The 18th National Ceramics Exhibition

Page 1

1


การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 เจ้าของและผู้จัดพิมพ์ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 02 221 3841, 02 623 6155 ต่อ 11418,1149 Website : www.art-centre.su.ac.th Email : su.artcentre@gmail.com เรียบเรียงเนื้อหาและภาพประกอบ ศรายุทธ ภูจริต แปลภาษา เมธาวี กิตติอาภรณ์พล ออกแบบและคอมพิวเตอร์กราฟิก ศรุดา สวนสะอาด ถ่ายภาพ ชัยวัช เวียนสันเทียะ พิมพ์ครั้งแรก ตุลาคม 2559 จำ�นวนที่พิมพ์ 1,000 เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ 45/14 หมู่4 ถนนบางกรวย-จงถนอม ตำ�บลบางขนุน อำ�เภอบางกรวย นนทบุรี 11130 โทรศัพท์ 02 879 9154

2


สารบัญ List of Content

3

04

สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร Message from the President of Silpakorn University

06

คำ�นำ� Preface

08

ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 Announcement of Silpakorn University on The 18th National Ceramics Exhibition 2016

14

ผลงานฝีพระหัตถ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี Hand Painting Ceramics Piece by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn

20

บทความพิเศษ “เชิดชูเกียรติ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ เสริมศักดิ์ นาคบัว” Special Article “The Honorable Professor Emeritus Sermsak Nakbua”

26

ศิลปินรับเชิญ Guest Artists

50

ผลงานที่ได้รับรางวัล Award-Winning Entries

52

ศิลปกรรม Ceramic Art

62

หัตถกรรม Ceramic Handicraft

72

อุตสาหกรรม Ceramic Industrial

80

โล่รางวัลและเกียรติบัตรประเภทผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผาและนวัตกรรมใหม่ Trophy Award and Certificate in the Best Ceramic Entrepreneur and the Newest Innovation

82

ประเภทศูนย์ Organisation

84

ประเภทโรงงานขนาดเล็ก Small Entrepreneur

86

ประเภทโรงงานขนาดกลางและใหญ่ Medium to Large Entrepreneur

90

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร ผลงานเครือ ่ งปัน ้ ดินเผาของไทยเป็นมรดกแห่งศิลปวัฒนธรรมทีไ่ ด้รบ ั การอนุรก ั ษ์ สืบทอดเอกลักษณ์ความเป็นไทย และมีการพัฒนา สูค ่ วามเป็นสากลผ่านการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปินไทย ซึง่ แสดงให้เห็นถึงทักษะ ความสามารถในการผสมผสานแนวความคิด รูปแบบ เทคนิค ต่างๆอย่างลงตัว เพือ ่ คงไว้ซงึ่ คุณค่า ความวิจต ิ รบรรจง และสุนทรียภาพทางด้านศิลปะจนเป็นทีย ่ อมรับอย่างแพร่หลายทัง้ ในระดับชาติ และระดับ นานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากรดำ�เนินการประกวดและการจัดแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 จนถึงปัจจุบัน โดยในปี พ.ศ. 2559 นี้ นับเป็นครั้งที่ 18 ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุน และเปิดโอกาสในการสร้างสรรค์พัฒนาผลงานของศิลปินไทยอันนำ� ไปสู่การส่งเสริมการผลิต และการส่งออกเครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรม หัตถกรรม และอุตสาหกรรม รวมทั้งยังส่งเสริมให้มีการเผยแพร่ สู่สาธารณชนให้เกิดความรู้ ความเข้าใจศิลปะเครื่องปั้นดินเผา และเกิดค่านิยมในการบริโภคผลิตภัณฑ์ของไทย ในโอกาสนี้ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอขอบคุณการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทไอคอนสยาม จำ�กัด ที่เล็งเห็นความสำ�คัญในการสนับสนุนการ ประกวด การจัดแสดงนิทรรศการ รวมถึงความร่วมมือเป็นอย่างดีจากคณะกรรมการคัดเลือกตัดสินผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการดำ�เนินงานใน ส่วนต่างๆ และศิลปินผู้ส่งผลงานเข้าประกวด อันส่งผลให้การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 สำ�เร็จลุล่วงด้วยดีทุกประการ

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร

4


Message from the President of Silpakorn University Thai ceramics art is one of the precious Thai cultural heritages that we should proudly preserve and enhance. This type of art aesthetically shows skills of Thai artists through forms, techniques, and creativity concept. They are undoubtedly notable in both national and international stage. Silpakorn University has been holding the National Ceramics Exhibition since 1986 with objectives to support the production of ceramic art, ceramic handicrafts, and industrial ceramics. This year the exhibition come to its 18th. This will benefit directly to art creativity, tourism industry, export industry, as well as encourage ceramics conservation and production development. This event also enhances understanding on the beauty of Thai ceramics to all public, and creates social values on the use of Thai products. Silpakorn University would like to thank Tourism Authority of Thailand, Department of International Trade Promotion - Ministry of Commerce, Thai Beverage Public Company Limited, PTT Public Company Limited and the ICON SIAM who kindly supported the 18th National Ceramics Exhibition. Lastly, we would like to thank the jury committee, participated artists and the working committee, who respectively put efforts in making the exhibition successful.

Assistant Professor Chaichan Thavaravej President of Silpakorn University

5


คำ�นำ� การจัดการประกวด และการแสดงศิลปะเครือ ่ งปัน ้ ดินเผาแห่งชาติรเิ ริม ่ ขึน ้ เป็นครัง้ แรกโดยมติคณะรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2529 และมี การดำ�เนินงานมาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน มีการพิจารณาแบ่งผลงานออกเป็น 4 ประเภท คือประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย ประเภทหัตถกรรม ประเภทผลิตภัณฑ์ตน ้ แบบอุตสาหกรรม และประเภทผูป ้ ระกอบการอุตสาหกรรมเครือ ่ งปัน ้ ดินเผา และนวัตกรรมใหม่ เพือ ่ เปิดโอกาสและเป็นแรง ผลักดันให้ศิลปินไทยสร้างแรงบันดาลใจ และแนวความคิดในการสร้างสรรค์และพัฒนาผลงานเครื่องปั้นดินเผาที่สะท้อนถึงความสมดุลในความ เป็นไทย และความร่วมสมัยผ่านรูปแบบ เทคนิคที่หลากหลาย อันแสดงออกถึงศักยภาพในการสร้างสรรค์และเอกลักษณ์เฉพาะตน ในการประกวดศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี พ.ศ.2559 มีศิลปินส่งผลงานประเภทต่างๆรวม 209 คน รวม จำ�นวนผลงานทั้งสิ้น 260 ชุด สำ�หรับรางวัลจากการประกวดศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ประเภทศิลปกรรมร่วม สมัย ประเภทหัตถกรรม และประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม แบ่งออกเป็นรางวัลยอดเยี่ยม ประเภทละ 1 รางวัล โดยได้รับโล่และเงิน รางวัล 50,000 บาท และรางวัลผลงานดีเด่น ประเภทละ 3 รางวัล โดยได้รับโล่และเงินรางวัลๆละ 25,000 บาท และจากผลการคัดเลือกและ ตัดสินของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งสามารถเพิ่มหรือลดจำ�นวนรางวัลใดก็ได้ตามเห็นสมควร ปรากฏว่ามีศิลปินประเภทศิลปกรรมร่วม สมัยได้รับรางวัลยอดเยี่ยม 1 ราย และรางวัลดีเด่น 4 ราย ศิลปินประเภทหัตถกรรมได้รับรางวัลดีเด่น 5 ราย ศิลปินประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบ อุตสาหกรรมได้รับรางวัลดีเด่น4 ราย ประเภทผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผาและนวัตกรรมใหม่ได้รับโล่รางวัลจำ�นวน 4 หน่วยงาน และมีศิลปินได้รับคัดเลือกผลงานเข้าร่วมแสดงจำ�นวน 100 ราย รวมผลงานทั้งสิ้น 112 ชิ้น ทั้งนี้ ผลงานที่ได้รับรางวัล และผลงานที่ได้รับการ คัดเลือกเข้าร่วมแสดงมีการจัดแสดง ณ ศูนย์ศล ิ ปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ พระชนมพรรษา 6 รอบ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง สนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ในระหว่างวันที่ 12 - 30 ตุลาคม พ.ศ.2559

(อาจารย์ ดร. ปรมพร ศิริกุลชยานนท์) ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

6


Preface The National Ceramics Exhibition was held for the first time in 1986 by the intention of the government. The competition is divided into four categories of works, which are Contemporary Ceramic Art, Ceramic Handicraft, Ceramic Industrial Prototype, and the Best Ceramic Entrepreneur and the Newest Innovation. It is to encourage the creation and production of ceramics in different forms and techniques that can reflect concept and inspiration, as well as potential and uniqueness. This year, there are 209 contestants with 260 entries. Awards are given into one first prize award in each category with a trophy award and 50,000 Baht, and second prize award in each category, with a trophy award and 25,000 Baht. Awards for each category may be more or less than what indicated according to the jurors. For this year’s result in Contemporary Ceramic Art category, there is one first prize award-winning entry and 4 second prize award-winning entries. For Ceramic Handicraft category, there is no first prize award-winning entry, but 5 second prize award-winning entries. For Ceramic Industrial Prototype category, there is no first prize award-winning entry, but 4 second prize award-winning entries. For the Best Ceramic Entrepreneur and the Newest Innovation category, there are 4 award-winning selections. There are also another 100 artists with 112 sets of work selected to exhibit in this exhibition. All award-winning and selected entries are showcased at the Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty King Bhumibol Adulyadej between 12 to 30 October 2016 with the opening ceremony on 12 October 2016.

