บทที่ 5 เครื่องมือในการแก้ไขวัตถุ

Page 1

บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ

บทที่ 5 เครื่องมือในการแก้ไขวัตถุ สาระการเรียนรู้ 2.

1

1. แถบเครื่องมือและคาสั่งในการแก้ไขวัตถุ คาสั่งในการลบวัตถุ 3 . คาสั่งในการคัดลอกวัตถุ 4. คาสั่งในการคัดลอกแบบกระจกเงา 5 . คาสั่งในการคัดลอกแบบเส้นคู่ขนาน 6. คาสั่งในการคัดลอกวัตถุแบบอาร์เรย์ 7. คาสั่งในการย้ายวัตถุ 8. คาสั่งในการหมุนวัตถุ 9 . คาสั่งในเปลี่ยนขนาดวัตถุ 10. คาสั่งในการยืดวัตถุ 11. คาสั่งในการเพิ่ม/ลดความยาวเส้น 2. คาสั่งในการตัดเส้น 13. คาสั่งในการต่อเส้น 14. คาสั่งในการแบ่งเส้น 15. คาสั่งในการระเบิดวัตถุออกเป็นเส้น

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 2.

1. บอกชื่อแถบเครื่องมือและคาสั่งในการแก้ไขวัตถุได้ ลบวัตถุได้ 3. คัดลอกวัตถุได้ 4. คัดลอกแบบกระจกเงาได้ 5. คัดลอกแบบเส้นคู่ขนานได้ 6. คัดลอกวัตถุแบบอาร์เรย์ได้ 7. ย้ายวัตถุได้ 8. หมุนวัตถุได้ 9. เปลี่ยนขนาดวัตถุได้ 10. ยืดวัตถุได้ 11. เพิ่ม/ลดความยาวเส้น ได้ 12. ตัดเส้นออกได้ 13. ต่อเส้นให้มีความยาวเพิ่มขึ้นได้ 14. แบ่งเส้นออกเป็น 2 ช่วง ได้ 15. ระเบิดวัตถุออกเป็นเส้น ได้

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 144


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 5.1 แถบเครื่องมือและคาสั่งในการแก้ไขวัตถุ กลุ่มเครื่ องมือที่ใช้สาหรับแก้ไข เปลี่ยนแปลงวัตถุที่เขียนไปแล้ว ซึ่ งจะอยูใ่ นแถบเครื่ องมือ ที่ชื่อว่า Modify ดังรู ปที่ 5.1

รู ปที่ 5.1 แถบเครื่ องมือแก้ไขวัตถุ ยังมีคาสั่งในการแก้ไขภาพที่สามารถเรี ยกใช้งานได้จากเมนูบาร์ และจากบรรทัดรับคาสั่ง อีก มากมาย แต่ในบทนี้จะกล่าวถึง คาสั่งที่จาเป็ นและใช้งานบ่อย ๆในการเขียนแบบไฟฟ้ า ซึ่ งได้แก่ 5.2 คาสั่งในการลบวัตถุ (Erase)

, Modify

 Erase , ERASE

หรื อ E

ใช้สาหรับลบวัตถุออกจากแบบแปลน มีลกั ษณะการเรี ยกใช้คาสั่ง ดังนี้ Command:_erase Select objects:{คลิกบนวัตถุหรื อใช้โหมดการเลือกแบบ Window หรื อ Crossing แล้วล้อมกรอบ วัตถุท้ งั หมดที่ตอ้ งการลบ {วัตถุที่ถูกเลือกจะกลายเป็ นเส้นประ} Select objects:{คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม เพื่อยุติการใช้คาสั่ง วัตถุที่ถูกเลือกซึ่ งปรากฏ เป็ นเส้นประทั้งหมด จะถูกลบทิ้งไป }

อีกวิธีหนึ่งในการลบวัตถุ ที่บรรทัด Command : ไม่ปรากฏคาสั่งใดๆ เราสามารถคลิกบนวัตถุที่ต้องการลบแล้วกดปุ่ม บนคีย์บอร์ด เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 145


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ ตัวอย่างที่ 1 ต้องการลบสัญลักษณ์ Motor 3-phase WYE Grounded ดังรู ปที่ 5.2 1 2

ก)

ข) ค) รู ปที่ 5.2 การลบวัตถุ

ขั้นตอน การลบวัตถุน้ นั สามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 เลือกวัตถุก่อน 1. คลิกที่จุดที่ 1 และคลิกจุดที่ 2 (เพื่อเลือกวัตถุแบบ Window) ในรู ปที่ 5.2 ก) 2. วัตถุที่เลือกจะกลายเป็ นเส้นประดังในรู ปที่ 5.2 ข) 3. คลิกที่ สัญลักษณ์ Motor 3-phase WYE Grounded จะหายไป ดังรู ปที่ 5.1 ค) วิธีที่ 2 เลือกคาสั่ง Erase ก่อน 1. คลิกที่ 1. คลิกที่จุดที่ 1 และคลิกจุดที่ 2 (เพื่อเลือกวัตถุแบบ Window) ในรู ปที่ 5.2 ก) 2. วัตถุที่เลือกจะกลายเป็ นเส้นประดังในรู ปที่ 5.2 ข) 3. กดปุ่ ม Enter ที่คียบ์ อร์ด สัญลักษณ์ Motor 3-phase WYE Grounded จะหายไป ดังรู ปที่ 5.2 ค)

หากเราได้ลบวัตถุไปแล้ว ต้องการเลือกวัตถุดังกล่าวกลับคืนมา ให้คลิกปุ่มไอคอน

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

(Undo)

หน้า 146


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ

5.3 คาสั่งในการคัดลอกวัตถุ(Copy)

, Modify  Copy, COPY หรื อ CO

ใช้สาหรับคัดลอกวัตถุ (Objects) โดยกาหนดจุดอ้างอิงของวัตถุได้ ตัวอย่างที่ 1 ต้องการคัดลอก(Copy) สัญลักษณ์ Fuse Com Starter โดยกาหนดจุด A เป็ นจุดอ้างอิง แล้วนาไปวางไว้ที่จุด

B ดังในรู ปที่ 5.3

2

ก)

1

ข) รู ปที่ 5.3 การคัดลอกวัตถุ

ค)

Command:_copy ( ให้แน่ใจว่าOSNAP อยูใ่ นสถานะเปิ ด) Select objects:คลิกจุดที่ 1 และ 2 ( เพื่อเลือกวัตถุแบบ Crossing ) ตามรู ปที่ 5.3 ก) Select objects:{คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม เพื่อหยุดการเลือกวัตถุ } Specity base point or displacement: คลิกที่จุด A ( เพื่อกาหนดจุดอ้างอิงในการคัดลอก} Specity base point or displacement or < use first point as displacement >:คลิกที่จุด B เพื่อกาหนดที่วางวัตถุ ดังรู ปที่ 5.3 ข) Specity base point or displacement: กดปุ่ ม เพื่อจบคาสัง่ จะได้ดงั รู ปที่ 5.3 ค)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 147


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 5.4 คาสั่งในการคัดลอกแบบกระจกเงา(Mirror)

, Modify  Mirror, MIRROR หรื อ MI

ใช้คาสั่งนี้สาหรับการคัดลอกวัตถุแบบพลิกกลับในลักษณะกระจกเงา 1

ก)

ข)

ค)

2

ง) รู ปที่ 5.4 การคัดลอกแบบกระจกเงา ตัวอย่างที่ 1 ต้องการ Mirror รู ป 5.4 ก) เพื่อวาดสัญลักษณ์หม้อแปลงไฟฟ้ า Command:_miror Select objects: คลิกขวาตรงจุดที่ 1 และ 2 (เพื่อใช้โหมด Window ) ดังรู ปที่ 5.4 ข) Select objects: กดปุ่ ม Specify First point of mirror line: คลิกที่ A เพื่อกาหนดหมุน ของระนาบพลิกกลับ} Specify second point of mirror line: {เปิ ดโหมดออร์โธ(Ortho)โดยกดปุ่ มฟังชัน่ คีย ์ เพื่อ บังคับให้เคอร์ เซอร์ เลื่อนได้เฉพาะในแนวดิ่ง } เลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปจนกว่าจะเห็นว่า สัญลักษณ์อยูใ่ นระนาบเดียวกับต้นฉบับ ดังรู ปที่ 5.4 ค) เสร็ จแล้วคลิกเมาส์ 1 ครั้ง Delete source objects? [Yes/No] <N>: คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม เพื่อใช้ตวั เลือก N โดยไม่ลบวัตถุเดิม จะปรากฏภาพเหมือนแบบกระจกเงาดังรู ปที่ 5.4 ง)

