บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร สาระการเรียนรู้ 1. คาสั่งในการสร้างตาราง 2. คาสั่งในการเขียนลวดลาย 3. คาสั่งในการสร้างบล็อก 4. คาสั่งในการแทรกบล็อก 5. คาสั่งเปลี่ยนจุดอ้างอิงบล็อก 6. คาสั่งบันทึกบล็อก 7. คาสั่งเขียนตัวอักษร 8. คาสั่งในการจัด ลักษณะตัวอักษร ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. สร้างตารางแบบต่าง ๆ ได้ 2. เขียนลวดลายแบบต่างๆ ได้ 3. สร้างบล็อกได้ 4. แทรกบล็อกได้ 5. เปลี่ยนจุดอ้างอิงบล็อกได้ 6. บันทึกบล็อกได้ 7. เขียนตัวอักษรแบบบรรทัดเดียวและหลายบรรทัดได้ 8. จัดรูปแบบตัวอักษรได้
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 95
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
4.1 คาสั่งในการสร้างตาราง(TABLE)
, Draw Table, TABLE หรื อ TB
ใช้คาสั่งนี้สาหรับสร้างตาราง ซึ่ งเราสามารถกาหนดรู ปแบบต่างๆ ของตารางได้ โดยใช้คาสั่ง Format Table Style เมื่อเรี ยกคาสั่งออกมาใช้งาน จะปรากฏไดอะล็อคดังรู ปที่ 4.1
รู ปที่ 4.1 หน้าต่างการแทรกตาราง 4.1.1 การกาหนดค่ าต่ าง ๆ ในการสร้ างตาราง เมื่อเราใช้คาสั่งในการสร้างตาราง จะปรากฏหน้าต่าง Insert Table ตามรู ปที่ 4.1 ซึ่ งมีรายละเอียด ดังนี้ Table Style name ใช้สาหรับเลือกรู ปแบบของตารางที่ผา่ นการสร้างจากคาสั่ง Format Table Style Text height แสดงค่าความสู งของตัวอักษรในตาราง Specify insertion point ใช้ปุ่มเรดิโอนี้สาหรับวางตารางลงบนพื้นที่วาดภาพแบบกาหนดจุดสอดแทรก เพียงจุดเดียว Specify window ใช้ปุ่มเรดิโอนี้สาหรับวางตารางลงบนพื้นที่วาดภาพแบบกาหนดจุดทแยง 2 จุด Column & Row Settings เราสามารถกาหนดจานวนคอลัมน์(Column) และความกว้างคอลัมน์ (Column width) สามารถกาหนดจานวนข้อมูลแถว(Data Rows) และความสู ง ของแถว(Row Height) ได้ตามต้องการ หลังจากที่เลือกรู ปแบบตาราง กาหนดจานวน เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 96
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
แถวและคอลัมน์ และคลิกบนปุ่ ม OK จะปรากฏข้อความ Specify insertion point: หรื อ Specify first corner: ตามประเภทของ insertion behavior ที่ถูกเลือก เราสามารถคลิกบนพื้นที่วาดภาพในตาแหน่งที่ตอ้ งการวางตาราง จะปรากฏตาราง พร้อมทั้งหน้าต่าง Text Formatting ซึ่งใช้สาหรับเขียนตัวอักษร เราสามารถป้ อนข้อมูล เข้าไปในแต่ละเซลล์ของตาราง เมื่อป้ อนข้อมูลในเซลล์หนึ่งเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว ให้กดปุ่ ม หรื อดับเบิ้ลคลิก เพื่อป้ อนข้อมูลในช่องว่างต่อไป ในการเพิม่ หรื อแทรกแถว ให้คลิกบนเซลล์ที่ตอ้ งการ จะปรากฏจุดกริ๊ ปส์ สีน้ าเงินขึ้นมา พร้อมทั้ง เส้นขอบตารางจะกลายเป็ นเส้นประ ต้องมัน่ ใจว่าเคอร์ เซอร์ ยงั อยูภ่ ายในเซลล์ที่เลือก แล้ว คลิกเมาส์ขวา จะปรากฏดร็ อบดาวน์เมนูข้ ึนมา ให้เลือกคาสั่ง Insert Rows Above เพื่อแทรกแถวใหม่เข้ามาทางด้าน บน หรื อ เลือกคาสั่ง Insert Rows Below เพื่อแทรกแถวใหม่เข้าทางด้านล่าง ในการลบแถว ให้คลิกบนเซลล์ที่ตอ้ งการ จะปรากฏจุดกริ๊ ปส์ สีน้ าเงินขึ้นมา พร้อมทั้งเส้นขอบ ตารางจะกลายเป็ นเส้นประ ต้องมัน่ ใจว่าเคอร์ เซอร์ ยงั อยูภ่ ายในเซลล์ที่เลือก แล้ว คลิกเมาส์ขวา จะปรากฏดร็ อบดาวน์เมนูข้ ึนมา ให้เลือกคาสั่ง Delete Rows ในการเพิ่มหรื อสอดแทรกคอลัมน์ ให้คลิกบนเซลล์ที่ตอ้ งการ จะปรากฏจุดกริ๊ ปส์ สีน้ าเงินขึ้นมา พร้อมทั้งเส้นขอบตารางจะกลายเป็ นเส้นประ ต้องมัน่ ใจว่าเคอร์ เซอร์ ยงั อยูภ่ ายในเซลล์ที่เลือก แล้ว คลิก เมาส์ขวา จะปรากฏดร็ อบดาวน์เมนูข้ ึนมา ให้เลือกคาสั่ง Insert Columns Right เพื่อแทรกคอลัมน์ใหม่ เข้ามาทางด้านขวา หรื อเลือกคาสัง่ Insert Columns Left เพื่อแทรกคอลัมน์ใหม่เข้ามาทางด้านซ้าย ในการลบคอลัมน์ ให้คลิกบนเซลล์ที่ตอ้ งการ จะปรากฏจุดกริ๊ ปส์ สีน้ าเงินขึ้นมา พร้อมทั้งเส้น ขอบตารางจะกลายเป็ นเส้นประ ต้องมัน่ ใจว่าเคอร์ เซอร์ ยงั อยูภ่ ายในเซลล์ที่เลือก แล้ว คลิกเมาส์ขวา จะ ปรากฏดร็ อบดาวน์เมนูข้ ึนมา ให้เลือกคาสั่งDelete Columns ในการรวบรวมเซลล์ที่ติดกันเข้าด้วยกัน ให้คลิกบนเซลล์ที่ตอ้ งการจะปรากฏจุดกริ๊ ปส์สีน้ าเงิน แล้วกดปุ่ ม ค้างไว้แล้วคลิกเชลล์อื่นๆที่อยูถ่ ดั ไป ดังรู ปที่ 4.2 เมื่อปรากฏจุดกริ๊ ปส์บนเซลล์ ต่างๆ ที่อยูต่ ิดกันแล้ว ให้คลิกขวาแล้วเลือกคาสั่ง Merge Cells All ในการยกเลิกการรวมเซลล์ ให้คลิกบนเซลล์ที่ตอ้ งการยกเลิก จะปรากฏจุดกริ๊ ปส์สีน้ าเงินขึ้นมา พร้อมทั้งเส้นขอบตารางจะกลายเป็ นเส้นประ ต้องมัน่ ใจว่าเคอร์ เซอร์ ยงั อยูภ่ ายในเซลล์ที่เลือก แล้ว คลิก เมาส์ขวา จะปรากฏดร็ อบดาวน์เมนูข้ ึนมา ให้เลือกคาสั่ง Unmerge Cells หากคลิกบนตารางซึ่ งจะปรากฏจุดกริ๊ ปส์สีน้ าเงินบนทุกๆส่ วนของตารางแล้วคลิกขวาจะปรากฏ เซลล์เมนูดงั รู ปที่ 4.3 เราปรับคอลัมน์ให้เท่าๆ กัน โดยเลือกคาสั่ง Size Columns Equally ปรับแถว ให้เท่าๆกัน โดยเลือกคาสั่ง Size Rows Equally
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 97
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
รู ปที่ 4.2 การผสานเซลล์
รู ปที่ 4.3 การจัดการเซลล์
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 98
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
4.2 คาสั่งในการเขียนลวดลาย(HATCH)
, Draw Hatch , BHATCH หรื อ H
ใช้สาหรับเขียนลวดลายแฮทช์(Hatch Patterns) ระบายสี ทึบ(Solid color) หรื อระบายสี ไล่ระดับความเข้ม(Gradient) ลงบนขอบเขต(Boundary) ที่กาหนด ซึ่งขอบเขตอาจประกอบไปด้วย เส้นตรงหรื อเส้นโค้งที่สร้างจากคาสั่งต่างๆ ที่ใช้ในการเขียนรู ป เมื่อใช้คาสั่งนี้ จะปรากฏหน้าต่าง Hatch and Gradient ดังรู ปที่ 4.4 ให้เลือกขอบเขต เลือกลวดลายแฮทช์แบบต่างๆ กาหนดสเกล กาหนดมุมและคุณสมบัติอื่นๆ และก่อนที่จะทาการระบาย ลวดลายแฮทช์ลงไปบนขอบเขตที่กาหนด เราสามารถที่จะทดลองดู(Preview) ลวดลายที่กาหนดบนขอบเขตที่เลือกไว้ล่วงหน้า เพื่อช่วยในการ ตัดสิ นใจว่าลวดลายแฮทช์ สเกล มุมและคุณสมบัติอื่นๆ ที่กาหนดไว้เหมาะสมหรื อไม่ หากยังไม่ เหมาะสม เราก็สามารถที่จะปรับแต่งค่าต่างๆได้อีก จนกว่าจะเป็ นที่พอใจ
รู ปที่ 4.4 หน้าต่างรู ปแบบลวดลาย แถบคาสั่ง Gradient บนไดอะล็อก Hatch and Gradient ดังรู ปที่ 4.5 ใช้สาหรับกาหนดรู ปแบบการระบาย สี แบบไล่ระดับ เราสามารถกาหนดการไล่ระดับแบบสี เดียวหรื อไล่ระดับสองสี ได้ ซึ่งการระบายสี แบบ ไล่ระดับนั้น เหมือนกับการระบายลวดลายแฮทช์ทุกประการ แต่ แตกต่างกันเล็กน้อย เพราะการระบายสี จะต้องเลือกใช้กบั วัตถุที่มีขอบเขตแบบปิ ด เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 99
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
รู ปที่ 4.5 หน้าต่างแสดงแถบสี แบบไล่ระดับ ในการระบายลวดลายแฮทช์ ให้เลือกลวดลายแฮทช์จากรายการ Pattern หรื อคลิกปุ่ ม Swatch แล้วเลือกลวดลายที่ตอ้ งการจากนั้นกาหนดค่ามุมโดยพิมพ์ค่ามุมหรื อเลือกจากแถบรายการ Angle ต่อไป กาหนดสเกลโดยพิมพ์สเกลแฟคเตอร์ หรื อเลือกจากแถบรายการ Scale ให้แน่ใจว่าเครื่ องหมาย ปรากฏ หน้า Associative ซึ่งจะทาให้แฮทช์สามารถปรับตัวตามขอบเขตที่จะเปลี่ยนแปลงโดยอัตโนมัติแล้วคลิก บนปุ่ ม Pick Points เพื่อกาหนดขอบเขตแบบปิ ด จะปรากฏข้อความ Select internal point: ให้คลิก ณ จุดใดๆภายในขอบเขต เมื่อขอบเขตแบบปิ ดที่ตอ้ งการระบายแฮทช์ปรากฏบนเส้นประแล้ว ให้คลิกขวา แล้วเลือกคาสั่ง Preview เพื่อดูตวั อย่างลวดลายแฮทช์ หากปรากฏไม่ถูกต้อง ให้กดปุ่ ม เพื่อกลับไป ยังไดอะล็อก หากปรากฏถูกต้องให้คลิกขวา เพื่อออกจากคาสั่ง หากต้องการระบายสีแทนการใส่ลวดลายแฮทช์ ให้เลือก SOLID ในคาสั่ง Other Predefined โปรแกรมจะระบายสี( Color) ใช้งานหรือสีที่กาหนดในเลเยอร์ ลงบนขอบเขตที่ราเลือกแทนการระบาย ลวดลายแฮทช์ ซึ่งการระบายสีลงบนขอบเขตของวัตถุจะต้องใช้กับขอบเขตแบบปิดเท่านั้น ส่วนลวดลาย แฮทช์อื่นๆสามารถใช้กับขอบเขตได้ทั้งแบบเปิดและแบบปิด เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 100
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
ในการกาหนดขอบเขตเราสามารถทาได้ 2 วิธีคือให้โปรแกรมค้นหาขอบเขตภายในอัตโมมัติ โดยใช้ปุ่มไอคอน หรื อเลือกขอบเขตทั้งหมดด้วยตนเอง โดยใช้ปุ่มไอคอน เราจะใช้วธิ ี ใดนั้นขึ้นอยูก่ บั ลวดลายแฮทช์ที่ตอ้ งการ การใช้ปุ่มไอคอน มีขอ้ ดีคือโปรแกรมจะตรวจหาเฉพาะขอบเขตภายในวัตถุโดยอัตโมมัติอย่างถูกต้อง เราจึงไม่ตอ้ งทริ ม(Trim) หรื อตัดเส้นที่ยนื่ ออกมาจากขอบเขตที่ตอ้ งการระบายออกไป แต่ถา้ เราเลือกใช้ ปุ่ มไอคอน เราจะต้องกาหนดขอบเขตด้วยตนเอง ซึ่ งถ้าใช้กบั ชิ้นงานที่ไม่ได้เตรี ยม เส้นขอบให้ถูกต้อง อาจเกิดการผิดพลาดได้ง่าย หากเลือกที่จะใช้ปุ่มไอคอน ในการ กาหนดขอบเขต เราจะตัดเส้น (Trim) ให้แยกจากกันก่อน ลวดลายแฮทช์จึงจะถูกระบายอย่างถูกต้อง สิ่ งที่สาคัญในการระบายลวดลายแฮทช์โดยใช้ขอบเขตด้วย คือเราควร จะต้องขยายภาพขอบเขตบริ เวณที่จะระบายแฮทช์ให้ปรากฏบนพื้นที่วาดภาพมีขนาดใหญ่ที่สุด เพราะ โปรแกรมจะค้นหาขอบเขตภายในเฉพาะวัตถุที่ปรากฏอยูบ่ นพื้นที่วาดภาพเท่านั้น ถ้าเราไม่ขยายภาพ ส่ วนที่เราจะระบายแฮทช์ให้ใหญ่ที่สุด โปรแกรมจะต้องเสี ยเวลาค้นหาในวัตถุอื่นๆทั้งหมดที่บนพื้นที่วาด ภาพซึ่ งเราไม่ตอ้ งการระบายแฮทช์ไปด้วย ถ้าแบบแปลนมีจานวนวัตถุมาก ก็จะต้องเสี ยเวลารอค่อนข้าง นาน เพราะฉะนั้น ถ้าเราขยายภาพขอบเขตได้มากเพียงใด โปรแกรมก็จะค้นหาขอบเขตได้เร็ วมากขึ้น เท่านั้น แต่ตอ้ งระวังมิให้ขอบเขตที่จะระบายยืน่ ออกไปนอกพื้นที่วาดภาพแม้แต่เพียงเล็กน้อย เพราะ โปรแกรมจะไม่สามารถค้นหาขอบเขตได้ การระบายสี ไล่ระดับนั้น ให้เลือกแถบคาสั่ง Gradient ดังรู ปที่ 4.5 คลิกบนปุ่ ม จะปรากฏ ไดอะล็อค Select Color ให้เลือกสี ที่ตอ้ งการ แล้วออกจากไดอะล็อค Select Color เลือกรู ปแบบการ ระบายสี จากกล่องสี เลื่อนสครอลบาร์ไปทางด้าน Shade หรื อ Tint เพื่อกาหนดการไล่ระดับมืดหรื อสว่าง กาหนดมุม Angle = 45 แล้วคลิกบนปุ่ ม เพื่อกาหนดขอบเขตเหมือนกับการระบาย แฮทช์ธรรมดา จะปรากฏข้อความ Select internal point: ให้คลิก ณ จุดใดๆภายในขอบเขตแบบปิ ดของ วัตถุ เมื่อขอบเขตแบบปิ ดที่ตอ้ งการระบายสี ไล่ระดับปรากฏบนเส้นประแล้ว ให้คลิกขวา แล้วเลือกคาสั่ง Preview เพื่อดูตวั อย่างสี ไล่ระดับ หากปรากฏไม่ถูกต้อง ให้กดปุ่ ม ปรากฏถูกต้องให้คลิกขวาเพื่อออกจากคาสั่ง
เพื่อกลับไปยังไดอะล็อค หาก
หลังจากที่ระบายสีลงบนขอบเขตต่างๆแล้ว บางครั้งสีที่เราระบายอาจจะถูกวัตถุอื่นๆ ปิดบังอยู่ด้านล่าง เราสามารถใช้คาสั่ง ToolsDisplay OrderBring to Front , ToolsDisplay OrderSend to Back
, ToolsDisplay OrderBring Above Object
