บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ สาระการเรียนรู้ 1. การสร้างเทมเพลท หรือ ไตเติ้ลบล็อค 2. การตั้งค่าเพื่อพล็อตงานเขียนแบบ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. สร้างเทมเพลท หรือ ไตเติ้ลบล็อคได้ 2. พล็อตงานเขียนแบบออกทางเครื่องพิมพ์ได้
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 265
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ
9.1 การสร้ างเทมเพลท การสร้างเทมเพลท(Template)หรื อไตเติ้ลบล็อค(Title block)ทุกประเภท ใน AutoCAD 2007 จะถูกสร้างขึ้นบนพื้นที่เลเอาท์เปเปอร์ สเปสเท่านั้น และเทมเพลทจะต้องมีหน่วยวัดตรงกันกับหน่วยวัด ของชิ้นงาน หากเราจะนาเทมเพลทไปใช้กบั ชิ้นงานในโมเดลสเปสที่มีหน่วยวัดเป็ นมิลลิเมตร เราจะต้อง สร้างเทมเพลทที่มีหน่วยวัดเป็ นมิลลิเมตร ในทานองเดียวกันหากเราจะนาเทมเพลทไปใช้กบั ชิ้นงานใน โมเดลสเปสที่มีหน่วยวัดเป็ นเซนติเมตรเราจะต้องสร้างเทมเพลทที่มีหน่วยวัดเป็ นเซนติเมตร และหากเรา จะนาเทมเพลทไปใช้กบั ชิ้นงานในโมเดลสเปส ที่มีหน่วยวัดเป็ นเมตร เราจะต้องสร้างเทมเพลทที่มี หน่วยวัดเป็ นเมตร จึงจะทาให้เรากาหนดมาตรตราส่ วนได้อย่างถูกต้องตรงไปตรงมา โดยไม่ตอ้ ง เสี ยเวลาในการคานวณหามาตรตราส่ วน การสร้างเทมเพลทหรื อไตเติ้ลบล็อคแบบทัว่ ไปนั้น เป็ นพื้นฐานการสร้างเทมเพลทประเภทอื่นๆ หากเราสามารถสร้างเทมเพลททัว่ ไปได้แล้ว เราสามารถนาเทมเพลทนี้ไปแก้ไขเพิม่ เติม เพื่อสร้าง เทมเพลทแอททริ บิวต์(Attribute) ตารางแบบเอกเรฟ(Xref) หรื อรายการตารางแบบ ชีทเซท(Sheet Set) ได้อีกด้วย โดยปกติ ก่อนที่เราจะสร้างเทมเพลท เราจะต้องทราบขนาดกระดาษ(Paper size) และพื้นที่ที่ เครื่ องพิมพ์สามารถพิมพ์ได้(Printable area) เสี ยก่อน เราจึงจะสามารถกาหนดขนาดของเทมเพลทได้ อย่างถูกต้อง ทั้งนี้ เพื่อป้ องกันไม่ให้มีส่วนหนึ่งของตารางยืน่ ออกไปข้างนอกขอบเขตของพื้นที่ที่ เครื่ องพิมพ์สามารถพิมพ์ได้ เมื่อพิมพ์แบบแปลนลงกระดาษอาจจะทาให้ขอบของตารางรายการแบบ ขาดหายไปบางส่ วน เครื่ องพิมพ์โดยทัว่ ไป จะไม่สามารถพิมพ์เต็มพื้นที่ของกระดาษได้ซ่ ึ งจะมีส่วน ขอบของกระดาษ(Margin) ด้านซ้าย ด้านขวา ด้านล่างและด้านบน ที่ไม่สามารถพิมพ์ได้ซ่ ึ งถ้าเรานา ขอบกระดาษทั้ง 4 ด้านลบออกจากขนาดของกระดาษ เราก็จะได้พ้นื ที่พิมพ์ของเครื่ อง ดังตารางใน ตารางที่ 9.1 ขนาดกระดาษตาม ขนาดกระดาษ(Paper Size) ขนาดกระดาษ(Printable area) มาตรฐาน ISO (ม.ม.) (ม.ม.) 1189 x 841 1155 x 831 A0 841 x 594 807 x 584 A1 594 x 420 560 x 410 A2 420 x 297 386 x 287 A3 297 x 210 263 x 200 A4 ตารางที่ 9.1 ขนาดกระดาษมาตรฐาน ISO และ Printable area เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 266
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ พื้นที่พิมพ์ที่ระบุไว้ในตารางจะขึ้นอยูก่ บั ยีห่ อ้ และรุ่ นของเครื่ องพิมพ์ เครื่ องพิมพ์แต่ละรุ่ นและ แต่ละยีห่ อ้ มีพ้นื ที่พิมพ์หรื อพื้นที่ที่สามารถพิมพ์ได้แตกต่างกัน ก่อนที่จะเริ่ มเขียนเทมเพลท เราควร ทราบพื้นที่ที่สามารถพิมพ์ได้ที่แน่นอนของเครื่ องพิมพ์เสี ยก่อน เพื่อที่เราจะได้กาหนดขนาดของ เทมเพลทไม่เกินขอบเขตที่เครื่ องพิมพ์สามารถพิมพ์ได้ (Printable) โดยปกติ พื้นที่พิมพ์ของเครื่ องพิมพ์แต่ละเครื่ องถูกกาหนดมาด้วยไดรฟ์ เวอร์ ของเครื่ องพิมพ์น้ นั พื้นที่ที่สามารถพิมพ์ได้ของเครื่ องพิมพ์ที่โปรแกรมกาหนดมาให้ ถ้าหากเราต้องการทราบขนาดที่แน่นอน ของพื้นที่ที่สามารถพิมพ์ได้ของเครื่ องพิมพ์ใดๆ เราสามารถทาการทดลองพิมพ์ง่ายๆ โดยกาหนดขอบเขต กระดาษ(Margin)ทั้ง 4 ด้านให้มีค่าเป็ น 0(ศูนย์)ในคอนฟิ กเกอเรชัน่ ของเครื่ องพิมพ์ pc3 นั้น แล้วเขียน เส้นตรงในแนวนอนและในแนวตั้งขึ้นมาอย่างละเส้นให้ยาวนอกไปนอกขอบกระดาษทั้ง 4 ด้าน ดังรู ปที่ 9.1 (ซ้าย) แล้วสั่งพิมพ์เส้นตรงทั้งสองนั้นลงในกระดาษและวัดพื้นที่ที่เครื่ องพิมพ์ได้ของแต่ละกระดาษ แต่ละขนาดดังรู ปที่ 9.1 (ขวา) แล้วบันทึกลงในคอนฟิ กเกอเรชัน่ ของเครื่ องพิมพ์ pc3 เราก็จะได้พ้นื ที่ ถูกต้องแม่นยา ซึ่ งเราสามารถเขียนเทมเพลทที่อยูภ่ ายในพื้นที่ที่สามารถพิมพ์ได้
รู ปที่ 9.1 แสดงการหาพื้นที่ที่สามารถพิมพ์ได้ของเครื่ องพิมพ์ ถ้าเราวางแผนที่จะเขียนเทมเพลทที่มีขนาดเล็กกว่าพื้นที่พิมพ์ของเครื่ องพิมพ์มากๆซึ่ งกรอบ ตารางห่างจากขอบกระดาษทั้ง 4 ด้าน ด้านละประมาณ 25 เซนติเมตร เราไม่จาเป็ นที่จะต้องสนใจพื้นที่ที่ เครื่ องพิมพ์สามารถพิมพ์ได้แม้แต่นอ้ ย เพราะว่าคงจะไม่มีเครื่ องพิมพ์เครื่ องใดที่จะมีขนาดใหญ่กว่าด้าน ละ 25 มิลลิเมตร ส่ วนใหญ่ขอบของกระดาษ (Margin) ซึ่ งไม่สามารถพิมพ์ได้จะอยูใ่ นช่วง 5-25 มิลลิเมตร ซึ่ งก็อยูก่ บั ขนาดของกระดาษรุ่ น และ ยีห่ อ้ ของเครื่ องพิมพ์ดว้ ย ในการสร้างเทมเพลทไปซึ่งใช้เครื่ องพิมพ์รุ่นหนึ่งหรื อยีห่ อ้ หนึ่ง หากเราเผือ่ ขอบกระดาษไว้มาก พอ เราจะสามารถนาเทมเพลทไปใช้งานกับเครื่ องพิมพ์รุ่นอื่นๆได้ แต่ถา้ เราใช้ขนาดของเทมเพลทพอดี มากเกินไปกับพื้ที่ที่สามารถพิมพ์ได้ ของเครื่ องพิมพ์ยหี่ อ้ หนึ่ง เมื่อนาเทมเพลทดังกล่าวไปพิมพ์กบั เครื่ องพิมพ์อีกยีห่ อ้ หนึ่ง อาจจะมีส่วนหนึ่งส่ วนใดของตารางขาดหายไปได้ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 267
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ หากเราทราบขนาดกระดาษ รุ่ นและยีห่ อ้ เครื่ องพิมพ์ก่อนที่จะสร้างเทมเพลทจะทาให้ง่ายต่อการ กาหนดขนาดของเทมเพลทให้อยูใ่ นขอบเขตในพื้นที่ที่เครื่ องพิมพ์สามารถพิมพ์ได้เพราะพื้นที่ที่สามารถ พิมพ์ได้ของเครื่ องพิมพ์จะปรากฏ ให้เห็นเป็ นเส้นประบนเลเอาท์ของกระดาษที่ถูกเลือกมาใช้งาน
เครื่องพิมพ์รุ่นใหม่ๆสามารถเลือกที่จะพิมพ์เต็มพื้นที่กระดาษได้โดยจะไม่มีขอบ( Borderless) ดังนั้น เมื่อทาการเขียนกรอบกรอบงานเขียนแบบ เราไม่จาเป็นต้องคานึงถึงขอบกระดาษ เนื่องจากเราสามารถ พิมพ์เต็มพื้นที่กระดาษได้
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 268
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ 9.2 การตั้งค่ าเพือ่ พล็อตงานเขียนแบบ การกาหนดสเกล( Scale) และการพล็อต(plot) จะเป็ นเรื่ องที่มีความส้มพันธ์ซ่ ึ งกันและกันเสมอ ยากที่จะแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด เพราะการพล็อตนั้น แท้จริ งก็คือการกาหนดให้มีสเกล มาตรฐานอยูบ่ นกระดาษนัน่ เอง เช่นสเกลมาตรฐานเท่ากับ 1 : 100 ส่ วนการกาหนดสเกลก็จะยังคงต้อง อาศัยความสัมพันธ์ที่ได้มาจากสเกลมาตรฐานที่ได้จากการพล็อตมาเป็ นบรรทัดฐาน หรื อตัวอ้างอิงทาให้ สามารถกาหนดสเกลในลักษณะสเกลเดียวทั้งแผ่น หรื อหลายๆ สเกลอยูบ่ นแผ่นเดียวกันก็ได้ ดั้งนั้นเรา ควรจะเข้าใจความสัมพันธ์ของทั้งสองแบบ เพื่อเป็ นประโยชน์ในการกาหนดสเกลและการพล็อตให้ ถูกต้องต่อไป 9.2.1 การให้ ขนาดสเกลมาตรฐานโดยการพล็อต