ในการคัดลอกวัตถุแบบกระจกเงานี้ ระนาบพลิกกลับ (Mirror line) เป็นสิ่งกาหนดทิศทางการพลิกกลับ ของวัตถุที่ถูกเลือก ในการกาหนดตาแหน่งของระนาบพลิกกลับ เราสามารถใช้เมาส์คลิกบนพื้นที่วาดภาพ หรือพิมพ์ค่าคอร์ออร์ดิเนท หรือใช้ออฟเจกท์สแน๊ปเพื่อกาหนดตาแหน่งบนบรรทัด Specify first point of mirror line: และบรรทัด Specify second point of mirror line: ได้ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 148


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ

, Modify

5.5 คาสั่งในการคัดลอกแบบเส้นคู่ขนาน(Offset)

 Offset , OFFSET

หรื อ O

ใช้สาหรับสร้างเส้นคู่ขนานกับเส้นตรง เส้นโค้ง วงกลมหรื อวงรี ที่มีอยูแ่ ล้ว ตัวอย่างที่ 1 เขียนสัญลักษณ์กล่องต่อสายใต้พ้นื ตามมาตรฐาน ANSI ตามรู ปที่ 5.5 1

2

ก) ข) ค) 3 4

ง)

จ) ฉ) รู ปที่ 5.5 แสดงการใช้คาสั่ง Offset

Command:_offset (ให้แน่ใจว่า OSNAP อยูใ่ นสถานะปิ ด) Specify offset distance or [Through] <0.0000>: 2 (พิมพ์ระยะห่างของเส้นคู่ขนาน) กดปุ่ ม Select object to offset or <exit>:(ครอสแฮร์จะเป็ น  ) คลิกที่เส้นตรงAB และจะกลายเป็ นเส้นประ Specify point on side to offset: (ครอสแฮร์จะกลายเป็ นเครื่ องหมาย +) คลิกบริ เวณหมายเลย 1 เหนือเส้นตรง AB ตามรู ปที่ 5.5 ข) จะเกิดเส้นขนานขึ้นมาทันที Select object to offset or <exit>: (ครอสแฮร์จะเป็ น  ) คลิกที่เส้นตรง AB และจะกลายเป็ นเส้นประ Specify point on side to offset: (ครอสแฮร์จะกลายเป็ นเครื่ องหมาย +) คลิกบริ เวณหมายเลย 2 ใต้เส้นตรง AB ตามรู ปที่ 5.5 ค) จะเกิดเส้นขนานขึ้นมาทันที Select object to offset or <exit>:(ครอสแฮร์จะเป็ น  ) คลิกที่เส้นตรงCD และจะกลายเป็ นเส้นประ Specify point on side to offset: (ครอสแฮร์จะกลายเป็ นเครื่ องหมาย +) คลิกบริ เวณหมายเลย 3 เหนือเส้นตรง CD ตามรู ปที่ 5.5 ง) จะเกิดเส้นขนานขึ้นมาทันที Select object to offset or <exit>:(ครอสแฮร์จะเป็ น  ) คลิกที่เส้นตรงCD และจะกลายเป็ นเส้นประ Specify point on side to offset: (ครอสแฮร์จะกลายเป็ นเครื่ องหมาย +) คลิกบริ เวณหมายเลย 4 ใต้เส้นตรง CD ตามรู ปที่ 5.5 จ) จะเกิดเส้นขนานขึ้นมาทันที กดปุ่ ม เพื่อจบคาสั่ง และจะได้รูปที่ 5.5 ฉ)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 149


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ ตัวอย่างที่ 2 เขียนสัญลักษณ์สวิทช์ปุ่มกด ตามมาตรฐาน DIN ตามรู ปที่ 5.6

ก) ข) ค) รู ปที่ 5.6 การสร้างวงกลมคู่ขนาน Command:_offset (ให้แน่ใจว่า OSNAP อยูใ่ นสถานะปิ ด) Specify offset distance or [Through] <0.0000>: 5 (พิมพ์ระยะห่างของเส้นคู่ขนาน) กดปุ่ ม Select object to offset or <exit>:(ครอสแฮร์จะเป็ น  ) คลิกที่วงกลม (วงกลมจะกลายเป็ นเส้นประ) Specify point on side to offset: (ครอสแฮร์จะกลายเป็ นเครื่ องหมาย +) คลิกภายในวงกลม จะเกิดวงกลมขนานภายใน ขึ้นมาทันที ดังรู ปที่ 5.6 ข Select object to offset or <exit>: กดปุ่ ม เพื่อจบคาสั่ง จะได้ดงั รู ปที่ 5.6 ค) ต่อจากนั้นก็ใช้คาสั่ง Hath ระบายสี ทึบ

ใช้ตัวเลือก Through โดยการพิมพ์ T ในบรรทัด Specify offset distance or [Through] <0.0000>: จะไม่ปรากฏข้อความ Specify through point: ให้คลิกตรงตาแหน่งซึ่งเส้นคู่ขนานที่ ต้องการจะลากผ่าน ซึ่งเราสามารถที่จะสร้างเส้นคู่ขนานผ่านจุดใดๆก็ได้

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 150


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 5.6 คาสั่งในการคัดลอกวัตถุแบบอาร์เรย์(Array)

, Modify  Array, ARRAYหรื อ AR

เป็ นคาสั่งที่มีการทางานคล้ายกับคาสั่ง Copy แต่สามารถกาหนดให้ทาสาเนาโดยกาหนดจานวน แถว และคอลัมน์ได้(Rectangular Array) และสามารถทาสาเนาโดยการกาหนดการวางเป็ นมุมวงกลม (Polar Array) เมื่อเรี ยกคาสั่ง Array ออกมาใช้งานจะปรากฏไดอะล็อค Array ดังรู ปที่ 5.7

รู ปที่ 5.7 หน้าต่างอาร์ เรย์ Rows Column Row offset Column offset Angle of array Select objects Preview

กาหนดจานวนแถวในแนวนอน กาหนดจานวนแถวในแนวตั้ง กาหนดระยะห่างแต่ละแถว (ถ้าใส่ ค่าลบ แถวจะลงด้านล่าง) กาหนดระยะห่างแต่ละคอลัมน์ (ถ้าใส่ ค่าลบคอลัมน์จะเรี ยงมาด้านซ้าย) กาหนดองศา เลือกวัตถุตน้ แบบ ดูภาพตัวอย่าง

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 151


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 5.6.1 การใช้ คาสั่ ง Array แบบ Rectangular ตัวอย่างที่ 1 ต้องการทา Array สัญลักษณ์ หลอดฟลูออเรสเซนต์ ในห้อง ๆหนึ่ง ดังภาพที่ 5.8

ก) ก่อนใช้คาสัง่ ขั้นตอน

ข) หลังใช้คาสัง่ รู ปที่ 5.8 การใช้คาสัง่ Array

1. คลิกที่ จะเกิดหน้าต่าง ดังรู ปที่ 5.9 2. ป้ อนค่าต่างๆ ดังในรู ปที่ 5.9 3. คลิกที่ เพื่อเลือกวัตถุ

รู ปที่ 5.9 หน้าต่างอาร์ เรย์ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 152


