Co-organizers
Sponsor
Associated institutions
Accommodation support
Media partners
OCAC Observation Team support institutions
Š December 2016, Art Centre, Silpakorn University, Baan Noorg Collaborative Arts and Culture. All rights reserved. Copyrights of the works are reserved for the artists; of texts for authors; of the photographs for the photographers. Copyright Š The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
01 Project Documentary ภาพยนตร สารคดีโครงการ
11 Korakrit Arunanondchai กรกฤต อรุณานนท ชัย
02 Project Mapping Chaw Su and Kyaw Moe แผนที่โครงการ ชอว สุ และ จอว โมว
12 Ma Ei มา อิ
03 Artistic Researchers: นักวิจัยทัศนศิลป : Alfred Banze อัลเฟรด บันซี Jeanette Müeller & Paul Divjak เจเนท มุลเลอร และ โพล ดีเวียค Sebastien Tayac เซบาสเตียง ทายัค 04 Maung Day เมาง เดย 05 Chi Yu Wu ฉี ยวี่ หวู 06 Chia Jen Chen เจีย เร��น เฉิน 07 Helmi Hardian and Tuwis Yasinta เฮลมี ฮาร เดียน และ ทวิส ยาซินตา 08 Henry Tan เฮนร� แทน
13 Masaru Iwai มาซารุ อิวาอิ 14 Okui Lala โอกุย ลาลา 15 Preenun Nana ปร�ณัน นานา 16 Rachan Klomklieng ราชันย กล อมเกลี้ยง 17 Suraporn Lertwongpaitoon สุรพร เลิศวงศ ไพฑูรย 18 Thatchatham Silsupan ธัชธรรม ศิลป สุพรรณ 19 Varsha Nair วาร ชา แนร
2nd Floor
20 365 d Archive OCAC Observation Team 365 d บันทึก OCAC คณะสังเกตการณ
09 Jutamas Buranajade and Piti Amraranga จุฑามาส บูรณะเจตน และ ป ติ อัมระรงค 10 Katherine Nunez แคเธอร�น นูเนซ
1st Floor Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
โครงการพัฒนาศิลปะร่วมสมัยชุมชนหนองโพ ปี 2559 โดย บ้านนอก ความร่วมมือทางศิลปวัฒนธรรม
2
โครงการศิลปินในพ�านักเพื่อการศึกษาวิจัยเชิงทัศนศิลป์ และนิทรรศการศิลปะรวมสมัย 365 Days: LIFE MUSE (การศึกษาแบบจ�าลองแรงงานขามชาติในชุมชนหนองโพ) 365 Days: LIFE MUSE (การศึกษาแบบจ�าลองแรงงานขามชาติในชุมชน หนองโพ) โครงการศิลปินในพ�านักเพื่อการศึกษาวิจัยเชิงทัศนศิลป์และ นิทรรศการศิลปะรวมสมัย มีเป้าหมายในการพัฒนาสหวิทยาการศิลป์เพื่อ น�าเสนอวิสัยทัศนและศักยภาพในประเด็นความขัดแยงของการอพยพโยก ยายถิ่นฐานและการเคลื่อนยายแรงงาน โครงการไดออกแบบพื้นที่กิจกรรม การเรียนรูและความรวมมือดานทัศนศิลป์ สังคมศาสตร มนุษยศาสตร ฯลฯ ผานผลงานสรางสรรคโดยศิลปินและนักวิจัยเชิงทัศนศิลป์ 22 ทาน ทั้งไทย และนานาชาติ รวมกับชุมชนและแรงงานขามชาติชาวพมาในชุมชนและ พื้นที่ ใกลเคียง เพื่อตั้งค�าถามปลายเปิดบนความยอนแยงทางวัฒนธรรม ภายใตแนวคิดความหลากหลายที่ไมหลากหลายทางวัฒนธรรมรวมสมัย บทน�า นักสังคมศาสตรมีความเห็นวา การใชค�าวา “แรงงานตางดาว” มีนัยยะ เชิงลบเป็นค�าที่ใชกันในวงการกฎหมายและวงราชการ เนื่องจากแรงงาน ตางดาว ตรงกับภาษาอังกฤษวา alien labour ซึ่งอธิบายภาพสถานะของ สิ่งที่มาจากตางดาว แสดงความเป็นอื่นนอกเหนือไปจากความเป็นมนุษย แนวโนมการแกปัญหาของภาครัฐโดยออกค�าสั่ง ฉบับที่ 59/2557 เมื่อวันที่ 11 มิ.ย. พ.ศ. 2557 โดยการแตงตัง้ คณะกรรมการนโยบายการจัดการปัญหาแรงงาน ขามชาติ หรือ กนร. เพื่อแกไขแรงงานขามชาติทั้งระบบ ทาทายตอนโยบาย รัฐไทยในมิติ “รัฐความมั่นคง” (Security State) แนวคิดความมั่นคง สังคม และวัฒนธรรม สงผลตอแนวคิด “เหนือกวาสิทธิมนุษยชน” (Beyond Human Rights) ซึ่งหมายถึงการใหความส�าคัญตอทาทีและบทวิเคราะหปัญหา ในระดับที่เหนือกวาหรือกาวไปไกลกวาเรื่องสิทธิมนุษยชน โดยมุงตรวจสอบ ความสัมพันธระหวาง รัฐ ทุน และแรงงาน เพื่อเขาใจตรรกะพื้นฐานของ ปัญหาแรงงานขามชาติ เพื่อจะไดแกไขปัญหาที่รากฐานจริงๆ แทนที่จะเสีย เวลาไปสนใจเรื่องสิทธิมนุษ ยชนในแนวคิดลัทธิเสรีนิยมใหม[1] ดวยการ ก�าหนดทิ ศ ทางการพั ฒนา และก� า หนดนโยบายยุ ท ธศาสตรการพัฒนา องคความรู ในการบริหารจัดการปัญหาใหสอดคลองกับสถานการณ และการ เปลีย่ นแปลงในปัจจุบันและอนาคต นักเศรษฐศาสตรผูเชี่ยวชาญเรื่องการยายถิ่นและแรงงานขามชาติเสนอวา การยายถิ่ น ของแรงงานเป็ น ปรากฏการณที่ ค วบคู กั บ การปรั บ เปลี่ ย น โครงสรางทางเศรษฐกิจ โดยการเปลี่ยนแปลงจากสังคมเกษตรกรรมเขาสู สังคมอุตสาหกรรมเกิดขึ้นทามกลางการลดสัดสวนมูลคาทางเศรษฐกิจของ ภาคการเกษตร ในขณะที่มูลคาในสัดสวนของภาคอุตสาหกรรมและบริการ เพิ่มขึ้น จึงเกิดความตองการจางงานจ�านวนมาก แรงงานส�ารองที่ลนเหลือ จากความตกต�า่ ในภาคเกษตรถูกโอนยายมาเป็นแรงงานในภาคอุตสาหกรรม และบริการมากขึน้ ดังนัน้ แรงงานจึงเป็นเสมือนกลไกการปรับตัวทางเศรษฐกิจ ในประเทศ เราจะพบวาประเทศอุตสาหกรรมที่พัฒนาแลวนั้นเติบโตขึ้นดวย กลไกของแรงงานขามชาติจากประเทศอื่นทั้งสิ้น แรงงานขามชาติเหลานี้ ไดชวยเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศนัน้ เราไมควรมองการยายถิน่ ขามชาติของแรงงานอยางเป็นลบ เพราะการยายถิ่นเป็นประโยชนทั้งตอ ชี วิ ต ความเป็ น อยู ของแรงงานและตอเศรษฐกิ จ ของประเทศปลายทาง มากกวาประเทศตนทาง Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Cover
พลวัตรของแนวทางการปฏิรูปโครงสรางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ทีก่ า� ลังขับเคลือ่ นอยูในขณะนี้ เป็นโอกาสทีด่ ที เี่ ราจะหันมาทบทวน แนวคิดและขอถกเถียงเรื่องการยายถิ่นฐานของแรงงานขามชาติในระดับสากล ซึ่งตั้งอยูบนแนวคิดความเกลียดกลัวคนตางชาติ (Xenophobia) ดวยอาการวิตก กังวลของคนในสังคมทีบ่ างครัง้ ไมมีเหตุผลแนชัด เป็นความรูสึกไมมัน่ คงปลอดภัย เมื่อประสบกับผูคนจากสังคมวัฒนธรรมที่แตกตางไปจากตน ความเกลียดกลัว คนตางชาตินั้นมีความคลายคลึงกับการเหยียดเชื้อชาติ (Racism) ความรูสึกเชนนี้ น�าไปสูอคติตอแรงงาน โดยมองวาแรงงานขามชาตินั้นเขามาหาผลประโยชนจาก ประเทศของตน ในขณะที่สรางปัญหาและภาระแกประเทศตนเชน แยงงานคนใน ทองถิ่น ปัญหายาเสพติดและอาชญากรรม การแทรกแซงทางสังคมและวัฒนธรรม ของทองถิน่ กอใหเกิดภาระดานประชากรสวัสดิการสังคมและความมัน่ คงของชาติ สิ่งที่ตามมาจากความรูสึกที่เป็นลบเชนนี้ก็คือ การเรียกรองใหภาครัฐมีนโยบาย ควบคุมแรงงานขามชาติอยางเครงครัด และการกีดกันไมใหคนเหลานั้นเขามา มากเกินไปและมาลงหลักปักฐานถาวรในประเทศของตน โปรแกรมวั น หยุ ด เรี ย น (days OFF LABoratory) ด� า เนิ น กิ จ กรรมโครงการ ในกรอบเวลาประจ�าปี มีโครงการในปี พ.ศ. 2557 คือโครงการศิลปินในพ�านักเพื่อ การศึกษาวิจัยเชิงทัศนศิลป์และนิทรรศการศิลปะรวมสมัย พิพิธภัณฑเฉพาะกาล (กรณีศึกษาชุมชนหนองโพ) ตอเนื่องในปี พ.ศ. 2558 โปรแกรมวันหยุดเรียน (OFF LAB) ด�าเนินโครงการที่ 2 คือโครงการศิลปินในพ�านักเพื่อการศึกษาวิจัยเชิง ทัศนศิลป์และนิทรรศการศิลปะรวมสมัย 365 Days: LIFE MUSE (การศึกษาแบบ จ�าลองแรงงานขามชาติในชุมชนหนองโพ) ระยะเวลา 1 ปี ตัง้ แตปี พ.ศ. 2558 - 2559 เป็นโครงการตอเนื่องที่มีวัตถุประสงคในการเรียนรูและลดชองวางความตางทาง วัฒนธรรม และการแลกเปลี่ยนประสบการณดานศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยระหวาง นานาชาติในภูมิภาคอาเซียนและเอเชีย การริเริ่มโครงการศิลปินในพ�านัก (Artist inresidency) เชิญศิลปินไทยและนานาชาติ ไดแก อินโดนีเเซีย ฟิลปิ ปินส เมียนมา ญี่ปุ่น ไตหวัน มาเลเซีย และเยอรมนี ออสเตรีย ฝรั่งเศส เขาพ�านักในชุมชนฯ พัฒนาผลงานวิจัยเชิงทัศนศิลป์และศิลปะ รวมกับสมาชิกในชุมชนและแรงงาน ขามชาติชาวพมา ผูมีที่พักอาศัยและท�างานโดยไดรับอนุญาตตามกฎหมายในเขต พืน้ ทีช่ มุ ชนหนองโพและชุมชนใกลเคียง เขารวมพัฒนาโครงการตามกรอบการด�าเนิน โครงการระยะเวลาทุก 2 เดือน ตลอด 1 ปี / แตละครั้งศิลปินที่รับเชิญ 2 ทาน เขาพ�านักและพัฒนาผลงานในชุมชนหนองโพเป็นระยะเวลา 3 สัปดาห โครงการ ริเริ่มและด�าเนินงานโดย บานนอก ความรวมมือทางศิลปวัฒนธรรม โครงการครัง้ นี้ ไดรับการสนับสนุนหลักและด�าเนินการรวมกับหอศิลป์มหาวิทยาลัย ศิลปากร และไดรับการรวมสนับสนุนจากเจแปนฟาวนเดชั่น กรุงเทพฯ รวมถึง ความรวมมือจากหนวยงานตางๆ ภายในชุมชนและตางประเทศ อาทิ Open Contemporary Art Center เมืองไทเป ประเทศไตหวัน, Bamboo Curtain Studios เมืองไทเป ประเทศไตหวัน, 98B COLLABoratory เมืองมะนิลา ประเทศ ฟิลิปปินส, WAFT LAB เมืองสุราบายา ประเทศอินโดนีเซีย, วัดหนองโพ, โรงเรียน ชุมชนวัดหนองโพ, ชาวชุมชนหนองโพ และแรงงานขามชาติชาวพมาในชุมชน หนองโพและชุ ม ชนใกลเคี ย ง สรุ ป ผลโครงการศึ ก ษาวิ จั ย เชิ ง ทั ศ นศิ ล ป์ แ ละ นิทรรศการศิลปะรวมสมัย 365 Days: LIFE MUSE (การศึกษาแบบจ�าลองแรงงาน ขามชาติ ใ นชุ ม ชนหนองโพ) การแสดงสด และกิ จ กรรมเสวนา ณ หอศิ ล ป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ กรุงเทพฯ และพื้นที่ทดลองบานนอกฯ (Baan Noorg experimental space) ต�าบลหนองโพ อ�าเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Exhibition Plan
1 นโยบายการจัดการแรงงานขามชาติ. ของไทย : จากความเกลียดกลัวคนตางชาติ ถึง (เหนือกวา) สิทธิมนุษยชน, พฤกษ เถาถวิล , วารสารสังคมลุมแมน�้าโขง, ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2553, หนา 11.
Nongpo community based art project 2016 4 by Baan Noorg Collaborative Arts and Culture Artists in Residence for Artistic Research and Contemporary Art Exhibition Project 365 Days: LIFE MUSE (Model study for Nongpo community’s foreign labour) 365 Days: LIFE MUSE (Model study for Nongpo community’s foreign labour), an Artists in Residence for Artistic Research and Contemporary Art Exhibition Project has been created with the aim to develop interdisciplinary arts to deliver the message on the vision pertaining the conflict of diaspora and laboured-migration issues and the potentials that these issues could be portrayed through arts. The project has designed collaborative and learning platform including social, humanity-oriented, artistic activities through artworks by 22 Thailand based, ASEAN and international artists and researchers. This is in collaboration with the community and Myanmar labourers living in the community and the vicinity in order to address open-end questions over the cultural paradox under the notion of “non-multiculturalism of the multiculturalism”. Abstract Sociologists consider that the use of the word “alien labour” implies negative connotation as it denotes an alienated state to the subject. However, the word is adopted in governmental and legal divisions. Since 11 June 2014, the Thai government has generated a solution under 59/2557 order, to appoint Foreign Workers Problem Management Committee to solve the problem from the whole system of foreign labours. It has challenged Thailand’s state policy on the dimension of “Security State” in which social and cultural security concept has affected “Beyond Human Rights”, which means that more emphasis has been put on social attitude and problem analysis rather than on the human right issue. This is to investigate the inter-relationship between State, investment and labour in order to understand the fundamentals of foreign worker’s problem. Instead of focusing on the human rights under the neo-liberalism concept[1], a development of body of knowledge toward problem management strategy is set up to solve the problems in accordance with the actual situation and the changes happening in the present and in the future. The economists who specialise in migrant and foreign labour have proposed that the migration of foreign labour is a phenomenon coherent to the economic changes, the shifting from agricultural to industrial society while the economic ratio in agricultural sector has been devalued in opposition with the industrial and service areas. Therefore, there are demands for the employment for the working class. The influx of labour reserved from the downfall of agricultural sector were then transferred to the latter. Foreign labour is correspondingly the factor of a country’s economic reforming. Almost every developed industrial country’s growth happens through foreign labour system. Hence, labour migration should not be negatively regarded as the migration is beneficial for both labourers’ well being and country of destination rather than for the country of origin.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Project proposal
1 Thailand Transnational Migrant Labour Management Policy : From Xenophobia to (Beyond) Human Rights, Preuk Taotawin, Journal of Mekong Societies, 6, 3 (September-December 2010) : 11.
P. 2 - 5
The dynamic of political, public administrative, economical, social and cultural reform that is propelled in the society right now allows a chance for us all to reconsider the perception and the debate relating to migration of foreign labour, which has lied in the xenophobia. People are worried for poorly stated reasons feeling insecure when they have to encounter the people from different culture. Xenophobia is similar to racism, which has evoked prejudice toward foreign labourers with the belief that they are taking advantage from the country while causing social problems and becoming a burden to the locals having to deal with drugs and crime as well as that their job employment is affected. As a consequence, this antipathy has lead to the demand for the government to come up with policy to strictly control foreign labour and to prevent the overflow of the migrants not to settle down in the country. The day OFF LABoratory program operates annually and launched its first edition in 2013, Artists in residence for artistic research and contemporary art exhibition Pop Up Museum (Model Study for Nongpo Community) project, and followed by OFF LAB # 2, Artists in residence for artistic research and contemporary art exhibition 365 Days: LIFE MUSE (Model Study for Nongpo Community’s Foreign Labour) project. This is a one-year project from 2015 to 2016, which is an ongoing project with an aim to generate learning process, reduce the gap of cultural diversity and exchange the contemporary art experience amongst international, ASEAN and Asian participants with the initiative of a residency program. Thai and international artists from Indonesia, Philippines, Myanmar, Japan, Taiwan, Malaysia as well as Germany, Austria and France were invited to stay in the community, developed artistic research and artworks with community members and the Myanmar labourers who reside and legally work in Nongpo and the vicinity. The participants have joined and collaborated in the process of project development every two months throughout the course of one-year time. Two artists were invited to develop their work in the community having three weeks on each sessions of residency. This project was originated by Baan Noorg Collaborative Arts and Culture. The project is co-organized, officially supported by Art Centre of Silpakorn University and sponsored by the Japan Foundation, Bangkok in association with many institutions within the community and from abroad : Open Contemporary Art Center, Taipei, Bamboo Curtain Studio, Taipei, Taiwan, 98B COLLABoratory, Manila, Philippines, WAFT LAB, Surabaya, Indonesia, Nongpo Temple, Nongpo Temple Community School and Nongpo District community members. The result of the artistic research, the contemporary art exhibition, live performance and forum for 365 Days: LIFE MUSE (Model study for Nongpo community’s foreign labour) are held at the Art Centre of Silpakorn University, Thapra campus, Bangkok and the experimental space of Baan Noorg Collaborative Arts and Culture, Nongpo District, Ratchaburi.
6
สารจากผู้อ�านวยการ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ทามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความพยายามที่จะเรียนรูและท�าความเขาใจ กันและกันเกิดขึ้นเสมอ ศิลปะไดถูกน�ามาใชเป็นเครื่องมือหนึ่งในกระบวนการสรางความ เขาใจและเรียนรูระหวางชุมชนและสังคมที่มีความหลากหลายเหลานัน้ ไมวาจะทางตรงหรือ ทางออม หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร เห็นถึงความส�าคัญของการน�าศิลปะเขาไปสูชุมชน ผานกระบวนการสรางความเขาใจในลักษณะตางๆ โดยในครัง้ นีเ้ ป็นการท�าโครงการศิลปะ สูชุมชนในอีกรูปแบบหนึง่ ซึง่ แสดงใหเห็นกระบวนการเรียนรูซึง่ กันและกันระหวางผูคนทีม่ ี ความแตกตางทัง้ ทางชาติพนั ธุและวัฒนธรรม โดยมีศลิ ปะเป็นตัวเชือ่ มโยงและแสดงออกมา ในรูปแบบที่หลากหลาย หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร หวังเป็นอยางยิ่งวา กิจกรรมโครงการที่เกิดขึ้นนี้ จะเป็น ตนทางใหเกิดการสรางสรรคและด�าเนินกิจกรรมในกระบวนการเรียนรูลักษณะเดียวกัน ในชุมชนอื่นๆ ตอไป ดร. ปรมพร ศิริกุลชยานนท์
Message from Director of the Art Centre, Silpakorn University
Among a diversity of cultures, there is always an attempt to learn and understand each other. Art is used as a tool in a process of establishing an understanding and a learning between diverse communities and societies whether directly or indirectly. The Art Centre, Silpakorn University sees the importance of bringing art to communities by using different activities and learning approaches. This time marks a creation of an art project towards communities in another form, showing a process of learning from people with different ethnic and cultural background through art. The Art Centre, Silpakorn University hopes that this event will be a starting point that inspires people to create the same kind of learning process and activities in other communities in the future. Paramaporn Sirikulchayanont, PhD
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
P. 6 - 7
สารจากผู้อ�านวยการบริหาร เจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ
ผมรู สึกยินดีเป็นอยางยิ่งที่ไดเป็นสักขีพยานและชมงานนิทรรศการศิลปะในหัวขอ “365 Days: LIFE MUSE” ซึ่งเป็นโครงการยอยของ DAY OFF LABoratory ที่ไดรับการสนับสนุน ในการด�าเนินโครงการจากเจแปนฟาวนเดชั่น กรุงเทพฯ เจแปนฟาวนเดชั่น เป็นองคกรทางดานวัฒนธรรมที่ส�าคัญของประเทศญี่ปุ่นที่ก อตั้งในปี พ.ศ. 2515 และสาขาในกรุงเทพฯ เริ่มจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2517 พวกเราด�าเนินการแลกเปลี่ยน โครงการทางวัฒนธรรมที่หลากหลายในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ มากวา 40 ปี ในหลาก หลายสาขา ทั้ ง ในดานโรงละคร ดนตรี วิ จิ ต รศิ ล ป์ ภาพยนตร วรรณคดี จวบจนการ แลกเปลี่ยนทางวิชาการและการศึกษาดานภาษา ณ จุดนี้ของการเกิดปรากฏการณ “การแบงแยก” ทั่วโลก ทั้งๆ ที่มี หรืออาจจะเนื่องจาก การเกิดพลวัตของมนุษ ยขามพรมแดนนั้น ถือเป็นเวลาประจวบเหมาะและเป็นสิ่งที่ผม ซาบซึ้งอยางยิ่งที่นิทรรศการที่ตั้งอยู บนพื้นฐานการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงคที่ท�าใหเราเห็น และเขาใจถึงอาณาบริเวณทางพหุวัฒนธรรมของชีวิตพวกเรา ผานวิธีการรวมมือระหวาง คู สามีภรรยาผู อยู อาศัยชาวพมาในชุมชนหนองโพและผู ปฏิบัติงานศิลปะที่มีภูมิหลังทาง วัฒนธรรมที่แตกตางกัน ผมมีความเชื่อมั่นเป็นอยางยิ่งวาผลของการวิจัยและความรวมมือในหลากหลายรูปแบบ จะท� า ใหเราเขาใจและไดรั บ แรงบั น ดาลใจในการมองสั ง คมและชุ ม ชนจากมุ ม มองทาง เลือกอันหลากหลาย ตัวผมเองก็จะตั้งตารอคอยประสบการณตางๆที่อยู ลอมรอบผลงาน ศิลปะและกิจกรรมตางๆ นับจากวันนี้เป็นตนไป สุดทายนี้ ผมขอขอบคุณ บานนอก ความรวมมือทางศิลปวัฒนธรรม ในการริเริ่มสงเสริม โครงการนี้และขอขอบคุณหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรที่ ใหการสนับสนุนทางดานตางๆ รวมถึงทุกองคกรและทุกทานที่มีส วนรวมในโครงการนี้ส�าหรับความอุทิศชวยเหลือ จนท�าใหโครงการนี้บรรลุผลส�าเร็จดวยดี
Message from Director- General The Japan Foundation, Bangkok
โนริฮิโกะ โยชิโอกะ
Statements of support institutions
It is my pleasure and excitement to witness and see the exhibition of the art project “365 Days: LIFE MUSE” as a part of the long-term program, day OFF LABoratory, which is sponsored by the Japan Foundation, Bangkok. The Japan Foundation is Japan’s principal organization for cultural relations. Established in 1972 and its Bangkok office in 1974, we have been implementing many cultural exchange projects in Thailand and the other countries for more than 40 years in a wide range of fields from theatre, music, fine arts, film, literature, to academic study and language education. At this juncture of the global “dividing” phenomena in spite of, or rather because of, human mobility beyond borders, it is well-timed and I appreciate it very much that this research-based exhibition aims to shed light on multicultural spheres of our lives through the collaborative approach between one couple of Myanmar residents in Nongpo community and art practitioners from diverse cultural backgrounds. I strongly believe that their fruits of research and collaboration in various forms will provide us a lot of insights and inspirations how to see our society and community from alternative angles. I myself am really looking forward to experiencing around all the artworks and activities from today on. Last but not least, I would like to thank Baan Noorg Collaborative Arts and Culture for initiating this stimulating project, Art Centre Silpakorn University for their kind support, and all the participating organizations and individuals for their great and dedicated contribution to realize this project. Norihiko Yoshioka Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
ศิjiandyin ลปะหลั งชุมชน (จิระเดช และ พรพิไล มีมาลัย)
8
ภัณฑารักษ
ศิลปะสามารถท�าหนาที่เสมือนพาหนะในการเปลี่ยนแปลงสังคม : โมโฮลี-นากี (1895–1946) ความสัมพันธของมนุษยคือหัวใจ และเป็นศูนยกลางของการท�างานเชิงวัฒนธรรม ในแงมุมศิลปะความรวมมือและการมีสวนรวม (Participatory and Collaborative Art) ในทางรูปธรรมศิลปินจะสามารถแสดงออกอยางไร เมื่อพื้นที่ทางศิลปะในที่นี้ไม ไดอยูในกรอบอันคับแคบของหองปฏิบัติงานอีกตอไป พื้นที่หองปฏิบัติงานที่ขยายตัว และขามเขาสูพื้นที่แวดลอมอื่นๆ เชน สังคมศาสตร มนุษยศาสตร รัฐศาสตร ฯลฯ สามารถเชื่อมโยงประเด็นที่ละเอียดออนและเปราะบางทางสังคมเพื่อที่จะน�า ไปสู ความเป็นไปไดของเนื้อหา หรือนิยามในการพัฒนาทางทัศนศิลป์[1] กอนที่จะเขาสู รายละเอียดเราควรพิจารณาและตั้งค�าถามเกี่ยวกับพื้นที่พรมแดนที่ศิลปะด�ารงอยูใน สังคมนี้ ศิลปะมิไดด�ารงอยูเฉพาะภายในพื้นที่สวนบุคคลเทานั้น แตมีความสัมพันธเชื่อมโยง กับความเป็นสาธารณะอยางหลีกเลียงไมได Nicolas Bourriaud ภัณฑารักษและ นักทฤษฎีศิลป์ชาวฝรั่งเศสไดเลือกใชค�าวา “relational” ซึ่งเป็นค�าจ�ากัดความที่ยัง ไมตรงนัก ส�าหรับการอธิบายผลงานของศิลปินบางกลุม ที่พยายามคนหาเครื่องมือ สื่อสารสูสาธารณะ[2] แทที่จริงแลวมันไมมีขอจ�ากัดวาศิลปะพูดเกี่ยวกับสังคมอยางไร หรือบริบทใด ตราบใดที่ศิลปินพยายามคนหาความเชื่อมโยง-สัมพันธตอสาธารณะ และรวมเป็นสวนหนึ่งในบทสนทนาเชิงสังคม ในฐานะที่ศิลปะมีความคลุมเครือเป็น ลักษณะเฉพาะ ความตองการสือ่ สารและการมีสวนรวมเพือ่ สรางบทสนทนาเชิงวิพากษ ที่ชัดเจน อาจเป็นเป้าหมายส�าคัญที่จะสงสารไปสูสังคมที่ยังขาดแคลนการมีสวนรวม และ/หรือบกพรองดานการสื่อสารในสังคมรวมสมัย ส�าหรับศิลปินทีม่ เี จตนารมณในการทีจ่ ะสรางตัวบทเชิงสังคม-การเมือง ผลักดันตนเอง ไปสูบทบาทที่มีความสลับซับซอนโดยอาศัยศักยภาพของตนดานศิลปะ อาจนิยาม ดวยนัยยะสองขั้ว ไดแกความสัมพันธแบบเป็นไปเองและความสัมพันธกับสิ่งอื่น (auto-relational และ allo-relational) ซึ่งมีความเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร ศิลปะสมัยใหมชวงปลายทศวรรษที่ 60 ในหมวดที่การเคลื่อนไหวทางดานศิลปะ กลายเป็นเรื่องสังคม-การเมือง กรณีศึกษาจากการเคลื่อนไหวของกลุม Situationists ไดลดทอนอัตลักษณของศิลปินหรือความเป็นหนึ่งเดียวเชิงทัศนศิลป์ เพื่อใหความ ส�าคัญแกสิ่งอื่นและผูอื่นนอกเขตแดนอันลาหลังของศิลปะเชิงเดี่ยวดวยการใหคุณคา แกการเคลื่อนไหวทางสังคม[3] ศิลปะชุมชนโดยทั่วไปมักจะตองมีลักษณะที่เชื่อมโยง สัมพันธกับผูคน และน�าพาไปสูสมดุลระหวาง auto-relational และ allo-relational โดยสิ่งแรกคือศิลปะชุมชนที่วางแนวทางโดยศิลปินที่ช�านาญการ และอยางที่สองคือ การสนองตอปฏิกิริยาการมีสวนรวมทางสังคม ดวยความรวมมือและการมีส วนรวมของศิลปินและนักวิจัยเชิงทัศนศิลป์จ�านวน มากกวา 22 ทาน จากประเทศอาเซียน เอเชีย ยุโรป บานนอก ความรวมมือทาง ศิลปวัฒนธรรม ไดน�าเสนอชวงเวลาสุกงอมของพัฒนาการทางดานสุนทรียศาสตร และสังคมศาสตร ดวยโครงการทีเ่ ชือ่ มโยงกิจกรรมเชิงทัศนศิลป์ การวิจยั งานปฏิบตั กิ าร ศิลปินในพ�านัก นิทรรศการ การแสดงสด การเสวนา กิจกรรมเปิดบานฯ ซึ่งด�าเนิน งานตอเนื่องระยะเวลา 365 วัน ดวยความรวมมือจากแรงงานชาวพมาและชุมชน หนองโพ ดวยแนวทางความรวมมือดานศิลปะ สังคมและวัฒนธรรม Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
P. 8 - 11
โครงการ 365 Days: LIFE MUSE (กรณีศกึ ษาแรงงานขามชาติในชุมชนหนองโพ) มีเป้าหมาย สืบคน วิจัยและพัฒนา เพื่อแสวงหาความเป็นไปไดที่จะเปิดกวางเพื่อสรางชุดความรู ทางสังคมและประสบการณการเปลี่ยนถายกระบวนการเชิงทัศนศิลป์และงานวิจัย เพื่อ พิจารณาถึงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนทางสังคม-วัฒนธรรม ตัวโครงการฯ ด�าเนินงาน ตามกรอบระยะเวลาอยางคอยเป็นคอยไปในลักษณะออรแกนิคดวยจังหวะ รูปทรง และ รองรอยที่แสดงออกเป็นผลงานทัศนศิลป์หลากหลายรูปแบบและวิธี เชน บันทึก วิดีโอ ภาพถาย ภาพพิมพ วาดเสน เสียง ศิลปะจัดวาง ประติมากรรม เพื่อสรางนวัตกรรมใน การสะทอนภาพลักษณความสัมพันธที่เกิดขึ้น จากระยะเวลาที่ยาวนานของโครงการฯ มีผลใหการเปลีย่ นแปลง การปรับเปลีย่ นทิศทางเป็นสิง่ ทีย่ อมรับไดและปรากฏแนวทางใหมๆ ในการแกปัญหาที่เกิดขึ้นระหวางการด�าเนินงานฯ แนวทางแกปัญหาเหลานี้ตอกย�้าความ เป็นไปไดและสลายความคับแคบของชุดความรูทางศิลปะที่เคยด�ารงอยูแบบแยกสวน โครงการวิจัยและพัฒนาเชิงทัศนศิลป์ครั้งนี้อาศัยกระบวนการของการหลอมรวม โดยการ สลายกรอบทางสังคม-ชุมชนที่เคยแบงแยก ใหกลับเขาสูหมวดการทดลองชุมชนรวมกัน และเป็นการคลี่ออกของเศษสวนที่ทับซอน เพื่อเผยพิกัดพื้นที่ภายในความหมายของการ อยูรวมกันและคุณคาความเป็นมนุษยที่หลบซอนหรือแฝงเรน ภายใตกรอบคิดเชิงอ�านาจ แบบรัฐชาติ หนาที่ของศิลปินและนักวิจัยในโครงการฯ จึงไมหยุดเพียงแคการเชื่อมโยง สัมพันธตนเองกับความเป็นสาธารณะเทานั้น แตการเผชิญหนากับความเป็นสาธารณะ ไดสรางบทบาทผูสงสารเชิงวิภาษตอสถานการณที่แวดลอมดวยสนามทางสังคม-การเมือง ท�าใหตัวโครงการฯ สามารถเขาใจไดไมยากนักในฐานะสือ่ ศิลปะทีม่ คี วามส�าคัญตอแนวคิด ทางสังคม-วัฒนธรรม และสุนทรียภาพเชิงความสัมพันธระหวางแรงงานชาวพมาทัง้ 2 ทาน ทีส่ มัครเขารวมโครงการฯ จากการไดรับใบประกาศทีแ่ จกจายและกระจายไปในพืน้ ทีช่ มุ ชนฯ เราไมสามารถมองขามพวกเขาซึ่งมีสวนส�าคัญในฐานะผูสรางแผนที่โครงการ (Project mapping) ภายในกรอบความรวมมือระยะเวลา 1 ปี โดยโครงการฯ เป็นผูจัดหาทีพ่ กั อาศัย โดยไมคิดคาใชจายตลอดระยะเวลาโครงการฯ นีจ่ งึ เป็นครัง้ แรกทีแ่ รงงานชาวพมาทัง้ 2 ทาน ออกจากพื้นที่ชุมชนทางกายภาพที่มีเขตแดนในอีกประเทศหนึ่ง เป็นชุมชนที่ซอนทับอยู ภายในชุมชนอีกชัน้ หนึง่ การอยูอยางโดดเดีย่ วและไมปฏิสมั พันธกับมวลสมาชิกอืน่ ๆ ของ ชุมชน มีผลใหแรงงานอพยพที่มีความแตกตางทางวัฒนธรรมปรับตัวเขากับสังคมที่ตนเอง เขามาอาศัยไมได ความหวังที่มีตอกรอบความคิดเรื่องการสรางสรรคพื้นที่ของการมีชีวิต รวมกันของคนตางวัฒนธรรม การสรางความไวเนื้อเชื่อใจทางวัฒนธรรมและการใหเกียรติ เคารพยอมรับซึ่งกันและกัน จะน�าไปสูการปรับตัวเขาหากัน มีบทสนทนาตอกันมากกวา จะปะทะกันทางวัฒนธรรม การเปิดทางใหมีหรือสรางบางอยางรวมกันเชนนี้ ในทาย ที่สุดแลวสงผลใหตางฝ่ายตางมีความเคารพในความตางทางวัฒนธรรมของกันและกัน[4]
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Curatorial Statement
1 Pascal Gielen & Pascal Gielen (eds.) – Community Art, The Politics of Trespassing: 2013, หนา 20. 2 Pascal Gielen & Pascal Gielen (eds.), หนา 17. 3 Pascal Gielen & Pascal Gielen (eds.), หนา19. 4 ธเนศ วงศยานนาวา - ความไมหลากหลายของความหลากหลายทางวัฒนธรรม : 2557, หนา 190.