Paramaporn Sirikulchayanont, Ph.D. Director, Art Centre Silpakorn University

7


ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี พ.ศ. 2559 ……………………………………. ด้วยมหาวิทยาลัยศิลปากรร่วมกับการท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม กำ�หนดจัดให้มีการประกวดและการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ขึ้น จึงได้วางหลักเกณฑ์ไว้ ดังนี้ 1. ประเภทงานเครื่องปั้นดินเผา 1.1 เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย หมายถึง ผลงานเครื่องปั้นดินเผาที่แสดงออกถึงสุนทรียะแห่งคุณค่าหรือกระบวนการทางความคิดทางศิลปกรรม โดยผ่าน เทคนิคและกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานทางเครื่องปั้นดินเผา 1.2 เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม หมายถึง ผลงานที่มีความโดดเด่นด้านการออกแบบซึ่งสามารถแสดงออกถึงทักษะ ความชำ�นาญ ความประณีต งดงาม และ/หรือ ผลงานที่มีรากฐานความคิดและเทคนิค อิงประเพณี สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อสนองประโยชน์ใช้สอยหรือประดับตกแต่งโดยผ่านเทคนิคและกระบวนการสร้างสรรค์ ผลงานทางเครื่องปั้นดินเผา 1.3 เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบเครื่องปั้นดินเผาที่ผู้ผลิตสร้างสรรค์ออกแบบ เป็นผลงานที่ผลิตตามกระบวนการทาง เครือ ่ งปัน ้ ดินเผาทีเ่ สร็จสมบูรณ์ สามารถนำ�ไปผลิตในระบบอุตสาหกรรมได้จริงและมีความเป็นไปได้ทางการตลาด (ต้องเป็นผลงานสำ�เร็จทีย ่ งั ไม่เคยส่งเข้าประกวด และผลิต ออกจำ�หน่ายมาก่อน) มีการแสดงออกด้านความงาม ความคิดสร้างสรรค์ รูปแบบทีเ่ หมาะสมกับการใช้สอย โดยมีการสร้างสรรค์ภายใต้หวั ข้อ “ผลิตภัณฑ์ส�ำ หรับอุตสาหกรรม บริการ (Hospitality Accessories)” ได้แก่ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในธุรกิจอุตสาหกรรมโรงแรม ร้านอาหาร สปา 1.4 เครื่องปั้นดินเผาประเภทผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา และนวัตกรรมใหม่ หมายถึง องค์กร หน่วยงานขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ทั้งภาคเอกชน และภาครัฐ (กรณีเอกชน เจ้าของกิจการต้องมีสญ ั ชาติไทย) ซึง่ มีผลิตภัณฑ์เครือ ่ งปัน ้ ดินเผาเชิงอุตสาหกรรมทีม ่ อ ี ต ั ลักษณ์และนวัตกรรมใหม่ในการออกแบบ มีเทคนิคการ ผลิต การทำ�หีบห่อ การจำ�หน่าย และการดำ�เนินธุรกิจทีแ ่ สดงให้เห็นความคิดสร้างสรรค์ คุณธรรมในธุรกิจ การบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล โดยสนับสนุนนโยบายและ แผนปฏิบัติงานผลิตที่เป็นมิตรกับสังคม สิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ หมายเหตุ : ผลงานที่ส่งประกวดในแต่ละประเภท จะต้องเป็นผลงานที่ผลิตตามกระบวนการทางเครื่องปั้นดิน เผาที่เสร็จสมบูรณ์แล้วเท่านั้น ผลงานเครื่องปั้นดินเผาในประเภท 1.4 เครื่องปั้นดินเผาประเภทผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา และนวัตกรรมใหม่ ทางคณะกรรมการฯจะเป็นผู้คัดสรรรายชื่อบริษัทผู้ สมควรที่จะได้รับรางวัลและจะติดต่อไปยังบริษัทที่ได้ตัดสินให้รางวัล 2. ขนาดของผลงานศิลปกรรม ผลงานทุกประเภท แต่ละชุด (ชิ้น) ต้องมีขนาดไม่เกิน 4 ตารางเมตร 3. ผู้มีสิทธิส่งผลงาน 3.1 ผู้มีสิทธิส่งผลงานต้องมีสัญชาติไทย คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินไม่มีสิทธิส่งผลงานเข้าประกวด ผลงานฯ ต้องไม่เคยเข้าประกวดและแสดงที่ใดมาก่อน ยกเว้น การนำ�ไปแสดงในรูปแบบศิลปนิพนธ์ ซึ่งเป็นข้อกำ�หนดการสำ�เร็จการศึกษาทุกระดับ 3.2 ศิลปิน 1 ท่าน มีสิทธิส่งผลงานศิลปะเครื่องปั้นดินเผาเข้าประกวดได้ไม่เกินท่านละ 2 ชุด(ชิ้น) ต่อประเภท 3.3 มหาวิทยาลัยศิลปากร ไม่รับผลงานฯ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาเข้าประกวดทุกกรณีผู้มีสิทธิส่งงานต้องไม่นำ�ผลงานฯ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น ในกรณีมี การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น ผู้มีสิทธิ์ส่งผลงานฯ ต้องรับผิดทางแพ่งและอาญา โดยมหาวิทยาลัยศิลปากรไม่มีส่วนร่วมการทำ�ความผิดนั้น ทั้งนี้หากศิลปิน ส่งผลงานผิดประเภทคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินมีสิทธิ์ไม่พิจารณาผลงานนั้นๆ 4. การส่งผลงานเข้าประกวด ศิลปินจะต้องดำ�เนินการดังนี้ 4.1 กรอกรายละเอียดในแบบพิมพ์ของมหาวิทยาลัย โดยศิลปินจะต้องกรอก ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ และรายละเอียดอื่นๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในแบบพิมพ์ด้วยตัวบรรจง ตามข้อกำ�หนดของมหาวิทยาลัยศิลปากร 4.2 แนบสำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชน พร้อมเซ็นชื่อรับรองสำ�เนาถูกต้อง 4.3 ผลงานที่มีการติดตั้ง ศิลปินต้องแนบหรือเขียนวิธีการติดตั้งผลงานให้ชัดเจนแนบมาพร้อมกับใบสมัคร ยกเว้นบางกรณีที่ศิลปินต้องมาติดตั้งผลงานด้วยตนเอง คณะดำ� เนินงานฯ จะดำ�เนินการติดต่อนัดหมายเป็นกรณีไปผู้ส่งผลงานจะต้องติดต่อกับเจ้าหน้าที่โดยตรงก่อนที่จะมีการติดตั้งผลงาน โดยเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้แจ้งพื้นที่ในการติดตั้ง ผลงานและต้องติดตั้งในบริเวณที่กำ�หนดเท่านั้น 4.4 การส่งผลงานเครือ ่ งปัน ้ ดินเผาทางพัสดุ ต้องบรรจุในกล่องไม้หรือหีบห่อกระดาษแข็งทีก ่ น ั กระแทกได้ดี สามารถป้องกันการแตกหักเสียหายจากการขนย้ายและการกระแทก ได้และต้องวาดผังการติดตั้งผลงานแนบมาในใบสมัคร โดยทางมหาวิทยาลัยศิลปากรและหน่วยงานร่วมจะระวังรักษาผลงานทุกชิ้นที่ส่งเข้าประกวดอย่างระมัดระวังอย่างยิ่ง แต่จะไม่รับผิดชอบความเสียหายอันเกิดจากอุบัติเหตุ หรือเหตุอันสุดวิสัย 4.5 กรณีไปส่งผลงานที่ศูนย์รับผลงานส่วนภูมิภาคผู้ส่งผลงานต้องบรรจุในกล่องไม้หรือหีบห่อกระดาษแข็งที่กันกระแทก สามารถป้องกันการแตกหักเสียหายจากการขนย้าย และการกระแทกได้พร้อมแนบวิธีการติดตั้งผลงานมาพร้อมกับใบสมัคร 4.6 ศิลปินผู้ส่งผลงานจะได้รับสูจิบัตรการแสดงฯ ท่านละ 1 เล่ม โดยจะต้องมารับสูจิบัตรด้วยตนเองหรือทำ�หนังสือมอบอำ�นาจให้ตัวแทนมารับแทน โดยสามารถมารับสูจิบัตร ภายใน 3 เดือน นับจากวันที่เปิดการแสดงนิทรรศการฯ

8


5. คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการอำ�นวยการ การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผา ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านศิลปะ จากสาขาต่าง ๆ มาเป็นคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ดังนี้ เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย ศาสตราจารย์เกียรติคุณเสริมศักดิ์ นาคบัว กรรมการ ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน กรรมการ ศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี กรรมการ อาจารย์อำ�มฤทธิ์ ชูสุวรรณ กรรมการ อาจารย์สุโรจนา เศรษฐบุตร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา กรรมการ นายวศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สยุมพร กาษรสุวรรณ กรรมการ ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขานุการ เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยเลขานุการ เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม ศาสตราจารย์เกียรติคุณเสริมศักดิ์ นาคบัว กรรมการ รองศาสตราจารย์ภรดี พันธุภากร กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาธร ชลชาติภิญโญ กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภกา ปาลเปรม กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สืบพงศ์ เผ่าไทย กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สยุมพร กาษรสุวรรณ กรรมการ นายสมลักษณ์ ปันติบุญ กรรมการ ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขานุการ เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยเลขานุการ เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม นายอภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล กรรมการ ดร.สมนึก ศิริสุนทร กรรมการ รองศาสตราจารย์เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์ กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวนิช สุวรรณโมลี กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิม สุทธิคำ� กรรมการ นายวศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ กรรมการ นายไชยยงค์ รัตนอังกูร กรรมการ ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขานุการ เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยเลขานุการ เครื่องปั้นดินเผาประเภทผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผาและนวัตกรรมใหม่ ม.ล.คฑาทอง ทองใหญ่ กรรมการ ดร.สมนึก ศิริสุนทร กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวนิช สุวรรณโมลี กรรมการ นายวศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ กรรมการ นายอภินันท์ เจริญสุข กรรมการ นางวรางคณา กลิ่นสุคนธ์ กรรมการ นายวิบูลย์ นิมิตวานิช กรรมการ ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขานุการ เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยเลขานุการ 6. การตัดสิน คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินอาจเพิ่มหรือลด รางวัลใดรางวัลหนึ่งได้ตามความเหมาะสม การตัดสินของคณะกรรมการฯ ถือเป็นที่สุด จะอุทธรณ์มิได้ 7. ผลงานที่จัดแสดง ประกอบด้วย 7.1 ผลงานฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ดำ�เนินงานกราบบังคมทูลขอพระราชทานอัญเชิญเข้าร่วมแสดง 7.2 ผลงานที่ได้รับการตัดสินให้ได้รับรางวัล และผลงานที่ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมแสดง 7.3 ผลงานของศิลปิน หรือบุคคลสำ�คัญที่ได้รับเชิญให้ส่งผลงานเข้าร่วมแสดงโดยในปีนี้คณะกรรมการอำ�นวยการได้ลงมติให้ จัดแสดงผลงาน “เชิดชูเกียรติศาสตราจารย์เกียรติคุณเสริมศักดิ์ นาคบัว”