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 4. จะกลับมาที่พ้นื ที่วาดภาพ ให้เลือกสัญลักษณ์หลอดไฟ แล้วกดปุ่ ม Enter 5. จะกลับมาที่หน้าต่าง Array อีกครั้งหนึ่ง ให้กดปุ่ ม เพื่อดูภาพตัวอย่าง 6. จะกลับมาที่พ้นื ที่วาดภาพ พร้อมกับแสดงแถบเครื่ องมือ ดังในรู ปที่ 5.10

รู ปที่ 5.10 แถบเครื่ องมือ เมื่อคลิกที่ Preview ความหมายของปุ่ มต่างๆ Accept ยอมรับ ตาแหน่งของหลอดไฟ Modify ต้องการแก้ไขการวางตาแหน่งวัตถุใหม่ Cancel ต้องการยกเลิกคาสั่ง 7. คลิกปุ่ ม Accept เพื่อยอมรับ 8. จะได้การวางหลอดไฟ ที่มีระยะห่างตามที่กาหนด ดังรู ปที่ 5.8 ข)

ในการกาหนดระยะห่างระหว่างแถว(Row Offset) และระยะห่างระหว่างคอลัมน์( Column Offset) นอกจากพิมพ์ค่าระยะห่างเข้าไปในไดอะล็อค เราสามารถคลิกปุ่มบน

ที่อยู่แถวเดียวกับ Row Offset

แล้วคลิกจุดบนพื้นที่วาดภาพเพื่อกาหนดระยะห่างระหว่างแถว แล้วคลิกบนปุ่ม ที่อยู่ บนแถวเดียวกับ Column Offset แล้วคลิกจุดสองจุดบนพื้นที่วาดภาพเพื่อกาหนดระยะห่างระหว่างคอลัมน์ หรือคลิกปุ่ม แล้วคลิกจุดสองจุดบนพื้นที่วาดภาพ เพื่อกาหนดระยะห่างระหว่างแถวและคอลัมน์ไปพร้อมๆ กันใน คราวเดียว

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 153


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ ตัวอย่างที่ 2 ต้องการทา Array สัญลักษณ์ หลอดไส้ ให้มีมุมเอียงที่ตอ้ งการ ดังภาพที่ 5.11

1 2

ก) ก่อนใช้คาสัง่ ข) หลังใช้คาสัง่ รู ปที่ 5.11 การอาร์เรย์วตั ถุเป็ นมุมที่ตอ้ งการ 1. คลิกที่ จะเกิดหน้าต่าง ดังรู ปที่ 5.12 2. ป้ อนค่าต่าง ๆดังรู ปที่ 5.12

รู ปที่ 5.12 หน้าต่างอาร์ เรย์ เมื่อป้ อนค่ามุม 45 องศา 3. กดปุ่ ม OK จะได้ ดังรู ปที่ 5.11 ข)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 154


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 5.6.2 การใช้ คาสั่ ง Array แบบ Polar ตัวอย่างที่ 3 ต้องการทาอาร์ เรย์สัญลักษณ์ โคมไฟช่อ ดังรู ปที่ 5.13 1 2

ก)ก่อนใช้คาสั่ง ข)หลังใช้คาสั่ง รู ปที่ 5.13 การอาร์เรย์วตั ถุเป็ นวงกลม 1. คลิกที่ จะเข้าสู่ หน้าต่างอาร์ เรย์ ดังรู ปที่ 5.14 2. คลิกบนเรดิโอ Polar Array เพื่อเข้าสู่ โหมดการคัดลอกแบบ Polar Array และตั้งค่าต่าง ๆ ดังรู ปที่ 5.14

รู ปที่ 5.14 หน้าต่างอาร์ เรย์ เมื่อคัดลอกแบบ Polar 3. คลิกปุ่ มไอคอน Select objects แล้วเลือกวัตถุที่ตอ้ งการทาอาร์เรย์ ในที่น้ ีคลิกตรงจุดที่ 1 และ 2 ของรู ปที่ 5.13 ก) เพื่อเลือกวัตถุแบบ Window แล้วคลิกขวาหรื อกดปุ่ ม Enter เพื่อกลับสู่ ไดอะล็อค 4. คลิกบนปุ่ ม Center Point จะเข้าสู่ พ้นื ที่วาดภาพ เพื่อกาหนดจุดหมุนของอะเรย์ ในที่น้ ีคลิกตรง จุดศูนย์กลางของวงกลมใหญ่ แล้วจะกลับมาที่หน้าต่างอาร์ เรย์อีกครั้ง นอกนั้น ใช้ค่าตามรู ปที่ 5.14 เสร็ จแล้วคลิกปุ่ ม OK จะปรากฏดังรู ปที่ 5.13 ข) เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 155


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ

โดยปกติ Polar Array จะถูกสร้างขึ้นรอบจุดศูนย์กลางของวงกลม 1 รอบหรื อ 360 องศา หากเราต้องการ สร้างอะเรย์ไม่ครบรอบของวงกลม เราสามารถระบุค่ามุมที่ตอ้ งการในอิดิทบอกซ์ Angle to fill ค่ามุมเป็ น บวกอะเรย์จะหมุนทวนเข็มนาฬิกา ค่ามุมเป็ นลบอะเรย์จะหมุนตามเข็มนาฬิกา ดังรู ปที่ 5.15 เราสามารถ เปลี่ยนวิธีการสร้างอะเรย์ในแถบรายการ Method โดยเราเปลี่ยนจากจานวนรวมและมุมรวม (Total number of items & Angle to fill) หรื อจานวนและมุมของแต่ละชิ้น (Total number of items & Angle between items) หรื อมุมรวมของมุมแต่ชิ้น (Angle to fill & Angle between items) Total number of items = 8 Angle to fill = - 90

Total number of items = 8 Angle to fill = 90

Total number of items = 16 Angle to fill = 270

Total number of items = 8 Angle to till = 180

Total number of items = 8 Angle to fill = -180

Total number of items = 16 Angle to fill = 360

Total number of items = 16 Angle to fill = -270

รู ปที่ 5.15 การอาร์เรย์วตั ถุแบบ Polar ที่มุมต่าง ๆ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 156


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 5.7 คาสั่งในการย้ายวัตถุ(Move) ใช้สาหรับเคลื่อนย้ายวัตถุ (

, Modify Move , MOVE หรื อ M

Objects) ไปยังตาแหน่งอื่น ดังรู ปที่ 5.16

Command:_ move (กดปุ่ ม บนคียบ์ อร์ด เพื่อให้ OSNAP อยูใ่ นสถานะเปิ ด) Select objects: Specify opposite corner: 11 found คลิกตรงจุดที่ 1 และ 2 ดังรู ปที่ 5.16 ก) Select objects: คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม วัตถุที่เลือกจะกลายเป็ นเส้นประ ดังรู ปที่ 5.16 ข) Specify base point or displacement: คลิกจุดที่ 3 (ใต้วงกลม) เมื่อปรากฏมาร์คเกอร์  หรื อ  Specify second point of displacement or <use first point as displacement>: เลื่อนเคอร์เซอร์ ไปใต้วงกลมบริ เวณจุดที่ 4 เมื่อปรากฏมาร์คเกอร์  หรื อ ดังรู ปที่ 5.16 ค) แล้วคลิกขวา เพือ่ วางวัตถุ จะได้ดงั รู ปที่ 5.16 ง)

3 2

1

ก)

ข)

4

ค)

ง) รู ปที่ 5.16 การย้ายวัตถุ

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 157


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ

5.8 คาสั่งในการหมุนวัตถุ(Rotate)

, Modify

 Rotate ,

ROTATE หรื อ RO

ใช้สาหรับหมุนวัตถุ (Objects) ให้เอียงทามุมรอบจุดศูนย์กลางที่กาหนด ดังรู ปที่ 5.17

