บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
บทที่ 3 เครื่องมือในการเขียนวัตถุ สาระการเรียนรู้ 1. แถบเครื่องมือและคาสั่งในการเขียนวัตถุ 2. คาสั่งในการเขียนเส้นตรง 3. คาสั่งในการเขียนเส้นต่อเนื่อง(Poly Line) 4. คาสั่งในการเขียนรูปหลายเหลี่ยม 5. คาสั่งในการเขียนรูปสี่เหลี่ยม 6. คาสั่งในการเขียนเส้นโค้งวงกลม 7 . คาสั่งในการเขียนวงกลม 8. คาสั่งในการเขียนเส้นโค้งต่อเนื่องแบบ Spline 9. คาสั่งในการเขียนวงรี 10. คาสั่งในการเขียนเส้นโค้งวงรี 11. คาสั่งในการเขียนจุด 12. คาสั่งประสานวัตถุ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. บอกชื่อแถบเครื่องมือและคาสั่งในการเขียนวัตถุได้ 2. เขียนเส้นตรงแบบต่างๆได้ 3. เขียนเส้นแบบต่อเนื่องได้ 4. เขียนรูปหลายเหลี่ยมได้ 5. เขียนรูปสี่เหลี่ยมได้ 6. เขียนเส้นโค้งวงกลมได้ 7. เขียนวงกลมได้ 8. เขียนเส้นเส้นโค้งต่อเนื่องแบบ Splineได้ 9. เขียนวงรีได้ 10. เขียนเส้นโค้งวงรีได้ 11. เขียนจุดรูปแบบต่าง ๆ ได้ 12. ใช้คาสั่งเพื่อประสานวัตถุได้ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 60
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
3.1 แถบเครื่องมือและคาสั่งในการเขียนวัตถุ คาสั่งพื้นฐานที่ใช้ในการเขียนภาพวัตถุ สัญลักษณ์ และแบบทางไฟฟ้ า จะรวมอยูใ่ นแถบ เครื่ องมือ(Tools bar) ที่ชื่อว่า Draw ดังในรู ปที่ 3.1
รู ปที่ 3.1 แถบเครื่ องมือเขียนวัตถุ (Draw Tool bar) นอกจากคาสัง่ ในแถบเครื่ องมือ Draw แล้ว ยังมีเครื่ องมือในการเขียนวัตถุอีกมากมายที่สามารถ เลือกใช้จากแถบเมนู(Menu bar) หรื อพิมพ์คาสั่งที่บรรทัดป้ อนคาสั่ง(Command Line)ก็ได้ ซึ่ งในบทนี้ จะกล่าวถึงเครื่ องมือที่จาเป็ นต้องใช้ในการเขียนแบบไฟฟ้ า เท่านั้น ในบทนี้จะเขียนวิธีเรี ยกใช้งานคาสั่งในการเขียนวัตถุ ทั้ง 3 วิธี คือ เรี ยกจากแถบเครื่ องมือ เรี ยกจากเมนูบาร์ และเรี ยกผ่านบรรทัดป้ อนคาสั่ง โดยมีรูปแบบที่จะใช้ตลอดทั้งหน่วยการเรี ยน ดังรู ปที่ 3.2 , Draw Line , Line หรื อ L คลิกที่ แถบเครื่ องมือ
คลิกที่ เมนูบาร์
พิมพ์ที่ บรรทัดป้ อนคาสั่ง
รู ปที่ 3.2 แสดงรู ปแบบที่ใช้ในการเรี ยกคาสัง่ 3.2 คาสั่งในการเขียนเส้นตรง (Line)
, Draw Line, Line หรื อ L
คาสั่ง Line เป็ นการสร้างเส้นตรงระหว่าง 2 จุด โดยสามารถป้ อนค่าได้หลายรู ปแบบ ดังนี้ ตัวอย่างที่ 1 เขียนเส้นตรงแบบไม่กาหนดค่า Command : line Specify first point : คลิกจุด A Specify next point or [ Undo ] : คลิกจุด B Specify next point or [ Undo ] : Enter
รู ปที่ 3.3 เขียนเส้นตรงแบบไม่กาหนดค่า
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 61
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
ตัวอย่างที่ 2 เขียนเส้นตรงแบบต่อเนื่อง Command : line Specify first point : คลิกจุด A Specify next point or [ Undo ] : คลิกจุด B Specify next point or [ Undo ] : คลิกจุด C Specify next point or [Close /Undo ] : คลิกจุด D Specify next point or [ Close/Undo ] : คลิกจุด E Specify next point or [ Close/Undo ] : Enter ตัวอย่างที่ 3 เขียนเส้นตรงโดยใช้จุดโคออร์ดิเนท Command : line Specify first point : 90,120 Specify next point or [ Undo ] : 200,120 Specify next point or [ Undo ] : 90,180 Specify next point or [Close /Undo ] : 200,180 Specify next point or [ Close/Undo ] : Enter
รู ปที่ 3.4 เขียนเส้นตรงแบบต่อเนื่อง
รู ปที่ 3.5 เขียนเส้นตรงโดยใช้จุดโคออร์ดิเนท
ตัวอย่างที่ 4 การเขียนเส้นตรงแบบปิ ด Command : line Specify first point : คลิกจุดที่ 1 Specify next point or [ Undo ] : คลิกจุดที่ 2 Specify next point or [ Undo ] : คลิกจุดที่ 3 Specify next point or [Close /Undo ] : คลิกจุดที่ 4 Specify next point or [ Close/Undo ] : พิมพ์ C เพื่อปิ ดปุ่ ม รู ปที่ 3.6 การเขียนเส้นตรงแบบปิ ด หมายเหตุ พิมพ์ Undo หรื อ U ถ้าเกิดข้อผิดพลาดระหว่างเขียน เพื่อย้อนขั้นตอน พิมพ์ Closeหรื อ C เพือ่ ปิ ดเส้นให้เข้าหาปลายเส้นจุดแรก เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 62
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
