โคมฝังมีหลอดเป็ นแบบเผาไส้ โคมติดลอยโดยหลอดเป็ นแบบฟลูออเรสเซนต์ โคมฝังโดยหลอดเป็ นแบบฟลูออเรสเซนต์ โคมติดลอยโดยติดกันเป็ นแถว(แนว) โคมฝังโดยติดกันเป็ นแถว(แนว) หลอดฟลูออเรสเซนต์แบบเปลือย ไฟติดลอยแสดงทางออก ไฟติดฝังแสดงทางออก จุดเชื่อม เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 239


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

S S2 S3 S4 SK

2) ชุ ดสวิตซ์ สวิตช์ 1 ขั้ว สวิตช์ 2 ขั้ว สวิตช์ 3 ทาง สวิตช์ 4 ทาง สวิตช์กุญแจ

7.5.2 การเขียนระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ในรู ปที่ 7.11 แสดงตัวอย่างการเขียนระบบแสงสว่างในอาคาร

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 240


รู ปที่ 7.11 แสดงตัวอย่างการเขียนระบบแสงสว่างในอาคาร

บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 241


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

7.6 ระบบกาลัง ระบบกาลังส่ วนใหญ่เป็ นเต้ารับ ซึ่ งเป็ นบริ ภณั ฑ์ซ่ ึ งติดตั้งไว้ เพื่อความสะดวกในการใช้กบั บริ ภณั ฑ์ไฟฟ้ าที่เคลื่อนย้ายได้(Portable)หรื อ บริ ภณั ฑ์ไฟฟ้ าที่อยูก่ บั ที่ (Fixed) ที่นามาใช้ภายหลัง ดังนั้น โหลดไฟฟ้ าจึงไม่แน่นอน เต้ารับที่ใช้แต่ละชุดมีท้ งั แบบเต้ารับเดี่ยว คู่ และเต้ารับ 3 หัวจ่าย แต่ในการคิดโหลดให้คิดต่อชุด โหลดของเต้ารับ = 200 VA/ชุด 7.6.1 สั ญลักษณ์ทใี่ ช้ ในการเขียนแบบระบบกาลัง เต้ารับ 1 ตัว

ตัวรับ 3 ตัว แยกสาย

เต้ารับ 2 ตัว

เต้ารับพิเศษ 1 ตัว

เต้ารับ 3 ตัว

เต้ารับพิเศษ 2 ตัว

เต้ารับ 4 ตัว

เต้ารับของเตา เต้ารับ 2 ตัว แยกสาย

เต้ารับพิเศษ เช่น DW หมายถึง Dishwasher outlet

เต้ารับสาหรับนาฬิกาแขวน เต้ารับ 2 ตัว ที่ติดตั้งพื้น เต้ารับสาหรับพัดลมแขวน เต้ารับ 1 ตัว ที่ติดตั้งพื้น

เต้ารับที่ติดตั้งที่พ้นื แบบพิเศษ เต้ารับที่ติดตั้งที่พ้นื ใช้กบั โทรศัพท์ ส่ วนตัว

เต้ารับที่ติดตั้งที่พ้นื ใช้กบั โทรศัพท์สาธารณะ ท่อใต้พ้นื และจุดเชื่อม จานวนของเส้นที่แสดงจะหมายถึง ตัวนา เทอร์โมสตัส 7.6.2 การเขียนแบบระบบกาลัง ในรู ปที่ 7.12 แสดงตัวอย่างการเขียนระบบกาลังในอาคาร

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 242


รู ปที่ 7.12 แสดงตัวอย่างการเขียนระบบกาลังในอาคาร

บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 243


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ 7 การเขียนแบบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

จากรู ปด้านล่างนี้ จงใช้ตอบคาถามข้อ 1-2

ก) ข) ค) ง) 1. ข้อใดเป็ นสัญลักษณ์ของฟิ วส์ 2. ข้อใดเป็ นสัญลักษณ์ของหม้อแปลง 3. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของไรเซอร์ ไดอะแกรมได้ถูกต้อง ก) ไดอะแกรมที่แสดงทุกอย่างด้วยเส้นเพียงเส้นเดียว ข) ไดอะแกรมที่แสดงตาแหน่งของอุปกรณ์ รายละเอียดอุปกรณ์ และการเชื่อมต่อของอุปกร์ น้ นั ค) ไดอะแกรมแสดงการทางานของระบบไฟฟ้ า ง) ไดอะแกรมแสดงขั้นตอนการทางาน ของระบบไฟฟ้ า จากรู ปด้านล่างนี้ จงใช้ตอบคาถามข้อ 4-5

