บทที่ 6 การจัดรูปแบบวัตถุ

Page 1

บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรูปแบบวัตถุ สาระการเรียนรู้ 1. คำสั่งสร้ำงเลเยอร์ 2. คำสั่งจัดกำรรูปแบบสี 3. คำสั่งจัดรูปแบบชนิดเส้น 4. คำสั่งควบคุมนำหนักเส้น 5. คำสั่งในกำรจัดกำรรูปแบบหน่วยกำรวัด 6. คำสั่งในกำรสร้ำงรูปแบบตำรำง 7. คำสั่งในกำรกำหนดรูปแบบจุด 8. คำสั่งในกำรสร้ำงรูปแบบเส้นคู่ขนำน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. สร้ำงเลเยอร์ได้ 2. จัดกำรรูปแบบสีได้ 3. จัดรูปแบบชนิดเส้นได้ 4. ควบคุมนำหนักเส้นได้ 5. จัดกำรรูปแบบหน่วยในกำรวัดได้ 6. จัดรูปแบบตำรำงได้ 7. กำหนดรูปแบบจุดได้ 8. สร้ำงรูปแบบเส้นคู่ขนำนได้

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 181


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

คาสั่งต่าง ๆ ในเมนู Format ของเมนูบาร์ ดังรู ปที่ 6.1 มีคาสั่งที่ตอ้ งศึกษาให้เข้าใจ เพื่อนาไปใช้ จัดการเขียนแบบให้รวดเร็ ว ถูกต้อง และมีประสิ ทธิภาพ

รู ปที่ 6.1 แสดงกลุ่มคาสั่งจัดรู ปแบบวัตถุ(Format) Layer Control

Color Control

Line type Control

Text style Control

Dim style Control

Lineweight Control

Plot style Control

Table style Control

รู ปที่ 6.2 แถบเครื่ องมือ Layers, Styles และ Properties โดยปกติแล้วโปแกรมจะกาหนดให้ สี รู ปแบบเส้นและความหนาเส้นขึ้นอยูก่ บั การกาหนดค่าไว้ ในเลเยอร์ใช้งาน โดยสังเกตได้จากแถบรายการ Color Control, Line type Control และ Line weight Control ดังรู ปที่ 6.2 จะปรากฏข้อความ By Layer ซึ่ งหมายความว่าสี รู ปแบบเส้นและความหนาเส้นจะ ถูกกาหนดให้เปลี่ยนแปลงไปตามที่ระบุไว้ในเลเยอร์ อย่างไรก็ตามเราสามารถกาหนดสี รู ปแบบเส้นและ ความหนาเส้นให้วตั ถุได้โดยตรง และจะไม่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติที่ระบุไว้ในเลเยอร์ น้ นั หมายถึงถ้าเราเปลี่ยนแปลง สี รู ปแบบเส้นหรื อความหนาเส้นในเลเยอร์ จะไม่ทาให้วตั ถุที่อยูใ่ นเลเยอร์ น้ นั เปลี่ยนสี รู ปแบบเส้นหรื อความหนาเส้นตามไปด้วย โดยมีรายละเอียดของการใช้คาสั่งต่อไปนี้ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 182


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ , Format  Layer, LAYER หรื อ LA

6.1 คาสั่งสร้างเลเยอร์(Layer)

เลเยอร์ (Layer) เปรี ยบเสมือนกับแผ่นใสหลายๆแผ่นวางซ้อนกันอยูบ่ นพื้นที่วาดภาพ เราสามารถ เขียนวัตถุลงบนแผ่นใสแผ่นใดๆก็ได้ ซึ่งสามารถมองเห็นวัตถุต่างๆ ทั้งหมดที่อยูบ่ นแผ่นใสแต่ละแผ่นได้ พร้อมๆกัน โดยทัว่ ไปเรามักจะเขียนวัตถุที่อยูใ่ นกลุ่มเดียวกันในแผ่นเดียวกันเสมอ เช่น หลอดไฟฟ้ า จะ อยูใ่ นเลเยอร์ หนึ่ง แยกจากเต้ารับ เพื่อสะดวกในการแก้ไขเปลี่ยนแปลง หากไม่ตอ้ งการให้วตั ถุที่ถูกเขียน ไว้ในแผ่นใสแผ่นใดปรากฏบนพื้นที่วาดภาพ เราก็จะสามารถดึงแผ่นใสนั้นออกไป (off หรื อ freeze) ซึ่ง จะช่วยลดความซับซ้อนของวัตถุที่ปรากฏบนพื้นที่วาดภาพได้อย่างมาก แช่แข็ง/ละลายเลเยอร์ในวิวพอทใช้งาน ปิ ด / เปิ ด

แช่แข็ง / ละลาย

ล็อค / ปลดล็อค

ชื่อเลเยอร์ปัจจุบนั กล่องสี เลเยอร์

รู ปที่ 6.3 แสดงส่ วนต่าง ๆของแถบ Layers โดยปกติแล้วทุกครั้งที่เปิ ดโปรแกรม Auto CAD ขึ้นมา จะมีการสร้างเลเยอร์ ให้ 1 เลเยอร์ โดยอัตโนมัติ มีชื่อว่า เลเยอร์ 0 (ศูนย์) มีสถานะเปิ ด (On) สี ประจาเลเยอร์เป็ นสี ขาว(รหัสหมายเลข 7) หรื อ white หากมีการกาหนดให้พ้นื ที่วาดภาพเป็ นสี ขาว สี ประจาเลเยอร์ จะปรากฏเป็ นสี ดา และมี รู ปแบบเส้น(Line type) เป็ นเส้นตรง(continuous) เราสามารถสังเกตชื่อเลเยอร์ น้ ีใด้จากแถบรายการ ควบคุมเลเยอร์ (Layer Control) ดังรู ปที่ 6.3 หากเราเขียนวัตถุใดๆเขาไปบนพื้นที่วาดภาพในขณะ ปรากฏชื่อเลเยอร์ 0 (ศูนย์) นั้นหมายความว่าวัตถุที่ถูกสร้างจะเข้าไปในเลเยอร์ 0 (ศูนย์)

เราเรียกเลเยอร์ใช้งานว่า ‘Current Layer’ หากต้องการเขียนวัตถุเขาไปในเลเยอร์ใด เราจะต้อง เปลี่ยนเลเยอร์นั้นให้เป็นเลเยอร์ใช้งานเสียก่อน วัตถุที่สร้างขึ้นจึงจะเข้าไปอยู่ในเลเยอร์นั้นได้ อย่างไรก็ ตามหากเราเขียนวัตถุผิดเลเยอร์ เราก็สามารถเปลี่ยนวัตถุไปอยู่ในเลเยอร์ใหม่ที่ต้องการได้ โดยในขณะที่ บรรทัด command :ไม่ปรากฏคาสั่งใดๆ ไห้คลิกเลือกวัตถุที่ต้องการเปลี่ยนเลเยอร์ใหม่จะปรากฏจุดกริปส์ บนวัตถุเหล่านั้น ให้เลือกเลเยอร์ใหม่จากแถบรายการควบคุมเลเยอร์ใด้ตามต้องการ แล้วกดปุ่ม เพื่อยกเลิกการเลือกวัตถุทั้งหมด วัตถุที่ถูกเลือกทั้งหมดจะเปลี่ยนไปอยู่ในเลเยอร์ใหม่ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 183


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ เมื่อใช้คาสั่ง Format  Layer จากเมนูบาร์หรื อคลิกปุ่ มไอคอน หรื อพิมพ์คาสั่ง LAYER หรื อคาสั่งย่อ LA ผ่านคียบ์ อร์ ดจะปรากฏไดอะล็อค Layer Properties Manager ดังรู ปที่ 6.4 (ซ้าย)

รู ปที่ 6.4 แสดงหน้าต่างการจัดการคุณสมบัติเลเยอร์ เลเยอร์ประกอบด้วย ชื่อ(Name) สถานะเลเยอร์ปิด(off) เปิ ด(on) แช่แข็ง(Freeze) ละลาย(Thaw) ล็อค (Lock) ปลดล็อค(Unlock) สี (Color) รู ปแบบเส้น(Line type) ความหนาของเส้น(Line weight) สไตล์การ พิมพ์(Plot Stile)ควบคุมการพิมพ์หรื อไม่พิมพ์วตั ถุท้ งั หมดอยูใ่ นเลเยอร์

ในการเขียนแบบไฟฟ้ามีการใช้รูปแบบเส้นไม่มากนัก ส่วนใหญ่เป็นเส้นเต็ม (Continuous) เพราะฉะนั้นจานวนเลเยอร์ในงานเขียนแบบไฟฟ้าจะแบ่งตามสัญลักษณ์ที่ใช้ เช่น เลเยอร์ระบบแสงสว่าง เลเยอร์ระบบกาลัง เป็นต้น หากเข้าสู่เลเยอร์ขณะอยู่ใน paper space หรืออยู่ใน floating viewport จะปรากฏคอลัมน์ current VpFreeze และ New VP Freeze เพิ่มขึน้ มาดังรูป 6.4(ขวา) ซึ่งใช้สาหรับแช่ แข็งเลเยอร์ในวิวพอร์ท เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 184


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ 6.1.1 คาสั่ งและตัวเลือกต่ าง ๆในหน้ าต่ างการจัดการคุณสมบัติของเลเยอร์ New properties Filter ใช้ปุ่มไอคอนนี้สาหรับสร้างฟิ ลเตอร์ หรื อตัวกรองเลเยอร์ ที่จะแสดง รายชื่อเลเยอร์ ท้ งั หมดที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่กาหนด เมื่อคลิก ปุ่ มไอคอนนี้ จะปรากฏไดอะล็อค Layer Filter properties ดังรู ปที่ 6.5 เราสามารถสร้างเงื่อนไข ตัวอย่างเช่น หากเราต้องการแสดงรายชื่อ เลเยอร์ ท้ งั หมดที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยตัวอักษร L เราสามารถพิมพ์ L* ภายใต้คอลัมน์ Name หรื อถ้าหากเราต้องการแสดงรายชื่อเลเยอร์ ทั้งหมดที่มีสถาณะปิ ด(off) เราสามารถเลือก (off) ภายใต้คอลัมน์ on เป็ นต้น นอกจากนี้ เราสามารถสร้างเงื่อนไขได้พร้อมๆกันหลายๆ เงื่อนไข เมื่อสร้างเงื่อนไขเรี ยบร้อยแล้ว โปรแกรมจะตั้งชื่อเงื่อนไข อาทิเช่น Properties Filter 1 เพื่อสะดวกในการเรี ยกใช้งานในครั้ง ต่อไป

รู ปที่ 6.5 แสดงหน้าต่างการจัดการคุณสมบัติการกรองเลเยอร์ New Group Filter ใช้ปุ่มไอคอนนี้สาหรับสร้างกลุ่มของเลเยอร์ เพื่อจัดกลุ่มเลเยอร์ ประเภท เดียวกันให้อยูใ่ นกลุ่มเดียวกัน ซึ่ งเราสามารถเปลี่ยนสถานะ on, off, Freeze, Thaw, Lock, Unlock ให้กบั เลเยอร์ ท้ งั หมดที่อยูใ่ นกลุ่มได้อย่างสะดวก เมื่อคลิก บนปุ่ มไอคอนนี้โปรแกรมจะสร้างชื่อกลุ่มเลเยอร์ ให้โดยอัตโนมัติ โดยใช้ชื่อ อาทิ เช่น Group Filter 1 แต่ภายในกลุ่มยังไม่มีเลเยอร์ ใด ๆ อยู่ เราสามารถคลิกที่ปุ่ม All เพื่อแสดงรายชื่อเลเยอร์ ท้ งั หมดที่อยูใ่ นไฟล์แบบ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 185