รู ปที่ 5.17 การหมุนวัตถุ 15

Command:_rotate ให้แน่ใจว่า OSNAP อยูใ่ นสถานะเปิ ด Current positive angle in UCS : ANGDIR = counterclockwise ANGBASE = 0 {โปรแกรม รายงานทิศทางการหมุน ค่าเป็ นบวก จะมีทิศทางการหมุนทวนเข็มนาฬิกา มุมอ้างอิง คือ 0 องศาจากแนวแกน X } Select objects: Specify opposite corner: 8 found เลือกวัตถุทุกชิ้น ยกเว้นวงกลม Select objects: คลิกขวา หรื อ เพื่อออกจากโหมดการเลือก Specify base point: คลิกตรงจุดศูนย์กลางของวงกลม เพื่อกาหนดจุดหมุน Specify rotation angle or [Referance]:-45 (กาหนดค่ามุม -45 องศาแล้วกดปุ่ ม ENTER จะได้ดงั รู ปที่ 5.17(ขวา)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 158


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ

5 2

3 1 1 4

รู ปที่ 5.18 การหมุนวัตถุ แบบไม่ทราบค่ามุมที่แน่นอน การหมุนวัตถุที่ได้แสดงตัวอย่างไปแล้วนั้นเป็ นการหมุนโดยอ้างอิงค่าจากมุมเดิมของวัตถุ ที่ตอ้ งการหมุน แต่ถา้ กรณี ที่ไม่ทราบค่ามุมเดิมของวัตถุที่ตอ้ งการหมุนทามุมกี่องศา ดังรู ปที่ 5.18(ซ้าย) เราจะใช้ค่ามุม 0 องศา ใน Rotation angle ไม่ได้ ถ้าเราต้องการหมุนเข็มให้ช้ ีไปที่ 12 นาฬิกา ดังรู ปที่ 5.18 (ขวา) เราสามารถไช้ตวั เลือก Reference ในคาสั่ง ROTATE ดังขั้นตอนดังต่อไปนี้ Command: _ rotate (ต้องแน่ใจว่า OSNAP อยูใ่ นสถานะเปิ ด) Cruuent positive angle in UCS: ANGDIR = counterclockwise ANGBASE=0 Select objects: Specify opposite corner : 3 found คลิกตรงจุดที่ 1 และ 2 ( เพื่อใช้โหมดการเลือกแบบ Crossing กับวัตถุที่ตอ้ งการหมุน) Select objects: คลิกขวา หรื อกดปุ่ ม Specify base point: คลิกจุดที่ 3 เพื่อกาหนดจุดหมุน Specify rotation angle [Reference] : R {พิมพ์ R หมายถึง 0ตัวเลือก Reference} Specify the reference angle <0>: คลิกจุดที่ 3 เพื่อกาหนดจุดแรกของมุมอ้างอิง Specify second point : คลิกจุดที่ 4 เพื่อกาหนดจุดที่สองของมุมอ้างอิง Specify the new angle : 0 {พิมพ์ค่ามุม 0 องศา หรื อคลิกจุดที่ 5 จะปรากฏดังรู ปที่ 5.18 (ขวา)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 159


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ

5.9 คาสั่งในการเปลี่ยนขนาดวัตถุ(Scale)

, Modify

 Scale , SCALE หรื อSC

ใช้สาหรับเปลี่ยนขนาดวัตถุ (Objects) หรื ออีกนัยหนึ่ง คือ การเปลี่ยนสเกลแฟคเตอร์ ให้กบั วัตถุ 3 1

2

ก) Scale factor = 1

ข) Scale factor = 2

ค) Scale factor = 0.5

รู ปที่ 5.19 การเปลี่ยนขนาดวัตถุ Command: _scale {จากรู ปที่ 5.19 ก) ให้แน่ใจว่า OSNAP อยูใ่ นสถานะเปิ ด} Select objects: Specify opposite corner: 19 found คลิกตรงจุดที่ 1 และ 2 เพื่อใช้โหมดการเลือกแบบ Window ล้อมกรอบวัตถุท้ งั หมดที่ตอ้ งการเปลี่ยนแปลง Select objects: คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม Specify base point : คลิกจุดที่ 3 (กลางกล่องสี่ เหลี่ยม) เพื่อกาหนดจุดยึดในการเปลี่ยนสเกล Specify scale factor or [Copy/Reference]: 2(กาหนดค่าสเกลแฟคเตอร์ 2 เพื่อเพิ่มขนาดของ Objects ให้มีขนาดใหญ่ข้ ึน 2 เท่า หรื อ 200 เปอร์เซนต์ของขนาดเดิม ) เสร็ จแล้วกดปุ่ ม จะได้ดงั รู ปที่ 5.19 ข)

ถ้าต้องการเปลี่ยนแปลงสเกลให้ Objects มีขนาดเล็กกว่าเดิมครึ่งหนึ่งจะต้องใช้สเกลแฟคเตอร์ เท่ากับ 0.5 ดังรูปที่ 5.19 ค)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 160


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ

3 2

4 1

รู ปที่ 5.20 การเปลี่ยนแปลงขนาดวัตถุ ตามระยะอ้างอิง ในกรณี ที่ตอ้ งการเปลี่ยนสเกลโดยที่ตอ้ งการให้ส่วนใดส่ วนหนึ่งของวัตถุมีความยาวที่ตอ้ งการ เราจะต้องใช้ตวั เลือก Reference แทน ตัวอย่าง เช่น สมมติวา่ เราต้องการเปลี่ยนสเกลตัวเก็บประจุของ สัญลักษณ์สตาร์ ทเตอร์ ให้มีขนาดพอดีกบั จุดต่อ ดังรู ปที่ 5.20 (ขวา) เราไม่ทราบว่าสัญลักษณ์ตวั เก็บ ประจุ มีขนาดเท่าใด แต่เมื่อเปลี่ยนสเกลเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว สัญลักษณ์ตวั เก็บประจุ จะต้องสัมผัสกับจุดต่อ พอดี ซึ่งมีระยะห่างเท่ากับ 20 หน่วย การเปลี่ยนสเกลในลักษณะแบบนี้ สามารถใช้ตวั เลือก Reference ได้ดงั ต่อไปนี้ Command: scale (ต้องให้ OSNAP อยูใ่ นสถานะเปิ ด) Select objects:1 found คลิกตรงจุดที่ 1และ 2 (เพื่อเลือกสัญลักษณ์ตวั เก็บประจุ แบบ Crossing) Select objects: กดปุ่ ม (เพื่อสิ้ นสุ ดการเลือกวัตถุ ) Specify base point :คลิกจุดที่ 3 (ตรงกลางวงกลม) Specify scale facile or [Reference]: R (พิมพ์ R เพื่อเลือกตัวเลือก Reference) Specify reference length <1>:คลิกจุดที่ 3 (ตรงกลางวงกลม) Specify second point:คลิกจุดที่ 4 Specify new length : พิมพ์ 20 แล้วกด

จะปรากฏดังรู ปที่ 5.20 ข)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 161


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ , Modify  Stretch ,STRETCH หรื อ S

5.10 คาสั่งในการยืดวัตถุ(Stretch)

ใช้สาหรับยืดวัตถุให้ขยายออกหรื อหดวัตถุให้ส้ นั ลง ดังรู ปที่ 5.21 2 3 1

ก)

ข) ค) รู ปที่ 5.21 การยืดวัตถุ

Command:_stretch { จากรู ปที่ 5.21 ก) } ให้แน่ใจว่า OSNAP อยูใ่ นสถานะเปิ ด Select objects to strtch by crossing – polygon… Select objects: specify opposite corner: 1 found คลิกจุดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ ตามรู ปที่ 5.21 ข) ( เพื่อเลือกวัตถุในโหมด Crossing) Select objects:คลิกขวา หรื อกดปุ่ ม Specify base point or displacement:คลิกจุดที่ 3 (เพื่อกาหนดจุดอ้างอิง) Specify second point of displacemen:@10<0 (หรื อเลื่อนเมาส์ ไปแนวนอนด้านขวา แล้ว พิมพ์ แล้วกดปุ่ ม จะได้ ดังรู ป 5.21 ค)

ในการทาให้ Objects ยืดหรือหดด้วยคาสั่ง Stretch เราจะต้องเลือก Objects ในโหมด Crossing เท่านั้นการใช้เมาส์เพื่อคลิกกาหนดกรอบสี่เหลี่ยมชั่วคราวล้อมรอบส่วนที่ต้องการทาให้ยืดหรือหดจากขวาไป ทางซ้ายเป็นการกาหนดการเลือกแบบ crossing โดยอัตโนมัติ