นอกเหนือจากที่เราใช้แบบแปลนในการลื่อความหมายให้เข้าใจแล้ว การสร้างความ ถูกต้องของชิ้นงานถือได้วา่ เป็ นหัวใจของการเขียนแบบ ถึงแม้วา่ รู ปร่ างของชิ้นงานอาจจะใกล้เคียงกับ ของกับของจริ งก็ตาม แต่ก็มิอาจที่จะวัดหรื อให้ขนาดที่ถูกต้องได้อย่างแท้จริ ง จุดที่สาคัญของกาหนดสเกลมาตรฐานให้มีขนาดเท่าใดนั้น จะขึ้นอยูก่ บั หน่วย ( Units) ของการพล็อตที่เรากาหนด เช่น Plotted MM = Drawing Units หมายความว่า “จากขนาดความยาว 1 หน่วยของระยะบนจอภาพ จะต้องการให้ปากของ เครื่ องพล็อตลากไปยาวกี่มิลลิเมตร (MM)” นัน่ เอง ยกตัวอย่างเช่น ถ้าสมมุติให้เรากาหนด Plotted MM = Drawing Units มีขนาดเท่ากับ 10 = 1 ก็หมายความว่าความยาว 1 หน่วยที่เขียนขึ้นมาบนจอภาพ จะถูกเขียนลงบนกระดาษด้วยความ ยาวเท่า 10 มิลลิเมตร (MM) 10 = 1 ความยาวของปากกาที่ลากไปบนกระดาษ หน่ วยมิลลิเมตร(Plotted MM.) (
จานวนยูนิตบนจอภาพ Drawing Units)
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 269
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ ถ้าเรากาหนดให้ 1 หน่วย มีขนาดความยาวเท่ากับ 1 เมตร ก็ได้ความยาว 1 เมตรจาก ของจริ งถูกเขียนขึ้นบนกระดาษยาว 10 มิลลิเมตร หรื อ 1 เชนติเมตร เมื่อเราทาการจับมาเทียบสเกลเข้า ด้วยกันก็จะได้ดงั นี้ ระยะบนรู ป : ระยะจริ ง = 1 เซนติเมตร : 1 เมตร = 1 เซนติเมตร : 100 เซนติเมตร = 1 : 100 ดังนั้น Drawing แปลนแผ่นนี้จะมีสเกลมาตรฐานเท่ากับ 1 : 100 นัน่ เอง ขอยกตัวอย่าง อีกสักตัวอย่างให้เข้าใจยิง่ ขึ้นถ้าสมมุติเรากาหนดให้เท่ากับ 100 = 1 ก็จะแสดงว่าเมื่อเราเขียนส้นตรง ที่ยาว 1 เมตร บนจอภาพ (ให้ 1 หน่วย = 1 เมตร ) เราก็จะได้ความยาวที่ถูกเขียนขึ้นมาบนกระดาษมี ความยาว 100 มิลลิเมตร และถ้านามาเทียบสเกลเข้าด้วยกันก็จะได้ ระยะบนกระดาษ : ระยะจริ ง = 100 มิลลิเมตร : 1 เมตร = 10 เซนติเมตร : 1000 เซนติเมตร = 1 : 10 นัน่ ก็คือ แปลนรู ปนี้ก็จะมีสเกลมาตรฐานเท่ากับ 1 : 10 เช่นกัน ดังนั้นการกาหนด Plotted MM = Drawing Units จึงเป็ นตัวจักรสาคัญในการ ควบคุมความถูกต้องของสเกลที่พล็อตออกมาบนกระดาษ ซึ่ งเราจะต้องพิจารณาก่อนว่าจะเขียนชิ้นงาน อยูบ่ นกระดาษขนาดเท่าไร A0, A1, A2, A3,A4 เมื่อนามาเทียบกับขนาดของชิ้นงานจริ งแล้วน่าจะมี การย่อส่ วน หรื อ ขยายส่ วนด้วยสเกลเท่าไรจึงจะเหมาะสม แล้วจึงค่อยทาการกาหนดสเกลของการพล็อต ให้สัมพันธ์กนั ในภายหลัง 9.2.2 เทคนิคของการกาหนดสเกลบนชิ้นงาน การกาหนดระยะหรื อหน่วยที่ใช้ในการเขียนภาพด้วย AutoCAD ค่อนข้างสับสน สาหรับผูเ้ ริ่ มใช้ เพราะจะไม่เห็นภาพที่แท้จริ งได้เหมือนการทาด้วยมือ แต่จะต้องอาศัยจิตนาการและ ประสบการณ์ประกอบเข้ากันเข้ามาจึงจะใช้งานได้อย่างถูกต้อง ปกติในการเขียนชิ้นงานด้วยมือ จะต้องใช้ไม้บรรทัดสเกล มาช่วยในการเขียนเพื่อเลือก เขียนแบบด้วยสเกลต่าง ๆ เช่น 1:100, 1:75, 1:50 เป็ นต้นแล้วแต่ความต้องการของผูใ้ ช้งาน ซึ่ งจะไม่มี สเกลมาตรฐาน แต่ในการเขียนชิ้นงานโดยการใช้ AutoCAD จะแตกต่างอย่างชัดเจน เราไม่จาเป็ น จะต้องไปปรับเลือกขนาดสเกลต่าง ๆให้ยงุ่ ยาก เพียงแต่เรากาหนดให้มีสเกลมาตรฐานขึ้นขนาดหนึ่ง ก่อนแล้วจากนั้นจึงใช้สเกลมาตรฐานนี้เป็ นหลักยึดในการสร้างสเกลอื่นๆ โดยใช้สเกลแฟกเตอร์ (Scale factor)คูณเข้าไปแทน ดังนั้น มาตรฐานจึงเป็ นสิ่ งที่จาเป็ นในการเขียนด้วย AutoCAD
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 270