ToolDisplay OrderSend Under Object ล็อคก็ได้ เพื่อให้สีที่ระบายลงไปมองเห็นได้
และ
หรือใช้แถบรายการ Draw Order บนไดอะ
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 101
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
4.2.1 ความหมายของตัวเลือกต่ างๆบนไดอะล็อค Hatch and Gradient จากแถบคาสั่ง Hatch ของไดอะล็อค Hatch and Gradient ดังรู ปที่ 4.4 ตัวเลือกต่าง ๆ มีความหมายดังต่อไปนี้ Type เลือกประเภทลวดลายแฮทช์ Predefined, User defined หรื อ Custom ลวดลายแฮทช์ที่ โปรแกรมสร้างมาให้ท้ งั หมดถูกรวมรวบไว้ในประเภท Predefined ซึ่งถูกบันทึกไว้ใน ไฟล์ acad.pat(ระบบอังกฤษ) และไฟล์ acadiso.pat (ระบบเมตริ ก) เราสามารถควบคุม มุมและสเกลของลวดลายแฮทช์ประเภทนี้ได้หากเลือก User defined โปรแกรมจะใช้ รู ปแบบเส้น ( Linetype) ใช้งานเป็ นลวดลายแฮทช์ซ่ ึงสามารถควบคุมมุมและสเกลได้ หากเลือก Custom เราจะต้องสร้างลวดลายแฮทช์ข้ ึนมาใช้งานเองโดยบันทึกเก็บไว้ใน ไฟล์ฟอร์แมต .Pat เก็บไว้ในโฟลเดอร์ ที่ AutoCAD รู้จกั (AutoCAD search path) pattern ใช้แถบรายงานนี้หรื อคลิกปุ่ ม สาหรับเลือกลวดลายแฮทช์แบบต่างๆที่กาหนดไว้ใน ไฟล์ acad.pat (ระบบอังกฤษ) และ acadiso.pat (ระบบเมตริ ก) ออกมาใช้งาน Swatch แสดงตัวอย่างลวดลายแฮทช์ที่ถูกเลือกใน Pattern หรื อคลิกบนตัวอย่างนี้ เพื่อเลือก ลวดลายแฮทช์ดงั รู ปที่ 4.6
รู ปที่ 4.6 แสดงลวดลายแฮทช์แบบต่างๆ Custom Pattern แถบรายการนี้จะใช้งานได้ เมื่อ Custom ในแถบรายการ Type คลิกบนปุ่ ม จะปรากฏไดอะล็อค Hatch Pattern Palette แสดงรายชื่อไฟล์.pat ในแถบคาสัง่ Custom ซึ่ งบรรจุลวดลายแฮทช์ที่สร้างขึ้งด้วนตนเอง เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 102
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร Angle and Scale Angle ใช้สาหรับกาหมดมุมของลวดลายแฮทช์ ที่จะระบายลงบนขอบเขต Scale ปรับสเกลแฟคเตอร์ ของให้กบั ลวดลายแฮทช์โดยค่าสเกล แฟคเตอร์ ที่ๆ โปรแกรมกาหนดมาให้เท่ากับ 1 Relative to paper space ปรับสเกลแฟคเตอร์ ของลวดลายแฮทช์ให้เข้ากับหน่วยวัดในเปเปอร์ สเปส Spacing ระบุระยะห่าง ระว่างเส้นของของลวดลายแฮทช์สาหลับแฮทช์ประเภท User defined Iso pen width สเกลลวดลายแฮทช์แบบ ISO ให้เข้ากับความหนาปากกาที่ถูกเลือก Pick Points สาหรับเลือกขอบเขต (Boundary) โดยใช้เมาส์คลิกภายในขอบเขต แบบปิ ดที่อยูน่ อกสุ ดโปรแกรมจะทาการค้นหาขอบเขตอื่นๆที่อยูภ่ ายในทั้งหมดโดย อัตโนมัติ ไม่ควรใช้วธิ ี น้ ีกบั ชิ้นงานที่มีความซับซ้อน เนื่องจากจะทาให้โปรแกรมต้อง เสี ยเวลาในการคานวณ เราควรหลีกเลี่ยงไปใช้ปุ่ม แทน Select Objects สาหรับเลือกขอบเขต ( Boundary) โดยคลิกบนเส้นตรงหรื อ เส้นโค้งที่จะใช้เป็ นขอบเขต วิธีน้ ีใช้ในกรณี ที่ชิ้นงานมีความซับซ้อนมาก Remove Islands ใช้ปุ่ม ในกรณี ที่มีการใช้ Pick Points เลือกขอบเขตโปรแกรมจะเลือก ขอบเขตที่อยูภ่ ายในทั้งหมด หากมีขอบเขตใดๆเราไม่ตอ้ งการที่จะให้โปรแกรม คานวณ เราสามารถที่จะนาเอาขอบเขตนั้นออกไปได้ Recreate boundary ใช้ปุ่มนี้สาหรับเรี ยกการสร้างขอบเขต ที่ลบไปแล้วกลับมาใหม่ View Selections ใช้ปุ่ม สาหรับตรวจสอบขอบเขต (Boundary) ทั้งหมดที่ได้เลือกไว้จาก Pick Points หรื อ Select Objects Inherit Properties ใช้ปุ่ม สาหรับเรี ยกคุณสมบัติจากลวดลายแฮทช์ที่ได้กาหนดให้ชิ้นงาน ใดๆไปแล้วเพื่อที่จะนาคุณสมบัติเหล่านั้นไปกาหนดให้กบั ชิ้นงานอื่นๆได้ ต้องการ เพื่อความสะดวกและรวดเร็ วในการกาหนดลวดลายที่เหมือนๆกัน Draw Order ใช้สาหรับส่ งลวดลายแฮทช์ไปด้านหน้าสุ ดของขอบเขต ( Bring in front of boundary) หรื อส่ งลวดลายแฮทช์ไปไว้ดา้ นหลังสุ ดของขอบเขต (Send behind boundary) หรื อนาลวดลายแฮทช์ไปไว้ดา้ นหน้า (Bring to front) ส่ งลวดลาย แฮทช์ไปไว้ดา้ นหลัง ( Send to back) ไม่กาหนด (Do not assign)
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 103
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
Double ใช้กบั ประเภท User defined สาหรับเขียนลวดลายแฮทช์ต้ งั ฉากเพิ่มขึ้นจากลวดลาย แฮทช์ที่สร้างขึ้นจากรู ปเส้นปกติ Associative ปรับลวดลายแฮทช์ที่ไปตามขอบเขตที่เปลี่ยนแปลงโดยอัตโมมัติ หากมีการแก้ไข ปรับแต่งขอบเขตใหม่ Create separate hatche สร้างลวดลายแฮทช์แยกต่างหาก Hatch origin ใช้ Use current origin กาหนดเป็ นค่าเริ่ มต้น ใช้ Specified origin คลิกที่ Click to set new origin เพื่อกาหนดค่าเริ่ มต้นใหม่ตาม ต้องการ Preview ทดลองดูภาพลวดลายแฮทช์ก่อนสร้างแฮทช์ข้ ึนจริ ง เพื่อประโยชน์ในการปรับแต่งและ แก้ไข จากแถบคาสั่ง Gradient ของไดอะล็อค Hatch and Gradient ดังรู ปที่ 4.5 มีความหมายของตัวเลือกต่างๆ ดังต่อไปนี้ One color ใช้สาหรับกาหนดสี ไล่ระดับแบบสี เดียวโดยคลิกบนปุ่ ม
แล้วเลือกสี ที่ตอ้ งการ
Two color ใช้สาหรับกาหนดสี ไล่ระดับแบบสองสี โดยคลิกบนปุ่ ม แล้วเลือกสี ที่ตอ้ งการ Shade ใช้สาหรับกาหนดสี การไล่ระดับแบบสี เดียวโดยไล่สีเข้าหาสี ดา Tint ใช้สาหรับการไล่ระดับแบบสี เดียวโดยไล่ระดับสี เข้าหาสี ขาว Center ใช้สาหรับกาหนดจุดศูนย์กลางของการไล่ระดับสี Angle ใช้สาหรับปรับมุมเอียงของการไล่ระดับสี
ถ้าเรามีไฟล์ลวดลายแฮทช์ที่สร้างขึ้นมาเอง ที่มีส่วนขยายไฟล์เป็น .pat สามารถที่จะนามาใช้กับโปรแกรม AutoCAD ได้เลย โดยนาไปเก็บไว้ในโฟลเดอร์ C:\ProgramFiles\AutoCAD2007\Support หรือ C:\Documents and Settings\User name\Application Data\Autodesk\AutoCAD 2007\R17.0\enu\Support ถ้าต้องการเรียกใช้ ให้ เลือกลวดลายแฮทช์ได้จาก Custom ในแถบ รายการ Type แล้วคลิกบนแถบรายการ Custom Pattern หรือคลิกปุ่ม แสดงรายชื่อลวดลายแฮทช์จากไฟล์. pat ทั้งหมด
ข้างแถบรายการนี้ เพื่อ
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 104
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
ตัวอย่างที่ 1 การเขียนสัญลักษณ์บลั ลาสต์ ตามมาตรฐาน DIN
ก) ก่อนใช้คาสัง่ แฮทช์ ข) หลังใช้คาสัง่ แฮทช์ รู ปที่ 4.7 สัญลักษณ์ บัลลาสต์ ขั้นตอน 1) คลิกที่ 2) จะเกิดหน้าต่างดังในรู ปที่ 4.8 ก) 3) คลิกที่ปุ่ม (จุดที่ 1) จะเกิดหน้าต่างแพทเทิร์นของแฮทช์ ดังในรู ปที่ 4.8 ข) 1 4 2
3 ก)
ข) รู ปที่ 4.8 แพทเทิร์นของแฮทช์ 4) ที่แท็ป Other Predefined เลือก Solid (จุดที่ 2) เสร็ จแล้วกดปุ่ ม OK 5) จะกลับมาที่ รู ป 4.8 ก) คลิกที่ ปุ่ ม Add Select Object (จุดที่ 4) จะกลับมาหน้าพื้นที่วาดภาพ 6) เลื่อนเมาส์ไปคลิกที่รูปสี่ เหลี่ยม (สี่ เหลี่ยมจะกลายเป็ นเส้นประ) เสร็ จแล้วกดปุ่ ม Enter 7) จะกลับมาที่หน้าต่าง ดังรู ปที่ 4.9 สามารถ ดูลวดลายที่ระบายลงไปก่อนได้ โดยกดที่ปุ่ม Preview(จุดที่ 5)
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 105
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
8) เมื่อได้ลวดลายตามที่ตอ้ งการแล้ว กดปุ่ ม Ok เพื่อจบการใช้คาสั่ง จะได้ดงั รู ปที่ 4.7 ข)
5 รู ปที่ 4.9 แพทเทิร์นของแฮทช์เมื่อเลือกวัตถุเสร็ จแล้ว
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 106
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
4.3 คาสั่งในการสร้างบล็อก(Make Block)
, Draw BlockMake , Block หรื อ B
ในการเขียนแบบไฟฟ้ า โดยทัว่ ไปแล้ว จะประกอบด้วยสัญลักษณ์คล้าย ๆกันเป็ นจานวนมาก เราสามารถเขียนสัญลักษณ์ข้ ึนมาเพียงครั้งเดียว แล้วเก็บไว้ใน Block เพื่อประโยชน์ ดังนี้ 1) ลดขั้นตอนในการทางาน สัญลักษณ์ที่ใช้บ่อยๆ เช่น ในแบบตึกหลาย ๆชั้น จะมีสัญลักษณ์ หลอดไฟ เต้ารับ เป็ นจานวนมาก เราสามารถสร้างต้นแบบของสัญลักษณ์หลอดไฟ หรื อเต้ารับ ขึ้นมา เพียงครั้งเดียวแล้วเก็บไว้เป็ น Block เพื่อสามารถเรี ยกมาครั้งต่อไปได้ 2) สร้างเป็ นเมนูใช้สาหรับงานเฉพาะด้าน(Customization) สัญลักษณ์ที่ใช้บ่อยๆ เช่น หลอดไฟ เต้ารับ สวิทช์ เป็ นต้น ก็สามารถสร้างเป็ น เมนูสัญลักษณ์(ICON Menu)ได้ 3) ลดภาระในการแก้ไข เช่นในแบบแปลน ตึก 10 ชั้น มีสัญลักษณ์หลอดไฟทั้ง 10 ชั้น เราไม่ ต้องเสี ยเวลามานัง่ แก้ไขสัญลักษณ์ใหม่ท้ งั หมด เราเพียงแต่นาบล็อกใหม่ ไปแทนบล็อกของหลอดไฟเก่า เพียงแก้ไขครั้งเดียว ซึ่ งเรี ยกเทคนิคนี้วา่ Redefine Block 4) ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ เนื่องจากโปรแกรมจะจัดเก็บรู ปหรื อสัญลักษณ์ตน้ แบบ เพียงรู ปเดียว และจานวน Block ที่นามาวางในแบบ เท่านั้น เมื่อเรี ยกคาสั่งนี้จะปรากฏไดอะล็อคดังรู ปที่ 4 .10
ก) ก่อนใช้คาสั่ง วัตถุธรรมดาไม่ใช่บล็อก จะปรากฏจุดกริ๊ ปส์ ในตาแหน่งต่างๆ เมื่อใช้เมาส์คลิก
ข) หลังใช้คาสัง่ วัตถุที่เป็ นบล็อกจะปรากฏจุดกริ๊ ปส์ ตาแหน่งเดียว เมื่อใช้เมาส์คลิก รู ปที่ 4.11 ตั้งค่าจัดการบล็อก รู ปที่ 4.10 ตั้งค่าจัดการบล็อก จากรูปที่ 4.11(ก) สังเกตุว่าสัญลักษณ์หลอดฟลูออเรสเซนต์สร้างจากเส้นตรงธรรมดาหลาย ๆ เส้น ซึ่งเมื่อเราใช้เมาส์คลิกบนเส้นใดๆของสัญลักษณ์หลอดฟลูออเรสเซนต์จะปรากฏจุดกริ๊ปส์ เฉพาะบนเส้นนั้น แต่ถ้าวัตถุทั้งหมดถูกแปลงเป็นบล็อคแล้ว เมื่อเราใช้เมาส์คลิกจะปรากฏ เฉพาะจุดกริ๊ปส์เพียงจุดเดียว ณ จุดสอดแทรกของบล็อกเท่านั้น ดังรูปที่ 4.11(ข) เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 107
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
4.3.1 คาอธิบาย ตัวเลือกต่างๆ ของบล็อก เมื่อเราใช้คาสัง่ Block จะปรากฏ หน้าต่าง Block Definition ดังรู ปที่ 4.10 ซึ่งตัวเลือก ต่างๆ มีความหมายดังนี้ Name ตั้งชื่อบล็อคแบบรายการ Name โดยใช้ตวั อักษรหรื อตัวเลขได้ถึง 225 ตัวอักษร เราสามารถใช้เครื่ องหมาย $ -_ และช่องว่างแต่หา้ มใช้เครื่ องหมาย< > / \ “: , , ?*I=’ เราสามารถคลิกปุ่ ม บนแถบรายการนี้ เพื่อดูชื่อบล็อคที่มีอยูแ่ ล้ว จะได้ไม่ต้ งั ชื่อซ้ า กับชื่อเดิม Base Point ใช้ตวั เลือกในกลุ่มนี้สาหรับกาหนดจุดสอดแทรกให้กบั บล็อค
Pick point
คลิกบนปุ่ มนี้ แล้วคลิกบนพื้นวาดภาพเพื่อกาหนดจุดสอดแทรกของบล็อค X:, Y:, Z: หากไม่ตอ้ งการใช้เมาส์คลิกเพื่อกาหนดตาแหน่งของจุดสอดแทรก เราสามารถป้ อนค่า คอร์ ออร์ ดิเนทของจุดสอดแทรกผ่านอิดิบอกซ์ X :, Y :, Z: ได้ Objects ใช้ตวั เลือกในกลุ่มนี้เป็ นสาหรับเลือกวัตถุที่จะแปลงให้เป็ นบล็อค
Select objects เมื่อคลิกปุ่ มนี้ จะปรากฏข้อความ Select objects : ให้เลือกวัตถุที่ ต้องการนาไปแปลงให้เป็ นบล็อค Quick Select ใช้ปุ่มนี้สาหรับช่วยให้เราสามารถเลือกวัตถุ โดยใช้เงื่อนไขเลือกวัตถุ Retain ใช้ปุ่มเรดิโอ เพื่อสร้างล็อคใหม่ แต่ไม่เปลี่ยนแปลงวัตถุที่ถูกเลือกเป็ นต้นแบบ ในการสร้างบล็อค นั้นหมายถึงวัตถุที่เราเลือกบนพื้นที่วาดภาพก็ยงั คงเป็ นวัตถุ เดิมอยู่