9


8. รางวัล มหาวิทยาลัยศิลปากรโดยมติของคณะกรรมการอำ�นวยการจัดการประกวดและแสดงศิลปะเครือ ่ งปัน ้ ดินเผาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 18 ปี พ.ศ. 2559 พิจารณาเสนอมหาวิทยาลัยฯ ให้แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินผลงานศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติขึ้นมาคณะหนึ่งเพื่อทำ�หน้าที่คัดเลือกและตัดสินฯ ให้รางวัลและผลงานเครื่องปั้นดินเผาที่ มีคุณค่าทางศิลปะแก่ผลงานฯ 8.1 ประเภทข้อ 1.1 – 1.3 ให้แต่ละประเภทดังกล่าวมีรางวัล ดังนี้ - รางวัลยอดเยี่ยม ประเภทละ 1 รางวัล ได้รับโล่รางวัล และเงินรางวัล 50,000 บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) - รางวัลผลงานดีเด่น ประเภทละ 3 รางวัล ได้รับโล่รางวัลและเงินรางวัลๆละ 25,000 บาท (สองหมื่นห้าพันบาทถ้วน) 8.2 ประเภทข้อ 1.4 จะได้รับโล่รางวัล และรับเกียรติบัตร 8.3 ผู้ส่งผลงานและได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมแสดงจะได้รับประกาศนียบัตร 9. การถอดถอนรางวัล กรณีที่มีผ้เู สียหายร้องเรียน หรือผู้ไม่ใช่ผู้เสียหายแจ้งเบาะแส ปรากฏข้อเท็จจริงที่น่าเชื่อถือว่าผลงานที่ได้รับรางวัลใดรางวัลหนึ่ง เป็นผลงานที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา ของศิลปินผูอ ้ น ื่ โดยวิธก ี ารทำ�ซ้�ำ และนำ�มาส่งเข้าประกวด มหาวิทยาลัยศิลปากรจะแต่งตัง้ คณะกรรมการรับการร้องเรียน ทำ�หน้าทีพ ่ ส ิ จ ู น์จนได้หลักฐานแน่ชด ั ให้สท ิ ธิพจ ิ ารณา ถอดถอนรางวัลและเรียกเงินรางวัลคืนจากศิลปินผู้กระทำ�ผิด แล้วให้ทำ�ประกาศแก่สาธารณะทราบโดยทั่วกัน 10. การยกย่องให้เป็นศิลปินเครื่องปั้นดินเผาเกียรติคุณ ศิลปินที่รับรางวัลยอดเยี่ยมในประเภทเดียวกันรวม 3 ครั้ง หรือรับรางวัลยอดเยี่ยมในประเภทเดียวกันรวม 2 ครั้ง และได้รับรางวัลดีเด่นประเภทเดียวกับรางวัลยอดเยี่ยม อีก 2 ครั้ง มหาวิทยาลัยศิลปากร จะมอบเหรียญทองคำ�และเกียรติบัตรยกย่องให้เป็นศิลปินเครื่องปั้นดินเผาเกียรติคุณในประเภทที่ได้รับรางวัล และไม่อนุญาตให้ส่งผลงาน เข้าประกวด การยกย่องให้นับตั้งแต่การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 15 ปี พ.ศ .2553 เป็นต้นไป 11. กรรมสิทธิ์และสิทธิในการเผยแพร่ ผลงานทีไ่ ด้รบ ั รางวัลยอดเยีย ่ มและรางวัลดีเด่นของประเภท ข้อ 1.1 ข้อ 1.2 และ ข้อ 1.3 ถือเป็นกรรมสิทธิข์ องมหาวิทยาลัยศิลปากร และเจ้าของผลงานฯ ได้อนุญาต ให้มหาวิทยาลัยศิลปากรมีสท ิ ธิใ์ นการนำ�ไปเผยแพร่ในสือ ่ สิง่ พิมพ์ สือ ่ สารสนเทศสมัยใหม่ทก ุ ประเภท รวมถึงมีสท ิ ธิเ์ ผยแพร่ในรูปแบบอืน ่ ๆได้โดยไม่ตอ ้ งขอความยินยอมจากศิลปิน 12. กำ�หนดเวลา 12.1 การส่งผลงาน - ในส่วนภูมิภาค ระหว่างวันที่ 20 – 22 กรกฎาคม 2559 ในเวลาราชการ ⬧ ณ ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิกส์ เลขที่ 424 หมู่ 2 ตำ�บลศาลา อำ�เภอเกาะคา จังหวัดลำ�ปาง 52130 ติดต่อ คุณเอก ปัญญาบาล หมายเลขโทรศัพท์ 08-1366-4684 ⬧ ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ☎หอศิลป์ มช.✆ เลขที่ 239 ถนนนิมมานเหมินทร์ ตำ�บลสุเทพ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 ติดต่อ คุณวิไลวรรณ เมฆวงษ์ หมายเลขโทรศัพท์ 0-5321-8280 และ 0-5394-4833 โดยหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรจะเข้าไปรับผลงานที่ศูนย์ในวันที่ 26 กรกฎาคม 2559 - ในส่วนกลาง ระหว่างวันที่ 26 – 31 กรกฎาคม 2559 ในเวลาราชการ ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ติดต่อ คุณศรายุทธ ภูจริต หมายเลขโทรศัพท์ 09-5174-9159 หรือ 0-3427-3331 โดยกำ�หนดรับผลงาน 3 จุด ดังนี้ ประเภทศิลปกรรม รับงานที่ ชั้น 1 ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา ประเภทหัตถกรรม รับงานที่ ชั้น 2 ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา ประเภทอุตสาหกรรม รับงานที่ ชั้น 1 หอศิลป์สนามจันทร์ 12.2 การคัดเลือก และตัดสิน ในวันเสาร์ที่ 6 และวันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2559 12.3 ประกาศผลการตัดสิน วันพุธที่ 17 สิงหาคม 2559 12.4 การแสดงนิทรรศการ จะจัดแสดงนิทรรศการระหว่างเดือนตุลาคม 2559 ถึงเดือน พฤศจิกายน 2559 ณ หอศิลป์สนามจันทร์ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม 12.5 การรับคืนผลงาน สามารถติดต่อกับเจ้าหน้าที่หอศิลป์สนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม หรือติดต่อที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-3427-3331 หรือ 09-5174-9159 ระหว่างเวลา 10.00 น. – 16.00 น. ดังนี้ - ผลงานที่ไม่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินให้จัดแสดงในนิทรรศการดังกล่าว สามารถรับผลงานคืนได้ ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 22 – วันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม 2559 - ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าแสดงในนิทรรศการดังข้อ 12.4 คณะทำ�งานฯจะแจ้งให้ทราบทันทีที่การแสดงนิทรรศการแล้วเสร็จ ตามหมายเลขโทรศัพท์ที่ได้ให้ไว้ในใบสมัคร และศิลปินสามารถมารับผลงานคืนได้ในเวลาราชการหลังจากวันที่ได้แจ้งให้ทราบ ภายใน 5 วันทำ�การ - ศิลปินที่ประสงค์จะรับผลงานคืน แต่ไม่สามารถมารับคืนได้ตามวันและเวลาที่กำ�หนด กรุณาแจ้งเจ้าหน้าที่ฝ่ายนิทรรศการศิลปะเพื่อนัดหมายวันและเวลาที่จะมารับล่วงหน้า การส่งและการรับคืนผลงานให้ดำ�เนินการในวัน และเวลาที่กำ�หนดในข้อ 11.1 และ ข้อ 11.4 หากผลงานศิลปกรรมชิ้นใดศิลปินผู้เป็นเจ้าของผลงานไม่มารับคืนภายในวัน และเวลาที่กำ�หนดไว้ ให้ถือว่าศิลปินเจ้าของผลงานชิ้นนั้นยินยอมให้มหาวิทยาลัยศิลปากรมีกรรมสิทธิ์ในผลงานดังกล่าวโดยปริยาย มหาวิทยาลัยศิลปากรมีสิทธิ์ดำ�เนินการ ตามที่เห็นสมควร โดยอาจนำ�ผลงานศิลปกรรมทั้งหมด หรือบางส่วน ไปหารายได้เพื่อประโยชน์ของหน่วยงานหรืออาจนำ�ผลงานไปมอบให้สถาบันการศึกษาส่วนราชการหรือ องค์กรต่างๆตามสมควร

ประกาศ ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร 10


Silpakorn University in collaboration with Tourism Authority of Thailand, Department of International Trade Promotion - Ministry of Commerce, with the support from Department of Industrial Promotion - Ministry of Industry, is holding the 18th National Ceramics Exhibition with these following details. 1. Types of Works 1.1 Contemporary Ceramic Art : ceramics that express artistic aesthetics using ceramic techniques, process, and public presentation. 1.2 Ceramic Handicraft : works that are unique in creativity and design, but can clearly express skills, competency, delicacy, beauty, and value in craft, or based on thoughts and techniques that are inspired by traditional craftsmanship, and have function or being decorative crafts by using all ceramics techniques and process. 1.3 Ceramic Industrial Prototype : works created must be completely produced and able to go through industrial production. Works must never been submitted to any competitions or produced for sale. They must express beauty, creativity, with suitable forms for us, and must follow the concept, “Hospitality Accessories”. 1.4 The Best Ceramic Entrepreneur and the Newest Innovation : this category includes organizations, large - medium - small bodies, both private and public sectors. If it is private company, the owner must be of Thai nation, have industrial ceramics that are unique or use new innovation to the design, production techniques, distribution, packing, and business run. Remarks : All works submitted for this event must complete the ceramic production. Apart from the category 1.4, in which the jurors will nominate and select the name of the qualified entrepreneurs. 2. Submission of Works 2.1 Each artist may submit not more than 2 sets of work per each category, in which each set must not exceed 4 sq.m. Each submitted works must have attached photographs or sketch of installation requirement. 2.2 Works in category 1.1, 1.2, 1.3 submitted via post must be packed securely in wooden box or protective cardboard package to prevent dam ages. Silpakorn University will not take any responsibilities on damage of works that are caused from accidents or unpredictable circu stances. Application : Fill in the application with full name, contact details, and other information in Thai and English. Artist must attach identification copy with certified signature. 3D works or works that need to install, artists must attach sketch or introduction of installation together with the application form. In some cases, artist needs to install works by himself only. All artists must inform the Art Centre’s officers prior to any installation of work and must install works at provided space only. 3. Eligibility 3.1 Thai citizens, who are not the jurors of this competition, can submit works that must not have been participated in any previous art com petitions or exhibitions, except thesis exhibition, which is part of educational requirements. 3.2 Silpakorn University does not accept any works that violate the intellectual property. If any cases found, artist must be charged with guilt and Silpakorn University do not take any parts of such act. 4. Jurors Silpakorn University invited honorable jurors from various fields for this 18th National Ceramics Exhibition. Contemporary Ceramic Art ProfessorEmeritus Sermsak Narkbua Juror Distinguished Scholar Nontiwat Chantanapalin Juror Professor Vichoke Mukdamanee Juror Mr.Amrit Chusawan Juror Mrs.Surojana Sethabutra Sanithwong Na Ayutthaya Juror Mr. Wasinburee Supanichvoraparch Juror Assistant Professor Sayumporn Kasornsuwan Juror Director, Art Centre Silpakorn University Secretary Secretary, Art Centre Silpakorn University Assistant Secretary Ceramic Handicraft ProfessorEmeritus Sermsak Narkbua Associate Professor Poradee Panthupakorn Assistant Professor Sathorn Cholchatpinyo Assistant Professor Suppaka Palprame Assistant Professor Suebpong Powthai Assistant Professor Sayumporn Kasornsuwan Mr. Somluck Pantiboon Director, Art Centre Silpakorn University Secretary, Art Centre Silpakorn University

11

Juror Juror Juror Juror Juror Juror Juror Secretary Assistant Secretary


Ceramic Industrial Prototype Mr. Apisit Laisatruklai Juror Dr. Somnuk Sirisoonthorn Juror Associate Professor Sakesan Tanyapirom Juror Assistant Professor Venich Suwanmoli Juror Assistant Professor Pim Sudhikam Juror Mr. Wasinburee Supanichvoraparch Juror Mr. Chaiyong Rattana-Ung-Goon Juror Director, Art Centre Silpakorn University Secretary Secretary, Art Centre Silpakorn University Assistant Secretary The Best Ceramic Entrepreneur and the Newest Innovation M.L. Kathathong Thongyai Juror Dr. Somnuk Sirisoonthorn Juror Assistant Professor Venich Suwanmoli Juror Mr. Wasinburee Supanichvoraparch Juror Mr.Aphinan Charoensuk Juror Mrs.Varangkana Klinsukol Juror Mr.Wiboon Nimitrwanich Juror Director, Art Centre Silpakorn University Secretary Secretary, Art Centre Silpakorn University Assistant Secretary 5. Works for Exhibitions 5.1 H.R.H. Maha Chakri Sirindhorn hand-painted work 5.2 Award-winning and selected entries of works 5.3 Works from guest artists 6. Awards First Prize - one award for each category, receiving trophy award and 50,000 Baht Second Prize - three awards for each category, receiving trophy award and 25,000 Baht 7. Selection Awards for each category may be more or less than what indicated according to the jurors. 8. Withdrawing of the Awards In case of any award-winning works are claimed to violate the intellectual property, a group of committee will consider all evidences and have right to withdraw the award and announce publicly if that piece finally found guilty. 9. Ceramic Artist of Distinction Artist who has won the first prize of same category for 3 times, or first and second prize of same category for 2 times each, will be honored as Ceramic Artist of Distinction. That person cannot submit works for competition again but will be invited as guest artist instead. 10. Property Rights Works won the awards in category 1.1, 1.2, 1.3 will be property of Silpakorn University, who can promote works in any ways at all. 11. Period of Time 11.1 Submission : 26-31 July 2016 at the Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King, Nakornpathom 11.2 Selection : 6 and 7 August 2016 11.3 Announcement : 17 August 2016 12. Exhibition 12.1 12 – 30 October 2016 at the Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King, Nakornpathom

13. Collection of Works Works not Selected : 22-26 August 2016 at Sanamchandra Art Gallery, Silpakorn University, Sanamchandra Campus in Nakornpathom province. Works Selected : The working committees will inform the selected artists in advance to collect the artworks at Sanamchandra Art Gallery, Silpakorn University, Sanamchandra Campus in Nakornpathom province. All returned works must be collected between time indicated, unless informing the Art Centre in advance. Collection of works later than period indicated is subject to the property rights of Silpakorn University.

12


13


14


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินไปพระราชทานเกียรติบัตร โล่รางวัล ทรงงานฝีพระหัตถ์ตกแต่งเครื่องปั้นดินเผา และทรงเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดนิทรรศการ การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 9 ประจำ�ปี 2541 ณ อาคารศิลป์ พีระศรี 1 มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ในวันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2541 เวลา 15.00 น. Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn has graciously granted the consented and awards, decorated the ceramics th and consented to preside over the 9 National Ceramics Exhibition opening ceremony

at Silp Bhirasri 1 Building Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom Tuesday 10th November 1998 at 03.00 pm.

15


16


ศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาฝีพระหัตถ์ ชื่อ “ขวดออกลูก” ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี

ในการแสดงศิลปะเครือ ่ งปัน ้ ดินเผา ครัง้ ที่ 9 มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ก�ำ หนดจัดงานขึน ้ ณ ห้องนิทรรศการ อาคารศิลป์ พีระศรี 1 มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง สนามจันทร์ ในจังหวัดนครปฐม ในวันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 และได้กราบทูล สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธี เปิดนิทรรศการและได้ขอพระบรมราชานุญาตอัญเชิญผลงานเครือ ่ งปัน ้ ดินเผาฝีพระหัตถ์เพือ ่ จัดแสดงในนิทรรศการครัง้ นีแ ้ ละจัดเตรียม สี อุปกรณ์การวาด เครือ ่ งปัน ้ ดินเผา สำ�หรับตกแต่งระบายสีเพื่อพระองค์จะได้ทรงงานเครื่องปั้นดินเผา ให้คณาจารย์และประชาชน ที่เฝ้ารับเสด็จได้ชื่นชมพระอัจฉริยะในงานศิลปกรรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระดำ�เนินโดยเครื่องบินพระที่นั่งถึงสนามบินกองบัญชาการยุทธทางอากาศ จังหวัดนครปฐม เมื่อเวลา 14.30 น. และเสด็จประทับรถยนต์พระที่นั่งไปยังมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ เสด็จพระราชดำ�เนินมาถึงห้องนิทรรศการ อาคารศิลป์ พีระศรี 1 มหาวิทยาลัย ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ เมื่อเวลา 15.00 น. พระองค์ได้พระราชทานรางวัลแก่ผู้ชนะการประกวดในการแสดงเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 9 และเสด็จฯ ทอดพระเนตรผลงานที่ได้รับรางวัล ผลงานที่ได้รบ ั เลือกให้ร่วมแสดงและการจัดนิทรรศการในส่วนต่างๆ จากนั้นจึงเสด็จมายังโต๊ะทรงงานที่มหาวิทยาลัยศิลปากรได้เตรียม งานไว้ รูปทรงของเครื่องปั้นดินเผาที่ทรงวาดนั้น ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ เป็นผู้ขึ้นแบบโดยการปั้นเป็นรูปทรงหนังสือกางออก 2 หน้า มีขนาดกว้าง 30 ซม. 48 ซม. และมีความหนา 6 ซม. การเตรียมรูปทรงหนังสือ ทำ�โดยการถอดพิมพ์ต้นแบบที่ได้ปั้นไว้ด้วยดิน โดยนายประทีป จันทราภิรมย์ ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา ต่อมาถอดแบบเป็นปูนพลาสเตอร์ แล้วทำ�แม่พิมพ์สำ�หรับเทน้ำ�สลิป และได้เทน้ำ�สลิปเตรียมไว้ 4 ชิ้น เอาเข้าเตาเผาครั้งที่ 1 ที่ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม โดยเผาที่อุณหภูมิ 800°C ให้ดินมีความแข็งขึ้น เป็น Biscuit เพื่อจะได้ใช้ในการตกแต่งระบายสีต่อไป ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผาโดยอาจารย์ศุภกา ปาลเปรมได้เตรียมอุปกรณ์สำ�หรับตกแต่งด้วยสีใต้เคลือบ (Under Glaze) จำ�นวน 12 สี และมีพู่กันกลม พู่กันแบน และ แปรงหลายขนาด พระองค์ทรงเริ่มวาดภาพลงบนหนังสือเครื่องปั้นดินเผา เมื่อเวลา 15.45 น. ทรงใช้พู่กันกลมเบอร์ 12 จุ่มสีม่วง ระบายลงบนหน้าซ้ายของหนังสือ เป็น รูปแจกันทรงกลม ปากเล็กเหมือนขวด จากนั้นทรงใช้สีเขียวระบายบางๆ ลงอีกครั้ง แจกันรูปทรงกลมปากเล็กจึงมีสีเหลื่อมอยู่ 2 สี คือสีม่วงและสีเขียว รูปทรงต่อมาที่ ทรงวาดก็คือ แจกันสีฟ้า โดยทรงจุ่มสีฟ้าร่างภาพเป็นลายเส้นอย่างรวดเร็วเป็นรูปแจกันทรงเหลี่ยม มีลักษณะบิดเบี้ยว ดูคล้ายๆ รูปร่างคนเกาะเกี่ยวกัน เมื่อร่างภาพเสร็จ แล้วจึงระบายสีแจกันด้วยสีฟ้า และใช้สีดำ�ผสมกับสีฟ้าตัดเส้นรายละเอียด พระองค์ทรงใช้พู่กันระบายสีภาพด้วยฝีแปรงที่เข้มแข็งและมีความชัดเจน จากนั้นพระองค์ได้สร้างรูปทรงในส่วนที่ 3 ขึ้น โดยใช้พู่กันจุ่มสีน้ำ�ตาลป้ายเป็นกิ่งไม้เสียบอยู่ในแจกันทั้ง 2 ใบ เชื่อมต่อกันในหน้าซ้ายของรูปหนังสือ และกิ่งไม้ค่อยๆเลื่อน ไหลไปยังหน้าขวาของรูปหนังสือกิ่งไม้แตกแขนงแยกเป็นกิ่งเล็กๆทอดกิ่งเป็นกลุ่มช่อไปในพื้นที่ว่างของหน้าหนังสือ รวม 8 ช่อ แต่มีอยู่ 5 กิ่ง ที่ทอดกิ่งโน้มลงสู่พื้นดิน พระองค์ทรงจุ่มสีเหลืองและสีเขียวระบายเป็นรูปช่อดอกแตะแต้มลงไปในกิ่งไม้ทั้ง 8 ช่อด้วยพู่กันเบอร์ 6 และเบอร์ 12 สลับกันไป และในการป้ายพู่กันด้วยสีต่างๆ ทั้งกิ่งไม้ และดอกไม้ทรงใช้น�้ำ ผสมสีให้เจือจางและเข้มแตกต่างกัน ระบายให้เกิดความรูส ้ ก ึ ถึงระยะใกล้ไกลของกิง่ ไม้ ทำ�ให้เกิดความลึกในภาพมากยิง่ ขึน ้ เมือ ่ พระองค์ทรงวาดดอกไม้ เสร็จทรงจุ่มสีเขียวระบายส่วนที่เป็นพื้นหญ้าเป็นอันเสร็จสิ้นสมบูรณ์จากนั้นทรงลงพระนาม สิรินธร และ 10 พฤศจิกายน 41 เมื่อเวลา 16.00 น. รวมเวลาที่ทรงงานครั้งนี้ 15 นาที ในช่วงเวลาดังกล่าวนี้ นายสุชาญ พงษ์เหนือ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม ซึ่งมาเฝ้ารับเสด็จ ได้กราบทูลว่าเหล่าบรรดาคณาจารย์ ข้าราชการและพสกนิกรที่มารับ เสด็จในการทรงงานศิลปกรรมครั้งนี้ อยากจะขอให้พระองค์ทรงเมตตาเล่าแนวความคิดเกี่ยวกับผลงานฝีพระหัตถ์ชิ้นนี้เพื่อเป็นแนวในการชื่นชมพระบารมี พระองค์ทรงพระสรวลและรับสั่งว่า “วาดขวดออกลูก” จากนั้นได้เสด็จพระราชดำ�เนินต่อและทรงทักทายกับเหล่าคณาจารย์ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ และเสด็จพระราชดำ�เนิน กลับ เมื่อเวลาประมาณ 16.10 น. ผลงานฝีพระหัตถ์ชอ ื่ “ขวดออกลูก” ซึง่ เป็นต้นแบบนัน ้ ได้ตด ิ ตัง้ ให้ประชาชนได้ชน ื่ ชมพระบารมี อยู่ ณ ห้องนิทรรศการ อาคารศิลป์ พีระศรี ตัง้ แต่วน ั ที่ 10 - 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 รวม 20 วัน ในช่วงเวลาดังกล่าว มีคณาจารย์ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนมาชมนิทรรศการเป็นจำ�นวนมาก ภายหลังเมื่อเสร็จสิ้นการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติครั้งที่ 9 แล้วภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผาคณะมัณฑนศิลป์ได้มอบหมาย ให้ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวนิช สุวรรณโมลี เป็นผู้อัญเชิญผลงานฝีพระหัตถ์ไปเผาอีกครั้ง ณ เตาเผาของภาควิชาวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ในการเผาครั้งนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เวนิช สุวรรณโมลี ไม่ได้ใช้เคลือบใดๆ พ่นทับภาพฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีที่ทรงวาดไว้ นำ�ผลงานเข้าเผาด้วยเตาแก๊ส และใช้อุณหภูมิ ในการเผา 1200°C ใช้เวลาในการเผา 10 ชั่วโมง ปิดเตาไว้ 12 ชั่วโมง ผลปรากฏว่าเมื่อเปิดเตาและนำ�ผลงานออกจากเตา คุณภาพของฝีแปรงและความสดใสของสีที่ทรง ไว้มีความงดงามได้ผลสมบูรณ์ทุกประการ ภาพฝีพระหัตถ์ “ขวดออกลูก” นัน ้ ทรงใช้การร่างภาพด้วยลายเส้นจากพูก ่ น ั ทรงใช้ฝแ ี ปรงและความรวดเร็วในการวาดซึง่ เป็นลักษณะเฉพาะพระองค์ทท ี่ รงมีความชำ�นาญใน การใช้พก ู่ น ั ดังจะเห็นได้จากผลงานฝีพระหัตถ์ประเภทจิตรกรรมทีท ่ รงวาดภาพ “ช้าง” และภาพ “สระบัว” เมือ ่ ครัง้ เสด็จพระราชดำ�เนินมาทรงเปิดงาน 100 ปี ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี 15 กันยายน 2536 ณ หอศิลป์ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นอกจากนั้นพระองค์ยังทรงวาดภาพในแนวดังกล่าวอีก เช่น ภาพ “นกและดอกบัว” ปีพ.ศ. 2536 และภาพ “ป่าสีรุ้ง” ปีพ.ศ. 2537 ความเข้มแข็งของฝีแปรงที่ทรงวาด ทำ�ให้รู้สึกได้ถึงความสดใสเบิกบานในพลังของอารมณ์ส่วนพระองค์ พระอัจฉริยภาพในการศึกษาสังเกตธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ พระองค์ได้เสด็จพระราชดำ�เนินไปในโครงการพระราชดำ�ริ และการเยี่ยมเยียนราษฎร เป็นสิ่งที่ทรงนำ�มาเป็นข้อมูลส่วนพระองค์ การที่ทรงวาดภาพและสร้างสรรค์ผลงานใน ช่วงเวลาที่เสด็จพระราชดำ�เนินมาทรงเปิดการแสดงครั้งนั้น ทรงใช้เวลาไม่นานย่อมแสดงให้ประจักษ์ถึงพระปรีชาสามารถในการถ่ายทอดข้อมูลที่ได้สังเกตศึกษา ออกมาใน งานศิลปกรรมตามแต่พระทัยจะส่งจินตนาการ มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ขอพระราชทานอัญเชิญผลงานฝีพระหัตถ์ “ขวดออกลูก” ทีไ่ ด้ผา่ นการเผาครัง้ ที่ 2 เสร็จสมบูรณ์มาจัดแสดงในการแสดงงานเครือ ่ งปัน ้ ดินเผาแห่ง ชาติครั้งที่ 10 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม 2543 - 10 มกราคม พ.ศ. 2544 เพื่อให้พสกนิกรได้มีโอกาสชื่นชมพระบารมี และประจักษ์ใน ความรอบรู้และพระปรีชาสามารถในงานศิลปกรรม และเป็นสวัสดิมงคลแก่มหาวิทยาลัยศิลปากรสืบไป

17


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ขณะทรงงานเครื่องปั้นดินเผาในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 9 Hand Painting Ceramics Piece by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn

ผลงานฝีพระหัตถ์ “ขวดออกลูก”

18


ผลงานฝีพระหัตถ์ “ขวดออกลูก” วาดด้วยสีใต้เคลือบ ลงบนรูปทรงสมุด ขนาด 30 x 48 x 6 ซม. เทคนิค ดินสโตนแวร์ อุณหภูมิ 1,200 °C

19


เชิดชูเกียรติ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ เสริมศักดิ์ นาคบัว Special Article The Honorable Professor Emeritus Sermsak Nakbua

“Untitled” งานชุด สีน้ำ�ตาลแดง ชนิดดิน

ดินบ้านด่านเกวียน

เทคนิค

เผาในเตาเผาโอ่ง จังหวัดราชบุรี

Red-brown Ceramics Set Materials

Local clay ( Ban Dan Kwean clay )

Technique

Ratchaburi kiln firing 20


21


“Untitled” งานชุด สีดำ�ด้าน เทคนิค

เผารมควัน

Black Matt Ceramics Set Technique Smoke firing

“เมือ ่ ผมเป็นเด็กคุณพ่อผมผสมดินกับขีเ้ ถ้าปัน ้ ลิน ้ เตาอัง้ โล่ เมือ ่ มีเศษดินเหลือจากคุณพ่อ ผม จะเอามาปัน ้ ตุก ๊ ตุน ่ ตุก ๊ ตาเล่น รวมถึงพระพุทธรูปทีม ่ รี ูปทรงเรียบง่าย (เพราะทำ�รายละเอียดไม่ เป็น) แล้วก็เอาเข้าเผาในเตาที่คุณแม่หุงข้าว เมื่อเห็นงานของตัวเองออกมาเป็นสีแดงๆ ก็มี ความสุข คุณพ่อผมเป็นครูใหญ่โรงเรียนประชาบาลวัดสมอ อำ�เภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท โรงเรียนตั้งอยู่ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาฝั่งตะวันออกเวลาฤดูแล้งน้ำ�ลดที่ริมฝั่งจะมีดินเหนียว สีขาวนวลๆ มีความเหนียวดีมากสามารถใช้ปั้นอะไร ๆ ได้ทันทีชั่วโมงการฝีมือทีคุณพ่อก็จะ ให้นักเรียนไปเอาดินเหนียวที่ริมฝั่งแม่น้ำ�มาปั้น ส่วนฤดูน้ำ�ก็จะสอนให้จักตอกสานพัดสำ�หรับ พัดเตาหุงข้าว หรือสำ�หรับผูส ้ งู อายุพด ั คลายร้อน คุณพ่อสานได้ทงั้ ของเล็กและของใหญ่ เช่น สุ่มสำ�หรับครอบไก่ เพราะที่บ้านเรามีกอไผ่หลายกอ เมื่ออายุ 11 ปี ผมไปเรียนชั้นมัธยมปีที่ 1 ที่โรงเรียนประจำ�จังหวัดชัยนาท ชั่วโมงศิลปะมีทั้ง การปั้นและวาดเขียน เวลาปั้นเราจะใช้ดินน้ำ�มัน ผมชอบเรียนปั้นมากกว่าวาดเขียน แต่กระนั้น ก็ตามงานวาดเขียนของผมคุณครูก็เอาติดบอร์ดอยู่เสมอ เมือ ่ เรียนจบมัธยมปีที่ 6 ผมเข้าเรียนต่อทีว่ ท ิ ยาลัยเพาะช่าง สมัยนัน ้ เรียนทัง้ ปัน ้ และจิตรกรรม เมื่อเรียนจบปีที่ 3 จากวิทยาลัยเพาะช่าง ผมเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะ จิตรกรรมประติมากรรม จบอนุปริญญา ท่านอาจารย์ ม.ร.ว. พูนสวาท กฤดากร เห็นหน่วย ก้านผมน่าเรียนทางด้านการออกแบบ ท่านจึงแนะนำ�ให้ผมเข้าเรียน ผมเรียนจนจบปริญญา ตรี ผมโชคดีสอบได้ทุน East-West Center ของ University of Hawaii ผมไปเรียนที่ มหาวิทยาลัยฮาวาย อยู่ 2 ปี ทางด้านเครือ ่ งปัน ้ ดินเผา ผมได้เรียนกับท่านอาจารย์ทม ี่ ช ี อ ื่ เสียง และมีฝีมือ 3 ท่าน ท่านแรกคือ Professor Claude F. Horland ท่านที่สอง เป็นหญิงชื่อ Haruy McWay ทัง้ สองท่านนีเ้ ก่งมากทางด้านปฏิบต ั ิ ผมได้เรียนกับท่านสองปี เมือ ่ เรียนจบจะ กลับประเทศไทย ท่านได้ให้แปลนเครือ ่ งปัน ้ ทีใ่ ช้ไฟฟ้าแก่ผม เพือ ่ ทีว่ า่ เมือ ่ ผมกลับมาประเทศไทย แล้วผมจะได้ให้ชา่ งทำ�เพือ ่ ใช้ในการสอนต่อไป และแปลนทีไ่ ด้มาจากท่านอาจารย์ มาบัดนีม ้ ผ ี ท ู้ �ำ ขายใช้กน ั ทัว่ ประเทศไทย อาจารย์Horland เกรงว่าผมจะเก่งแต่ทางด้านปฏิบต ั ิ จึงแนะนำ�ให้ไป เรียนกับท่านอาจารย์ทท ี่ า่ นคุน ้ เคยกันดีคอ ื ท่านอาจารย์ Herbert Sanders อยูท ่ ี่ University of San Jose ท่านเขียนตำ�ราขายและท่านได้กรุณาให้ผมมา 1 เล่ม ท่านอาจารย์Horland ได้ กรุณาให้งานของท่านมา 1 ชิ้นด้วย เมื่อผมเรียนจบและกลับประเทศไทย ผมได้เข้าสอนที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ผมได้เปิดสอน รายวิชา Ceramic Art และ Ceramic Design ขึ้นเป็นรายวิชาเลือก ภายหลังเปิดเป็นวิชา บังคับของหลักสูตรปริญญาตรี ปัจจุบันเปิดสอนถึงระดับปริญญาโท

ปีตอ ่ มาผมได้ทน ุ ของ Unesco ไปศึกษาต่อทีป ่ ระเทศฟินแลนด์ ได้ศก ึ ษากับท่านอาจารย์ Kulliki Sanmenhara เป็นเวลา 6 เดือน งานของท่านอาจารย์มีรูปทรงที่เรียบง่ายใช้ดินหยาบๆ ท่าน ทาผิวด้านนอกเป็นสีน�้ำ ตาลและท่านก็ให้ผมมา 1 ชิน ้ ด้วย ในทุกภาคเรียนฤดูรอ ้ นที่ University of Hawaii จะมีอาจารย์ผู้หญิงลูกครึ่งอเมริกันกับญี่ปุ่นมาสอน ท่านมีวิธีขึ้นรูป (Throwing Form)เรียบง่าย ท่านใช้เคลือบของท่านเป็นสีด�ำ กึง่ ด้าน (Semi Matt) ผิวเนียนน่าสัมผัส ท่าน ได้ให้สูตรผมมาด้วย ซึ่งผมเอามาผสมเคลือบงานวางประดับไว้หน้าบ้านเต็มไปหมด สำ�หรับการทำ�งานเครื่องปั้นดินเผา ผมทำ�มาตลอด ทำ�ทั้งงานชิ้นเล็กชิ้นใหญ่ ทั้งแบบขึ้นรูป ด้วยมือ (Hand Forming) และขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน (Wheel Throwing) ในปีที่แล้วผมตั้ง ชื่องานทั้งหมดที่ทำ�ว่า “ดินที่ฉันรัก” ส่วนปีนี้ผมให้ชื่องานทั้งหมดว่า “ดินที่ฉันชอบ” และผม ได้ตั้งปณิธานไว้ว่า “ฉันจะปั้นดินไปจนไม่มีแรงปั้นและจะนอนให้ดินกลบหน้า” ดินเหนียวนั้น นอกจากจะให้สัมผัสที่ดีแล้วยังมีกลิ่นหอมอ่อนๆ ด้วย ทุกวันก่อนเข้านอนผมจะคิดไว้ว่าพรุ่ง นี้ผมจะปั้นอะไร ด้วยดินอะไร และใช้เทคนิคอะไร ผมทำ�งานเครื่องปั้นดินเผาไว้หลายแห่ง นอกจากหน้าบัน และช่อฟ้า ใบระกาบางส่วนของวัด หลวงพ่อใส ธรวรวิหารแล้วยังมีผนังตึกมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชหน้าบันโบสถ์วัดเขา ช่องกระจก ภาพผนังเป็นงานสื่อประสม ระหว่างสำ�ริดกับกระเบื้องแก้วที่ทำ�เองประดับผนัง บ้านอาจารย์เถาวัลย์ นันทาภิวัฒน์ น้ำ�พุ บ้านคุณตุ๊ พร้อมภัณฑ์ นอกจากนั้นได้ออกแบบ ผลิตภัณฑ์ดน ิ เผาสีอฐ ิ (Terra Cotta) สำ�หรับช่างพืน ้ บ้านตำ�บลทุง่ หลวง อำ�เภอคีรม ี าส จังหวัด สุโขทัย ได้ทำ�การแนะนำ�การพัฒนาเคลือบขี้เถ้าไม้ยางพารา เพื่อใช้เคลือบโอ่งมังกร จังหวัด ราชบุรี (โครงการของสมาคมเซรามิกไทย) ปัจจุบันผมทำ�งานขึ้นรูปด้วยมือ โดยใช้ดินจากบ้านด่านเกวียน สำ�หรับงานขึ้นรูปด้วยแป้น หมุน นั้นผมก็ทำ�มาตลอดและเผาที่อุณหภูมิ 1,280 องศาเซลเซียส น้ำ�ยาเคลือบผมผสมเอง โดยใช้ตำ�ราของท่านอาจารย์ Herbert Sanders มาคำ�นวณโดยใช้วัตถุดิบในประเทศไทย งานขึ้นรูปด้วยมือ ที่ใช้ดินบ้านด่านเกวียนนั้นผมเผาในเตาเผาโอ่งที่จังหวัดราชบุรี ชื่อโรงงาน รุ่งศิลป์ผลิตภัณฑ์ดินเผา ของคุณทัศนัย สินประเสริฐ ที่ท่านได้กรุณาเผาให้ผมมาเป็นเวลา นานแล้วและยังจะต้องรบกวนท่านต่อไปอีก งานของผมที่นำ�มาแสดงครั้งนี้เป็นงานขนาดใหญ่ 10 ชิ้น เป็นงานที่ใช้ดินบ้านด่านเกวียน 5 ชิ้น และงานเผารมควัน 5 ชิ้น” ศาสตราจารย์เกียรติคุณเสริมศักดิ์ นาคบัว กันยายน 2559

22


“In my childhood, my father had always mixed his clay with ashes for stove making. Then, I would create my own modeling toy or even a roughly-made Buddha (since I was too young to make a neat one). After that, they would be fired in my mother’s cooking stove. Seeing my finished works was such a pleasure at that time. My father was a principal at Pracha Ban Wat Samor School in Chainat, located along eastern Chao Phraya River. When drought season comes, some white clay would appear around the river bank. Those clay are very handy and could be kneaded immediately. So, when there were a craft lesson, my father would let his student use those clay as materials. On the other hand, when drought season had gone, he would teach his student to make fan by weaving bamboo. My father could make anything out of it, since there were many of them around my house. When I turned 11, I had attended a school in Chainat for my first year of junior highschool. In the art lesson, there were both painting and sculpting. We used play dough in sculpting class. I preferred sculpting class, though my painting artworks had always been selected for showcase by the teacher. Graduated highschool, I had entered the College of Fine Art (Pohchang School). At that time, I studied both painting and sculpture. After I had finished my third year at College of Fine Art, I attended the Faculty of Painting, sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University and graduated with a diploma. M.R. Poonsawart Kridakorn, one of my lecturer, suggested that I should further my study in design and kindly help me finished my bachelor degree from the Faculty of Decorative Arts. Luckily, I was granted the East-West Center scholarship from the University of Hawaii in the USA, where I lived and studied ceramics there for two years. Fortunately, I met three ceramics masters there, which were Professor Claude F. Horland and Haruy McWay, these first two were skillful in practices. The latter one offered me a plan of electric throwing machine, so that I could make one for my teaching in Thailand. In these days, this machine are very common. Professor Claude F. Horland worried that I would be good at only practices, so he suggested that I studied with his colleague, Herbert Sanders at the University of San Jose. Herbert kindly gave me one of his written textbook and Professor Claude F. Horland also gave me one of his artworks. After finishing the courses, I had come back to Thailand and became a lecturer at Silpakorn University where I initiated Ceramics Art and Ceramics Design as elective courses. Later these courses have become required in bachelor and master degree until present. 23

In a year later, I was granted Unesco scholarship, I studied at Finland with Kulliki Sanmenhara for six months. His artworks looks were simple though it was made roughly on the surface. He had painted the surface brown and kindly gave me one of them. Every summer, at the University of Hawaii, an American-Japanese lecturer would visit, her throwing form were simple, she glazed her artworks black and semi-matt, delicate and touchable. She mercifully gave me the glaze formula that I used with my various artworks, placed around my house for decoration. For my personal ceramics artworks, they comes in all size, using both hand forming and wheel forming. Last year, I named all of my artworks “The Clay I Love”. Therefore, I will name my artworks for this year “The Clay I Like.” My intention is to create ceramic artworks until my body tells me to stop. I even want to lie down with clay, they smell good and so touchable. Every night, before I go to bed, I would question myself, “What will I make tomorrow? What kind of clay? What technique?” There were a number of my artworks, including some part of pediment and gable apex in Sothorn Wararam Worawiharn temple, walls of Sukhothai Thammathirat University, pediment of Khao Chong Krachok temple, mixed media walls (bronze and handmade glass tile) for decorating Mr.Thaowan Nunthaphiwat’s house or fountain at Mr.Phrompan. Moreover, I had designed terra cotta product for local craftsmen in Thungluang, Khirimat, Sukhothai province. Also, I had suggested craftsmen in Ratchaburi that they should develop ashes-rubber glaze for their Dragon Jar (with supporting from Thai Ceramics Association Project). Recently, I have been creating my artworks by hand forming, local clay from Ban Dan Kwean, firing in Rung Silp Ceramic Factory’s kiln at Ratchaburi, owned by Mr.Tassanai Sinprasert. For throwing, I have been doing until now, firing at 1280 oc, handmade glaze that I calculated and modified from Herbert Sanders’s formula. My artworks exhibited here are large ten pieces, five of them are made of Ban Dan Kwean clay, and another five are fired smoking.” Professor Emeritus Sermsak Nakbua September 2016


24


ศาสตราจารย์เสริมศักดิ์ นาคบัว ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (การออกแบบอุตสาหกรรม)

Professor Sermsak Nakbua National Artist in Visual Arts (Industrial Design)

ศาสตราจารย์เสริมศักดิ์ นาคบัว ถือเป็นผู้บุกเบิกการแสดงผลงานศิลปะ เครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ และดำ�รงตำ�แหน่งเป็นประธานกรรมการการ ตัดสินทุกครั้ง ตั้งแต่ครั้งที่ 1-17 และได้รับเชิญให้นำ�ผลงานไปร่วมแสดง อย่างสม่ำ�เสมอจนกระทั่งปัจจุบัน

Professor Sermsak Nakbua is considered the pioneer of the National Ceramics Exhibition and also takes the position of the Exhibition Chairman from the 1st to the 17th exhibitions. His art works are also exhibited on the occasion regularly until recently.

ท่ า นสํ า เร็ จ การศึ ก ษาปริ ญ ญาศิ ล ปบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช ามั ณ ฑนศิ ล ป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร และระดับปริญญาโทสาขาวิชา Ceramic Art จาก University of Hawaii U.S.A. ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาวิ ช าศิ ล ปะการออกแบบหั ต ถอุ ต สาหกรรม จากมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ดำ � รงตำ � แหน่ ง คณบดี ค ณะมั ณ ฑนศิ ล ป์ ตั้ ง แต่ พ.ศ. 2519 - 2523 และยังเป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา ในคณะ มัณฑนศิลป์ซึ่งเปิดสอนทั้งเซรามิกส์อาร์ตและเซรามิกส์ดีไซน์ และดำ�รง ตำ�แหน่งหัวหน้าภาคตัง้ แต่ พ.ศ. 2532-2536 นอกจากนีใ้ นปี พ.ศ.2540 ยังได้รับตำ�แหน่งศาสตราจารย์เกียรติคุณ ต่อมาในปี พ.ศ.2552 ได้รับ รางวัล Honor Awards 2009 in Product Design ในงาน Design of the Year รางวัลนักออกแบบแห่งปี เป็นรางวัลเชิดชูเกียรติที่มอบแก่นัก ออกแบบไทยผูม ้ ป ี ระสบการณ์ระดับสูงทีม ่ ผ ี ลงานออกแบบอย่างต่อเนือ ่ ง เป็นระยะเวลามากกว่า 20 ปี และประสบความสำ�เร็จในการประกอบวิชาชีพ เป็นแบบอย่างทีด ่ แ ี ละมีคณ ุ ป ู การแก่วงการออกแบบของประเทศไทย และ ในปี พ.ศ.2558 ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขา ทัศนศิลป์ ( การออกแบบอุตสาหกรรม ) อีกด้วย

He graduated with a Bachelor of Fine Arts Program in Visual Arts from Silpakorn University, a Master’s Degree in Ceramic Art from the University of Hawaii U.S.A. and an Honorary Degree of Fine and Applied Arts Program in Industrial Crafts and Design from Thammasat University. He was the dean of the Faculty of Decorative Arts from 1976 -1980 and also established the Department of Ceramics in the Faculty of Decorative Arts which offers programs in Ceramic Arts and Ceramic Design and was the head of the department from 19891993. Later in 1997, he was given the title of Emeritus Professor. In 2009, Professor Sermsak Nakbua won the Honor Award in Product Design from the 2009 Design of the Year Awards, the Awards of Honor given to Thai designers with high experience and performance for over consecutive 20 years, successful profession, good role model image, and great contributions to Thailand’s design field. And in 2015, he was honored with the title of the “National Artist in Visual Arts (Industrial Design)”.

“Untitled” งานชุด เคลือบดินเผาสีดำ� กึ่งด้าน เคลือบตามสูตรของท่านอาจารย์ Toshiko Takaezu (ศิลปินเครื่องปั้นดินเผาหญิง ชาวอเมริกัน เกิดปี 2465) “Untitled” Black Semi Matt Glazed Ceramics Set Glazed Toshiko Takaezu’s glaze style (Toshiko Takaezu, American Ceramic Artist, b.1922) 25


26


ศิลปินรับเชิญ Guest Artists

27


ศาสตรเมธี นนทิวรรธน์ จันทะนะผลิน Distinguished Scholar Nontiwat Chantanapalin ผลงานชิ้น เทคนิค ขนาด

“พ่อพระของลูก” เครื่องปั้นดินเผา 18 x 26 x 34 ซม.

Title Technique Size

“Father of a Child” Ceramics 18 x 26 x 34 cm.

28


29


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิม สุทธิคำ� Assistant Professor Pim Sudhikam ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ

“อุปกรณ์การเทหลากชนิด” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน พอร์ซเลน ศิลาดล เตาไฟฟ้า 1280 °C

Title Technique Materials Glaze Temperature

“Assorted Pourers” Wheel throwing Porcelain Electric fired celadon 1280 °C

30


31


รองศาสตราจารย์ ภรดี พันธุภากร Associate Professor Poradee Panthupakorn ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

“เซรามิกส์น้ำ�ดอกไม้” ขึ้นรูปหล่อน้ำ�ดิน ดินโบนไชน่า เคลือบใส 1230 °C 30 x 30 x 10 ซม.

Title “Fragrant Flower Ceramics” Technique Slip casting Materials Bone china clay Glazed Clear glazed Temperature 1230 °C Size 30 x 30 x 10 cm.

32


33


นาย วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ Wasinburee Supanichvoraparch ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

“Untitled 2016” อัดเเบบ เม็ดดินเผาไฟสูง อัดด้วยวิธีพิเศษ เอิร์ทเทิร์นแวร์ 1100 °C 22 x 14 x 16 ซม.

Title “Untitled 2016” Technique Pressing Materials Sponge clay with a special pressing Glazed Earthenware Temperature 1100 °C Size 22 x 14 x 16 cm.

34


35


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เวนิช สุวรรณโมลี Assistant Professor Venich Suwanmoli ผลงานชุด เทคนิค ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

“แสงสีแห่งอารยธรรม หมายเลข 2” ขึ้นรูปด้วยมือ Luster 1250 °C 15 x 30 x 101 ซม.

Title “Light & Color of Civilization No.2” Technique Coiling Method Glazed Luster Temperature 1250 °C Size 15 x 30 x 101 cm.

36


37


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภกา ปาลเปรม Assistant Professor Suppaka Palprame ผลงานชุด “Flowers“ เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ และแป้นหมุน ชนิดดิน เนื้อดินสโตนแวร์ ชนิดเคลือบ เคลือบกึ่งด้าน กึ่งมัน อุณหภูมิ 1250 °C บรรยากาศอ๊อกซิเดชัน ขนาด 40 x 40 x 7 ซม. Title Technique Materials Glazed Temperature Size

“Flowers“ Hand building and wheel throwing Stoneware body Semi matt glazed Oxidation firing 1250 °C 40 x 40 x 7 cm.

38


39


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สยุมพร กาษรสุวรรณ Assistant Professor Sayumporn Kasornsuwan ผลงานชิ้น “คอย” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ขนาด 20 x 20 x 40 ซม. Title Technique Size

“Waiting” Hand forming 20 x 20 x 40 cm.

40


41


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาธร ชลชาติภิญโญ Assistant Professor Sathorn Cholchatpinyo ผลงานชุด เทคนิค ชนิดเคลือบ ขนาด

“Gravity” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน Copper Green Glazed สูง 35 ซม.

Title Technique Glazed Size

“Gravity” Throwing Copper Green Glazed H 35 cm.

42


43


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สืบพงศ์ เผ่าไทย Assistant Professor Suebpong Powthai ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

“Teapot with Three Lids” สโตนแวร์ ดินสโตนแวร์ 1,230 °C และ 800 °C 55 x 18 x 20 ซม.

Title “Teapot with Three Lids” Technique Stoneware Materials Stoneware clay Temperature 1,230 °C and 800 °C Size 55 x 18 x 20 cm.

44


45


อาจารย์ สุโรจนา เศรษฐบุตร Mrs. Surojana Sethabutra ผลงานชุด เทคนิค อุณหภูมิ ขนาด

“กระเบน (จากผลงานชุด กาที่ไม่มีวันแตกสลาย) ” ตัดเหล็กหนา กลึง ขัด เผารมดำ�ที่อุณหภูมิ 1,150 °C 16 x 14.3 x 2.8 ซม.

Title Technique Temperature Size

“Sting Ray (from D’ Unbreakable Teapots series)” Cut solid iron, turned and polished Case- hardening fired at 1,150 °C in the ceramics kiln 16 x 14.3 x 2.8 cm.

46


47


รองศาสตราจารย์ เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์ Associate Professor Sakesan Tanyapirom ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

“สิงห์โตมะละกา” ขึ้นรูปหล่อน้ำ�ดิน ดินพอร์ซเลนซ์ 1230 °C 29 x 15 x 20 ซม.

Title Technique Materials Temperature Size

“Malacca Lion” Slip casting Porcelain 1230 °C 29 x 15 x 20 cm.

48


49


50


ผลงานที่ได้รับรางวัล Award-Winning Entries

51


รางวัลยอดเยี่ยม เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย The First Prize in Contemporary Ceramic Art ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

นาย พรสวรรค์ นนทะภา Mr. Pornsawan Nonthapha “ความทรงจำ�ในวิถีชีวิตชนบทอีสาน” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินพื้นบ้าน (ดินบ้านหม้อ) 800 – 900 °C 200 x 180 x 147 ซม. ( 2 ชิ้น )

Title Technique Materials Temperature Size

“Memories Rural Life East” Hand Forming Local Clay ( Ban Mor Clay ) 800 – 900 °C 200 x 180 x 147 cm. ( 2 Pieces )

วิถีแห่งพอเพียง เรียบง่าย มีอยู่มีกิน ดำ�รงด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารที่อุดมสมบูรณ์ เจริญเติบโตแบบ เกษตรอินทรี ไม่มีสารเคมี เมื่อร่างกายไม่มีสารเคมี ร่างกายก็เป็นสุข จิตใจก็มีสุข สังคมก็เป็นสุข A sufficient and simple life in agriculture society is consisted of fruitful organic plant and corps. Therefore, people are perfectly healthy both physically and mentally.

52


53


รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย The Second Prize in Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

นาย พิเชฐ ธรรมวัฒน์ Mr. Pichet Thammawat “ฝันไปในธรรมชาติ” ขึ้นรูปแบบประติมากรรม ดินด่านเกวียน และปักธงชัยอินดี้เคลย์ 900 °C 180 x 60 x 110 ซม.

Title “Dream of Nature” Technique Sculpture Forming Materials Local Clay ( Dan Kwean Clay and Pakthongchai Indy Clay ) Temperature 900 °C Size 180 x 60 x 110 cm. ธรรมชาติ คือสิ่งสวยงาม ต่างมีชีวิตที่เป็นอิสระ เจริญเติบโตงอกงามไปด้วยกัน ภาพความประทับใจ เหล่านี้ก่อเกิดความฝัน และจินตนาการขึ้นในจิตใจของข้าพเจ้า Nature is stunning. It’s amazing that both human and nature live harmoniously in this world.