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ 9.2.3 การสร้ างสเกลมาตรฐาน การสร้างสเกลมาตรฐานจะต้องเป็ นสิ่ งที่ได้รับการพิจารณาเป็ นอันดับแรกก่อนที่จะ สร้างชิ้นงานเพื่อส่ งเครื่ องพล็อต และการมีสเกลมาตรฐานนี้ จะต้องเป็ นขนาดที่นิยมใช้กนั มากที่สุด เพราะจะได้ไม่เสี ยเวลาในการปรับเปลี่ยนสเกลอีกภายหลัง การกาหนดสเกลมาตรฐานนี้จะขึ้นกับตัวแปร 2 ตัวนัน่ ก็คือ 1. การกาหนดให้ Drawing Units มีขนาดเป็ นท่าไร 2. การกาหนดยูนิต ของการพล็อตบนไดอะล็อกบ็อกซ์ ทั้งสองจะต้องสัมพันธ์กนั เสมอซึ่ ง Drawing Units ก็คือระยะความยาวบนจอภาพนัน่ เอง ดังนั้น ค่าตัวเลขคอออร์ ดิเนทจะเป็ นตัวแทนของระยะต่าง ๆ ของชิ้นงาน เช่น ต้องการระยะชิ้นงาน 1 เมตร ก็ลากเส้นบนจอภาพไปหนึ่งหน่วย การกาหนดให้ Drawing Units มีขนาดความยาวเท่าใดนั้น ก็จะขึ้นกับลักษณะงานที่ หน่วยงานนั้นๆทางานอยู่ เช่น ในการออกแบบชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกล ความละเอียดของชิ้นงานจะต้อง มีหน่วยเป็ นมิลลิเมตรหรื อมากกว่านี้ ก็อาจจะกาหนดให้ Drawing Units เท่ากับ 1 มิลลิเมตร แต่งานในด้านการออกแบบทางสถาปั ตย์ ทางด้านโครงการสร้าง หรื อ งานออกแบบ ทัว่ ๆ ไปความละเอียดของชิ้นงานจะมีอยูใ่ นระดับเซนติเมตร ดังนั้นเราควรกาหนดให้ Drawing Units มี ค่าเท่ากับ 1 เมตร จึงจะเหมาะสม ในที่น้ ี งานเขียนแบบไฟฟ้ าส่ วนใหญ่จะเป็ นการเขียนแบบสัญลักษณ์ ซึ่งจะใช้ Drawing Unit เท่ากับ มิลลิเมตร นอกจากงานติดตั้งที่ตอ้ งเขียนร่ วมกับงานก่อสร้างหรื อแบบ แปลนจากการออกแบบของสถาปั ตย์ ซึ่ งกาหนดให้ Drawing Units มีค่าเท่ากับ 1 เมตร ดังนั้นในที่น้ ี จะ กาหนด1 หน่วย มีค่าเท่ากับ 1 เมตร การพิจารณาสเกลมาตรฐานของชิ้นงาน ในขั้นตอนต่อมาก็ข้ ึนอยูก่ บั การพล็อตว่า จะต้องกาหนด “Plotted MM = Drawing Units” เท่ากับเท่าไร ซึ่ งจะสรุ ปเป็ นมาตรฐานได้ดงั นี้
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 271
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ ตารางที่ 9.2 แสดงการกาหนดสเกลมาตรฐานของการพล็อต สเกลมาตรฐาน
“Plotted MM =Drawing Units”
1: 1 1: 2 1: 3 1:4 1:5 1:10 1:20 1:50 1:100 1:200 1:250 1:300 1:400 1:500 1:750
1000 = 1 500 = 1 1000 = 3 250 = 1 200 = 1 100 = 1 50 = 1 20 = 1 10 = 1 5=1 4=1 10 = 3 2.5 = 1 2=1 10 = 7.5
หมายเหตุ ตารางนี้จะใช้เฉาะการกาหนดให้ 1 หน่วยยูนิตเท่ากับ 1 เมตรเท่านั้น
หลังจากที่เรากาหนดสเกลมาตรฐานได้แล้วก็ถือว่า 1 หน่วยใน Drawing Units มีค่า เท่ากับ 1 เมตร ดังนั้นถ้าเราต้องการเขียนเส้นตรงยาว 1 เชนติเมตร แสดงว่าเราจะต้องลากเส้นมีความยาว 0.01 หน่วยบนจอภาพหรื อต้องการเขียนวงกลมรัศมี 1 เมตร เราก็ให้ค่ารัศมีเท่ากับ 1 นั้นเอง หลักการเขียนภาพชิ้นงานบน AutoCAD เราจะยึดถือหลักในลักษณะ Full Scale หรื อ เขียนแบบ 1 : 1 ตามที่กาหนดไว้ใน Drawing Units ซึ่ งเราจะไม่สนใจว่าจะมีขนาดใหญ่ หรื อเล็กสัก เพียงใด โดยจะเขียนลงไปในจอแบบเป็ นตามระยะจริ งของชิ้นงาน (โดยที่เรามีเครื่ องมือ ZOOM ช่วย ในการทางานอยูแ่ ล้ว) แต่การกาหนดให้มีสเกลขนาดเท่าไรก็จะขึ้นอยูท่ ี่การตั้งค่าในการพล็อตเท่านั้น
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 272