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ แปลน แล้วคลิกลากชื่อเลเยอร์ ไปปล่อยในชื่อ Group Filter 1 เราสามารถใช้ ปุ่ ม และปุ่ ม ช่วยในการเลือกเลเยอร์ ได้เมื่อเลเยอร์ เขาไปอยูใ่ น Group Filter 1 แล้ว เราสามารถคลิกขวาบน Group Filter 1 แล้วเลือกคาสั่ง On, Off, Freeze, Thaw, Lock, Unlock เพื่อจัดการกับเลเยอร์ ท้ งั หมดในกลุ่มได้ ตามต้องการ ดังรู ปที่ 6.6

รู ปที่ 6.6 แสดงหน้าต่างจัดการกรุ๊ ปของเลเยอร์ Layer States Manager ใช้ปุ่มไอคอนนี้สาหรับบันทึกสถานะต่างๆ ของเลเยอร์ อาทิ เช่น On, Off, Freeze, Thaw, Lock, Unlock และสถานะอื่นๆ เพื่อสะดวกในการเรี ยกคืน สถานะเดิมกลับมาใช้งานเมื่อต้องการบันทึกสถานะของเลเยอร์ ให้ปรับสถานะ ของเลเยอร์ ต่างๆ ตามต้องการแล้วคลิกปุ่ มไอคอน Layer States Manager จะปรากฏ ไดอะล็อค Layer states Manager ดังรู ปที่ 6.7 คลิกบน ปุ่ ม New แล้วตั้งชื่อสถานะเลเยอร์ ได้ตามต้องการถ้าต้องการบันทึกสถานะใด ต้องแน่ใจว่าปรากฏเครื่ องหมาย  หน้าเชคบอกซ์น้ นั ถ้าไม่แน่ใจเสามารถ คลิกปุ่ ม Select All เพื่อให้ปรากฏเครื่ องหมาย หน้าเชคบอกซ์ท้ งั หมดหาก ต้องการเรี ยกคืนสถานะใด ให้คลิกบนชื่อสถานะเลเยอร์ ในช่องหน้าต่าง Layer States

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 186


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

รู ปที่ 6.7 แสดงหน้าต่างจัดการสถานะของเลเยอร์ แล้วคลิกปุ่ ม Restore สถานะของเลเยอร์ จะถูกบันทึกไว้ก็จะถูกเรี ยกกลับมาใช้ งาน เราสามารถคลิกให้ปรากฏเครื่ องหมาย หน้าเช็คบอกซ์ Turn off layers not found in layer state เพื่อปิ ด(off) เลเยอร์ ที่ไม่ได้ถูกบันทึกเข้าไปในสถานะ ของเลเยอร์ เช่น เลเยอร์ ที่ถูกสร้างหลังจากที่บนั ทึก Layer states มาก่อนแล้ว New Layer ใช้ปุ่มไอคอนนี้สาหรับสร้างเลเยอร์ ใหม่ข้ ึนมาใช้งานโดยโปรแกรมจะตั้งชื่อ เลเยอร์ Layer 1, Layer 2, Layer 3… มาให้อตั โนมัติ เราสามารถคลิกบนชื่อ เลเยอร์ แล้วพิมพ์ชื่อเลเยอร์ ใหม่ได้ตามต้องการ Delete Layer ใช้ปุ่มไอคอนนี้สาหรับลบเลเยอออกจากไฟล์แบบแปลนใช้งานแต่เลเยอร์ ที่จะ สามารถลบได้จะต้องเป็ นเลเยอร์ วา่ งเปล่าไม่มีวตั ถุใดๆ อยูแ่ ละจะต้องไม่เป็ นเล เยอร์ใช้งาน Set Current Layer ใช้ปุ่มไอคอนนี้สาหรับกาหนดเลเยอร์ ใช้งานโดยคลิกบนชื่อเลเยอร์ แล้วคลิก บนปุ่ มไอคอนนี้หรื อดับเบิลคลิกบนชื่อเลเยอร์ จะปรากฏเครื่ องหมาย  หน้า เลเยอร์ใช้งานภายใต้คอลัมน์ Status แสดงชื่อเลเยอร์ ใช้งาน ซึ่ งในที่น้ ีคือเลเยอร์ 0 (ศูนย์) เป็ นเลเยอร์ใช้งาน Name ภายใต้คอลัมน์น้ ีจะปรากฏรายชื่อเลเยอร์ น้ ีท้ งั หมดที่มีอยูใ่ นไฟล์แบบแปลนใช้งานชื่อ เลเยอร์ สามารถใช้ตวั อักษรหรื อตัวเลขหรื อทั้งสองอย่างรวมกัน ไม่เกิน 255 ตัวอักษร สามารถใเครื่ องหมาย $ -_ และสามารถใช้ช่องว่างในการตั้งชื่อเลเยอร์ ได้ และสามารถ ใช้ตวั อักษรไทยในการตั้งชื่อเลเยอร์ ได้แต่หา้ มใช้เครื่ องหมาย <>/\‚;:?,*|=‘ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 187


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ ในทางปฏิบตั ินิยมตั้งชื่อเลเยอร์ เป็ นภาษาอังกฤษ ถ้าหากต้องการตั้งชื่อภา ษาไทยก็ สามารถทาได้ แต่ก็ควรระวังหากต้องการนาไฟล์แบบแปลนไปใช้กบั ชอฟแวร์ อื่นๆ ซึ่ง อาจจะไม่รู้จกั ชื่อเลเยอร์ ภาษาไทยและหากต้องการเว้นวรรคควรจะใช้เครื่ องหมาย ขีดเ ส้นใต้ (Underscore) แทนการเว้นวรรค On แสดงสถานะปิ ด/เปิ ดของเลเยอร์ ดวงไฟสี เหลือง แทนสถานะเปิ ด ดวงไฟสี เทา แทนสถานะปิ ดคลิกบนไอคอนดวงไฟของเลเยอร์เพื่อเปลี่ยนสถานะปิ ดเปิ ดของเลเยอร์ วัตถุที่อยูใ่ นเลเยอร์ ที่ถูกปิ ดจะถูกซ้อนไม่ไห้ปรากฏบนพื้นที่วาดภาพและเครื่ องพิมพ์แต่ วัตถุที่ถูกซ้อนในเลเยอร์ น้ ียงั คงถูกคานวณตาแหน่งบนพื้นที่วาดภาพ เมื่อมีการคานวณ (Regen) ภาพใหม่และจะมีผลต่อการ Zoom และ Pan ด้วย Freeze คลิกบนรู ปพระอาทิตย์ เพื่อแช่แข็ง(Freeze)เลเยอร์ ที่ถูกเลือก วัตถุต่างๆที่อยูใ่ น เลเยอร์ ที่ถูกแช่แข็งจะถูกซ้อนไม่ให้ปรากฏบนพื้นที่วาดภาพและบนเครื่ องพิมพ์ วัตถุที่ อยูใ่ นเลเยอร์ ที่ถูกแช่แข็งจะไม่มีผลต่อการคานวณ (Regen)ภาพใหม่จะไม่มีผลต่อการ Zoom และ Pan ด้วย สถานะละลาย(Thaw)จะปรากฏเป็ นรู ปไอคอนพระอาทิตย์สีเหลืง ส่ วนสถานะแช่แข็งจะปรากฏเป็ นไอคอนพระอาทิตย์สีเทา Lock คลิกบนรู ปไอคอนกุญแจนี้ เพื่อล็อคหรื อปลดล็อคเลเยอร์ วัตถุต่างๆที่อยูใ่ นเลเยอร์ ที่ถูกล็อคสามารถมองเห็นได้บนพื้นที่วาดภาพ แต่เราจะไม่สามารถที่จะแก้ไขปรับแต่ง วัตถุได้ ที่อยูใ่ นเลเยอร์ ที่ถูกล็อค อย่างไรก็ตาม เราสามารถวัตถุใหม่ข้ ึมาในเลเยอร์ ที่ถูกล็อคได้ สถานะล็อคจะปรากฏเป็ นรู ปแม่กุญแจสี เทา สถานะปลดล็อค จะปรากฏเป็ นรู ปแม่กุญแจสี เหลือง Color White ใช้สาหรับ กาหนดสี ให้กบั เลเยอร์ ที่ถูกเลือก ให้คลิกบนกล่องสี ของเลเยอร์ ที่ตอ้ งการ กาหนดสี ของเลเยอร์ ใหม่ (ดูรายละเอียดในคาสั่ง Format  Color) Line type ในคอลัมน์ Line type จะปรากฏชื่อรู ปแบบเส้นของเลเยอร์ ชื่อรู ปแบบเส้นใช้งาน คือ Continuous ให้คลิกบนชื่อรู ปแบบเส้น หากต้องการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบเส้นใหม่ ให้กบั เลเยอร์ น้ นั เมื่อคลิกบนชื่อรู ปแบบเส้นนั้นจะปรากฏไดอะล็อค Select Line type ให้คลิกบนปุ่ มLoad เพื่อเลือกรู ปแบบเส้นต่างๆ ออกมากาหนดให้กบั เลเยอร์ (ดูรายละเอียดในคาสั่ง Format  Line type) LineWeight ใช้สาหรับกาหนดความหนาของเส้น (Line Weight)ให้กบั เลเยอร์ ซึ่ งทาให้วตั ถุที่อยู่ ในเลเยอร์ มีควาหนาตามที่กาหนด เราสามารถที่จะเลือกความหนา อาทิ เช่น 0.13 , 0.18 0.25, 0.35 หรื ออื่นๆให้กบั วัตถุท้ งั หมดที่อยูใ่ นเลเยอร์ ที่ถูกเลือก โดยที่โปรแกรม กาหนดให้คือ ความหนาเส้นคือ Default ซึ่งเส้นจะมีความหนา 0.01 นิ้ว หรื อ 0.254 มม. Plot Style ใช้สาหรับกาหนดสไตล์ควบคุมการพิมพ์แบบใช้การตั้งชื่อสไตล์ (Named Plot Style) เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 188