Art After Community. jiandyin (Jiradej and Pornpilai Meemalai)
10
Curators Arts can act as a vehicle for social change : Moholy-Nagy (1895–1946) A relation between people is the basis of Participatory and Collaborative Art. But how can artist practically express his/her idea when the boundary of art has been expanded beyond the confined studio, trespasses every borderline and steps into the realm of Sociology, Anthropology and Politics. This extensive practice can bring together the sensitive and fragile issues within our society, which may lead to the possibility of substance or a definition of development of visual arts[1]. However, before slipping into the details, we should firstly question and consider the boundary of art in our society. The current art does not limit itself only in a private space any longer but unavoidably connects itself with public. Nicolas Bourriaud, a French curator and art theoretician, made a rather poor choice when he used the word ‘relational’ to shed light on a specific segment and tendency in the art world[2]. Actually, there is no limitation on how or in which context art should initiate a conversation about society as long as the artists are rendering their effort in seeking for the connection between art and public and engage themselves in the sociological dialogue. Possessing ambiguity as its true nature, the passion of art to communicate and to participate in order to make an explicit critical conversation is perhaps a merely strong conviction to signal a message to contemporary society where sociability has been disregarded. For the artist who pushes himself toward a complex role by the virtue of artistic ability while decisively concentrates on socio-political subject, his/ her work can possibly be defined into auto-relational and allo-relational. These 2 specific tendencies relate to history of modern art in the late 1960s, when art became socio-political movement. The Situationist is a distinct case of the artistic movement that significantly diminished the artistic identity of artwork and the individualistic quality of the artist by shifting the focus to socio-political issues[3]. At the time, the movement had shown its determination in placing importance on other factors outside the retrogressive boundary of the formal art. The characteristic of Community Art, in general, is the art that relates itself to people, leading to the equilibrium between auto-relational and allo-relational art. The first is the community art being planned by the artist and the latter is a reaction toward the participating in the first. With a broad collaboration of 22 artists and artistic researchers from ASEAN, Asia and Europe, Baan Noorg Collaborative Arts and Culture has presented a sophisticated Aesthetics and Social Science through the project where art activities integrate with researches, field works, artists residency programs, art exhibitions, performances, discussion and open house.. The activities run for 365 days with collaborations between Burmese workers and the community under the practice of art, social and cultural collaboration.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Researchers’s article
1 Pascal Gielen & Pascal Gielen (eds.) – Community Art, The Politics of Tres passing: 2013, 20. 2 Pascal Gielen & Pascal Gielen (eds.) :17. 3 Pascal Gielen & Pascal Gielen (eds.) :19. 4 Thanet Wongyannawa – The Nonmulticulturalism of the multiculturalism: 2557, 190.
P. 14 - 25
365 Days: LIFE MUSE (Model study for Nongpo community’s foreign labour) aimed to explore, investigate and develop a joint effort of the participants to find the possibility in opening up for initiating a set of social knowledge and experience in transference of research and artistic process. The project also took into account a paradigm shift in the society and culture. All artistic engagements organically proceeded with timing, forms and features that were exposed as artworks in diverse textures: memoirs, videos, photos, drawings, sounds, installations, and sculpture, to create an innovation mirroring the impression of the relationships that has been negotiated throughout the time. A long period of the collaboration was resulting in recognisable changes and adaptations while alternative solutions manifested them accordingly. All of these solutions emphasised the possibility and, at the same time, dissolving a limitation of the existing fragmental artistic knowledge set. This artistic research and development project applied the process of combination by lower the wall that has separated the community and set it into experimental mode. The project meanwhile unfolding the overlapped fragments to expose the condition of inner space, indicated the meaning of community and explored the value of humanity, all that might be hidden under the regimentation of nation state. The commitment of the artists and the researchers were not decisively stopped at an attempt to engage themselves to public but it involved a confrontation among them. The latter, to a certain extent, produced a parallel role of artists and researchers as paradoxal messengers who would comment on the socio-political context of the program. This made it easier to comprehend that the project partially portrayed aesthetical relationship between a Burmese couple and the community as an artistic practice. The participation of the Burmese couple was definitely not something that could be overlooked since it played a consequential role as project mapping. The couple were provided with one-year complimentary accommodation and they volunteered to join in the project after finding out the details from the handbill. It was the first time they left their own neighbourhood, a segregated Burmese quarter within Thai community, to live in a house among Thai neighbors. Living in isolation without any interest in engaging with the rest of the community made it impossible for migrant workers to fit in with the host society. As we set the initiative area shared by people of different cultures, we trusted that an attempt to improve the relationship could be done by encouraging dialogues and collaborations among them instead of a confrontation that would lead to an acceptance of diversity and to cultural toleration in the end[4].
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
P. 26- 29 Project mapping Copyright Š The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
14
Researchers’ articles:
Alfred Banze
01 Nongpo 365 Day Model Di 1.3.16 Nongpo I made photos of the “Woman in the Tree“ Spooky! Mi 2.3.16 Nongpo Idea: Portraits of the 5 Idea: Developing drawings from photos of their archive, photos of the two, re-photo, digitize. Black wig? What does it mean 365 day model? I can use the 2 Burmese as model? For painting? 1. Die Heinzelmännchen (The gnomes) 2. Ghosts in Burma + Thailand + Germany 3. Re-photo photos
01 แบบจ�าลอง หนองโพ 365 วัน อ. 1.3.16 หนองโพ ผมไดถายภาพของ “ผูหญิงในตนไม” นากลัวจัง! พ. 2.3.16 หนองโพ ความคิด: ภาพเหมือนของทั้ง 5 คน ความคิด: พัฒนารูปวาดจากรูปถายในคลังรูป ภาพเหมือนของ 2 คน ถายรูปอีก แปลงเป็นดิจิทัล ผมปลอมสีด�า? แบบจ�าลอง 365 วันหมายถึงอะไร? ผมสามารถใชชาวพมา 2 คนเป็นแบบ? ส�าหรับการเขียนภาพ? 1. Die Heinzelmännchen (ภูติแคระ) 2. ผีตางๆ ในประเทศพมา + ประเทศไทย + ประเทศเยอรมนี 3. ถายรูปรูปถายตางๆ อีก
94 ผี = โกสต รูปเหมือนตัวเองกับผี เจาแม (เจาแม) แม (ผูหญิง) ศาลเจาแมที่นี่มีชื่อเรียกไหม เจาพอ (เจาพอ) (ผูชาย)
94 Phi = Ghost Self portrait with phi Jao Mae (เจาแม) Mutter (female) ศาลเจาแมที่นี่มีชื่อเรียกไม Jao Poh (เจาพอ) (male)
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Alfred Banze / อัลเฟรด บันซี
P. 30 - 67
Invisible / ล่องหน
30 The boy from the golden shell. He is a good soul, helping the people who take the shell home. Every night he comes out of the shell and cleans the house and makes everything clean and beautiful. But you should not watch him. Respect to the good soul, respect to the magic creatures, don’t look at them. They will disappear. That´s why children can see magic, and not the adults? 30 เด็กชายทีอ่ อกมาจากเปลือกหอยสีทอง เขาเป็นคนทีม่ จี ติ ใจดี คอยชวยเหลือคนทีเ่ อาเปลือกหอยกลับบาน เขาจะออกจากเปลือกหอยทุกๆ คืนเพื่อมาท�าความสะอาดบานใหเรียบรอย แตหามเฝ้ามองเขานะ มันเป็นการแสดงความเคารพตอจิตใจที่แสนดีของเขา และตอเวทมนตรที่สรางเขาขึ้นมา หามมองเขา เด็ดขาด ไมเชนนั้นเขาจะหายวับไปทันที ซึ่งมันคือเหตุผลวาท�าไมผูใหญจึงไมเห็นเวทมนตร มีแตเด็กๆ ที่มองเห็น Statements on artists Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Researchers’ articles:
Jeanette Müeller, PhD & Paul Divjak, PhD
16
กรุณาแสดงวิสัยทัศน์
ดร. เจเนท มุลเลอร์ และ ดร. โพล ดีเวียค ค�าขวัญของสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ “หนึ่งวิสัยทัศน หนึ่งอัตลักษณ หนึ่งประชาคม” ค�าขวัญของสหภาพยุโรปคือ “เอกภาพทามกลางความหลากหลาย” เป็นค�าขวัญที่เริ่มใชเมื่อปีพ.ศ. 2543 วิสัยทัศนของอาเซียนคืออะไร วิสัยทัศนตั้งแตแรกเริ่มของสหภาพยุโรปคืออะไร และวิสยั ทัศนปัจจุบนั คืออะไร อาเซียนกอตั้งเมื่อปีพ.ศ. 2510 เป็นประชาคมภายใตกฏบัตรในปีพ.ศ. 2550 ขณะที่อียูกอตั้งเมื่อปีพ.ศ. 2536 โดยมีรากฐาน จากสนธิสัญญากรุงโรมที่ลงนามในปีพ.ศ. 2501 วิสัยทัศนที่ทั้งสองประชาคมมีรวมกันคือเรงอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความกาวหนาทางสังคม และพัฒนาการดานวัฒนธรรมเชิงสังคม และแนนอนวาวิสัยทัศน ที่ส�าคัญอีกประการหนึ่งคือการผดุงไวซึ่ง สันติภาพและเสถียรภาพ สหภาพยุโรปประกอบดวยสมาชิก 28 ประเทศ ใชภาษาราชการ ที่แตกตางกัน 24 ภาษา มีประชากรประมาณ 508 ลานคน สกุลเงินที่แตกตางกัน 10 สกุล กับหนึ่งสกุลเงินรวมคือ ยูโร ที่ใชในกลุมสมาชิกในเขตพื้นที่ยูโร มีมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศรวมกันอยูที่ประมาณ 18.124 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ ขณะที่สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใตประกอบดวยสมาชิก 10 ประเทศ ประเทศผูสังเกตการณ 2 ประเทศ มีภาษาอังกฤษเป็น ภาษากลาง ประชากร 625 ลานคน สกุลเงิน 10 สกุล ไมมีสกุลเงินรวม มีมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศรวมกันอยูที่ราว 7.6 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ ซึ่งหากนับเป็นหนึ่ง เดียวเชนนี้ อาเซียนจะมีขนาดเศรษฐกิจใหญเป็นอันดับ เจ็ด รองจากสหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น เยอรมนี ฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร วิสัยทัศนของอียูในขณะนี้คืออะไร เทาที่เราเห็นคืออียูก�าลังตั้งป้อม กีดกันผูอพยพและผูลี้ภัย แตมีภาพรวม ที่ใหญกวานี้อีกหรือไม
กรุณาแสดงอัตลักษณ์ กรุณาแสดงอัตลักษณ์ เราจะรับมือกับผู คนจากหลากหลายประเทศที่ต างมีอัตลักษณไดอยางไรหากเรายังฝักใฝ่กับความเป็น ประเทศและความเป็นตัวตน ที่บมเพาะกอรางมาเนิ่นนาน? เราจะเรียนรูอะไรจากกันและกัน หากเรายังจดจอ กับความแตกตาง แทนความคลายคลึงที่มีอยูมากมายนับไมถวน แมเราจะไดสถาปนาองคกรอยางอาเซียน หรืออียูขึ้นมา แตเราก็ยังคงพุ งความสนใจไปที่ความเป็นชาติ องคกรเหลานี้มิไดมีน�าเสนอ ทางเลือกทางความคิดอื่นๆ มีเพียงความพยายามที่จะสรางอัตลักษณใหม เพื่อ ที่จะขยายอาณาเขตทางการเมืองและเศรษฐกิจออกไปพรอมๆ กับการปักปันเขตแดนเพื่อกันไมใหผูใดลวงล�้า เขามา แมในหมูชาวยุโรปที่อยากตอนรับผูอพยพสวนใหญก็ยังเครงครัดกับแนวความคิดเรื่องชาติและชนชั้น เรนเนอร มาเรีย ริลค กวีและนักเขียนนวนิยายชาวออสเตรียเชื้อสายโบฮีเมียนเคยเขียนไวเมื่อปีพ.ศ. 2538 วา
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Middle Page Leaflet
Der erscheint mir als der Größte, der zu keiner Fahne schwört, und, weil er vom Teil sich löste, nun der ganzen Welt gehört.
ส�าหรับขาฯ บุคคลผูยิ่งใหญ คือบุคคลผูไมปฏิญาณตอผืนธงใด และเพราะเป็นไทจากชาติ เขาหรือเธอจึงเป็นคน ของโลก หากมนุษยมีพัฒนาการมากพอที่จะเขาใจความหมายอันลึกซึ้งของบทกวีนี้ สงครามโลกไมวาจะครั้งที่ 1 หรือครั้งที่ 2 หรือสงคราม และความขัดแยงใดๆที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลาบนโลกอันสวยงามของเรา ก็นาจะเป็นสิ่งที่ไมมีความ จ�าเป็นแตอยางใดเลย ชิททู กฤษณมูรติ นักปรัชญาและครุผูยิ่งใหญของโลกไดเคยกลาวไววา “อัตลักษณน�ามาซึ่งความพึงใจและความ เจ็บปวด อัตลักษณนั้นเองที่น�ามาซึ่งความเกลียดชังและสงคราม กอตัวเป็นก�าแพงรายลอมผูคน รายลอมปัจเจก รายลอมครอบครัว รายลอมชุมชน” กรุณาแสดงประชาคม กรุณาแสดงประชาคม อัตลักษณเปราะบางแคไหน? จริงหรือที่รูปคูหญิงชายในชุดประจ�าชาติ คือตัวแทนของอัตลักษณและประชาคม? ท�าไมภาพเหลานี้ถึงยังคงถูกใช ในการประชาสัมพันธองคกร? ไมมีความคิดที่เป็นทางการอื่นใด เกี่ยวกับเรื่อง อัตลักษณและประชาคมเลยหรือ? เราจะพัฒนาสันติภาพและความมั่งคั่งเพื่อทุกคนไดอยางไรในเมื่อเรายังติด อยูกับวิธีคิดที่คับแคบและ การแบงแยกเชื้อชาติ ศาสนา?
เราต้องการวิสัยทัศน์ ใหม่ เราต้องการวิสัยทัศน์ ใหม่ ทั่วโลก เราลวนออนแอและไมมีสิ่งใดมั่นคง ทั่วทั้งโลก
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
365days: LIFE MUSE Calendar
เรามาทบทวนอัตลักษณ์กันใหม่ไหม? เรามาทบทวนประชาคมกันใหม่ไหม? มารวมกันพัฒนา เปิดความคิดและเปิดใจ มารวมมือกันไหม?
18
MAY WE HAVE YOUR VISION PLEASE Jeanette Müeller, PhD & Paul Divjak, PhD
May we have your vision please. May we have your vision please.
The motto of the Association of Southeast Asian Nations is: “One Vision, One Identity, One Community” The motto of the European Union is: “United in diversity”. It first came into use in 2000. What have been the visions for the Association of Southeast Asian Nations, what have been the visions for the European Union in their beginnings? And what are the visions today? The ASEAN was founded 1967, charter in 2007; the EU, based on the Treaty of Rome from 1958, was founded 1993. Accelerating economic growth, social progress and sociocultural evolution and of course stability and peace were visions of both organizations. The EU includes 28 states, deals with 24 official languages, has about 508 million people and 10 different currencies and the common currency EURO in the Eurozone. This political economic union has a gross domestic product (GDP) about 18.124 trillion us-dollar. The Association of Southeast Asian Nations includes 10 States, 2 observers, chose english as working language and has about 625 million people and 10 different currencies, no common currency. The gross domestic product (GDP) is about 7.6 trillion us-dollar.If ASEAN were a single entity, it would rank as the seventh largest economy in the world, behind the USA, China, Japan, Germany, France and the United Kingdom. What is the vision for the EU now? What we see is that the EU is building up a fortress to stop refugees and migrants. But is there a bigger picture?
image by Banksy
May we have your identity please. May we have your identity please. How do we deal with different people from different nations with different identities as long as we are focusing on nations, on constructed identities? What shall we learn from each other as long as we are focusing on differencies – and not on our countless similarities? Even we founded organizations like ASEAN or the EU we are still focusing on nations. They do not offer alternatives to this way of thinking. They try to create new identities for enlarged economic and political areas – but still focusing on demarcations. Even the people who want to welcome the refugees in Europe are mostly sticking to the concepts of nations and classifications.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Der erscheint mir als der Größte, der zu keiner Fahne schwört, und, weil er vom Teil sich löste, nun der ganzen Welt gehört.
P. 68 - 69
The Bohemian-Austrian poet and novelist Rainer Maria Rilke wrote in 1895:
The one strikes me as the greatest, who swears no flag, and because (s)he broke away from the part, now belongs to the world. Probably there would not have been any need for the first and second world war and all the others permanently ongoing wars and conflicts on this lovely planet if humans would be developed enough to understand the deep meaning of this poetic words. Jiddu Krishnamurti, philosopher and worldwide teacher said: “Identity produces pleasure and pain. It is the identity that brings hate and war and builds a wall around the people, around each individual, every family and every community.”
May we have your community please. May we have your community please. How fragile is identity? Do heterosexual couples in traditional dresses really represent identity and community? Why are these images still used to advertise a union? Are there no other official ideas about identity and community? How can we develope peace and wealth for all of us when we are stuck in concepts of segregation and restricted ways of thinking?
We need new visions please. We need new visions please. All around the world. We are all vulnerable and nothing is stable. All around the world.
May we rethink identity please? May we rethink community please? May we develop, open our minds and hearts - and work together please?