Convert to block ใช้ปุ่มเรดิโอนี้เพื่อสร้างบล็อกด้วยการแปลงวัตถุที่เลือกทั้งหมด ให้เป็ นบล็อค
Delete ใช้ปุ่มเรดิโอนี้ เพื่อสร้างบล็อคแล้วลบวัตถุที่ถูกเลือกทั้งหมด Block units เลือกหน่วยวัดที่ตอ้ งการใช้ปรับสเกลให้แก่บล็อกเมื่อทาการคลิกและลากเพื่อสอดแทรก บล็อคจากไฟล์อื่น Description เราสามารถพิมพ์ขอ้ ความอธิบายบล็อคในช่องหน้าต่างนี้
Hyperlink ใช้ปุ่มนี้ในการสร้างไฮเปอร์ลิงค์จากบล็อกไปยังไฟล์ใดๆหรื อไฟล์แบบแปลนอื่นๆ หรื อลิงค์ไปยังที่อยูข่ องเว็บไซต์ต่างๆ ในอินเตอร์ เน็ต เมื่อเราเลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปยังบล็อค จะปรากฏไอคอน แสดงชื่อไฟล์หรื อชื่อที่อยูบ่ นอินเตอร์ เน็ต หากมีการสร้างไฟล์ . dwf (drawing Web Format) เพื่อใช้บนอินเตอร์เน็ต เราสามารถคลิกบนบล็อกเพื่อไป ยังไฟล์หรื อที่อยูใ่ นอินเตอร์ เน็ตที่ลิงค์ไว้จากปุ่ มนี้ได้ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 108
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
ตัวอย่างที่ 1 การสร้างบล็อก สัญลักษณ์ หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขั้นตอน 1. เขียนสัญลักษณ์ หลอดฟลูออเรสเซนต์ ดังรู ปที่ 4.12
รู ปที่ 4.12 การทาบล็อก สัญลักษณ์หลอดฟลูออเรสเซนต์ 2. คลิกที่
จะเกิดหน้าต่าง ในรู ปที่ 4.13 ในช่อง Name ให้ต้ งั ชื่อ fluorescent (จุดที่ 1) 1 2
รู ปที่ 4.13 หน้าต่างกาหนดนิยามต่าง ๆของบล็อก
3. คลิกที่จุดที่ 2 เพื่อกาหนดจุดอ้างอิง ในการนาไปแทรกในแบบแปลน หน้าต่าง Block Definition จะหายไปชัว่ ครู่ เพื่อเข้าสู่ พ้นื ที่วาดภาพ ดังรู ปที่ 4.14
รู ปที่ 4.14 แสดงตัวช่วยเมื่อใช้ Object Snap to Endpoint เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 109
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
4. คลิก ที่แถบเครื่ องมือ Object Snap 5. เลื่อนเมาส์ ไปที่ปลายเส้น(จุด A )จะปรากฏหมากเกอร์เป็ นสี่ เหลี่ยมสี ส้ม ให้คลิก 1 ครั้ง 6. จะปรากฏหน้าต่าง Block Definition ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง พร้อมกับบอกพิกดั ในช่อง Base Point ดังรู ปที่ 4.15
3
รู ปที่ 4.15 แสดงจุดอ้างอิงของบล็อก
7. คลิกจุดที่ 3 เพื่อเลือกวัตถุ หน้าต่าง Block Definition จะหายไปชัว่ ครู่ เพื่อเข้าสู่ พ้นื ที่วาดภาพ ให้เลือกสัญลักษณ์หลอดไฟ (ใช้วธิ ีเลือกวัตถุแบบ Window) เสร็ จแล้วกด Enter 8. จะเข้าสู่ หน้าต่าง Block Definition อีกครั้ง พร้อมทั้งมีภาพตัวอย่างสัญลักษณ์หลอดไฟให้ดู ดังรู ปที่ 4.16 ภาพตัวอย่าง
รู ปที่ 4.16 หน้าต่างแสดงภาพตัวอย่างเมื่อเลือก วัตถุแล้ว
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 110
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
9. กดปุ่ ม OK เพื่อจบคาสั่งการสร้างบล็อก 10. ทดสอบดูวา่ สัญลักษณ์หลอดไฟที่สร้างขึ้น เป็ นบล็อกหรื อไม่ โดยใช้เมาส์คลิกที่สัญลักษณ์ หลอดไฟจะเห็นว่า มีจุดกริ๊ ปส์ ขึ้นมาจุดเดียว ที่ปลายเส้น ดังรู ปที่ 4.17 นัน่ แสดงว่า สัญลักษณ์หลอดไฟ ได้ถูกสร้างเป็ นบล็อกแล้ว
รู ปที่ 4.17 แสดงบล็อกหลอดฟลูออเรสเซนต์
4.4 คาสั่ งในการแทรกบล็อก(Insert Block)
,ไม่มี , I
ใช้สาหรับสอดแทรกบล็อกที่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจา ออกมาแสดงบนพื้นที่วาดภาพ ในตาแหน่งที่ตอ้ งการ นอกจากจะใช้คาสัง่ นี้ในการสอดแทรกบล็อคเข้ามาใช้งานแล้ว เรายังสามารถใช้ คาสั่งนี้ ในการสอดแทรกไฟล์แบบแปลน .dwg เข้ามารวมกับแบบแปลนที่กาลังใช้อยูไ่ ด้ เมื่อใช้คาสั่งนี้ จะปรากฏไดอะล็อคดั้งรู ปที่ 4.18
รู ปที่ 4.18 หน้าต่างแทรกบล็อก คาอธิบาย ตัวเลือกต่าง ๆในหน้าต่างแทรกบล็อก Name เมื่อคลิกบนปุ่ ม ของแถบรายการนี้ จะปรากฏชื่อบล็อคที่มีไฟล์แบบแปลนใช้งาน ทั้งหมด ให้เลือกชื่อบล็อคที่ตอ้ งการสอดแทรก Browse ใช้ปุ่มนี้ในกรณี ที่เราต้องการสอดแทรกไฟล์แบบแปลน .dwg อื่นๆ เข้ามารวมกับ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 111
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
แบบแปลน . dwg ที่กาลังใช้งานอยูโ่ ดยจะปรากฏชื่อไฟล์ที่จะถูกสอดแทรกเข้ามา ถูกแปลงให้เป็ นบล็อคชิ้นเดียว โดยมีชื่อบล็อคตามชื่อไฟล์โดยอัตโนมัติ แต่ถา้ คลิกให้ ปรากฏเครื่ องหมาย √ หน้าเช็คบอกซ์ Explode วัตถุต่างๆ ในไฟล์จะไม่ถูกแปลงให้ เป็ นบล็อคและจะยังคงเป็ นวัตถุเดิม Insertion Point ใช้สาหรับกาหนดตาแหน่งของจุดสอดแทรกบล็อก หรื อจุดสอดแทรกไฟล์ Scale หากต้องการเปลี่ยนสเกลของบล็อกให้ใหญ่ข้ ึนหรื อเล็กลงจากเดิม ให้ พิมพ์ค่าสเกล แฟคเตอร์เข้าไปในอิดิทบอกซ์ X และ Y ของตัวเลือกนี้ โดยที่ Xและ Y ควรจะมีค่า เท่าๆ กันหรื อคลิกปรากฏเครื่ องหมาย √หน้าเช็คบอกซ์ Uniform Scale ถ้าต้องการให้ บล็อคมี ขนาดใหญ่ข้ ึนหรื อเล็กลง ได้สัดส่ วน ( z เป็ นค่าการเปลี่ยนสเกลใน 3มิติ) Rotation
หากต้องการหมุนบล็อค ให้พิมพ์ค่ามุมที่ตอ้ งการเข้าไปในอิดิทบอกซ์ Angle (Specify on Screen เหมือน Insertion point และตัวเลือก Scale) Explode คลิกเช็คบอกซ์ Explode ให้ปรากฏเครื่ องหมาย √ เพื่อระเบิดบล็อคหรื อไฟล์แบบแปลน .dwg ที่ถูกสอดแทรกบนพื้นที่วาดภาพให้กลายเป็ นวัตถุธรรมดาเช่นเดิมหากคลิกให้ปรากฏ เครื่ องหมาย √ หน้าเช็คบอกซ์ Specify on Screen โปรแกรมจะแสดงคาถาม ให้เราแสดงค่าสเกลแฟคเตอร์ ผา่ นบรรทัด Command : แทนที่จะป้ อนค่าสเกลใน แนวแกน X,Y,Z ผ่านไดอะล็อค
สามารถแก้ไขวัตถุที่เป็ นบล็อคที่สอดแทรกเข้ามาบนพื้นที่วาดภาพได้ โดยไม่ตอ้ งใช้คาสั่ง Modify Explode หรื อคลิกที่ปุ่ม เพื่อระเบิดบล็อกออกเป็ นวัตถุแยกชิ้นเสี ยก่อน โดยดับเบิ้ลคลิก วัตถุที่ตอ้ งการแก้ไข จะเข้าสู่ ไดอะล็อกบล็อก Edit Block Definition ดังรู ปที่ 4.19
รู ปที่ 4.19 หน้าต่างแสดงการแก้ไขบล็อก
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 112
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
เมื่อกดปุ่ ม OK จะเข้าสู่ หน้าต่าง BLOCK AUTHORING PALETTES ดังรู ปที่ 4.20 แก้ไขบล็อกได้เลย คลิกที่ปุ่มนี้เมื่อต้องการออกจากหน้าต่าง BLOCK AUTHORING PALETTES
รู ปที่ 4.20 หน้าต่าง BLOCK AUTHORING PALETTES ตัวอย่างที่ 1 การแทรกบล็อก ลงไปในแบบ ขั้นตอน 1. คลิก จะปรากฏหน้าต่างดังรู ปที่ 4.21
1
รู ปที่ 4.21 หน้าต่างแทรกบล็อก 2. คลิกจุดที่ 1 เพื่อเลือกบล็อกหรื อคลิกที่ Brows เพื่อหาไฟล์ที่เก็บไว้ ในที่น้ ีเลือกบล็อกชื่อ fluorescent ที่ได้สร้างไว้ในตัวอย่างที่แล้ว 3. ถ้าไม่ตอ้ งการเปลี่ยนแปลงค่าใดๆ ให้กดปุ่ ม OK จะเข้าสู่ พ้นื ที่วาดภาพ โดยจะมีจุดอ้างอิงเป็ น ตาแหน่งที่เรากาหนด ดังรู ปที่ 4 .22
รู ปที่ 4.22 แสดงการแทรกบล็อก 4. เลื่อนเมาส์ไปคลิกตรงตาแหน่งที่ตอ้ งการวางสัญลักษณ์หลอดไฟ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 113
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
4.5 คาสั่งเปลี่ยนจุดอ้างอิงบล็อก(BASE)
ไม่มี , Draw Block Base , BASE
เมื่อเราใช้คาสั่ง Insert > Block แล้วเลือกปุ่ ม Browse…หรื อเมื่อใช้ DesignCenter เพื่อสอดแทรกไฟล์แบบแปลน .dwg ทั้งไฟล์เข้ามาใช้งานในแบบแปลนที่กาลังทางานอยู่ โดยที่ โปรแกรมกาหนดมาให้จุดสอดแทรกของไฟล์แบบแปลนใด ๆ จะอยูท่ ี่ X,Y = 0,0 ของแบบแปลน ที่ถูกสอดแทรกเข้ามาเสมอ ดังรู ปที่ 4.23 (ซ้าย) หากเราต้องการกาหนดจุดสอดแทรกในไฟล์ .dwg ใหม่ ดังรู ปที่ 4.23 (ขวา) เราสามารถเรี ยก คาสัง่ ออกมาใช้งานดังต่อไปนี้
จุดอ้างอิงที่ใหม่ จุดอ้างอิงที่ตาแหน่ง 0,0 ที่โปรแกรมกาหนดให้
รู ปที่ 4.23 การเปลี่ยนจุดอ้างอิง Command : BASE BASE point <0.0000,0.000,0.0000>: {คลิกบนปุ่ ม เพื่อใช้ Object snap โหมด End แล้ว คลิกซ้ายเมื่อปรากฏ บนจุดปลายเส้นที่ตอ้ งการ จุดสอดแทรก ของไฟล์แบบแปลนจะถูกกาหนดโดยใช้ ตาแหน่งใหม่ แทนที่จะใช้จุด 0 ,0,0 ตามที่โปรแกรมกาหนดให้ } เมื่อได้สอดแทรกไฟล์แบบแปลนเป็ นบล็อกหรื อสอดแทรกบล็อกลงบนตาแหน่งต่างๆ ในไฟล์ แบบแปลนแล้ว หากต้องการแก้ไขบล็อค เราไม่จาเป็ นต้องระเบิดบล็อกนั้นแล้วสร้างบล็อกใหม่ เราสามารถใช้คาสัง่ Modify Xref and Block Editing Edit Reference In-Place แก้ไขเปลี่ยนแปลงบล็อค ได้ทนั ที
หลังจากที่กาหนดจุดสอดแทรก ( Base) ของไฟล์ .dwg แล้ว เราจะต้องใช้คาสั่ง File หรือคลิกที่ปุ่ม
Save
เพื่อบันทึกไฟล์แบบแปลน .dwg
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 114
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
4.6 คาสั่งบันทึกบล็อก(WBLOCK)
ไม่มี , ไม่มี, WBLOCK หรื อ W
ใช้สาหรับเก็บบันทึกบล็อก ที่อยูใ่ นหน่วยความจาของไฟล์แบบแปลนใช้งาน ลงในไฟล์ แบบแปลนใหม่ในฟอร์ แมต .dwg เพื่อจะนาบล็อคนั้นไปสอดแทรกเข้าไปใช้งานในไฟล์แบบแปลนอื่นๆ คาสั่งนี้ไม่มีในเมนูบาร์ และทูลบาร์ เราสามารถพิมพ์คาสั่ง WBLOCK แล้วกดปุ่ ม Enter จะปรากฏ ไดอะล็อค ดังรู ปที่ 4.24
รู ปที่ 4.24 หน้าต่างบันทึกบล็อก
คาอธิบาย ตัวเลือก ในหน้าต่างเขียนบล็อก (Write Block) Source Block ใช้ปุ่มเรดิโอ แล้วเลือกบล็อกจากชื่อบล็อกที่ปรากฏในรายการเพื่อคัดลอกบล็อก ที่ตอ้ งการลงไฟล์ .dwg หรื อใช้ปุ่มเรดิโอ Entire drawing เพื่อเลือกวัตถุท้ งั หมดในไฟล์แบบแปลนใช้งาน เพื่อเก็บบันทึกเป็ นบล็อก ในไฟล์ใหม่หรื อปุ่ มเรดิโอ Objects เพื่อเลือกวัตถุที่อยูบ่ นพื้นที่วาดภาพ แล้วบันทึกลงในไฟล์ .dwg เมื่อใช้ตวั เลือก Objects เราจะต้องกาหนดจุดสอดแทรกเหมือนกับการสร้างบล็อก โดยคลิกบนปุ่ ม ไอคอน Pick point และจะต้องเลือกวัตถุดว้ ยปุ่ มไอคอน Select objects เรายังสามารถเลือก Retain เพื่อเก็บวัตถุเดิมไว้ หรื อเลือก Convert to block เพื่อแปลง วัตถุที่เลือกให้กลายเป็ นบล็อกด้วย หรื อเลือก Delete from drawing เพื่อลบวัตถุน้ นั ออกจากพื้นที่วาดภาพ หลังจากที่บนั ทึกวัตถุที่ถูกเลือกลงในไฟล์ .dwg ใหม่ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 115
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
Destination ใช้ตวั เลือกนี้ ในการพิมพ์ชื่อไฟล์แบบแปลนที่ตอ้ งการกาหนดให้วตั ถุที่ถูกเลือก ใน Source ในอิดิทบอกซ์ File name and path แล้วคลิกบนปุ่ ม เพื่อเลือก โฟลเดอร์ ที่ตอ้ งการ แล้วเลือกหน่วยวัดใน Insert unit ที่จะใช้ในการปรับสเกลเมื่อทา การสอดแทรกไฟล์ ถ้าชิ้นงานในไฟล์มีหน่วยเป็ นมิลลิเมตรให้เลือก Millimeters ถ้าชิ้นงานในไฟล์มีหน่วยเป็ นเซนติเมตร ให้เลือก Centimeters ถ้าชิ้นงานในไฟล์มีหน่วย เป็ นเมตร ให้เลือก Meters การเลือกหน่วยที่ถูกต้องจะช่วยให้การสอดแทรกบล็อคด้วย Design Center มีขนาดที่ถูกต้องเราควรเลือก Unitless ในกรณี ที่ตอ้ งการให้สเกลของ ไฟล์ที่สอดแทรกไม่เปลี่ยนแปลงและมีขนาดเดียวกันกับไฟล์ตน้ ฉบับ โดยไม่คานึงถึง หน่วยวัดภายในไฟล์
4.7 คาสั่งเขียนตัวอักษร(Text)
, Draw Text …..