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ คอลัมน์น้ ีจะใช้งานได้ก็ต่อเมื่อมีการเปิ ดไฟล์ใหม่ โดยเลือกเทมเพลทไฟล์ AcadISONamed Plot Style. dwt ซึ่ งเราสามารถ ใช้ชื่อสไตล์ในการกาหนดรู ปแบบการพิมพ์ แทน การใช้รหัสสี กาหนดรู ปแบบการพิมพ์ Plot กาหนดให้วตั ถุท้ งั หมดที่อยูใ่ นเลเยอร์ ที่ถูกเลือกปรากฏบนเครื่ องพิมพ์ (Plot) หรื อไม่ปรากฏบนเครื่ องพิมพ์ (No Plot) Current VP Freeze ใช้สาหรับแช่แข็ง หรื อละลาย เลเยอร์ เฉพาะวิวพอร์ทใช้งานในเปเปอร์ สเปสซึ่ งจะไม่มีผลต่อวัตถุที่อยูใ่ นเลเยอร์ เดียวกันแต่อยูใ่ นวิวพอร์ ทอื่นๆในเปเปอร์ สเปส คอลัมน์ Current VP Freeze นี้จะปรากฏเมื่ออยูใ่ น Layout ในเปเปอร์ สเปสเท่านั้น New VP Freeze ใช้สาหรับแช่แข็ง หรื อละลาย เลเยอร์ ที่ถูกเลือกในวิวพอร์ ทใหม่ใน Paper space ซึ่ งจะไม่มีผลต่อวัตถุที่อยูใ่ นเลเยอร์ เดียวกันแต่อยูใ่ นวิวพอร์ อื่น ๆ ในเปเปอร์ เปส คอลัมน์ New VP Freeze นี้จะปรากฏเมื่ออยูใ่ น Layout ในเปเปอร์ เปสเท่านั้น Invert filter หากคลิกให้ปรากฏเครื่ องหมาย  หน้าเช็คบอกซ์ Invert filter สถานะการกรอง รายชื่อเลเยอร์ จะปรากฏตรงกันข้ามกับเงื่อนไขที่กาหนดนั้นหมายถึ่งรายชื่อเลเยอร์ จะปรากฏจะตรงข้ามกับเงื่อนไขที่กาหนดใน Layer Filter Properties และเงื่อนไขที่ กาหนด ในอิดิทบอกซ์ Search for Layer หากต้องการให้แถบควบคุมเลเยอร์ (Layer Control) บนทูลบาร์ Layers แสดงรายชื่อตามเงื่อนไขที่ปรากฏบนหน้าต่าง Layer Properties Manager เราสามารถคลิกให้ปรากฏเครื่ องหมาย หน้าเช็คบอกซ์ Apply to layers toolbar 6

.1.2 ขั้นตอนการสร้ างเลเยอร์ 1.ใช้คาสัง่ Format Layer ที่ 6.4 (ซ้าย)

จะปรากฏไดอะล็อค Layer Properties Manager ดังรู ป

2.คลิกบนปุ่ ม New Layer จะปรากฏชื่อเลเยอร์ Layer 1 ซึ่ งโปรแกรมกาหนดมาให้ ในขณะที่เคอร์ เซอร์ ยงั กระพริ บอยูบ่ น Layer 1 ให้พิมพ์ชื่อเลเยอร์ที่ตอ้ งการเข้าไปแทนที่ หากเราพิมพ์ชื่อเลเยอร์ผิด ต้องการเปลี่ยนชื่อใหม่ให้ใช้เม้าท์คลิกเพื่อเลือกเลเยอร์นั้น แล้วคลิกบนชื่อเล เยอร์นั้นอีก 1 ครั้ง เมื่อชื่อเลเยอร์ถูกไฮไลท์ด้วยแถบสีน้าเงินเราสามารถพิมพ์ชื่อใหม่เข้าไปแทนที่แล้วกด ปุ่ม หรือคลิกปุ่ม Show details แล้วคลิกบนชื่อที่ต้องการเปลี่ยน แล้วพิมพ์ชื่อใหม่เข้าไป ในอิดิทบอกซ์ Name เช่นเดียวกัน เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 189


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ 3. กาหนดสี ให้กบั เลเยอร์ ใหม่ที่ถูกสร้างขึ้น โดยคลิกบนกล่องสี รูปสี่ เหลี่ยมจัสตุรัสเล็ก ๆ ใน คอลัมน์Color บนไดอะล็อค รู ปที่ 6.4 จะปรากฏไดอะล็อคแสดงกล่องสี จานวนมากขึ้นมาบน จอภาพให้คลิกบนกล่องสี ที่ตอ้ งการกาหนดให้กบั เลเยอร์ แล้วคลิกบนปุ่ ม OK สี ของเลเยอร์จะ เปลี่ยนไปตามสี ที่เราได้เลือก 4. กาหนดรู ปแบบเส้น (Line type) ให้กบั เลเยอร์ ใหม่ โดยคลิกบนชื่อรู ปแบบเส้น Continuous ใน คอลัมน์ Line type ของเลเยอร์ จะปรากฏไดอะล็อค Select Line type ขึ้นมาบนจอภาพ ให้ คลิกบรู ปแบบเส้นที่ตอ้ งการ หากเส้นที่ตอ้ งการยังไม่ปรากฏบนไดอะล็อค ให้คลิกบนปุ่ ม Load… แล้วโหลดรู ปแบบเส้นที่ตอ้ งการเข้าไปยังไดอะล็อค Load or Reload Line types แล้ว จึงคลิกบนรู ปแบบเส้นที่ตอ้ งการกาหนดให้กบั เลเยอร์ ใหม่ 5. กาหนดความหนาเส้น Line Weight ให้กบั เลเยอร์ โดยคลิกบนความหนาเส้น Default บน คอลัมน์ Line Weight ของเลเยอร์ ที่ตอ้ งการกาหนดความหนาของเส้น แล้วเลือกความหนา เส้นที่ตอ้ งการ เช่น 0.13, 0.25, 0.18 และอื่นๆ จากไดอะล็อค Line Weight เป็ นอันเสร็ จสิ้ น การสร้างเลเยอร์ ใหม่ข้ ึนมาใช้งาน หากเราทราบแน่นอนแล้วว่าวัตถุที่อยูใ่ นเลเยอร์ จะต้องพิมพ์ลงในกระดาษด้วยความหนาเส้น ขนาดเท่าใด เราสามารถกาหนดความหนาเส้นให้กบั เลเยอร์ ได้ วัตถุทุกชิ้นที่อยูใ่ นเลเยอร์ จะมีความหนา เส้นตามที่ระบุในเลเยอร์ หากต้องการให้เส้นต่างๆ ที่อยูใ่ นเลเยอร์ ที่กาหนดความหนาเส้นไว้แล้ว ปรากฏ ด้วยความหนาจริ งๆ บนจอภาพ ให้คลิกบนปุ่ ม LWT บนบรรทัดแสดงสถานะ เพื่อเปิ ดโหมดแสดงความ หนาเส้นบนพื้นที่วาดภาพ หากเปิ ดปุ่ ม LWT แล้วเส้นยังไม่ปรากฏความหนาบนพื้นที่วาดภาพ เรา สามารถคลิกขวาบนปุ่ มLWT แล้วเลือกคาสั่ง Settings แล้วเลื่อนสไลเดอร์ Adjust Display Scale ไป ทางขวาเพื่อเพิม่ สเกลในการแสดงผลความหนาเส้นบนพื้นที่วาดภาพ บนไดอะล็อค Layer Properties Manager หากเลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปบนพื้นที่แสดงรายชื่อเลเยอร์ แล้วคลิกขวา จะปรากฏเคอร์ เซอร์ เมนูแสดงคาสั่งต่างๆ ให้เลือกใช้งาน ดังรู ปที่ 6.4 ซึ่งเราสามารถที่จะ แสดงหน้าต่างโครงสร้างตัวกรอง(Show Filter Tree) แสดงกลุ่มของฟิ วเตอร์ ในช่องหน้าต่างแสดง รายชื่อเลเยอร์ (Show Filters in Layer List) กาหนดเลเยอร์ ใช้งาน(Set Current) สร้างเลเยอร์ ใหม่(New Layer) เปลี่ยนรายละเอียด (Change Description) นาเลเยอร์ ออกจากกลุ่ม(Remove From Group Filter) เลือกเลเยอร์ ท้ งั หมด(Select All) ยกเลิกการเลือกทั้งหมด(Clear All) เลือกเลเยอร์ ท้ งั หมดยกเว้นเลเยอร์ ใช้ งาน(Select All but Current) สลับเลเยอร์ ที่ถูกเลือกกับเลเยอร์ ที่ไม่ได้ถูกเลือก(Invert Selection) สลับ สับเปลี่ยนเลเยอร์ ตรงข้ามกับที่กาหนดในฟิ วเตอร์ ( Invert Layer Filter) เลือกฟิ วเตอร์ออกมาใช้งาน(Layer Filters) บันทึกสถานะของเลเยอร์ (Save Layer State) เรี ยกคืนสถานะของเลเยอร์ (Restore Layer State)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 190


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

นอกจากเราจะควบคุมสถานะต่างๆ ของเลเยอร์ผ่านไดอะล็อค Layer Properties Manager แล้วเรายัง สามารถคลิกบนปุ่ม บนแถบควบคุมสถานะเลเยอร์ (Layer Control) ดังรูปที่ 6.3 เพื่อเปลี่ยนแปลงสถานะต่างๆ ของเลเยอร์ โดยไม่ต้องเข้าไปยังไดอะล็อค Layer Properties Manager นอกเราจะสามารถใช้แถบควบคุมเลเยอร์ (Layer Control) เปลี่ยนสถานะของเลเยอร์แล้ว เรายังสามารถใช้ แถบรายการควบคุมเลเยอร์ในการเปลี่ยนเลเยอร์ให้แก่วัตถุต่างๆ ได้โดยที่ในขณะที่บรรทัดป้อนคาสั่ง Command : ปราศจากคาสั่งใดๆให้ใช้เม้าส์คลิกบนวัตถุต่างๆ ที่ต้องการเปลี่ยนเลเยอร์ จะปรากฏจุด กริปส์ (Grips) บนวัตถุเหลานั้น จากนั้น คลิกเพื่อเลือกชื่อเลเยอร์ ที่ต้องการเปลี่ยนบนแถบรายการ ควบคุมเลเยอร์ วัตถุจะเปลี่ยนไปอยู่ในเลเยอร์ใหม่ แล้วกดปุ่ม

6.2 คาสั่งจัดการรูปแบบสี(Color)

Format

เพื่อยกเลิกจุดกริปส์

 Color , COLOR หรื อ COL

ใช้สาหรับกาหนดสี ให้กบั วัตถุ โดยปกติสีใช้งานจะปรากฏบนแถบรายการควบคุมการเปลี่ยนสี (Color control) ดังรู ปที่ 6.8 โดยที่โปรแกรมกาหนดมาให้ ByLayer เป็ นสี ใช้งาน ซึ่งหมายถึงวัตถุที่ สร้างขึ้นจะใช้สีที่กาหนดไว้ตามเลเยอร์ ที่ใช้ในการสร้างวัตถุน้ นั หากมีการเลือกสี อื่น ๆ เป็ นสี ใช้งาน นอกเหนือจากสี ByLayer เมื่อมีการสร้างวัตถุใหม่ วัตถุน้ นั จะมีสีตามที่ได้เลือกไว้ในแถบรายการ ควบคุมการเปลี่ยนสี นัน่ หมายถึงหากเราเปลี่ยนสี ที่กาหนดในเลเยอร์ สี ของวัตถุที่อยูใ่ นเลเยอร์ น้ นั ก็จะ ไม่เปลี่ยนไปตามสี ของเลเยอร์ เพราะไม่ได้ใช้ ByLayer ในขณะสร้างวัตถุ