ความยาวที่ยืดออกไปของชิ้นงาน ขึ้นอยู่กับระยะทางจากจุด Specify base point or displacement: ถึงจุด Specify second point or displacement: หรือจุดที่ถูกแทนที่ ซึ่งเท่ากับระยะทาง 10 หน่วย ไปตามแนวแกน +X หรือ @10<0 องศา

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 162


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 5.11 คาสั่งในการเพิ่ม / ลด ความยาวเส้น(Lengthen) Modify  Lengthen , lengthen หรื อ len ใช้สาหรับเพิม่ หรื อลดความยาวของเส้นตรง LINE, PLINE หรื อเส้นโค้ง ARC โดยไม่ตอ้ งมีเส้น ขอบเขต (Boundary) มาช่วยในการต่อเส้น เราสามารถกาหนดความยาวเส้นแบบต่าง ๆ ได้ เช่น ความยาว ที่เพิ่มขึ้นหรื อลดลง(Delta) เปอร์ เซ็นต์ที่เพิ่มขึ้นหรื อลดลง(Percent) ความยาวจริ งของเส้น(Total) หรื อ ใช้เมาส์ลากเส้นให้ยาวขึ้นได้(Dynamic) ดังรู ปที่ 5.22

ก) ก่อนใช้คาสั่ง ข) หลังใช้คาสั่ง รู ปที่ 5.22 การต่อความยาวเส้น แบบ Delta Command: _lengthen Select an object or [Delta/Percent/Total/Dynamic]: คลิกบนเส้นตรง ตามรู ปที่ 5.22ก) Current length: 30.0000 (โปรแกรมจะรายงานค่าความยาวเส้นปั จจุบนั ) Select an object or [Delta/Percent/Total/Dynamic]: DE (พิมพ์ตวั เลือกเพื่อเลือกวิธีในการต่อเส้น) Enter delta length or <0.0000>:100 (ต่อเส้นออกไปอีก 100 หน่วย รวมความยาวเส้น = 130 หน่วย) ใช้สาหรับเพิ่มความยาวเส้น โดยกาหนดระยะที่เพิ่มขึ้น (Delta) ที่ตอ้ งการแล้วคลิกปลายเส้ น ด้านที่ตอ้ งการเพิม่ ความยาว การใช้เมาส์คลิกปลายเส้นแต่ละครั้งจะทาให้คามยาวเพิม่ ขึ้น ทุกครั้ง ตามที่ระบุใน Delta เมื่อเลือกตัวเลือก Delta โปรแกรมจะทาให้เรากาหนดค่าที่ เพิ่มขึ้นหรื อเลือก ตัวเลือก Angle เพื่อใช้กบั เส้นโค้งเพื่อที่จะระบุมุมที่เพิ่มขึ้นของส่ วนโค้ง (หากกาหนดค่า Delta เป็ นลบจะทาให้เส้นหดสั้นลง) Percent ใช้สาหรับกาหนดความยาวโดยอ้างอิงจากขนาดเดิมของเส้นที่ถูกเลือก โดยมีหน่วยความยาว เป็ นเปอร์เซ็นต์ ถ้าต้องการลดความยาวของเส้นลงครึ่ งหนึ่งให้ป้อนค่า เท่ากับ 50 ถ้าต้องการ เพิ่มความยาวเส้นขึ้นเป็ นสองเท่าจากความยาวเส้นเดิม ให้ป้อนค่า เท่ากับ 200 Total ใช้สาหรับกาหนดค่าความยาวจริ งทั้งหมดของเส้น โดยป้ อนค่าความยาวเส้นที่ตอ้ งการ เปลี่ยนแปลง แล้วคลิกบนปลายเส้นด้านที่ตอ้ งการให้เกิดการเปลี่ยนแปลง DYnamic ใช้ตวั เลือกนี้ในกรณี ที่ตอ้ งการเพิ่มหรื อลดความยาวเส้น โดยใช้เมาส์ลากเส้นที่ตอ้ งการเพิ่ม หรื อลดความยาวเมื่อพิมพ์ตวั อักษร DY เพื่อใช้ตวั เลือก Dynamic จะปรากฏข้อความ Select an object to change or [Undo]: คลิกบนปลายเส้นด้านที่ตอ้ งการเพิ่มหรื อลดความยาว แล้วเลื่อนเมาส์เพิ่มหรื อลดความยาวเส้น แล้วคลิกเพื่อกาหนดความยาวที่ตอ้ งการ DElta

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 163


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 5.12 คาสั่งในการตัดเส้น(Trim)

, Modify Trim , TRIM หรื อ TR

ใช้สาหรับตัดเส้นตรง เส้นโพลีไลน์ เส้นโค้ง วงกลม วงรี และวัตถุอื่นๆ การใช้คาสั่งนี้จะใช้กบั เส้นตั้งแต่สองเส้นขึ้นไปที่ตดั กัน หรื อพาดผ่านกัน อย่างไรก็ตาม เราก็สามารถกาหนดตัวเลือกของคาสั่งนี้ ให้ใช้กบั เส้นที่ไม่ตดั กันจริ งๆได้ ในการตัดเส้นด้วยคาสั่ง TRIM เราจะต้องเลือกเส้นที่ใช้เป็ นขอบเขตในการตัดหรื อขอบตัด ซึ่งเรา เรี ยกว่า “object to trim” ดังนั้น ก่อนที่จะทาการตัดเส้น เราจะต้องแยกออกว่าเส้นใดทาหน้าที่เป็ นขอบตัด และเส้นใดทาหน้าที่เป็ นเส้นที่ถูกตัด หรื อเส้นใดใช้เป็ นจุดเริ่ มต้นและจุดสิ้ นสุ ดในการตัด เมื่อเราสามารถ แยกหน้าที่ของเส้นออก เราก็สามารถใช้คาสั่ง TRIM ตัดเส้นได้อย่างรวดเร็ ว คลิกตัดเส้น

ก)

ข) ค) รู ปที่ 5.23 การตัดเส้นที่พาดผ่านกัน

Command: _trim Current settings: Projection=UCS Edge=none {โปรแกรมรายงานโหมดในการตัด } Select cutting edges …{โปรแกรมบอกให้เราเลือกขอบตัด } Select objects: 1 found คลิกบนเส้นวงกลม ในรู ปที่ 5.23 ข) (วงกลมจะกลายเป็ นเส้นประ) Select objects : คลิกขวาหรื อ หรื อกด ( เพื่อออกจากการเลือกเส้นขอบตัด ) Select objects to trim or shift-select to extend to extend or[Project/Edge/Undo]: คลิกบนเส้นตรงที่ยนื่ เข้ามาในวงกลม ( เส้นที่ยนื่ เข้ามาจะถูกตัดทันที ) Select objects to trim or shift-select to extend to extend or[Project/Edge/Undo]: {คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม เพื่อยุติการใช้คาสั่งจะปรากฏดังรู ปที่ 5.23 ค)

หากเราต้องการให้โปรแกรมเลือกขอบตัด (Cutting edge) ให้เราโดยอัตโนมัติเมื่อเรียกคาสั่ง TRIM ออกมาใช้งาน ที่บรรทัดป้อนคาสั่ง เมื่อปรากฏข้อความ Select cutting edges…Select objects : ให้คลิกขวาหรือกดปุ่ม เราก็สามารถคลิกบนเส้นต่างๆที่ต้องการตัดทิ้งได้ทันที หรืออีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ตัดเส้นได้อย่างรวดเร็ว คือ เลือกเส้นทั้งหมดเป็นขอบตัด(Cutting edge) ซึ่งเส้น ขอบตัดดังกล่าว ก็จะกลายเป็นเส้นที่ถูกตัด(Object to trim) ซึ่งเป็นวิธีที่สะดวกในการเลือกเส้นทั้งหมด เป็นขอบตัดในคราวเดียว เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 164