คาสัง่ ในการเขียนตัวอักษร แบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ 1) การเขียนข้อความหลายบรรทัด(Multiline Text)โดยการใช้คาสั่ง Draw Text Multiline Text หรื อคลิกที่ปุ่ม A ที่แถบเครื่ องมือเขียนภาพ การเขียนข้อความแบบนี้จะใช้ฟอนท์ที่มี ส่ วนขยาย .ttf (True type fonts) ของระบบปฏิบตั ิการวินโดว์ 2) การเขียนข้อความบรรทัดเดียว(Single Line Text) โดยการใช้คาสั่ง Draw Text Single Line Text หรื อคลิกที่ปุ่ม ที่แถบเครื่ องมือเขียนภาพ การเขียนข้อความแบบนี้จะใช้ฟอนท์ .shx ซึ่งเป็ นฟอนท์มาตรฐานของ AutoCAD ก่อนที่จะเลือกใช้วธิ ี ใดในการเขียนข้อความลงในแบบแปลนนั้น เราควรจะต้องพิจารณาข้อดีและ ข้อเสี ยของการเขียนตัวอักษรแต่ละแบบเสี ยก่อน เพื่อที่จะได้ขอ้ ความตัวอักษรที่เหมาะสมกับงานของเรา มากที่สุด เพื่อป้ องกันมิให้เกิดปั ญหาที่อาจเกิดขึ้นในการพิมพ์แบบแปลน , DrawTextMultiline Text, MTEXT หรื อ MT ใช้คาสั่งนี้สาหรับเขียนตัวอักษรหรื อข้อความหลาย ๆ บรรทัดติดต่อกันเป็ นย่อหน้า (Paragraph) ลงบนพื้นที่วาดภาพ เมื่อใช้คาสั่งนี้ จะปรากฏหน้าต่างในลักษณะเดียวกันกับโปรแกรมเวิร์ดโปรเซสเซอร์ ของวินโดว์ เราสามารถที่จะพิมพ์ขอ้ ความตัวอักษร กาหนดรู ปแบบ สี เขียนเศษส่ วนและเขียนสัญลักษณ์ พิเศษต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก เมื่อเรี ยกคาสั่งออกมาใช้งาน จะปรากฏข้อความดังต่อไปนี้ 4.7.1 การเขียนตัวอักษรหลายบรรทัด(Multiline Text)
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 116
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
Command: _mtext Current text style: “Standard” Text height: 2.5 //โปรแกรม รายงานชื่อรู ปแบบตัวอักษรใช้งาน STANDARD และความสู งของตัวอักษร 2.5 Specify first corner: //คลิกที่มุมซ้ายด้านบนของพื้นที่วาดภาพ เพื่อกาหนดจุดเริ่ มต้นของ กรอบสี่ เหลี่ยมชัว่ คราว ซึ่ งเป็ นขอบเขตในการเขียนตัวอักษร Specify opposite corner or [Height/Justify/Line spacing/Rotation/Style/Width]: //คลิกที่มุมขวาด้านล่างของพื้นที่วาดภาพ เพื่อกาหนดอีกมุมหนึ่งของกรอบสี่ เหลี่ยม ชัว่ คราว ซึ่ งเป็ นขอบเขตในการเขียนตัวอักษร ซึ่ งจะปรากฏหน้าต่าง Text Formatting ดังรู ปที่ 4.25)
รู ปที่ 4.25 รู ปแบบข้อความ ในขณะที่ปรากฏข้อความ Specify opposite corner or [Height/Line spacing/Rotation/Style/Width]: บนบรรทัดป้ อนคาสั่งเราสามารถใช้ตวั เลือกต่าง ๆ เพื่อกาหนดค่าเริ่ มต้นต่าง ๆ ในการเขียนตัวอักษร โดยมีรายละเอียดของตัวเลือกดังต่อไปนี้ Height พิมพ์ H จะปรากฏข้อความ Specify height <2.5>: ให้พิมพ์ค่าความสู งของตัวอักษร ที่ตอ้ งการ Justify พิมพ์ J จะปรากฏข้อความ Enter justification [TL/TC/TR/ML/MC/ZMR/BL/BC/BR] <TL>: ให้เลือกตัวเลือกสาหรับการจัดตัวอักษรชิดซ้ายขวา TL Top Left จะจัดให้กลุ่มของตัวอักษรชิดมุมซ้ายด้านบน TC Top Center จะจัดให้กลุ่มของตัวอักษรชิดกึ่งกลางของด้านบน ในขณะที่บรรทัดป้อนคาสั่งปรากฏ Specify opposite comer or [Height/Justify/Line spacing/Rotation/Style/Width]:ก่อนที่จะใช้เมาส์คลิกเพื่อกาหนดมุมขวาด้านล่างของกรอบ สี่เหลี่ยมชั่วคราวในทันที เราสามารถกาหนดความสูง (Height) การจัดตัวอักษรชิดซ้ายขวา(Justify) กาหนดระยะห่างระหว่างบรรทัด (Line spacing) ฯลฯ ของย่อหน้าล่วงหน้าไว้ ก่อนที่จะเข้าไปยัง หน้าต่างText Formatting ดังรูปที่ 4.25 หากเรากาหนดตัวเลือกต่าง ๆ บนบรรทัดตัวเลือกนี้แล้ว เมื่อเข้าไปยังหน้าต่าง Text Formatting จะมีผลต่อการใช้งานในทันที เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 117
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร TR Top Right จะจัดให้กลุ่มของตัวอักษรชิดมุมขวาด้านบน ML Middle Left จะจัดให้กลุ่มของตัวอักษรชิดกึ่งกลางของด้านซ้าย MC Middle Center จะจัดให้กลุ่มของตัวอักษรชิดจุดศูนย์กลางของตัวอักษร MR Middle Right จะจัดให้กลุ่มของตัวอักษรชิดกึ่งกลางของด้านขวา BL Bottom Left จะจัดให้กลุ่มของตัวอักษรชิดมุมซ้ายด้านล่าง BC Bottom Center จะจัดให้กลุ่มของตัวอักษรชิดกึ่งกลางของด้านล่าง BR Bottom Right จะจัดให้กลุ่มของตัวอักษรชิดมุมขวาด้านล่าง Line spacing ใช้สาหรับกาหนดระยะห่างระหว่างบรรทัด จะปรากฏข้อความ Enter line spacing type [At least/Exactly] <At least>: หากเลือก At least จะทาให้ระยะห่างระหว่างบรรทัดไม่คงที่จะเปลี่ยนไปตามความสู งของ ตัวอักษรดังรู ปที่ 4.26 (ซ้าย) แต่ถา้ เลือก Exactly จะทาให้ระยะห่างระหว่างบรรทัดคงที่เสมอและจะไม่เปลี่ยนแปลงไปตาม ความสู งของตัวอักษรดังรู ปที่ 4.26 (ขวา) เมื่อเลือกตัวเลือกในบรรทัดนี้แล้ว จะปรากฏ ข้อความ Enter line spacing factor or distance <1x>: หากต้องการกาหนดระยะห่าง ระหว่างาบรรทัดเท่ากับ 1 บรรทัด ให้กดปุ่ ม เพื่อยอมรับค่า 1x หากต้องการ ระยะห่าง 1 บรรทัดครึ่ งให้พิมพ์ 1.5 x หากต้องการระยะห่าง 2 บรรทัด ให้พิมพ์ 2x Specifies how the spocing between lines of text Is adjusted. If you select At Least,
AutoCAD automatically adds space Between lines based on the height of the largest Character in the line. At Least
You con use this option to Insert text into a table. To ensure that line spacing in AutoCAD is identical in multiple mtext objects, use Exactly and set the spacing Increment to the same value in each mtext object. Exactly
รู ปที่ 4.26 แสดงการใช้คาสั่งจัดรู ปแบบข้อความ Rotation พิมพ์ R จะปรากฏข้อความ Specify rotation angle <0>: ให้ระบุมุมหมุน Style พิมพ์ S จะปรากฏข้อความ Enter style name (or “?’) <STANDARD>: พิมพ์ชื่อ รู ปแบบตัวอักษรหรื อพิมพ์เครื่ องหมาย ? หากจาชื่อรู ปแบบไม่ได้ Width พิมพ์ W จะปรากฏข้อความ Specify width: ให้พิมพ์ค่าความกว้างของกรอบสี่ เหลี่ยม ซึ่ งกาหนดขอบเขตของข้อความโดยวัดระยะจากจุด first comer: ที่เราได้กาหนดไว้ใน ตอนต้นของคาสั่ง เราสามารถใช้เมาส์คลิก เพื่อกาหนดความกว้างได้เช่นเดียวกัน
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 118
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
จัดกลางแนวตั้ง
จัดกลางแนวนอน
ชิดซ้าย ชิดขวา
ชิดบน
ชิดล่าง
รู ปที่ 4.27 แสดงเมนูจดั ข้อความ
รู ปที่ 4.28 แสดงการเรี ยกใช้คาสั่งจัดรู ปแบบข้อความ
เมื่อเข้าไปในหน้าต่าง Text Formatting เราจะไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลง Line spacing และ Rotation ได้ นอกจากจะเขียนตัวอักษรและออกจากหน้าต่าง Text Formatting ไปเสียก่อน แล้วจึงใช้ คาสั่ง Modify Properties จะปรากฏหน้าต่าง Properties ดังรูปที่ 4.28(ซ้าย) แล้วเลือก ตัวอักษร MTEXTเราสามารถปรับแต่งค่าต่าง ๆ ของตัวอักษร MTEXT ได้ตามต้องการ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 119
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร หากคลิกขวาบนพื้นที่เขียนตัวอักษรของหน้าต่าง Text Formatting จะปรากฏเคอร์เซอร์เมนู ดังรู ปที่ 4.32(ขวา) เราสามารถเลือกคาสั่งต่าง ๆ อาทิ เช่น ย้อนกลับ(Undo) ทาซ้ า(Redo) ตัด(Cut) คัดลอก(Copy) วาง(Paste) สอดแทรกฟิ ลด์ขอ้ มูล(Insert Field) ตั้งย่อหน้าและตั้งแท็ป(Indents and Tabs) จัดย่อหน้าชิดซ้ายขวา(Justification) ค้นหาและแทนที่(Find and Replace) เลือกตัวอักษร ทั้งหมด(Select All) เปลี่ยนตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ถูกเลือกเป็ นตัวพิมพ์ใหญ่(Uppercase)เปลี่ยน ตัวอักษรภาอังกฤษที่ถูกเลือกเป็ นตัวพิมพ์เล็ก (Lowercase) เปิ ดโหมด Caps Lock อัตโนมัติ (AutoCARS) ยกเลิกฟอร์แมตตัวอักษร(Remove Formatting) รวมย่อหน้าหลายๆ ย่อหน้าเข้าด้วยกัน (Combine Paragraphs) สอดแทรกสัญลักษณ์พิเศษ(Symbol) นาตัวอักษรจากเทกซ์ไฟล์ .tct และ .rtf เข้ามาใช้งาน(mport text) กาหนดการระบายพื้นที่ดา้ นหลัง(Background Mask) และกาหนดชุดตัวอักษร (Character Set) ถ้าเราเขียนตัวอักษรด้วยคาสั่ง Draw TextMultiline Text ลงในแบบแปลนและต้องการ ให้สามารถเปลี่ยนฟอนท์ใหม่ท้ งั แบบแปลนได้อย่างสะดวก โดยไม่ตอ้ งเสี ยเวลาตามไปแก้ไขตัวอักษร MTEXT แต่ละย่อหน้า เราสามารถแก้ไขเพียงจุดเดียว ตัวอักษรในแบบแปลนทั้งหมดจะเปลี่ยนฟอนท์ ใหม่โดยอัตโนมัติ แต่มีขอ้ ห้ามที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามก็คือ เราจะต้องใช้ฟอนท์ที่สร้างจากคาสั่ง FormatText Style เท่านั้น ห้ามเปลี่ยนฟอนท์ใหม่จากแถบรายการ Font ห้ามใช้ตวั หนา (Bold) และ ตัวเอียง (Italic) บนหน้าต่าง Text Formatting อย่างไรก็ตาม เราสามารถแก้ไขความสู ง ขีดเส้นใต้และ กาหนดสี ของตัวอักษรได้อย่างอิสระ หากต้องการเปลี่ยนฟอนท์ใหม่ ให้ใช้คาสั่ง FormatText Style เท่านั้น เพียงเท่านี้ เราสามารถเปลี่ยนฟอนท์ใหม่ให้กบั ตัวอักษร MTEXT ทั้งหมดที่อยูใ่ นแบบแปลน โดยใช้คาสั่ง FormatText Style ช่วยในการเปลี่ยนฟอนท์ใหม่
ในการใช้คาสั่งต่าง ๆ ที่อยู่บนเคอร์เซอร์เมนู ดังรูปที่ 4.28(ขวา) ในบางคาสั่ง เช่น Cut, Copy, Uppercase ฯลฯ นั้น เราจะต้องมีการไฮไลท์ตัวอักษรต่าง ๆ ก่อน จึงจะสามารถใช้คาสั่งเหล่านั้นได้ ส่วนบางคาสั่ง เช่น Paste, Insert Field, ฯลฯ นั้นเราเพียงวางเคอร์เซอร์ในตาแหน่งที่ต้อง สอดแทรกตัวอักษรหรือสัญลักษณ์เท่านั้น เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 120
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
เมื่อเข้ามาในหน้าต่าง Text Formatting ดังรู ปที่ 4.29 เราสามารถเลือกสไตล์ตวั อักษร กาหนด ความสู ง กาหนดตัวหนา ตัวเอียง ขีดเส้นใต้ เป็ นต้น และยังสามารถใช้คาสัง่ อื่น ๆ จากเคอร์ เซอร์ เมนู ต่อไปได้ โดยมีรายละเอียดของตัวเลือกดังต่อไปนี้ font
Style
Bold
text height
Under line
Stack
Undo
Redo
Italic