รู ปที่ 6.8 หน้าต่างควบคุมสี เมื่อใช้คาสั่ง Format  Color หรื อพิมพ์คาสั่ง COLOR หรื อ COL หรื อคลิกบนปุ่ มไอคอน Select Color… ในแถบรายการควบคุมการเปลี่ยนสี จะปรากฏไดอะล็อค Select Color ดังรู ปที่ 6.9 เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 191


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ แสดงแถบ Index Color, True Color, และแถบ Color Books โดยทัว่ ไป เรามักจะเลือกใช้สี มาตรฐาน (Standard Colors) จากแถบ Index Color เนื่องจาก Auto CAD จะใช้สีมาตรฐาน สาหรับควบคุมคุณสมบัติต่าง ๆ และความหนาของ เส้นในการพิมพ์แบบแปลนโดยมีรหัสสี (AutoCAD Color Index) ทั้งหมดให้เลือกใช้งาน 255 รหัสสี โดยมีรหัสสี มาตรฐานหมายเลข 1-9 และสี ไล่ระดับ ความเข้มสี เทาหมายเลข 250-255 ปรากฏดังรู ปที่ 6.10 (ซ้าย) และมีรหัสสี หมายเลข 10-249 ปรากฏ บนตาราง AutoCAD Color index (ACI) ดังรู ปที่ รู ปที่ 6.9 ตารางการเลือกสี 6.10 (ขวา) เราสามารถใช้เมาส์คลิกบนกล่องสี เพื่อ ตรวจดูรหัสของสี น้ นั ก่อนที่จะกาหนดให้กบั วัตถุที่สร้างขึ้นใหม่ได้ 8 6 4 2 0 1 3 5 7 9

1 2 34 5 6 78 9

250 252 254 251 253

255

1 2

7

5

3 4

6

9 8

11 13 15 17 19 21 24 10 12 14 16 18 20 23 25

รู ปที่ 6.10 แสดงรหัสสี 1. สี แดง (Red) 2. สี เหลือง(Yellow) 3. สี เขียว(Green) 4. สี ฟ้าแกมเขียว(Cyan) 5. สี น้ าเงิน (Blue) 6. สี ม่วง(Magenta) 7. สี ขาว(White) 8. สี เทาแก่(Dark gray) 9. สี เทาอ่อน (Light gray)

การกาหนดรหัสสีบนตาราง AutoCAD Color index(ACI) เราใช้ตัวเลขคอลัมน์ 1-24 เป็นตัวเลข หลักนาหน้า แล้วใช้ตัวเลขแถว 0-9 เป็นตัวเลขหลักสุดท้าย ตัวอย่างเช่น สีที่ถูกเลือกอยู่ในคอลัมน์ 12 แถว 1 มีรหัสสีเท่ากับ 121

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 192


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

เนื่องจากรหัสสีที่เรากาหนดให้กับวัตถุต่าง ๆ ใน AutoCAD ไม่ว่าจะกาหนดผ่านเลเยอร์หรือกาหนด ให้กับวัตถุโดยตรงนั้นมีบทบาทสาคัญในการควบคุมความหนาและคุณสมบัติอื่นๆของเส้น เมื่อทาการ พิมพ์แบบแปลนลงกระดาษ ดังนั้น ในการเลือกใช้สี เราจะต้องคานึงถึงรหัสสีที่จะเลือกใช้ เนื่องจาก รหัสสีหมายเลข 1-255 จะสามารถควบคุมความหนาเส้นที่แตกต่างกันได้ ตัวอย่าง เช่น เราสามารถกาหนดให้วัตถุที่มีสีแดงรหัสสีหมายเลข 1 พิมพ์ออกมาลงกระดาษมีความหนาเส้นเท่ากับ 0.35 ม.ม. และวัตถุที่มีสีเหลืองรหัสสีหมายเลข 2 พิมพ์ออกมาลงกระดาษมีความหนาเส้นเท่ากับ 0.18 ม.ม. เป็นต้น

BYLAYER กาหนดให้วตั ถุใช้สีตามที่กาหนดไว้ในเลเยอร์ ตัวเลือก BYLAYER เป็ นค่าที่ โปรแกรมกาหนดมาให้ ซึ่ งสี ของวัตถุจะขึ้นอยูก่ บั สี ที่กาหนดในเลเยอร์ หากมีการ เปลี่ยนแปลงสี ของเลเยอร์ วัตถุก็จะเปลี่ยนสี ไปตามสี ของเลเยอร์ ไปด้วย ควรใช้ตวั เลือก นี้กาหนดให้กบั วัตถุเสมอเพื่อความสะดวกในการเปลี่ยนแปลง BYBLOCK ใช้สาหรับกาหนดให้วตั ถุที่สร้างขึ้นใหม่ใช้สีที่โปรแกรมกาหนดมาให้ ซึ่ งเป็ นสี ขาว หรื อสี ดา ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั คอนฟิ กเกอเรชัน่ ของจอภาพในขณะนั้น จนกระทัง่ นาวัตถุน้ นั ไป สร้างเป็ นบล็อก เมื่อบล็อกดังกล่าวถูกสอดแทรกเข้าในไฟล์แบบแปลนใด ๆ วัตถุจะมีสี ตามที่กาหนดในบล็อกนั้น นอกจากสี มาตรฐาน 255 รหัสสี ที่ปรากฏบนแถบ Index Color บนไดอะล็อค Select Color ดังรู ปที่ 6.9 เรายังสามารถเลือกใช้สีจริ ง 16.7 ล้านสี จากแถบ True color ดังรู ปที่ 6.11 เราสามารถกาหนดสี แบบ Hue, Saturation, Luminance (HSL) หรื อ Red, Green, Blue (RGB) จากแถบรายการ Color model เรา ไม่นิยมนาสี จากแถบ True Color ไป กาหนดให้กบั วัตถุ เนื่องจากรหัสสี ของ True Color ไม่สามารถควบคุมความหนา และคุณสมบัติเส้นในการพิมพ์ แต่เรา สามารถที่จะใช้สีจากแถบ True Color ไป ระบายสี ให้กบั แฮทช์แบบทึบตัน(Solid) และ แฮทช์แบบไล่ระดับความเข้มสี (Gradient)ได้ ดังนั้น จึงไม่ควรที่จะนาสี จากแถบ True รู ปที่ 6.11 หน้าต่างแสดงสี ให้เลือก เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 193


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ Color ไปใช้งานใด ๆ นอกจากจะทาการระบายสี แบบ Gradient ด้วยคาสั่ง Draw  Hatch เท่านั้น นอกจากเราจะสามารถเลือกใช้สีจริ ง 16.7 ล้านสี แบบ HLS หรื อ RGB จากแถบ True Color แล้ว เรายัง สามารถเลือกใช้สี 16.7 ล้านสี แบบต่าง ๆ จากแถบ Color Books ดังรู ปที่ 6.12 โดยเลือกสมุดสี แบบ ต่าง ๆ ในแถบรายการ Color book ได้เช่นเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์เดียวกันกับการใช้แถบ True Color ซึ่ งนาไปใช้ในการระบายสี ในคาสั่ง Draw  Hatch เท่านั้น

รู ปที่ 6.12 แท็ปสมุดสี

6.2.1 หลักทัว่ ไปในการกาหนดสี ให้ วตั ถุ การกาหนดสี ให้กบั วัตถุ มีผลต่อการควบคุมรู ปแบบในการพิมพ์ ซึ่ งมีอยู่ 2 วิธี คือ 1) ใช้ สีของวัตถุในการควบคุมรู ปแบบในการพิมพ์ แบบแปลน (Color dependent plot style) สี ที่กาหนดให้กบั วัตถุจึงมีความสาคัญต่อความหนาและคุณสมบัติอื่น ๆ ของเส้น เพราะรหัสสี จะ เป็ นตัวกาหนดความหนาของเส้นที่จะพิมพ์ลงบนกระดาษ หากเราไม่มีการวางแผนในการกาหนดสี ให้กบั วัตถุอย่างเป็ นระบบแล้ว อาจจะเกิดปั ญหาที่ยงุ่ ยากตามมาเมื่อทาการพิมพ์แบบแปลนเพราะเส้นบาง เส้นอาจจะไม่สามารถกาหนดความหนาและคุณสมบัติอื่น ๆ ตามที่เราต้องการได้ แต่ถา้ เลือกใช้รหัสสี ในการกาหนดรู ปแบบในการพิมพ์ เราควรพิจารณาหลักการกาหนดรหัส ให้กบั วัตถุ ดังนี้ 1.1) ควรใช้สีมาตรฐานหมายเลข 1-9 กาหนดให้กบั วัตถุก่อนที่จะเลือกใช้สีใน ตาราง AutoCAD Color index (ACI) และก่อนที่จะใช้รหัสสี หมายเลข 250-255 1.2) หลีกเลี่ยงการใช้สีที่หลากหลายหรื อใช้สีจานวนมากจนเกินความจาเป็ น เพราะจะทาให้เสี ยเวลาในการกาหนดความหนาเส้นให้กบั รหัสสี เมื่อพิมพ์แบบแปลน เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 194


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ 1.3) ไม่กาหนดรหัสสี เดียวกัน ให้กบั วัตถุที่ตอ้ งการให้มีความหนาเส้นที่ แตกต่างกัน แต่ถา้ มีการกาหนด Lineweight ให้กบั วัตถุโดยตรงหรื อผ่านเลเยอร์ มาก่อน ก็สามารถที่จะใช้ รหัสสี เดียวกันกาหนดให้กบั วัตถุที่ตอ้ งการให้มีความหนาเส้นที่แตกต่างกันได้ เนื่องจากเราสามารถใช้ Use Object Lineweight ในไฟล์ควบคุมการพิมพ์ .ctb หรื อ .stb ควบคุมความหนาเส้นได้ อย่างไรก็ ตาม เมื่อพิมพ์แบบแปลน วัตถุที่มีสีเดียวกันจะมีคุณสมบัติเส้นอื่น ๆ ทั้งหมดเหมือนกันทั้งหมด 1.4) กาหนดมาตรฐานในการกาหนดสี ของหน่วยงาน ว่ารหัสสี ใดจะใช้กบั ความหนาเส้นเท่าใดไว้ล่วงหน้า 1.5) เพื่อป้ องกันการสับสน ควรใช้รหัสสี ในการเขียนแบบในแต่ละไฟล์ เหมือน ๆ กัน 1.6) ไม่ใช้สีในแถบคาสั่ง True Color และ Color Books กาหนดให้กบั วัตถุ ความหนาเส้นและคุณสมบัติอื่น ๆ ของเส้น แต่ให้ใช้สีดงั กล่าวกับการระบายสี ภายในขอบเขตของวัตถุ เท่านั้น 2) ใช้ การตั้งชื่ อสไตล์ ในการควบคุมรู ปแบบในการพิมพ์ แบบแปลน (Named plot style) รหัสสี จะไม่เกี่ยวข้องกับการกาหนดรู ปแบบในการพิมพ์หรื อการกาหนดความหนาของเส้น