365 d Archive Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
20
Researchers’ articles:
Micropolitics at Baan Noorg
บ้านนอก-รัฐศาสตร์จุลภาค ดร. เซบาสเตียง ทายัค
โครงการบานนอก ความรวมมือดานศิลปะและวัฒนธรรม (Baan Noorg Collaborative Arts & Culture) เสนอ ที่พักแบบหนึ่งปีโดยไมเสียคาใชจายใหกับ ชอว สุ และ จอว โมว สองสามีภรรยาชาวพมา โดยใหทั้งสองเขารวม กิจกรรมตางๆ กับศิลปิน นักออกแบบ และนักวิจัย 22 คน จาก 11 ประเทศ[1] ประโยคขางตนนี้อาจท�าใหเกิด ความเขาใจวาโครงการ “365 Days: Life Muse” นาจะเป็นเหมือนรายการเรียลลิตี้ทางทีวีมากกวาเป็น โครงการ ศิลปะ ขณะเดียวกันก็คงมีอีกหลายคนที่มองวา โครงการนี้คือการจ�าลองศิลปะเชิงสัมพันธในอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งก็ ถือวายังไมถูกตอง โดมินิก บาเก (Dominique Baqué) เคยกลาวไววา สุนทรียศาสตรเชิงสัมพันธไมใชสิ่งที่จูๆ ก็ผุดขึ้นมา ศิลปินอยาง อัลลัน คาพราว (Allan Kaprow 1927-2006), กลุมฟลักซัส (Fluxus), เอเดรียน ไพเพอร (Adrian Piper 1947-), ดาเนียล สเปอรริ (Daniel Spoerri 1930- ), อันเตล (Untel 1975-1980) รวมถึงอีกหลายๆ คน ลวนเคยริเริ่มสรางสรรคผลงานในรูปแบบนี้มานานกอน (Baqué, 2004: 150) แลวทั้งสิ้น แลวนั่นหมายความวา อยางไร? หมายความวาโครงการนี้มีความเป็นสุนทรียศาสตร เชิงสัมพันธโดยไมจ�าเป็นตองอางอิงกระแสขึ้นลง อยางนั้นหรือ? ถาใช แลวนัยที่แทจริงของโครงการนี้คืออะไร ยี่สิบหาปีสุดทายของศตวรรษที่ 20 คือชวงเวลาที่โลก ถูกครอบง�าดวยความรุนแรง มืดหมน เป็นชวงเวลา ที่ตอกย�้าการปลาสนาการของสังคมและแนวคิดในอุดมคติ ที่ชารลส ฟูริเยร (Charles Fourier 1772-1837) เอเตียน กาเบต (Etienne Cabet 1788-1856) มิกาอิล บาคุนิน (Mikhail Bakunin 1814-1876) และคารล มารก (Karl Marx 1818-1883) ไดเคยวาดหวังไว นักปรัชญาอยาง มารก จิเมเนซ (Marc Jimenez) มีความเห็นวาเป็นไปไดที่เราจะไมเห็นดวยกับโลกอุดมคติทางการเมืองกับโลก อุดมคติทางศิลปะทีเ่ ป็น “ขัว้ ตรงขามของโลกอุดมคติเดิม” หรือ “โลกอุดมคติแหงความสับสนอลหมาน” โดยเฉพาะ โลกอุดมคติแบบหลังนั้น ถือไดวาเป็นการเผยใหเห็นความงอยเปลี้ย ไรระบบระเบียบของโลกปัจจุบัน และศิลปะ แบบทีเ่ ราเรียกวา ปลอดจากอิทธิพลการเมือง หลุดพน และไมเกีย่ วของใดๆ ทัง้ สิน้ ก็ถกู จัดอยูในจ�าพวก “ขัว้ ตรง ขาม ของโลกอุดมคติ” ที่วานี้ (Jimenez, 2014: 62). ขณะที่ นิโคลา บูรริโญด (Nicolas Bourriaud 1965-) นักวิจารณ ศิลปะชาวฝรัง่ เศสไดเนนประเด็นวาดวยการเปลีย่ นแปลงทางสังคมอุดมคติจากรัฐศาสตรมหภาค ไปสูรัฐศาสตรจุลภาค ไวในหนังสือสุนทรีศาสตรเชิงสัมพันธ (Relational Aesthetics) ของเขา ที่พิมพเผยแพรเมื่อปีค.ศ. 1988 วา: สังคมในอุดมคติ และความหวังว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงได้หลีกทาง ให้กับกลยุทธ์การลอกเลียน แบบและโลกอุดมคติในระดับย่อยที่ด�าเนินอยู่ในปัจจุบัน การวิพากษ์สังคมแบบตรงไปตรงมา ล้วนเปล่าประโยชน์ ยิง่ หากตัง้ อยูบ่ นมายาคติของความเป็นชายขอบด้วยแล้ว อย่าว่าแต่ถอยหลังเข้าคลอง แต่เป็นสิง่ ทีถ่ งึ กับเป็นไปไม่ได้ เลยทีเดียวในปัจจุบัน (Bourriaud, 1998: 31). บูร ริโญดไมใชคนแรกหรือคนเดียวที่มีความเห็นเชนนี้ ในปีค.ศ. 2000 ปอล อารเดน (Paul Ardenne 1956-) นักประวัติศาสตรศิลป์ชาวฝรั่งเศสกับเพื่อนของเขาคือคริสทีน มาแซล (Christine Macel) ไดรวมกันคัดเลือก ผลงานเพื่อจัดแสดงในนิทรรศการ Micropolitique ที่ศูนยศิลปะรวมสมัยแหงชาติมากาแซง-เกรอโนเบลอ (the Centre National d’Art Contemporain Le Magasin - Grenoble) ประเทศฝรั่งเศส โดยมีเป้าหมายเพื่อแสดง ใหเห็นความเปลีย่ นแปลงดังกลาว สาระส�าคัญของนิทรรศการมาจากสมมติฐานของฌิลล เดอเลอซ (Gilles Deleuze 1925-1995) และเฟลิกซ โก็ตตารี ( Félix Guattari 1930-1992) ในหนังสือ A Thousand Plateaus (เผยแพรปีค.ศ. 1980 แปลเป็นภาษาอังกฤษ ในปีค.ศ. 1987 โดย ไบรอัน มัสสุมิ (Brian Massumi) ที่วา “เมื่อกลไกทางการเมือง ขยายใหญถึงระดับโลกหรือยิ่งกวา ยอมมีแนวโนมมากขึ้นที่การรวมตัวของกลุมคนจะลดขนาดลง กลายเป็นชุมชน ขนาดเล็ก” (Deleuze & Guattari, 1987: 215) ในบทน�า Conference Micropolitiques ปอล อารเดนไดโจมตี ศิลปะเชิงการเมืองทีไ่ ดรับการหนุนหลังจากกลุมบุคคลทีม่ อี า� นาจหรืออิทธิพลในสังคม ที่ในสายตาของเขาเป็นเพียง ขอแกตางทางประชาธิปไตยทีไ่ มสามารถผุดขึน้ อยูเหนือความถูกตองทางการเมืองวา แมผลงานเหลานัน้ จะมีคณุ คา ในทางศิลปะแตก็ไมสงผลใดๆ ตอสังคมเหมือนดังเชนที่พบในผลงานของลูซี ออรตา (Lucy Orta 1966-), ฮานส ฮาคเก (Hans Haacke 1936-) หรือคริสตอฟ โวดิซโก (Krzysztof Wodiczko 1943-) (Ardenne, 2000: online) ดานนักประวัติศาสตรศิลปะเองก็ยิ่งวิกฤตหนัก เมื่อตางพยายามอธิบายโดยอางหนาที่ของศิลปะประเภทนี้วา สรางสรรคขึ้นเพื่อ Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
P. 70 - 71
ตอบสนองความต้องการด้านความบันเทิงแก่ประชาชน ดังนั้นจึงหมายถึงกิจกรรมทางวัฒนธรรมมากกว่าศิลปะ สิ่งที่ น�าเสนอมักจ�ากัดอยูท่ สี่ ญั ลักษณ์นยิ มสอดคล้องแบบทีพ่ บในละครเวที ทีซ่ งึ่ เป็นสิง่ ทีไ่ ด้ถกู ปลูกฝังมาแต่เดิม สอดคล้องกับ ความเข้าใจตามความคุ้นเคยของคนส่วนใหญ่ สอดคล้องกับความต้องการของฝ่ายปกครอง มักเน้นความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และการวางยาความคิดมวลชน (Ardenne, 2000: online). อารเดนไมไดเป็นเพียงคนเดียวที่มีความเห็นในเรื่องนี้ บาเกนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสที่ไดเอยถึงกอนหนานี้ ยังไดแสดง ความคิดเห็นในท�านองเดียวกันในหนังสือที่ตีพิมพเมื่อปีค.ศ. 2004 แตแมเขาทั้งสองจะโจมตีศิลปะที่มีลักษณะดังกลาว อารเดนก็ยังเสนอศิลปะเชิงรัฐศาสตร์จุลภาคไวเป็นทางเลือก โดยใหค�าอธิบายวา “เป็นรูปแบบหนึ่งของศิลปะที่มีกลวิธีที่ หลุดพนจากกลุมอภิสิทธิ์ชน หลุดพนจากอ�านาจทองถิ่น หลุดพนจากการตั้งค�าถามเชิงสัญลักษณ ที่ถูกปรับแตงใหดู เบาลงดวยการอางค�าขวัญรัฐในอุดมคติ หรือการโนมนาวใหอุทศิ ตนเพือ่ เป้าหมายทีว่ างไว” (Ardenne, 2000: online) ฉะนั้น กลวิธีทางศิลปะที่พรพิไลและจิระเดช มีมาลัย สรางสรรคเป็นโครงการ “365 days: Life Muse” จึงควรถูกท�าความ เขาใจโดยอางอิงจากหลักการของศิลปะเชิงรัฐศาสตรจุลภาคของปอล อารเดน (Paul Ardenne) โดยจ�ากัดบริบทของ โครงการไวที่ความสัมพันธระหวางประเทศไทยกับประเทศเมียนมา แบบเพื่อนบาน.. ศัตรู ? ประชานิยมในทุกประเทศ ลวนมีที่มาจากลัทธิชนชาติ และความเกลียดชังชาวตางชาติ ซึ่งสรางปัญหามากกวาใหทางออก ประเด็นนี้ท�าใหนึกถึง ชือ่ เพลงของ จอรจช บราซซงส (Georges Brassens) สองเพลงคือ “the two uncles” และ “To die for your ideas” ซึ่ง สะทอนอันตรายจากแนวคิดชาตินิยมและระบบอุปถัมภ เยอรมนีและฝรั่งเศสผานภาวะสงครามมาหลายครั้ง แตทั้งสอง ประเทศก็ยังเป็นก�าลังส�าคัญในการขับเคลื่อนยุโรป ส�าหรับฝรั่งเศส ปัญหาที่ก�าลังเผชิญหนา อยูในเวลานี้เป็นปัญหาที่ หยั่งรากมาตั้งแตยุคลาอาณานิคม บวกกับการขาดความสามารถที่จะสรางความเป็นเอกภาพ ในหมูลูกหลานของคน ตางชาติตางแผนดินทีเ่ ขามาท�างานในฝรัง่ เศสในชวงสามสิบปีอนั รุงเรือง (หลังสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง ระหวางปีค.ศ. 19461975) คนเหลานี้เดินทางเขามา เกาะกลุมกันตั้งชุมชนเฉพาะของพวกตนที่กลายเป็นเขตอันตรายส�าหรับคนนอกเชนที่ เป็นอยูในเวลานี้ ชาวพมาก็เชนกัน พวกเขาเขามาหางานท�าในประเทศไทย ขออยาไดคิดวาพวกเขายินดีที่ไดมา เพราะ คนเหลานี้ไมใชนักทองเที่ยว ทางเลือกยอมไมเหมือนกัน นอกจากนี้ยังมีคนอีกกลุมหนึ่งคือกลุมไรสัญชาติ ฉะนั้นไมวา วาทะทางการเมืองจะงดงามสวยหรูแคไหนก็ไรประโยชน เพราะสิ่งที่พวกเขาตองเผชิญในชีวิตจริงยอมส�าคัญกวา
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Credits
เพื่อใหความส�าคัญกับความใกลชิดและรากเหงาของสังคมทองถิ่น ที่พักของ ชอว สุ และ จอว โมว จึงอยูหางจากบาน ที่จิระเดช อยูมาตั้งแตเด็กเพียง 50 เมตร และปัจจุบันเขายังพ�านักอยูที่บานนี้กับภรรยา คือ พรพิไล ท�าไมจึงตองเป็นที่ นี่ มีความส�าคัญกับโครงการอยางไร หมูบานแหงนี้อยูในต�าบลหนองโพ เป็นสวนหนึ่งของอ�าเภอโพธาราม จิระเดชทราบ ความเป็นมาของที่นี่เป็นอยางดีและตระหนักถึงความส�าคัญของบริบททางประวัติศาสตรของทองถิ่นพื้นที่ลุมน�้าแมกลอง [2] แถบนี้เป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชาวไทยวน ชาวมอญและลาวพวน กลุมชาติพันธุที่กลาวถึงตางไดเรียนรูการอยูดวยกัน อยางถอยทีถอยอาศัยแมจะไมไดอพยพเขามาตั้งถิ่นฐานในหวงเวลาเดียวกัน พิพิธภัณฑพื้นบานวัดมวง คือตัวอยาง อันนาประทับใจในการท�าหนาที่รักษาความทรงจ�าของชาวบานในละแวกนี้ แมวาสิ่งนี้จะเคยเป็นไปไดในอดีต มันก็คง ไมไดมีเหตุผลอะไรที่จะท�าใหมันเป็นไปไดในปัจุบัน ความทาทายแรกของพรพิไลและจิระเดช คือการอธิบายเนื้อหาของ โครงการ เพื่อขอใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและวัด รับรองชอว สุ และ จอว โมว เป็นเวลาหนึ่งปี ทั้งสองเป็นคนงาน อยูที่คินซี่ บริษัทผลิตและจ�าหนายผลิตภัณฑสเตนเลสของชาวไตหวัน ในจ�านวนคนงานทั้งหมด 500 คน มี 200 คนเป็น ชาวพมา การยายที่อยูของทั้งสองคือการแยกตัวออกมาจากพื้นที่ที่ทางโรงงานจัดสรรใหคนงานพมาอยูรวมกัน ซึ่งท�าให เขาไดอยูทามกลางเพื่อนบานคนไทยเป็นครั้งแรก เพื่อนคนงานบางคนที่แมจะพูดภาษาไทยไมไดก็อยากจะยายออกมา เชนกัน แตที่ตองอยูตอไปเพราะอยางนอยการอยูที่นั่นก็ท�าใหอุนใจ ส�าหรับชอว สุ และ จอว โมว โครงการนี้เป็นเหมือน โอกาสที่จะไดมีชีวิตใหม โอกาสที่จะไดรูสึกมีสวนรวมในสังคมคนไทย ในบทที่วาดวย “การเผชิญหนาของสุนทรียภาพ” มารก จิเมเนซ ไดกลาวถึง เอดัวร กลิสซองต (Edouard Glissant 1928-1911) ที่เคยอางการเปรียบเปรย เรื่อง “เหงา” (rhizome-ไรโซม) ของฌิลล เดอเลอซหลายครั้ง โดยสรุปไดวาเหงาและรากมีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกตาง ทุกอัตลักษณ ตางมีฐานลางอันมั่นคงและพรอมจะยื่นขยายไปสัมพันธกับอีกฝ่ายหนึ่ง กาวขามความขัดแยง ความไมลงรอยกัน กาวขามความแตกตางหลากหลายที่ตอกย�้าความซับซอนของ “โลกอันสับสนปนเป” เพื่อกาวสูความเป็น “โลกทั้งมวล” (Jimenez, 2014: 72) ในบริบทเฉพาะของคูสามีภรรยาชาวพมา ทัง้ คูไมไดอยูทามกลางเพือ่ นรวมชาติ และเพือ่ นบานใหมเอง ก็มีโอกาสท�าความคุนเคยกับทั้งสองคน ชีวิตด�าเนินไปพรอมกับงานและกิจวัตรอื่นๆ ที่ตองท�าในแตละวัน มีเด็กๆ ใน ละแวกบาน ที่แวะเวียนมาเลนกับสุนัขสีด�าที่ทั้งสองน�ามาเลี้ยง ชีวิตประจ�าวันที่เรียบงายกลับสงผลดีตอจิตใจ สิ่งที่เกิด ขึน้ นีไ้ มอาจชีช้ ดั ลงไปไดวาเป็นสิง่ ทีส่ ามารถสังเกตุเห็นไดหรือไม เนือ่ งจากเป็นชีวติ ประจ�าวันทีไ่ รผูชม ชวงแรกๆ ทัง้ สอง อาจจะดูขลาดอายแตตอมาก็คอยดูมีความสุข ราเริง และเติบโตขึ้น ศิลปินและนักออกแบบมากหนาหลายตาที่เขารวม ในโครงการนี้ ตางคิดคนกิจกรรมในรูปแบบตางๆ เพือ่ สรางการมีสวนรวมทัง้ ระหวาง ชอว สุ และ จอว โมว กับเพือ่ นบาน และระหวางเพื่อนๆ กับเพื่อนรวมงาน และกับสมาชิกในครอบครัวของพวกเขา มองในแงหนึ่ง นี่คือการสลายชุมชนชาว พมาที่อยูอาศัยและท�างานเกาะกลุมกันตลอดเวลา ท�าใหความหวาดระแวงที่ถูกบมเพาะจากความรังเกียจคนตางชาติ คอยๆ ลดลง และยังอาจน�าเราไปสูแนวคิดทางสังคมวิทยาของฝรั่งเศสที่วาดวย “ความไววางใจ” ที่อาจแปลไดวาคือ การกลับไป “ผูกสัมพันธ” หรือ “เชื่อมความสัมพันธ” ดังที่มารเซล โบลเลอ เดอ บัล (Marcel Bolle De Bal) ไดชี้ให เห็นตามทฤษฎีของสองนักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศสคือ เอดการ โมแรง (Edgar Morin)
22 และ มิเชล มัฟฟ์โซลิ (Michel Maffesoli) ที่กลาวถึงการฟื้นฟูพันธะผูกพันธของมนุษยกับสังคมหลังจากที่ทั้งสองอยาง ไดถูกท�าลายลงไป โดยที่สังคมสมัยใหมมีสวนรวมในการท�าลายนั้นไมมากก็นอย (Marcel Bolle De Bal, 2009: online) แมแรงผลักดันทางสังคม และเจตนารมณของโครงการนี้จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง แตสถานะของโครงการบานนอกฯ ไมควรถูกเขาใจคลาดเคลื่อนไปจากขอเท็จจริงที่วา โครงการนี้ไมใชหนวยงานดานมนุษยธรรม แตคือโครงการไมหวัง ผลก�าไรที่ริเริ่มโดยศิลปิน แนนอน ตองมีผูสงสัยวาหลังสิ้นสุดโครงการจะเกิดอะไรขึ้นกับ ชอว สุ และ จอว โมว ทุกคน ทีเ่ กีย่ วของกับโครงการ ลวนหวงใยในเรือ่ งนีแ้ ตค�าตอบก็ขนึ้ อยูกับเจาตัว ขึน้ อยูกับความสมัครใจของทัง้ สองคนเป็นส�าคัญ ผูเขียนคงไมสามารถจบบทความนีโ้ ดยไมกลาวถึงค�าถามส�าคัญหนึง่ ในหลายๆ ขอของตัวเอง เป็นทีเ่ ขาใจกันดีวาหัวใจหลัก ของโครงการนี้คือประเด็นทางสังคมและการเมือง แลวการรับรูทางศิลปะของ ชอว สุ และ จอว โมว เป็นอยางไร ศิลปะ ทีท่ งั้ สองรูจักคือศิลปะทีป่ รากฏเป็นพุทธบูชาตามวัดวาอาราม ทัง้ ในประเทศเมียนมาและประเทศไทย มาถึงตรงนี้ บางคน อาจจะคิดถึงแนวคิดของมอรริส ไวตซ (Morris Weitz) ที่เขียนอธิบายไวใน “บทบาทของทฤษฎีในสุนทรียศาสตร” (The Role of Theory in Aesthetics) วา ศิลปะคือแนวคิดที่เปิดกวางและไมสามารถใหค�าจ�ากัดความได บางคนอาจจะคิด ขามจาก “เมื่อใดคือศิลปะ” ค�าถามอันลือลั่นของเนลสัน กูดแมน (Nelson Goodman) ที่ปรากฏในหนังสือ หนทาง สรางโลก (Ways of Worldmaking) ไปสูค�าถามที่วา “เมื่อใดคือการท�าใหเป็นศิลปะ” ของ โรเบอรตา ชาปิโร (Roberta Shapiro) และ นาตาลี เอนิค (Nathalie Heinich) สิง่ ทีส่ องสามีภรรยาชาวพมาไดสัมผัสในโครงการนาจะยิง่ ท�าใหพวกเขา เกิดความงุนงงสับสนกับความพยายามที่จะนิยามศิลปะ เนื่องจากมันแตกตางอยางสิ้นเชิงจากศิลปะแบบประเพณีนิยม ที่พวกเขาคุนเคย ทวาเป้าหมายของโครงการนี้ไมใชการยัดเยียดค�าจ�ากัดความของศิลปะแบบใดแบบหนึ่ง แตคือการ เปิดโอกาสใหพวกเขาไดสัมผัสดวยตัวเอง และในทายที่สุดการที่ ชอว สุ และ จอว โมว เป็นตัวของตัวเองก็ไมไดเป็น อุปสรรคการเขาถึงกิจกรรมใหมๆ ทั้งสองไดแบงปันชวงเวลาอันสนุกสนานกับผูรวมโครงการคนอื่นๆ ส�าหรับพวกเขาจะ เป็นศิลปะหรือไมไมใชสิ่งส�าคัญ ดังนั้นเราก็นาจะหยุดพูดถึงโครงการดวยเชนกัน....เพราะสิ่งที่ทาทายที่สุดก็คือ บทสรุป สุดทายในมือผูริเริ่มโครงการคือ พรพิไล และจิระเดช มีมาลัย ที่จะด�าเนินการจัดนิทรรศการและจัดท�าสิ่งพิมพเพื่อปลุก ชีพและตอเวลาใหกับโครงการระยะเวลาหนึ่งปีนี้ กอนที่มันจะถูกเก็บเขาแฟ้มตลอดไป 1 Austria, France, Germany, India, Indonesia, Japan, Malaysia, Myanmar, Philippines, Taiwan and Thailand. 2 Pranee Wongthes, editor, The Mae Klong Basin: socio-cultural development, published by Silpakorn University, 2536 [1993].
บรรณานุกรม Ardenne, Paul, Conferences micropolitiques, Introduction, 2000 [online] URL :http://www.arpla.fr/canal10/ardenne/micropolitiques.pdf [Accessed 10/07/2016] Briana Bray, Edith Brunette & Anne-Marie Ouellet, [T]ex[t]o: I NTRODUCTION Micropolitique, [online] URL : http://espace-texto.blogspot.com/p/micropolitique.html [Accessed 23/06/2016] Baqué, Dominique, Pour un nouvel art politique. De l’art contemporain au documentaire, Paris, Flammarion, 2004. Bolle De Bal, Marcel, “Éthique de reliance, éthique de la reliance : une vision duelle illustrée par Edgar Morin et Michel Maffesoli ” in Nouvelle revue de psychosociologie 2/2009 (No 8), p. 187-198. URL: www.cairn.info/revue-nouvelle-revue-de-psychosociologie-2009-2-page-187.htm. [Accessed 20/08/2016] Bourriaud, Nicolas, L’esthétique relationnelle, Dijon : Les Presses du réel, 1998. Deleuze, Gilles & Guattari, Félix, A Thousand Plateaus: Capitalism and Schizophrenia, University of Minnesota Press; First Edition, 1987. Goodman, Nelson, Ways of Worldmaking, Hackett Publishing Company, 1978. Heinich, Nathalie & Shapiro, Roberta, De l’artification. Enquête sur le passageà l’art, Editions de l’école des hautes études en sciences sociales, 2012. Jimenez, Marc, Fragments d’un discours esthétique. Entretiens avec Dominique Berthet, Klincksieck, 2014. Weitz, Morris, “The Role of Theory in Aesthetics,” in Journal of Aesthetics and Art Criticism, XV, 1956, pp. 27–35.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Sebastien Tayac, PhD
P. 72
Micropolitics at Baan Noorg A one-year complimentary accommodation plus different activities and exchanges with eighteen designers, artists and researchers of eleven nationalities[1] had been offered to Burmese couple Chaw Su and Kyaw Moe by the Baan Noorg Collaborative Arts & Culture. Described in this style, the project “365 Days: Life Muse” might seem more like a reality TV show rather than an artistic project. Such a perception could be misleading. Others will probably only see this project as another avatar of relational art. This would again be a mistake. As pointed out by Dominique Baqué, relational aesthetics has not arisen from nothing. In fact, artists like Allan Kaprow (1927-2006), Fluxus, Adrian Piper (1947-), Daniel Spoerri (1930-), Untel (1975-1980) and so many others were there long before (Baqué, 2004: 150). So what does that mean, then? Is this project linked to the spirit of relational art without necessarily claiming their ins and outs? If so, what does this truly imply? With the success of the dystopia, the last twenty-five years of the twentieth century marks the disappearance of ideals and social utopian ideologies as from Charles Fourier (1772-1837) to Etienne Cabet (1788-1856) and from Mikhail Bakunin (1814-1876) to Karl Marx (1818-1883). Philosopher Marc Jimenez considers that we can oppose to the political utopia, the utopia of art that is a “negative utopia” or “utopia of the rout”. The latter reveals negative dysfunctions and disorders of the present world. The art that we judge depoliticized, disengaged and not involved is to be placed under the sign of this negative utopia. (Jimenez, 2014: 62). Conversely, in his book Relational Aesthetics published in 1998, French art critic Nicolas Bourriaud (1965-) put an emphasis on the utopic shift from macro to micro-politics in his famous quote: Social utopias and revolutionary hopes have given way to everyday micro-utopias and imitative strategies, any stance that is « directly » critical of the society is futile, if based on the illusion of a marginality that is nowadays impossible, not to say regressive (Bourriaud, 1998: 31). Bourriaud was not the only one, nor the first. In 2000, French art historian Paul Ardenne (1956-) and fellow Christine Macel co-curated the exhibition Micropolitique at the Centre National d’Art Contemporain Le Magasin - Grenoble, France - showing the shift mentioned above. The very essence of this exhibition was based on one of the assumptions stated by Gilles Deleuze (1925-1995) and Félix Guattari (1930-1992) in the book A Thousand Plateaus (1980 translated in English by Brian Massumi in 1987): “When the machine becomes planetary or cosmic, there is an increasing tendency for assemblages to miniaturise, to become micro-assemblages” (Deleuze & Guattari, 1987: 215). In his introduction of Conference Micropolitiques, Paul Ardenne lashes against committed art supported by the Establishment, which he believes is just a democratic alibi that does not rise above the politically correct. Although appreciated, Ardenne argues that committed art does not have any social impact as observed in artwork by Lucy Orta (1966-), Hans Haacke (1936-) or Krzysztof Wodiczko (1943-) (Ardenne, 2000: online). The art historian is even more critical when he further explains by mentioning that this art is there to: Nourish the thirst of public distraction and thereby refers less to art then to cultural events. The propositions in this case are limited to a kind of light opera symbolism with a humanist consonance which is consensually firmly set in the minds, furthermore is logically linked with the demand for shows aligned with the ruling powers in place, always favourable on entertainment and mass mental anaesthesia (Ardenne, 2000: online).
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Acknowledgement
Paul Ardenne is not the only one. In fact, the aforementioned French philosopher Dominique Baqué, in the same book published in 2004, shares the same ideas. Although they both denounce this kind of art, Paul Ardenne proposes an alternative namely micro-political art that he defines as “a form of art in which the approach is above all privileged micro-layouts, local initiatives or symbolic questioning propositions lightened by a concern of asserting slogans, utopian ideas or encouragement to a targeted commitment” (Ardenne, 2000: online). Instigators of “365 days: Life Muse”, the approach of Pornpilai and Jiradej Meemalai must be perceived in the lineage of micro-political art defined by Paul Ardenne
24 in the particular context of Thailand and Myanmar... neighbours... enemies? In every nation, populism based principally on racism and xenophobia creates more problems than solutions. When reflecting on this, titles of two songs by Georges Brassens “the two uncles” and “To die for your ideas” suddenly popped into my mind... very much as a warning against nationalism and patriotism. French and Germans were at war several times but are nonetheless two driving forces of Europe. Another problem that France currently encounters owes its deep roots to its colonial past and especially its inability to incorporate the descendants of all these foreigners coming to work during “The Glorious Thirty”. All these people were grouped creating nowadays ghettos and no-go zones. Like the Burmese, many workers come from neighboring countries to work in Thailand. One must not imagine that migrants leave their country with joy. They are not tourists. The choices are not the same. Moreover, we have yet to mention the stateless people! Politically correct speeches are useless; experience is privileged more than words. Giving privilege to proximity and local social roots, the complementary accommodation for the Burmese couple is located mere 50 meters from Jiradej Meemalai family home, a place where he grew up and still resides with his partner Pornpilai. But why there? Why this involvement? Located in the district of Photharam in the sub-district of Nongpo, Jiradej Meemalai knows the local history and why this particular context history matters. The Mae Klong region[2] is where Tai Yuan, Mons and Lao Phuan have learned to live together according to the different waves of migrations. The Wat Muang Folk Museum is a notorious example for the memory of the people in this geographic area. Although it was possible in the past, there is no reason for that to change now. At first, the difficulty for Pornpilai and Jiradej Meemalai was to convince the administrative and religious authorities of the soundness of the project and therefore vouched for Chaw Su and Kyaw Moe for one year. The young couple are both working at Kinzi, a Taiwanese company specialised in stainless steel that employs 500 people including 200 Burmese. By changing accommodation, this couple leave the living neighbourhoods attributed to Burmese by the company and for the first time are set in an environment with Thai neighbours. Some of their colleagues - who do not even speak Thai - want to leave this place but it is where they feel safe. However, for Chaw Su and Kyaw Moe, this project represents the opportunity of a new life, a way to feel integrated in the Thai society. In the chapter “For an aesthetics’ encounter”, Marc Jimenez remembers a presentation of Edouard Glissant (1928 -1911), and his numerous references to Gilles Deleuze and the metaphor of the rhizome; which, unlike the root identity, even totalitarian means that any identity is well-founded and extends in a relation to one another, transcending conflicts, contradictions, differences and variety, which highlights the complexity of “Chaos-Monde” to arrive at the “Tout-Monde” (Jimenez, 2014: 72). In this singular context, the couple is no longer exclusively surrounded by Burmese. Their new neighbours also have the opportunity to get to know them. An ordinary life marked by daily needs, work, and neighbourhood children who stop to play with their newly adopted black dog. A seemingly commonplace daily life which could positively affect mentalities. This part of the project is arguably invisible-or not really- as it takes place in the everyday life, without audience. Chaw Su and Kyaw Moe could be perceived as shy at first but have gradually became more jovial, happy and in a way blossoming. Different stakeholders in this project, whether they are artists or designers, or a bit of both, attempted, in form of various activities, to act and to create links not only between the couple and Thai neighbours but also among their friends, colleagues and family members. This is also a means to ‘de-ghettoize’ Burmese people who work and live together. The fear generated by xenophobia can thus defuse gradually. This probably led us to the French psycho-sociological concept of “Reliance” that shall be translated into English as “re-binding” or “re-linking”. As Marcel Bolle De Bal illustrates - theorized by the two well-known French sociologists Edgar Morin and Michel Maffesoli - it refers to the reconstruction of human and social bonds that have been more or less destroyed by modern societies (Marcel Bolle De Bal, 2009: online). Even though social motivations and intentions of this project are real, the Baan Noorg Collaborative Arts & Culture’s positioning should not be mistaken; it is not a humanitarian organization. Quite the contrary, it is a non-profit artist initiative. Surely, one might wonder what will happen to Chaw Su and Kyaw Moe upon the achievement of the project. Everyone involved in this project is also concerned by them, but the answer belong to them; it depends only on their free will... Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
I cannot end this text without mentioning, among others, one of my main interrogations. The general public understands that social and political issues are at the heart of this project, but what about the artistic perception of Chaw Su and Kyaw Moe? The art they know comes mainly from religious art in Buddhist temples in Myanmar and Thailand. Probably one could be content with the idea of Morris Weitz in his article “The Role of Theory in Aesthetics” explaining that art is an open concept with no possible definition. One can also easily jump from Nelson Goodman’s famous “When is Art?” appeared in his 1978 book Ways of Worldmaking, to “When is Artification?” by Roberta Shapiro and Nathalie Heinich. Nevertheless, what the Burmese couple experienced in the project generates more misunderstanding and confusion to try to define art since it does not correspond to their initial, rather traditional, vision of art. Again, the underlying aim of this project is not to impose a particular definition of art on them but rather to let them experiment on their own. Last but not least, as Chaw Su and Kyaw Moe demonstrate themselves, it does not prevent them from appreciating all these new activities and sharing joyful moments with all the stakeholders. For them, be it art or not, this is not the most important thing. As a result, we might as well stop talking about this project...For the ultimate challenge, the last conclusions will be in the hands of the instigators of the project, Pornpilai and Jiradej Meemalai who will organise an exhibition and a publication to revive and put forth this one-year project before it is archived indefinitely. 1 Austria, France, Germany, India, Indonesia, Japan, Malaysia, Myanmar, Philippines, Taiwan and Thailand. 2 Pranee Wongthes, editor, The Mae Klong Basin: socio-cultural development, published by Silpakorn University, 2536 [1993].