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 5.12.1 การใช้ คาสั่ ง TRIM ตัดเส้ นทีไ่ ม่ ได้ ตัดกันจริง โดยปกติแล้วคาสั่ง TRIM ไม่สามารถตัดเส้นที่ไม่ได้ตดั หรื อพาดผ่านกันจริ งหาก ต้องการตัดเส้นที่ไม่ได้พาดผ่านกันจริ ง เราสามารถใช้ตวั เลือก Edge ของคาสัง่ TRIM เพื่อตัดเส้น ดังรู ปที่ 5.24 ได้ดงั นี้

ก)

ข) ค) รู ปที่ 5.24 การตัดเส้นที่ไม่ได้พาดผ่านกัน

Command:_trim Current Settings:Projection=UCS Edge=None {สังเกตุวา่ Edge =none} Select cutting edges… Select objects or <select all>: คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม Select object to trim or shift – select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/undo]: E (พิมพ์ E เพื่อเลือกตัวเลือก Edge) Enter an implied edge extension mode [Extend/No extend] <No extend>: E (พิมพ์E เพื่อเลือก ตัวเลือก Extend เพื่อตัดเส้นที่ไม่ได้ตดั กันจริ ง) Select object trim or shift – select to extend or [project/Edge/ undo]:คลิกขวา หรื อกดปุ่ ม (เพื่อเรี ยกคาสั่ง TRIM ออกมาใช้งานอีกครั้ง) TRIM Current settings: project = extend {สังเกต Edge = Extend} Select current edges… Select object: 1 found คลิกบนเส้นโค้ง ดังในรู ป 5.24 ข) (เส้นโค้งจะกลายเป็ นเส้นประ) Select object : คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม เพื่อออกจากการเลือกเส้นขอบตัด } Select object trim or shift – select to extend or [project/Edge/ undo]: คลิกบนเส้นตรงปลายจุด B และปลายจุด C (เพื่อเลือกปลายเส้นที่จะถูกตัด) Select object trim or shift – select to extend or [project/Edge/ undo]:คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม เพื่อยุติการใช้คาสั่ง จะได้ดงั รู ปที่ 5.24 ค) Project เป็ นตัวเลือกที่ใช้ในการตัดเส้นในระนาบ 3 มิติ Edge พิมพ์ตวั อักษร E เพื่อเลือก Edge mode ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 2 โหมด คือ Extend พิมพ์ตวั อักษร E เพื่อเลือกหมวด Extend ซึ่ งจะทาให้เส้นขอบตัดไม่จาเป็ นต้อง บรรจบกับเส้นที่จะถูกตัดก็สามารถตัดเส้นได้ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 165


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ No extend พิมพ์ตวั อักษร N เพื่อ เลือกโหมด No extend โปรแกรมนี้กาหนดให้ ตัวเลือกใช้งาน โดยที่ขอบตัดและเส้นที่จะถูกตัดจะต้องบรรจบกันจริ งๆ จึงจะสามารถตัดเส้นได้ Undo ยกเลิกการตัดเส้นครั้งก่อน สามารถย้อนกลับได้ จนถึงจุดที่เริ่ มตัดเส้นได้ 1

ก)

2

ข) ค) รู ปที่ 5.25 การตัดเส้นจานวนมาก เพียงครั้งเดียว

ในการตัดเส้นที่ยนื่ ออกไปจานวนมาก ดังรู ปที่ 5.25 เราควรใช้ตวั เลือก F หรื อ Fence ช่วยในการเลือกเส้น ที่ตอ้ งการตัด เพราะเราจะได้ไม่ตอ้ งเสี ยเวลาในการใช้เมาส์คลิกปลายเส้นแต่ละเส้นที่ตอ้ งการตัด หากเส้น ที่ยนื่ ออกมีจานวนมาก เราจะต้องใช้ตวั เลือก Fence โดยมีวธิ ี การใช้งานดังต่อไปนี้ Command:_ trim Current settings: projection = cuss Edge = Extend Select cutting edges… Select object: 1 found : คลิกบนเส้นตรง AB (เพื่อใช้เป็ นขอบตัด) Select object : คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม ( เพื่อออกจากการเลือกเส้นขอบตัด ) Select object trim or shift – select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: F (เพื่อเลือกโหมด Fence) Specify First fence point: คลิกตรงจุดที่ 1 (เพื่อกาหนดจุดเริ่ มต้นของ Fence) ดังรู ปที่ 5.25 ข) Specify endpoint of line or [undo] : คลิกตรงจุดที่ 2 (เพื่อกาหนดจุดที่ Fence พาดผ่าน) ดังรู ปที่ 5.25 ข) Specify endpoint of line or [undo] : คลิกขวาหรื อ กดปุ่ ม เพื่อยุติการใช้ Fence เส้นทุกเส้นที่ยนื่ ออกด้านนอกจะถูกตัดออกทั้งหมด ดังรู ปที่ 5.25 ค)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 166


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ

5.13 คาสั่งในการต่อเส้น(Extend)

, Modify  Extend , EXTEND หรื อ EX

ใช้สาหรับต่อเส้นตรงและเส้นโค้งให้มีความยาวเพิม่ ขึ้น พุง่ ไปยังเส้นขอบเขตที่กาหนด ดังรู ปที่ 5.26

ก)

ข) ค) รู ปที่ 5.26 การต่อเส้นไปยังขอบเขตที่ ตัดกันจริ ง

Command:_ extend Current settings: projection = cuss Edge = none (โปรแกรมรายงานโหมด Edge) Select current edges… Select object: 1 found คลิกบนเส้นตรงAB ( เพื่อเลือกเส้นขอบตัด ) จะเป็ นเส้นประ ดังรู ปที่ 5.26 ข) Select object : คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม เพื่อออกจากการเลือกเส้นขอบตัด Select object trim or shift – select to extend or [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: คลิกปลายเส้น CD ตรงจุด C ตามรู ปที่ 5.26 ข) Select object to extend or shift – select to trim or : [Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]:คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม เพื่อออกจากคาสั่ง จะไดดังรู ปที่ 5.26 ค)

โดยปกติการต่อเส้นจะทาได้ก็ต่อเมื่อเส้นที่ต้องการต่อจะต้องวิ่งไปชนกับเส้นขอบเขตจริงๆ เพราะโปรแกรม กาหนดให้โหมด Edge = NO Extend อย่างไรก็ตามเราสามารถต่อเส้นพุ่งไปยังเส้นที่ยังไม่ได้ชนกันจริง โดยปรับโหมด Edge ให้เป็น Extend เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 167


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 5.14 คาสั่งในการแบ่งเส้น 5.14.1 คาสั่งในการแบ่งเส้นออกเป็น 2 ช่วง โดยมีช่องว่าง(Break)

, Modify  Break ,

BREAK หรื อ BR ใช้สาหรับแบ่งเส้น ช่วงที่ไม่ตอ้ งการออกไป ทาให้มีส่วนที่เหลือ 2 เส้น จากรู ปที่ 5.27 หาก ต้องการตัดเส้นโดยใช้เมาส์คลิกลงบนเส้นที่ตอ้ งการตัดโดยตรง โดยใช้สายตากะขนาด โดยมีข้ นั ตอน ดังต่อไปนี้ 3 1

2 5

ก)

6

4

ข) ค) รู ปที่ 5.27 การตัดเส้นเป็ น 2 ช่วง

Command:_Break Command break Select object : คลิกจุดที่ 1 ดังรู ปที่ 5.27 ก) Specify second break point or [First point]: คลิกจุดที่ 2 ดังรู ปที่ 5.27 ก) เส้นจะถูกตัดเป็ น 2 ท่อนทันที ดังรู ปที่ 5.27 ข) Command: คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม เพื่อเรี ยกคาสัง่ BREAK อีกครั้งหนึ่ง Command break Select object : คลิกจุดที่ 3 ดังรู ปที่ 5.27 ข) Specify second break point or [First point]: คลิกจุดที่ 4 ดังรู ปที่ 5.27 ข) Command: คลิกขวาหรื อกดปุ่ ม เพื่อเรี ยกคาสั่ง BREAK อีกครั้งหนึ่ง Command break Select object : คลิกจุดที่ 5 ดังรู ปที่ 5.27 ข) Specify second break point or [First point]: คลิกจุดที่ 6 ดังรู ปที่ 5.27 ข) จะได้สัญลักษณ์หลอดสัญญาณ ตามมาตรฐาน ANSI ดังรู ปที่ 5.27 ค)