ตัวอย่างที่ 5 การเขียนตรงให้ได้องศาที่ตอ้ งการ Command : line Specify first point : คลิกจุด A Specify next point or [ Undo ] : @ 100<0 ( Enter) Specify next point or [ Undo ] : @ 80<90 ( Enter ) Specify next point or [Close /Undo ] : @100<180 ( Enter ) รู ปที่ 3.7 การเขียนตรงให้ได้องศาที่ตอ้ งการ ตัวอย่างที่ 6 เขียนเส้นตรงโดยใส่ ค่าแบบ Dynamic Input Command : line Specify first point : คลิกจุด A Specify next point or [Undo] :ให้เลื่อนเมาส์ไปทางขวา แล้วป้ อนค่าความยาวของเส้นที่ตอ้ งการ
รู ปที่ 3.8 เขียนเส้นตรงโดยใส่ ค่าแบบ Dynamic Input
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 63
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
3.3 คาสั่งในการเขียนเส้นต่อเนื่อง(PolyLine)
, Draw Polyline , PLINE หรื อ PL
ใช้สาหรับเขียนเส้นตรงและเส้นโค้งแบบต่อเนื่อง เส้นโพลีไลน์สามารถกาหนดความหนาเส้น (Width)ได้ในตัวเอง คาสัง่ นี้มีลกั ษณะและวิธีการใช้งานคล้ายกับคาสัง่ LINE แต่จะแตกต่างกันตรงที่เส้น โพลีไลน์จะเป็ นวัตถุ (Object) ชิ้นเดียวกันถึงแม้วา่ จะมีการลากเส้นหลายเซกเมนต์ ดังรู ปที่ 3.9
รู ปที่ 3.9 เส้นโพลีไลน์ รู ปแบบต่างๆ ตัวอย่างที่ 1 การเขียนเส้นตรง ด้วยคาสัง่ โพลีไลน์ Command: _pline Specify start point:คลิกจุดที่ 1 Current line-width is 0.0000 //โปรแกรมจะรายงานความหนาปัจจุบนั ของเส้นโพลีไลน์ Specify next point or [Arc/Halfwidth/Length/Undo/Width] : คลิกจุดที่ 2 Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width] : คลิกจุดที่ 3 Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width] : คลิกจุดที่ 4 Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth/Length/Undo/Width] : กด
ก) ภาพที่ได้จากการใช้คาสั่ง Polyline
ข) เมื่อคลิกที่เส้น จะมีจุดกริ๊ ป ขึ้นในครั้งเดียว 4 จุด
รู ปที่ 3.10 การสร้างเส้น ด้วยคาสั่งโพลีไลน์ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 64
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ 3.3.1 ความหมายตัวเลือกย่อย ในขณะที่บรรทัดคาสั่งแสดงข้อความ Specify next point or [Arc/Close/Halfwidth /Length/Undo/Width] : เราสามารถเลือกที่จะกาหนดรู ปแบบการเขียนเส้นต่อเนื่อง ดังนี้ Arc เปลี่ยนโหมดการเขียนจากโพลีไลน์เส้นตรงให้เป็ นโพลีไลน์เส้นโค้ง Close สร้างเส้นโพลีไลน์แบบปิ ด โดยลากเส้นกลับไปยังจุดเริ่ มต้น Halfwidth กาหนดความหนาครึ่ งหนึ่งให้กลับเส้นโพลีไลน์เซกเมนต์ต่อไป หากต้องการเขียน เส้นโพลีไลน์หนา 10 หน่วย ให้กาหนด starting half-width และ ending-width เท่ากับ 5 หน่วย Length กาหนดความยาวของเส้นตรงเซกเมนต์ต่อไป เส้นตรงเซกเมนต์ต่อไปจะต่อจาก เซกเมนต์เดิมและทามุมเดียวกัน Undo ใช้ในการยกเลิกเส้นตรงที่กาหนดตาแหน่งผิดพลาด Width กาหนดความหนาให้กบั เส้นโพลีไลน์เซกเมนต์ต่อไป หากต้องการเขียนเส้นโพลีไลน์ หนา 10 หน่วย ให้กาหนด starting width และ ending width เท่ากับ 10 หน่วย เราสามารถระบุความหนาเริ่ มต้นและความหนาสิ้ นสุ ดไม่เท่ากันได้ ในบรรทัดแสดงตัวเลือก หากเลือกคาสัง่ Arc เซกเมนต์ต่อไปของเส้นโพลีไลน์จะกลายเป็ นเส้น โค้งและจะปรากฏบรรทัดตัวเลือกย่อยดังต่อไปนี้ Specify endpoint of arc or [Angle/CEnter/CLose/Direction/Halfwidth/Line/Radius/Second pt/Undo/Width]: Angle กาหนดมุมรวม (Include angle) ของเส้นโค้งดังรู ปที่ 3.11 หากกาหนดค่ามุมเป็ นบวก ส่ วนโค้งจะทวนเข็มนาฬิกา ถ้าค่ามุมเป็ นลบส่ วนโค้งจะตามเข็มนาฬิกา เมื่อกาหนดค่า มุมแล้วจะปรากฏตัวเลือกย่อย Center/Radius<End point> เลือกตัวเลือก C, R หรื อ กด เพื่อเลือก <End point> Center กาหนดจุดศูนย์กลางของส่ วนโค้ง Radius กาหนดรัศมีของส่ วนโค้ง <End point> กาหนดจุดปลายของเส้นโค้ง จุดศูนย์กลาง
รัศมี
มุมรวม (Included angle) รู ปที่ 3.11 การเขียนเส้นตรงและเส้นโค้งต่อเนื่องกัน เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 65
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