Bibliography Ardenne, Paul, Conferences micropolitiques, Introduction, 2000 [online] URL :http://www.arpla.fr/canal10/ardenne/micropolitiques.pdf [Accessed 10/07/2016] Briana Bray, Edith Brunette & Anne-Marie Ouellet, [T]ex[t]o: I NTRODUCTION Micropolitique, [online] URL : http://espace-texto.blogspot.com/p/micropolitique.html [Accessed 23/06/2016] Baqué, Dominique, Pour un nouvel art politique. De l’art contemporain au documentaire, Paris, Flammarion, 2004. Bolle De Bal, Marcel, “Éthique de reliance, éthique de la reliance : une vision duelle illustrée par Edgar Morin et Michel Maffesoli ” in Nouvelle revue de psychosociologie 2/2009 (No 8), p. 187-198. URL: www.cairn.info/revue-nouvelle-revue-de-psychosociologie-2009-2-page-187.htm. [Accessed 20/08/2016] Bourriaud, Nicolas, L’esthétique relationnelle, Dijon : Les Presses du réel, 1998. Deleuze, Gilles & Guattari, Félix, A Thousand Plateaus: Capitalism and Schizophrenia, University of Minnesota Press; First Edition, 1987. Goodman, Nelson, Ways of Worldmaking, Hackett Publishing Company, 1978. Heinich, Nathalie & Shapiro, Roberta, De l’artification. Enquête sur le passageà l’art, Editions de l’école des hautes études en sciences sociales, 2012. Jimenez, Marc, Fragments d’un discours esthétique. Entretiens avec Dominique Berthet, Klincksieck, 2014. Weitz, Morris, “The Role of Theory in Aesthetics,” in Journal of Aesthetics and Art Criticism, XV, 1956, pp. 27–35. Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Chaw Su & Kyaw Moe
26
ชอว์ สุ และ จอว์ โมว์ แผนที่โครงการ, 2559 รวมมือกับ : ชุมชน 365 วัน ภาพถาย, เขียนมือบนผนัง
Chaw Su and Kyaw Moe Project Mapping, 2016 In collaboration with : community 365 days snapped photos, hand writing on wall Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
ชอว์ สุ และ จอว์ โมว์ แผนที่โครงการ, 2016 จอว โมว เป็นผูพบใบประกาศแลวน�าไปแจกใหเพื่อนๆ ในโรงงาน เมื่อฉันเห็นใบประกาศจึงถามวาใครเอา มาและไดค�าตอบวา จอว โมว น�ามาแจก ฉันจึงเขาไปหา จอว โมว และชักชวนใหสมัครเขารวมโครงการฯ ดวยกัน ดวยเหตุแหงความประหลาดใจในขอความบนใบประกาศนั้น นาจะมีสิ่งพิเศษซอนอยู และเชื่อวา ในความแปลกประหลาดเชนนัน้ ไมนาจะท�าใหเพือ่ นๆ คนอืน่ สนใจ ฉันมีความคิดวาความแปลกประหลาดนี้ นาจะชวยใหฉันและ จอว โมว ไดมีโอกาสท�าอะไรบางอยางที่ไมจ�าเจเฉกเชนการงานในชีวิตประจ�าวัน (ชอว สุ กลาว) ชอว สุ และ จอว โมว พ�านักอาศัยในชุมชนหนองโพ ทั้งคูท�างานที่โรงงานอุตสาหกรรมผลิตเหล็กกลา ไรสนิม (Stainless Steel) ทั้งคู อพยพโยกยายถิ่นฐานมาประเทศไทยประมาณ 13 ปีที่แลว ชอว สุ เกิดและเติบโตที่เมืองเมาะล�าไย สวน จอว โมว เกิดและเติบโตที่กรุงยางกุ ง ประเทศสาธารณรัฐแหง สหภาพเมียนมา ทั้งสองเดินทางเขาประเทศไทยทางดานอ�าเภอแมสอด จังหวัดตาก และเริ่มตนเป็น แรงงานผิดกฎหมายในโรงงานตัดเย็บผาซึ่งน�าพาใหทั้งสองไดพบกัน ตอมาพวกเขาพากันเดินทางไปท�างาน ทีก่ รุงเทพฯ จากนัน้ ราวปีพ.ศ. 2553 ทัง้ สองตัดสินใจเดินทางมาทีต่ า� บลหนองโพเพือ่ สมัครเขาท�างานทีโ่ รงงาน อุตสาหกรรมผลิตเหล็กกลาไรสนิม ซึ่งขณะนั้นเริ่มเปิดรับแรงงานชาวพมา และด�าเนินการทางกฎหมาย เพื่อออกใบอนุญาตท�างานใหกับพนักงานชาวพมาเหลานั้น เขาทั้งสองท�าหนาที่สรางแผนที่ในความรวมมือสรางสรรคและพัฒนาโครงการรวมกับศิลปิน นักวิจัย และ ชาวชุมชนหนองโพ ระหวางด�าเนินโครงการทั้งสองไดรวบรวมบันทึกภาพถายชีวิตประจ�าวัน (snapped photos) ตลอดระยะเวลา 1 ปี น�าเสนอบันทึกและตัวบทในนิทรรศการครั้งนี้ แสดงออกถึงประสบการณ และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามกรอบระยะเวลาโครงการ โครงการสรางแผนที่ทางสังคมวัฒนธรรมเพื่อความเขาใจในการอยูรวมกัน โดยอาศัยการปะทะสังสรรคทาง ความคิดและความรวมมือระหวางศิลปินและนักวิจัยดานทัศนศิลป์ แรงงานชาวพมาในชุมชนฯ และที่ขาด ไมไดคือผูคนในชุมชนฯ กระบวนการสรางสรรคทางทัศนศิลป์ไดออกแบบกิจกรรมหลากหลาย เพือ่ ผลักดัน ใหเกิดการขับเคลื่อนทางสังคมและสรางปฏิสัมพันธระหวางกันภายในชุมชน ผานมุมมองวัฒนธรรมภายใต กรอบที่สัมพันธกับความเคลื่อนไหว[1] เนื่องจากชุมชนหรือกลุมชนที่อาศัยอยูรวมกัน เป็นสิ่งที่เคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มิใชภาพนิ่งในลักษณะสองมิติที่เราจะท�าความเขาใจไดเฉกเชนภาพถายหรือ ภาพวาด แตมันมีลักษณะเป็นภาพสามมิติรวมกับมิติความเชื่อหรือจักรวาลทัศนของกลุมคนที่แตกตางกัน ปฏิกิริยาการยอยสลาย (digestive)[2] มิติตางๆ ที่มีความสลับซับซอนชวยเสริมสรางความรู ความเขาใจ ในความแตกตางทางสังคมวัฒนธรรม ดวยเหตุนี้ชุมชนจึงมีความส�าคัญเทากับศิลปะ และกระบวนการ ทางทั ศ นศิ ล ป์ การกาวขามพรมแดนและขอบเขตที่ จ� า กั ด ของชุ ด ความรู หนึ่ ง ใดไปสู การบู ร ณาการ ในศาสตรความรู อื่ น ๆ เป็ น กรณี ศึ ก ษาที่น าสนใจเพื่อสานประโยชนในเรื่องที่เกี่ยวกับชีวิตของคนที่ อยูรวมกันในสังคมโดยตรง ความพยายามที่จะเขาใจพื้นที่ทางสังคมวัฒนธรรมชุมชนหนองโพ ท�าใหเราตระหนักถึงการมีอยูของผูคน ที่มีความหลากหลายดานชาติพันธุ ซึ่งเป็นสังคมวัฒนธรรมที่มีลักษณะพลวัตพัฒนาสืบเนื่องมิขาดสายเป็น ภาพเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา พื้นที่ทางสังคมวัฒนธรรมของชุมชนหนองโพมิไดเป็นพื้นที่ ที่วางเปลา หากเป็นพื้นที่ซึ่งกลุมชาติพันธุด�ารงตนมาอยางยาวนานตลอดชวงเวลาของประวัติศาสตรกวา 200 ปี ประกอบดวยกลุมชาติพันธุ ไทยวน มอญ ลาว จีนแตจิ๋วฯ และกลุมชาติพันธุชาวพมา แรงงานผู้ อพยพเขามาในชุมชนอยางตอเนื่องในชวงทศวรรษที่ผานมา ดวยเหตุนี้การวาดแผนที่ลงบนส�านึกของผูคน ที่อยูรวมกันจึงจ�าเป็นตองอาศัยความรวมมือจากหลายภาคสวนเพื่อใหเกิดการยอมรับซึ่งกันและกันโดย ไมกอปัญหาความขัดแยง แผนทีท่ ถี่ กู สรางขึน้ ใหมนัน้ เปรียบเสมือนการบันทึกความเป็นจริงเชิงประชากรศาสตร และแสดงผลความคืบหนาของการมีตัวตนในกลุมผูอพยพกลุมใหมที่เขามาอาศัยรวมกันกับผูคนในทองถิ่น ทีอ่ ยูมาแตเดิม แผนทีโ่ ครงการฉบับนีจ้ ะชวยใหเราเขาใจถึงการเปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอมทางสังคมวัฒนธรรม ต�าแหนงแหงหนของกลุมผูอพยพแรงงาน คตินิยม ความรู ความเชื่อ และวิถีชีวิตของพวกเขา ซึ่งแผนที่ทาง ภูมิศาสตรมิสามารถอธิบายได 1 นิธิ เอียวศรีวงค, ศรีศักร วัลลิโภดม, เอกวิทย ณ ถลาง, มองอนาคต: บทวิเคราะหเพื่อปรับทิศทางสังคมไทย (กรุงเทพฯ : มูลนิธิภูมิปัญญา, 2538), หนา 15. 2 Pascal Gielen & Pascal Gielen (eds.) – Community Art, The Politic of Trespassing : 2013, หนา 21. Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
28
Chaw Su and Kyaw Moe Project Mapping, 2016
“Kyaw Moe was the one who saw the notice and he shared to his friends. When I saw the notice, I have asked who brought it and knew that it was Kyaw Moe. I then went to see Kyaw Moe and persuaded him to apply to participate in the project together. I was attracted by the curiosity from the text on the notice and knew that something special might be hidden and I believed its oddness might not draw any other friends’ attention. I had the thought that it should bring me and Kyaw Moe to have a chance to do something uncommon from our routine”: said Chaw Su. Chaw Su and Kyaw Moe reside in Nongpo community. They both work in a stainless steel factory. They immigrated to Thailand 13 years ago. Chaw Su was born and grew up in Mawlamyine while Kyaw Moe was in Yangon, Myanmar. They entered Thailand through Mae Sod border, Tak province. Illegally, they began to work in a local sewing factory where they have met each other. Later, they went to work in Bangkok until 2010. Then they have decided to go to Nongpo District to apply for a job in the stainless steel factory that was in demand for Burmese labours and legally processed the work permit for them. They both, as project mapping, have cooperated and developed the project with artists, researchers and Nongpo community members. During the process, they have been collecting snapped photos of their daily life throughout the year to present as project’s archive serving as content in the exhibition. They revealed the experience and the changes that have occurred all through the project. The project of the shaping of social cultural map, seeking for an understanding on cohabitation, has been realised through the interrelation, responsive feedback and collaboration between artists, art researchers and Burmese labourers in the community with the very important participation of people from the local ground. The artistic process was designed with multi-form of activities to encourage social reinforcement and develop an interaction amongst community through cultural vision within a framework in relation to dynamic forces[1]. This is because a community or a local group whose members reside together in one locality constantly move and transform. Unlike two dimensional still image such as photography or painting that is easier to understand, this process happened in three dimensions, which combines with scopes of belief and universal visions of diverse groups of people. The digestive reaction[2] over each complexed dimension has enhanced the perception toward social and cultural diversity. Consequently, community has become as significant as art and art process. This reflected the breakthrough of the boundaries and limitation of one particular set of knowledge into the integration of multidisciplinary and alternative body of knowledge. This was an interesting case study constructing the direct benefits toward all inhabitants within a community.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
The attempt to understand the social cultural context of Nongpo community has generated the awareness on the presence of multi-culturalism of the social dynamic groups which are constantly changing as the social cultural space, and Nongpo community has no exception. A number of ethnic groups have inhabited here over 200 years of history. This includes Tai Yuan, Mon, Lao, Teochew together with Burmese migrant labourers who have resided in the community for this past decade. Hence, the process of shaping a map over the local people’s perception has the need to be acquired through collaborations from various parties to attain mutual acceptance without bringing in any disaccord. This reconstructed map is like an archive of demographic fact. It shows progressive result of the presence of the newly inhabited of the migrant groups who cohabit with the existing community. This map will convey the comprehensive perception on the transformation of social and cultural conditions, the locality of the migrant labourers, their ideology, knowledge, belief system and ways of living where geographical map is unable to cover.
1 Nithi Aeusrivongse, Srisak Valipodom, Ekavidhya Nathalang, Mong anakhot: botwikhro phua praplian thisthang sangkhom thai [Looking Toward the Future: Analytical Essays to Change the Direction of Thai Society], (Bangkok: Phumipanya Foundation. 1995), 15. 2 Pascal Gielen & Pascal Gielen (eds.) – Community Art, The Politic of Trespassing: 2013, 21. Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
30
Alfred Banze
อัลเฟรด บันซี ล่องหน, 2016 รวมกับ : ซอว ซอว, ชอว สุ, จอว โมว, หนูมา พึ่งสวาง, ฉัตรมงคล พึง่ สวาง, ฉัตรโชค พึง่ สวาง, สุธิดา พละสุ, โสภิชชา ศรีเผือก ความรวมมือวาดเสนและเขียนมือบน สมุด 25.5 x 27 ซม., บทความบน กระดาษ, คลิปบอรด, 31 x 22 ซม. ตอแผน, 23 หนา
Alfred Banze Invisible, 2016 In collaboration with : Chaw Su, Kyaw Moe, Zaw Zaw, Nooma Puengsawang, Chatmongkon Puengsawang, Chatchok Puengsawang, Suthida Palasu, Sopitcha Sripuek collaborative drawings book with hand writing 25.5 x 27 cm, text on papers, clipboard, 31 x 22 cm each, 23 pages Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
อัลเฟรด บันซี เกิดปีพ.ศ. 2501 ที่เมืองคีรชเบานา ประเทศเยอรมนี พ�านักและปฏิบัติงานที่กรุงเบอรลิน ประเทศ เยอรมนี บันซีสรางสรรคผลงานภายใตขบวนการศึกษาวิจยั เชิงทัศนศิลป์ เขาจบการศึกษาระดับปริญญาโท Media Art จาก Kunsthochschule für Medien Köln เมืองโคโลญ ประเทศเยอรมนี ผลงานศิลปะของเขาจัดอยูในประเภท สหวิทยาการศิลป์ (Interdisciplinary arts) ซึ่งใหความส�าคัญกับการท�างานแบบมีสวนรวมกับผูคน ตั้งแตปีีพ.ศ. 2547 ผลงานของบันซีมุ งศึกษาและพัฒนาแนวทางที่จะสะทอนสภาวะการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของโลก ทั้งในประเทศพัฒนาและก�าลังพัฒนา สรางสรรคผลงานในหลายประเภท อาทิ วีดีโอ, ภาพถาย, แสดงสด, ผลงาน จัดวาง,วาดเสน และดนตรี บันซีเขารวมโครงการ 365 Days: LIFE MUSE ในฐานะนักวิจัยเชิงทัศนศิลป์ (Artistic researcher) เขาคนหาความ เหมือน-คลายในคติชนเรื่องเลา นิทานพื้นบาน-ปรัมปรา ที่ด�ารงอยูในวัฒนธรรมไทย เมียนมา และเยอรมนี นิทาน พืน้ บานเหลานีบ้ อกเลานัยยะของการเผชิญหนา ทีน่ า� มาซึง่ ความผิดหวัง ซึง่ หลายวัฒนธรรมมีรวมกัน ไดแก สังขทอง คนแคระ และผีหยู กั ษ เรือ่ งราวทีป่ รากฏตางกรรมตางวาระ ด�าเนินโครงเรือ่ งดวยตัวละครหลักทีซ่ อนตัวอยูในรูปลักษณ ที่ต�่าตอยหรือผิดปกติ คติชนที่มีความหลากหลายท�าใหนิทานเรื่องหนึ่งแตกออกเป็นหลายส�านวน ซึ่งเอื้อตอ สถานการณทีเ่ หมาะสมแกผูฟัง ความเหมือนและความคลายของตัวบทไดสะทอนโครงสรางความคิดทีเ่ ป็นสากลของ มนุษยชาติไมวาจะอยูในกาละและเทศะใด ตามทฤษฎีโครงสรางต�านานของ โคลด เลวี่-สโทรสส (Claude LeviStrauss) เมื่อพิจารณาจากทฤษฎีหนาที่นิยม ท�าใหสามารถเขาใจหนาที่ของระบบตางๆในวัฒนธรรม การวิเคราะห ตัวบทและการวิเคราะหบริบทในเชิงสังคม-วัฒนธรรมในกรณีของบันซี พฤติกรรมของผูเลาไดแกศิลปิน แรงงานชาว พมา ชุมชนฯ ในฐานะที่เป็นบริบทแวดลอมคติชน (Performance of storytelling) กลายเป็นหนวยวิเคราะหที่ ส�าคัญอยางยิ่ง ผลงานวาดเสนและการเลาเรื่องของบันซีแสดงออกถึงความในใจ หรือขอขัดแยงในใจ มันเป็น ตัวแทน ของความคิดแบบคูตรงขามระหวางความปรารถนาและอ�านาจทีค่ วบคุมมนุษย การถอดรหัสโครงสรางความคิด ในคติชนเรื่องเลาที่บันซีน�าเสนอ อาจชวยใหเกิดความเขาใจคูปรปักษระหวางรัฐชาติกับแรงงานชาวพมาที่ด�ารง อยูในสังคม-วัฒนธรรมรวมสมัยไมมากก็นอย
Alfred Banze born in 1958, Kirchbauna, resides and works in Berlin, Germany. Banze creates his works under the procedure of Artistic research. He has his Master’s degree in Media Art from Kunsthochschule für Medien Köln, Cologne, Germany. His artwork can be categorized as interdisciplinary art, which gives an importance to the interaction with the audience. Since 2004, Banze’s works have focused on studying and developing the direction reflecting the changing conditions of world’s cultures, both in the scene of developed and developing countries. His works involve video, live performance, installation art, drawing, and music. Banze has participated in the project 365 Days: LIFE MUSE as an Artistic Researcher. He searched for resemblance-similarity in the folklores, legends and fairy tales that exist in the Thai, Burmese and German cultures. These folktales implied the confrontation that led to disappointment commonly found in many cultures, for instance, The Tale of Sang Thong, Dwarf and The Ghost with Big Ears. These stories were told with different manners in different period of time, but all plotted with the protagonist hiding in the inferior or unusual figure. Various folklores have had caused one fable to be diversified into many versions, which fitted each audience’s circumstances. The resemblance and similarity of the plot have suggested the conceptual structure, which has been internationalized among human being in all time and occasions, according to the theory of structural legend of Claude Levi-Strauss. When viewing from the theory of functionalism, we could understand the functions of various systems in the culture. In the analysis of plots and the analysis of socio-cultural context, in this case of Banze, the behaviours of storytellers, which were the artist, Burmese workers, together with the community that acted as the surrounding context of folklores, have become very important units of analysis. Banze’s drawings and storytelling expressed his inner feeling and inner conflict. They were the representatives of paradoxical thinking between desire and power that had control over human beings. The decoding of conceptual structure in folklores that Banze has presented might more or less lead to the understanding of the opponent parties between the nation state and Burmese workers which does exist in this contemporary society-culture.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
32
Jeanette Müeller, PhD & Paul Divjak, PhD
เจเนท มุลเลอร์ และ โพล ดีเวียค กรุณาแสดงวิสัยทัศน์, 2559 รวมกับ : ชอว สุ, จอว โมว บทความบนกระดาษ, คลิปบอรด, 31 x 22 ซม. ตอแผน, 3 หนา
Jeanette Müeller & Paul Divjak May We Have Your Attention Please, 2016 In collaboration with : Chaw Su, Kyaw Moe text on papers, clipboard, 31 x 22 cm each, 3 pages เจเนท มุลเลอร เกิดปีพ.ศ. 2514 ที่เมืองเลาเทอฮคาค ประเทศออสเตรีย โพล ดีเวียค เกิดปีพ.ศ. 2513 ที่กรุงเวียนนา ประเทศ ออสเตรีย พวกเขาพ�านักและปฏิบัติงานที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย มุลเลอรจบการศึกษาระดับปริญญาเอก ดานรัฐศาสตร์ สาขายิวและอาหรับศึกษา จาก University of Applied Arts and Fine Arts Vienna สวนดีเวียดจบการศึกษาระดับปริญญาเอก ดานภาพยนตร พวกเขามีความสนใจดานวิทยาศาสตรและรัฐศาสตรในกรอบคิดทางทัศนศิลป์ สรางสรรคผลงานขามศาสตรโดย อาศัยขบวนการวิจัยเป็นพื้นฐาน และน�าเสนอผลงานดวยสื่อหลากหลายอาทิ บันทึก ภาพยนตร ดนตรี การแสดงสด ฯลฯ มุลเลอร และดีเวียค เขารวมโครงการ 365 Days: LIFE MUSE ในฐานะนักวิจัยเชิงทัศนศิลป์ (Artistic researchers) พวกเขาสนใจ สถานการณเชิงสังคม-วัฒนธรรมของแรงงานชาวพมาในชุมชนฯ ภายใตเงื่อนไขของการรวมสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต พวกเขาตั้งค�าถามและวิพากษเชิงเปรียบเทียบวิสัยทัศนของอาเซียนกับวิสัยทัศนของสหภาพยุโรปซึ่งมุงเนนอัตราการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความกาวหนาทางสังคมและพัฒนาการดานวัฒนธรรมเชิงสังคม และแนนอนวาวิสัยทัศนที่ส�าคัญอีก ประการหนึ่งคือการผดุงไวซึ่งสันติภาพและเสถียรภาพหรือความมั่นคงของรัฐชาติ ซึ่งมีความตองการขยายอาณาเขตทางการเมือง และเศรษฐกิจ ปัญหาการอพยพโยกยายถิ่นฐานที่เกิดขึ้นในยุโรปสะทอนใหเห็นถึงความเครงครัดในแนวคิดเรื่องรัฐชาติและชนชั้น เมื่อวัฒนธรรมและการเมืองเชื่อมโยงกันภายใตกลไกของรัฐชาติ วัฒนธรรมที่แสดงออกอัตลักษณเพื่อแสดงใหผูอื่น(คนตางชาติ) รับรู เป็นเรื่องที่มิอาจตอรองได เนื่องจากเป็นคานิยมและวิถีปฏิบัติที่บงบอกถึงวัฒนธรรมแหงรัฐ ซึ่งมีกฎเกณฑที่ตายตัวและ ตอรองไมได การก�าหนดอาณาเขตทางวัฒนธรรมที่ตายตัวมักสรางปัญหาจ�านวนมาก เนื่องจากธรรมชาติของมวลสมาชิกที่มี ความหลากหลายทางวัฒนธรรม อยูอาศัยรวมกันในรัฐเป็นสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ บทความของมุลเลอร และดีเวียค พยายามเรียกรองใหเราทุกคนแสดงวิสยั ทัศนใหมๆ เพือ่ ผลักดันใหความแตกตางทางวัฒนธรรมพนกรอบคิดทางการเมือง และเป็นเรื่องของวัฒนธรรมโดยตรง Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Jeanette Hedwig Müeller, was born in 1971 in Lauterach, Austria, Paul Divjak, born 1970 in Vienna, Austria, Both reside and work in Vienna, Austria. Müeller graduated with a PhD in Political Science, Judaic and Arabic Studies from The University of Applied Arts and Fine Arts Vienna; Divjak graduating with a PhD in Film. Both artists are interested in Science and Political Science within the Visual Arts framework. They produce interdisciplinary art based on researching process and present their work through various media, such as recording, film, music, live performance, etc., Müeller & Divjak participated in the project 365 Days: LIFE MUSE as artistic researchers. They were interested in Burmese workers’ socio-cultural circumstances in the community, within the agreement on joining the Association of Southeast Asian Nations, or ASEAN. They have questioned and comparatively criticised both visions of ASEAN and EU, which emphasised on economic growth rate, social advancement, and socio-cultural development; and not to mention another important vision, i.e. the maintenance of peace and stability or the security of nation-state, which was aiming at expanding its political and economic territory. The migration problem occurring in Europe reflects the strictness in the notion of nation-state and social class. When culture and politics are connected by the mechanism of the nation-state, the culture, which is meant to bring the identity to others’ (foreigners’) awareness, is non-negotiable. This is because the fixed and non-negotiable values and ways of practice identify the culture of the state. The fixed cultural territory has caused many problems due to the natural fact that those masses of members with diverse cultures who live in the same state are living things, which always move and change. The articles of Müeller & Divjak have called for our new visions in order to push the cultural differences out of the political framework and turn it into the cultural one.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Sebastien Tayac, PhD
34
เซบาสเตียง ทายัค บ้านนอก-รัฐศาสตร์จุลภาค, 2559 รวมกับ : ชอว สุ, จอว โมว บทความบนกระดาษ, คลิปบอรด, 31 x 22 ซม. ตอแผน, 3 หนา
Sebastien Tayac Micropolitics at Baan Noorg, 2016 In collaboration with : Chaw Su, Kyaw Moe text on papers, clipboard, 31 x 22 cm each, 3 pages Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
เซบาสเตียง ทายัค เกิดปีพ.ศ. 2519 ที่เมืองเซอนง (ฌีรงด) ประเทศฝรั่งเศส พ�านักและปฏิบัติงานที่ เชียงใหม ประเทศไทย เขาด�ารงต�าแหนงอาจารยประจ�าภาควิชาจิตรกรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม ทายัคจบการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขา Languages, Civilizations and Eastern Societies (Art History) จากมหาวิทยาลัย Paris III - Sorbonne Nouvelle ในหัวขอ The Order of Buddhist Paintings in the Monasteries of the Province of Chiang Mai มีผลงานตีพิมพ อาทิ “From Altermodernism to Radicant” ทายัคมีความเชีย่ วชาญดานประวัตศิ าสตรศิลปะ และใหความสนใจศิลปะในเชิงสังคมศาสตร และมานุษยวิทยา ที่มุงขับเคลื่อนชุมชนและสรางประโยชนใชสอยทางศิลปะกับสังคมผานชุดความรูขามศาสตร (Cross Disciplinary) เขาเป็นนักเขียนและนักวิจยั ในโครงการ 365 Days: LIFE MUSE งานเขียนของเขาแสดงใหเห็นถึง ความสนใจในประเด็นเรื่องรัฐศาสตรจุลภาคของชุมชน (Micro-politics) โครงสรางระบบความสัมพันธ ของมนุษยรวมถึงความเปลี่ยนแปลงเชิงโลกทัศนและชีวทัศนในบริบททางสังคมและวัฒนธรรม ที่เกิดกับ แรงงานชาวพมา ชอว สุ และ จอว โมว ระยะเวลาการลงพื้นที่ของทายัคแบงออกเป็น 3 ชวง ตอเนื่องจาก เดือนพฤศจิกายนปีพ.ศ. 2558 เมษายนและกันยายน ปีพ.ศ. 2558 ตามล�าดับ การทิ้งชวงระยะเวลา การลงพื้นที่ท�าใหเขาสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ผานบทสนทนาและความคุนชินในขบวนการ ทดลองชุมชน (Experimental community) แมเศรษฐกิจไทยโดยรวมยังไมฟื้นตัว จ�านวนการเพิ่มขึ้นของ แรงงานชาวพมาในชุมชนฯ ก็ไมไดลดลง ดูเหมือนมันก�าลังสงสัญญาณบางอยางทีช่ มุ ชนฯ ไมอาจปฏิเสธได ทายัคไดกลาวถึงแนวคิดทดลองการสลายพื้นที่ชายขอบหรือพื้นที่แออัด (De-ghettoize) ซึ่งกลุมแรงงาน ขามชาติอาศัยอยูรวมกันเป็นจ�านวนมาก และการรื้อสราง (Re-construction) พื้นที่ทางวัฒนธรรมดวย แนวคิดทางมนุษยศาสตร-สังคมศาสตรและทัศนศิลป์ เป็นแนวทางในการหลอมรวม (Re-binding) และ กาวขามส�านึกของความเป็นรัฐชาติ ซึ่งบดบังลักษณะแทจริงทางชีววิทยาและความเป็นมนุษย ดวยเหตุนี้ ศิลปะหลังชุมชน (Art after community) ไดท�าหนาที่โตตอบเชิงสังคม เพื่อน�าศิลปะกลับสูหนาที่ใชสอย ทางสังคม นี่อาจเป็นทางเลือกหรือทางออกใหกับปัญหาสังคมรวมสมัย ที่เราก�าลังเผชิญอยูโดยไมจ�าเป็น ตองเขาใจนิยามของศิลปะคืออะไร
Sebastien Tayac born in 1976, Cenon (Gironde), France. He lives and works in Chiang Mai, Thailand. He is a full-time lecturer in the Department of Printmaking, Painting and Sculpture, Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University. Tayac graduated with a PhD degree in Languages, Civilisations and Eastern Societies (Art History) from University of Paris III Sorbonne Nouvelle with the subject of The Order of Buddhist Paintings in the Monasteries of the Province of Chiang Mai. His publication is, for example, ”From Altermodernism to Radicant” Tayac specialises in History of Art and focuses on sociological and anthropological arts that particularly motivate the communities and create social functional arts through Cross Disciplinary knowledge. He is a writer and a researcher in the project 365 Days: LIFE MUSE. His composition reflected his interest in Micro-politics of the communities, the systematic structure of human’s relationship, including both world-view and bio-view changes in the social and cultural context, that have happened to both Burmese workers, Chaw Su and Kyaw Moe. Tayac’s fieldwork could be divided into 3 periods: in November 2015, in April 2016 and in September 2016 respectively. The delay of his fieldwork gave him a chance to observe the changes happening through conversation and familiarity in experimental community process. Although the overall Thai economy has not recovered yet, the increase in Burmese workers in the community remained constant, seemingly signaling something the community could not deny. Tayac described about experimental concept of dissolving the borderland or the De-ghettoisation in the location, where a myriad of foreign workers have been residing, and the reconstruction of cultural areas with the socio-anthropological and visual art concepts. It was the way to rebind and step over the conscience of Nation-State, which conceals the authentic biological and human features. Hence, the Art After Community worked as a social response so as to bring the art back to social function. This could be an option or solution to contemporary social problems that we were facing without any need to understand the definition of what arts was. Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
36
Chi Yu Wu
ฉี ยวี่ หวู่ ของสะสมส่วนบุคคล, 2559 รวมกับ : ชอว สุ, จอว โมว สนับสนุนโดย Bamboo Curtain Studio วีดีโอ-จอเดี่ยว, ความละเอียดสูง, สี, เสียง, 13 นาที 38 วินาที, วน