วัตถุที่สามารถใช้กับคาสั่งนี้ได้คือ LINE, PLINE, SPLINE, ARC, CIRCLE, DONUT, ELLIPSE, ELLIPSE, RECTANG, POLYGON ส่วนวัตถุที่ไม่สามารถใช้กับคาสั่งนี้ไม่ได้ คือ MLINE, 2D SOLID, REGION เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 168


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ จากรู ปที่ 5.28 หากต้องการตัดเส้น โดยการป้ อนค่าระยะห่าง เพื่อตัดปลายเส้นทุกเส้นให้มีความยาว ยืน่ ออกจากวงกลมด้านละ 10 หน่วย โดยมีข้ นั ตอนดังต่อไปนี้ 2 1

ก) ข) รู ป ที่ 5.28 การตัดเส้นโดยกาหนดความยางที่เหลือ

Command:_Break Command break Select object : คลิกบนเส้นตรง AB Specify second break point or [First point]: F ( พิมพ์ F เพื่อกาหนดจุดเริ่ มต้นตัดเส้น ) Specify First break point : <Osnap off> {ให้แน่ใจว่าออโต้สแน๊ป (OSNAP) ปิ ดอยู่}_from {คลิกบนปุ่ ม Base point:_endp of {คลิกบนปุ่ ม แล้วเลื่อนคอร์เซอร์ ไปคลิกทิ่จุด 1 ตามรู ปที่ 5.28 ก) } <Offset> : @10<90 (เพื่อกาหนดระยะห่างของจุดเริ่ มตัด ) Specify second break point :คลิกตรงจุดที่ 2 เส้นตรงจะยืน่ ออกไปจากวงกลมโดยมีระยะเท่ากับ 10 หน่วย ดังรู ปที่ 5.28 ข) แล้วใช้วธิ ี เดียวกันกับเส้นที่เหลืออยูท่ ้ งั หมด จากรูปลายเส้ ป 4.26น(ซ้ หากต้องการตัดเส้ านล่างของสี ที่ยานื่ย)ออกจากวงกลมทุ กเส้นนตรงกลางด้ จะมีความยาว 10 หน่​่ เวหลี ย ่ยมผืนผ้าทิ้งไปดังโดยก รู ปทีาหนดให้ ่ 5.28 ค) เหลือ เส้นด้านข้างยาวด้านละ 35 หน่วยเท่า ๆ กันทั้งสองด้านโดยมีวธิ ี การดังนี้

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 169


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 5.14.2 คาสั่งในการแบ่งเส้นออกเป็น 2 ส่วน โดยไม่มีช่องว่าง(Break at Point ) เป็ นคาสั่งที่ใช้แบ่งเส้นตรงออกเป็ น 2 เส้น ดังรู ปที่ 5.29 ก) จะเห็นว่า เมิ่อใช้เมาส์คลิกที่เส้นตรง AB จะมีจุดกริ ปส์ จานวน 3 จุด ดังรู ปที่ 5.29 ข) แสดงว่าเป็ นเส้นตรงเส้นเดียว 1

ก)

ข) ค) รู ปที่ 5.29 การตัดเส้นออกเป็ น 2 ส่ วน

Command:_break Select object: คลิกที่เส้นตรง AB Specify second break point or[First point]:_F Specify first break point: คลิกจุดที่ 1 Specify second break point: โปรแกรมได้ตดั เส้นแล้ว ให้คลิกที่เส้นตรง AB จะเห็นว่า เส้นจะถูกแบ่งออกเบ็น 2 เส้น ดังรู ปที่ 5.29 ค)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 170


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 5.15 คาสั่งในการระเบิดวัตถุออกเป็นเส้น(Explode)

, ModifyExplode, explode หรื อX

ใช้สาหรับระเบิดวัตถุต่าง ๆ เช่น บล็อก(Block) เส้นโพลีไลน์(Pline) เส้นคูข่ นาน(Mline) ลวดลายแฮทช์(Hatch) รี เจี้ยน(Region) เส้นบอกขนาด(Dimensions) ไวบ์เอาท์(Wipeout)ให้กลายเป็ น เส้นตรง เส้นโค้งธรรมดา ถ้าใช้คาสั่งนี้ระเบิดบล็อก จะทาให้เส้นตรงและเส้นโค้งที่ประกอบขึ้นเป็ น บล็อกกลายเป็ นเส้นตรงหรื อเส้นโค้งธรรมดา ถ้าใช้กบั โพลีไลน์ โพลีไลน์จะกลายเป็ นเส้นตรง(LINE) ถ้าใช้กบั รี เจี้ยน(Regions) รี เจี้ยนจะกลายเป็ นเส้นตรงหรื อเส้นโค้ง ที่ประกอบกับเป็ นรี เจี้ยน ถ้าใช้กบั แฮทช์ ลวดลายแฮทช์จะกลายเป็ นเส้นตรงย่อย ๆ หลาย ๆ เส้น ถ้าใช้กบั เส้นคู่ขนาน( MLINE) เส้นคู่ขนาน(MLINE) จะกลายเป็ นเส้นตรง(LINE) ซึ่งสามารถที่จะตัด(Break) หรื อทริ ม(Trim)ได้ ถ้าใช้ คาสั่งนี้กบั เส้นบอกขนาด(Dimension line) เส้นบอกขนาดจะกลายเป็ นเส้นตรงและตัวเลขบอกขนาดจะ กลายเป็ นตัวอักษรธรรมดา เป็ นต้น ดังเช่น ในรู ปที่ 5.30 ก) จะสังเกตุเห็นว่าวัตถุเป็ นบล็อก เพราะเมื่อนา เมาส์ไปคลิกที่วตั ถุแล้ว จะมีจุดกริ๊ ปส์ แสดงขึ้นมาเพียงจุดเดียว ดังรู ปที่ 5.30 ข) เราสามารถทาการระเบิด บล็อก ให้กลับไปเป็ นวัตถุหลาย ๆชิ้น ได้ ดังรู ปที่ 5.30 ค)

ก) ข) ค) รู ปที่ 5.30 การระเบิดบล็อก Command : _explode Select objects : คลิกบนบล็อครู ปพัดลม ในรู ปที่ 5.30 ก) Select objects: คลิกขวา หรื อกดปุ่ ม Enter บล็อกก็จะกลายเป็ นวัตถุหลาย ๆ ชิ้น ดังรู ปที่ 5.30 ค)

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 171


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ

แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ 5 เครื่องมือในการแก้ไขวัตถุ 1. แถบเครื่ องมือที่ใช้ในการแก้ไขภาพวัตถุ ชื่อว่าอะไร ก. Draw ค. Object Snap ข. Modify ง. Properties 2. ถ้าต้องลบวัตถุ สามารถใช้คาสั่งใด ก . ข. Command : Erase

ค. Command : E ง. ถูกทุกข้อ

3. ถ้าต้องการคัดลอกวัตถุ ต้องใช้คาสั่งใด ก. ข. Command : Copy

ค. Command : co ง. ถูกทุกข้อ

4. เขียนสัญลักษณ์หม้อแปลงไฟฟ้ า รู ปด้านซ้าย เสร็ จแล้ว ควรใช้คาสั่งใดเพื่อให้ได้รูปด้านขวา

ก่อนใช้คาสั่ง หลังใช้คาสั่ง ก

. ข.

ค. ง.

5. ถ้าต้องการวางสัญลักษณ์หลอดไฟ จากรู ปด้านซ้าย ไปเป็ นรู ปด้านขวา เครื่ องมือใดเหมาะสมที่สุด

ก่อนใช้คาสั่ง หลังใช้คาสั่ง ก. ข.