ก) ข) ค) ง) 4. ข้อใดคือสัญลักษณ์ โคมติดลอยโดยหลอดเป็ นแบบฟลูออเรสเซ็นต์ 5. ข้อใดคือสัญลักษณ์ โคมฝังโดยหลอดเป็ นแบบเผาไส้ จากรู ปด้านล่างนี้ จงใช้ตอบคาถามข้อ 6-7

ก) ข) ค) ง) 6. ข้อใดคือสัญลักษณ์เต้ารับ 2 ตัวติดตั้งที่พ้นื 7. ข้อใดคือท่อใต้พ้นื และจุดเชื่อม เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 244


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

8. สวิตช์ 1 ขั้วใช้สัญลักษณ์ใด ก) S1 ข) S ค) SA ง) Sk 9. ในรายการโหลด(Load Schedule) มีโหลดรวมทั้งหมด 23,700 VA จะต้องเลือกใช้ CB ขนาดเท่าไร ก) 30 AT/50AF ข) 50AT/50AF ค) 50AT/100AF ง) 100AT/ 100AF 10. ในรายการโหลด(Load Schedule) ควรเขียนเรี ยงลาดับ CB อย่างไร ก) 1( A), 2(B), 3(C)… ข) 1( A), 3(B), 5(C)… ค) 1(C), 3(B), 5(A)… ง) 1(C), 2(B), 3(A)…

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 245


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ 7 การเขียนแบบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า จากรู ปด้านล่างนี้ จงใช้ตอบคาถามข้อ 1-2

ก) ข) ค) ง) 1. ข้อใดเป็ นสัญลักษณ์ของมอเตอร์ 2. ข้อใดเป็ นสัญลักษณ์ของลวดทาความร้อน 3. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของOne Line Diagram ได้ถูกต้อง ก) ไดอะแกรมที่แสดงทุกอย่างด้วยเส้นเพียงเส้นเดียว ข) ไดอะแกรมที่แสดงตาแหน่งของอุปกรณ์ รายละเอียดอุปกรณ์ และการเชื่อมต่อของอุปกร์ น้ นั ค) ไดอะแกรมแสดงการทางานของระบบไฟฟ้ า ง) ไดอะแกรมแสดงขั้นตอนการทางาน ของระบบไฟฟ้ า จากรู ปด้านล่างนี้ จงใช้ตอบคาถามข้อ 4-5

ก) ข) ค) ง) 4. ข้อใดคือสัญลักษณ์ โคมติดลอยโดยติดกันเป็ นแถว 5. ข้อใดคือสัญลักษณ์ หลอดฟลูออเรสเซนต์แบบเปลือย จากรู ปด้านล่างนี้ จงใช้ตอบคาถามข้อ 7-8 ก) ข) ค) ง) 6. ข้อใดคือสัญลักษณ์เต้ารับ 2 ตัว 7. ข้อใดคือสัญลักษณ์เต้ารับ 2 ตัว แยกสาย 8. สวิตช์กุญแจใช้สัญลักษณ์ใด ก) S1 ข) S

ค) SA

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

ง) Sk

หน้า 246


บทที่ 7 การเขียนแบงานติดตั้งระบบไฟฟ้ า

9. ในรายการโหลด(Load Schedule) มีโหลดรวมทั้งหมด 44,320 VA จะต้องเลือกใช้ CB ขนาดเท่าไร ก) 50 AT/10AF ข) 70AT/100AF ค) 90AT/100AF ง) 100AT/ 100AF 10. ถ้ามีจานวนวงจรย่อย 15 วงจร ควรเลือกแผงวงจรย่อยมาตรฐานกี่วงจร ก) 12 ข) 18 ค) 24 ง) 30

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์…….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 247


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.