ไฟล์ต้นแบบ acadiso.dwt จะใช้ค่าที่โปรแกรมกาหนดมาให้ คือ โหมดการใช้รหัสสีควบคุมการพิมพ์ (Color dependent plot style)เสมอ แต่ถ้ามีการเลือกไฟล์ต้นแบบ acadISO–Named Plot Styles.dwt แบบ แปลนจะอยู่ในโหมดการตั้งชื่อสไตล์ในการควบคุมการพิมพ์ (Named plot style) เนื่องจากมีการโหลดค่า เริ่มต้นต่าง ๆ จากไฟล์ต้นแบบ acadISO –Named Plot Styles.dwt ออกมาใช้งาน ข้อควรระวังในการกาหนดสีให้กับวัตถุที่จะสร้างใหม่โดยใช้คาสั่ง COLOR หรือ COL หากใช้คาสั่งนี้ กาหนดสี ใด ๆ เป็นสีใช้งาน เมื่อสร้างวัตถุขึ้นมาใหม่ วัตถุนั้นจะมีสีที่กาหนด หากมีการเปลี่ยนสีของเลเยอร์ที่วัตถุนั้นอยู่ สีของวัตถุนั้นจะไม่เปลี่ยนแปลงไปตามสีของเลเยอร์ หากต้องการให้สีของวัตถุเปลี่ยนแปลงไปตามสีที่กาหนดใน เลยอร์ ควรเลือก BYLAYER ไว้เสมอ นอกจากเราจะสามารถ ใช้แถบรายการควบคุมสี (Color Control) กาหนดสีใช้งานแล้ว เรายังสามารถใช้ แถบรายการดังกล่าวในการเปลี่ยนสีให้แก่วัตถุต่าง ๆ ได้ โดยที่ในขณะที่บรรทัดป้อนคาสั่ง Command: ปราศจากคาสั่งใด ๆให้ใช้เมาส์คลิกลงบนวัตถุต่าง ๆ ที่ต้องการเปลี่ยนสีจะปรากฏจุดกริ๊ปส์ (Grips)บนวัตถุ แล้วคลิกเพื่อเลือกสีใหม่บนแถบรายการควบคุมสี วัตถุทั้งหมดที่ถูกเลือกจึงจะเปลี่ยนสี เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 195


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

6.3 คาสั่งจัดรูปแบบชนิดเส้น(Linetype) Format  Linetype, LINETYAPE หรื อ LT ใช้สาหรับกาหนดรู ปแบบเส้น (Linetyle) ให้กบั เส้นตรง เส้นโค้ง วงรี และอื่น ๆ โดยปกติ รู ปแบบเส้น ใช้งานจะปรากฏบนแถบรายการควบคุมรู ปแบบเส้น (Linetype control) ดังรู ปที่ 6.1 3 โดยที่โปรแกรมกาหนดมาให้รูปแบบเส้น ByLayer เป็ นรู ปแบบเส้นใช้งานซึ่ งหมายถึงเส้นที่สร้างขึ้นจะ ใช้รูปแบบเส้นตามที่กาหนดไว้ในเลเยอร์ ของวัตถุน้ นั หากมีการเลือกรู ปแบบเส้นอื่นใดที่ไม่ใช่ ByLayer เมื่อสร้างวัตถุใหม่ วัตถุน้ นั จะมีรูปแบบเส้นของตัวเอง ไม่ข้ ึนอยูก่ บั รู ปแบบเส้นที่กาหนดไว้ในเลเยอร์

รู ปที่ 6.13 แถบรายการควบคุมรู ปแบบเส้น

นอกจากเราจะใช้แถบรายการควบคุมรู ปแบบเส้นในการกาหนดรู ปแบบเส้นใช้งานสาหรับเส้นที่ ถูกสร้างใหม่แล้ว เรายังสามารถใช้แถบรายการดังกล่าวในการเปลี่ยนรู ปแบบเส้นให้แก่วตั ถุต่างๆ ได้ โดยที่ในขณะที่บรรทัดป้ อนคาสั่ง Command: ปราศจากคาสั่งใด ๆ ให้ใช้เมาส์คลิกลงบนเส้นต่าง ๆ จะ ปรากฏจุดกริ๊ ปส์ (Grips) บนเส้นเหล่านั้น จากนั้นคลิกเพื่อเลือกรู ปแบบเส้นบนแถบรายการควบคุม รู ปแบบเส้น เส้นที่ถูกเลือกทั้งหมดจะมีรูปแบบเส้นใหม่ กดปุ่ ม ESC เพื่อยกเลิกจุดกริ๊ ปส์ เมื่อใช้คาสั่ง ออกมาใช้งาน จะปรากฏไดอะล็อค Linetype Manager ดังรู ปที่ 6.1 4 ความหมายของตัวเลือกต่าง ๆ บนไดอะล็อคมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

รู ปที่ 6.14 หน้าต่างการจัดการชนิดเส้น เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 196


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ Show all linetypes แสดงรู ปแบบเส้นที่โหลดเข้ามาใช้งานทั้งหมดบนไดอะล็อค Show all used linetypes แสดงรู ปแบบเส้นที่มีวตั ถุที่ใช้รูปแบบเส้นอยูท่ ้ งั หมดบนไดอะล็อค Show all Xref dependent linetypes แสดงรู ปแบบเส้นที่อา้ งอิงจากภายนอก (External reference) เข้ามาใช้งาน Invert filter ใช้เช็คบอกซ์น้ ีสาหรับสลับสับเปลี่ยนให้แสดงรู ปแบบเส้นในทางตรงกันข้าม กับฟิ วเตอร์ ใช้งาน Load คลิกบนปุ่ มนี้เพื่อโหลดรู ปแบบเส้นอื่น ๆ เข้ามาใช้งาน Current คลิกบนชื่อรู ปแบบเส้น แล้วคลิกบนปุ่ มนี้ เพื่อกาหนดรู ปแบบเส้นใช้งาน Delete ลบรู ปแบบเส้นที่ยงั ไม่ได้ใช้งานทิ้งไป โดยคลิกบนชื่อรู ปแบบเส้นที่ตอ้ งการ แล้วคลิกบนปุ่ มนี้ หากเราไม่สามารถลบรู ปแบบเส้นได้แสดงว่ายังมีวตั ถุใด ๆ ที่ใช้รูปแบบเส้นนั้นอยู่ Show details เมื่อคลิกบนปุ่ มนี้ ไดอะล็อคดังรู ปที่ 6.1 4 จะขยายเพิ่มขึ้นดังรู ปที่ 6.15 ส่ วนที่ขยายเพิ่มขึ้นใช้ในการกาหนดสเกลรวมของเส้นทุกเส้น (Global scale factor) หรื อกาหนดสเกลเฉพาะเส้นใช้งาน (Current object scale) Name แสดงชื่อรู ปแบบเส้นที่ถูกเลือก Description แสดงชื่อและตัวอย่างรู ปแบบเส้นที่ถูกเลือก Global scale factor กาหนดสเกลแฟคเตอร์ ควบคุมเส้นประทั้งหมดในแบบแปลน (Global scale factor) Current object scale กาหนดสเกลแฟคเตอร์ ควบคุมเส้นประใช้งานหรื อเส้นประที่จะถูกสร้างขึ้นใหม่ Use paper space units for scaling ใช้หน่วยวัดในเปเปอร์ สเปสในการกาหนดสเกล

รู ปที่ 6.15 หน้าต่างแสดงรายละเอียดของเส้น

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 197


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

6.3.1 ขั้นตอนในการโหลดรู ปแบบเส้ น (Load) โดยปกติ Linetype Manager ดังรู ปที่ 6.14 จะมีเส้นเต็ม (Continuous) ให้ใช้เพียงแบบเดียว เท่านั้น ถ้าต้องการใช้เส้นประในรู ปแบบอื่น ๆ ให้ทาตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. ใช้คาสั่ง Format Linetype จากเมนูบาร์ หรื อพิมพ์คาสั่ง LINETYPE หรื อ LT ผ่านคียบ์ อร์ ด หรื อเลือก Other… จากแถบรายการควบคุม Linetype จะปรากฏไดอะล็อค Linetype Manager จะเกิดหน้าต่าง ดังรู ปที่ 6.14 2. คลิกบนปุ่ ม Load จะปรากฏ ไดอะล็อค Load or Reload linetypes แสดงเส้นรู ปแบบต่าง ๆ ดังรู ปที่ 6.16

รู ปที่ 6.16 หน้าต่างแสดงการโหลดชนิดเส้น 3. เลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปในช่องหน้าต่าง Available Linetypes แล้วคลิกขวา จะปรากฏเคอร์เซอร์ เมนูแสดงคาสั่ง Select All และ Clear All เพื่อเลือกรู ปแบบเส้นทั้งหมดหรื อยกเลิกการเลือกทั้งหมด ในคราวเดียว คลิกบนคาสัง่ Select All เพื่อเลือกรู ปแบบเส้นทั้งหมดหรื อเลือกเฉพาะรู ปแบบเส้นที่ ต้องการ แล้วคลิกบนปุ่ ม OK รู ปแบบเส้นทั้งหมดจะถูกโหมดเข้าไปในไดอะล็อค ดังรู ปที่ 6.14 4. บนไดอะล็อค ดังรู ปที่ 6.1 4 คลิกบนรู ปแบบเส้นที่โหลดเข้ามาใช้งานแล้วคลิกบนปุ่ ม Current รู ปแบบเส้นจะกลายเป็ นรู ปแบบเส้นใช้งาน ซึ่ งจะมีผลกับเส้นที่สร้างใหม่ 5. คลิกบนปุ่ ม OK เส้นที่สร้างขึ้นใหม่จะใช้รูปแบบเส้นที่ปรากฏบนแถบรายการควบคุม รู ปแบบเส้นโดยไม่คานึงถึงรู ปแบบเส้นที่กาหนดไว้ในเลเยอร์ ที่เส้นนั้นอยู่ ถ้าใช้คาสั่ง LINETYPE หรือ LT เป็นตัวกาหนดรูปแบบเส้นใด ๆเป็นเส้นใช้งาน เมื่อสร้างวัตถุขึ้นมาใหม่ วัตถุนั้นจะมีรูปแบบเส้นตามที่กาหนด หากมีการเปลี่ยนรูปแบบเส้นของเลเยอร์ที่วัตถุนั้นอยู่ รูปแบบเส้นของ วัตถุนั้นจะไม่เปลี่ยนแปลงไปตามรูปแบบเส้นของเลเยอร์ หากต้องการให้รูปแบบเส้นของวัตถุเปลี่ยนแปลงไป ตามรูปแบบเส้นที่กาหนดในเลอเยอร์ ควรเลือก BYLAYER ไว้เสมอ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 198


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ 6.4 คาสั่งควบคุมนาหนักเส้น(Lineweigth) Format  Lineweigth, LWEIGHT หรื อ LW ใช้คาสั่งนี้สาหรับกาหนดความหนาเส้น (Lineweight) ให้กบั เลเยอร์ หรื อกาหนดความหนาเส้น ให้กบั วัตถุต่าง ๆ โดยตรง นอกจากนี้ ยังสามารถควบคุมการปรากฏของความหนาเส้นบนพื้นที่วาดภาพ เราสามารถเลือกความหนาเส้นขนาดต่าง ๆ ที่โปรแกรมกาหนดมาให้จากไดอะล็อคหรื อจากแถบรายการ ควบคุม Lineweight เราสามารถเลือกหน่วยวัดสาหรับแสดงความหนาเส้นและสามารถควบคุมสเกล ความหนาเส้นที่ปรากฏบนพื้นที่วาดภาพ เมื่อใช้คาสัง่ นี้จะปรากฏไดอะล็อค Lineweight Settings ดังรู ปที่ 6.17