ใช้สาหรับกาหนดจุดศูนย์กลางของส่ วนโค้ง เมื่อกาหนดตาแหน่งจุดศูนย์กลางแล้ว จะปรากฏตัวเลือกย่อย Angle/Length/<Endpoint >: เลือกตัวเลือก A, Lหรื อ เพื่อเลือก <End point> Angle กาหนดมุมรวม (Include angle)ของส่ วนโค้ง , Length กาหนดความยาวคอร์ ด ของส่ วนโค้ง ถ้าเซกเมนต์ที่แล้วเป็ นส่ วนโค้ง ส่ วนโค้งใหม่จะทามุมสัมผัสกับ ส่ วนโค้งเดิม , <End point> กาหนดจุดปลายของเส้นโค้ง Close ใช้สาหรับปิ ดโพลีไลน์ดว้ ยส่ วยโค้งโดยลากส่ วนโค้งสัมผัสจุดปลายสุ ดของโพลีไลน์ ไปสัมผัสที่จุดเริ่ มต้น Direction กาหนดทิศทางเริ่ มต้นให้กบั ส่ วนโค้ง ซึ่ งจะปรากฏข้อความ Direction from start point: ให้เลื่อนเคอร์ เซอร์ ทามุมเริ่ มต้นของส่ วนโค้ง แล้วคลิกตรงจุดที่เกิดส่ วนโค้งดังรู ปที่ 3. 12 ควรปิ ดโหมดออร์โธ (Ortho)โดยกดปุ่ มฟังชัน่ คีย ์ เพื่อให้มองเห็นส่ วนโค้งชัว่ คราว ที่เกิดขึ้นในขณะเลื่อนเมาส์ Halfwidth กาหนดความหนาครึ่ งหนึ่งให้กบั ส่ วนโค้ง โดยมีระยะจากเส้นศูนย์กลางไปยังขอบของ เส้นโพลีไลน์ ซึ่ งจะมีผลกับส่ วนโค้งเซกเมนต์ต่อไป Line เปลี่ยนโหมดจากเส้นโค้งให้เป็ นเส้นตรง Radius ใช้กาหนดรัศมีของส่ วนโค้ง Second pt ใช้กาหนดจุดที่สองที่ส่วนโค้งจะลากผ่าน Undo ยกเลิกส่ วนโค้งที่กาหนดตาแหน่งผิดพลาด Width กาหนดความหนาของส่ วนโค้ง ซึ่ งจะมีผลกับส่ วนโค้งเซกเมนต์ต่อไป CEnter
รู ปที่ 3.12 การเขียนเส้นด้วยคาสั่งโพลีไลน์ เส้นที่เขียนด้วยคาสั่งโพลีไลน์จะใช้พื้นที่ในการจัดเก็บไฟล์ น้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับเส้นที่เขียน ด้วยคาสั่ง LINE เพราะเส้นที่เขียนด้วยคาสั่ง LINE จะมีการจัดเก็บข้อมูลของทุกเซกเมนต์ ถึงแม้ว่า จะมีจุดหัวท้ายรวมกันก็ตาม แต่การจัดเก็บเส้นโพลีไลน์จะเก็บข้อมูลของแต่ละจุดของโพลีไลน์เท่านั้น
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 66
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
3.4 คาสั่งในการเขียนรูปหลายเหลี่ยม(Polygon)
, Draw Polygon , POLYGON หรื อPOL
ใช้สาหรับเขียนรู ปหลายเหลี่ยม รู ปหลายเหลี่ยมแบ่งออกเป็ น 2 แบบคือแบบ Inscribed Polygon และแบบ Circumscribed Polygon ตัวอย่างที่ 1 การสร้างรู ป 6 เหลี่ยม แบบ Inscribed in circle (เขียนให้อยูภ่ ายในวงกลมอ้างอิง) Command:_ polygon Enter number of sides<4>:6 //จานวนด้านของรู ปหลายเหลี่ยม แล้วกดปุ่ ม Specify center of polygon or [Edge]:คลิกที่จุด A //กาหนดตาแหน่งของจุดศูนย์กลาง Enter an option [Inscribed in circle/Circumscribed about circle]<I>:I //เพื่อเลือก Inscribed Polygon แล้วกดปุ่ ม Specify radius of circle: 50 //พิมพ์ค่ารัศมีของวงกลมอ้างอิง เพื่อกาหนดขนาดของรู ปหกเหลี่ยม จะได้รูป 6 เหลี่ยม ดังในรู ปที่ 3. 13
รู ปที่ 3.13 รู ปหกเหลี่ยม ที่สร้างโดยเลือก Inscribed
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 67
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
ตัวอย่างที่ 2 การสร้างรู ป 6 เหลี่ยม แบบ Circumscribed about circle (เขียนให้อยูภ่ ายนอกวงกลมอ้างอิง) Command:_ polygon Enter number of sides<4>:6 //จานวนด้านของรู ปหลายเหลี่ยม แล้วกดปุ่ ม Specify center of polygon or [Edge]:คลิกที่จุด A //กาหนดตาแหน่งของจุดศูนย์กลาง Enter an option [Inscribed in circle/Circumscribed about circle]<I>:C //เพื่อเลือก Circumscribed Polygon แล้วกดปุ่ ม Specify radius of circle: 50 //พิมพ์ค่ารัศมีของวงกลมอ้างอิง เพื่อกาหนดขนาดของรู ปหกเหลี่ยม จะได้รูป 6 เหลี่ยม ดังในรู ปที่ 3.14
รู ปที่ 3.14 รู ปหกเหลี่ยม ที่สร้างโดยเลือก Circumscribed Polygon 3.4.1 ความหมาย ของตัวเลือกย่อย ในขณะที่บรรทัดคาสั่งแสดงข้อความ Specify center of polygon or [Edge]: หรื อ แสดงข้อความ Enter an option [Inscribed in circle/Circumscribed about circle]<I>: เราสามารถเลือกที่จะกาหนดรู ปแบบการเขียนรู ปหลายเหลี่ยม ดังนี้ Edge ใช้ในกรณี ที่ตอ้ งการกาหนดขนาดความยาวด้านรู ปหลายเหลี่ยม โดยกาหนดจุดสองจุด มีระยะเท่ากับด้านของรู ปหลายเหลี่ยม Center of polygon หากไม่เลือกตัวเลือก Edge โปรแกรมจะรอรับการกาหนดจุดศูนย์กลาง ของรู ปหลายเหลี่ยมด้านเท่า Inscribed Polygon พิมพ์ I เพื่อเลือกรู ปหลายเหลี่ยมที่มีมุมทุกมุมสัมผัสส่ วนโค้งของวงกลมอ้างอิง Circumscribed Polygon พิมพ์ C เพื่อเลือกรู ปหลายเหลี่ยมที่มีดา้ นทุกด้านสัมผัสส่ วนโค้ง ของวงกลมอ้างอิง เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 68
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
ตัวอย่างที่ 3 การสร้างรู ป 8 เหลี่ยม โดยกาหนดความยาวด้าน ให้เท่ากันทุกด้าน Command:_ polygon Enter number of sides<4>:6 //พิมพ์จานวนด้านของรู ปหลายเหลี่ยม แล้วกดปุ่ ม Specify center of polygon or [Edge]:E //ต้องการกาหนดความยาวด้าน Specify first endpoint of edge: คลิกที่จุด A Specify first endpoint of edge: Specify second endpoint of edge: คลิกที่จุด B จะได้รูป 6 เหลี่ยมดังรู ปที่ 3.15 ข.