ค. ง.

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 172


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 6. สัญลักษณ์ลาโพง เป็ นวัตถุชิ้นเดียว ดังภาพซ้ายมือ ต้องใช้คาสัง่ ใด ถึงจะได้ภาพขวามือ

ก. Modify > Solid Editing > Union ข. Modify > Solid Editing > Intersect

ค. Modify > Solid Editing > Subtract ง. Modify > Explode

7. ถ้าต้องการเขียนวงจรจากรู ปซ้ายมือ เป็ นรู ปทางขวามือ ใช้เครื่ องมือใดเหมาะสมที่สุด

ก. ข.

ค. ง.

8. ถ้าต้องการเขียนสัญลักษณ์หลอดไส้จากรู ปซ้ายมือ เป็ นรู ปทางขวามือ ใช้เครื่ องมือใดเหมาะสมที่สุด

ก ข

. .

ค. ง.

9. ถ้าต้องการเปลี่ยนขนาดของสัญลักษณ์ ของหลอดไส้ในข้อที่ 8 ให้เล็กกว่าเดิมครึ่ งหนึ่ง ต้องใช้คาสั่งใด ก . Command : Scale ค. ข. Command : SC ง. ถูกทุกข้อ

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 173


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ

10. ต้องการต่อความยาวเส้น CD จากรู ปด้านซ้ายมือ เป็ นรู ปทางด้านขวา ต้องใช้คาสัง่ ใด

ก ข

. คาสั่ง Length . คาสัง่ Extend

ค. คาสั่ง Scale ง. คาสัง่ Stretch

11. ต้องการเพิ่มความยาวของเส้นจาก 30 หน่วย เป็ น 130 หน่วย ตามรู ปด้านล่าง ต้องใช้คาสั่งใด

ก ข

. คาสั่ง Length . คาสัง่ Extend

ค. คาสั่ง Scale ง. คาสัง่ Stretch

12. ต้องการเขียนเส้น ให้ขนานกับเส้นตรง AB และ เส้นตรง CD ตามรู ปข้างล่างนี้ ต้องใช้คาสั่งใด

ก ข

. คาสั่ง Move . คาสัง่ Array

ค. คาสั่ง Copy ง. คาสัง่ offset

13. คาสั่งใดที่ทาให้รูปทางด้านซ้ายมือ เป็ นรู ปทางด้านขวามือได้

ก ข

. คาสั่ง Length . คาสัง่ Extend

ค. คาสั่ง Scale ง. คาสัง่ Stretch

14. คาสั่งใดที่ทาให้รูปทางด้านซ้ายมือ เป็ นรู ปทางด้านขวามือ

ก ข

. คาสัง่ Erase . คาสั่ง Trim

ค. คาสัง่ Explode ง. คาสั่ง Move

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 174


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 15. ต้องการแบ่งเส้นตรงจากรู ปด้านซ้าย เป็ นรู ปด้านขวา ต้องใช้คาสัง่ ใด

ก ข

. คาสัง่ Break . คาสั่ง Break at Point

ค. คาสัง่ Explode ง. คาสั่ง Move

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 175


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ

แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ 5 เครื่องมือในการแก้ไขวัตถุ 1. แถบเครื่ องมือ Modify คือ ข้อใด ก. ข. ค. ง. 2. คาสัง่ ใช้สาหรับทาอะไร ก . ลบวัตถุ ข. ตัดวัตถุ

ค. คัดลอกวัตถุ ง. เขียนวัตถุ

3. คาสั่ง Command : co ใช้สาหรับทาอะไร ก. ลบวัตถุ ค. คัดลอกวัตถุ ข. ตัดวัตถุ ง. เขียนวัตถุ 4. ถ้าต้องการเขียนสัญลักษณ์โคมไฟช่อ จากรู ปด้านซ้าย ไปเป็ นรู ปด้านขวา เครื่ องมือใดเหมาะสมที่สุด

ก่อนใช้คาสัง่ หลังใช้คาสัง่ ก. ข. 5. คาสั่ง ใช้สาหรับทาอะไร ก. เขียนวัตถุ ข. รวมวัตถุ

ค. ง. ค. คัดลอกวัตถุ ง. ระเบิดวัตถุ

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 176


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 6. ต้องการให้รูปซ้ายมือ เป็ นรู ปทางขวามือ ต้องใช้คาสัง่ ใด 2

1 ก. Move ข. Copy

ค. Array ง. Offset

7. ต้องการเขียนเส้น ให้ขนานกับเส้นตรง AB และ เส้นตรง CD ตามรู ปข้างล่างนี้ ต้องใช้คาสัง่ ใด

. คาสั่ง Move

ค. คาสั่ง Copy

. คาสั่ง Array

ง. คาสั่ง offset

8. ถ้าต้องการเขียนสัญลักษณ์หลอดไส้จากรู ปซ้ายมือ เป็ นรู ปทางขวามือ ใช้เครื่ องมือใดเหมาะสมที่สุด

ก ข

. .

ค. ง.

9. ถ้าต้องการเปลี่ยนขนาดของรู ปด้านซ้าย เป็ นรู ปทางด้านขวา ต้องใช้คาสัง่ ใด

. Command : Scale ข. Command : SC

ค. ง. ถูกทุกข้อ

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 177


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 10. ต้องการต่อความยาวเส้น CD จากรู ปด้านซ้ายมือ เป็ นรู ปทางด้านขวา ต้องใช้คาสั่งใด

ก ข

. คาสั่ง Length . คาสั่ง Extend

ค. คาสั่ง Scale ง. คาสั่ง Stretch

11. ต้องการเพิม่ ความยาวของเส้นจาก 30 หน่วย เป็ น 130 หน่วย ตามรู ปด้านล่าง ต้องใช้คาสัง่ ใด

ก ข

. คาสั่ง Length . คาสั่ง Extend

ค. คาสั่ง Scale ง. คาสั่ง Stretch

12. ต้องการเขียนเส้น ให้ขนานกับเส้นตรง AB และ เส้นตรง CD ตามรู ปข้างล่างนี้ ต้องใช้คาสัง่ ใด

ก ข

. คาสั่ง Move . คาสั่ง Array

ค. คาสั่ง Copy ง. คาสั่ง offset

13. คาสัง่ ใดที่ทาให้รูปทางด้านซ้ายมือ เป็ นรู ปทางด้านขวามือได้

ก ข

. คาสั่ง Length . คาสั่ง Extend

ค. คาสั่ง Scale ง. คาสั่ง Stretch

14. คาสัง่ ใดที่ทาให้รูปทางด้านซ้ายมือ เป็ นรู ปทางด้านขวามือ

ก ข

. คาสั่ง Erase . คาสัง่ Trim

ค. คาสั่ง Explode ง. คาสัง่ Move

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 178


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ 15. ต้องการแบ่งเส้นตรงจากรู ปด้านซ้าย เป็ นรู ปด้านขวา ต้องใช้คาสั่งใด

ก ข

. คาสั่ง Break . คาสัง่ Break at Point

ค. คาสั่ง Explode ง. คาสัง่ Move

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 179


บทที่ 5 เครื่ องมือในการแก้ไขวัตถุ

แบบฝึ กหัด บทที่ 5 เครื่องมือในการแก้ไขวัตถุ 1. จงบอกชื่อแถบเครื่ องมือและคาสั่ง ตามรู ปข้างล่างนี้ (10 คะแนน) 3

5

7

13

11

9

1 2

4

6

8

10

12

14

15

1) แถบเครื่ องมือ........................ 2) คาสั่ง..................................... 3) คาสั่ง..................................... 4) คาสั่ง..................................... 5) คาสั่ง..................................... 6) คาสั่ง..................................... 7) คาสั่ง..................................... 8) คาสั่ง..................................... 9) คาสั่ง..................................... 10) คาสั่ง..................................... 11) คาสั่ง..................................... 12) คาสั่ง..................................... 13) คาสัง่ ..................................... 14) คาสั่ง..................................... 15) คาสั่ง.....................................

เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์

หน้า 180


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.