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ 9.2.4 สรุ ปการให้ สเกล ในการใช้งานจริ งๆ เราจะกาหนดให้ Plotted MM = Drawing Units เท่ากับ “ 10 = 1 ” ไว้เสมอไม่วา่ จะพล็อตในสเกลใดก็ตาม ดังนั้น เมื่อเราเขียนชิ้นงานลงไปในจอภาพด้วยระยะต่างๆ แบบ Full Scale แล้ว จะสามารถเขียนสเกลกากับได้เลยว่า “ Scale 1:100 ” ซึ่งจะเป็ นขนาดสเกลมาตรฐานที่ กาหนดไว้อยูแ่ ล้ว แต่ถา้ ต้องการในลักษณะสเกลอื่นที่ไม่ใช่ 1:100 ก็ให้ใช้สเกลแฟกเตอร์ ที่คิดเทียบกับ 100 แล้วคูณเข้าไปเพื่อปรับให้เป็ นขนาดที่สัมพันธ์กบั สเกลใหม่ เช่น ต้องการสเกล 1:50 เราต้องเขียนใน แบบ Full Scale ตามระยะจริ งจากจอภาพ(ซึ่ งอาจจะมีขนาดเล็กเกินไป) แต่เราเราต้องตระหนักอยู่ เสมอว่า “ กาลังเขียนอยูใ่ นสเกล 1:100 ” เมื่อเขียนชิ้นงานเสร็ จแล้ว จึงใช้สเกลค่าแฟกเตอร์ ที่มีค่าเท่ากับ 100 / สเกลใหม่ 50 = 2 คูณเข้าไปให้ขยายรู ปขึ้นมาเป็ นสองเท่า และเมื่อพล็อตออกมาแล้วก็จะได้สเกล 1: 50 ตามต้องการ 9.2.5 เทคนิคการกาหนดสเกลแบบหลายสเกลบนกระดาษแผ่นเดียวกัน จากหัวข้อที่ผา่ นมา เมื่อเรากาหนดให้ Drawing Units มีค่าเท่ากับ 1 เมตร และให้ Plotted MM = Drawing Units “ 10:1 ” เสมอ ก็เป็ นอันว่าค่าโคออร์ ดิเนตของเราจะมีหน่วยเป็ นเมตร และทางานอยูบ่ นสเกลมาตรฐาน “ 1:100 ” เสมอ ดังนั้นไม่วา่ เราจะเขียนชิ้นงานใดๆ ขึ้นมาก็จะถือว่ามี สเกล 1:100 ทั้งหมด แต่ถึงกระนั้นก็ตามบางครั้งในแบบของเรายังคงต้องการแสดงรายระเอียดให้ดีข้ ึน ซึ่ งจะหมายถึงการให้มีขนาดหลาย ๆ สเกลอยูบ่ นแผ่น Drawing เดียวกัน ก็สามารถทาได้ โดยอาศัย หลักการง่าย ๆ ก็คือ “ให้เอาสเกลแฟกเตอร์ที่คิดเทียบจาก 100 คูณเข้าไป” เพื่อปรับขนาดให้สัมพันธ์ กับขนาดสเกลที่ตอ้ งการ เช่น ต้องการสเกล 1:20 ก็ใช้สเกลแฟกเตอร์ ที่มีค่า 100/ 20 = 5 คูณเข้าไป หรื อต้องการสเกล 1:200 ก็ใช้สเกลแฟกเตอร์ 100/200 = 0.5 คูณเข้าไป ซึ้ งจะสรุ ปได้เป็ นตารางดังนี้
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 273
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ ตารางที่ 9.3 แสดงค่าการแปลงรู ปไปเป็ นสเกลอื่น โดยใช้สเกลแฟกเตอร์ คูณ สเกลทีต่ ้ องการ ตัวคูณสเกลแฟกเตอร์ 1:1 1:2 1:3 1:4 1:5 1:10 1:20 1:50 1:200 1:250 1:300 1:400 1:500 1:750 หมายเหตุ
1000 50 100/3 25 20 10 50 2 0.5 0.4 1/3 0.25 0.2 2/15
ตารางนี้จะใช้เฉพาะการกาหนดสเกลมาตรฐานเท่ากับ 1:100 เท่านั้น
แต่วธิ ี การใช้สเกลแฟกเตอร์ คูณเข้าไปนี้ จะมีขอ้ ดีตรงที่วา่ สะดวกต่อการใช้งานเพียงเขียนขึ้นมาบนสเกล 1: 100 ก่อนซึ่ งเขียนได้ทนั ทีเลย เมื่อต้องการให้มีหลายสเกลก็ใช้ค่าสเกลแฟกเตอร์ คูณเข้าไป แต่จะมี ข้อเสี ยตรงที่วา่ ถ้าเรามีตวั อักษร หรื อหัวลูกศรของการบอกขนาดรวมอยูใ่ นรู ปก็จะขยายตามไปด้วย เราจึง มีเทคนิคในการควบคุมขนาดของหัวลูกศร และความสู งของตัวอักษรที่ตอ้ งการได้ 2 วิธีคือ 1. ปรับตัวอักษร(Text) และเส้นบอกขนาด(Dimension) ให้เป็ นไปตามอัตราส่ วนก่อนแล้วจึงค่อย ใช้สเกลแฟกเตอร์ คูณปรับขนาดตามสเกลที่ตอ้ งการก่อน แล้วจึงค่อยใส่ Text และ Dimension เพิ่มเติม ภายหลัง 2. เขียนเฉพาะรู ปก่อน จากนั้นใช้สเกลแฟกเตอร์ คูณปรับขนาดตามสเกลที่ตอ้ งการก่อน แล้วจึง ค่อยใส่ Text และ Dimension เพิม่ เติมภายหลัง
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 274
hatch 0.25 0.51 0.76 1.02 1.27 2.54 5.08 6.35 7.62 10.16 12.70 19.05 25.40 50.80 127.00
scale
1:10 1:20 1:30 1:40 1:50 1:100 1:200 1:250 1:300 1:400 1:500 1:750 1:1000 1:2000 1:5000