Chi Yu Wu A Private Collection, 2016 In collaboration with : Chaw Su, Kyaw Moe Support by Bamboo Curtain Studio single-channel video, full HD, color, directional sound, 13 min 38 sec, loop ฉี ยวี่ หวู เกิดปีพ.ศ 2529 ที่กรุงไทเป ประเทศไตหวัน พ�านักและท�างานในกรุงไทเป เขาจบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขา New Media จาก Taipei University of the Arts เป็นสมาชิกกลุมศิลปิน Fuxinghen Studio ผลงานของเขาไมไดเนนหนักเฉพาะงาน วิดีโอเทานั้น แตยังสรางสรรคผลงานวิดีโอจัดวาง ผลงานศิลปะการมีสวนรวมและความรวมมือ รวมไปถึงผลงานการบรรยายแสดง สด (Lecture performance) เขาสนใจขบวนการในการบันทึกและการผลิตซ�้าของประวัติศาสตรค�าบอกเลา และขาวลือพื้นถิ่น ผานกระบวนการรื้อสรางและประกอบสรางเรื่องราวขึ้นใหม การเชื่อมตออารยธรรมหลังสมัยที่ขาดการตอเชื่อมกับประวัติศาสตร และชุมชน เขามีผลงานแสดงในระดับนานาชาติ อาทิ Taipei Biennnial 2559, FEST - New Directors New Films Festival Portugal 2558, The 2nd “CAFAM- Future” Exhibition Beijing 2558 เขารวมโครงการศิลปินในพ�านักและปฏิบัติงานที่ Rijksakademie, Amsterdam ระหวางปีพ.ศ. 2557-2558 หวู เขารวมโครงการฯ ครั้งนี้โดยความรวมมือและการแลกเปลี่ยนกันระหวาง Baan Noorg Collaborative Arts and Culture และ Bamboo Curtain Studio ผลงานของหวู จัดอยู ในผลงานศิลปะเชิงวิจัยโดยใหความส�าคัญในประเด็นทางสังคมที่ส ง ผลกระทบตอพื้นที่และการโยกยายถิ่นฐาน เขาไดท�าการศึกษาวิจัยและแสวงหาเรื่องเลา ราวกับวานี้เป็นสิ่งที่สามารถใหเบาะแส เพื่อแกะรอยสถานการณที่เกิดขึ้นกับชุมชนฯ ตางๆ ความเชื่อ และต�านานจากอดีตที่สัมพันธกับชุมชนฯ อาจจะไมสามารถส�าแดง อารมณความรูสึกและผลกระทบในระดับปัจเจกทีเ่ กิดขึน้ ระหวางรอยตอของชุมชนและเมือง การมองเหตุการณผานวัตถุสงิ่ ของหรือ แมแตสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ไดเปิดโอกาสใหศิลปินเชื่อมโยงเหตุการณกับผูชมไดอยางมีนัยยะ ดวยพื้นที่ที่วางเปลาสามารถบอกเลา บางสิ่งบางอยางและท�าใหเรามีจินตนาการอยางคอยเป็นคอยไป กอรางสรางชีวรูปในปรากฏการณที่เกิดขึ้นกับพื้นที่ซึ่งถูกทิ้งราง หวูไดผนวกขอมูลสืบคนวิจัยและประดิษฐสรางกลไกในภาพเคลื่อนไหว ดวยการใชเครื่องมือและเทคโนโลยีในงานตัดตอภาพยนตร เพื่อน�าเสนอมันออกมาในรูปแบบผลงานวิดีโอจัดวาง มันท�าใหเรามองเห็นบางอยางที่คุนเคยในมิติที่ตางออกไป เมื่อเราพิจารณา ผลงานของเขาอยางละเอียด มุมมองตอสิ่งตางๆ ที่เคยตกตะกอนของการรับรูแบบจ�าเจ กลับเผยตัวขึ้นอีกครั้งอยางนาฉงน หวูลงพื้นที่ปฏิบัติงานและศึกษาขอมูลในชุมชนหนองโพ และไดพูดคุยซักถามประเด็นที่เป็นประโยชนในการรวมมือกันสรางสรรค ผลงานชุดลาสุดรวมกับชอว สุ และ จอว โมว แรงงานชาวพมาทั้งสองไดเลาถึงความประทับใจในการชมภาพยนตร ตั้งแตเมื่อครั้ง ยังอยูในประเทศเมียนมา ประสบการณในชวงเวลานั้นยังคงร�าลึกในความทรงจ�า และทุกครั้งที่พวกเขามีเวลาวางก็มักจะใชไปกับ การดูหนังแผนทีเ่ ลือกซือ้ มาจากตลาดใกลบาน ภาพยนตรส�าหรับเขาทัง้ สองนัน้ อาจเป็นมากกวาความบันเทิงพืน้ ฐาน ซึง่ ไดกลายเป็น สวนหนึ่งของการเรียนรูโลกความเป็นจริงและโลกเสมือนจริงที่มนุษยประดิษฐขึ้นไปพรอมๆ กัน Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Chi Yu Wu, was born in 1986, Taipei, Taiwan, lives and works in Taipei. He has his Master’s degree in New Media from Taipei University of the Arts. He is also a member of artist collective, Fuxinghen Studio. His work is not only focused on video art but also the creation of video installation and interactive and collaborative work, including live lecture performance. He is interested in the procedure of the recording and reproduction of oral history and local anecdote through deconstruction and reconstruction of those stories, and also in the connection of civilizations after the age of disconnection between the history and community. His international works involve Taipei Biennial 2016, FEST - New Directors New Films Festival, Portugal 2015, The 2nd “CAFAM- Future” Exhibition, Beijing 2015, participating in the Artists in Residence Program at Rijksakademie, Amsterdam during 2014-2015. Wu joined this project with the collaboration and exchange between Baan Noorg Collaborative Arts and Culture and Bamboo Curtain Studio. The works of Wu could be categorized as research art, prioritising on the social issues that have an impact on the specific areas and migration. He conducted studies and researches and sought for tales as if they could give him some hints that allowed him to trace back to what has occurred in the communities. Beliefs and legends from the past related to the communities might not be able to express individual’s emotions and impact that has happened on the border between the communities and town. Viewing events through objects or even through other living things has allowed the artist to significantly associated those events with the audience. With empty space, something could be told and enabled us to gradually imagine and build up bio-forms in the phenomenon that happened in the deserted areas. Wu has integrated all inquiries and researched information and invented mechanism in motion pictures by using tool and technology in video editing in order to present it in form of video installation. This enabled us to look at familiar things in different dimensions. When considering his work in details, his perspective on things that used to fall to the bottom of the tedious perception surprisingly was resurrected. Wu went to work in the field and studied information in Nongpo community. He has discussed all issues, which were beneficial to the collaboration in co-creating the latest artwork with Chaw Su and Kyaw Moe. These two foreign labours from Myanmar talked about their impression on watching movies while they were in Myanmar. Their experience during that time still remained in their memory. And whenever they were free, they would usually spend time watching CD movies that were bought from the nearby market. To them, movies might be more than basic entertainment; they become a part of learning the world of reality and at the same time of virtual world created by human being. Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Chia Jen Chen
38
เจีย เริ่น เฉิน คลี่, 2559 รวมกับ : ชอว สุ, จอว โมว สนับสนุนโดย Open Contemporary Art Center วีดีโอ, ความละเอียดสูง, ขาว-ด�า, เงียบ, 7 นาที 41 วินาที, วน
Chia Jen Chen Unfolding, 2016 In collaboration with : Chaw Su, Kyaw Moe Support by Open Contemporary Art Center video, full HD, b&w, mute, 7 min 41 sec, loop
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
เจีย เริ่น เฉิน เกิดปีพ.ศ. 2519 ที่เมืองยวิ๊น หลิน พ�านักและปฏิบัติงานที่กรุงไทเป ประเทศไตหวัน เฉินจบการ ศึกษาปริญญาโท สาขาจิตรกรรม จาก National Taiwan University of Arts (NTUA) และศึกษาปริญญาเอกที่ Art & Technologies de l’image, University Paris 8 ปัจจุบันเขาด�ารงต�าแหนงผูอ�านวยการ Open Contemporary Arts Center (OCAC) องคกรศิลปินรวมตัวกันขับเคลือ่ นพืน้ ทีแ่ ละโครงการศิลปะในกรุงไทเป กอตัง้ เมือ่ ปีพ.ศ. 2546 ผลงานของเฉินในชวงที่ผานมามักอาศัยภาพถายเป็นสื่อพื้นฐานส�าหรับการศึกษาคนควาและพัฒนาผลงาน และ รูปทรงในทางออมเพื่อน�าเสนอสภาวะของการแทรกแซงที่เกิดจากสิ่งที่หายไปในชีวิต เชน ผูคน สิ่งของ พื้นที่ ฯลฯ มากกวาที่จะพูดถึงสิ่งที่เรารับรูในเชิงประจักษ สิ่งที่หายไปเหลานี้สามารถระบุหรือชี้ชัดถึงขอมูลที่ไมปรากฏ ในขณะเดียวกันมันยอมใหเราอานตัวบทมากกวาการรับรูเพียงสายตา สรางสรรคการตีความเชิงกวีซึ่งไมไดอยูบน พื้นฐานความเป็นจริงอีกตอไป ภาพถายดังกลาวไดน�าเสนอซึ่งจินตนาการของวัสดุและขบวนการที่วัสดุรายลอม กลายเป็นสวนหนึ่งที่ขยายผลของการรับรูความเป็นจริงอีกชั้นหนึ่ง ในโครงการ 365 Days: LIFE MUSE เฉิน ใหความสนใจการผลิตซ�้าประเด็นประวัติศาสตร และการเมืองระหวาง ประเทศ ผานความสามารถเชิงชางและงานฝีมือโดยแรงงานชาวพมาที่รวมโครงการฯ ศิลปินในฐานะคนนอกได้ เชื่อมโยงประวัติศาสตรการเมืองการปกครองของตนเองผานแนวคิดหลังอาณานิคม (Post-colonialism) โดย อาศัยแนวทางการพับกระดาษแบบโอริกามิที่มีโครงสรางสลับซับซอนใหเป็นรูปชาง (เผือก) กระบวนการพับและ การคลี่แผนกระดาษไดแสดงออกถึงการกระท�าซ�้าและการแปรเปลี่ยนของแบบแผนที่ตายตัว เพื่อใชเลาเรื่องและ สื่อความหมายผานผลงานวิดีโอของเขา ส�าหรับเฉิน ชาง(เผือก)ยังแสดงถึงระบบความสัมพันธและอ�านาจในเวลา เดียวกันภายใตบริบทการเมืองไทย-พมาในอดีต กรมพระยาด�ารงราชานุภาพทรงเขียนไวในบันทึกประวัติศาสตร ไทยรบพมา ระบุเหตุเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งแรกมีผลสืบเนื่องจากพระเจาตะเบงชะเวตี้มีพระราชสาสนมายัง พระมหาจักรพรรดิเพื่อขอชาง (เผือก) แตถูกปฏิเสธ ท�าใหพระเจาตะเบงชะเวตี้ไมพอพระราชหฤทัยสงก�าลังทหาร มาลอมเมืองไวกระทั่งเกิดสงคราม ทายที่สุดชาวสยามตองตกเป็นเชลยศึกและเสียชางเผือก 2 เชือก ชางทั่วไป 30 เชือก ความนาสนใจในกระบวนการที่เฉินน�าเสนอการพับกระดาษใหเป็นรูปชาง(เผือก)เพื่อคลี่ออกและพับมัน กลับไป จึงเปรียบเสมือนการยอนรองรอยอดีตที่พับไวแลวภายใตเงื่อนไขกาลเวลา การท�าซ�้าเชนนี้อาจท�าใหชาง (เผือก)มีนัยยะหรืออุปมาถึงความเป็นอื่นก็เป็นได
Chia Jen Chen was born in 1976, Yunlin. He resides and works in Taipei, Taiwan. He graduated with a Master Degree in Fine Arts from National Taiwan University of Arts (NTUA) and attended the doctorate program at Art & Technologies de l’image, University Paris 8. He is currently the Director of Open Contemporary Arts Center (OCAC) - an artist-run space and art projects organisation founded in 2003. His artworks in recent years have been mostly based on photography as primary media for studying and developing his works and indirect photographic forms in order to introduce a sense of disturbance that is initiated by the absence of people, things, and places rather than the presence of the visual perceptibility. This absence can indicate or identify lost information, and allows an image to be read beyond its visual surface, creating a poetic interpretation that is no longer based on reality. The aforementioned photography has introduced the imagination of materials and the process in which surrounding materials becomes one more step a partial extension of realising the truth. In the project 365 Days: LIFE MUSE, Chen’s focus was on reproduction of the notion of history and international politics through crafting skills and handcrafts produced by Burmese workers who participated in the project. The artist, as an outsider, has connected his view on the History of Thai Politics and Government through Post-colonialism, utilising Advanced Origami paper craft to create (white) elephant origami. The process of folding and unfolding the paper expressed the repetition and the transformation of the fixed patterns in order to tell the story and convey the meaning through his video works. To Chen, the (white) elephant simultaneously represented the system of the relationship and authority in the context of Thai-Burmese politics in the old days. HRH Prince Damrong Rajanubhab wrote in his writing, pertaining to The history of Siamese-Burmese war, that the cause of Ayutthaya’s first fall was that the Burmese King Tabinshwehti had sent a royal letter to King Maha Chakkraphat demanding for (white) elephants but was denied by King Maha Chakkraphat. This had brought about King Tabinshwehti’s great displeasure; soldier troops then were sent to besiege the city and ended up with the war. Finally, the Siamese became prisoners of war, and lost 2 white elephants and also 30 elephants. The interestingness in the process that Chen has introduced the White Elephant Origami so as to unfold and re-fold was that it was like the return to the folded past. Under time condition, this repetition could probably implied another sense or convey different metaphorical connotation to the (white) elephants. Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Helmi Hardian & Tuwis Yasinta
40
เฮลมี ฮาร์เดียน และ ทวิส ยาซินตา (ตัวแทนจากวาฟท์ แล็ป) ไม่เป็นไร, 2559 รวมมือกับ : พระอาจารย ศิระเตชะ, ชอว สุ, จอว โมว อุปกรณควบคุมขนาดเล็ก, วงจรไฟฟ้า, ล�าโพงแอ็คทีฟ, สีนา� ไฟฟ้า, กระดานอัด, เสนหวาย, 130 x 110 ซม.
วาฟท แล็บ กลุมศิลปินทีร่ วมตัวกันริเริม่ และขับเคลือ่ นโครงการศิลปะและศิลปะแสดงสด ที่เมืองสุราบายา ประเทศอินโดนีเซีย โดยพัฒนาแนวทางการท�างานขามศาสตรเชิง สหวิทยาการ พวกเขาใหความสนใจตอแรงขับและแรงเหนี่ยว ที่สงตออิทธิพลซึ่งกัน และกันทั้งในแงมนุษยศาสตร สังคมศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยเฉพาะ เทคโนโลยีขั้นพื้นฐานผานแนวคิดและประสบการณของผู คนที่สนใจกิจกรรมทาง ศิลปะและศิลปะแสดงสด เพื่อสรางสรรคใหเกิดประโยชนใชสอย โดยการออกแบบ นวัตกรรมแบบงายๆ ที่บุคคลทั่วไปสามารถเขาถึงไดหรือการออกแบบเครื่องมือศึกษา และการสื่อสารเชิงสรางสรรค วาฟท แล็บ เลือกสรรศิลปิน 2 ทาน เขารวมโครงการ 365 Days: LIFE MUSE ในครั้งนี้ ไดแก เฮลมี ฮารเดียน เกิดปีพ.ศ.2519 ที่เมืองสุรา Helmi Hardian and Tuwis Yasinta บายา ประเทศอินโดนีเซีย และทวิส ยาซินตา เกิดปีพ.ศ.2533 ที่เมืองสุราบายา ประเทศอินโดนีเซีย ศิลปินทั้งสองไดพัฒนาผลงานสรางสรรคแนวมีเดียอารตประเภท (WAFT LAB Representatives) เสียงดวยเทคโนโลยีขั้นพื้นฐานราคาถูก และการประกอบสรางในลักษณะ DIY/DIWO Mai Pen Rai, 2016 In collaboration with : Pra-ajarn เพื่อการวิจัย การแฮ็ค หรือการรื้อสรางเครื่องใชในชีวิตประจ�าวันเพื่อประโยชนใช สอยใหมๆ ตั้งแตปีพ.ศ. 2554 เป็นตนมา ฮารเดียนไดท�าหนาที่ดูแลกิจกรรมยอย Siratecha, Chaw Su, Kyaw Moe แล็บ ในฐานะผูอ�านวยการ No:Work (National Observation Work) microcontroller, electronic circuit, ของวาฟท เพื ่ อ สรางใหเกิ ดทางเลือกส�าหรับการศึกษาและความรู สวนยาซินตามุงความสนใจใน active speaker, conductive เทคโนโลยี ร ะบบอนาล็ อกเป็นแนวทางในการสรางสรรคและการแสดงสดของเขา paint, plywood board, rotan, 130 x 110 cm Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
ในโครงการฯครั้งนี้เขาทั้งสองใหความสนใจในประเด็นเรื่องความหวังและการพยากรณอนาคต ผานประสบการณความสิ้นหวังและ ความบังเอิญในอดีตของแรงงานขามชาติชาวพมา 2 ทาน ความเชื่อในเรื่องโหราศาสตรซึ่งเป็นพื้นฐานของทั้งชาวไทยและขาวพมา ที่มีรวมกัน ไดน�ามาซึ่งการออกแบบระบบวงจรพยากรณอิเล็กโทรนิกส โดยก�าหนดฐานของเวลาใน 1 รอบบนหนาปัดนาฬิกา 12 เดือนใน 1 ปี ประกอบกับเสียงซึ่งบันทึกนิยามความหมายของชีวิตจากแรงงานขามชาติทั้ง 2 ทาน เพื่อแนะแนวทางการใชชีวิตให ตอสูกับความสิ้นหวังในฐานะฟันเฟืองของระบบทุนนิยม เป็นความยอนแยงเชิงรัฐศาสตรและเศรษฐศาสตร ดวยความเป็นสวนหนึ่ง ของระบบขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ท�างานถูกตองตามกฎหมายและเสียภาษีใหรัฐไทย พวกเขายังคงมีความหวังที่จะมีชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งดานเศรษฐกิจและความเป็นอยูหรือไม ค�าตอบอาจจะไมไดอยูที่ค�าพยากรณหากแตค�าพยากรณนี้อาจสะทอนใหอ�านาจที่กดทับ แปรสภาพไปสูความผอนคลาย และความไวเนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน
WAFT LAB, a group of artists who gather to initiate and run art and live performance art projects in Surabaya, Indonesia. Their works have been developed via interdisciplinary art practices and their focus has been on the driving an inducible force that has reciprocal influences in terms of anthropology, sociology, science and technology, especially the basic tech. It is initiated through concept and experience of those who are interested in art activities and live performance. This is to create functions by designing simple invention that is easy to access for general audience, or by designing educative media and creative communication. WAFT LAB has chosen 2 artists to join the project 365 Days: LIFE MUSE - Helmi Hardian, born 1976 and Tuwis Yasinta, born 1990 in Surabaya, Indonesia. These two artists have developed their creative works on sound-mediaart, with low-cost basic technology. The work was assembled with DIY/DIWO circuit in order to support research, hacking, or re-assembling daily life’s apparatus for the sake of the new functions. Since 2011, Hardian has been Wresponsible for sub-activities of WAFT LAB, as the director of No: Work (National Observation Work), the body of work established to create options for education and knowledge. As for Yasinta, he focuses on analogue technology as a theme in his creative work and live performance. In this project, both of them focused on the notion of hope and future prediction through the two Burmese workers’ desperate experiences and coincidences in the past. The belief in astrology, which was commonly held by both Thai and Burmese, has brought about the design of electronic prediction circuit system. The 12-month in 1 year round was fixed on the clock’s dial, incorporated with the sound recording of the life definition of both foreign workers. It was aimed to advise the guidelines on how to live the life against the despair, as a cogwheel of Capitalism in the economic and political contradiction. As they were a part of the system that rans Thai economy by working legally and paying tax to the Thai Government. Were they still hoping for a better life both in terms of economy and well-being? The answer may not lie in the prediction but this prediction could reflect and turn the suppressing power into relief and mutual trustworthiness.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
42
Henry Tan
เฮนรี แทน ผมรักเมืองไทยและมาอยู่เมืองไทย หลายปีหลายปี, 2559 ชุดเสียงจัดวาง : เดินทาง / พัก / ฝัน รวมมื อ กั บ : ชอว สุ, จอว โมว, เคน นอวย, เตง โซว์ บทความบนกระดาษ, 10 x 7.5 ซม., Mp3, ชุดล�าโพง, เสียง, 2 นาที 13 วินาที / 8 นาที 43 วินาที / 2 นาที 25 วินาที
Henry Tan I Love Thailand and Live Here Many Many Years, 2016 The series of sound installation : Journey / Rest / Dream In collaboration with : Chaw Su, Kyaw Moe, Khin Nawe, Thein Soe text on paper, 10 x 7.5 cm, Mp3, speakers, sound, 2 min 13 sec / 8 min 43 sec / 2 min 25 sec Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
เฮนรี แทน เกิดปีพ.ศ. 2529 ที่กรุงเทพฯ ประเทศไทย พ�านักและปฏิบัติงานที่กรุงเทพฯ เขาจบการศึกษาระดับ ปริญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร ภาคภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปีพ.ศ. 2551 และเบนเข็มสูแวดวงศิลปะ รวมสมัยผานการเรียนรูดวยตนเอง เขาเป็นศิลปินที่ท�างานเชิงสหวิทยาการที่สัมพันธกับกระแสสังคม และขอวิพากษ โตแยงที่เกิดขึ้นดวยการเขาไปมีส วนรวมทางศิลปะและสังคม เฮนรีสนใจกระบวนการการกัดเซาะ (Erosion) ความเชื่อของปัจเจก ความเขาใจในเทคโนโลยีและการสื่อสารรวมสมัย ที่น�าพาปัจเจกชนใหกาวขามเขตแดนหรือ เสนแบงของบริบททางวัฒนธรรม เขารวมกอตั้ง Tentacles กลุมศิลปินที่รวมตัวกันเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่ศิลปะ สราง พื้นที่งานวิจัย สรางการแลกเปลี่ยนและความรวมมือในพื้นที่ศิลปวัฒนธรรม และโครงการศิลปินในพ�านัก ตั้งแตปี 2014 โดยมีเป้าหมายที่จะขยายเครือขายและความรูดานศิลปะรวมสมัยในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เฮนรีเดินทางสรางสรรคผลงานศิลปะแสดงสด ศิลปะกิจกรรมจัดวางในโครงการศิลปะที่จัดขึ้นในประเทศตางๆ ทั้ง เอเชียและยุโรป ดวยการออกแบบพืน้ ทีเ่ พือ่ สรางใหเกิดปฏิสมั พันธระหวางผูชมกับผูชมและผูชมกับศิลปิน การศึกษา ขอมูลดวยการแลกเปลี่ยนระหวางปฏิบัติการทางศิลปะสามารถเชื่อมโยงศิลปินไปสูประเด็นทางสังคมการเมืองและ ประวัติศาสตร โดยที่ศิลปินวางต�าแหนงแหงหนของตนเองไวเพียงเป็นผูตระเตรียม บริหารจัดการ สนับสนุน หรือ แมแตยุแยงใหผูชมไดเปิดพื้นที่สนทนาหรือแมแตการวิพากษและตั้งค�าถาม เพื่อยอนแยงแนวคิดเชิงอคติที่เกิดขึ้น กับภาพลักษณของปัจเจก ในโครงการ 365 Days: LIFE MUSE เฮนรีใหความสนใจพื้นที่ชีวิตของแรงงานชาวพมา โดย น�าตนเองเขาไปรวมเป็นสวนหนึ่งของกิจกรรมตางๆ หรือสถานการณที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ�าวันของกลุมแรงงานชาว พมา เขาใชเวลาหลายครั้งลงพื้นที่เพื่อศึกษาหาขอมูลแตละชวงเวลาที่ศิลปินลงพื้นที่และเขาไปพ�านักในบานของ แรงงานฯ เขาสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไมมากก็นอย ระบบการสื่อสารที่ศิลปินพยายามคนหาวิธีเพื่อ ติดตอกับแรงงานชาวพมานับวาเป็นกระบวนการที่นาสนใจ เฮนรีออกแบบแนวทาง DIY ที่หลากหลายเพื่อใชในการ สื่อสาร แตอาจเป็นเพราะความออนลาจากการท�างานในแตละวันของแรงงานชาวพมา จึงท�าใหความพยายามที่จะ พูดคุยผานระบบสือ่ สารออนไลนไมปะติดปะตอเทาทีค่ วร เฮนรีมองปรากฏการณเชิงเปรียบเทียบและความยากล�าบาก ที่เกิดขึ้นกับแรงงานชาวพมา ไมตางจากประสบการณการอพยพโยกยายถิ่นฐานของบรรพบุรุษของตนเองในอดีต ความหวังถึงเศรษฐกิจและชีวิตที่ดีขึ้นเป็นสิ่งที่ผูโยกยายถิ่นฐานทุกคนปรารถนา แตกลไกทางสังคมในระบบทุนนิยม ท�าใหความปรารถนาเหลานี้ไมสามารถเป็นจริงหรือเป็นเพียงความฝันก็เป็นได
Henry Tan, was born in 1986, Bangkok, resides and works in Bangkok. He graduated from Chulalongkorn University from the faculty of Economics in 2008. He then autodidactically turned to the contemporary art scene. He is a multidisciplinary artist in relation to prevailing social trends and arguments happening through art & social involvement. Tan’s focus is on the erosion process, individual’s belief and the understanding of contemporary technology and communication, which lead individuals to get across the territory or the borderline of cultural context. He co-founded the Tentacles, a group of artists running art space, a space for research broadening exchange and cooperation for art & cultural fields. This includes the artist-inresidence programme since 2014, with the aim to expand networks and knowledge regarding contemporary arts in Southeast Asia. Tan has travelled to create and show his performance and installation art in various art projects that have been held in many countries throughout Asia and Europe. He designs space that enables audience-to-audience and audience-to-artist interactions. Studying information through the exchange of ideas during art workshop can link the artist with the social, political and historical issues. Here, artist places himself as a person who provides, manages, supports, or even stimulates the audience to discuss or even debate and question so as to generate a response to prejudicial conception that happens to individual’s image. In his participation in the project 365 Days: LIFE MUSE, Tan paid his attention to the life space of foreign workers. He involved himself being part of all activities or situations that happened in theses foreign workers’ daily life. He located himself many times in the field in order to do the research on-site. Each time when he was there living in the workers’ house, he could more or less notice the changes that happened within both of them. The communicative system, that the artist tried to find the way to connect with them, was an interesting procedure. Tan has designed diverse DIY directions for the communication. But possibly, due to the workers’ fatigue from daily work, their effort in online conversation was not very smooth as it was supposed to be. Tan comparatively looked at the phenomenon and the difficulties faced by foreign workers as not different from his ancestor’s experience in migration in the old days. Hopes for better economy and better life were what those immigrants had been longing for. But social mechanism in the capitalism failed these hopes or made them just their dream. Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Jutamas Buranajade & Piti Amraranga
44
จุฑามาส บูรณะเจตน์ และ ปิติ อัมระรงค์ กรณีซาพอนนิฟิเคชัน, 2559 รวมกับ : ชอว สุ, จอว โมว, โซ ไทท อู, ซอว ซอว, ฟารมโคนมคุณสมจิตต หนูพิทักษ, ฟารมโคมนมคุณ มนตรี เจริญรักษา, ฟารมโคนมคุณสมทบ พิมพเพชร บีกเกอร, จานเพาะเชื้อ, ขวดทดลอง, กระดาษวัดคา pH, น�้ามันปาลม, น�้ามันมะพราว, น�้ามันร�าขาว, น�้านม, ผงทานาคา, โซดาไฟ, สบู, แมพิมพสบู, แทน ตัดสบู, รูปโพลาลอยด, โตะ, 240 x 60 x 75 ซม.
Jutamas Buranajade and Piti Amraranga Saponification Case, 2016 In collaboration with : Chaw Su, Kyaw Moe, Soe Htite Oo, Zaw Zaw, Somjit Noopitak Dairy farm, Montri Charoenraksa Dairy farm, Somtob Pinpetch Dairy farm, beaker, petri dish, laboratory bottle, pH test strip, palm oil, coconut oil, rice bran oil, milk, thanaka powder, sodium hydroxide, soap, soap making mold, soap cutting block, instax mini photo, table 240 x 60 x 75 cm จุฑามาส บูรณะเจตน เกิดปีพ.ศ. 2523 ที่จังหวัดนครปฐม และ ปิติ อัมระรงค เกิดปี พ.ศ.2523 ที่กรุงเทพฯ ทั้งสองพ�านักและ ท�างานที่นครปฐม-กรุงเทพฯ ประเทศไทย เป็นผูรวมกอตั้ง o-d-a (object design alliance) และศิลปินคูซึ่งท�างานออกแบบ โดยอาศัยขอมูลพื้นฐานจากงานวิจัยเพื่อหาความเป็นไปไดในการออกแบบวัตถุตามประโยชนใชสอย ทั้งสองจบการศึกษาปริญญา ตรีจากคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยสวนใหญศิลปินทั้งสองท�างานขามพื้นที่ของนักออกแบบ และพาตนเองเขาไปท�างานรวมกับชุมชนในหลายมิติ เชนโครงการที่ ตองอาศัยความรวมมือจากชุมชนและผูช�านาญงานชางพื้นถิ่น ทั้งสองเขารวมโครงการ 365 Days: LIFE MUSE ครั้งนี้ดวยความ สนใจในประเด็นความสัมพันธระหวางชุมชนกับแรงงานชาวพมา จุฑามาส และปิติไดออกแบบสถานการณและระบบสายพานที่ กอใหเกิดปฏิสัมพันธในบั้นปลายของขบวนการผลิต ศิลปินคนหาสสารเป็นสื่อที่สามารถบงชี้ความเป็นทองถิ่นและอัตลักษณของ ทั้งสองวัฒนธรรม ไดแก น�้านมดิบและผงไมทานาคาภายใตเงื่อนไขการใชวัตถุดิบที่หาไดในพื้นที่ชุมชนแลวน�ามาหลอมรวมผาน ขบวนการ Saponification ซึ่งเป็นปฏิกิริยาระหวางสสารสองตัวอันไดแกไขมันและน�้ามันเกิดเป็นเกลือของกรดไขมันกับ กรีเซอรอล จุฑามาส และปิติ ไดจ�าลองภาคการผลิตขนาดเล็กขึ้นเพื่อพัฒนาระบบสายสัมพันธชุมชน เป็นกลไกผลักดันใหเกิด ปฏิสัมพันธขามมิติทางเชื้อชาติและวัฒนธรรมภายในชุมชน สบูที่ผลิตจากน�้านมดิบและผงไมทานาคาแสดงออกถึงการเผชิญหนา ทางวัฒนธรรม และยุทธศาสตรในการใชเครื่องมือที่คอนไปในทางถอยทีถอยอาศัย ท�าใหชุมชนสามารถเปิดรับความแตกตาง ระหวางวัฒนธรรมไดไมยากนัก แมแตความเป็นกรดและดางเมื่อหลอมรวมกันจะเกิดปฏิกริยา Saponification ซึ่งจะใหผลที่ สามารถน�ามาใชท�าความสะอาด ทั้งทางกายภาพและมายาคติทางประวัติศาสตรระหวางไทย-พมา ที่ด�ารงอยู อยางขัดแยง ในส�านึกของรัฐไทย Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Jutamas Buranajade was born in 1980, Nakhon Pathom and Piti Amraranga born in 1980, Bangkok. They live and work in Nakhon Pathom and Bangkok, Thailand. They are the co-founder of “o-d-a (object design alliance)�, duo-artists whose design work is based on the fundamental information obtained from researches, seeking for possibilities in designing objects in accordance with its functions. Both graduated with a Bachelor Degree from the Faculty of Decorative Arts at Silpakorn University. Mostly, both artists always work across the boundary of being designers and to involve in co-working with the community in various dimensions, for instance, the projects where cooperation from the community and the local skilled artisans is needed. Both joined the project 365 Days: LIFE MUSE with an interest in regards of relationship between the community and Burmese workers. They designed the scenario and conveyor belt system that led to the interactions at the end of manufacturing process. Under the condition that all materials be available locally, the artists have searched for substances; i.e. raw milk and Tanaka powder, which could be served as representative and indicator for locality and identity of both cultures. Then, they were mixed via Saponification process, which was the chemical reaction between two substances; i.e. fat and oil, then being converted into the fatty acid salt and glycerol. Jutamas and Piti have reproduced this small production line in order to improve the community relationship and served as a mechanism that drives the cross-dimensional interaction in terms of races and cultures in the community. Soap that was produced from raw milk and Tanaka powder has reflected the cultural confrontation and the strategy to utilize the tools in quite a friendly manner. This allowed the community to easily open up to the cultural differences. Despite the difference between acid and base, both substances when mixed would cause Saponification which turned into the result that could be used for cleansing both body and the historical myth between Thai and Myanmar, which has been existing with on-going conflict in the conscience of the Thai Nation.
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Katherine Nuñez
46
แคเธอรีน นูเนซ (ตัวแทนจาก 98B COLLABoratory) เพื่อรู้จักคุณ, 2559 รวมมือกับ : ชอว สุ, จอว โมว, โซ ไทท อู, ซอว ซอว, โบ โบ คัดลอกพื้นผิวบนกระดาษ, ดินสอตะกั่วด�า, กลองไฟ, 90 x 200 x 31.5 ซม.