ก) ข) รู ปที่ 3.15 รู ปหกเหลี่ยม ที่สร้างจากด้านใดด้านหนึ่งที่มีอยู่ (เส้นตรง AB)
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 69
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
3.5 คาสั่งในการเขียนรูปสี่เหลี่ยม (Rectangle)
, DrawRectangle , RECTANGหรื อREC
ใช้สาหรับเขียนเส้นโพลีไลน์รูปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า โดยการเขียนรู ปสี่ เหลี่ยม ต้องกาหนดจุด 2 จุด คือ มุมล่างซ้าย (จุดที่ 1) และมุมบนขวา(จุดที่ 2) ดังรู ปที่ 3.16
รู ปที่ 3.16 แสดงพิกดั ที่มุมซ้ายล่าง(1) และมุมบนขวา(2) ตัวอย่างที่ 1 การสร้างรู ปสี่ เหลี่ยม ขนาด 150 x 100 หน่วย โดยมีพิกดั เริ่ มต้น ที่ 0,0 Command : rectang Specify first corner point or [ Chamfer/Elevation/Fillet/Thickness/Width] :0,0 กดปุ่ ม Specify other corner point:150,100 กดปุ่ ม (จะได้รูปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า ดังรู ปที่ 3.17)
รู ปที่ 3.17 รู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า 3.5.1 ความหมาย ตัวเลือกย่อย ในขณะที่บรรทัดคาสัง่ แสดงข้อความ Specify first corner point or [ Chamfer/Elevation/Fillet/Thickness/Width] เราสามารถเลือกที่จะกาหนดรู ปแบบการเขียนรู ปสี่ เหลี่ยม ดังนี้ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 70
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
ใช้สาหรับสร้างสี่ เหลี่ยมผืนผ้ามุมตัด 4 มุม โดยจะปรากฏข้อความ first และ second chamfer Distance for rectangle<0.0000> ให้กาหนดระยะมุมตัดที่ 1 และ 2 ได้ตามต้องการ Elevation ใช้สาหรับกาหนดระดับความสู งจากระนาบ X,Y ของสี่ เหลี่ยมผืนผ้า 3 มิติ Fillet ใช้สาหรับสร้างสี่ เหลี่ยมผืนผ้ามุมโค้ง 4 มุม โดยจะปรากฏข้อความ fillet radius for rectangles <0.0000>: ให้กาหนดรัศมีมุมโค้งได้ตามต้องการ Thickness ใช้สาหรับกาหนดความลึกในแนวแกน X ใน 3 มิติ ของรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า Width กาหนดความหนาของเส้นกรอบของรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า Chamfer
ตัวอย่างที่ 2 การสร้างรู ปสี่ เหลี่ยมมุมตัด ขนาด 120 x 80 หน่วย และมีมุมตัด 20 หน่วย โดยมีพิกดั เริ่ มต้น ที่ 10,10 Command :_rectang Specify first corner point or [ Chamfer/Elevation/Fillet/Thickness/Width] :C กดปุ่ ม Specify First chamfer distance for rectangles<10.00>:20 กดปุ่ ม Specify Second chamfer distance for rectangles<10.00>:20 กดปุ่ ม Specify first corner point or [ Chamfer/Elevation/Fillet/Thickness/Width] :10,10 Specify first corner point or [ Area/Dimensions/Rotation] :130,90 (จะได้รูปที่ 3.18)
รู ปที่ 3.18 สี่ เหลี่ยมผืนผ้ามุมตัด(Chamfer) เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 71
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
ตัวอย่างที่ 3 การสร้างรู ปสี่ เหลี่ยมมุมมน ขนาด 100 x 140 หน่วย และมีรัศมีมุม 15 หน่วย โดยมีพิกดั เริ่ มต้น ที่ 50,50 Command :_rectang Specify first corner point or [ Chamfer/Elevation/Fillet/Thickness/Width] :f กดปุ่ ม Specify fillet radius for rectangles<10.00>:15 กดปุ่ ม Specify first corner point or [ Chamfer/Elevation/Fillet/Thickness/Width] :50,50 กดปุ่ ม Specify first corner point or [ Area/Dimensions/Rotation] :150,190 กดปุ่ ม (จะได้รูปที่ 3.19)
รู ปที่ 3.19 สี่ เหลี่ยมผืนผ้ามุมมน(fillet)
ควรกาหนดความหนาเส้นโดยใช้ Line Weight ไม่นิยมกาหนดความหนาเส้นโดยใช้ตัวเลือก Width
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 72
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
3.6 คาสั่งในการเขียนเส้นโค้ง(Arc)
, Draw Arc, ARC หรื อ A
ใช้สาหรับเขียนเส้นโค้ง เมื่อใช้คาสั่งนี้จากเมนูบาร์ จะปรากฏตัวเลือก ดังรู ปที่ 3.20
(Options) ต่างๆ
1
2
รู ปที่ 3.20 ตัวเลือก(Options) ของคาสัง่ Arc 3.6.1 ความหมาย ของตัวเลือกย่อย 3 Points กาหนดจุดเริ่ มต้น จุดใดจุดหนึ่งบนส่ วนโค้งและจุดสิ้ นสุ ด Start, Center, End กาหนดจุดเริ่ มต้น จุดศูนย์กลางของส่ วนโค้งและจุดสิ้ นสุ ด Start, Center, Angle กาหนดจุดเริ่ มต้น จุดศูนย์กลางของส่ วนโค้งและมุมรวม Start, Center, Length กาหนดจุดเริ่ มต้น จุดศูนย์กลางส่ วนโค้งและความยาวคอร์ ด Start, End, Angle กาหนดจุดเริ่ มต้น จุดสิ้ นสุ ดและมุมรวม Start, End, Direction กาหนดจุดเริ่ มต้น จุดสิ้ นสุ ดและทิศทาง Start, End, Radius กาหนดจุดเริ่ มต้น จุดสิ้ นสุ ดและรัศมีของส่ วนโค้ง Center, Start, End กาหนดจุดศูนย์กลางของเส้นโค้ง จุดเริ่ มต้นและจุดสิ้ นสุ ด Center, Start, Angle กาหนดจุดศูนย์กลางของส่ วนโค้ง จุดเริ่ มต้นและมุมรวม Center, Start, Length กาหนดจุดศูนย์กลางส่ วนโค้ง จุดเริ่ มต้นและยาวคอร์ ด Continue ใช้ในกรณี ที่ตอ้ งการเขียนเส้นโค้งต่อเนื่องกับเส้โค้งที่ได้เขียนขึ้นด้วยคาสั่ง ARC ครั้งล่าสุ ด เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 73
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ ตัวอย่างที่ 1 การสร้างเส้นโค้งผ่านจุด 3 จุด Command :arc Specify start point of arc (Center) :3t กดปุ่ ม Specify start point of arc or (Center):คลิกจุดที่ 1 กดปุ่ ม Specify second point of arc or (Center/End):คลิกจุดที่ 2 กดปุ่ ม Specify end point of arc :คลิกจุดที่ 3 กดปุ่ ม
(จะได้รูปที่ 3.21)
รู ปที่ 3.21 การเขียนเส้นโค้งผ่านจุด 3 จุด ตัวอย่างที่ 2 การสร้างเส้นโค้ง โดยกาหนดจุดเริ่ มต้นจุด ศูนย์กลางของส่ วนโค้งและจุดสิ้ นสุ ด โดยเรี ยกคาสั่งผ่านเมนูบาร์ DrawArc Start,Center,End หรื อ เรี ยกใช้ที่Command line ดังนี้ Command :arc Specify start point of arc (Center) :คลิกที่จุด Start Specify start point of arc or (Center):C (เพื่อกาหนดจุดศูนย์กลาง) กดปุ่ ม Specify second point of arc or (Center/End):คลิกจุดที่ Center Specify end point of arc :คลิกจุดที่ End (จะได้รูปที่ 3.22)
รู ปที่ 3.22 การเขียนเส้นโค้งโดยกาหนดจุด Start, Center, End เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 74
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
ตัวอย่างที่ 3 การสร้างเส้นโค้ง โดยกาหนดจุดเริ่ มต้น จุดสิ้ นสุ ดและมุมรวม โดยเรี ยกคาสั่งผ่านเมนูบาร์ DrawArc Start,End,Angle หรื อ เรี ยกใช้ที่Command line ดังนี้ Command :arc Specify start point of arc (Center) :n กดปุ่ ม Specify start point of arc or (Center):คลิกที่จุด Start Specify second point of arc or (Center/End):e กดปุ่ ม Specify end point of arc :คลิกจุดที่ End Specify center point of arc or [Angle/Direction/Radius] : A กดปุ่ ม Specify included Angle : 90 (ป้ อนมุมที่ตอ้ งการ) จะได้รูปที่ 3.23
รู ปที่ 3.23 การเขียนเส้นโค้งโดยกาหนดจุด Start, End, Angle
ทิศทางของเส้นโค้งจะทวนเข็มนาฬิกาเสมอและในการกาหนดตาแหน่งของจุดตามลาดับที่ระบุในตัวเลือกนั้น
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 75
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
ตัวอย่างที่ 4 การสร้างเส้นโค้ง โดยกาหนดจุดศูนย์กลาง จุดเริ่ มต้นและจุดสิ้ นสุ ด โดยเรี ยกคาสั่งผ่านเมนูบาร์ DrawArc Center,Start,End หรื อ เรี ยกใช้ที่Command line ดังนี้ Command :arc Specify start point of arc (Center) :C กดปุ่ ม Specify Center point of arc :คลิกที่จุด Center Specify start point of arc : คลิกที่จุด Start Specify end point of arc or [Angle/chord Length] : คลิกที่จุด End จะได้รูปที่ 3.24
รู ปที่ 3.24 การเขียนเส้นโค้งโดยกาหนดจุด Center, Start, End
ในการเขียนเส้นตรงให้ต่อเนื่องทามุมสัมผัสกับส่วนโค้ง ARC ก่อนอื่นเราจะต้องเขียน เส้นโค้งก่อน แล้วใช้คาสั่ง LINE จะปรากฏบรรทัด From point : ให้กดปุ่ม จะปรากฏข้อความ Length of line ให้พิมพ์ค่าความยาวส้นตรงสัมผัสส่วนโค้งที่ต้องการ ในการเขียนเส้นโค้งต่อจากเส้นตรง LINE หรือ PLINE นั้น ก่อนอื่นเราจะต้องเขียนเส้นตรงก่อน แล้วใช้คาสั่ง ARC จะปรากฏบรรทัด Specify start point of arc or[CEnter]: ให้กดปุ่ม จะปรากฏข้อความ end point of arc ให้กาหนดตาแหน่งจุดปลายของเส้นโค้งที่ต้องการ
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 76
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
3.7 คาสั่งในการเขียนวงกลม(Circle)
, Draw Circle , CIRCLE หรือ C
ใช้หรับเขียนรู ปวงกลม โดยสามารถกาหนดตัวเลือกต่างๆ ในการใช้คาสั่ง ดังในรู ปที่
3.25
1
2 รู ปที่ 3.25 ตัวเลือกในคาสั่ง Circle 3.7.1 ความหมาย ของตัวเลือก Center, Radius กาหนดตาแหน่งของจุดศูนย์กลางและรัศมีของวงกลม Center, Diameter กาหนดตาแหน่งของจุดศูนย์กลางและเส้นผ่าศูนย์กลางของวงกลม 2 Points กาหนดตาแหน่งของจุดใดๆ สองจุดที่ส่วนโค้งของวงกลมลากผ่าน 3Points กาหนดตาแหน่งของจุดใดๆ สามจุดที่ส่วนโค้งของวงกลมลากผ่าน Tan, Tan, Radius กาหนดจุดสัมผัสเส้นตรงหรื อเส้นโค้ง 2 จุด และกาหนดรัศมี Tan, Tan, Tan กาหนดจุดสัมผัส 3 จุดผ่านจุดที่ตอ้ งการสร้างวงกลม
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 77
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ ตัวอย่าง 1 การสร้างวงกลมโดยกาหนดจุดศูนย์กลางและรัศมี Command:_ circle Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr ( tan tan radius)] : คลิกจุดที่ 1 Specify radius of circle or [ Diameter] : 30 (รัศมีของวงกลม) จะได้รูปที่ 3.26
รู ปที่ 3.26 การสร้างวงกลมโดยกาหนดจุดศูนย์กลาง และรัศมี ตัวอย่าง 2 การเขียนวงกลม ให้ลากผ่านจุด 3 จุด Command:_ circle Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr ( ten ten radius)] : 3p Specify first point on circle : คลิกจุดที่ 1 //รู ปที่ 3.27 ก Specify second point on circle : คลิกจุดที่ 2 //รู ปที่ 3.27 ก Specify third point on circle : คลิกจุดที่ 3 //รู ปที่ 3.27 ก // จะได้รูปที่ 3.27 ข.
ก) จุดที่ตอ้ งการให้เส้นรอบวง ลากผ่าน
ข) สร้างวงกลมจากการคลิกที่จุด 3 จุด
รู ปที่ 3.27 การสร้างวงกลม ให้เส้นรอบวง ลากผ่านจุด 3 จุด (3P) เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 78
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
ตัวอย่าง 3 การเขียนวงกลม ให้ลากผ่านจุด 2 จุด Command:_ circle Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr ( ten ten radius)] : 2p Specify first end point of circle’s diameter : คลิกจุดที่ 1 // รู ปที่ 3.28 ก. Specify first end point of circle’s diameter : คลิกจุดที่ 2 // จะได้รูปที่ 3.28 ข.
ก) จุด 2 จุด ที่ตอ้ งการให้เส้นรอบวงลากผ่าน
ข) วงกลมที่ได้
รู ปที่ 3.28 การสร้างวงกลม ให้เส้นรอบวง ลากผ่านจุด 2 จุด (2P)
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 79
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
ตัวอย่าง 4 การเขียนวงกลม ให้สัมผัสผิวโค้ง 2 จุด และกาหนดรัศมี Command:_ circle Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr ( ten ten radius)] : t Specify point on object for first tangent of circle :เลื่อนเมาส์ไปคลิก ที่วงกลม 1 //บริ เวณครอสแฮร์ ) รู ปที่ 3.29 ก Specify point on object for first tangent of circle :เลื่อนเมาส์ไปคลิก ที่วงกลม 2 //บริ เวณครอสแฮร์ ) รู ปที่ 3.29 ข Specify radius of circle <10.00>: 30 //ป้ อนรัศมีของวงกลมที่ตอ้ งการ // จะได้ รู ปที่ 3.29 ค
ก)
ข)
ค) รู ปที่ 3.29 การเขียนวงกลมด้วยการสร้างเส้นสัมผัสผิวโค้งและกาหนดรัศมี
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 80
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
ตัวอย่าง 5 การเขียนวงกลม ให้สัมผัสผิวโค้ง 3 จุด (ต้องเลือกคาสั่งจาก Draw circle tan , tan , tan ) Command:_ circle Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr ( ten ten radius)] :_3p Specify first point on circle :_tan to คลิก ที่วงกลม 1 //บริ เวณครอสแฮร์ ตามรู ปที่ 3.30 ก Specify second point on circle :_tan to คลิก ที่วงกลม 2 // บริ เวณครอสแฮร์ ตามรู ปที่ 3.30 ข Specify third point on circle :_tan to คลิก ที่วงกลม // จะได้ รู ปที่ 3.30 ค
ก)
ข)
ค) รู ปที่ 3.30 การเขียนวงกลมด้วยการสร้างเส้นสัมผัสผิวโค้ง
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 81
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
3.8 คาสั่งในการเขียนเส้นต่อเนื่อง(SPLINE)
, Draw Spline ,SPLINE หรือ SPL
ใช้คาสั่งนี้สาหรับสร้างเส้นโค้งต่อเนื่องแบบควอดราทิคหรื อคิวบิคสไปลน์ (Quadratic or cubic spline) เส้นโค้งสไปลน์ (NURBS) จะโค้งไปตามลาดับของจุดที่กาหนด ตัวอย่างที่ 1 การสร้างเส้นโค้งต่อเนื่อง Command: _spline Specify first point or [object] : คลิกตรงจุดที่ 1 Specify next point: คลิกตรงจุดที่ 2 Specify next or [Close/Fit tolerance] < start tangent> : คลิกจุดที่ 3, 4, 5, 6, 7, 8 Specify next or [Close/Fit tolerance] : กดปุ่ ม หรื อ คลิกขวา Specify start tangent : เลื่อนเมาส์ไปที่จุด 9 แล้วเลื่อนเมาส์ไปมาอีกครั้ง เพื่อปรับมุมเอียง ของจุดเริ่ มต้นของเส้นโค้งที่ 1 คลิกเมื่อได้มุมเริ่ มต้นที่ตอ้ งการ Specify end tangent : เลื่อนเมาส์ไปจุดที่ 10 แล้วเลื่อนเมาส์ไปอีกครั้ง เพื่อปรับมุมเอียง ของจุดสิ้ นสุ ดของเส้นโค้งที่ 8 แล้วคลิกซ้ายเมื่อได้มุมสิ้ นสุ ดที่ตอ้ งการ
รู ปที่ 3.31 การใช้คาสั่งเขียนเส้นต่อเนื่อง 3.8.1 ความหมายของตัวเลือกย่อย Close ใช้ตวั เลือกนี้เพื่อสร้างสไปลน์ (Spline) แบบปิ ด Fit Tolerance ใช้ตวั เลือกนี้เพื่อกาหนดค่าความโค้งของสไปลน์ โดยที่โปรแกรมกาหนดมาให้ มีค่าเป็ น ศูนย์ ซึ่ งจะทาให้เส้นโค้งสไปลน์วงิ่ ผ่านจุด Fit Tolerance หากกาหนดค่าตัวเลือกนี้ยงิ่ มากเท่าใด เส้นโค้งสไปลน์จะมีรูปร่ างใกล้เคียงกับเส้นตรงมากเท่านั้น
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 82
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
3.9 คาสั่งในการเขียนวงรี (ELLIPSE)
, Draw Ellipse, ELLIPSE หรือ EL
ใช้คาสั่งนี้สาหรับเขียนวงรี แบบปิ ดและวงรี แบบเปิ ดหรื อวงรี ไอโซเมตริ ก (Isometric ellipse) โดยมีตวั เลือก ดังรู ปที่ 3.32 1
2 รู ปที่ 3.32 ตัวเลือกย่อยของคาสั่ง Ellipse 3.9.1 ความหมายของตัวเลือกย่อย Center สร้างวงรี โดยกาหนดจุดศูนย์กลาง Axis, End สร้างวงรี โดยกาหนดแกน และจุดสุ ดท้าย Arc สร้างส่ วนโค้งวงรี ตัวอย่าง 1 การสร้างวงรี โดยกาหนดจุดศูนย์กลาง Command: ellipse Specify axis endpoint of ellipse or [Arc/Center]:c //พิมพ์ C เพื่อเลือก Center แล้วกดปุ่ ม Specify canter of ellipse: คลิกที่จุด A //กาหนดจุดศูนย์กลางของวงรี Specify endpoint of axis: คลิกที่จุด 1 // กาหนดความยาวรัศมีแกนที่ 1 ของวงรี Specify distance to other axis or [Rotation]: คลิกที่จุด 2 //กาหนดความยาวรัศมีแกนที่ 2 ของวงรี จะได้ดงั รู ปที่ 3.33
รู ปที่ 3.33 วงรี ที่ได้จากการกาหนดจุดศูนย์กลาง
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 83