รู ปที่ 4.29 แถบเครื่ องมือมาตรฐาน ใจการจัดรู ปแบบข้อความ Style ใช้คาสั่ง Format Test Style ในการกาหนดรู ปแบบตัวอักษรและเลือกฟอนท์ใช้งาน เริ่ มต้น Font ใช้แถบรายการนี้สาหรับเลือกฟอนท์ .ttf (ฟอนท์ .ttf ซึ่งปรากฏเป็ นรู ป ไอคอนแปลงมาจากไฟล์ .shx ของ AutoCAD) หรื อเลือกใช้ฟอนท์ .ttf ของ Windows ซึ่งปรากฏเป็ นรู ปไอคอน เมื่อเริ่ มเข้ามาในหน้าต่าง Text Formatting เราสามารถเปลี่ยนฟอนท์ใหม่ได้เหมือนในเวิร์ดโปรเซสเซอร์ ทัว่ ไป อนึ่งถ้าเราเปลี่ยน ฟอนท์โดยไม่ผา่ นคาสัง่ Format Text style เราจะไม่สามารถเปลี่ยนฟอนท์ให้กบั ตัวอักษร MTEXT ที่มีอยูท่ ้ งั หมดในแบบแปลนโดยอัตโนมัติเราจะต้องตามไปแก้ไข เปลี่ยนแปลงฟอนท์ให้กบั ตัวอักษร MTEXT แต่ละย่อหน้าด้วยตนเอง ซึ่ งจะเสี ยเวลา เป็ นอย่างมาก Text height กาหนดความสู งของตัวอักษรที่ตอ้ งการ ความสู งที่เรากาหนดจะมีผลกับตัวอักษร ตัวต่อไปหากต้องการแก้ไขความสู งของตัวอักษรที่พิมพ์ไปแล้ว ให้ไฮไลท์ โดยคลิก และลาก เคอร์ เซอร์ ไปบนตัวอักษรที่ตอ้ งการแล้วป้ อนค่าความสู งใหม่ที่ตอ้ งการ Bold ตัวอักษรตัวหนา หากต้องการแก้ไขความหนาของตัวอักษรที่พิมพ์ไปแล้วให้ไฮไลท์ โดยคลิกและลากเคอร์เซอร์ไปบนตัวอักษรที่ตอ้ งการ แล้วคลิกบนปุ่ ม Italic ตัวอักษรตัวเอียง หากต้องการแก้ไขตัวเอียงของตัวอักษรที่พิมพ์ไปแล้ว ให้ไฮไลท์ โดยคลิกและลากเคอร์เซอร์ไปบนตัวอักษรที่ตอ้ งการ แล้วคลิกบนปุ่ ม หากเลือกใช้งาน Bold หรื อ Italic เราจะสู ญเสี ยความสามารถในการเปลี่ยนฟอนท์ ให้กบั ตัวอักษร MTEXT ที่เป็ น Bold หรื อ Italic ที่มีอยูท่ ้ งั หมดในแบบแปลน โดยอัตโนมัติ เราจะต้องตามไปแก้ไขเปลี่ยนแปลงฟอนท์ให้กบั ตัวอักษร MTEXT แต่ละย่อหน้าด้วยตนเอง เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 121
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
Underline ใช้สาหรับขีดเส้นใต้ หากต้องการแก้ไขตัวอักษรที่พิมพ์ไปแล้ว ให้ไฮไลท์โดยคลิกและ ลากเคอร์เซอร์ไปบนตัวอักษรที่ตอ้ งการแล้วคลิกบนปุ่ ม Undo ใช้สาหรับย้อนกลับผลของคาสั่งไปยังจุดที่ก่อนจะมีขอ้ ผิดพลาด Redo ทาซ้ าคาสั่งหรื อบย้อนกลับผลของคาสั่ง Undo Stack ใช้สาหรับเขียนเศษส่ วนและพิกดั ความเผือ่ โดยพิมพ์ตวั เลขส่ วนในรู ปแบบ ½ หรื อ 1 #2 หรื อ +0.001^- 0.002 แล้วไฮไลท์ตวั เลขแต่ละชุด แล้วคลิกบนปุ่ ม 1 1 0.001 , , จะปรากฏการจัดรู ปแบบเศษส่ วนใหม่คือ ตามลาดับ 2 2 0.002
หากต้องการเปลี่ยนแปลงหรื อกาหนดรู ปแบบใหม่ให้กบั เศษส่ วน เราจะต้องไฮไลท์เศษส่ วนและพิกดั ความเผือ่ นั้น แล้วคลิกขวา เลือกคาสั่ง Properties จะปรากฏไดอะล็อคดังรู ปที่ 4.30 แล้วแก้ไข เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของเศษส่ วนและพิกดั ความเผือ่ ได้ตามต้องการ
รู ปที่ 4.30 หน้าต่างแสดงคุณสมบัติของสแตก Upper คือ เศษส่ วนหรื อพิกดั ความเผือ่ บน Lower คือ เศษส่ วนหรื อพิกดั ความเผือ่ ตัวล่าง Style ใช้แถบรายการนี้ สาหรับเลือกรู ปแบบของเศษส่ วนและพิกดั ความเผือ่ (Horizontal),
1
2
Fraction (Diagonal),
0.001 0.002
1 2
Fraction
Tolerance
Position ใช้แถบรายการนี้สาหรับเลือกการจัดชิดด้านบน (Top) การจัดให้อยูต่ รงกลาง (Center) และจัดให้ชิดด้านล่าง (Bottom) Text size ใช้แถบรายการนี้สาหรับกาหนดแปอร์ เซนต์ความสู งของตัวเลขเศษส่ วนหรื อพิกดั ความเผือ่
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 122
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
หากคลิกบนปุ่ ม AutoStack บนไดอะล็อคดังรู ปที่ 4 .30 เราจะสามารถกาหนดการเปลี่ยนโหมด ระหว่างการเขียนเศษส่ วนและพิกดั ความเผือ่ โดยอัตโนมัติหรื อการเขียนเศษส่ วนและพิกดั ความเผือ่ โดยใช้ปุ่ม Stack ด้วยตนเอง ดังรู ปที่ 4.31
รู ปที่ 4.31 หน้าต่างแสดงคุณสมบัติสแตกอัตโนมัติ Enable AutoStacking หากไม่ตอ้ งการใช้การเขียนเศษส่ วนโดยอัตโนมัติ ให้ปลดเครื่ องหมาย ออกจากเช็คบอกซ์น้ ี ถ้าปรากฏเครื่ องหมาย หน้าเช็คบอกซ์น้ ี เมื่อเราพิมพ์ ตัวเลข ½ หรื อ 1#2 หรื อ 1^2 และกดปุ่ ม Space bar โปรแกรมจะแปลง ตัวเลขให้เป็ นเศษส่ วนแบบ Diagonal Fraction หรื อ Horizontal Fraction หรื อ Tolerance โดยอัตโนมัติ Remove leading blank หากมีเครื่ องหมาย หน้าเช็คบอกซ์น้ ีโปรแกรมจะลบช่องว่างนาหน้า หากเราพิมพ์ 1 2/3 หากไม่มีเครื่ องหมาย หน้าเช็คบอกซ์น้ ี เศษส่ วน จะปรากฏเป็ น เป็ น
1
1
2 3
2 3
หากมีเครื่ องหมาย หน้าเช็คบอกซ์น้ ี เศษส่ วนปรากฏ
สังเกตว่าช่องว่างนาหน้าเศษส่ วน 2/3 ถูกลบทิ้งไปโดยอัตโนมัติ
Convert it to a diagonal fraction ใช้ปุ่มเรดิโอนี้ เพื่อแปลงให้เป็ นเศษส่ วนแบบทแยง
1
2 1 2
Convert it to a horizontal fraction ใช้ปุ่มเรดิโอนี้เพื่อแปลงให้เป็ นเศษส่ วนแบบแนวนอน Don’t show this dialog again หากมีเครื่ องหมาย หน้าเช็คบอกซ์น้ ี จะไม่ปรากฏ ไดอะล็อคดังรู ปที่ 4 .31 ทุกครั้งที่มีการแปลงตัวเลขให้เป็ น เศษส่ วนอัตโนมัติ Color ใช้แถบรายการนี้บนหน้าต่าง Text Formatting สาหรับกาหนดสี ให้ตวั อักษรที่ จะพิมพ์ใหม่ หากต้องการแก้ไขสี ของตัวอักษรที่พิมพ์ไปแล้ว ให้ไฮไลท์ โดย
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 123
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
คลิกและลากเคอร์ เซอร์ ไปบน ตัวอักษรที่ตอ้ งการแก้ไข แล้วคลิกบนแถบ รายการนี้ เพื่อเลือกสี ที่ตอ้ งการ OK (Ctrl+Enter) บนหน้าต่าง Text Formatting หลังจากที่เราพิมพ์ตวั อักษรและข้อความที่ตอ้ งการ เรี ยบร้อยแล้ว หากไม่ตอ้ งการใช้เมาส์คลิกบนปุ่ ม OK เพื่อออกจากหน้าต่าง เราสามารถกดปุ่ ม ค้างไว้ แล้วกดปุ่ ม 4.7.1.1 การเขียนสั ญลักษณ์พเิ ศษ การเขียนสัญลักษณ์พิเศษ เช่น Diameter, Degree, Plus/Minus โดยใช้คาสั่ง Draw Text Multiline Text บนระบบปฏิบตั ิการวินโดว์ XP ที่มีการกาหนดรหัส Code Page ไว้เป็ น ANSI 874 (รหัส Code page ของประเทศไทย) เราจะต้องเขียนสัญลักษณ์พิเศษดังกล่าวด้วยการป้ อน รหัส Unicode อาทิ เช่น \U+2205 (Diameter เครื่ องหมายเส้นผ่าศูนย์กลาง ), \U+00B1 (Plus/minus เครื่ องหมายบวกลบ), \U+00B0 (Degrees เครื่ องหมายองศา) เราจะไม่สามารถเรี ยกใช้สัญลักษณ์พิเศษ ดังกล่าวบนช็อทคัทเมนู ดังรู ปที่ 4 .32 ได้ ส่ วนสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ อาทิ เช่น almost Equal (เครื่ องหมายประมาณ), Angle (เครื่ องหมายมุม) และสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ เราสามารถเรี ยกใช้งานได้ จากช็อทคัทเมนู ดังรู ปที่ 4.32 ได้ตามปกติ
รู ปที่ 4.32 แสดง Code สัญลักษณ์
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 124
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
สัญลักษณ์ (Symbol) Degrees %%d, Plus/Minus % p. Diameter %%c บนช็อทคัทเมนูดงั รู ปที่ 4 .32 ได้รับการออกแบบมาให้ใช้กบั ANSI 1252 ซึ่งเป็ น รหัส Code Page ของอเมริ กา ดังนั้น เมื่อ นามาใช้กบั ฟอนท์ .ttf ของประเทศไทย ซึ่งมีรหัส Code Page เป็ น ANSI 874 จึงไม่สามารถใช้ รหัสควบคุม (Control code) ในการเขียนสัญลักษณ์ ดังกล่าวได้ อย่างไรก็ตาม เราสามารถแก้ไขปั ญหา นี้ได้ โดยก่อนอื่น ต้องแน่ใจว่า Code Page ของระบบปฏิบตั ิการวินโดว์เป็ น ANSI 874 แล้วใช้รหัส Unicode เขียนสัญลักษณ์ ได้ตามต้องการ ส่ วนสัญลักษณ์พิเศษต่าง ๆ เราไม่จาเป็ นต้องพิมพ์รหัส Unicode เนื่องจากเราสามารถเรี ยกสัญลักษณ์พิเศษมาใช้งานได้จากช็อทคัทเมนูได้ทนั ที ในการเขียนตัวอักษรและสัญลักษณ์พิเศษใน AutoCAD 2007 เราควรสร้างสไตล์ตวั อักษรเริ่ มต้น โดยช้ าสั่ง Format Text style คลิกบนปุ่ ม New ตั้งชื่อ Style Name อาทิ เช่น AngsanaUPC หรื อ ตั้งชื่ออื่น ๆ ตามที่ฟอนท์ที่เลือกใช้ แล้วเลือกฟอนท์ AngsanaUPC, BrowalliaUPC, หรื อฟอนท์ CordiaUPC (ฟอนท์ภาษาไทย UPC อื่น ๆ สามารถนามาเขียนตัวอักษรภาษาไทยได้ แต่จะไม่สามารถ ใช้งานเครื่ องหมายเส้นผ่าศูนย์กลาง เครื่ องหมายบวกลบและเครื่ องหมายองศาได้) อนึ่ง เมื่อเลือกใช้ สัญลักษณ์พิเศษ โปรแกรมจะเลือกฟอนท์ตวั อักษรให้โดยอัตโนมัติ ฟอนท์ตวั อักษรที่โปรแกรมกาหนด มาให้ คือ ฟอนท์ ISOCPEUR เราสามารถเปลี่ยนไปใช้ฟอนท์ ISOCP, ISOCP2, ISOCP3, ISOCT, ISOCT2, ISOCT3, ISOCTEUR รวมทั้งฟอนท์ Simplex, Complex และฟอนท์อื่นๆ เฉพาะที่มี สัญลักษณ์ นาหน้า ส่ วนฟอนท์อื่น ๆ ที่มีสัญลักษณ์ นาหน้าจะไม่สามารถใช้ สัญลักษณ์พิเศษดังกล่าวได้
รู ปที่ 4.33 แผนผังอักขระ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 125
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร นอกจากสัญลักษณ์พิเศษต่าง ๆ เรายังสามารถเรี ยกใช้งานสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ อีกจานวนมาก โดยเลือกคาสั่ง Other บนช็อทคัทเมนู ดังรู ปที่ 4.32 จะปรากฏไดอะล็อค Character Map ของวินโดว์ XP ดังรู ปที่ 4.33 เราสามารถเลือก Font (ฟอนท์ที่สามารถใช้งานได้จะต้องเป็ นฟอนท์ .ttf ที่แปลงมาจาก ฟอนท์ .shx ของ AutoCAD เท่านั้น อาทิ เช่น ฟอนท์ Simplex, Complex, Romanc และอื่น ๆเป็ นต้น) แล้วเลือกสัญลักษณ์ในตาราง คลิกบนปุ่ ม Select ไฮไลท์สัญลักษณ์ในอิดิทบอกซ์ Characters to copy คลิกบนปุ่ ม copy เพื่อคัดลอกสัญลักษณ์เข้าสู่ หน่วยความจา ต่อไปกลับสู่ หน้าต่าง Text Formatting ของ AutoCAD แล้วคลิกขวาในตาแหน่งที่ตอ้ งการและเลือกคาสั่ง Paste สัญลักษณ์พิเศษก็จะปรากฏ บนหน้าต่าง Text Formatting ในการเขียนเศษส่ วน (Fracton) ซับสคริ ปท์ (Subscript) และซุปเปอร์ สคริ ปท์ (Superscript) ด้วยคาสั่ง DrawTextMultiline Text สามารถทาได้โดยง่ายโดยใช้ปุ่ม ไอคอน (Stack) บนหน้าต่าง Formatting โดยใช้ร่วมกับเครื่ องหมาย ^,# และ / ดูรายละเอียด ในตาราง ดังรู ปที่ 4.34 สัญลักษณ์ Subscript
รู ปแบบการพิมพ์ A[ช่องว่าง]^12
ตัวอย่ าง A12
Superscript ยกกาลัง เศษส่วนแบบ Diagonal เศษส่วนแบบ Horizontal
10-2^[ช่องว่าง]
10-2
5 1#2
5 12
2 1/4
2
1 4
ขั้นตอนการใช้ งาน ไฮไลท์เฉพาะ [ช่องว่าง]^12 แล้วคลิกปุ่ ม ตัวอักษร A ไม่ตอ้ งไอไลท์ ไฮไลท์เฉพาะ -2^[ช่องว่าง] แล้วคลิกปุ่ ม ตัวเลข 10 ไม่ตอ้ งไฮไลท์ ไฮไลท์เฉพาะ 1#2 แล้วคลิกปุ่ ม ตัวเลข 5 ไม่ตอ้ งไฮไลท์ ไฮไลท์เฉพาะ ¼ แล้วคลิกปุ่ ม ตัวเลข 2 ไม่ตอ้ งไฮไลท์
รู ปที่ 4.34 ตาราง การพิมพ์ตวั ห้อย ตัวยก และเศษส่ วน หลังจากที่เขียนซับสคริปท์ ซุปเปอร์สคริปท์และเศษส่วนต่าง ๆ แล้ว หากต้องการปรับขนาดใหม่ ให้ไฮไลท์ซับคริปท์ ซูปเปอร์สคริปท์หรือเศษส่วนนั้น แล้วคลิกขวาและเลือกคาสั่ง Properties จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 4.30 ราสามารถกาหนดขนาดความสูงของซับสคริปท์ ซุปเปอร์สคริปท์ หรือเศษส่วนนั้นได้เป็นเปอร์เซ็นต์ของความสูงในแถบรายการ Text size ได้ตามต้องการ สังเกตว่าอันที่จริง Subscript แล้ว Superscript ดัดแปลงมาจากการใช้เศษส่วนแบบ Tolerance นั่นเอง โดยที่ Subscript จะใช้ค่าLower แต่ Superscript จะใช้ค่า Upper นั่นเอง สังเกตว่าหลังจากที่เราพิมพ์ ½ หรือ ¼ แล้วกดปุ่ม Space bar จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 4.31 ขึ้นมาบนจอภาพเพื่อให้โปรแกรมสร้างเศษส่วนโดยอัตโนมัติ หากไม่ต้องการใช้เศษส่วนอัตโนมัติ (AutoStack) ก็ให้ปลดเครื่องหมาย ออกจาก Enable AutoStacking แล้วใช้ปุ่ม แทนได้เช่นเดียวกัน เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 126
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
4.7.1.2 การเขียนตัวอักษรแบบจัดย่อหน้ า การเขียนตัวอักษรแบบจัดย่อหน้าให้อยูใ่ นแนวเดียวกันในคาสั่ง Draw Text Multiline สามารถทาได้ง่าย เหมือนกับการจัดย่อหน้าเอกสารในโปรแกรม Microsoft Word โดย สามารถกาหนดตาแหน่ง First line, ตาแหน่ง ตาแหน่งย่อหน้าได้ ดังรู ปที่ 4.35 ซ้าย
Paragraph และสามารถตั้ง
Tab เพื่อจัด
รู ปที่ 4.35 แสดงการพิมพ์แบบจัดย่อหน้า
ในการจัดย่อหน้าเรามักจะพิมพ์ข้อความหรือนาข้อความจากเทกซ์ไฟล์ .txt เข้ามาใช้งานเสียก่อน แล้วจึงไฮไลท์ ข้อความที่ต้องการจัดย่อหน้า แล้วจึงคลิกและลากปุ่ม First line และปุ่ม Paragrahp ไปยังตาแหน่งย่อหน้าที่ต้องการเรายังสามารถคลิกบนบรรทัดเพื่อตั้ง Tab ใหม่ โดยใช้ร่วมกับปุ่ม TAB บนคีย์บอร์ดเพื่อจัดย่อหน้าได้ตามต้องการ
นอกจากเราจะใช้วิธีคลิกและลากเพื่อกาหนดตาแหน่ง First line, Paragraph และ Tab แล้ว เรายังสามารถคลิกขวาบนบรรทัดย่อหน้า แล้วเลือกคาสั่ง Indents and Tabs หรือเลือก คาสั่ง Indents and Tabs จากช็อทคัทเมนู จะปรากฏไดอะล็อคดังรูปที่ 4.35(ขวา) เราสามารถกาหนด ค่าต่าง ๆ ผ่านไดอะล็อคได้เช่นเดียวกัน เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 127
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
No Background Mask เขียนแบบไฟฟฟ้า
Background Mask เขียนแบบไฟฟ้ า
ไม่ใช้ Background Mask
ใช้ Background Mask
รู ปที่ 4.36 แสดงหน้าต่างการตั้งค่าพื้นหลัง หากต้องการให้ขอ้ ความที่เขียนจากคาสั่ง Draw Text Multiline Text ปิ ดบังวัตถุตา่ ง ๆ ที่อยูด่ า้ นล่างของข้อความเราสามารถคลิกขวาบนพื้นที่เขียนตัวอักษรบนหน้าต่าง Text Formatting แล้ว เลือกคาสั่ง Background Mask จะปรากฏไดอะล็อค ดังรู ปที่ 4.36 (ซ้าย) คลิกให้ปรากฏเครื่ องหมาย หน้าเช็คบอกซ์ Use background mask ถ้าต้องการใช้สีของพื้นที่วาดภาพ ให้แน่ใจว่าปรากฏ เครื่ องหมาย หน้าเช็คบอกซ์ Use drawing background color หากต้องการเลือกสี ใหม่ ให้ปลด เครื่ องหมาย ออกจากเช็คบอกซ์ Use drawing background color แล้วเลือกสี ตามต้องการจะปรากฏ ข้อความ ดังรู ปที่ 4.36 (กลาง,ขวา) 4.7.1.3 ข้ อดีและข้ อเสี ยการใช้ คาสั่ ง Draw Text Multline Text A 1) ข้อดี ของการใช้คาสั่ง DrawTextMultline Text A นั้นมีหลายประการคือ ตัวอักษรจะแสดงรู ปแบบและขนาดตามที่ปรากฏจริ งในลักษณะเดียวกับโปรแกรม Wordpad ของ ระบบปฏิบตั ิการวินโดว์ดงั รู ปที่ 4.37 จึงทาให้สะดวกต่อการใช้งาน การแก้ไขเปลี่ยนแปลงตัวอักษร การ ค้นหา(find)และแทนที่(Replaca)ตัวอักษร การใช้ลกั ษณ์พิเศษต่างๆ อาทิเช่น ØDiameter, Plus/MINUS, °Degree,supsriptSubscript,Superscript Superscript,1/4 Fraction สามารถทาได้ค่อนข้างง่ายและ รวดเร็ ว นอกจากนี้เรายังสามารถเขียนข้อความได้ครั้งละหลาย ๆ บรรทัดสามารถใช้ lndent และ Tab จัด ย่อหน้าและจัดคอลัมน์ ให้ตรงกันอย่างเป็ นระเบียบ สามารถสอดแทรกฟิ ลด์ (Field)ข้อมูลอัตโนมัติต่าง ๆ เช่น วันเดือน ปี ชื่อไฟล์ ชื่อผูล้ ็อคอิน เข้าสู่ ระบบ และอื่นๆ เป็ นต้น และยังสามารถปิ ดบังด้านหลัง(Mask Background)ของตัวอักษร เพื่อป้ องกันมิให้มองเห็นวัตถุที่อยูด่ า้ นล่างของตัวอักษรได้
รู ปที่ 4.37 รู ปแบบตัวอักษรแบบมัลติไลน์ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 128
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
2) ข้อเสี ย ของการใช้คาสัง่ นี้ คือ เราจะสามารถใช้ฟอนท์ .ttf ของวินโดว์ได้เท่านั้น จะไม่สามารถใช้ฟอนท์ .shx ของ Auto CAD การกาหนด Code page เป็ น ANSI 874 ซึ่งเป็ นรหัสของ ประเทศไทย จะทาให้เราไม่สามารถใช้สัญลักษณ์พิเศษจากคาสั่ง Degrees %%d, Plus/Minus %%p, Diameter %%c ในหน้าต่าง Text Formatting แต่ก็สามารถเปลี่ยนไปใช้รหัส Unicode \U+2205, \U+00B1, \U+00B0 เพื่อเขียนสัญลักษณ์ดงั กล่าวแทนได้ อีกปั ญหาหนึ่งที่พบบ่อย ๆ คือฟอนท์ .ttf (ภาษาไทย) จะมีปัญหากับเครื่ องพิมพ์รุ่นเก่า ๆ ที่ออกมาก่อนระบบปฏิบตั ิการ Windows XP (ครอบคลุมถึงเครื่ องพิมพ์ที่ไม่มีไดรฟ์ เวอร์ ของ Windows XP) สระและวรรณยุกต์จะเยื้องไปข้างหน้า หรื อไม่อยูใ่ นตาแหน่งที่ถูกต้อง ซึ่ งเครื่ องพิมพ์เก่าบางรุ่ นไม่สามารถแก้ไขปั ญหานี้ได้ อีกปั ญหาหนึ่ง ของการใช้ฟอนท์ .ttf ของวินโดว์ ก็คือการกาหนด Code page ของระบบปฏิบตั ิการวินโดว์ในเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ไม่ตรงกัน จะทาให้ตวั อักษรภาษาไทยที่ใช้ฟอนท์ .ttf ภาษาไทย ไม่สามารถอ่านออก ในเครื่ องคอมพิวเตอร์เครื่ องอื่น ๆ ได้ ซึ่งตัวอักษรอาจจะปรากฏเป็ นเครื่ องหมาย ??? ได้ ปั ญหานี้ มักจะเกิดขึ้นในกรณี ที่เราใช้ AutoCAD 2007 ที่ Run บน Windows XP แล้วส่ งไฟล์แบบแปลนไปให้ ผูร้ ่ วมงานที่ใช้ AutoCAD รุ่ นที่ต่ากว่า ที่ Run บน Windows ME หรื อ 98 ในทานองเดียวกัน หากเรา ได้รับไฟล์แบบแปลนที่สร้างจาก AutoCAD 2000 หรื อ 2002 บน Windows ME หรื อ 98 ก็จะเกิด ปั ญหานี้ได้เช่นเดียวกัน ข้อเสี ยอีกประการหนึ่งของฟอนท์ .ttf คือฟอนท์ .ttf เป็ นฟอนท์ที่มีระบายสี ภายในขอบเขตแบบปิ ดของตัวอักษร เมื่อสั่งพิมพ์แบบแปลนที่มีตวั อักษรจากฟอนท์ .ttf จานวนมาก ๆ ลงบนกระดาษจะต้องเสี ยเวลาในการพิมพ์แบบแปลนมากตามไปด้วย ข้อเสี ยอีกอย่างหนึ่ง คือ ถ้าหากได้ ทาการเขียนตัวอักษรทั้งหมดเข้าไปในแบบแปลนเรี ยบร้อยแล้ว แต่มีความประสงค์ที่จะเปลี่ยนฟอนท์ ตัวอักษรใหม่ท้ งั หมดไปใช้ฟอนท์ .ttf แบบอื่น ๆ จะไม่สามารถทาได้อย่างสะดวก เพราะจะต้องใช้ คาสั่ง Modify Object Text Edit เข้าไปแก้ไขตัวอักษร MTEXT แต่ละย่อหน้าด้วยตนเอง ถ้าใน แบบแปลนมีตวั อักษร MTEXT จานวนมากก็จะเสี ยเวลาในการแก้ไขเป็ นอย่างมากตามไปด้วย เพราะเรา สามารถแก้ไขตัวอักษรได้ครั้งละย่อหน้าเท่านั้น นอกจากจะมีการสร้าง Text Style ขึ้นมาก่อนเหมือนกับ คาสัง่ Draw Text Single Line Text แต่มีกฎข้อยกเว้นที่จาเป็ นต้องทราบและปฏิบตั ิตาม เพื่อให้สามารถเปลี่ยนฟอนท์ได้โดยอัตโนมัติ
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 129
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
4.7.2 คาสั่ งในการเขียนตัวอักษรบรรทัดเดียว(Single Line text)
, DrawTextSingle Line text , TEXT หรื อ DT
ใช้คาสัง่ นี้สาหรับเขียนตัวอักษรบรรทัดเดียวหรื อหลายบรรทัดลงบนพื้นที่วาดภาพ การเขียน ตัวอักษรด้วยคาสั่งนี้จะปรากฏให้เห็นตัวอักษรตามรู ปแบบและขนาดที่กาหนดในขณะที่เรากาลังพิมพ์ตวั อักษรบนพื้นที่วาดภาพ ก่อนที่จะเรี ยกคาสั่งนี้ออกมาใช้งานเราควรใช้คาสั่ง Format Text style เพื่อ สร้างสไตล์ตวั อักษรรู ปแบบที่ตอ้ งการเสี ยก่อนแล้วจึงเรี ยกคาสั่ง DrawTextSingle Line Text หรื อพิมพ์คาสั่ง Text หรื อ DTEXT หรื อพิมพ์คาสั่งย่อ DT ผ่านคียบ์ อร์ ดดังต่อไปนี้ จุดเริ่ มต้น เคอร์เซอร์
รู ปที่ 4.38 ตาแหน่งพิมพ์อกั ษรของคาสั่ง Single Line Text Command:_dtext Current text style: “Standard” Text height:2.5000//รู ปแบบตัวอักษรที่กาหนดมาให้ ชื่อ“ Standard” และความสู งตัวอักษร = 2.5 หน่วย Specifi start point of text or [Justify/Style]:{คลิกบนพื้นที่วาดภาพเพื่อกาหนดจุดเริ่ มต้นหรื อพิมพ์ตวั เลือก J เพื่อเลือกการจัดชิดซ้ายขวา หรื อ S เพื่อเปลี่ยนสไตล์ตวั อักษร} Specify height<2.5000>:{กาหนดความสู งของตัวอักษร ค่าที่โปรแกรมกาหนดมาให้คือ 2.5 หน่วย หรื อใช้ เมาส์คลิก โดยให้เลื่อนเคอร์ เซอร์ จะปรากฏเส้นตรง ชัว่ คราวยึดติดกับครอสแฮร์ เมื่อเลื่อน เมาส์จนได้ความยาวของเส้นตรงตามต้องการแล้วคลิกเมาส์ซา้ ย } Specify rotation angle of text<0>:{ถ้าต้องการเขียนตัวอักษรแนวนอนตามปกติ ให้กดปุ่ ม ถ้าต้องการสร้างตัวอักษรให้มีมุมเอียง ก็ให้พิมพ์ค่ามุมเอียงตามความต้องการ } Enter Text:{กรอบสี่ เหลี่ยมชัว่ คราวที่มีขนาดเท่ากับตัวอักษรจะปรากฏบนจอภาพ ให้พิมพ์ตวั อักษรตาม ต้องการ แล้วกดปุ่ ม จะปรากฏข้อความ Text: และกรอบสี่ เหลี่ยมชัว่ คราวขึ้นมาใน บรรทัดต่อไป พิมพ์ตวั อักษรในบรรทัดต่อไปแล้วกดปุ่ ม } Enter Text:{หากพิมพ์ตวั อักษรเรี ยบร้อยแล้วกดปุ่ ม เพื่อยุติการใช้คาสัง่ }
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 130
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร ในขณะที่ปรากฏตัวเลือกในบรรทัด Specify start point of text or [Justify/Style]: เราสามารถเลือกวิธีการ จัดตัวอักษรชิดซ้ายชิดขวา (Justify) หรื อเลือกรู ปแบบของตัวอักษรอื่นๆ ที่ได้สร้างไว้กบั คาสั่ง FormatText style ได้เช่นเดียวกับคาสัง่ MTEXT ได้ดงั นี้