Katherine Nunez (98B COLLABoratory representative) Getting to Know You, 2016 In collaboration with : Chaw Su, Kyaw Moe, Soe Htite Oo, Zaw Zaw, Bo Bo rubbing on paper, graphite, light-box, 90 x 200 x 31.5 cm Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
98B COLLABoratory กลุมศิลปินที่รวมตัวกันเพื่อริเริ่มและขับเคลื่อนโครงการศิลปะ ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส กอตั้งใน ปีพ.ศ. 2555 มีแนวคิดการท�างานเชิงสหศาสตรและสรางพื้นที่เชิงปฏิสัมพันธ เพื่อน�าเสนอแนวคิดสรางสรรคดานศิลปะและ การออกแบบ ดวยการสรางประโยชนใชสอยในมิติทางศิลปะในพื้นที่หลากหลาย อาทิศิลปะสนทนา ศิลปะโภชนา ศิลปะสิ่งพิมพ วิสาหกิจศิลปะ ฯลฯ 98B COLLABoratory จึงเป็นพื้นที่รวมสมัยที่รวมตัวกันของคนท�างานสรางสรรคหลากแขนง เชน ศิลปิน ภัณฑารักษ นักออกแบบ นักเขียน นักดนตรี นักสรางภาพยนตร นักกิจกรรม นักการศึกษา นักวิจัย นักวัฒนธรรม นักแสดง สถาปนิก และนักศึกษา มารวมกันขับเคลื่อนชุมชน แคเธอรีน นูเนซ เป็นตัวแทน 98B COLLABoratory เธอเกิดปีพ.ศ. 2535 กรุงมะนิลา พ�านักและปฏิบัติงาน ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส เธอจบการศึกษาปริญญาตรี 2 สาขา สาขาจิตรกรรมและประวัติศาสตรศิลปะจาก College of Fine Arts, University of The Philippines, Diliman การเขารวมโครงการ 365 Days: LIFE MUSE ส�าหรับเธอถือเป็นการเดินทางมาประเทศไทย ครั้งแรก เธอเลาถึงสถานการณของแรงงานขามชาติในกรุงมะนิลาซึ่งแตกตางจากประเทศไทย เธอไมคอยแนใจวาสถานการณ เชนนี้จะสงผล กระทบเป็นคลื่นการโยกยายถิ่นฐานของแรงงานในกลุมประเทศอาเซียนหลังประตูเศรษฐกิจเปิดออก นูเนซให ความสนใจในรายละเอียดของชีวิตประจ�าวันระดับจุลภาค ซึ่งเธอพยายามพัฒนาตอเนื่องในการที่จะเพิกถอนบางสิ่งที่เกินเพื่อให ไดมาซึ่งสารัตถะของสิ่ง ผลงานของเธอคอนไปในแนวทางนามธรรมที่เกี่ยวกับความปรารถนา ความสัมพันธและอัตลักษณ โดย อาศัยเทคนิคเชิงหัตถกรรม อาทิ การถักไหมพรม การปักเสนดาย ฯลฯ เนื่องจากเป็นเทคนิคที่คนทั่วไปสามารถกระท�าและเขาถึง ไดไมยาก มันเป็นงานที่กอใหเกิดสมดุลระหวางการกระท�าและชิ้นงาน ระหวางการลงพื้นที่ศึกษาวิจัยฯ เธอสังเกตเห็นคุณคาของ สิ่งสะสม ของกลุมแรงงานชาวพมา สิ่งพื้นฐานที่มีความหมายและประโยชนใชสอยทั้งดานกายภาพและจิตใจ สิ่งของแมเพียงเล็ก นอยเหลานั้นอาจดูไรคาในสายตาของผูอื่น แตกลับเป็นประเด็นที่หลายคนสามารถเขาใจและเขาถึงได นูเนซไดรับความรวมมือ จากกลุมแรงงานขามชาติชาวพมามากมายในชุมชนฯ พวกเขารวมกันคัดลอกพื้นผิวสิ่งตางๆ สิ่งของที่ใชสอยในชีวิตประจ�าวัน และรวมถึงสิ่งที่เก็บง�าเพื่อส�านึกถิ่นฐานบานเกิด บางสิ่งบางอยางที่ดูเหมือนจะไมสามารถบันทึกหรือคัดลอกไดงาย ถูกบันทึกดวย กระดาษโปรงแสงขึ้นรูปเป็นกลองจัตุรัสขนาดตางๆ แสดงภาพตามเหลี่ยมมุมที่แตกตางกันไป แสงที่ศิลปินก�าหนดเป็นตัวบอก เลาราวกับวามันเป็นสิ่งที่ทรงคุณคาและแจมชัดตอสายตา แตนั่นก็เป็นเพียงสิ่งไรคาส�าหรับหลายๆ คน
98B COLLABoratory is a group of artists associating to initiate and run art projects in Manila, the Philippines. The group was founded in 2012 with the concept of multi-disciplines and interactive space aiming for presenting creative work, in terms of art and designs. This is to create functional aspects to various dimensions of art such as, art talk, cuisine art, printing art, enterprise art, etc. 98B COLLABoratory is, therefore, the contemporary space for creative people from various disciplines be it artists, curators, designers, writers, musicians, filmmakers, activists, academicians, researchers, cultural managers, performers, architects, and students who gather to drive the community movement. Katherine Nuñez is a representative for 98B COLLABoratory. She was born in 1992, lives and works in Manila, the Philippines. She graduated with 2 degrees: Fine Arts and Art History, from the College of Fine Arts, University of The Philippines, Diliman. The participation in the project 365 Days: LIFE MUSE was, for her, the first time travelling to Thailand. She talked about the situation of foreign workers in Manila, which was different from Thailand. She was not quite sure whether this situation would affect the migration wave of labours in ASEAN after the opening door of economy in the region. Nuñez has a micro-focus on people’s daily life details. She has attempted to continuously make progress with her work in relation to the removal of any excess in order to gain the essence of things. Her works are quite abstract, pertaining to desire, relationships and identity, utilizing handicraft techniques such as, knitting, embroidery, etc. This is because those techniques can be easily executed and access by general people. It is a kind of work that brings about the balance between action and the piece of work itself. During her study at the site, she has observed the value of the collectibles collected by the Burmese workers. These basic items are meaningful and useful both physically and emotionally. Even though those trivial things may seemingly worthless in other people’s eyes, they have become the point that could be understood and approached by others. Nuñez attained cooperation from many Burmese workers in the community. Together they rubbed the surface of things, objects used in everyday’s life, including items that they have kept as a memorial to their homeland. Those things, which were seemingly not so easy to record or trace, were rubbed on transparent paper and formed up in square boxes in various sizes. Images were displayed on different angles on each side of the box. The light given by the artist told the stories as if they were objects of value and luminous to the eyes. However, they were merely insignificant to many people.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
48
Korakrit Arunanondchai
กรกฤต อรุณานนท์ชัย กอด, 2559 รวมมือกับ: ชอว สุ, จอว โมว, ซอว ซอว เศษวัสดุ, เหล็ก, ผาเดนิม, ระบายสี, 200 x 190 x 90 ซม., พิมพภาพถายดิจิตอล, สี, 29.5 x 21 ซม.
Korakrit Arunanondchai The Hug, 2016 In collaboration with: Chaw Su, Kyaw Moe, Zaw Zaw found objects, metal, denim, paint, 200 x 190 x 90 cm, digital print photo, color, 29.5 x 21 cm
กรกฤต อรุณานนทชัย เกิดปีพ.ศ. 2529 ที่กรุงเทพฯ ประเทศไทย ปัจจุบันพ�านักและปฏิบัติ งานทีนิ่ วยอรค-กรุงเทพฯ เขาเป็นศิลปินที่สรางสรรคผลงานหลากหลายแนวทาง และใชมิติชั้นเชิง ทางศิลปะอยางสลับซับซอนโดยอาศัยความพิเศษขั้นสูงในการท�างานศิลปะ ความรวมมือ ดวยสื่อหลายชนิด อาทิ งานพิมพ งานถายภาพ ดนตรี วิดีโอและการแสดงสด เขาจบการศึกษา ระดับปริญญาโทดานทัศนศิลป์จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย นิวยอรค สหรัฐอเมริกา ผลงานของ เขาแสดงออกถึงการหลอมรวมวัฒนธรรมประชานิยมกับดนตรีฮิปฮอป พรรณนาบทในผลงาน วิดีโอของเขามักเลาเรื่องผานมิติทางประวัติศาสตร ความจริงแท การแสดงเชิงตัวแทนของตนเอง และการถายโอนทางวัฒนธรรม วิธีวิภาษสังคมมักแฝงตัวเป็นบทยอยอยางแนบเนียน รอใหผูชม ถอดรหัส ผานการมอมเมาทัศนะ และปลุกเราอารมณดวยบรรยากาศของศิลปะจัดวางขนาด ใหญ (Large-scale installation) ที่มีรายละเอียดมากมาย ผลงานของกรกฤต ยังพูดถึงวัฏจักร ชีวิตและความทรงจ�ารวมไปถึงความตาย ซึ่งเขาก�าลังพัฒนาไปสูผลงานชุดใหมๆ กรกฤต ริเริม่ ผลงานสรางสรรคในแบบประติมากรรมหุนนิง่ (Figurative sculpture) เป็นครัง้ แรก เขามุงความสนใจในแนวคิดวิญญาณนิยม (Animism) และศึก ษาปรัชญา Object-Oriented Ontology เพื่อคนหาความเป็นไปตามกฏและการด�ารงอยูของธรรมชาติซึ่งแฝงไปดวยวิญญาณ ศักดิ์สิทธิ์โดยมองโลกธรรมชาติไมเป็นเพียงแควัตถุภายใตกฏจักรวาลตามแนวทางของเบคอน และเดสคารตส (Francis Bacon, 1561- 1626 ,Rene Descartes,1596 – 1650) ดังที่เฮนรี่
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
เดวิด ธอโร (Henry David Thoreau, 1817-1862) กลาววา “โลกที่ฉันกาวยางอยูนั้น ไมไดเป็นกอนที่ตายหรือเฉื่อยชา แตมันเป็น รางกาย มีจิตใจ มีชีวิต และไหลเลื่อนไปตามอิทธิพลของจิตวิญญาณของมัน”[1] กรกฤตเลือกใชวิธีสื่อสารขามพื้นที่และเวลาดวย ระบบออนไลน เพื่อท�างานรวมกับสองแรงงานชาวพมา ชอว สุ และ จอว โมว พวกเขาสรางสรรคผลงานรวมกันผานขั้นตอนที่ ศิลปินเสนอแนะแนวทางรวมกับสัญชาติญาณภายในของแรงงานชาวพมาทั้งสอง เพื่อคนหาความเชื่อมโยงทางกายภาพและจิต วิญญาณของพวกเขา โดยอาศัยกระบวนการเชิงชาง การแกปัญหาเฉพาะหนา และความเป็นไปเอง ความสนใจเรื่องภูตผีวิญญาณ ความเรนลับในวัสดุตามธรรมชาติของกรกฤต น�าไปสูแนวทางการประดิษฐและประกอบสรางรูปตัวแทนของตนเอง (Self-representation) จ�านวน 1 คู จากเศษวัสดุธรรมชาติที่หาไดในพื้นที่รอบตัว ขั้นตอนของการท�างานคอยๆพัฒนาไปทีละสวน เริ่มจาก การขึ้นโครง การประกอบรูปรางรูปทรงจากเศษวัสดุ การละเลงสีเปรอะเปื้อนลงบนเนื้อตัวแทนพูกันและระบายลงบนผืนผายีนส สอเสียดการแสดงในรายการโทรทัศนดวยการกระท�าสังวาสศิลป์ ซึ่งเป็นสวนหนึ่งของศิลปะแสดงสดของกรกฤต ที่พาใหเขาเป็นที่ รูจักและมีชื่อเสียงระดับนานาชาติในชวงหลายปีที่ผานมา ผลงานประติมากรรมหุนนิ่งรูปตัวแทนทั้งคูแสดงออกซึ่งความปรารถนา ความหวัง และชีวิตอันเรนลับ โดยแฝงลักษณะธรรมชาติและความตาย ภายในรูปตัวแทนของประติมากรรมหุนนิ่งคูหนึ่ง 1 ดร. อ�านาจ ยอดทอง, แบบความสัมพันธระหวาง “มนุษย” กับ “ตนไม” ในพระพุทธศาสนา, http://oknation.nationtv.tv/mblog/entry.php?id=966174
Korakrit Arunanondchai was born in 1986 and grew up in Bangkok, Thailand. He is currently residing and working both in New York and Bangkok. He is an artist who has created a variety of artworks, and also utilised with complexity his multi-dimensional art skills through his advanced uniqueness in collaborative arts via various media, for instance, prints, photography, music, video and live performance. He graduated with a Master Degree in Visual Arts from Columbia University, New York, U.S.A. His artworks reflect the combination of pop culture and hip-hop music. The descriptive script in his videos always tells the story with the dimensions of history, truth, self-representative performance, and cultural transference. His way of social dialectic always seamlessly lies in the subtexts - waiting for audience to decode them, by intoxicating their view and arousing their sensation through the atmosphere of using large-scale installation, which contains a myriad of details. Korakrit Arunanondchai’s artwork also addresses the life cycle, memories, including death; the direction which he is making his progress towards new collections. Korakrit has initiated his creative artwork in the form of figurative sculpture. He focuses on Animism and studies the philosophy of Object-Oriented Ontology in order to search for the state-by-the-rules and the existence of Nature where holy spirits lie, with the perspective that the World of Nature is not merely an object under the universal laws in accordance with the conception of Bacon and Descartes (Francis Bacon, 1561- 1626, Rene Descartes,1596 -1650) , as stated by Henry David Thoreau (Henry David Thoreau, 1817-1862) that “The earth I tread on is not a dead inert mass. It is a body-has a spirit-is organic-and fluid to the influence of its spirit-and to whatever particle of the spirit is in me”[1] . Korakrit has chosen to communicate across time and space via online system with both Burmese workers; Chaw Su and Kyaw Moe. They co-worked to create artworks through steps suggested by the artist, together with both foreign labourers’ inner instinct, so as to find out their physical and spiritual relationship using their technical skills, impromptu problem-solving and the state of being. Korakrit’s interests in ghosts and spirits, including the mystery in natural materials, has led to his way of inventing and forming up a pair of self-representation figures, which are made from scraps of natural materials that could be found in their surroundings. The working steps gradually developed part by part, starting from shaping the skeleton, forming them into figures and shapes from material scraps, and splashing the paints onto the body instead of using the paintbrush and painting on denim, sarcastically criticising TV shows by erotic arts performance, which is a part of his live performances that make him known and internationally reputable in these past recent years. Both representative figures, which are figurative sculptures, express desire, hope and mysterious life by infiltrating the natural characters and death within a pair of representatives of figurative sculptures. 1 Dr. Amnat Yodthong, The Model of Relationship between “Man” and “Tree” in Buddhism, http://oknation.nationtv.tv/mblog/entry.php?id=966174
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Ma Ei
50
มา อิ อาเซียน, 2559 รวมมือกับ : เท็ท เท็ท ผโย, มเยียต โน, ดอว ไฮง จี้น, ดอว จีน มเยียะ, มี ซิน, ซาน ซาน เว, มี นาน, มี ชอว, นโย นโย ซาน, ธีดา ซาน, กั่น กั่น, โซ ไทท อู, ชอว สุ, จอว โมว พิมพภาพถายดิจิตอล, สี, 100 x 280 ซม., โครงเหล็ก 125 x 172 ซม.
Ma Ei Asean, 2016 In collaboration with : Htet Htet Phyo, Myat Noe, Daw Haing Kyin, Daw Kyin Mya, Mee Zin, San San Wai, Mee Nan, Mee Chaw, Nyo Nyo San, Thida San, Kan Kan, Soe Htite Oo, Chaw Su, Kyaw Moe digital print photo, color, 100 x 280 cm, metal stand 125 x 172 cm Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
มา อิ เกิดปีพ.ศ. 2529 เติบโตที่เมืองทวายกอนยายไปพ�านักและท�างานที่กรุงยางกุง สาธารณรัฐแหงสหภาพ เมียนมา เธอจบการศึกษาดานฟิสิกส จากนั้นเริ่มฝึกฝนตนเองในดานจิตรกรรม การถายภาพ และท�างาน รวมกับกลุมศิลปิน เธอไดสรางสรรคผลงานแสดงสด (Performance art) อยางตอเนื่อง และมีผลงานแสดง ระดับนานาชาติในหลายประเทศทั้งยุโรปและเอเชีย ผลงานของเธอมีแนวโนมตอการเผชิญหนาในสังคมที่ บุรษุ มีอา� นาจ หลายครัง้ ผลงานของเธอสรางความรบกวนหรือกอกวนใหเกิดการตัง้ ค�าถามในสังคมไดอยางนาสนใจ ในโครงการ 365 Days: LIFE MUSE มา อิ ไดสรางสรรคผลงานที่ทาทายและตั้งค�าถามตอรัฐไทยในประเด็นของ การใชแรงงานชาวพมา ซึ่งอพยพเขามาท�างานในพื้นที่จังหวัดราชบุรี ดวยสภาพความเป็นอยูที่แออัด ขาดสุข ภาวะอนามัย และความขาดแคลนดานสาธารณสุข การศึกษา ฯลฯ การถูกลดทอนโอกาสในการเขาถึงปัจจัยพืน้ ฐาน ที่ รั ฐ ไทยพึ ง มี และปฏิ บั ติ ต อพวกเขา สถานภาพแรงงานและการจางงานตามกฎหมายที่ ไ มสงเสริ ม ความเป็นอยู ใหมีมาตรฐานการครองชีพ ที่เอื้ออ�านวยตอการใชศักยภาพของบุคคลในระบบการผลิต อันเป็น เป้าหมายของรัฐในนโยบายเปิดรับแรงงานขามชาติเพื่อพัฒนา และขับเคลื่อนเศรษฐกิจชาติ ประตูที่เปิดออก ค�าพูดที่ดูสวยหรูของการเปิดบานแหงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป็นสิ่งที่ลองลอยส�าหรับมาอิ เธอใหความ สนใจและศึ ก ษาความเป็ น อยู ของกลุ มแรงงานชาวพมา ที่ อ าศั ย ในชุ ม ชนหนองโพและชุมชนใกลเคียง โดยการประกาศเจตนารมณของการเปิ ด ประตู เ ศรษฐกิ จ อาเซี ย นรวมกั น กั บ แรงงานชาวพมาเหลานั้ น เพื่อตอกย�้าการมีตัวตนและเป็นสวนหนึ่งของ AEC ดวยวาทกรรมอันบันดาลใหเชื่อไดวา ในความแตกตางและ ความเหมือน ประเทศอาเซียนจะเป็นหนึ่งเดียว และเดินไปขางหนาดวยกันอยางกลมกลืน
Kyaw Moe Ma Ei, born in 1978, grew up in Dawei before moving to reside and work in Yangon, Myanmar. She graduated with a degree in Physics. Since then she began to train herself in the fields of fine arts, photography, and co-work with the art groups. She has continuously produced live performance art and her works have been internationally exhibited and presented both in Europe and Asia. Her works likely cause the confrontation in the society where men hold power. There were times that her works interestingly have stirred up or steered the questioning in the society. In the project 365 Days: LIFE MUSE, Ma Ei has initiated a challenging work and questioned Thai Government about the issues of Burmese labourers who migrated to work in Ratchaburi Province. Those issues concern crowded living condition without well-being and hygiene; lack of public healthcare and education, etc; the deprivation of their opportunity to get access to fundamental necessity that should be provided and serviced by Thai Government; working status and legal employment that does not support their well-being to be relevant to the standard of living – that should draw out individual’s potential in the production system, which was the goal of government’s policies on encouraging foreign workers with the aim of developing and moving Thai economy forward. The opened door and all the promising speeches about the opened house of AEC was something abstract to Ma Ei. She paid attention to and has studied those Burmese workers who lived in the Nongpo Community and in the neighbouring areas, by declaring intention of the opening door of AEC with those Burmese workers in order to reinforce their existence and their being a part of AEC, with her discourse that inspired them to believe that among the differences and similarities, those ASEAN countries would be unified and seamlessly moving forward together.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
52
Masaru Iwai, PhD
มาซารุ อิวาอิ การช�าระล้างจักรยานยนต์, 2559 รวมมือกับ : จอว โมว, โซ ไทท อู, นงี นงี ซอว, ซอว ซอว, ลู อเย, จอว จอว, กัน ลาร, ซาน เอาง, สรลักษณ เอิกเชื้อ, จอว อู, แหง เลย, ธาร แหง เลย วีดีโอ-จอเดี่ยว ความละเอียดสูง, สี, เสียง, 10 นาที 40 วินาที, วน
Masaru Iwai Motorcycle Washing, 2016. In collaboration with : Kyaw Moe, Soe Htite Oo, Nyi Nyi Zaw, Zaw Zaw, Lu Aye, Kyaw Kyaw, Ku Lar, San Aung, Soralak Eurkcheua, Kyaw Oo, Nge Lay, Thar Nge Lay Single-channel full HD video, color, sound, 10 min 40 sec, loop Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
มาซารุ อิวาอิ เกิดปีพ.ศ. 2518 ที่เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น พ�านักและท�างานที่กรุงโตเกียว ประเทศ ญี่ปุ่น จบการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาจิตรกรรม จาก Tokyo University of the Arts เขาพัฒนา ผลงานจากสภาพแรงกดดันทางสังคมและวัฒนธรรมเดีย่ ว โดยใหความสนใจในประเด็นการขจัดสิ่งสกปรก และสิ่งแปลกปลอมภายใตกรอบทางสังคม-วัฒนธรรมญี่ปุ่น การช�าระลางท�าความสะอาดส�าหรับ อิวาอิ จึงมีนัยยะในเชิงการก�าจัดสิ่งเปรอะเปื้อนและสิ่งอื่นที่มิไดมีมาแตเดิม เพื่อด�ารงกฎเกณฑที่ตายตัวตาม แบบฉบับของชาวอาทิตยอุทัยอยางเหนียวแนน เขากลาววา “ความสะอาดแบบยิ่งยวดเชนนี้ยังสงผลไปสู แนวคิดเชิงวิภาษและการตัดสินผูอื่นอีกดวย” อิวาอิอาศัยการมีสวนรวมและศิลปะความรวมมือ ผานกระบวนการการท�าความสะอาดซึ่งผลักดันให ผู มีส วนรวมแสดงออกซึ่งพลังและความกระตือรือรน การล�าดับเวลาจากตนจรดปลายโดยมักจะละ บางสวนออกไปนอกการรับรูของผูชม ดวยความเชื่อที่วากระบวนการการท�าความสะอาดดังกลาวคือ สภาพความเป็นจริงบางอยางทางสังคมที่หมุนกลับ เวียนมาบรรจบเป็นวัฏจักรและการเกิดขึ้นของสิ่งใหม ในการเขารวมโครงการฯครั้งนี้ อิวาอิไดลงพื้นที่ศึกษาขอมูลในชุมชนฯ เพื่อพัฒนาผลงานชุดลาสุดของเขา โดยประสานขอความรวมมือจากกลุมแรงงานชาวพมาที่อาศัยภายในชุมชนหนองโพและชุมชนใกลเคียง เพื่อรวบรวมจักรยานยนตจ�านวน 10 คัน ส�าหรับท�ากิจกรรมกลุ มสรางสรรคการลางท�าความสะอาด จักรยานยนตแบบหมู คณะ จักรยานยนตถือเป็นพาหนะส�าคัญในชีวิ ต ประจ�าวัน ของกลุ มแรงงาน ชาวพมา พวกเขาสวนใหญซื้อจักรยานยนตดวยความยากล�าบากจากขั้นตอนทางกฎหมายที่ไมเอื้ออ�านวย การช�าระดอกเบี้ยที่สูงกวาปกติและการที่ตองขับขี่จักรยานยนตอยางผิดกฎหมายโดยปราศจากการออก ใบอนุญาตขับขี่ ดวยเหตุเชนนี้จักรยานยนตจึงอาจมิใชเพียงพาหนะประโยชนเทานั้น แตยังน�ามาซึ่งความ เสี่ยงที่จะถูกจับกุมและเสียคาปรับ หลายครั้งที่มีความจ�าเป็นตองขับขี่จักรยานยนตไปนอกเขตพื้นที่อาศัย พวกเขาอาจตองเสียคาใบสั่งตลอดทางโดยอ�านาจที่รัฐมีไวใชควบคุมสิ่งสกปรกและสิ่งแปลกปลอม ปัจจัย เชนนี้แสดงใหเห็นถึงความลักลั่นภายใตรัฐชาติที่มีความตองการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยจ�า เป็นตอง พึ่งพาอาศัยบุคลากรจากภายนอกประเทศ ส�านึกเรื่องความหลากหลายทางวัฒนธรรมจึงเป็นสิ่งที่หลีก เลี่ยงไมไดภายใตกระแสและส�านึกของโลกาภิวัฒน
Masaru Iwai born in 1975, Kyoto, lives and works in Tokyo, Japan. He received his PhD in Fine Arts from Tokyo University of the Arts. He develops his works based on social and single-culture pressure, focusing on the notion of removing dirt and false tainted objects within Japanese socio-cultural framework. To Masaru Iwai, cleaning implies the dirt removal and any other impurity, which does not previously exist. In order to st ro ng l y maintain all fixed rules according to Japanese pattern, he stated, “such extreme cleanliness also leads to controversial thinking and judgment”. Through cleaning process, Iwai has applied participation and collaborative arts to encourage the participants to express their power and enthusiasm, including the ordering of time from the beginning to the end; with some parts being omitted from the audience’s perception, believing that such cleaning process was a real situation of something in the society that comes and goes like a cycle and the birth of new things. During his participation in this program, Iwai has located himself at the site studying the community in order to create his recent work, with the coordination to obtain cooperation from those Burmese workers who live in Nongpo community and the neighbouring area. He was able to collect 10 motorbikes for the use of creative group activities, i.e. collective motorbike cleaning. Motorbike is an important vehicle in these foreign workers’ daily life. Most of them own their bike with difficulty due to unsupportive legal procedure, higher interest rate than normal and illegal riding on the bike without driving license. For those reasons, motorbike might be a beneficial vehicle but could also lead to a risk of being caught and fined in return. There were times they have to ride out of their residential area, and they may have to be fined all along the way by the authority exercised by the state to control dirt and adulterated objects. Such factor indicates the incongruity of the nation-state who wanted to drive the economy by relying on personnel from other countries. Thus, the awareness of cultural diversity becames inevitable under the globalisation trend and recognition. Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
54
Maung Day
เมาง์ เดย์ พุงของปลาตัวมหึมา ได้เปิดออก, 2559 ชุดภาพ : วาฬอพยพ 1-2, 2559 ร่วมกับ : ชอว์ สุ, จอว์ โมว์ บทกวีบนไวนิลสติกเกอร์, 59.4 x 84.1 ซม. สีน�้าบนกระดาษ, 21 x 29.5 ซม. ต่อชิ้น
Maung Day The Belly of a Stranded Giant Fish Opens Up, 2016 The series of: Migrating Whale 1-2, 2016 In collaboration with : Chaw Su, Kyaw Moe poem on vinyl sticker, 59.4 x 84.1 cm, watercolors on paper, 21 x 29.5 cm each เมาง เดย เกิดปีพ.ศ. 2522 ทีก่ รุงยางกุง พ�านักและปฏิบตั งิ านทีก่ รุงยางกุง สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา เขามีความสามารถใน หลายพื้นที่ทางศิลปะ อาทิ กวี ศิลปิน นักออกแบบกราฟฟิก และนักเคลื่อนไหวทางสังคม เมาง เดยจบการศึกษาปริญญาโท International Development Studies จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปีพ.ศ. 2551เคยเป็นกองบรรณาธิการให Alinka Wutyi Music Journal และท�างานในฐานะ NGO: Eco-village Transition Asia ในกรุงเทพฯ ปัจจุบนั เมาง เดยท�างาน NGO กับ Metta Development Foundation ในกรุงยางกุง เป็นผูรวมกอตั้ง Beyond Pressure International Performance Art Festival (2008 - ปัจจุบัน) ผลงานกวีของเมาง เดยตีพิมพในหลายภาษาและส�านักพิมพ อาทิ The Wolf, Guernica, The Awl, Shampoo, Bengal Lights ฯลฯ เขามีผลงานวาดเสนที่จัดแสดงในระดับนานาชาติหลายแหง เชน 10 CHANCERY LANE GALLERY, ฮองกง เมาง เดยเขารวมโครงการ 365 Days: LIFE MUSE ใน 2 สถานภาพ คือการท�าหนาที่เป็นที่ปรึกษาฝ่ายกิจการสัมพันธและประสาน งานชาวพมาและศิลปิน เขาลงพื้นที่ศึกษาความเป็นไปไดในการหาความรวมมือจากแรงงานชาวพมาในชุมชนหนองโพ และมีสวน รวมในการรางส�าเนาบทโฆษณาภาษาพมาเพื่อประชาสัมพันธโครงการฯ นอกจากนั้น เมาง เดยยังไดรวมสัมภาษณแรงงานชาวพมา ที่สมัครเขารวมโครงการฯ อีกดวย เมาง เดยสรางสรรคผลงาน กวี และผลงานวาดเสน ที่สะทอนมุมมองจากจุดเริ่ม ตนใน โครงการฯ รวมกับประสบการณสวนตัวในการท�างาน NGO กับแรงงานอพยพในประเทศไทยหลายปีเขาน�าเสนอผลงานวาดเสน ดวยการนิยามแบบใหมแกภาพลักษณทางพุทธศาสนาและเทวต�านาน ขณะเดียวกันเขาเลนกับภาษาเชิงกวีโดยการใชอุปมาและ ภาพเลาเรื่อง ผลงานของเมาง เดยน�าเสนออิสรภาพของสภาวะที่ก�าหนดตัวเองไมได และเปิดพื้นที่ภายในเป็นเวทีใหพลังงานอิสระ ของมนุษยในดานใดดานหนึ่งไดแสดงออกมา พื้นที่ภายในดังกลาวคือเวทีของอิสรภาพ มันรวบรวมพื้นที่ความเป็นบุคคล พื้นที่ การสรางสรรค และพื้นที่ของอิสรภาพเขาดวยกัน ความรูสึกนึกคิดและความรูเทาทันตนเองไดสรางสรรคพื้นที่เชนนี้ขึ้นมา[1] แตในสภาพความเป็นจริงกลับพบวาคนเราถูกก�ากับใหประพฤติปฏิบัติราวกับวาเป็นเครื่องจักรกล เป็นไปไดหรือไมที่มนุษยจะ สามารถพัฒนาศูนยกลางของความเขมแข็ง ณ พื้นที่ภายในของตนเองจนกระทั่งพลังอิสรภาพมีอ�านาจเหนือพลังแหงความจ�าเป็น 1 อี. เอฟ. ชูมาเกอร, แปลโดย วิศิษฐ วังวิญญู - แผนที่คนทุกข : 2537, หนา 42.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Maung Day was born in 1979, Yangon. He lives and works in Yangon, The Republic of Myanmar. He expresses his artistic talent through various disciplines as a poet, artist, graphic designer and social movement activist, to name a few. Maung Day obtained a Master Degree in International Development Studies from Chulalongkorn University in 2008. He used to work in the editorial department for Alinka Wutyi Music Journal and worked as an NGO officer for Eco-Village Transition Asia in Bangkok. In the present time, Maung Day is working with another NGO, Metta Development Foundation. In Yangon, Maung Day is a co-founder of Beyond Pressure International Performance Art Festival (2008 - present). His poems have been published in many languages with numbers of publishers like The wolf, Guernica, The Awl, Shampoo, Bengal Lights, etc. He had his drawings exhibited internationally in many places such as at 10 CHANCERY LANE GALLERY, Hong Kong. Maung Day has involved in 365 Days: LIFE MUSE as Myanmar Project-Related Advisor & Coordinator and as an artist. He has executed a fieldwork to seek for the possibility for the collaboration from Burmese workers in Nongpo. Besides, he has participated in drafting the advertisement in Burmese language to promote this project, and was also on the interviewer panel when recruiting Burmese workers from all applicants. Maung Day has created poems and drawings to reflect his view from the starting point of this work project with his personal experience working with the NGOs upon the issues of migrant labour in Thailand for number of years. Through his drawings, he presented a new definition toward the image of Buddhism and mythology. Simultaneously, he played with his poetic languages using metaphor and analogy. Maung Day’s work represented the freedom of indefinable condition. It integrated altogether personal space, space of creation, and space for freedom. The thoughts and awareness have created such a space[1]. But in reality, Men have been directed to behave in a way that they have become a machine. Would it be possible that Men will develop the core of their strength in their inner-space to the point where the power of freedom could overrule the power of necessity? 1 E.F. Schumacher, translated by Wisit Wangwinyoo – A Guide for the Perplexed : 1994, 42.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Okui Lala
56
โอกุย ลาลา เราพบกันอย่างไร เราจะสามารถพบกันได้ อย่างไร I&II, 2559 รวมมือกับ : ชอว สุ, จอว โมว, เซ็งอิม แซตัน้ , มณีรัตน คณานุกูล วีดีโอ 3 จอ, สี, เสียง, 3 นาที 12 วินาที (ซาย-ขวา), หูฟัง, 1 นาที 06 วินาที, วน, บทความบนกระดาษ, 21 x 29.5 ซม.