54


55


รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย The Second Prize in Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย วิทวัส ปิยะชัยวุฒิ Mr. Wittawat Piyachaiwut “โค้งเว้า หมายเลข 4” หล่อประกอบ ดินสโตนแวร์ เผารมควัน 1,050 °C 175 x 85 x 45 ซม. ( 6 ชิ้น )

Title “Curve No.4” Technique Casting Materials Stoneware Clay Glazed Smoking Fire Temperature 1,050 °C Size 175 x 85 x 45 cm. ( 6 Pieces ) ผลงาน “โค้งเว้า หมายเลข 4” ชุดนี้ เกิดจากเทคนิคการขึ้นรูปด้วยผ้ายืด เป็นยูนิตย่อย ๆ รูปทรงโค้ง เว้า ทีม ่ ขี นาด, ทิศทาง และรูปแบบทีแ ่ ตกต่างกัน เมือ ่ ยูนต ิ ในรูปแบบเดียวกันมาประกอบเข้าด้วยกัน โดย ใช้ขนาด และทิศทางทีแ ่ ตกต่างกัน ทำ�ให้เกิดรูปทรงใหม่ทน ี่ า่ สนใจมากยิง่ ขึน ้ และสามารถต่อกันได้หลาก หลายรูปแบบ ผลงานชุดนีเ้ ลือกใช้เทคนิคการเผาแบบรมควัน เพือ ่ ให้เกิดลวดลายเขม่าสีด�ำ บนผิวชิน ้ งาน ทีด ่ เู ป็นธรรมชาติ และต้องการให้เกิดลวดลายทีล ่ อ ้ ไปตามรูปทรงทีม ่ ส ี ว่ นโค้งส่วนเว้ามากมายนี้ ส่งผลให้ ชิ้นงานมีมุมมองที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น สามารถพลิกแพลงมุมมองการวางชิ้นงานได้ “Curve No.4” are formed in different shape by using stretch fabric. When all pieces united, a new overall shape is formed. Moreover, this artworks can be assembled in various forms. The decoration is done by smoking fire technique, which provide natural-look on their texture and also many aspects of the artwork interestingly.

56


57


รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย The Second Prize in Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย สันติ พรมเพ็ชร Mr. Santi Promphet “อสูร” ขึ้นรูปอิสระ ดินดำ�แม่ริม ผสมดินสุโขทัย คอปเปอร์ อ๊อกไซด์ 1,280 °C 40 x 60 x 83 ซม.

Title “Asura” Technique Free Forming Materials Local Clay ( Maerim Clay and Sukhothai Clay ) Glazed Copper Oxide Temperature 1,280 °C Size 40 x 60 x 83 cm. อสูร เป็นตัวแทนของ กิเลส และโมหะ สะท้อนให้ตระหนักถึงความเวียนว่ายตายเกิด ไม่มีที่สิ้นสุด อยู่ใน ภพภูมิของ “อสูรกายภูมิ” เป็นส่วนหนึ่งของ “กามภูมิ” ตามวรรณกรรมเก่าแก่ของสุโขทัย “ไตรภูมิ พระร่วง” นั่นเองต้องการสื่อให้เห็น ถึง ความโกรธ ความพยาบาท อาฆาต และการจองเวรจองกรรม ไม่รู้จบ ทำ�ให้จิตใจ หดหู่เป็นทุกข์ และไม่มีความสุข จนกว่าจะรู้จักการปล่อยวาง และให้อภัย “Asura” is a symbol of greed and anger. This represents a belief of endless vicious circle in Trai Bhumikatha or Sermon on the Three Worlds. I would like to express the anger, hatred and revenge that are the reason of sadness and unhappiness. Eventually the key to the happiness is to forgive and let go.

58


59


รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย The Second Prize in Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

นาย สุรศักดิ์ แสนโหน่ง Mr. Surasuk Sannong “ช่วงเวลาแห่งความสุข หมายเลข 1” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินบ้านหม้อ จังหวัดมหาสารคาม 1,200 °C และ 800 °C 70 x 120 x 50 ซม.

Title Technique Materials Temperature Size

“Time and Happiness No. 1” Hand Forming Local Clay ( Ban Mor Clay ) 1,200 °C and 800 °C 70 x 120 x 50 cm.

ความประทับใจ ในช่วงเวลาเมื่อได้สัมผัสกับความอุดมสมบูรณ์ เจริญงอกงามอันเกี่ยวพันกับวิถีชีวิต ที่พึ่งพาอาศัยธรรมชาติ ในการดำ�เนินชีวิต เต็มเปี่ยมไปด้วยความสุขเรียบง่าย อันนำ�มาซึ่งความสงบ สันติสุขของมวลมนุษย์ These artworks are inspired by my impression of fertility in nature. It’s a simple happiness that simply generated, and also leads to peaceful human society.

60


61


62


รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม The Second Prize in Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา โดยนางสาว วีรดา บัวบังใบ School of Architecture and Fine Art University of Phayao By Miss Weerada Buabangbai “ค่ำ�คืนที่แสนดี” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ เคลือบไฟต่ำ� 1,000 °C 80 x 35 x 23 ซม. ( 11 ชิ้น )

Title “Good Night” Technique Hand Forming Materials Stoneware Clay Glazed Low Temperature Temperature 1,000 °C Size 80 x 35 x 23 cm. ( 11 Pieces ) ความงามทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของงานในเทคนิค Blue and White สร้างความประทับใจให้กบ ั ข้าพเจ้า ภาย ใต้ความงามนั้นเห็นได้ถึงความบรรจงของกระบวนการสร้างสรรค์ การเรียนรู้ การทดลอง ปรับเปลี่ยน วิธีการเพื่อผลงานที่คงความเป็น Blue and White ด้วยค่าสีน้ำ�เงิน-ขาว อาจเป็นแนวทางหนึ่งที่ทำ�ให้ เกิดกระบวนการสร้างสรรค์ในรูปแบบใหม่ ผลงานเครื่องเคลือบดินเผารูปแบบภาชนะมีฝาปิด จากแรงบันดาลใจในการดำ�เนินชีวิตยามค่ำ�คืนของ เหล่าสรรพสัตว์ อย่างนกเค้าแมว นกแสก ค้างคาวและสุนัขจิ้งจอก ทำ�ให้ข้าพเจ้ามีแนวความคิดใน เรื่องของการสลับช่วงเวลาการใช้ชีวิต ทำ�ให้เกิดความสมดุล ความเคลื่อนไหวในทุกชั่วโมงของแต่ละ วัน นำ�มาสู่วิถีชีวิตที่มีความสุข My artworks are inspired by Blue and White technique and nightlife animal. Ideas of living in a different time of the day remind me of how life should be balanced happily.

63


64


รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม The Second Prize in Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนางสาว มาริษา แก่นเพ็ชร Valaya Alongkorn Rajabhat University by Miss Marisa Kaenpet “3 ตัด 2559” Throwing VRU Clay ขี้เถ้า 1,250 °C 50 x 50 x 38 ซม. ( 3 ชิ้น)

Title “3 CUT 2016” Technique Throwing Materials VRU Clay Glazed Smoking Fire Glazed Temperature 1,250 °C Size 50 x 50 x 38 cm. ( 3 Pieces) สร้างพื้นผิวที่แปลกตาบนภาชนะดินเผาด้วยสปริง To create stunning surface on a ceramics by spring coil.

65


66


รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม The Second Prize in Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนางสาว บูรณิน กาวี Bangsai Arts and Crafts Center the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Miss Buranin Kawi “ป่าต้นน้ำ� หมายเลข 1” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์​์ เคลือบไฟสูง 1,200 °C 34 x 76 ซม.

Title “Watershed Forest No. 1” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,200 °C Size 34 x 76 cm. สื่อถึงความสำ�คัญของป่าต้นน้ำ�และการอนุรักษ์ผืนป่าที่มีความสำ�คัญต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม Watershed forest and nature conservation are important to all creatures.

67


68


รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม The Second Prize in Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนางสาว วาสนา สุนันสา Bangsai Arts and Crafts Center the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Miss Wasana Sunansa “ขี้เถ้า” การขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟต่ำ� 750 - 800 °C 43 x 72 ซม.

Title Technique Materials Glazed Temperature Size

“Ashes” Hand Forming Earthenware Clay Low Temperature 750 - 800 °C 43 x 72 cm.

เพื่อให้ชิ้นงานเกิดลวดลายจากการผสมผสานระหว่างเนื้อดินกับขี้เลื่อย To create the artwork with a combination of clay and saw dust.

69


70


รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม The Second Prize in Ceramic Handicraft

ศิลปิน นาย สุธารักษ์ แสงเทศ Mr. Sutharak Saengthed ผลงานชุด “ทิวเขา 2559” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน และ เผาเตาฟืน ชนิดดิน VRU Clay ชนิดเคลือบ เคลือบไหล อุณหภูมิ 1,210 °C ขนาด 280 x 56 x 56 ซม. ( 5 ชิ้น ) Title “Sierra 2016” Technique Throwing, Finished and Wood Firing Materials VRU Clay Glazed High Temperature Temperature 1,210 °C Size 280 x 56 x 56 cm.( 5 Pieces ) มีความประทับใจที่ได้ไปเที่ยวภูเขา ป่าไม้ จึงเกิดเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน Inspired by mountain and forest, I created these artworks to represent that inspiration.

71


รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม The Second Prize in Ceramic Industrial Prototype

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย พินิจ แสงทอง Mr. Pinit Sangthong “แสงสร้างเรื่อง” หล่อกลวง, เจาะฉลุและฝังเคลือบ ดินวิเทรียสไซน่า ( VCB ) เคลือบใส 1,200 °C 82 x 30 x 13 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Story of Light & Shadow” Technique Drain Casting, Perforated and Glazed Materials VCB Glazed Clear Glazed Temperature 1,200 °C Size 82 x 30 x 13 cm. ( 3 Pieces ) มาจากการแสดงหนังใหญ่ โดยนำ�ท่าทางการแสดงของตัวคนเชิด นำ�มาออกแบบรูปทรง และรูปทรง ของตัวหนังใหญ่ ส่วนตัวลวดลายนำ�ลวดลายของตัวหนังใหญ่มาใช้ในการออกแบบ Inspired by leather puppets, the artwork represents the gesture of a man behind the puppet. Also the form and pattern of the puppets are applied in designing.

72


73


รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม The Second Prize in Ceramic Industrial Prototype

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว เยาวเรศ สุทธิศาล Miss Yaowaret Sutthisan “ผลหอม” สางลาย,ฝังสี ดินขาวพิเศษ เฟอร์ริก อ๊อกไซด์ 1,250 °C 22 x 52 ซม. ( 10 ชิ้น )

Title “Fruit Diffuser” Technique Incising and In-glazed Stain Materials Kaolin Glazed Ferric Oxide Temperature 1,250 °C Size 22 x 52 cm. ( 10 Pieces ) ผลงานผลหอม เป็นผลไม้ดด ู น้�ำ หอม เพือ ่ ปรับบรรยากาศในห้องให้สดชืน ่ ผลงานทำ�จากดินขาวทีม ่ ค ี วาม พรุนตัวสามารถดูดซึมของเหลวและค่อยปล่อยกลิ่นตามน้ำ�หอมที่หยดลงไป ตกแต่งด้วยการสร้างลาย เลียนแบบการปะผ้าตะเข็บผสมผสานวัสดุไม้ กิ่งไม้ธรรมชาติ จัดวางบนจานใบไม้ที่ทำ�จากดินเดียวกัน สามารถดูดซึมของเหลวได้ไม่เลอะเปื้อน เผาที่อุณหภูมิ 1,250°C ทำ�สีเลียนแบบธรรมชาติ The “Fruit Diffuser” can absorb perfume, then freshen indoor air with fragrant smell. The material is made of perforated white clay with an ability of absorbing and releasing perfume. The artwork is decorated with wood and branch, placed on a plate with the same material.