Star point
Align
Fit
Center
Middle
Right
TL
TC
TR
ML
MC
MR
BL
BC
BR
รู ปที่ 4.39 ตาแหน่งการจัดตาแหน่งตัวอักษร จุดเล็กๆ สี่ เหลี่ยมสี น้ าเงิน ดังรู ปที่ 4.39 นี้เป็ นจุดอ้างอิงที่เราจะต้องใช้เมาส์คลิกเพื่อกาหนดตาแหน่งที่จะ จัดวางตัวอักษร เมื่อเลือกตัวเลือก Justify จะปรากฏตัวเลือกย่อยสาหรับควบคุมการจัดวางตัวอักษร ดังนี้
Align/Fit/Center/Middle/Right/TL/TC/TR/ML/MC/MR/BL/BC/BR: Align กาหนดจุดสองจุด ซึ่ งเป็ นจุดที่ชิดมุมล่างด้านซ้ายและมุมล่างด้านขวาของตัวอักษร ส่ วนความสู ง ของตัวอักษร โปรแกรมจะกาหนดให้ได้อตั ราส่ วนพอดีโดยอัตโนมัติ Fit กาหนดจุดสองจุด ซึ่ งเป็ นจุดที่ชิดมุมล่างด้านซ้ายและมุมล่างด้านขวาของตัวอักษรและให้ กาหนดความสู งของตัวอักษร เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 131
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
Center กาหนดจุดกึ่งกลางของฐานตัวอักษร ความสู ง มุมเอียงของตัวอักษร เมื่อพิมพ์ขอ้ ความตัวอักษร เสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว ฐานของกลุ่มตัวอักษรจะอยูต่ รงจุดกึ่งกลางของจุดที่เลือกโดยอัตโนมัติ Middle กาหนดจุดศูนย์กลาง ความสู ง มุมเอียงของตัวอักษร เมื่อพิมพ์ขอ้ ความตัวอักษรเสร็ จเรี ยบร้อย แล้ว โปรแกรมจะจัดให้กลุ่มของตัวอักษรให้อยูต่ รงจุดศูนย์กลางของจุดที่เลือกโดยอัตโนมัติ Right กาหนดมุมล่างด้านขวาของตัวอักษร ความสู ง มุมเอียงของตัวอักษร เมื่อพิมพ์ขอ้ ความตัวอักษร เสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว โปรแกรมจะจัดให้มุมขวาด้านล่างของกลุ่มตัวอักษรให้ชิดจุดที่โดยเลือก อัตโนมัติ ตัวเลือกTL(Top Left),TC(Top Center),TR(Top Right),ML(Middle Left),MC(Middle Center),MR(Middle Right),BL(Bottom Left),BC(Bottom Center),BR(Bottom Right)ของคาสั่งนี้ ใช้สาหรับจัดตัวอักษรชิดซ้ายขวาเหมือนกับคาสั่งMTEX (ดูคาอธิ บายตัวเลือกดังกล่าวนี้ได้ในคาสั่ง MTEX ) การเขียนสัญลักษณ์พิเศษ ø, ,˚ด้วยคาสั่งนี้หากเลือกใช้ฟอนท์ .ttf ของ Windows เราจะต้องใช้ รหัส \U+2205,U+00B1,U+00B0 แต่ถา้ หากใช้ฟอนท์ .shx ของ AutoCAD เราจะต้องใช้รหัส %%c, %%p, %%dแทน 4.7.2.1 ข้ อดีและข้ อเสี ยการใช้ คาสั่ ง Draw Text Single Line Text 1) ข้อดี สาหรับการใช้คาสั่ง Draw Text Single Line Text เขียนตัวอักษร ก็คือ ตัวอักษรที่สร้างจากคาสั่งนี้สามารถเลือกใช้ได้ท้ งั ฟอนท์ .ttf ของวินโดว์หรื อใช้ฟอนท์ .shx ของ AutoCAD หากเลือกใช้ฟอนท์ .shx จะไม่มีปัญหาเมื่อมีการส่ งไฟล์แบบแปลนจากคอมพิวเตอร์ เครื่ อง หนึ่งไปใช้งานในคอมพิวเตอร์ อีกเครื่ องหนึ่ง ถึงแม้วา่ ระบบปฏิบตั ิการวินโดว์จะเป็ นเวอร์ ชนั่ ที่แตกต่างก็ ตาม (แต่ตอ้ งส่ งฟอนท์ .shx ไปพร้อม ๆกับไฟล์แบบแปลน .dwg ด้วย) ฟอนท์ .shx เป็ นฟอนท์ลายเส้นที่ ไม่มีการระบายสี ในตัวอักษร จึงสามารถพิมพ์ลงกระดาษได้เร็ วกว่าแบบแปลนที่มีตวั อักษร.ttf สามารถ กาหนดรู ปแบบให้เขียนตัวอักษรตามแนวตั้ง(Vertical) กลับหัว(Upside Down) ย้อนกลับ(Backwards) สามารถกาหนดแฟคเตอร์ ความกว้าง(Width Factor) ฯลฯ ถ้าหากเราได้ทาการเขียนตัวอักษรด้วยคาสั่งนี้ ในแบบแปลนเรี ยบร้อยแล้ว แต่ตอ้ งการเปลี่ยนไปใช้ฟอนท์ .shx หรื อ .ttf รู ปแบบอื่น ๆ เราสามารถ เปลี่ยนแปลงได้ท้ งั แบบแปลนอย่างรวดเร็ ว โดยใช้คาสัง่ Format Text Style นอกจากนี้ยงั มีขอ้ ดี คือ มีตวั เลือกต่าง ๆ ในการจัดการชิด ซ้าย ขวา บน ล่าง ฯลฯ ช่วยให้เราจัดตาแหน่งตัวอักษรหรื อข้อความ แต่ละบรรทัดได้อย่างอิสระเหมาะสาหรับการเขียนตัวอักษรในตาราง เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 132
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
2) ข้อเสี ย ของการใช้คาสั่งนี้ในการเขียนตัวอักษร คือ การกาหนดรู ปแบบและการเลือก ฟอนท์ตอ้ งใช้คาสัง่ Format Text Style การเขียนตัวอักษรสามารถทาได้ครั้งละบรรทัดเท่านั้น แต่ สามารถเขียนตัวอักษรหลายบรรทัดต่อเนื่องในคาสั่งได้ หากมีการกดปุ่ ม เพื่อยอมรับ ตัวอักษรและข้อความในแต่ละบรรทัดแล้วจะไม่สามารถย้อนกลับไปแก้ไขตัวอักษรในบรรทัดก่อนได้ นอกจากจะออกจากคาสัง่ เสี ยก่อน แล้วดับเบิล้ คลิกหรื อใช้คาสัง่ Modify Object Text Edit เพื่อแก้ไขตัวอักษร ไม่สามารถกาหนดรู ปแบบฟอนท์และความสู งของตัวอักษรที่แตกต่างกัน ในการ เรี ยกใช้คาสั่งในครั้งเดียว จึงไม่สะดวกเหมือนคาสั่ง DrawTextMultiline Text คาสั่งนี้ไม่สามารถ เขียนสัญลักษณ์ซบั สคริ ปท์ (Subscript) ซุปเปอร์สคริ ปท์(Superscript) และเศษส่ วน (Fraction)แต่สามารถ เขียนสัญลักษณ์ศูนย์กลาง(Diameter) องศา (Degree) และสัญลักษณ์บวกลบ(Plus/Minus) ได้ 4.7.3 ชุ ดแบบอักษร(Font) ที่ใช้กบั โปรแกรม AutoCAD มีอยู่ 2 แบบ ได้แก่ 1) ชุดแบบอักษรที่มีส่วนขยายเป็ น .ttf 2) ชุดแบบอักษรที่มีส่วนขยายเป็ น .shx แบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ - แบบที่ 1 เป็ นฟอนท์ . shx ของ AutoCAD ยุคแรก ๆ ที่ไม่สามารถสลับ ภาษาไทย/อังกฤษได้ เพราะมีแต่ภาษาไทยล้วน ๆ ฟอนท์ประเภทนี้ไม่นิยมใช้งานแล้ว - แบบที่ 2 เป็ นฟอนท์ . shx รุ่ นใหม่ที่สามารถใช้ปุ่ม Grave Accent ของ ระบบปฏิบตั ิการวินโดว์สลับภาษาไทย/อังกฤษได้ ฟอนท์ .shx แบบนี้ เป็ นฟอนท์ Unicode มีตวั อักษร ได้หลายชุด เหมือนฟอนท์ .ttf ของวินโดว์ ดังนั้น ระบบปฏิบตั ิการวินโดว์จะต้องมีการกาหนด Code page ให้ตรงกับรหัสมาตรฐานของประเทศไทย นั้นก็คือ ANSI 874 ตัวอักษรภาษาไทยทั้งแบบ .shx และแบบ .ttf จึงจะปรากฏถูกต้อง
เมื่อมีการส่งไฟล์แบบแปลนที่ใช้ฟอนท์ .shx ไปใช้กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ เราจะต้องคัดลอกฟอนท์ .shx ส่งไปพร้อมกับไฟล์แบบแปลน . dwg ด้วยซึ่งเราสามารถใช้คาสั่ง File ช่วยค้นหาและรวบรวมไฟล์ .shx และไฟล์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้เราโดยอัตโนมัติ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 133
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
4.7.4 การตรวจสอบและกาหนดมาตรฐาน Code Page Code Page จะเป็ นตัวช่วยควบคุมและเลือกชุดตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษจากฟอนท์ .ttf ของ Windows และฟอนท์ .shx ของ AutoCAD ออกมาใช้งานได้อย่างถูกต้อง ในระบบปฏิบตั ิการ Windows 98, ME, หรื อ XP โปรแปรมจะกาหนด Code Page เป็ นรหัส ANSI 874 ตามมาตรฐานของ ประเทศไทย แต่บางกรณี ระบบปฏิบตั ิการ มีการกาหนด Code Page เป็ นรหัสอื่น เช่น ANSI 1252 ซึ่ง เป็ นมาตรฐานอเมริ กา แต่ก็สามารถใช้ได้ท้ งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเช่นเดียวกันกับรหัส ANSI 874 แต่เมื่อเราใช้ AutoCAD เขียนตัวอักษรลงในไฟล์แบบแปลนโดยใช้รหัส Code Page เป็ น ANSI 874 ถ้าเราส่ งไฟส์แบบแปลนไปใช้งานในเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่กาหนดรหัส Code Page เป็ น ANSI 1252 จะทาให้ระบบปฏิบตั ิการวินโดว์ไปเลือกชุด Code Page ของตัวอักษรจากฟอนท์ .ttf และฟอนท์ .shx ผิดชุด จึงทาให้ตวั อักษรต่าง ๆ โดยเฉพาะตัวอักษรภาษาไทยปรากฏเป็ นเครื่ องหมาย ??? ซึ่ งไม่สามารถ อ่านออกได้ ในทานองเดียวกัน หากเขียนตัวอักษรโดยใช้รหัส Code Page เป็ น ANSI 1252 แล้วส่ ง ไฟส์แบบแปลนไปยังคอมพิวเตอร์ที่มี Code Page เป็ น ANSI 874 ก็จะเกิดปั ญหากับตัวอักษรภาษาไทย เช่นเดียวกัน แต่ปัญหานี้จะไม่เกิดกับตัวอักษรภาษาอังกฤษ เนื่องจากตัวอักษรภาษาอังกฤษ ทั้งใน ANSI 874 และ ANSI 1252 ใช้รหัส Code Page จากตารางเดียวกัน ดังนั้น เพื่อให้การเขียนตัวอักษรถูกต้อง ตามมาตรฐานของประเทศไทย เราควรตรวจสอบรหัส Code Page ของวินโดว์วา่ มีรหัส Code Page เป็ น ANSI 874 หรื อไม่โดยในขณะที่อยูใ่ น AutoCAD ที่บรรทัดป้ อนคาสั่ง เราสามารถพิมพ์คาสั่ง ดังนี้ Command: SYSCODEPAGE SYSCODEPAGE = “ANSI_874” (read only) ถ้าโปรแกรมรายงานออกมาเป็ น “ANSI_1252” (read only) แสดงว่า Code Page เป็ นมาตรฐานอเมริ กนั เราจะต้องเปลี่ยนแปลง Code Page ให้เป็ น ANSI 874 โดยเข้าไปที่ Control Panel ของระบบปฏิบตั ิการ วินโดว์ XP แล้วดับเบิ้ลคลิกบนไอคอน Regional and Language Options แล้วคลิกแถบคาสั่ง Advance เปลี่ยนแถบรายการ Select a Language to match the language….จาก English (United States) ให้ปรากฏเป็ น Thai ดังรู ปที่ 4.40 แล้วเริ่ มต้นระบบปฏิบตั ิการวินโดว์ใหม่ Code Page ของวินโดว์ จะเปลี่ยนเป็ น ANSI 874 ตามมาตรฐานของประเทศไทยเราสามารถพิมพ์คาสั่ง SYSCODEPAGE ผ่าน บรรทัด Command: ของAutoCAD เพื่อตรวจสอบให้แน่ใจว่า Code Page เปลี่ยนแปลงเป็ น ANSI 874 อย่างถูกต้อง เมื่อตรวจสอบ Code Page ของปฏิบตั ิการวินโดว์เรี ยบร้อยแล้ว เราก็พร้อมที่จะใช้คาสั่ง Draw Text Multiline Text A หรื อคาสัง่ Draw Text Single Line Text ของ AutoCAD ในการเขียนตัวอักษรในแบบแปลนต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและจะสามารถแลกเปลี่ยนไฟล์แบบแปลน ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ โดยปราศจากปั ญหาตัวอักษรภาษาไทยปรากฏไม่ถูกต้อง เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 134
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
รู ปที่ 4.40 หน้าต่างกาหนดตัวเลือกย่านและภาษา
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 135
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
4.8 คาสั่งในการจัดลักษณะตัวอักษร(Text Style)
ไม่ มี , FormatText Style , ST