Okui Lala How Do We Meet? How Can We Meet? I&II, 2016 In collaboration with : Chaw Su, Kyaw Moe, Seng-im Saeton, Maneerat Khananukul three-channel video, color, sound, headphone, 3 min 12 sec (left-right), 1 min 06 sec, loop, text on paper, 21 x 29.5 cm โอกุย ลาลา เกิดปีพ.ศ. 2534 ทีเ่ มืองปีนงั พ�านักและท�างานทีเ่ มืองปีนงั ประเทศมาเลเซีย เธอเป็นศิลปินทีท่ า� งาน ขามศาสตรในลักษณะ interdisciplinary art โดยอาศัยสื่อ อาทิ ภาพถาย วิดีโอ รวมไปถึงการมีสวนรวมใน พืน้ ทีส่ าธารณะ เธอจบการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขา Media Art จาก Multimedia University, Cyberjaya ประเทศมาเลเซีย เธอมักจะคนควาหาแนวทางใหมๆ ในการสรางสรรคซึง่ สัมพันธกับแนวทางการท�างานของเธอ เชนงานวิดีโอเชิงทดลอง ออกแบบแนวทางการแสดงสด สรางขบวนการและด�าเนินงานปฏิบัติการชุมชน ตั้งแต ปีพ.ศ. 2556 เธอสนใจคนควาในประเด็นเรื่องบาน การโยกยายถิ่นฐานและอัตลักษณ ในการเขารวมโครงการ 365 Days: LIFE MUSE และปฏิบัติงานในพื้นที่ชุมชนฯ รวมกับชอว สุ กับ จอว โมว์ และ ป้าอิม ลาลาไดพัฒนาโครงการระยะยาวที่ก�าลังคนควาดานภาษาและการสื่อสาร ความสนใจเป็นพิเศษในเรื่อง ที่มนุษยตองอาศัยการสื่อสารเป็นปัจจัยส�าคัญ ในการติดตอเชื่อมโยงตนเองไปสูโลกภายนอก ความหลาก หลายทางวัฒนธรรมในเขตพืน้ ทีช่ มุ ชนหนองโพ ก็เป็นอีกปัจจัยหนึง่ ทีท่ า� ใหเธอสรางสรรคผลงานชุดนีข้ นึ้ ส�าหรับลาลา ภาษาและการแปลความหมายเป็นหนทางที่จะท�าความเขาใจบริทบทางมนุษยศาสตร สังคมศาสตร แมแตในเชิง เศรษฐศาสตร ภาษาท�าใหรูไดถึงการโยกยายถิ่นฐานและระบบประชากรศาสตร มันสามารถบอกเลาภูมิหลัง และอัตลักษณบุคคลไดเป็นอยางดี ดังนั้นการสื่อสารจึงเป็นสิ่งจ�าเป็น แตการสื่อสารที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ�าวัน ก็ใชวาจะสอดคลองและแจมชัดรอยเปอรเซ็น ระหวางการสื่อสารแตละครั้งเกิดความคลาดเคลื่อนในบางสิ่ง บางอยาง รวมไปถึงการสื่อสารระหวางภาษากับภาษาซึ่งจ�าเป็นตองมีการแปลและตีความเกิดขึ้นเสมอ มันสงผลใหความเขาใจในความหมายแตกตางกันออกไป และนัน่ ก็อาจท�าใหเกิดความคลาดเคลือ่ นไปจากความ หมายของเจาของภาษา เราจะแนใจไดอยางไรวาการสื่อสารดวยภาษานั้นคือหนทางที่ชัดเจนตอการรับรูของ มนุษย จากการที่ลาลาเป็นชาวจีนที่เติบโตในประเทศมาเลเซีย เธอสามารถพูดได 5 ภาษา ส�าหรับเธอภาษาท�า หนาที่มากกวาการใชเพื่อสื่อสาร มันเขาไปท�างานในพื้นที่อื่นๆ ภายนอกขอบเขตของตัวมันเอง Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Okui Lala, born in 1991, Penang, lives and works in Penang, Malaysia. She is an interdisciplinary artist whose works are of the cross-disciplined arts using such media as photography, video, and public engagement. She graduated with Bachelor’s degree in Media Art from Multimedia University, Cyberjaya, Malaysia. She has always explored new creative approaches in relation to her art practice, for instance, creating experimental videos, designing visuals for performance art, facilitating and conducting workshops for community. Since 2013, she has been exploring the issues concerning home, migration and identity. In her participation in the project 365 Days: LIFE MUSE and working at the site with Chaw Su, Kyaw Moe and Aunt Im, Lala has developed a long-term project on exploring areas of languages and communication. She has special interest for the fact that humans need communication as a key factor in connecting themselves with the outside world. The cultural diversity in the area of Nongpo has become another factor that motivates her to create this work collection. For Lala, language and translation are the ways to understand the context of Anthropology, Sociology, or even Economics. Language makes us become aware of the migrational and demographic system. It tells us clearly about background and personal identity. Therefore, communication is essential. But our daily-life communication is not always 100% relevant and clear-cut. In each communication, some errors could happen, including cross-language communication, which always needs translation and interpretation. It causes some diverse possibilities to the understanding of the meaning. This might bring about some loss in translation from the true meaning of the mother’s tongue language. How can we be so sure that communication with language be the method that fits human’s perception? Since Lala is a Chinese who grew up in Malaysia, she is able to speak up to 5 languages. For her, languages can do much more than just to be a communication tool; it enters into other areas beyond its own territory
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
58
Preenun Nana
ปรีณัน นานา ราก, 2559 รวมมือกับ : อ�าพัน ลีลาคงกระพันธ, ชอว สุ, จอว โมว พืช-สมุนไพร, โครงไม, พิมพภาพถายดิจิตอล, สี, วีดีโอ-จอเดี่ยว, ขาว-ด�า, เสียง, หูฟัง, 4 นาที 6 วินาที, วน
Preenun Nana Root, 2016 In collaboration with : Ampan Leelakongkrapan, Chaw Su, Kyaw Moe plants, wood stand, digital print photo, color, single-channel video, b&w, sound, headphone, 4 min 6 sec, loop Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
ปรีณัน นานา เกิดปีพ.ศ. 2512 ที่กรุงเทพฯ ประเทศไทย พ�านักและท�างานที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับปริญญาโทจาก Faculte des Lettres, Paris III, และ D.E.S.S จาก Institut Superieur de Managements Culturels ประเทศฝรั่งเศส เธอเป็นผูรวมสาน ตอ Womanifesto Thailand (est. 1997-) กลุมศิลปินสตรีและนักกิจกรรมสรางสรรครวมตัวกันเพื่อขับเคลื่อนแนวคิดใหมๆ วา ดวยเรื่องศิลปะกับชุมชน ผลงานของเธอมุงไปในเชิงการเคลื่อนไหวในพื้นที่ศิลปะและวัฒนธรรมผานกระบวนการความรวมมือทาง สังคม เธอไดด�ารงต�าแหนงผูจัดการและภัณฑารักษรวมในโครงการ NOR-TH -Norway and Thailand - Converging Line, a Prelude to Globalization, โครงการศิลปะความรวมมือระหวางนอรเวยและไทย ปีพ.ศ. 2548 และเป็นผูกอตั้ง SoulMade Yoga (est. 2554-2559) เพื่อพัฒนาศักยภาพมนุษยภายใตเงื่อนไขของสภาพสังคมทุนนิยม ในโครงการ 365 Days: LIFE MUSE ปรีณันใหความสนใจในประเด็นการลงรากของชีวิต พืชสมุนไพรและประโยชนใชสอยทาง โภชนาการในชีวิตประจ�าวัน การที่ศิลปินเกิดและเติบโตที่ประเทศไทยผานบรรพบุรุษเชื้อสายเปอรเชีย-อินเดีย ท�าใหหลายคน เขาใจผิดถึงสถานะสัญชาติของเธอเมื่อแรกเจอ ประสบการณเชนนี้สงผลใหเธอคุนชินกับความเขาใจผิดระหวางคนไทยดวยกัน ในฐานะที่เธอเกิดและเติบโตภายใตเงื่อนไขทางสังคมและวัฒนธรรมไทย เมื่อพิจารณาถึงรากทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ของรุนปู่ยาตายาย ส�าหรับเธอ อาหารถือเป็นส�านึกแรกทางอัตลักษณที่สามารถบอกเลาเรื่องราวและความทรงจ�าในอดีต ปรีณัน อาศัยพืชสมุนไพรเป็นปัจจัยในการท�างานสรางสรรครวมกับแรงงานชาวพมา โดยการออกแบบพื้นที่ใหเกิดการแลกเปลี่ยนระหวาง ศิลปิน แรงงานชาวพมาและชุมชนฯ แนวคิดเชิง DIY ของระบบสวนครัวกระถางในพื้นที่จ�ากัดกลายเป็นแนวทางที่สามารถพัฒนา ตอไป และใหผลผลิตเป็นที่นาพอใจภายในหองแถวขนาดเล็ก ปรีณันเริ่มตนจากการเสาะหาพืชสมุนไพรพมาและสมุนไพรอินเดีย สมุนไพรจากชุมชน ดินปลูกและปุ๋ยหมักชีวภาพจากชุมชน สงผลใหขบวนการดังกลาวเชื่อมสัมพันธบุคคลและพื้นที่ เพื่อสราง อ�านาจตอรองภายใตเงื่อนไขทางวัฒนธรรม ขณะที่การแสวงหา ‘ราก’ เป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไมไดเนื่องจากมันมอบความมั่นคงแก จิตใจ สจวรต ฮอลล (1932-2014) นักวิชาการดานวัฒนธรรมศึกษาไดกลาวถึง ‘ราก’ ในแนวทางที่มีทางออกหรือทางเลือกแบบที่ ไมเครงครัด มากกวาที่จะพยายามยืนหยัดในอัตลักษณของตัวตน[1] ในโครงการนี้ ปรีณันไดน�าเสนอความยืดหยุ นที่มนุษย สามารถเคลื่อนตัวไปมา ปรับเปลี่ยนตัวเองมากกวาที่จะลง ‘ราก’ ในแบบที่เคลื่อนที่ไมได เพื่อใหเกิดส�านึกในเรื่องความหลาก หลายทางวัฒนธรรมที่เป็นไปไดและไมแข็งขืน ซึ่งด�ารงอยูในรูปของ ‘ความสัมพันธระหวาง’ (relations) 1 ธเนศ วงศยานนาวา-ความไมหลากหลายของความหลากหลายทางวัฒนธรรม : 2557, หนา 96.
Preenun Nana, born in 1969 one of the, lives and works in Bangkok,Thailand. She graduated with a Master Degree from Faculté des Lettres, Paris III and D.E.S.S en Managements Culturels from L’Institut Superieur de Managements Culturels, France. She is one of the successors of the Womanifesto Thailand (est.1997-), a group of female artists and creative activists gathering to drive the new ideas pertaining to art and the community. Her works mostly centre on the art and culture space through social involvement. She acted as the Project manager and Co-Curator for the NOR-TH -Norway and Thailand - Converging Line, a Prelude to Globalization, which is the collaborative art project between Norway and Thailand in 2005. Also, she is the founder of SoulMade Yoga (2011-2016), aiming at enhancing human’s potential under the social conditions of capitalism. In the project 365 Days: LIFE MUSE, Preenun has focused on the instilment of the root of life, i.e. herbal plants and their nutritional functions in daily life. The fact that she was born and grew up in Thailand with her PersianIndian ancestral background has caused her nationality to be mistaken by many people when they first met her. Such experience has resulted in her familiarity with this misunderstanding amongst Thais. As she was born and grew up in the condition of Thai society and culture, and when considering the root of forebears’ history and cultures, to her, food has been her first sense of identity that could portray her stories and memories from the old days. Preenun utilsed herbs as the key material for her creative collaboration with the Burmese workers, by arranging spaces that have encouraged mutual exchange amongst artist, foreign workers and the community. The DIY concept of potted-garden system in utterly limited space has become the direction that can be further developed while satisfactorily bearing outcomes. Preenun has started from searching for Burmese and Indian herbs, local herbs in the area, planting soil and organic fertiliser from the community. Consequently, that process has created the inter-relationship between individuals and the local area in order to generate negotiating power under the cultural condition. “While the search for ‘root’ is inevitable since it gives mental security, Stuart Hall (1923-2014), the cultural theorist, has mentioned the ‘root’ more in the relaxing way of solution or option than in the way that sticks to self-identity[1]. In this project, Preenun has presented the resilient concept that human beings could move freely and adjust oneself while instilling the ‘root’ rather than fixedly planted, in order to create the awareness of the possible and non-resisting diversity of cultures that exist in form of ‘relations’. 1 Thanet Wongyannawa – The Nonmulticulturalism of the multiculturalism : 2557. 96. Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
60
Rachan Klomklieng
ราชันย์ กล่อมเกลี้ยง บ้านในใจ, 2559 รวมมือกับ : ชอว สุ, จอว โมว พนสี, 500 x 300 ซม.
Rachan Klomklieng A Home in the Heart, 2016 In collaboration with : Chaw Su, Kyaw Moe spray paint, 500 x 300 cm ราชันย กลอมเกลี้ยง เกิดปีพ.ศ. 2525 ในจังหวัดราชบุรี พ�านักและท�างานที่ราชบุรี ประเทศไทย เขาจบการศึกษาปริญญาตรีสาขา จิตรกรรม จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วิทยาเขตพระนครใต ผลงานจิตรกรรมบนผนังของเขาครอบคลุมหลาย พื้นที่ในหลายประเทศทั้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เอเชีย และออสเตรเลีย เขาประดิษฐอักษรไทยเพื่อแสดงอัตลักษณและ เอกลักษณตัวแทน เขาแทรกแซงหรือรือ้ สรางระบบการสรางรองรอยการพนผนังตามอิทธิพลตะวันตก รูปสัญญะและการผลิตซ�า้ ของ ประโยคและความหมาย มีนัยยะเชิงวิพากษสังคม-การเมือง และวัฒนธรรม การสรางตัวบทในรูปประโยคผานระดับชั้นของการ อานหรือถอดรหัส มักแสดงออกในผลงานของเขา นอกจากนี้เขายังใหความสนใจกับงานสรางสรรคประเภทเสียงและการแสดงสด ความหมายเชิงดนตรีชาติพันธุวิทยาขยายพื้นที่ผานประสบการณและระบบการยอย พบเห็นไดในผลงานทั้งจิตรกรรมและดนตรี ความสามารถทางกลองยาวชาติพันธุ สืบเนื่องจากบรรพบุรุษสูรุนที่ 9 ชุมชนบานหนองบัวคาย อ�าเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี เป็น ผลงานเชิงอนุรักษที่กอสมดุลในผลงานสรางสรรคประเภทอื่นๆ และเชื่อมโยงตนเองกับวัฒนธรรมยอย (Sub culture) อยูเสมอ ในการลงพื้นที่โครงการ 365 Days: LIFE MUSE ราชันย ใหความสนใจตอความหมายของค�าวา “บานในใจ” รากฐานของความเป็น ครอบครัวเกิดขึ้นที่บาน แมรี ดักลาส Mary Douglas (1921-2007) นักมานุษยวิทยาชาวอังกฤษ เสนอวาบานไมจ�าเป็นตองเป็น พื้นที่ทางกายภาพ แตมีความเกี่ยวของกับแบบแผนของกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นปกติ และมีโครงสรางภายใตกรอบคิดเรื่องเวลา ณ จุดนี้บานคือการจัดการของกาลภายใตเงื่อนไขของเทศะ (Space over time) และการก�าหนดวันเวลาก็คือโครงสรางพื้นฐานของ ชุมชน[1] บานที่ศิลปินพยายามสื่อสารยังหมายถึงศูนยกลางของการอุปมาถึงความทรงจ�าและอัตลักษณ เป็นหลักการอันแทจริง ของการหลอมรวมเชิงจิตวิทยา บานในที่นี้จึงผูกพันกับประสบการณภายในที่บุคคลสั่งสมมาตลอดระยะเวลาของการเดินทาง ผลงานของราชันยแบงออกเป็น 2 สวนไดแก ผลงานจิตรกรรมบนผนังและผลงานแสดงสดกลองยาวพมารวมกับ WAFT LAB ศิลปิน ดานเสียงในโครงการฯ อาจกลาวไดวาในมิติของผลงานจิตรกรรม ราชันยออกแบบอักษรพมาในความหมายเชิงนามธรรมเพื่อเป็น เครื่องแสดงถึงความเป็นตัวแทน (Representation of representation) ขณะที่ผลงานดนตรีซึ่งเป็นนามธรรม เขากลับตอกย�้า ตนเองดวยส�าเนียงดนตรีชาติพันธุที่มีเอกลักษณชัดเจน ทั้งสองสิ่งนี้ด�ารงอยูภายใตความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่เปราะบาง 1 David Morley- Home Territories; media, mobility and identity : 2006, หนา 16. Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Rachan Klomklieng born in 1982. He lives and works in Ratchaburi, Thailand. He graduated with a Bachelor’s Degree in Painting from Rajamangala University of Technology Krungthep, South Bangkok Campus. His wall painting arts have been created and cover many areas in many countries in Southeast Asia, Asia, and Australia. He has created Thai fonts conveying identity and representing uniqueness so as to intervene or reconstruct the system graffiti under western influence. The symbolism and the reproduction of sentences and their meanings imply the criticism towards society, politics, and culture. The making of the scripts in the form of sentences, which required certain levels of reading and decoding, has been normally expressed in his artwork. In addition, he is interested in creating sound and live performance arts. The ethno-musicological meaning has been expanded through the experience and thinking process could be seen in his work, which involves paintings and music. The ethno-tom-tom skill, inherited from the ninth ancestral generation of the Nong Bua Kai Community, Chom Bueng, Ratchaburi, is the conservative performance that always generates balance in other creative artwork while connecting himself with sub-cultures. In his participation in the project 365 Days: LIFE MUSE, Rachan has focused on the meaning of the word “Home in the Heart”. The foundation of being a family begins at home, Mary Douglas (1921-2007), a British anthropologist, proclaimed that a home does not need to be a physical space, but is related to the pattern of regularly performed activities and is structured within the framework of time. At this point, a home is the management of space over time; and the scheduling of date and time is the basic structure of the community[1]. The home that artist has attempted to communicate also means the center of metaphor for memories and identities, which is the true principle of psychological unifying. A home is then attached to the inner experience an individual has been gathering throughout the journey. Rachan’s work was divided into 2 parts: wall paintings and Burmese tom-tom live performance with WAFT LAB sound artist who participated in this project. It could be said that in the dimension of the paintings, Rachan has designed Burmese fonts with the abstract meaning in order to be the representation of representation. Meanwhile, in his abstract musical performance, he reinforces himself with ethno-musicological accentuated with noticeable uniqueness. Both parts do exist within the diversity of sensitive cultures. 1 David Morley- Home Territories; media, mobility and identity: 2006, 16.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
62
Suraporn Lertwongpaitoon
สุรพร เลิศวงศ์ ไพฑูรย์ เพื่อความเป็นอยู่ที่แท้จริง, 2559 ใบประกาศ, 42 x 59.4 ซม. ตอแผน, 42 แผน
Suraporn Lertwongpaitoon For True Living, 2016 poster, 42 x 59.4 cm each, 42 pcs. สุรพร เลิศวงศไพฑูรย เกิดปีพ.ศ. 2508 กรุงเทพฯ พ�านักและท�างานที่ราชบุรี-กรุงเทพฯ ประเทศไทย เขาจบการศึกษาภาควิชา จิตรกรรม คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร มีความสนใจขามศาสตรการออกแบบและศิลปะ สรางสรรคผลงานในมิติหลาก สื่อ (Media) จากประสบการณงานสรางสรรค อาทิ หัวหนาฝ่ายพัฒนาและสรางสรรคใหกับ J. Walter Thompson ประเทศไทย งานภัณฑารักษ โครงการติดศิลป์บนราชบุรี# 2, 2013 และการท�างานขับเคลื่อนศิลปะชุมชนเขตเมือง (Urban art movement) ในพื้นที่จังหวัดราชบุรีรวมกับกลุมศิลปินทองถิ่นในชื่อจารทาวน (Jartown artists collective) ซึ่งท�างานในพื้นที่วัฒนธรรมยอย (sub-culture) ผลงานของสุรพร ตอกย�้าแนวคิดหลังโครงสรางนิยม (Post-structuralism) และความเป็นมายาคติ (Mythology) ของสิ่ง เขามักใชแนวทางสัญศาสตร (semiology) เพื่อกอกวนและตั้งค�าถามเชิงวิภาษในมิติที่ขบขัน ยอนแยงมโนทัศนทางสังคม และความเชื่อทางวัฒนธรรมอยางนาสนใจ ผลงานของสุรพร มีความส�าคัญตอโครงการ 365 Days: LIFE MUSE อยางยิ่ง เนื่องจากเป็นผลงานที่ถูกใชจริงเพื่อใหเกิดผลตาม เป้าหมายของโครงการฯ ศิลปินไดสรางตัวส�าเนาบทเพื่อน�าไปประชาสัมพันธ เรียกรองใหเกิดความสนใจจากแรงงานขามชาติชาว พมาในพื้นที่ชุมชนหนองโพและชุมชนใกลเคียงเพื่อสมัครเขารวมโครงการฯ มันแสดงออกถึงแรงจูงใจและความยอนแยงในฐานะ เป็นสื่อประชาสัมพันธ โดยน�าเสนอความจริงตามสภาพโครงการฯส�าหรับที่อยูอาศัยขนาดเล็ก ซึ่งโครงการฯเปิดใหพักอาศัยโดย ไมคิดมูลคา ระยะเวลา 365 วัน แผนป้ายโฆษาณาไดถูกกระจายไปในพื้นที่โรงงานที่มีแรงงานชาวพมาท�างาน ตลาดสด รานคา และวัด ตัวบทที่ศิลปินออกแบบยอนแยงกับมายาคติของการโฆษาณาชวนเชื่อ ท�าใหความเขาใจตอตัวบทเกิดอาการกลับดาน การเรียกรองความสนใจเดินคูขนานไปกับการบอกเลาขอบกพรอง ซึ่งทางโครงการฯอสังหาริมทรัพยด�าเนินการจัดสรรแกผูที่ ตัดสินใจยายมาอยูในโครงการบานชั้นเดี่ยว ไมหรูหรา ไมมีสนามหญา ไมมีสระวายน�้า ไม......ฯลฯ ไมขาย ไมใหเชา เขาอยูฟรี ขณะทีต่ วั บทท�าหนาทีส่ อื่ สารตอผูรับสารแบบตรงไปตรงมาซึง่ ไดเผยความจริงบางอยางทีไ่ มนาสนใจ หรือไมนาจะสือ่ ในรูปของสาร ส�าหรับนักสื่อสารมวลชนนั้นอาจมีความจริงมากมายที่มักจะถูกปกปิด ซอนเรน เบี่ยงเบน ความจริงอันวางเปลาจึงมักเป็น สิ่งรบกวนความนึกคิดและการตัดสินใจ Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Suraporn Lertwongpaitoon was born in 1965, Bangkok. He lives and works between Ratchaburi and Bangkok, Thailand. He graduated from the Department of Painting, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University. He is interested in interdisciplinary design and arts. His work has been delivered in various dimensional media from his own experience in creative fields, for instance, Head of Development and Creative Division for J. Walter Thompson Thailand, Curator for the project ‘We Are The City# 2, 2013. He also drives the ‘Urban Art Movement’ in Ratchaburi by joining force with the local artist group named ‘Jartown Artist Collective’, who works in the area of sub-culture. Suraporn’s works reinforce the Post-structuralism and Mythology of things. Using semiology is his way to stir and dialectically question the paradox of social concept and cultural beliefs in a very interesting way. Suraporn’s work plays a very important role in 365 Days: LIFE MUSE project. This was because his works were implemented to achieve the initial project’s goals. The artist wrote a copywriting for public relations purpose, drawing attention and participation from Burmese workers in the Nongpo Community and the vicinity. This, as medium for public relations, expressed the motivation and the paradox of the situation by presenting the factual condition of the project offering a small-sized residence for free for 365 days. Publicity posters were spread out into factories where there were a lot of Burmese workers, be it fresh markets, shops and temples. The copywriting created by the artist was paradoxical to the myth of propaganda that has caused the reverse understanding to the copywriting. The call for attention went alongside with the description portraying the flaw of this particular real estate project, which was allocated to those who decided to move into this small one-storey house without any luxury, without lawn, without swimming pool, without..... etc. This house couldn’t be sold or rented, but one could stay for free. While the copywriting itself was served to communicate directly with the recipients, it did reveal some truths that were uninteresting or not supposed to be communicated in this form of message. For mass media publicists, there may be many truths that were hidden, concealed, and twisted, thus the naked truth was always an annoyance to thoughts and decision making process.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Thatchatham Silsupan, PhD
64
ธัชธรรม ศิลป์สุพรรณ เตาง์ เทะ สุ เนะ ปิ วา ยา เซย์ ตาร์, 2559 รวมมือกับ : ชอว สุ, จอว โมว, ซอว ซอว, ศิวัช เมฆสุวรรณ 45 ล�าโพงกระดาษ, เครื่องขยาย, เสียง, 3 นาที 10 วินาที, วน
Thatchatham Silsupan Taung Tae Su Nae Pyae Wa Ya Say Thar, 2016 In collaboration with : Chaw Su, Kyaw Moe, Zaw Zaw, Siwat Maksuwan 45 paper speakers, amplify, sound, 3 min 10 sec, loop ธัชธรรม ศิลป์สุพรรณ เกิดปีพ.ศ. 2530 ที่เชียงใหม พ�านักและท�างานที่เชียงใหม ประเทศไทย ปัจจุบันด�ารงต�าแหนงอาจารยประจ�า สาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ ภาควิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม เขาจบ การศึกษาปริญญาเอกดานดนตรี จาก University of California-Berkeley สหรัฐอเมริกา ในปีพ.ศ. 2559 และไดศึกษา องคประกอบศิลปะทางดนตรีจาก Ken Ueno และ Franck Bedrossian ในฐานะนักประพันธดนตรีเชิงสรางสรรค และการจัดการ ดูแลงานศิลปวัฒนธรรม งานของธัชธรรมจึงใหความสนใจในประเด็นการสรางสรรคในโลกที่เรนลับของเสียง เพื่อน�าเสนอความรู และปรากฏการณในเรื่องความงามของเสียงที่มักจะถูกมองขามในงานเสียงแบบประเพณีนิยม โดยเนนย�้าลักษณะธรรมชาติของ สุนทรียภาพของเสียงที่ค นพบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและศักยภาพในการใชเทคโนโลยีนอกจากการท�างานในดาน ประพันธเพลงคลาสสิกส�าหรับแสดงในคอนเสิรตแลว เขายังคนควาแนวทางสรางสรรคที่กาวขามพรมแดนของงานเสียงไปสูพื้นที่ ที่หลากหลาย อาทิ ศิลปะจัดวางเสียง (Sound installations) สารคดีเสียง (Audio documentary) การแสดงปฏิภาณดนตรี เชิ ง กลุม (Collective improvisation) เสีย งกับ การมีสวนรวมทางสังคม (Audio-socio engagement) และผลงานรวมสื่อ (Inter-media) ในโครงการ 365 Days: LIFE MUSE ธัชธรรม สรางสรรคผลงานประเภทเสียงจัดวาง (Sound installation) โดยใหความสนใจเกี่ยว กับเพลงประชานิยม เพลงที่ติดหูส�าหรับแรงงานชาวพมาหลายๆคน ธัชธรรมท�าการศึกษาความสนใจของแรงงานชาวพมาที่มีตอ แนวดนตรีแนวเพลง และเนื้อหาบทเพลง เขาน�าเสนอบทเพลงที่แรงงานชาวพมาชื่นชอบในลักษณะภาพตัวแทนของความเป็น ตัวแทน (Representation of representation) ดวยเหตุที่เสียงมีศักยภาพสัมผัสโดยตรงสูการรับรูทางสุนทรียภาพผานสรีระ รางกายของมนุษย ในมิติที่หยั่งลึกมากกวาการทัศนาเพียงสายตา สรางประสบการณรวมภายในบุคคล บทเพลงที่แรงงานชาวพมา สะสมทั้งหมดกลายเป็นเครื่องมือสื่อสารที่ใชบอกเลาความรูสึก นอกเหนือจากวิธีสื่อสารดวยค�าพูด บทเพลงเหลานั้นแสดงออกเชิง อัตวิสัยและใหความหมายที่ลึกซึ้งอยางมีนัยยะเมื่อเทียบกับบทสนทนาทั่วไป ธัชธรรมใชขบวนการ DIY จัดอบรมใหความรูการ
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
ประดิษฐล�าโพงกระดาษ และไดรับความรวมมือจากแรงงานชาวพมารวมกันสรางล�าโพงกระดาษจ�านวนมากมาย เพื่อใชเป็น กระบอกเสียงรองเรียกความรักที่ในขณะเดียวกันก็เป็นความรักในแบบทีไ่ มตองการครอบครอง และพรอมทีจ่ ะถูกปฏิเสธกระบอกเสียง จ�านวนมากเหลานี้อาจไมพอเพียงที่จะท�าใหคุณหันมาสนใจหรืออาจไมเพียงพอแมแตจะไดยินดวยซ�้า ความไพเราะในบทเพลงที่ ขับรองโดยแรงงานชาวพมา อาจไมสามารถปรากฏแกโสตประสาทภายใตเงื่อนไขทางสังคมและวัฒนธรรมที่บกพรองการไดยิน ไดฟัง Thatchatham Silsupan was born in 1987, Chiang Mai, Thailand. where he resides and works. in Chiangmai, Thailand. Presently, he works as a full-time lecturer at the Department of Media Arts and Design at the Faculty of Fine Arts, Chiangmai University. He graduated with a PhD in Music, University of California, Berkeley, USA in 2016. He also studied the musical composition with Ken Ueno and Franck Bedrossian. As a constructive music composer and with his management of art and culture, Thatchatham’s works are focused on the notion of the creation in the mystic world of sound in order to present the knowledge and phenomenon in the beauty of sound, which is always overlooked in the traditional sound work. This is done by emphasising on the natural characteristics of the aesthetics of sound found in the Southeast Asia region, and also on the potentiality to technological deployment. Apart from his works in composing classical music for concerts, he still studies the constructive ways that go across the boundary of sound work into diverse areas, such as sound installations, audio documentary, collective improvisation, audio-socio engagement and inter-media. In the project 365 Days: LIFE MUSE, Thatchatham has produced the sound installation, by focusing on pop music, hit songs among many Burmese labour. Thatchatham has studied these Burmese workers’ interest in music and song style, and the musical contents. He has presented these Burmese workers’ favorite music in the form of Representation of representation. This is because sound has the potential to be touched and can directly turn into aesthetic perception through human’s body penetrating into deeper dimension than just the eyes’ view, while providing real experience within an individual. All songs collected by Burmese workers have become communicating tools to describe the feelings, apart from verbal communication. These songs represented subjectivity and signify deeper meaning when compared to general dialogue. Thatchatham used DIY procedures doing the training to create paper speaker innovation. With the cooperation from the Burmese workers, they have produced a large number of paper speakers to be used as a calling voice for love, which was the love that required no ownership and at the same time, was ready to be rejected. These plentiful voices may not be sufficient to draw attention or even to be heard. The beauty in the songs sung by these foreign workers may not be able to be touched nor felt under the social and cultural condition where the ability of hearing and listening were not really there.