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ ตัวอย่าง 2 การสร้างวงรี โดยกาหนดแกน และจุดสุ ดท้าย Command: _ellipse Specify axis endpoint of [Arc/Center]: คลิกจุดที่ 1 //กาหนดจุดเริ่ มต้นของแกนที่1ของวงรี Specify other endpoint of axis: คลิกจุดที่ 2 // กาหนดจุดปลายของแกนที่1ของวงรี Specify distance to other axis or [Rotation]: คลิกจุดที่ A //กาหนดความยาวรัศมีแกนที่ 2ของวงรี จะได้ดงั รู ปที่ 3.34
รู ปที่ 3.34 วงรี ที่ได้จากการกาหนดจุดศูนย์กลาง
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 84
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
3.10 คาสั่งในการเขียนเส้นโค้งวงรี (Ellipse Arc) ใช้ในการสร้างเส้นโค้งวงรี
, Draw Ellipse Arc
เป็ นคาสั่งที่แยกออกมาจาก คาสั่ง Ellipse เพื่อให้ใช้งานได้สะดวกขึ้น
ตัวอย่าง 1 การสร้างส่ วนโค้งวงรี Command: _ellipse Specify axis endpoint of ellipse or [Arc/Center] : a //เพื่อเลือก Arc แล้วกดปุ่ ม Specify axis endpoint of elliptical arc or [Center]: คลิกจุดที่ 1 //กาหนดจุดเริ่ มต้นของแกนที่ 1 ของวงรี Specify other endpoint of axis : คลิกจุดที่ 2 // กาหนดจุดปลายของแกนที่ 1 ของวงรี Specify distance to other axis or [Rotation] : คลิกจุดที่ A //กาหนดความยาวรัศมีแกนที่ 2 ของวงรี Specify start angle or [Parameter] : คลิกจุดที่ 1 //กาหนดจุดเริ่ มต้นของส่ วนโค้งของวงรี Specify end angle or [Parameter/Included angle] : คลิกจุดที่ A //กาหนดจุดสิ้ นสุ ด ของส่ วนของส่ วน โค้งของวงรี จะได้ดงั รู ปที่ 3.35
รู ปที่ 3.35 เส้นโค้งวงรี
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 85
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
3.11 คาสั่งในการเขียนจุด (POINT)
, Draw Point, POINT หรือ PO
ใช้คาสั่งนี้สาหรับเขียนจุด(Point) บนพื้นที่วาดภาพ ใน AutoCAD จุด ๆ หนึ่งถึงแม้วา่ จะมีขนาดเล็ก มากจนแทบจะมองไม่เห็นก็ถือว่าเป็ นวัตถุชิ้นหนึ่งเช่นเดียวกับวัตถุอื่น ๆ อาทิ เช่น LINE, PLINE หรื อ CIRCLE เป็ นต้น เราสามารถเรี ยกคาสั่ง Draw Point Single Point จากเมนูบาร์เพื่อเขียนจุด 1 จุด หรื อใช้คาสั่ง Draw Point Multiple Point จากเมนูบาร์ เพื่อเขียนจุดหลายจุด หรื อพิมพ์คาสั่งผ่าน คียบ์ อร์ ดได้ดงั นี้ Command: point Current point modes: PDMODE=0.0000 Specify a point: {คลิกตาแหน่งที่ตอ้ งการให้ปรากฏจุด กดปุ่ ม
เพื่อยกเลิกการเขียนจุด}
ในบางครั้งเราไม่สามามองเห็นจุดที่เราสร้างขึ้นบนพื้นที่วาดภาพได้เนื่องจากรู ปแบบของจุด ที่โปรแกรมกาหนดมาให้มีขนาดเล็กมาก เราสามารถเปลี่ยนรู ปแบบและขนาดของจุดบนพื้นที่วาดภาพ ได้ โดย ไปที่ Format Point Style จะเกิดหน้าต่างรู ปแบบจุด ให้เราเลือก ดังรู ปที่ 3.36
รู ปแบบจุดที่ใช้ในปั จจุบนั
ปรับขนาดความโตของจุด
รู ปที่ 3.36 แสดงหน้าต่าง รู ปแบบจุด
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 86
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
3.12 คาสั่งประสานวัตถุ(REGION)
, Draw Region , REGION หรือ REG
เป็ นคาสั่งเพื่อประสานวัตถุ 2 ชิ้นขึ้นไป เข้าด้วยกัน และวัตถุน้ นั ต้องเป็ นพื้นที่ปิด คาสั่งนี้ใช้กบั วัตถุที่สร้างจากคาสัง่ LINE, PLINE, SPLINE, ARC, RECTANGLE, CIRCLE, ELLIPE และ POLYGON ดังรู ปที่ 3.37 1 ก)
ข)
2
ค) รู ปที่ 3.37 การประสานวัตถุ 2 ชิ้น
Command: _Region //สังเกตว่า สัญลักษณ์หลอดไฟในรู ปที่ 3.37 ก. มีวตั ถุ 3 ชิ้น โดยการใช้เมาส์คลิก ที่เส้นแต่ละเส้น จะเห็นจุดกริ๊ ปส์ข้ ึนทุกเส้น ดังรู ปที่ 3.37 ข. Select object: คลิกจุดที่ 1 และ 2 ตามลาดับ เพื่อเลือกวัตถุแบบ window ตามรู ปที่ 3.37 ก. Select object : Specify opposite corner: 4 found //โปรแกรมรายงานว่าพบวัตถุ 4 ชิ้น Select object: คลิกขวา หรื อกดปุ่ ม Enter เพื่อจบคาสั่ง Region 1 loop extracted. 1 Region created. // โปรแกรมรายงานว่าได้ทาการ Region วัตถุแล้ว **ตรวจสอบโดยใช้เมาส์ไปคลิกที่วตั ถุ จะเห็นว่า มีจุดกริ๊ ปส์สีน้ าเงินแสดงขึ้นพร้อมกัน ในครั้งเดียว ดังในรู ปที่ 3. 37 ค.
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 87
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ 3 เครื่องมือในการเขียนวัตถุ จงเลือกคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. แถบเครื่ องมือนี้
ชื่อว่าอะไร
ก. Draw
ค. Object Snap
ข. Modify
ง. Menu bar
2. ต้องการเขียนเส้นตรงโดยกาหนดความยาวได้ ต้องใช้เครื่ องมือใด ก. ข.
ค. ง.
3. ตามรู ปด้านล่างนี้ ใช้เครื่ องมือใดในการเขียน
ก. ข.
ค. ง.
4. ต้องการวาดรู ป 8 เหลี่ยม ให้เป็ นวัตถุชิ้นเดียว ตามรู ปด้านล่างนี้ จะต้องใช้เครื่ องมือใด
ก. ข.