0.19 0.38 0.57 0.76 0.95 1.91 3.81 4.76 5.72 7.62 9.53 14.29 19.05 38.10 95.25
ltscale
Drawing Units : Meters
0.03 0.05 0.08 0.10 0.13 0.25 0.50 0.63 0.75 1.00 1.25 1.88 2.50 5.00 12.50
txt 0.14 0.28 0.42 0.56 0.69 1.39 2.78 3.47 4.17 5.56 6.94 10.24 13.84 27.78 69.44
dim scale
2.5 mm TEXT
0.03 0.06 0.09 0.12 0.15 0.30 0.60 0.75 0.90 1.20 1.50 2.25 3.00 6.00 15.00
txt 0.17 0.33 0.05 0.67 0.83 1.67 3.33 4.17 5.00 6.67 8.33 12.50 16.67 33.33 83.33
dim scale
3 mm TEXT
0.03 0.08 0.12 0.16 0.20 0.40 0.80 1.00 1.20 1.60 2.00 3.00 4.00 8.00 20.00
txt
0.22 0.44 0.67 0.89 1.11 2.22 4.44 5.56 6.67 8.89 11.11 16.67 22.22 44.44 111.11
dim scale
4 mm TEXT
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ
ตารางที่ 9.4 แสดงค่าการแปลงรู ปไปเป็ นสเกลอื่น โดยใช้สเกลแฟกเตอร์ คูณ
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 275
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ 9.3 การพล็อตชิ้นงาน เมื่อเราได้ชิ้นงานที่ตอ้ งการใน Model Space ดังตัวอย่างแบบแปลนระบบไฟฟ้ าของอาคาร 3 ชั้น ในบทที่แล้วที่ เราได้สร้างไว้ในหน้ากระดาษขนาด A4 คือ กาหนดไว้ต้ งั แต่แรกแล้วว่าใช้สเกล 1: 100 และเมื่อได้เรี ยนรู ้การตั้งค่า และการให้สเกลในมาตราส่ วนแบบต่างๆแล้ว เราจะลองมาทาการพล็อต ชิ้นงานที่ได้สร้างเอาไว้กนั โดยคลิกเลือกคาสัง่ จากไอคอน และที่ Command : Plot หรื อที่เมนู File > Plot จะปรากฏดังรู ปที่ 9.2(ซ้าย)ให้คลิกที่ จะปรากฏดังรู ปที่ 9.2(ขวา)
รู ปที่ 9.2 แสดงหน้าต่าง Plot Layout 9.3.1 ตั้งค่ าเบอร์ ปากกาไว้ใช้ งาน (Plot Style Table) เป็ นการกาหนดรู ปแบบการพล็อตไม่วา่ จะเป็ นเบอร์ ปากกา สี หรื อน้ าหนักเส้น ที่ style table คลิกที่ลูกศรชี้ ตามรู ปที่ 9.2 (ขวา) เลือกที่ New ตามรู ปที่ 9.3
Plot
รู ปที่ 9.3 แสดงการตั้งค่าใหม่ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 276
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ 1) ขั้นแรก (Begin) เพื่อกาหนดรู ปแบบ โดยจะปรากฎไดอะล็อกบ็อกซ์ Add Color – Department Plot Style Table - Begin ดังรู ปที่ 9.4
รู ปที่ 9.4 แสดงหน้าต่าง เพิ่มสี สไตล์การพล็อต ความหมายตัวเลือกต่างๆ - Start from Scratch เลือกการตั้งค่าใหม่หมด - Use a CFG File เลือกรู ปแบบที่มีอยูแ่ ล้ว มาจาก Release 14 - Use a PCP or PC2 File เลือกรู ปแบบการพิมพ์แบบ PCP หรื อ PC2 ให้เลือก Start from Scratch เสร็ จแล้วคลิกปุ่ ม Next จะเข้าสู่ ข้ นั ตอนการตั้งชื่อ ดังรู ปที่ 9.5
รู ปที่ 9.5 แสดงการตั้งชื่อไฟล์ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 277
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ 2) ขั้นตอนการตั้งชื่อไฟล์(File Name) ตั้งชื่อไฟล์การทางานที่ตอ้ งการแต่ถา้ ในขั้นตอน Begin เลือก Use a CFG File หรื อ Use a PCP or PC2 File จะปรากฎไดอะล็อกบ็อกซ์ Browse File เพื่อให้หาไฟล์ที่มีอยูแ่ ล้วมาเป็ น ต้นแบบ เสร็ จแล้วกดปุ่ ม Next จะถึงขั้นตอนสุ ดท้าย ดังรู ปที่ 9.6
รู ปที่ 9.6 แสดงขั้นตอนสุ ดท้าย 3) ขั้นตอนสุ ดท้าย คลิกปุ่ ม Finish เพื่อสิ้ นสุ ด และนาเสนอการตั้งค่า โดยมีตวั เลือกดังนี้ 1. Plot Style Table Editor…เป็ นการตั้งค่าเบอร์ ปากกา และคุณสมบัติต่างๆ 2. Use this plot style table for the current Plot Style Table Editor เป็ นการ เลือกตั้งเบอร์ ปากกาให้ใช้เฉพาะงานในไฟล์นี่เท่านั้น 3. Use this plot style table for new and pre-AutoCAD 2007 drawing เป็ นการเลือกตั้งเบอร์ ปากกาให้ใช้ได้กบั ทุกๆไฟล์ในโปรแกรม
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 278
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ
ถ้าเราคลิกที่ปุ่ม จะปรากฏไดอะล็อก Plot Style Table EditorTest Printer.ctb ดังรู ปที่ 9.7 (ซ้าย) ให้ต้ งั ค่าเกี่ยวกับปากกาพล็อตงาน จากนั้นคลิกปุ่ ม Save As เพื่อเก็บ การตั้งค่าเอาไว้ดงั รู ปที่ 9.7 (ขวา)
รู ปที่ 9.7 แสดงหน้าต่างการตั้งค่าสไตล์การพล็อต จากนั้นเมื่อเราคลิกปุ่ ม Finish จบสิ้ นการตั้งเบอร์ ปากกาเรี ยบร้อยแล้ว โปรแกรมจะ กลับมายังไดอะล็อกบ็อกซ์ Plot เหมือนเดิมแต่ plot Style Table Name จะเป็ นชื่อ My Printer.ctb ที่เราตั้ง ไว้นน่ั เอง และถ้าต้องการที่จะเข้าไปตั้งค่า หรื อปรับปรุ งคุณสมบัติที่ต้ งั ค่าไว้แล้วให้คลิกที่ ก็จะ เข้าสู่ ไดอะล็อกบ็อกซ์ Plot Style Table Editor เพื่อทาการปรับปรุ งคุณสมบัติ จากนั้นจึงคลิกปุ่ ม Save & Close เพื่อปิ ดหน้าต่าง
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 279
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ 9.3.2 ส่ วนประกอบต่ าง ๆของหน้ าต่ าง Plot
6 1
7
2
5 3 8 4
9
รู ปที่ 9.8 หน้าต่าง Plot 1. Printer / Plotter เลือกเครื่ องพิมพ์ที่ได้มีการเชื่อมต่อกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ 2. Paper Size and Paper Units เลือกแบบกระดาษที่จะพล็อต 3. Plot Area เลือกรู ปแบบขอบเขตของชิ้นงานที่จะพล็อต 4. Plot Offset กาหนดจุดวางชิ้นงานตามจุด Coordinate แต่ควรเลือก Center the Plot เพื่อให้ ชิ้นงานวางกึ่งกลางหน้ากระดาษ 5. Plot Scale กาหนดสเกลการพล็อต โดยที่ตามแบบของเราต้องการสเกล 1: 100 จึงเลือกใส่ ค่าที่ช่อง Scale ให้เป็ น Custom 10 = 1 6. Shaded Viewport Options เป็ นการเลือกรู ปแบบในการพิมพ์ภาพในโหมด 3 มิติ รวมทั้ง คุณภาพของงานที่จะพิมพ์ออกมา 7. Plot Options เลือกรู ปแบบการพล็อตงาน โดยเลือก Plot With plot style 8. Drawing Orientation เลือกรู ปแบบการวางชิ้นงานลงบนกระดาษ Portrait วางชิ้นงานตั้งตาม แนวกว้างของกระดาษ ,Landscape วางชิ้นงาน ตั้งตามแนวยาวของกระดาษ (เลือกแบบนี้) และ Plot Upside Down วางชิ้นงานให้เป็ นฝั่งตรงข้าม 9. Preview เมื่อใช้การกาหนดขอบเขตที่จะพิมพ์ดว้ ย Plot Area แล้วคลิกที่ปุ่มนี้เพื่อดูภาพที่พิมพ์ ประกอบลงบนกระดาษที่เลือกเอาไว้วา่ เหมาะสมกับสเกลที่พิมพ์หรื อไม่ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 280
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ
แบบทดสอบก่อนเรียน บทที่ 9 การสร้ างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ 1. ถ้าต้องการสร้างเทมเพลท(Template) ให้กบั แบบไฟฟ้ า ที่มีหน่วยเป็ น มิลลิเมตร จะต้องสร้างเทมเพลท โดยใช้หน่วยอะไร ก. เมตร ข. เซนติเมตร ค. มิลลิเมตร ง. นิ้ว 2. ขนาดกระดาษ A4 ตามมาตรฐาน ISO มีขนาดเท่าไร ก. 297 x210 มม. ข. 420 x297 มม. ค. 594x420 มม. ง. 18419 x594 มม. 3. ต้องการให้ ความยาวบนจอภาพ 1 หน่วย เท่ากับ ความยาวของเส้นที่ปากกาลากไปบนกระดาษ 10 มม. เราจะต้องกาหนด Plotted MM = Drawing Units มีขนาดเท่าใด ก. 1 = 1 ข. 10 = 10 ค. 1 = 10 ง. 10 = 1 4. ต้องการเขียนสายไฟตัวนาที่ยาว 1 เมตร บนจอภาพ ให้มีความยาว 