ไม่วา่ เราจะเขียนตัวอักษรด้วยคาสั่ง Draw Text Multiline Text A หรื อใช้คาสั่ง Draw Text Single line Text เราควรที่จะสร้างสไตล์หรื อรู ปแบบต่าง ๆของตัวอักษร (ถึงแม้วา่ อาจจะ ไม่จาเป็ นสาหรับคาสั่ง Draw Text Multiline Text A ก็ตาม แต่เราควรสร้างสไตล์เพื่อความ สะดวกในการแก้ไข) การกาหนดสไตล์ตวั อักษรจะช่วยให้เราสามารถเลือกฟอนท์ไฟล์ .ttf ของ Windows หรื อฟอนท์ .shx ของ AutoCAD เพื่อกาหนดฟอนท์ตวั อักษรใช้งาน กาหนดความสู ง ตัวอักษร ถ้าใช้กบั ฟอนท์ .shx ยังสามารถกาหนดแฟคเตอร์ ความกว้าง กาหนดมุมเอียงออฟบลีก (Oblique angle) กาหนดตัวอักษรหัวกลับ (Upside down) กาหนดตัวอักษรย้อนกลับ (Backwards) และกาหนดตัวอักษรในแนวดิ่ง (Vertical) โดยที่โปรแกรมกาหนดมาให้ STANDARD เป็ นรู ปแบบ ตัวอักษรใช้งานซึ่งมีฟอนท์ txt.shx เป็ นฟอนท์ใช้งาน เราสามารถเลือกใช้ฟอนท์ .shx อื่น ๆ ของ AutoCAD ซึ่งปรากฏเป็ นรู ปไอคอน หรื อ เลือกใช้ฟอนท์ .ttf ของ windows ซึ่งปรากฏเป็ นรู ป ไอคอน ในการเขียนตัวอักษร เมื่อใช้คาสั่งนี้ออกมาใช้งาน จะปรากฏไดอะล็อค ดังรู ปที่ 4.41
รู ปที่ 4.41 หน้าต่างแสดงรู ปแบบข้อความ Style Name ใช้ตวั เลือกในกลุ่มนี้สาหรับสร้างเปลี่ยนชื่อและลบสไตล์ตวั อักษร Standard คลิกปุ่ ม บนแถบรายการนี้ เพื่อเลือกรู ปแบบตัวอักษรใช้งาน New… คลิกบนปุ่ มนี้ เพื่อสร้างรู ปแบบตัวอักษรใหม่ โปรแกรมจะตั้งชื่อรู ปแบบ Style1., Style2… โดยอัตโนมัติ ดังรู ปที่ 4.42 เราสามารถตั้งชื่อรู ปแบบใหม่ได้ โดยพิมพ์ชื่อสไตล์ตวั อักษรเข้าไปแทนที่ Style1
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 136
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
รู ปที่ 4.42 การตั้งชื่อสไตล์ตวั อักษร โดยทัว่ ไป เรานิยมตั้งชื่อสไตล์ตามชื่อฟอนท์ที่นามาใช้ในคาสั่ง Text Style เพราะสะดวกในการใช้งาน Rename… เลือกชื่อรู ปแบบที่ตอ้ งการจากแถบรายการ Standard แล้วคลิกบนปุ่ มนี้ เพื่อเปลี่ยนชื่อ รู ปแบบตัวอักษร Delete… เลือกชื่อรู ปแบบที่ตอ้ งการจากแถบรายการ Standard แล้วคลิกบนปุ่ มนี้ เพื่อลบรู ปแบบ ตัวอักษร เราไม่สามารถลบรู ปแบบตัวอักษรได้ หากยังคงมีตวั อักษรบนพื้นที่วาดภาพ ที่ใช้รูปแบบตัวอักษรที่ถูกเลือกนี้ Font ใช้ตวั เลือกในกลุ่มนี้ สาหรับเลือกฟอนท์ไฟล์ที่เก็บบันทึกรู ปแบบตัวอักษรและกาหนด ความสู งตัวอักษร Font Name คลิกบนปุ่ ม ของแถบรายการนี้ เพื่อเลือกฟอนท์ไฟล์ตวั อักษรที่ตอ้ งการ เราสามารถ ใช้ฟอนท์ไฟล์ .ttf ของWindows และฟอนท์ไฟล์ .shx ของAutoCAD ในแถบรายการนี้ Font Style ใช้ระบุฟอร์ แมตของฟอนท์ อาทิเช่น ตัวหนา ตัวเอียงหรื อตัวปกติ โดยปกติจะใช้ ตัวเลือกนี้กบั ฟอนท์ตวั อักษรแบบ .ttf Height ใช้กาหนดค่าความสู งของตัวอักษร โดยปกติ เรามักจะใช้ค่าความสู งบที่โปรแกรม กาหนดมาให้โดยใช้ค่า Height = 0.0000 เสมอ Use Big Font ใช้ตวั เลือกนี้กบั ฟอนท์ .shx สาหรับภาษาอื่น ๆ ซึ่ งมีจานวนตัวอักษรมากกว่ามาตรฐาน อาทิ เช่น ภาษาจีน เป็ นต้น Effects ใช้ตวั เลือกในกลุ่มนี้สาหรับกาหนดเทคนิคพิเศษในการแสดงรู ปแบบตัวอักษร Normal ตัวอักษรปกติ Upside down กาหนดตัวอักษรหัวกลับ ตัวเลือกนี้ใช้ได้กบั ฟอนท์ไฟล์ .shx และใช้กบั คาสั่ง Drax Text Single Line Text เท่านั้น Backwards กาหนดตัวอักษรย้อนกลับ ตัวเลือกนี้ใช้ได้กบั ฟอนท์ไฟล์ .shx เท่านั้นและใช้กบั คาสั่ง Draw TextSingle Line Text เท่านั้น Vertical กาหนดตัวอักษรในแนวตั้งตัวเลือกนี้ใช้กบั ฟอนท์ .shx เท่านั้น Width Factor กาหนดแฟคเตอร์ ความกว้างของตัวอักษร เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 137
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
Oblique Angle กาหนดมุมเอียงของตัวอักษร เพื่อใช้ในการเขียนตัวอักษรในภาพฉายไอโซเมตริ ก Preview แสดงตัวอย่างรู ปแบบ ตัวอักษรที่เราได้ปรับแต่งบนไดอะล็อค หากเราใช้ฟอนท์ ภาษาไทยให้พิมพ์ AกBขCง เข้าแทนที่ AaBbCcD แล้วคลิกบนปุ่ ม Preview เพื่อที่ เราจะได้เห็นตัวอย่างเป็ นภาษาไทย 4.8.1 ขั้นตอนในการสร้ างสไตล์ตัวอักษร 1. เลือกคาสั่ง Format Text Style… จากเมนูบาร์ จะปรากฏไดอะล็อคดังรู ปที่ 4.41 2. คลิกบนปุ่ ม New จะปรากฏไดอะล็อค New Text Style พิมพ์ชื่อสไตล์ตวั อักษรที่ ต้องการเข้าไปในอิดิทบอกซ์ Style Name หรื อใช้ชื่อรู ปแบบอักษรที่โปรแกรมกาหนดมาให้ style1 หรื อ style2. … ดังรู ปที่ 4.42 3. คลิกบนปุ่ ม ของแถบรายการ Font Name: จะปรากฏรายชื่อฟอนท์ไฟล์ ตัวอักษรทั้งหมดที่สามารถนามาใช้งานใน AutoCAD ได้ให้เลือกฟอนท์ไฟล์ที่ตอ้ งการ 4. คลิกบนปุ่ ม Apply เพื่อกาหนดรู ปแบบตัวอักษรใช้งาน แล้วคลิกบนปุ่ ม Close เพื่อปิ ดไดอะล็อค เป็ นอันเสร็ จสิ้ นการสร้างรู ปแบบของตัวอักษรเพื่อนาไปใช้กบั คาสั่ง DroawTextSingle Line Text หรื อคาสั่ง Draw Text Multiline Text
การสร้างสไตล์จะช่วยให้การเปลี่ยนฟอนท์ .ttf ใหม่สามารถทาได้อย่างสะดวก เพราะเพียงแต่เปลี่ยน ฟอนท์ .ttf ใหม่ในคาสั่งนี้เท่านั้น ตัวอักษร .ttf ทั้งแบบแปลนก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย การเขียนตัวอักษรภาษาไทยด้วยคาสั่ง DrawTextSingle Line Text เราควรเลือกใช้ฟอนท์ .shx หากเราเปลี่ยนค่าความสูง (Height)ของตัวอักษร ในรูปที่ 4.41 โดยที่ไม่ใช้ค่า 0(ศูนย์) ที่โปรแกรม กาหนดมาให้ จะมีผลตอนเรียกใช้คาสั่ง DrawTextSingle line Text จะไม่สามารถป้อนค่า ความสูงใหม่ให้กับตัวอักษร เมื่อมีการเรียกใช้รูปแบบตัวอักษรนี้ เพราะฉะนั้นจึงไม่ควรเปลี่ยนแปลงค่า ความสูงตามที่โปรแกรมกาหนดมาให้ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 138
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ 4 คาสั่ งสร้ างตาราง ทาลวดลาย และการเขียนตัวอักษร จงเลือกคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. เครื่ องมือใดที่ใช้สร้างตาราง(TABLE) ก.
ค.
ข.
ง.
2. เครื่ องมือใดที่ใช้สร้างลวดลายแฮทช์(HATCH) ก. ข.
ค. ง.
3. จากตารางข้างล่างนี้ ช่อง(Cell) “BREAKER” ใช้คาสัง่ ใดรวมเซลล์
ก. Insert Columns ข. Merge Cells ง.
ค. Insert Rows Insert Block
4. ถ้าต้องการเขียนสัญลักษณ์บลั ลาสต์ ตามรู ปด้านล่างนี้ จะต้องเลือกระบายสี จากคาสัง่ ใด
ก. HATHC > PATTERN > OTHER PREDIFINED ข. HATHC > PATTERN > ANSI ค. HATHC > PATTERN > ISO ง. HATHC > PATTERN > CUSTOM
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 139
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
5. เหตุผลข้อใด คือประโยชน์ของการสร้างบล็อก (Make Block) ก. ลดขั้นตอนในการทางาน ข. ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บไฟล์ ค. ลดเวลาในการแก้ไขแบบ ง. ถูกทุกข้อ 6. ข้อใดคือคาสั่งในการแทรกบล็อก ก. Command : i ข. ค. ง. ข้อ ก และ ข ถูก 7. ถ้าต้องการบันทึก Block เก็บไว้ใช้กบั แบบแปลนอื่น ๆ ในครั้งต่อไป ต้องใช้คาสั่งใด ก. Make Block
ค. WBlock
ข. Insert Block
ง. Base Block
8. ใน AutoCAD 2007 คาสั่งใดใช้สาหรับเขียนตัวอักษร ก. Draw > Text > Multiline Text ข. Draw > Text > Single line Text ค. ง. ถูกทุกข้อ 9. โปรแกรมกาหนดมาให้จุดสอดแทรก(Base)ของไฟล์แบบแปลนใด ๆ จะอยูท่ ี่ตาแหน่งใด ก. X,Y = 0,0
ค.
X,Y = 50,50
ข. X,Y = 10,10
ง.
X,Y = 0,10
10. เราควรจะตั้งรู ปแบบตัวอักษร เพื่อสะดวกในการแก้ไข ด้วยคาสั่งอะไร ก . Format > Text Style ข. Draw> Text > Multiline text ค. Tools > Option ง. Tools > Customize
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 140
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ 4 คาสั่ งสร้ างตาราง ทาลวดลาย และการเขียนตัวอักษร จงเลือกคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. คาสั่งใดที่ไม่ใช่ คาสั่งในการสร้างตาราง ก. Draw > Table
ค.
ข. Command: Table
ง.
2. คาสั่งใดที่ไม่ใช่ คาสั่งในการสร้างลวดลายแฮทช์ ก. Draw > Hatch ข.
ค. Command: h
ง.
3. จากตารางข้างล่างนี้ ช่อง(Cell) “BREAKER” ใช้คาสัง่ ใดรวมเซลล์
ก. Insert Columns ข. Merge Cells ง.
ค. Insert Rows Insert Block
4. ถ้าต้องการเขียนสัญลักษณ์บลั ลาสต์ ตามรู ปด้านล่างนี้ จะต้องเลือกระบายสี จากคาสัง่ ใด
ก. HATHC > PATTERN > OTHER PREDIFINED ข. HATHC > PATTERN > ANSI ค. HATHC > PATTERN > ISO ง. HATHC > PATTERN > CUSTOM
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 141
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
5. เหตุผลข้อใด คือประโยชน์ของการสร้างบล็อก (Make Block) ก. ลดขั้นตอนในการทางาน ข. ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บไฟล์ ค. ลดเวลาในการแก้ไขแบบ ง. ถูกทุกข้อ 6. ข้อใดคือคาสั่งในการแทรกบล็อก ก. Command : i ข. ค. ง. ข้อ ก และ ข ถูก 7. ถ้าต้องการบันทึก Block เก็บไว้ใช้กบั แบบแปลนอื่น ๆ ในครั้งต่อไป ต้องใช้คาสั่งใด ก. Make Block
ค. WBlock
ข. Insert Block
ง. Base Block
8. ใน AutoCAD 2007 คาสั่งใดใช้สาหรับเขียนตัวอักษร ก. Draw > Text > Multiline Text ข. Draw > Text > Single line Text ค. ง. ถูกทุกข้อ 9. โปรแกรมกาหนดมาให้จุดสอดแทรก(Base)ของไฟล์แบบแปลนใด ๆ จะอยูท่ ี่ตาแหน่งใด ก. X,Y = 0,0
ค.
X,Y = 50,50
ข. X,Y = 10,10
ง.
X,Y = 0,10
10. เราควรจะตั้งรู ปแบบตัวอักษร เพื่อสะดวกในการแก้ไข ด้วยคาสั่งอะไร ก . Format > Text Style ข. Draw> Text > Multiline text ค. Tools > Option ง. Tools > Customize
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 142
บทที่ 4 คาสั่งสร้างตาราง ทาลวดลาย บล็อก และการเขียนตัวอักษร
แบบฝึ กหัด บทที่ 4 คาสั่ งสร้ างตาราง ทาลวดลาย และการเขียนตัวอักษร จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงอธิ บายความหมายของคาสั่งเกี่ยวกับ Block ต่อไปนี้(5 คะแนน) 1 ) Make Block 2) Insert Block 3) Base 4) WBlock 2. จงอธิ บายความแตกต่างของคาสั่งMultiline Text กับ Single line Text(5 คะแนน)
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………….สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 143