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Varsha Nair
วาร์ชา แนร์ แผนที่ในทรงจ�า, 2559 รวมมือกับ : พระมหาสมคิด อตถฺสิทฺโธ, ชอว สุ, จอว โมว, สุภาภรณ มีมาลัย, สุเทพ บุญประสพ, มณีรตั น คณานุกลู , หนู กิม ศรีสมุทร, กัญฐนา มารอด, ฉัตรมงคล พึ่งสวาง, ฉัตรโชค พึ่งสวาง, สุธิดา พละสุ, ลักษมี ความรวมมือวาดเสนและเขียนมือบนใบ ลาน, ดินสอ, หมึก, สีฝุ่นเทมเพอรา, 72 x 7 ซม. ตอแผน, 22 แผน, บทความบนกระดาษ, 21 x 29.5 ซม. ตอแผน, 12 หนา
Varsha Nair Memory Maps, 2016 In collaboration with : Pramaha Somkit Adhasittho, Chaw Su, Kyaw Moe, Supaporn Meemalai, Suthep Boonprasop, Maneerat Khananukul, Noogim Srisamut, Kanthana Marod, Chatmongkon Puengsawang, Chatchok Puengsawang, Suthida Palasu, Lakshmi. collaborative drawing on bai larn (palm-leaf), pencil, ink, egg tempera, 72 x 7 cm each, 22 pcs., text on paper, 21 x 29.5 cm each, 12 pages
66
วารชา แนร เกิดปีพ.ศ. 2500 ในประเทศอูกันดา ปัจจุบันพ�านักและท�างานที่กรุงเทพฯ เธอจบการศึกษาปริญญาตรีสาขาทัศนศิลป์ จาก Maharaja Sayajirao University of Baroda ประเทศอินเดีย เธอเป็นผูรวมกอตัง้ Womanifesto Thailand (est. 1997-) กลุ มศิลปินสตรีและนักกิจกรรมสรางสรรครวมตัวกันเพื่อขับเคลื่อนแนวคิดใหมๆ วาดวยเรื่องศิลปะกับชุมชน ผลงานของเธอมีความหลากหลายและอาศัยสหวิทยาการ (multidisciplinary) ในขบวนการการสรางสรรคและความรวมมือ (collaborations) ซึ่งรวมถึงแนวทางและวิธีตางๆ อาทิ การท�า การเขียน การบริหารจัดการ รวมถึงการ ผลักดันใหเกิดความรวมมือของสิ่งและคนรวมกัน แนร มีสถานภาพไมตางจากผูยายถิ่นฐานอื่นๆ เธอเกิดในประเทศอูกันดา ระหวาง การขึ้นครองอ�านาจของ อีดี้ อามิน สงผลใหครอบครัวยายไปอินเดียและประเทศ อังกฤษในเวลาตอมา จากนัน้ ยายกลับมายังบานเกิดของบิดามารดาทีร่ ฐั คุชราต ประเทศ อินเดีย ตอมาไดยายถิ่นฐานมาที่กรุงเทพฯ เป็นเวลากวา 30 ปี แมเธอจะคุนเคยกับ สังคมและวัฒนธรรมไทย หากบางสิ่งยังความไมแนนอนตอแนวโนมการโยกยายซึ่ง อาจเกิดขึ้นในอนาคต การเก็บรวบรวมบันทึกที่ทาง พื้นที่จ�าเพาะในมิติของเวลา และ พื้นที่ด วยความรวมมือจากชุมชนฯท�าใหผลงาน ”แผนที่ ในทรงจ�า ” เป็นสิ่งที่ควร พิจารณาอยางยิ่ง ศิลปินและชุมชนรวมกันบันทึกรองรอยที่ซอนทับผานกระบวนการ ศิลปะความรวมมือโดยการวาดเสน (Collaborative drawing) สรางคัมภีรใบลาน รวมสมัยของชุมชนฯ โดย แนร ใหความสนใจและตั้งค�าถามเกี่ยวกับ “บาน” และ ความหมายของค�าวา “บาน” วาคืออะไร ที่ไหนคือที่ๆ ท�าใหคุณรูสึกวาเป็น “บาน” และ “บานนัน้ ควรประกอบไปดวยอะไรบาง Gaston Bachelard นิยามค�าวา บาน คือ พื้นที่อาศัยที่ขามพนไปจากความหมายของพื้นที่ทรงเรขาคณิต สวนในพจนานุกรม ฉบับ Oxford English ระบุวาบานคือสถานที่ ภูมิภาค หรือรัฐ ซึ่งบุคคลเป็นสวนหนึ่ง มีความผูกพัน หรือเป็นทีซ่ งึ่ บุคคลรูสึกปลอดภัยส�าหรับพักพิง ผอนคลาย หรือพึงพอใจ รากเหงาหรือสถานะของบานตามเงื่อนไขทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตรของ พื้นที่ มักแสดงออกดวยคูตรงขามระหวางการเป็นสวนหนึ่ง กับการเป็นสิ่งแปลก ปลอมเสมอ บานและรัฐชาติที่เกิดขึ้นจากโครงสรางประดิษฐ Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
หลังอาณานิคมและโลกาภิวัฒน (Postcolonial and Globalisation) ไดเสนอกรอบคิดที่คับแคบดวยสภาวะ ไรราก โดยเนนย�้าถึงความไมเทาเทียมกันของพลังทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งกับชนชั้นต�่าและชนชั้น แรงงาน ทฤษฏีปิตุภูมินิยมแบบจักรวาลทัศน (Cosmopolitan patriotism) เติบโตขึ้นในชวงกลางทศวรรษ 1980 กลายเป็นทางเลือกภายใตความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทีด่ า� รงอยูภายใตเงือ่ นไขของการเดินทางโยก ยายถิน่ ฐาน รากเลือ่ นอาจหมายถึงรากฝอย รากอากาศ ฯลฯ ตามแนวคิดแบบจักรวาลทัศนกรอบคิดของรากในที่ นี้มีความยืดหยุนสูงกวา มีความสุขสนุกสนานรวมกับการด�ารงชีวิตอยูกับคนอื่นๆ ตลอดจนสิ่งอื่นๆ ได ตราบ ใดก็ตามที่ความเป็นสิ่งอื่นและการชื่นชอบสิ่งอื่นๆ ไมไดเกิดขึ้นจากการบีบบังคับ[1] ดวยกรอบคิดแบบปิตุภูมิ นิยมแบบจักรวาลทัศนท�าใหความหมายของบานและความหมายรัฐชาติสามารถประนีประนอมกันได แต่ส�าหรับ แรงงานชาวพมาเมื่อเขากลาววา “พมาคือประเทศของฉัน เมืองไทยคือบานของฉัน” คุณรูสึกอยางไร ? 1 ธเนศ วงศยานนาวา-ความไมหลากหลายของความหลากหลายทางวัฒนธรรม : 2557, หนา 94-100.
Varsha Nair was born in 1957, Uganda. She now lives and works in Bangkok. She graduated with a B.A. in Visual Art from Maharaja Sayajirao University, Baroda, India. She is one of the co-founders of Womanifesto Thailand (est. 1997), a group of female artists and creative activists gathering to drive the new ideas pertaining to art and the community. Her works are diverse and rely on multidiscipline with the creative process and collaborations, which encompass various approaches and genres including the making of artworks, writing, organizing, and encouraging collaborative processes. Nair herself is not much different from other migrants; being born in Uganda, then moving to India and during the rule of Idi Amin her family finally settling in the UK. Later she returned to her parents’ homeland in Gujarat, India. She moved to Bangkok and has lived there ever since. Having lived in Thailand for 30 years. Even though she gets used to Thai society and culture, but the feeling of uncertainty of living as a migrant anywhere and in any condition is always present among most migrants, according to her. The collecting of the notes from specific area within the dimension of time and space by the involvement of the community has made her work titled ‘Memory Maps’ really worth considering. The artist and members of the community co-worked to record their memories and impressions through the process of drawing on palm leaves to create contemporary manuscripts. Nair’s focus and question is about the meaning of ‘home’: what place makes one feel ‘as home’, and what a ‘home’ should be comprised of. Gaston Bachelard has defined ‘home’ as a residential space that goes beyond the meaning of geometric spaces. Meanwhile, The Oxford English Dictionary defines ‘home’ as a place, a region or a state where an individual belongs and bonds with, or a place where an individual feels safe to stay, relaxed, or contented. The root or the status of a home according to the geographical and historical condition of the areas is always expressed in the opposing situations between belonging and alienation. The home and the nation-state that were generated from the invented artificial structure of Postcolonial and Globalisation have presented a framework that is narrow because of conditions of rootlessness created by emphasising the inequality of cultural power, particularly with low-class and labour-class people. The theory of Cosmopolitan Patriotism that grew during mid 1980 has become an option under the diversity of cultures that exist under the condition of migration. Sliding root could mean fibrous root, aerial roots, etc. According to the concept of Cosmopolitan Patriotism, the framework of the above mentioned root is more flexible, enjoying living with other people and other things as long as its otherness and admiration are not forced.[1] With the framework of Cosmopolitan Patriotism, the meaning of home and nation-state can be reconciled. But for Burmese labourers, if they say “Myanmar is my country while Thailand is my home”, how does this make you feel? 1 Thanet Wongyannawa – The Nonmulticulturalism of the multiculturalism : 2014, 94-100. Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
365 d Archive OCAC Observation Team
68
คณะสังเกตการณ์ OCAC : คณะสังเกตการณ OCAC (OCAC Observation Team) คือกลุมความรวมมือของเครือขาย ซื่อ ตง โล, ยวิ่น หยู โจว, ที่จัดตั้งขึ้นเฉพาะกิจ เป็นการท�างานรวมกันระหวางศิลปินและนักเขียนเพื่อเก็บ รวบรวมขอมูล จื้อ หมิง เฟิง, ไรคี่ เจิ้ง-No คัดสรรตัวบทตางๆ อาทิ เอกสาร อางอิง ภาพถาย บทสัมภาษณถามตอบ เสียง ฯลฯ เพือ่ น�าเสนอ Man’s land ล�าดับเหตุการณและแสดงตัวบทอางอิงความเคลื่อนไหว และความหมายของการมีส วนรวม ในการทดลองชุมชนระหวางแรงงานชาวพมา ชาวบานทองถิ่น ศิลปิน รวมถึงคณะผูด�าเนินงาน 365 d บันทึก, 2559 สนับสนุนโดย Open โครงการฯ ตามกรอบระยะเวลา 365 วัน ดวยรูปแบบของสมุดปฏิทินบันทึกประจ�าวัน และ Contemporary Art Center การจั ด แสดงผลบั น ทึ ก ขอมู ล เหลานั้ น ในรู ป แบบศิ ล ปะจั ด วางภายในพื้ น ที่ ส วนจั ด แสดง สมุดบันทึกประจ�าวัน, เสียง 365 d Archive การส�ารวจขุดคนและบันทึกอยางเป็นล�าดับเวลา ไดแสดงใหเห็นถึงพัฒนาการ ทางสังคมวัฒนธรรมของแรงงานชาวพมาที่เขารวมโครงการ 365 Days: LIFE MUSE และ OCAC Observation Team : พั ฒ นาการการเรี ย นรู เพื่ อ การอยู ร วมกั น ภายใต ความหลายหลายทางวั ฒ นธรรมใน Shih Tung Lo, Yun Ju Chou, ชุมชนหนองโพ ล�าดับเวลาดังกลาวแสดงออกในรูปลักษณะของสมุดปฏิทินบันทึก ซึ่งคณะ Zi Ming Feng , Rikey สังเกตการณ OCAC มีแนวคิดเชิงสอบสวนและขยายผลภาพรวมของโครงการฯ ผานมุมมอง Tenn-No Man’s land ของแรงงานชาวพมา ชุมชน ศิลปินและผู ด�าเนินโครงการฯ เปิดพื้นที่ ใหผู ชมเขาถึงขอมูล 365 d Archive, 2016 อยางเป็นล�าดับ เผยตัวบทอางอิงค�าพูดจากแรงงานชาวพมาซึ่งสะทอนความรูสึก ความสัมพันธ Supported by Open และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลา 1 ปีที่ผานมา Contemporary Art Center diary, sound Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
The OCAC Observation Team is a network’s collaborative group specially formed for 365 Days: LIFE MUSE project. The team included artists and writers who have gathered information and selected significant content such as document, references, photos, interviews and sound to create timeline and portray the referring content including the essence of the experiment from the community collaboration between Myanmar labourers, villagers, artists and project organizers within 365 days of time frame. The result of the work was recorded in the form of a calendar diary along with an exhibited installation of the 365 d Archive. The chronicle archives which were attained through surveying and researching revealed the social and cultural development of the Myanmar labourers who have participated in the 365 Days: LIFE MUSE project including the progress of learning of the co-existence under the cultural diversity in Nongpo community. The record of the events, in the form of calendar diary by the OCAC Observation Team, was created through the notion of the process of investigation and extended results of the overview of the whole project toward the perspective of Myanmar labourers, community, artists and project organizers. This allowed the audience to chronologically reach the information that disclosed the content stated by Myanmar labourers, expressing their feelings, relationship and transformation that have occurred throughout the past 1 year.
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
70 โครงการวิจัยเชิงทัศนศิลป์ และนิทรรศการศิลปะร่วมสมัย 365 วัน : พิพิธภัณฑ์ชีวิต (การศึกษาแบบจ�าลองแรงงานข้ามชาติในชุมชนหนองโพ)
นิทรรศการ 26 มกราคม – 25 กุมภาพันธ 2560 ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ กรุงเทพฯ ริเริ่มโครงการ : บานนอก ความรวมมือทางศิลปวัฒนธรรม ร่วมด�าเนินโครงการ : หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร และ บานนอก ความรวมมือทางศิลปวัฒนธรรม ผู้สนับสนุนหลัก : หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ร่วมสนับสนุน : เจแปนฟาวนเดชั่น กรุงเทพฯ หน่วยงานภาคีร่วมมือ : Open Contemporary Art Center (OCAC), Taipei. Bamboo Curtain Studio, Taipei สนับสนุนที่พ�านักศิลปิน : PASAYA สร้างแผนที่โครงการ : ชอว สุ และ จอว โมว ที่ปรึกษาโครงการกิตติมศักดิ์ : พระมหาสมคิด อตถฺสิทฺโธ (เจาอาวาสวัดหนองโพ), ผอ.สุเทพ บุญประสพ (ผูอ�านวยการโรงเรียนชุมชนวัดหนองโพ) โครงการวิจัยเชิงทัศนศิลป์และนิทรรศการ l ผูอ้ า� นวยการโครงการและภัณฑารักษ์ jiandyin (จิระเดช และ พรพิไล มีมาลัย) / ผูจ้ ดั การโครงการและผูช้ ว่ ยภัณฑารักษ์ สุพิชญา ขุนช�านิ / ผู้ช่วยผู้จัดการโครงการฯ ธเนศ ทรัพยศาสตร, กิติวรรณ เสนีวงศ / ที่ปรึกษาด้านกิจการ สัมพันธ์และประสานงานชาวพม่า เมาง เดย / ออกแบบนิทรรศการ จิระเดช มีมาลัย / เอก สุวรรณรัตน / อวิกา สมัครสมาน / ติดตั้งนิทรรศการ ทีมงานหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร / จิระเดช มีมาลัย / เอก สุวรรณรัตน / อวิ ก า สมั ค รสมาน / วี ร ยุ ท ธ มู ล ศาสตร / ซื่ อ ตง โล / เจี ย เหวย สวี่ / ออกแบบกราฟฟิ ก นิ ท รรศการ ศุภกานต วงษแกว / กิตวิ รรณ เสนีวงศ / ถ่ายภาพ เชีย่ น เหวย / เพย จวิน ซือ่ / สะรุจ ศุภสุทธิเวช / สรีนา สัตถาผล / จิระเดช และ พรพิไล มีมาลัย / ภาพยนตร์สารคดี จิระเดช มีมาลัย / วางบทแปล ธเนศ ทรัพยศาสตร / ถอดค�า และแปลบทภาพยนตร์สารคดี ปรีณัน นานา / พรพิไล มีมาลัย / 365 d บันทึก คณะสังเกตการณ์ OCAC ซือ่ ตง โล / ยวิน่ หยู โจว / จือ้ หมิง เฟิง / ไรคี่ เจิง้ -No Man’s land) / ออกแบบสมุดบันทึก ซือ่ ตง โล / เพย จวิน ซือ่ / เหวย หมิง หวัง l
พิธีเปิดนิทรรศการและกิจกรรมประกอบนิทรรศการ l พิธีเปิดนิทรรศการ อาจารยสุเทพ บุญประสพ (ผูอ�านวยการโรงเรีียนชุมชนวัดหนองโพ / ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท (ผูอ�านวยการหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร) / คุณโนริฮิโกะ โยชิโอกะ (ผูอ�านวยการเจแปนฟาวนเดชั่น กรุงเทพฯ) / ชอว สุ และ จอว โมว / กิจกรรมเสวนาเปิดนิทรรศการ: เนื้อหาและพิธีกร วรเทพ อรรคบุตร / ร่วมเสวนา ดร. เซบาสเตียง ทายัค / ศิววงศ สุขทวี, จุฑามาส บูรณะเจตน / กิจกรรมเสวนาปิดนิทรรศการ: เนื้อหาและพิธีกร jiandyin (จิระเดช และ พรพิไล มีมาลัย) / ร่วมเสวนา สาครินทร เครือออน / แซนดี โหล / ผู้แปล สันติ ตันสุขะ / แสดงสดเสียง ราชันย กลอมเกลี้ยง & Hyper Allergic sub (Waft Lab) l
คู่มือน�าชมนิทรรศการ l ร่วมจัดพิมพ์ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร และ บานนอก ความรวมมือทางศิลปวัฒนธรรม / บทแถลงศิลปิน จิระเดช มีมาลัย / บรรณาธิการ ปรีณัน นานา / jiandyin (จิระเดช และ พรพิไล มีมาลัย) / พิสูจน์อักษร พรพิไล มีมาลัย / ปรีณนั นานา / สุพชิ ญา ขุนช�านิ / สกาวรัตน ภูธนะกูล / แปล เมธาวี เครือออน / ปรีณนั นานา / พรพิไล มีมาลัย / ออกแบบกราฟฟิกหนังสือนิทรรศการ ศุภกานต วงษแกว / กิติวรรณ เสนีวงศ / ภาพประกอบ สุพิชญา ขุนช�านิ / พิมพ์ที่ หจก. ภาพพิมพ, จ�านวน 800 เลม l
365D โปรแกรมศิลปินในพ�านัก l ผู้อ�านวยการโปรแกรม jiandyin (จิระเดช และ พรพิไล มีมาลัย) / ผู้จัดการโปรแกรม สุพิชญา ขุนช�านิ, ธเนศ ทรัพยศาสตร / ผู้ประสานงานศิลปิน ธเนศ ทรัพยศาสตร / สะรุจ ศุภสุทธิเวช / สรีนา สัตถาผล / ผู้ฝึกงาน เพนนี เจา / เชี่ยน เหวย l
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Artistic Research and Contemporary Art Exhibition 365 Days : LIFE MUSE (Model study for Nongpo community’s foreign labours)
Exhibition 26 January - 25 February 2017 at Art Centre Silpakorn University, Bangkok Project initiator : Baan Noorg Collaborative Arts and Culture Project co-organizers : Art Centre, Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture Project official support : Art Centre, Silpakorn University Project sponsor : Japan Foundation, Bangkok Project associated institutions : Open Contemporary Art Center (OCAC), Taipei / Bamboo Curtain Studio, Taipei Project accommodation support : PASAYA Project mapping : Chaw Su and Kyaw Moe Project honorary advisory boards : Pramaha Somkit Adhasittho (Abbot of Nongpo Temple) / Suthep Boonprasop (Director of Nongpo Temple Community School) l Artistic Research and Exhibition l Project directors and Curators jiandyin (Jiradej and Pornpilai Meemalai) / Project manager and Assistant to curator Suphitchaya Khunchamni / Project assistant managers Thanet Subsart, Kitiwan Saneewong / Myanmar Relations Advisor Maung Day / Exhibition design Jiradej Meemalai / Aek Suwannarat, Awika Samuksaman / Exhibition Installation Art Centre, Silpakorn University Team / Jiradej Meemalai / Aek Suwannarat / Awika Samuksaman / Weerayoot Mulasart / Shih Tung Lo / Chia Wei Hsu / Graphic designers Supphakarn Wongkaew / Kitiwan Saneewong / Photographers Chien Wei / Pei Chun Shih / Saroot Supasutthivech / Sareena Sattapon / Jiradej and Pornpilai Meemalai / Documentary Jiradej Meemalai Subtitle Thanet Subsart / Documentary transcribers & translators Preenun Nana / Pornpilai Meemalai / 365 d Archive OCAC Observation Team / Shih Tung Lo / Yun Ju Chou / Zi Ming Feng / Rikey Tenn-No Man’s land / 365 d Archive book design / Shih Tung Lo / Pei chun Shih / Wei Ming Wang l Opening Forum and Educational Activities l Exhibition opening event Suthep Boonprasop (Director of Nongpo Temple Community School) / Dr. Paramaporn Sirikulchayanont (Director of Art Centre Silpakorn University) / Mr. Norihiko Yoshioka (Director of Japan Foundation) / Chaw Su & Kyaw Moe / Opening Forum content & moderator Worathep Akkabootara / Forum speaker Sebastien Tayac PhD, Siwawong Suktawee / Jutamas Buranajade / Closing Forum content & moderators jiandyin (Jiradej and Pornpilai Meemalai) / Forum speakers Sakarin Krue-On / Sandy Hsiu-chih Lo / Forum translator Santi Tonsukha / Live Sound Performance Rachan Klomklieng & Hyper Allergic sub (Waft Lab) l Exhibition Guide Book l Co-Publishers Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture / Statements on Artists Jiradej Meemalai / Editors Preenun Nana / jiandyin (Jiradej and Pornpilai Meemalai) / Proofreaders Pornpilai Meemalai / Preenun Nana / Suphitchaya Khunchamni, Sakaorat Phuthanakul / Translators Methavee Krue-On, Preenun Nana, Pornpilai Meemalai / Graphic Designers Supphakarn Wongkaew / Kitiwan Saneewong / Portraits Illustrator Suphitchaya Khunchamni / Print at Parbpim Ltd., Part., 800 copies l 365D Artists in Residency Program l Program directors jiandyin (Jiradej and Pornpilai Meemalai) / Program managers Suphitchaya Khunchamni, Thanet Subsart / Artist coordinators Thanet Subsart / Saroot Supasutthivech / Sareena Sattapon / Interns Penny Chao, Chien Wei
Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
กิตติกรรมประกาศ l พระมหาสมคิด อตถฺสิทฺโธ, เจาอาวาสวัดหนองโพ / ครอบครัวมีมาลัย / ครอบครัวขุนช�านิ / ชอว สุ / จอว โมว / โซ ไทท อู / อ�าพัน ลีลาคงกระพันธ / ชาวชุมชนหนองโพ / ชเล วุทธานันท / อรอนงค ภัทรวารีกลุ / สายชล บุญทะวงศ / เกรียงศักดิ์ จิวานันต / มากาเร็ท เซียว / เจีย เริน่ เฉิน / คาซึเอะ ซูซุกิ / ปรมพร ศิริกุลชยานนท / กฤษฎา ดุษฎีวนิช / ศุภวัฒน เลาหชัยบุณย / ประธาน ธีระธาดา / ธวัชชัย สมคง / เอก สุวรรณรัตน / อวิกา สมัครสมาน / เฮนรี แทน / ศักดิ์สิทธิ์ คุณกิตติ / ฉัตรชัย พุมพวง / เกอ อี้ เครื่องหนัง / กรกต อารมยดี / มา อิ / เมาง เดย / เพย จวิน ซื่อ / เพชรรัตน แซอึ้ง / แซนดี โหล / สรรพจน มาพบสุข / วศิน ไพศาขมาศ / เหวย หมิง หวัง / จื้อ หมิง เฟิง / บารบาหลี / อเล็กซเฟส สตูดิโอ l
Acknowledgement l Pramaha Somkit Adhasittho, Abbot of Nongpo Temple / Meemalai Family / Khunchamni Family/ Chaw Su / Kyaw Moe / Soe Htite Oo / Ampan Leelakongkrapan / Nongpo community / Chale Vudhanun / Onanong Pattarawareekul / Saichol Bunthawong / Kriangsak Jivanun / Margaret Shiu / Chia Jen Chen / Kazue Suzuki / Suphawat Laohachaiboon / Paramaporn Sirikulchayanont / Kritsada Dussadeewanich / Pratarn Teeratada / Tawatchai Somkong / Aek Suwannarat / Awika Samuksaman / Henry Tan / Saksit Khunkitti / Chatchai Pumpuang / Ger Yi Leather / Korakot Aromdee / Ma Ei / Maung Day / Pei Chun Shih / Petcharat Sae-ung / Sandy Lo / Sanpoj Mapobsuk / Wasin Paisakhamas / Wei Ming Wang / Zi Ming Feng / Barbali Bistro Co-working Space/ Alexface Studio l
โครงการพัฒนาศิลปะร่วมสมัยชุมชนหนองโพ ปี 2559 โดย บ้านนอก ความร่วมมือทางศิลปวัฒนธรรม ผูอ้ า� นวยการ บานนอก ความรวมมือทางศิลปวัฒนธรรม พรพิไล มีมาลัย / ผูอ้ า� นวยการศิลป์ บานนอก ความรวมมือทางศิลปวัฒนธรรม จิระเดช มีมาลัย / ผูจ้ ดั การ บ้านนอก ความร่วมมือทางศิลปวัฒนธรรม สุพิชญา ขุนช�านิ / คณะกรรมการบ้านนอก ความร่วมมือทางศิลปวัฒนธรรม สาครินทร เครือออน / ซื่อ ตง โล/ เจีย เหวย สวี่/ jiandyin (จิระเดช และ พรพิไล มีมาลัย)
Nongpo community based art project 2016 by Baan Noorg Collaborative Arts and Culture Director of Baan Noorg Collaborative Arts and Culture Pornpilai Meemalai / Artistic Director of Baan Noorg Collaborative Arts and Culture Jiradej Meemalai / Manager of Baan Noorg Collaborative Arts and Culture Suphitchaya Khunchamni / Board Committees of Baan Noorg Collaborative Arts and Culture jiandyin (Jiradej and Pornpilai Meemalai) / Sakarin Krue-On / Shih Tung Lo / Chia Wei Hsu Copyright © The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture
Copyright Š The Art Centre Silpakorn University and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture