ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศโลกต่ อการเพาะเลีย้ งสั ตว์นํา้ จุฑารัตน์ กิตติวานิช และพุทธ ส่ องแสงจินดา สถาบันวิจยั การเพาะเลี้ยงกุง้ ทะเล สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าํ ชายฝั่งจังหวัดตรัง ในปัจจุบนั ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอากาศโลก (Climate change) เป็ นประเด็นที่ มีการพูดถึงกันทัว่ โลก และนับวันยิง่ มีการพูดถึงบ่อยครั้งขึ้น โดยเฉพาะผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบ นิเวศและสิ่ งแวดล้อมทั้งบนบกและในนํ้า รวมถึงผลกระทบต่อการเพาะเลี้ ยงสัตว์น้ าํ ผลของการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศโลกทําให้โลกร้อน อุณหภูมิและความเข้มแสงในบรรยากาศ ในทะเล และบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าํ เพิ่ ม สู ง ขึ้ น และส่ ง ผลต่ อกระบวนการเมตาบอลิ ซึ ม ของสัตว์น้ ํา และสิ่ ง มี ชี วิตอื่ น ๆ ในบ่ อเลี้ ย งสัตว์น้ ํา เช่ น แพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนสัตว์ และจุลินทรี ย ์ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศโลก โลกร้ อน (Global warming) เป็ นสถานการณ์ ที่ อุณหภูมิ โลกสู ง ขึ้ น เป็ น ปรากฏการณ์หนึ่ งของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก (Climate change) เกิดจาก การปล่อยก๊าซเรื อนกระจก (Greenhouse gases) ขึ้นสู่ ช้ นั บรรยากาศจํานวนมาก จาก กิจกรรมของมนุษย์ จากการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม การใช้พลังงานเชื้ อเพลิง รวมไปถึงการตัดไม้ทาํ ลายป่ า ผลของการก๊าซเรื อนกระจกตั้งแต่ยคุ อุตสาหกรรมเป็ นต้น มา ได้ส่งผลกระทบในปั จจุบนั คือ โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น เกิดความเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศโลก และเกิดภัยธรรมชาติที่มีความถี่และรุ นแรงเพิ่มขึ้น ศูนย์เครื อข่ายงานวิเคราะห์วิจยั และฝึ กอบรม การเปลี่ ยนแปลงของโลกแห่ งภูมิภาคเอเซี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ รายงานว่าจากการใช้แบบจําลองคณิ ตศาสตร์ PRECIS (Providing Regional Climates for Impacts Studies) ที่รายละเอียด 26 กม. ทํานายว่า ในอนาคตประเทศ ไทยจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น มีฤดูร้อนที่ยาวนานและคลุมพื้นที่กว้างมากขึ้น มีแนวโน้มว่าปริ มาณฝนจะสู งขึ้น แต่ฤดู แล้งจะแล้งจัดกว่าเดิ ม เนื่ องจากระยะเวลาและพื้นที่ที่มี อากาศร้ อนเพิ่มมากขึ้ น ซึ่ งปรากฏการณ์ ที่จะเกิ ดขึ้ น ดังกล่าวมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและสิ่ งแวดล้อมทั้งบนบกและในนํ้าเป็ นวงกว้าง ต่อภาค การผลิตสัตว์น้ าํ โดยเฉพาะอย่างยิง่ กิจกรรมการเพาะเลี้ยงกุง้ ทะเล http://teacher-toolbox.blogspot.com/ 2007_02_01_archive.html
ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศโลกต่ อการเพาะเลีย้ งสั ตว์นํา้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกได้ส่งผลกระทบต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าํ Handisyde et al. (2006) ได้รายงานถึ ง ผลกระทบของการเปลี่ ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกต่อระบบการเพาะเลี้ ยงสัตว์น้ าํ โดยมี ผ ล ทางตรงต่ อ ปริ ม าณนํ้า จื ด สํ า หรั บ การเพาะเลี้ ยงสั ต ว์น้ ํา การเปลี่ ย นแปลงของอุ ณ หภู มิ ใ นนํ้า และอากาศ
ระดับนํ้าทะเลที่เปลี่ยนแปลงไป การเพิ่มความถี่ของสภาพการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศอย่างรุ นแรง เช่น พายุ และนํ้า ท่ วม ซึ่ งผลกระทบเชิ ง ลบ เช่ น สร้ า งความเครี ย ดของสัต ว์น้ ํา ที่ เกิ ดจากอุ ณ หภู มิ แ ละความต้อ งการ ออกซิ เจนที่เพิ่ม ขึ้ น เพิ่ มโอกาสในการได้รับ เชื้ อโรคและสารพิษ เพิ่ มการสะพรั่ งของแพลงก์ตอนที่ เป็ นพิษ (Harmful algal blooms) ทํา ให้เกิ ดการเปลี่ ย นแปลงเชิ งปริ ม าณและ คุณภาพของประชาสังคมแพลงก์ตอนพืช (Phytoplankton community) นอกจากนี้ ความเค็มและอุณหภูมิน้ าํ ที่เพิ่มขึ้น ลดปริ มาณการละลายของ ออกซิ เจนในนํ้า เพิ่มสัตว์หรื อสิ่ งมีชีวิตอื่นที่เราไม่ตอ้ งการในบ่อเลี้ยง ลด คุณภาพของนํ้า เพิ่มโรคสัตว์น้ าํ ทําให้ความสามารถในการรองรับผลผลิต สัตว์น้ าํ ของบ่อลดลง ส่ วนผลกระทบเชิ งบวกก็มีเช่นกัน เช่น เพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการเปลี่ยนอาหารเป็ นเนื้ อ ทํา ให้สัตว์น้ าํ ในเขตอบอุ่นโตเร็ วขึ้น สัตว์จาํ พวกหอยกินแพลงก์ตอนพืชเป็ นอาหารมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศโลกได้ส่งผลกระทบต่อฤดูกาลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางชี ววิทยา ที่ทาํ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของสายใยอาหารทั้งในทะเลและนํ้าจื ด และส่ งผลกระทบที่ไม่สามารถทํานายได้ต่อ ผลผลิตสัตว์น้ าํ และการ แพร่ กระจายของพาหะเชื้ อโรคที่อาศัยอยูใ่ นแหล่งธรรมชาติ และแหล่งเพาะเลี้ยง (FAO, 2008) นอกจากนี้ยงั ส่ งผลกระทบต่อความยัง่ ยืนของทรัพยากรสัตว์น้ าํ และการประมง เนื่ องจาก ผลจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กระทบต่อระบบนิเวศโดยตรง การเพิ่มขึ้นหรื อลดลงของอุณหภูมิ ในแหล่งที่อยูอ่ าศัยของสัตว์น้ าํ ตามธรรมชาติ ส่ งผลกระทบต่อเมตาโบลิซึมของสัตว์น้ าํ ที่เลี้ยง การเติบโต ผลผลิต การสื บพันธุ์ โอกาสที่จะติดเชื้ อโรค และการ ได้รับสารพิษของสัตว์น้ าํ ซึ่ งความรุ นแรงจะขึ้นอยูก่ บั พื้นที่และชนิดสัตว์น้ าํ ที่อยูอ่ าศัย (Ficke et al., 2007) ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศโลกต่ อการเพาะเลีย้ งกุ้งทะเล ในระบบนิ เวศบ่อเลี้ยงกุง้ ขาว มีสารอาหารสะสมอยูใ่ นปริ มาณมากเนื่องจากการให้อาหารเพื่อให้ได้ผล ผลิตต่อไร่ สูง ในสภาวะปกติจึงมีการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสารอาหารระหว่างสิ่ งมีชีวิต เช่น กุง้ แพลงก์ตอนพืช จุลินทรี ย ์ เกิดขึ้นอย่างสมดุล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกที่ทาํ ให้อุณหภูมิน้ าํ ในบ่อ และความเข้มแสงเพิ่มมากขึ้น ส่ งผลรบกวนสมดุลของระบบนิ เวศบ่อเลี้ยง สร้างปั ญหาให้กบั เกษตรกรในการ จัดการการเลี้ ยง เช่ น การให้อาหารกุ้ง การควบคุมสี น้ าํ และควบคุมคุณภาพนํ้าให้อยู่ในช่ วงปกติ ผลของการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกที่ทาํ ให้เกิดอากาศที่ร้อนจัดผิดปรกติในฤดูร้อนที่ผา่ นมา ทําให้เกษตรกรผูเ้ ลี้ยง กุง้ ขาวในหลายพื้นที่ เช่น จังหวัดตรัง สุ ราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช และสงขลา ประสบปัญหานํ้าในบ่อเลี้ยงกุง้ มีอุณหภูมิสูงเกินไป สภาพสิ่ งแวดล้อมและระบบนิ เวศในบ่อเลี้ ยงมีความแปรปรวน ส่ งผลให้กุ้งขาวในบ่อมี ความเครี ยด อ่อนแอและตายลงเป็ นจํานวนมาก เกษตรกรได้รับความเสี ยหายผลผลิ ตตกตํ่าลง ดังนั้นจึงต้อง ดําเนินการศึกษาวิจยั หาองค์ความรู ้ใหม่ ในการจัดการเลี้ยงกุง้ ขาวในสภาวะภูมิอากาศที่มีความแปรปรวน เพื่อหา
แนวทางลดผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกต่อการเลี้ยงกุง้ ขาว ซึ่ งจะทําให้สามารถลดความ สู ญเสี ย สามารถจัดการการเลี้ยง รักษาสมดุลระบบนิเวศและกําลังผลิตกุง้ ขาวในบ่อให้อยูไ่ ด้ในระดับเดิม ในระบบนิเวศบ่อเลี้ยงกุง้ ขาว แพลงก์ตอนพืชจัดเป็ นสิ่ งมีชีวิตอีกกลุ่มหนึ่ งในบ่อเลี้ยงที่มีบทบาทในการ ควบคุ มการหมุนเวียนของสารอาหารที่มีอยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ (Eutrophication) ลดระดับความเป็ นพิษจาก ปริ ม าณแอมโมเนี ย ซึ่ ง เป็ นสิ่ ง ขับ ถ่ า ยจากกุ้ง และเพิ่ ม ออกซิ เจนในบ่ อ เลี้ ย งกุ้ง ขาวในเวลากลางวัน ที่ มี ก าร สังเคราะห์แสง ซึ่ งทําให้กุง้ มีการกินอาหารที่ดีและเติบโตได้เร็ วอย่างต่อเนื่ อง โดยมีอุณหภูมิและปริ มาณความ เข้มของแสง เป็ นตัวควบคุมระดับกิจกรรม ความเร็ วและสมดุลของธาตุอาหาร การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ โลก ย่อมทําให้กระบวนการควบคุ มดังกล่าวและระบบนิ เวศเปลี่ ยนแปลงไป จนไร้ สมดุ ลและทําให้เกิ ดการ เปลี่ยนแปลงเชิงปริ มาณและคุณภาพของประชาสังคมแพลงก์ตอนพืช (Phytoplankton community) โดยมีชนิดที่ เป็ นพิษมาแทนที่ (Phytoplankton succession) เป็ นอันตรายและสร้ างความเสี ยหายต่ อกุ้ง ที่เลี้ ยงในบ่อได้ Nicklishch et al. (2007) รายงานว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก โดยเฉพาะอุณหภูมิและแสง มีผล ต่อการเปลี่ยนแปลงชนิ ดของแพลงก์ตอนพืช เนื่ องจากแพลงก์ตอนพืชแต่ละชนิ ดมีช่วงอุณหภูมิและความเข้ม แสงที่เหมาะสมแตกต่างกัน นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิยงั เป็ นปั จจัยที่สําคัญต่อกระบวนการทางชี วเคมี ที่ เกิ ดในนํ้าและดิ นตะกอนโดยจุ ลินทรี ย ์ ที่ มีบทบาททั้งเป็ นแหล่งกําเนิ ด (Source) และแหล่ งดูดซับ (Sink) สารอาหารพวก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส มีกิจกรรมเพิ่มขึ้นหรื อลดลงตามความแปรปรวนของระบบนิ เวศบ่อเลี้ยง กุง้ เปลี่ยนแปลงรุ นแรงมากขึ้น ท่ามกลางการพัฒนาทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ อัตราการใช้พลังงานและนํามันเชื้ อเพลิงทําให้เกิด การสะสมของกาซเรื อนกระจก (คาร์ บอนไดออกไซด์ และไนตรั สออกไซด์ เป็ นต้น) ในชั้นบรรยากาศโลก ประกอบกับการตัดไม้ทาํ ลายป่ า ทําให้ขาดสิ่ งมีชีวติ ในการควบคุมการหมุนเวียนเอาคาร์ บอนไดออกไซด์กลับมา ใช้ใ หม่ ทํา ให้ เกิ ดสภาวะเรื อนกระจกและเพิ่ม ระดับ ความรุ นแรงของการเปลี่ ย นแปลงภูมิ อากาศโลก เช่ น อุณหภูมิ และปริ มาณความเข้มของแสง ซึ่ งมีความแปรปรวนขึ้นลงไปตามระดับความแห้งแล้งที่เกิ ดขึ้น การ เปลี่ ย นแปลงขึ้ นลงของอุ ณ หภู มิ โ ดยเฉี ย บพลัน ดัง กล่ า ว จะส่ ง ผลกระทบต่ อ การ เปลี่ ยนแปลงระบบนิ เวศในบ่อเลี้ ยงกุ้งขาว และส่ งผลต่อเนื่ องไปยังการจัดการเลี้ ยงกุ้ง ประจําวัน ผลผลิ ตกุง้ และการเปลี่ ยนแปลงของระบบนิ เวศบ่อเลี้ ยงกุ้งขาวแบบพัฒนา ดังนั้น การศึกษาวิจยั เพื่อติดตามและอธิบายผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิและ ปริ ม าณความเข้มแสง และสามารถอธิ บ ายการเปลี่ ยนแปลงในสถานการณ์ จาํ ลองอัน อาจจะเกิดขึ้นได้ในบ่อเพาะเลี้ยงกุง้ ทะเล จึงมีความสําคัญและต้องเร่ งดําเนินการ เพื่อนําผลการศึกษามาถ่ายทอด เป็ นองค์ค วามรู ้ ใหม่ ให้ก ับเกษตรกร ทํา ให้เกษตรกรรู้ เท่า ทันผลกระทบที่ อาจเกิ ดขึ้ นและเตรี ยมการในการ ป้ องกันแก้ไขได้ทนั ท่วงที
http://www.stuffintheair.com/Climat eChangeGlobalWarming.html
เอกสารอ้างอิง FAO. 2008. Report of the FAO Expert Workshop on Climate Change Implications for Fisheries and Aquaculture. Rome, Italy, 7–9 April 2008. FAO Fisheries Report. No. 870. Rome, FAO. 2008. 32p. Ficke, A.D., Myrick, C.A. & Hansen, L.J. 2007. Potential impacts of global change on freshwater fisheries. Rev. Fish Biol. Fisheries, 17: 581–613. Handisyde, N.T., Ross, L.G., Badjeck, M-C. & Allison, E.H. (2006). The effects of climate change on world aquaculture: a global perspective. Final Technical Report, DFID Aquaculture and Fish Genetics Research Programme, Stirling Institute of Aquaculture, Stirling, U.K., 151 pp. Niscklisch, A., T. Shatwell, J. Kohler. 2007. Analysis and modeling of the interactive effects of temperature and light on phytoplankton growth and relevance for the spring bloom. Journal of Phytoplankton Research. 30 : 75-91.