ค. ง. ถูกทุกข้อ
5. ต้องการวาดรู ปสี่ เหลี่ยม ให้เป็ นวัตถุชิ้นเดียว ดังรู ปด้านล่าง จะต้องใช้เครื่ องมือใด
ก. ข.
ค. ง.
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 88
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ 6. เส้นโค้งตามภาพด้านล่าง ควรใช้ตวั เลือกใด ในการเขียน
ก. Draw>Arc…>Start, End, Angle
ค. Draw>Arc…>Start, Center, Angle
ข. Draw>Arc…>Center, Start, Angle
ง. Draw>Arc…>Start, Center, End
7. วงกลมตามรู ปข้างล่าง ควรใช้คาสัง่ ใดในการสร้าง
ก. Draw > Circle > Tan, Tan, Radius
ค. Draw > Circle > Center, Diameter
ข. Draw > Circle > Center, Radius ง.
Draw > Circle > 2 Points
8. ต้องการเขียนรู ปคลื่นไฟฟ้ ากระแสสลับ ตามรู ปด้านล่างนี้ ควรใช้คาสั่งใด ก. ข.
ค. SPline ง.
9. ถ้าต้องการวาดรู ปด้านล่างนี้ ควรใช้คาสั่งใด
ก. ค. Draw > Ellipse ข. Command : EL ง. ถูกทุกข้อ 10. ถ้าต้องการวาดรู ปด้านล่างนี้ ควรใช้คาสัง่ ใด
ก. ข.
ค.
Draw > Ellipse > Arc
ง. ข้อ ก และ ค ถูก
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 89
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ 11. ถ้าต้องการให้วตั ถุดา้ นซ้าย กลายเป็ นวัตถุดา้ นขวา ควรใช้คาสั่งใด
ก. Merge ข. Explode 12. ถ้าต้องการเขียนจุด จะต้องใช้คาสัง่ ใด
ค. Union ง. Region
ก. ค. ข. Command : po ง. 13. ถ้าต้องการเขียนรู ปสี่ เหลี่ยม ดังรู ปข้างล่างนี้ ควรใช้คาสัง่ ใด ก. ค. ข. ง. ถูกทุกข้อ 14. ในคาสั่ง Polyline ถ้าต้องการเปลี่ยนไปเขียนเส้นโค้ง ต้องใช้ตวั เลือกใด ก. L ค. D ข. A ง. W 15. ตัวเลือก Tan, Tan, Tan เป็ นของคาสั่งใด ก. Circle ค. Ellipse ข. Rectangle ง. Arc
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 90
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ 3 เครื่องมือในการเขียนวัตถุ จงเลือกคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. แถบเครื่ องมือ Draw คือข้อใด ก. ข. ค. ง. 2. ต้องการวาดรู ป 8 เหลี่ยม ให้เป็ นวัตถุชิ้นเดียว ตามรู ปด้านล่างนี้ จะต้องใช้เครื่ องมือใด
ก.
ค.
ข. ง. ถูกทุกข้อ 3. ต้องการเขียนเส้นตรงโดยกาหนดความยาวได้ ต้องใช้เครื่ องมือใด ก. ข.
ค. ง.
4. ตามรู ปด้านล่างนี้ ใช้เครื่ องมือใดในการเขียน
ก. ข.
ค. ง.
5. ต้องการวาดรู ปสี่ เหลี่ยม ให้เป็ นวัตถุชิ้นเดียว ดังรู ปด้านล่าง จะต้องใช้เครื่ องมือใด
ก. ข.
ค. ง.
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 91
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ 6. เส้นโค้งตามภาพด้านล่าง ควรใช้ตวั เลือกใด ในการเขียน
ก. Draw>Arc…>Start, End, Angle
ค. Draw>Arc…>Start, Center, Angle
ข. Draw>Arc…>Center, Start, Angle
ง. Draw>Arc…>Start, Center, End
7. ถ้าต้องการเขียนจุด จะต้องใช้คาสั่งใด ก. ค. ข. Command : po ง. 8. วงกลมตามรู ปข้างล่าง ควรใช้คาสั่งใดในการสร้าง
ก. Draw > Circle > Tan, Tan, Radius
ค. Draw > Circle > Center, Diameter
ข. Draw > Circle > Center, Radius ง.
Draw > Circle > 2 Points
9. ต้องการเขียนรู ปคลื่นไฟฟ้ ากระแสสลับ ตามรู ปด้านล่างนี้ ควรใช้คาสั่งใด
ก. ข.
ค. SPline ง.
10. ถ้าต้องการวาดรู ปด้านล่างนี้ ควรใช้คาสั่งใด
ก. ค. ข. Command : EL ง.
Draw > Ellipse ถูกทุกข้อ
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 92
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
11. ถ้าต้องการวาดรู ปด้านล่างนี้ ควรใช้คาสั่งใด
ก. ข.
ค.
Draw > Ellipse > Arc
ง. ข้อ ก และ ค ถูก
12. ถ้าต้องการให้วตั ถุดา้ นซ้าย กลายเป็ นวัตถุดา้ นขวา ควรใช้คาสั่งใด
ก. Merge
ค. Union
ข. Explode ง. Region 13. ถ้าต้องการเขียนรู ปสี่ เหลี่ยม ดังรู ปข้างล่างนี้ ควรใช้คาสัง่ ใด ก. ค. ข. ง. ถูกทุกข้อ 14. ในคาสั่ง Polyline ถ้าต้องการเปลี่ยนไปเขียนเส้นโค้ง ต้องใช้ตวั เลือกใด ก. L ค. D ข. A ง. W 15. ตัวเลือก Tan, Tan, Tan เป็ นของคาสั่งใด ก. Circle ค. Ellipse ข. Rectangle ง. Arc
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 93
บทที่ 3 เครื่ องมือในการเขียนวัตถุ
แบบฝึ กหัด บทที่ 3 เครื่องมือในการเขียนวัตถุ จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงบอกชื่อคาสัง่ จากแถบเครื่ องมือ ตามรู ปข้างล่างนี้ (10 คะแนน) 4
1 2
3
6
5
8
7
10
9
11
1) แถบเครื่ องมือ........................... 2) คาสั่ง....................... 3) คาสั่ง....................... 4) คาสั่ง....................... 5) คาสัง่ ....................... 6) คาสั่ง....................... 7) คาสั่ง....................... 8) คาสั่ง....................... 9) คาสั่ง....................... 10) คาสัง่ ....................... 11) คาสั่ง.......................
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์ ……..สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 94