100 มม. ต้องตั้งสเกลมาตรฐาน เป็ นเท่าไร ก. 1 : 1 ข. 1 : 10 ค. 1 : 100 ง. 10 : 10 5. สเกลมาตรฐาน 1:1 เท่ากับ Plotted MM = Drawing Units ข้อใด ก. 100 = 1 ข. 100 0=1 ค. 10 =1 ง. 1=1 6. ถ้าต้องการพิมพ์งานเขียนแบบ ควรพิมพ์ที่พ้นื ที่ใด ก. โมเดลสเปส ข. เปเปอร์สเปส ค. โฟลสติง้ โมเดลสเปส ง. วินโดว์สเปส 7. การพล็อตงานเราสามารถเลือกพื้นที่สาหรับการพล็อตได้กี่วธี ี ก. 2 วิธี ข. 3 วิธี ค. 4 วิธี ง. 5 วิธี 8. กระดาษเลเอาท์ที่โปรแกรมกาหนดมาให้ มีขนาดเท่าใด ก. A4 ข. A3 ค. A2 ง. A1 9. ไฟล์เทมเพลทที่สร้างเสร็ จมีส่วนขยาย เป็ นอะไร ก. dwg ข. dwf ค. doc ง. dwt 10. ถ้าต้องการพล็อตแบบเป็ นภาพสี ต้องตั้งค่าที่รายการใด ก. Printer/plotter ข. Plot area ค. Plot style table ง. Plot scale
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 281
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ
แบบทดสอบหลังเรียน บทที่ 9 การสร้ างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ 1. ถ้าต้องการสร้างเทมเพลท(Template) ให้กบั แบบไฟฟ้ า ที่มีหน่วยเป็ น มิลลิเมตร จะต้องสร้างเทมเพลท โดยใช้หน่วยอะไร ก. เมตร ข. เซนติเมตร ค. มิลลิเมตร ง. นิ้ว 2. ขนาดกระดาษ A3 ตามมาตรฐาน ISO มีขนาดเท่าไร ก. 297 x210 มม. ข. 420 x297 มม. ค. 594x420 มม. ง. 18419 x594 มม. 3. ต้องการให้ ความยาวบนจอภาพ 1 หน่วย เท่ากับ ความยาวของเส้นที่ปากกาลากไปบนกระดาษ 10 มม. เราจะต้องกาหนด Plotted MM = Drawing Units มีขนาดเท่าใด ก. 1 = 1 ข. 10 = 10 ค. 1 = 10 ง. 10 = 1 4. ต้องการเขียนสายไฟตัวนาที่ยาว 1 เมตร บนจอภาพ ให้มีความยาว 100 มม. ต้องตั้งสเกลมาตรฐาน เป็ นเท่าไร ก. 1 : 1 ข. 1 : 10 ค. 1 : 100 ง. 10 : 10 5. สเกลมาตรฐาน 1:10 เท่ากับ Plotted MM = Drawing Units ข้อใด ก. 100 = 1 ข. 100 0=1 ค. 10 =1 ง. 1=1 6. ถ้าต้องการพิมพ์งานเขียนแบบ ควรพิมพ์ที่พ้นื ที่ใด ก. โมเดลสเปส ข. เปเปอร์สเปส ค. โฟลสติง้ โมเดลสเปส ง. วินโดว์สเปส 7. การพล็อตงานเราสามารถเลือกพื้นที่สาหรับการพล็อตได้กี่วธี ี ก. 2 วิธี ข. 3 วิธี ค. 4 วิธี ง. 5 วิธี 8. กระดาษเลเอาท์ที่โปรแกรมกาหนดมาให้ มีขนาดเท่าใด ก. A4 ข. A3 ค. A2 ง. A1 9. ไฟล์เทมเพลทที่สร้างเสร็ จมีส่วนขยาย เป็ นอะไร ก. dwg ข. dwf ค. doc ง. dwt 10. ถ้าต้องการพล็อตแบบเป็ นภาพขาวดา ต้องตั้งค่าที่รายการใด ก. Printer/plotter ข. Plot area ค. Plot style table ง. Plot scale
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 282
บทที่ 9 การสร้างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ
แบบฝึ กหัด บทที่ 9 การสร้ างเทมเพลทและการพล็อตงานเขียนแบบ 1. จงบอกขนาดกระดาษตามมาตรฐาน ISO ดังนี้ (2 คะแนน) 1.1 A4 1.2 A3 1.3 A2 1.4 A1 1.5 A0 2. ถ้ากาหนด Plotted MM = Drawing Units เป็ น 100 = 1 หมายความว่าอย่างไร จงอธิ บาย(2 คะแนน) 3. กาหนดให้ Plotted MM = Drawing Units เป็ น 100 = 1 ถ้าเขียนเส้นตรงยาว 1 เมตร จะได้ความยาวที่ พล็อตลงกระดาษ ยาว 100 มม. แสดงว่า ได้กาหนดสเกลมาตรฐาน เป็ นเท่าใด (2 คะแนน) จากรู ปข้างล่างนี้ ใช้ตอบคาถาม ข้อที่ 4 – 5
1
2
3
4. ถ้าต้องการดูภาพก่อนพิมพ์ ต้องคลิกที่หมายเลขใด(2 คะแนน) 5. ถ้าต้องการเลือกเครื่ องพิมพ์ตอ้ งคลิกที่หมายเลขใด(2 คะแนน)
เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบไฟฟ้ าด้วยคอมพิวเตอร์………สิ ทธิเดช ไชยทองพันธ์
หน้า 283