รู ปที่ 6.17หน้าต่างการตั้งค่าน้ าหนักเส้น แสดงรายการความหนาเส้นที่มีอยูท่ ้ งั หมด โดยหน่วยวัดที่ระบุใน Unit for Listing Units for Listing เลือกหน่วยในการปรากฎของความหนาเส้น เป็ น มิลลิเมตร หรื อ นิ้ว Display Lineweight ปิ ด / เปิ ด โหมดแสดงความหนาเส้นบนพื้นที่วาดภาพ ถ้าปรากฎเครื่ องหมาย  หน้าเช็คบอกซ์น้ ี ความหนาเส้นจะปรากฎทั้งในโมเดลสเปสและในเปเปอร์ สเปส เราสามารถใช้ปุ่ม LWT บนบรรทัดแสดงสถานะได้เช่นเดียวกัน Default กาหนดค่าความหนาใช้งานเริ่ มต้นให้กบั เลเยอร์ ค่าความหนาที่โปรแกรม กาหนดให้คือ 0.01 นิ้ว หรื อ 0.254 มิลลิเมตร Adjust Display Scale ปรับสเกลการแสดงผลความหนาเส้นบนพื้นที่วาดภาพในโมเดลสเปส ความหนาเส้นที่ปรากฎในโมเดลสเปส มีหน่วยวัดเป็ นจานวนจุดพิกเซล( Pixel) ไม่ได้แสดงความหนาเท่ากับหน่วยวัดใน AutoCAD จริ งๆ อย่างไรก็ตาม เราสามารถกาหนดให้ความหนาเส้นขนาดใดขนาดหนึ่งให้ปรากฎมีจานวน Lineweight Setting

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 199


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ จุด( Pixel)เท่าใดบนจอภาพก็ได้ ความหนาเส้นขนาดอื่นๆ จะถูกปรับสัดส่ วน ความหนาตามไปด้วยโดยอัตโนมัติ เพื่อให้เราสามารถเปรี ยบเทียบความหนา ที่แตกต่างกันระหว่างเส้นได้ ซึ่ งสเกลของความหนาเส้นที่ปรับแต่งจะปรากฎ ให้เห็นบนช่องหน้าต่าง Lineweight ถ้าใช้จอภาพที่มีความละเอียดสู ง เราสามารถปรับสเกลความหนาเส้น เพื่อให้สามารถมองเห็นความหนาเส้น ขนาดต่างๆ ได้อย่างชัดเจน Current Lineweight แสดงความหนาเส้นใช้งานที่ถูกเลือกบนแถบรายการควบคุมความหนาเส้น ( Lineweight Control) โดยปกติเราสามารถเลือกความหนาเส้น(Lineweight) เพื่อที่กาหนดให้กบั เส้นที่จะสร้างขึ้นใหม่ จากแถบรายการควบคุมความหนาเส้น(Lineweight Control) ดังรู ปที่ 6.18 โดยที่โปรแกรมกาหนดมาให้ ความหนาเส้นใช้งาน คือ ByLayer ซึ่ งหมายถึง วัตถุที่สร้างขึ้นใหม่จะมีความหนาเส้นตามที่กาหนดใน คอลัมน์ Lineweight บนไดอะล็อค Layer Properties Manager แต่ถา้ เราเลือกความหนาเส้นอื่นๆ นอกจาก ByLayer ความหนาเส้นที่กาหนดไว้ในเลเยอร์ จะไม่มีผลกับวัตถุที่สร้างใหม่ วัตถุที่สร้างใหม่จะใช้ความ หนาเส้นที่ระบุในแถบรายการควบคุมความหนาเส้น ดังรู ปที่ 6.18 เท่านั้น

รู ปที่ 6.18 แสดงความหนาเส้น

การใช้ Lineweight ที่มีความหนามากกว่า 1 จุด หรือ 1 พิกเซล(Pixel) บนพื้นที่วาดภาพ จะทาให้การ คานวณภาพใหม่(Regeneration) ของแบบแปลนใช้เวลานานขึ้น หากโปรแกรมทางานช้าลง ควรปิดโหมด การแสดงความหนาเส้นบนพื้นที่วาดภาพด้วยเช็คบอกซ์ Display Lineweight หรือปิดปุ่ม LWT เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 200


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ นอกจากเราจะสามารถใช้แถบรายการควบคุมความหนาเส้น(Lineweight Control) ดังรู ปที่ 6.18 กาหนดความหนาเส้นใช้งานแล้ว เรายังสามารถใช้แถบรายการ ดังกล่าว ในการเปลี่ยนแปลงความหนา เส้นให้แก่วตั ถุต่างๆได้ โดยที่ในขณะที่บรรทัดป้ อนคาสั่ง Command: ปราศจากคาสั่งใดๆ ให้ใช้เมาส์คลิก ลงบนวัตถุต่างๆ ที่ตอ้ งการเปลี่ยนความหนาเส้น จะปรากฎจุดกริ๊ ปส์(Grips) บนวัตถุ แล้วคลิกเพื่อเลือก ความหนาเส้นใหม่ บนแถบรายการควบคุมความหนาเส้น วัตถุท้ งั หมดที่ถูกเลือกจึงจะเปลี่ยนความหนา ใหม่ตามที่ถูกเลือก

หากต้องการสร้าง Lineweight โดยมีความหนาเส้นนอกเหนือจากความหนาเส้นมาตรฐาน ตามที่ โปรแกรมกาหนดมาให้ เราสามารถทาได้โดยคลิกเพื่อเลือกไฟล์ควบคุมการพิมพ์ .ctb หรือ .stb บนไดอะล็อก Page Setup หรือ ไดอะล็อก Plot แล้วคลิกบนปุ่ม Edit เพื่อเข้าไปแก้ไขไฟล์ดังกล่าว แล้วคลิกบนปุ่ม Edit Lineweight แล้วแก้ไขความหนาเส้นใหม่ได้ตามต้องการ

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 201


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ 6.5 คาสั่ งในการจัดการรู ปแบบหน่ วยการวัด

FormatUnits , UNITSหรือ UN

ใช้สาหรับกาหนดหน่วยวัดระยะ มุมและความละเอียด(Precision) ของหน่วยระยะ มุม เมื่อเรี ยก คาสั่ง Format  Units หรื อพิมพ์คาสั่ง UNITS หรื อคาสั่งย่อ UN จะป รากฎไดอะล็อค ดังรู ปที่ 6.19

รู ปที่ 6.19 ตารางแสดงหน่วยการวาดภาพ ใช้ตวั เลือก Type ในการกาหนดหน่วยวัดระยะแบบ Architectural (ฟุต-นิ้ว-เศษส่ วน), Decimal (ทศนิยม) Engineering (ฟุต-นิ้วทศนิยม), Fractional (เศษส่ วน) หรื อ Scientific (หน่วยวิทยาศาสตร์ ) และใช้ตวั เลือก Precision สาหรับกาหนดความละเอียด ของหน่วยวัดระยะ ซึ่ งปรากฏบนบรรทัดแสดงสถานะ Angle ใช้ตวั เลือก Type ในการกาหนดหน่วยวัดมุม Decimal Degrees (องศา ทศนิยม), Deg/ Min/ Sec (องศา/ ลิปดา/ฟิ ลิบดา) Grads, Radians(เรเดียน),Surveyor’s Units(หน่วยวัด เซอร์เวเยอร์ ) ใช้แถบรายการ Precision สาหรับกาหนดความรายละเอียดของ หน่วยวัดมุมโดยที่โปรแกรมกาหนดมาให้การวัดมุมตามเข็มนาฬิกา คลิกให้ปรากฏ เครื่ องหมาย  หน้าเช็กบอกซ์ Clockwise Insertion scale ใช้สาหรับควบคุมสเกลของบล็อคที่สอดแทรกเข้ามาใช้งานจาก Design Center บล็อกที่ ถูกสร้างโดยมีหน่วยวัดที่ต่างจากหน่วยวัดที่ระบุในตัวเลือกนี้ จะถูกปรับสเกลและถูก สอดแทรกตามหน่วยวัดที่ระบุ ควรเลือก Unitless ถ้าต้องการให้บล็อกมีขนาดเท่าเดิม ไม่เปลี่ยนสเกลเมื่อสอดแทรกเข้ามาใช้งาน Length

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 202


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ Sample Output แสดงตัวอย่างหน่วยวัดระยะและมุมที่ถูกเลือก Direction… เมื่อคลิกปุ่ มนี้จะปรากฏ ไดอะล็อค ดังรู ปที่ 6. 20 โดยที่โปรแกรมกาหนดมาให้ 0 (ศูนย์)องศา เริ่ มวัดจากแกน X หรื อทิศตะวันออก( East)เราสามารถเปลี่ยนมุมเริ่ มต้นนี้ได้จากทิศทางต่างๆบนไดอะล็อค

รู ปที่ 6.20 หน้าต่างควบคุมทิศทาง

คาสั่ง Units นี้ไม่ได้ใช้สาหรับกาหนดหน่วยวัดเมตร เซนติเมตร หรือมิลลิเมตร แต่ใช้ในการเลือกระบบ ของหน่วยวัด เช่น Architectural(ฟุต-นิ้วเศษส่วน), Decimal(ทศนิยม) Engineering(ฟุต-นิ้ว ทศนิยม), Fractional(เศษส่วน), หรือScientific( หน่วยวิทยาศาสตร์) เป็นต้น ส่วนในแถบรายการ Insertion scale ก็ไม่ใช่หน่วยวัดในการเขียนแบบแปลน แต่เป็นหน่วยวัดในการเปลี่ยนสเกลของ ชิ้นงานที่สอดแทรกมาจากไฟล์แบบแปลนอื่นๆ เท่านั้น ในการเขียนแบบทั่วๆ ไปในเมืองไทยส่วนใหญ่นิยมใช้หน่วยวัดระบบเมตริก โดยเลือก Decimal และ เลือกใช้ทิศตะวันออก(East) หรือแกน x มีค่าเท่ากับ 0 องศา ตามที่โปรแกรมกาหนดมาให้ เพราะฉะนั้นจึงไม่มีความจาเป็นที่จะต้องปรับแต่งค่าใดๆ บนไดอะล็อคทั้งสองนี้ อย่างไรก็ตามงานเขียน แบบบางประเภทอาจจะต้องการหน่วยวัดระบบอเมริกาหรือระบบอังกฤษ เราสามารถใช้คาสั่งนี้ ในการ เปลี่ยนหน่วยวัดระยะและมุมได้ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 203


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

6.6 คาสั่งสร้างรูปแบบตาราง(Table Style) หรือ

, Format Table Style ,TABLESTYLE TS

ใช้ สาหรับสร้างสไตล์เพื่อกาหนดรู ปแบบของตาราง เพื่อนาไปใช้ในการเขีย งตารางด้วย คาสั่งDrawTable เมื่อเรี ยกคาสั่งออกมาใช้งานจะปรากฏไดอะล๊อค Table Style ดังรู ปที่ 6.21

รู ปที่ 6.21 หน้าต่างแสดงรู ปแบบตาราง เริ่ มสร้างสไตล์ใหม่ โดยคลิกบนปุ่ ม new จะปรากฏไดอะล็อก ดังรู ปที่ 6.22

รู ปที่ 6.22 หน้าต่างแสดงรู ปแบบการสร้างตารางใหม่ เลือกสไตล์ตารางต้นแบบในแถบรายการ Start With ตั้งชื่อสไตล์ของรายการในอิดิทบอกซ์ New Style Name คลิกบนปุ่ ม Continues จะปรากฏไดอะล็อก New Table Style ดังรู ปที่ 6.23 เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 204


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

รู ปที่ 6.23 หน้าต่างแสดงรู ปแบบตารางสร้างใหม่ชื่อ Schedule ที่ แท็ป Data

รู ปที่ 6.24 หน้าต่างแสดงรู ปแบบตารางสร้างใหม่ชื่อ Schedule ที่ แท็ป Column Heads

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 205


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

รู ปที่ 6.25 หน้าต่างแสดงรู ปแบบตารางสร้างใหม่ชื่อ Schedule ที่ แท็ป Title แถบคาสั่งต่าง ๆ มีการใช้งานดังนี้ Data ใช้สาหรับกาหนดคุณสมบัติของข้อมูลในตาราง Column Heads ใช้สาหรับกาหนดคุณสมบัติของชื่อคอลัมน์ เมื่อคลิกที่แท็ปนี้ จะประกฎหน้าต่าง ดังรู ปที่ 6 .24 Title ใช้สาหรับกาหนดชื่อเรื่ องของตาราง เมื่อคลิกที่แท็ปนี้ จะประกฎหน้าต่าง ดังรู ปที่ 6 .25 ส่ วนในกรอบของ Cell properties มีการกาหนดค่าต่าง ๆ ดังนี้ Text Style กาหนดรู ปแบบตัวอักษร Text Height กาหนดความสู งตัวอักษร Text Color กาหนดสี ตวั อักษร Fill Color กาหนดสี ที่จะระบายในตาราง Alignment จัดรู ปแบบการชิดซ้าย ขวา กลาง บนหรี อล่างของข้อมูลในตาราง ในส่ วนของ Border properties เราสามารถกาหนดรู ปแบบของเส้นกรอบ ได้ดงั นี้ All Borders

เพื่อแสดงเส้นกรอบทั้งหมด

Outside Borders เพื่อแสดงเส้นเฉพาะกรอบนอกของตาราง เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 206


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

Inside Borders

เพื่อแสดงเส้นกรอบในของตาราง

No Borders

เพื่อระงับเส้นกรอบไม่ให้ปรากฏ

Bottom Border Grid lineweight Grid color Table direction Horizontal Vertical

เพื่อแสดงเส้นกรอบเฉพาะด้านล่างของตารางเท่านั้น กาหนดความหนาเส้นกรอบ กาหนดสี ของเส้นกรอบ กาหนดทิศทางของการสร้างตารางลงด้านล่าง(Down)หรื อขึ้นด้านบนUp) กาหนดระยะห่างขอบของช่องในตารางในแนวนอน กาหนดระยะห่างขอบของช่องในตารางในแนวตั้ง

บนไออะล๊อค New Table Style รู ปที่ 6.23, 6.24 และ 6.25 จะสังเกตเห็นว่าข้อมูลในแถบคาสั่ง Dataแถบคาสั่งColumn Heads และแถบคาสั่งTitle เหมือนกันทั้งหมด เพียงแต่วา่ เมื่อเราคลิกแถบคาสั่ง Dataการกาหนดคุณสมบัติ เช่น ตัวอักษร ความสู ง สี จะมีผลเฉพาะในส่ วนของข้อมูลในตารางนั้น เมื่อเรา คลิกแถบคาสั่ง Column Heads การกาหนดคุณสมบัติ เช่นตัวอักษร ความสู ง สี จะมีผลเฉพาะในส่ วนของ หัวคอลัมน์ในตารางเท่านั้น เมื่อเราคลิกแถบคาสัง่ Title การกาหนดคุณสมบัติ อาทิ เช่น ตัวอักษร ความ สู ง สี จะมีผลเฉพาะในหัวเรื่ องของตารางเท่านั้น

หากเราปลดเครื่องหมาย ออกจากเช็คบอกซ์ Include Header row บนไดอะล็อก ดังรูปที่ 6.24 จะไม่ปรากฏหัวคอลัมน์ของตารางและจะไม่สามารถกาหนดคุณสมบัติต่าง ๆ ของหัวคอลัมน์ได้ หากเราปลดเครื่องหมาย ออกจากเช็คบอกซ์ Include Title row บนไดอะล็อค ดังรูปที่ 6.25 จะไม่ปรากฏหัวเรื่องของตารางและจะไม่สามารถกาหนดคุณบัติต่าง ๆ ของหัวเรื่องของตาราง

บนไดอะล็อค Table Style ดังรูปที่ 6.21 เราสามารถแสดงสไตล์ตารางทั้งหมด โดยเลือก All Styles จากแถบรายการ List หรือเลือกที่จะแสดงเฉพาะสไตล์ตารางที่มีการใช้งานบนพื้นที่วาดภาพ โดยเลือก Styles in used เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 207


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

6.7 คาสั่งในการกาหนดรูปแบบจุด(Plot Style)

Format  Plot Style, DDPTYPE

ใช้กาหนดรู ปแบบและขนาดของจุด(Point) ที่สร้างขึ้นจากคาสัง่ Draw  Point  Single Point หรื อ Draw  Point  Multiple Point เมื่อใช้คาสั่งนี้จะปรากฏไดอะล๊อก ดังรู ปที่ 6.26

รู ปที่ 6.26 หน้าต่างแสดงรู ปแบบจุด Point Size กาหนดขนาดของจุดที่ตอ้ งการให้ปรากฏบนพื้นที่วาดภาพ Set Size Relative to Screen ใช้ปุ่มเรดิโอนี้เมื่อต้องการให้ขนาดของจุด สัมพันธ์กบั ขนาดของ พื้นที่วาดภาพเสมอ ไม่วา่ เราจะใช้คาสัง่ ย่อหรื อขยายภาพ ให้ภาพมีขนาดเล็กหรื อขนาด ใหญ่เท่าใด จุดจะยังคงมีขนาดสัมพันธ์กบั พื้นที่วาดภาพเช่นเดิมเสมอ Set Size in Absolute Units เมื่อใช้ปุ่มเรดิโอนี้ ขนาดของจุดจะเป็ นขนาดจริ ง ซึ่ งสัมพันธ์กบั แอบโซลุทคอร์ ดออร์ ดิเนท เมื่อมีการย่อหรื อขยายภาพ ขนาดของจุดจะเล็กลงหรื อใหญ่ ขึ้นตามไปด้วย

จุดที่โปรแกรมกาหนดมาให้ ไม่มีผลต่อขนาดที่ระบุใน Point Sizeหากต้องการให้จุด มีขนาดตามที่ระบุใน Point Sizeเราจะต้องเลือกรูปไอคอนอื่น ๆ ยกเว้นปุ่มไอคอนว่างจะไม่ปรากฏจุดใดๆ

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 208


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

6.8 คาสั่งสร้างรูปแบบเส้นคู่ขนาน(Multiline Style)

ไม่ มี, Format  Multilane Style , MLSTYLE

ใช้คาสัง่ นี้สาหรับสร้างรู ปแบบของเส้นคู่ขนาดตั้งแต่ 2 เส้นถึง 16 เส้นเพื่อนาไปใช้งานในคาสัง่ DrawMultiline เราสามารถกาหนดให้เส้น คู่ขนานแต่ละเส้นเป็ นเส้นเต็มหรื อเป็ นเส้น เต็ม ผสมกับเส้นประแบบต่าง ๆหรื อกาหนด ไห้มี สี สันของแต่ละเส้นที่แตกต่างๆกัน เพื่อที่จะสามารถควบคุมหนาของเส้นที่จะ พิมพ์ลงกระดาษได้ เมื่อเรี ยกคาสั่งนี้ จะ ปรากฏไดอะล็อค ดังรู ปที่ 6.27 ในกรอบของ Styles: จะแสดงรายชื่อรู ปแบบ ของเส้นที่สร้างไว้ โดยโปรแกรมกาหนด รู ปแบบ STANDARD ไว้ให้

รู ปที่ 6.27 หน้าต่างการกาหนดรู ปแบบเส้นคู่ขนาน Set Current เมื่อเลือกรู ปแบบเส้น ในช่อง Styles แล้วคลิกที่ปุ่มนี้เพื่อ ตั้งค่าใช้งาน เพื่อนาไปใช้ใน คาสั่ง Draw  Multilane New ใช้ปุ่มนี้เพื่อสร้างรู ปแบบเส้นมัลติไลน์ ใหม่ Rename ใช้ปุ่มนี้เพื่อเปลี่ยนชื่อรู ปแบบเส้นมัล ติไลน์ Delete ใช้ปุ่มนี้เพื่อลบรู ปแบบเส้นมัลติไลน์ Load ใช้ปุ่มนี้เพื่อโหลดรู ปแบบเส้นมัลติไลน์ที่ถูกบันทึกไว้ Save ใช้ปุ่มนี้เพื่อบันทึกรู ปแบบเส้นมัลติไลน์ที่สร้างขึ้นลงในไฟล์ .mln Description ใช้ตวั อักษรและตัวเลขได้ถึง 255 ตัว เพื่อใช้อธิบายรู ปแบบเส้นมัลติไลน์ Preview of : STANDARD กรอบแสดงตัวอย่างรู ปแบบเส้นมัลติไลน์ ที่เลือกในกรอบ Style เมื่อคลิกปุ่ ม Modify จะปรากฏไดอะล็อคดังรู ปที่ 6.28 แสดงข้อต่อเส้นทุก ๆ จุด ที่มีการกาหนด ตาแหน่งให้กบั เส้นมัลติไลน์ โดยมีรายละเอียดดังนี้ Caps ใช้สาหรับสร้างเส้นปิ ดหัวท้ายเส้นคู่ขนานมัลติไลน์

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 209


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ Line Outer arc Inner arc Angle Fill

สร้างเส้นตรงปิ ดหัวท้าย สร้างเส้นโค้งนอกปิ ดหัวท้าย สร้างเส้นโค้งปิ ดหัวท้าย กาหนดมุมเอียงให้มีเส้นมัลติไลน์ คลิกเช็คบรอกซ์ On เพื่อปิ ดโหมดการระบายสี บนเส้นมัลติไลน์ แล้วเลือก สี จากปุ่ ม Color

รู ปที่ 6.28 แสดงหน้าต่าง Modify Multiline Style

6

.8.1 ขั้นตอนในการสร้ างรู ปแบบเส้ นขนานมัลติไลน์ สมมุติวา่ ต้องการสร้างรู ปแบบเส้นคู่ขนาน 3 เส้น มีระยะห่างกัน 2 หน่วย เส้นที่อยูด่ า้ น นอกทั้งสองเส้นมีสีและรู ปแบบเส้นที่โปรแกรมกาหนดมาให้ ส่ ว นเส้นกลางมีสีน้ าเงินและมีรูปแบบเส้น เป็ นเส้นเซ็นเตอร์ไลน์(Center Line) โดยมีข้ นั ตอนดังต่อไปนี้ (โดยเราจะสร้างรู ปแบบเส้นมัลติไลน์ ขึ้นมาใหม่) 1. เรี ยกคาสัง่ Format  Multiline Style จะปรากฏไดอะล็อคดังรู ปที่ 6.27 2. หากเคยมีการสร้างคู่ขนานไว้ก่อนแล้วและเราต้องการนาเส้นคู่ขนานนั้นมาเป็นต้นแบบ ในการสร้างเส้น คู่ขนานเส้นใหม่ ให้เลือกเส้นคู่ขนานเส้นนั้นจากแถบรายการ Style แล้วคลิกบนปุ่ม Modify จะเข้าสู่หน้าต่าง ดังรูปที่ 6.27 ขั้นตอนการสร้างก็จะเริ่มจากข้อ 4 และมีขั้นตอนเหมือนกับสร้างใหม่ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 210


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ 3. คลิกบนปุ่ ม New จะปรากฏไดอะล็อค ดังรู ปที่ 6.29 ให้พิมพ์ชื่อรู ปแบบเส้นที่ ต้องการลงในช่อง New Style Name (ห้ามมีช่องว่างในการตั้งชื่อ)

รู ปที่ 6.29 หน้าต่างตั้งชื่อเส้นมัลติไลน์

3. คลิกปุ่ ม Continue จะปรากฏหน้าต่างดังรู ปที่ 6.30

รู ปที่ 6.30 การสร้างรู ปแบบเส้นมัลติไลน์ข้ ึนมาใหม่

โดยปกติรูปแบบ Standard ที่โปรแกรมกาหนดมาให้ มีเส้นคู่ขนานสองเส้นปรากฏอยู่ ในฟิลด์ Element: แต่ละเส้นแสดงระยะห่างออฟเซท สีและเส้นรูปแบบ โดยเส้นทั้งสองห่างกัน = 1 หน่วย (+0.5-(-0.5)) เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 211


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ 4. คลิกบนปุ่ ม Add เพื่อเพิม่ เส้นคู่ขนานให้เป็ น 3 เส้น จะปรากฏ 0 BYLAYER ByLayer ขึ้นมาที่บรรทัดตรงกลาง(ลูกศรชี้) ดังรู ปที่ 6.31

รู ปที่ 6.31 การเพิ่มเส้น 5. คลิกเพื่อให้ปรากฏแถบสี น้ าเงินบนเส้นบนสุ ด 0.5 BYLAYER ByLayer แก้ไข ระยะห่างหว่างเส้น โดยการพิมพ์ 2 เข้าไปใน Offset แล้วกดปุ่ ม ENTER 6. คลิกเพื่อให้ปรากฏแถบสี น้ าเงินบนเส้นกลาง 0 BYLAYER ByLayer เปลี่ยนสี เส้น โดยคลิกบนปุ่ ม Color…แล้วเลือกสี น้ าเงินรหัสสี ที่ 5 เปลี่ยนรู ปแบบเส้น โดยคลิกบนปุ่ ม Line type… แล้วเลือกรู ปแบบเส้นประ Center (ดูรายละเอียดการโหลดรู ปแบบเส้นในคาสั่ง Format  Line type ) เส้นกลางจะปรากฏ 0.0 Blue CENTER 7. คลิกเพื่อให้ปรากฏแถบสี น้ าเงินบนเส้นล่างสุ ด -0.5 BYLAYER ByLayer แก้ไข ระยะห่างระหว่างเส้น โดยพิมพ์ -2 เข้าไปใน Offset แล้วกดปุ่ ม ENTER แล้วคลิกปุ่ ม OK เพื่อออกจาก ไดอะล็อค Modify Multiline Style 8. จะปรากฏชื่อรู ปแบบเส้นที่สร้างขึ้นใหม่ ในช่อง Style 9. คลิกให้แถบสี น้ าเงินขึ้นบนชื่อของรู ปแบบเส้นมัลติไลน์ที่สร้างขั้นใหม่ แล้วคลิกที่ ปุ่ ม Set Current เพื่อตั้งเป็ นค่าใช้งาน คลิกปุ่ ม OK เพื่อออกจากไดอะล็อค Multilane Style หากต้องการบันทึกรู ปแบบที่สร้างขึ้นใหม่น้ ีไปใช้กบั แบบแปลนอื่น ๆ เมื่ออยูใ่ นไดอะล็อค Multiline Stylesให้คลิกบนปุ่ ม Save…จะปรากฏไดอะล็อคสาหรับเลือกไฟล์ข้ ึนมา ให้คน้ หาไฟล์ acad.mlm ในโฟลเดอร์ C:\Documents and Settings\User Name\Application Data\Autodesk\Auto CAD 2007\R17.0\enu\Support แล้วบันทึกลงในไฟล์ดงั กล่าว เมื่ออยูใ่ นไฟล์แบบแปลนอื่น ๆ หากต้องการใช้ เส้นคู่ขนานในรู ปแบบที่สร้างใหม่น้ ี ให้คลิกบนปุ่ ม Load…ซึ่ งอยูบ่ นไดอะล็อค Multilane Styles แล้ว คลิกเพื่อเลือกรู ปแบบเส้นมัลติไลน์ที่ตอ้ งการ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 212


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ 6 กลุ่มคาสั่ งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ 1. Layer ใน AutoCAD เปรี ยบเหมือนอะไร ก. ขนมชั้น ค. แผ่นใส ข . บันได ง . การเรี ยงจาน 2. เลเยอร์ ที่โปรแกรมสร้างมาให้ มีกี่เลเยอร์ ชื่ออะไรบ้าง ก . ไม่มี ต้องเริ่ มสร้างเอง ค . 2 เลเยอร์ ชื่อ เลเยอร์ ‚ 1 ‛ และ “ Default ” ข . 1 เลเยอร์ ชื่อ เลเยอร์ ‚ 0 ‛ ง. 3 เลเยอร์ ชื่อ เลเยอร์ ‚ 0 ‛ , ‚ 1 ‛ และ “ Default ” 3. ต้องการกาหนดสี ให้วตั ถุที่เขียนขึ้นมา ต้องใช้คาสัง่ ใด ก . Linetype Control ค. Layer Properties ข. Linetweight Control ง. Color Control 4. ต้องการกาหนดรู ปแบบเส้นให้วตั ถุที่เขียนขึ้นมา ต้องใช้คาสั่งใด ก . Linetype Control ค. Layer Properties ข. Linetweight Control ง. Color Control 5. ต้องการกาหนดความหนาของเส้นให้วตั ถุที่เขียนขึ้นมา ต้องใช้คาสั่งใด ก . Linetype Control ค. Layer Properties ข. Linetweight Control ง. Color Control 6. หน่วยในการแทรกสเกล ใน AutoCAD คืออะไร ก . Inch ค. Millimeters ข. Meters ง. Centimeters 7. รู ปแบบตารางที่โปรแกรมกาหนดมาให้ มีกี่รูปแบบ ชื่ออะไร ก . 2 รู ปแบบ คือ Standard และ MyTable ข . 2 รู ปแบบ คือ Standard1 และ Standard2 ค . 1 รู ปแบบ คือ Standard1 ง . 1 รู ปแบบ คือ Standard 8. รู ปใดคือจุด(Point) ที่โปรแกรมกาหนดมาให้ ก . ค. ข. ง.

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 213


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ 9. เส้นคู่ขนาน(Multiline) ที่โปรแกรมกาหนดมามีกี่เส้น และมีระยะห่างเท่าไร ก . 2 เส้น ห่างกัน 10 หน่วย ค. 3 เส้น ห่างกัน 10 หน่วย ข. 2 เส้น ห่างกัน 20 หน่วย ง. 3 เส้น ห่างกัน 20 หน่วย 10. ถ้าต้องการใช้เส้นประ(dash) ชนิด ACAD ISO02W100 ต้องใช้คาสั่งใด ก . Format>Linetype ค. Format>Lineweight ข. Format>Color ง. Format>Plot Style Control

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 214


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ 6 กลุ่มคาสั่ งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ 1. ถ้าต้องการเขียนแบบที่ซบั ซ้อนเราควรสร้างสิ่ งใดก่อนใน AutoCAD ก. Block ค. Template ข . Layer ง . วัตถุ 2. เครื่ องหมายใดแสดงว่า เป็ น เลเยอร์ใช้งาน ก. ไฮไลท์สีน้ าเงิน ค. เครื่ องหมาย ข. เครื่ องหมาย ง. เลเยอร์ที่ถูกสร้างเป็ นเลเยอร์แรก 3. จากรู ปด้านล่าง เป็ นคุณสมบัติของข้อใด

. Linetype ค. Lineweight ข. Color ง. Plot Style Control 4. จากรู ปด้านล่าง ข้อใด ใช้สาหรับกาหนดความหนาเส้น 1

2

3

4

ก .1 ค .3 ข .2 ง .4 5. จากรู ปในข้อ 4 ถ้าต้องการเปลี่ยนสี ให้กบั วัตถุ ต้องเลือกคาสัง่ ใด ก .1 ค .3 ข .2 ง .4 6. เส้นคู่ขนาน(Multiline) ที่โปรแกรมกาหนดมามีกี่เส้น และมีระยะห่างเท่าไร ก . 2 เส้น ห่างกัน 10 หน่วย ค. 3 เส้น ห่างกัน 10 หน่วย ข. 2 เส้น ห่างกัน 20 หน่วย ง. 3 เส้น ห่างกัน 20 หน่วย 7. ถ้าต้องการใช้เส้นประ(dash) ชนิด ACAD ISO02W100 ต้องใช้คาสั่งใด ก . Format>Linetype ค. Format>Lineweight ข. Format>Color ง. Format>Plot Style Control

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 215


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ 8. หน่วยในการแทรกสเกล ใน AutoCAD คืออะไร ก . Inch ค. Millimeters ข. Meters ง. Centimeters 9. รู ปแบบตารางที่โปรแกรมกาหนดมาให้ มีกี่รูปแบบ ชื่ออะไร ก . 2 รู ปแบบ คือ Standard และ MyTable ข . 2 รู ปแบบ คือ Standard1 และ Standard2 ค . 1 รู ปแบบ คือ Standard1 ง . 1 รู ปแบบ คือ Standard 10. รู ปใดคือจุด(Point) ที่โปรแกรมกาหนดมาให้ ก . ค. ข. ง.

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 216


บทที่ 6 กลุ่มคาสั่งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ

แบบฝึ กหัด บทที่ 6 กลุ่มคาสั่ งสาหรับจัดรู ปแบบวัตถุ 1. จงบอกความหมายและประโยชน์ของเลเยอร์ (5 คะแนน) 2. จงบอกชื่อแถบเครื่ องมือ ข้างล่างนี้ (5 คะแนน)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 217


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.