74


75


รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม The Second Prize in Ceramic Industrial Prototype

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว ศรกมล อยู่ยงค์ Miss Sonkamol Yuyong “ก้าวแรกจากภูมิปัญญา” หล่อน้ำ�ดิน ดินวิเทรียสไซน่า ( VCB ) เคลือบใสไฟสูง 1,200 °C 105 x 45 x 135 ซม. ( 2 ชิ้น )

Title “Lamp Design Inspired by Folk Wisdom” Technique Slip Casting Materials VCB Glazed Clear Glaze and High Temperature Glazed Temperature 1,200 °C Size 105 x 45 x 135 cm. ( 2 Pieces ) การสร้างของบ้านไทยโบราณที่สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาอันชาญฉลาดของคนในสมัยก่อนอย่างเห็น ได้ชัด จึงนำ�ได้นำ�หลัก “ฝาบานเฟี้ยม” ทำ�ให้พับไปมาเพื่อเปิดออกได้ ทำ�ให้สามารถปรับตกแต่งฝาบ้าน ซึ่งภูมิปัญญานี้เองที่สามารถนำ�มาประยุกต์ใช้กับการออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทโคมไฟตั้งโต๊ะ และตั้ง พื้น สามารถตกแต่งภายในอาคารและมีส่วนช่วยส่งเสริมภูมิปัญญาไทยโดยนำ�เสนอในรูปแบบทันสมัย เสริมสร้างบรรยากาศภายในที่พักอาศัย Thai traditional accommodation represents Thai wisdom in the past obviously. Therefore, I put a part of those wisdom in designing this artwork, which is Fha-Baan-Fiam or folding door. I applied this ancient architecture culture in the lamp for modern decoration as a part of supporting Thai wisdom.

76


77


รางวัลดีเด่น เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม The Second Prize in Ceramic Industrial Prototype

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว อรวรา คงไพบูลย์ Miss Onwara Khongpaiboon “กาล ละ เวลา” หล่อน้ำ�ดิน ดินวิเทรียสไซน่า ( VCB ) ขาวใส 1,240 °C 106 x 194 x 150 ซม. ( 8 ชิ้น )

Title “Le Temps - The Passage of Time” Technique Slip Casting Materials VCB Glazed Clear Glazed Temperature 1,240 °C Size 106 x 194 x 150 cm. ( 8 Pieces ) เซรามิค/สัจจะวัสดุ/ร่องรอยแห่งกาลเวลา เรื่องราวของกาลเวลา ที่ชิ้นงาน ถูกคัดและผลิต ด้วย กระบวนการทางอุตสาหกรรมยังคงทิ้งร่องรอยไว้บนผิวสัมผัส ภายใต้เคลือบขาวอันบางเบา สื่อถึง เซรามิคที่เป็นวัสดุที่มีความทรงจำ� การใช้ไม้เก่าเข้ามาประกอบ บนผิวไม้ที่มีร่องรอยของสิ่งมีชีวิตที่เคย แอบอิง ร่องรอยของการมีอยู่ ยังคงปรากฎบนพื้นผิว รูปทรงที่ใช้ได้แรงบันดาลใจจากสถาปัตยกรรม ยุคโกธิกมาลดทอน และหยิบยกนกพิราบตัวแทนแห่งอิสระภาพและพาหนะแห่งกาลเวลา เฟอร์นเิ จอร์และ ของตกแต่งชุดนี้ ออกแบบถอดประกอบได้ จึงง่ายต่อการขนส่ง และมีการออกแบบเพื่อแก้ปัญหาการ ยืดตัวระหว่างวัสดุ ทั้งยังสามารถผลิตได้ภายใต้ระบบอุตสาหกรรมภายในประเทศ This artwork is inspired by time and process. With a mass production by machinery, some texture is created within thin clear glaze. Using old wood with some trace of creature, as a symbol of memory. Inspired by Gothic Architecture, the form appears with doves which is a symbol of freedom and traveling time. This set of furniture is designated for disassembly, so it is convenient for logistics transfer and for other assembly solutions. Also it is able to mass-produce in the country.

78


79


80


โล่รางวัลและเกียรติบัตรประเภทผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผาและนวัตกรรมใหม่ Trophy Award and Certificate in the Best Ceramic Entrepreneur and the Newest Innovation ประเภทโรงงานขนาดเล็ก Small Entrepreneur

บริษัท ซันวา เซอรามิค จำ�กัด Sunwa Ceramic Co., Ltd.

การใช้เครื่องพิมพ์ 3 มิติ (3 D Printer) ในการทำ�ต้นแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก Ceramic Mold by 3D Printing

บริษัทฯ ใช้เครื่องพิมพ์ 3มิติ นี้ในการขึ้นตัวอย่างต้นแบบ เพื่อใช้ในการทำ�พิมพ์ต่อไปในกระบวนการผลิต แก้ปัญหาจากเดิมที่ต้องใช้แรงงาน คนในการแกะต้นแบบจากปูนปลาสเตอร์ ซึ่งคาดหวังความแม่นยำ�ได้ยาก โดยเฉพาะรูปแบบที่เป็นเรขาคณิต หรือรูปแบบที่มีรายละเอียดมาก นับ วันช่างฝีมือที่มีความสามารถในด้านนี้หายากขึ้นทุกวัน ซึ่งเครื่องพิมพ์3D นี้ได้ตอบโจทย์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบของบริษัทฯ ได้อย่างดี นอกจากนี้ได้ประหยัดเวลาในการทำ�ต้นแบบ เมื่อเทียบกับการใช้แรงงานคนซึ่งอาจใช้เวลาเป็นสัปดาห์ และความรวดเร็วในการปรับแก้ไขต้นแบบ ในครั้งต่อๆไป เพื่อให้ได้อย่างที่ต้องการ ก็รวดเร็วและแม่นยำ�กว่ามาก เครื่องพิมพ์ 3Dนั้นก่อนที่จะพิมพ์ชิ้นงานได้ ต้องมีข้อมูลในรูปแบบของ ดิจิตอลซึ่งสามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์จำ�พวก CAD (Computer Aided Design) ในการออกแบบ และยังสามารถใช้สแกนเนอร์ 3 มิติ ในการเปลี่ยนวัตถุในโลกความจริงเป็นไฟล์ดิจิตอล ที่สามารถนำ�ไปใช้กับ เครื่องพิมพ์ได้ เมื่อได้โมเดลหรือโมเดลในรูปของไฟล์ดิจิตอลแล้ว จะนำ�ไฟล์นั้นไปทำ�การตัดแผ่นบาง (Slice) หรือตัดเลเยอร์งานออกมาให้เป็น แผ่นบางๆ เพื่อที่จะให้เครื่องพิมพ์ 3D ดันเส้นลวดพลาสติก ให้ผ่านหัวฉีดออกมา เคลื่อนไปตามโปรแกรมที่สร้างมาจากไฟล์ชิ้นงานที่ออกแบบ ไว้ โดยการฉีดทับกันเป็นชั้นๆ จนเกิดเป็นวัตถุ 3 มิติขึ้นมา วัสดุที่ใช้เป็นของหนืด จำ�พวก เทอร์โมพลาสติก เช่น ABS PLA PET Nylon มาเป็นวัสดุในการขึ้นรูปโมเดล ซึ่งพลาสติกดังกล่าวจะอยู่ในรูปของ เส้นลวดพลาสติก ต้องผ่านหัวฉีดขนาดเล็ก ที่มีฮีทเตอร์ เมื่อพลาสติกเริ่มละลายจะมีตัวดันเส้นลวดพลาสติกให้ผ่านหัวฉีดออกมา และเคลื่อนไป ตามโปรแกรมที่สร้างมาจากชิ้นงานที่ออกแบบไว้ โดยความเร็วในการทำ�งานของเครื่อง (feed rate) ประมาณ 10 มิลลิเมตร ต่อวินาที หรือ หากเทียบว่าเป็นถ้วยกาแฟที่บริษัทฯ ได้ผลิตต้นแบบจากเครื่องใช้ ใช้เวลาประมาณ 2 ชม. Our company has created ceramics molding, using 3D printing that reduce labor cost and increase accurate detailed mold, especially complicated one. 3D printing is a solution of decreasing craftsmen nowadays. Furthermore, this reduces production processes and time, compared to human labor which could be more than a week. A 3D Printer rely on data or digital file such as designed CAD file. In addition, a 3D scanner is able to scan a real object then convert it into a digital file format. When the model is converted as a file, the program would slice many thin layers that work with the printer. Consequently, the printer would inject tiny plastic parts. For the molding materials, we use thermoplastics such as ABS PLA PET Nylon. These plastic will be extruded in a form of thin wire, layer by layer till the object turn into a 3D one. Estimating feed rate for the process is 10 mm. per seconds, in brief, we can produce a cup molding by this method within only 2 hours.

81


82


โล่รางวัลและเกียรติบัตรประเภทผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผาและนวัตกรรมใหม่ Trophy Award and Certificate in the Best Ceramic Entrepreneur and the Newest Innovation ประเภทศูนย์ Organisation

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร Faculty of Industrial Technology Phranakhon Rajabhat University

การสร้างเครื่องกัดมินิซีเอ็นซีขนาดเล็กสำ�หรับการผลิตต้นแบบถ้วยและชามเซรามิก Construction of Small CNC Milling Machine for Producing Prototype of Cup and Bowl Ceramics

วัตถุประสงค์ของงานวิจย ั นีเ้ พือ ่ สร้างเครือ ่ งกัดมินซิ เี อ็นซีขนาดเล็กทีเ่ หมาะสำ�หรับงานกัดชิน ้ งานเซรามิกประเภทถ้วยชาม ทีไ่ ม่ตอ ้ งการกำ�ลังในการ ตัดวัสดุสงู เพือ ่ ใช้เป็นต้นแบบในการออกแบบกระบวนการผลิตจริง โดยเริม ่ จากประกอบชิน ้ ส่วนของเครือ ่ งจักร การต่อระบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ การเชื่อมต่ออุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนที่ของมอเตอร์ขับเคลื่อนกับคอมพิวเตอร์ด้วยซอฟแวร์ Mach 3 ซึ่งมีการจำ�ลองการกัดผ่านซอฟต์แวร์ Aspire 8.0 การทดสอบการเดินกัดชิ้นงานถ้วยชามเซรามิก เพื่อหาค่าตัวแปรสภาวะการกัดคือ ความเร็วป้อน ความเร่งมอเตอร์และรูปแบบการ เดินกัดในแต่ละรอบที่ให้ผลความคลาดเคลื่อนจากการกัดต่�ำ สุด พบว่าค่าความคลาดเคลื่อนต่ำ�สุดในการเดินตามตำ�แหน่งเฉลี่ยในแกน X และ แกน Y และแกน Z เท่ากับ 0 และ 0.5 มิลลิเมตรตามลาดับ ที่ความเร็วป้อน 3,000 มิลลิเมตร/นาที ความเร่งมอเตอร์ 500 มิลลิเมตร/วินาที ที่ความเร็วมอเตอร์เริ่มต้น 3,000 มิลลิเมตร/นาที ในลักษณะการเดินกัดแบบวนรอบตามรูปทรงชิ้นงาน (Follow Part) เมื่อกัดชิ้นงานต้นแบบ ถ้วยขนาดขนาด กว้าง 125 มิลลิเมตร สูง 65 มิลลิเมตร ตามสภาวะการกัดทีใ่ ห้คา่ คลาดเคลือ ่ นต่�ำ สุดและสูงสุด พบว่า เมือ ่ สเต็ปมอเตอร์เคลือ ่ นที่ สามารถควบคุมการเดินของหัวกัดให้กัดชิ้นงานเป็นตามรูปทรงที่ได้ออกแบบไว้

The aim of this research is to build a small milling CNC for producing cups and bowls ceramics which is not required high cutting power. This ceramics prototype for process produces. The procedure starts from machine’s components assembly, electronic devices setting, joining between drive control and computer with software Mach 3, Milling simulation test by Aspire 8.0 software. The testing to find status of movement in each run was set to determine lowest movement error in X and Y axis, depending on changed factors: feed, motor accelerate at start velocity 3000 mm./ min and cutting pattern. The result showed minimum distant error are 0 and 0.5 mm, respectively in X-axis and Y-axis when a cutting condition was feed at 3,000 mm/min. The cutting condition was defined to circular part of cups width 125 millimeter and high 65 millimeter in follow state of milling in movement minimum error and maximum error fond that stepping motor can control milling is shaped as designed.

83


84


โล่รางวัลและเกียรติบัตรประเภทผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผาและนวัตกรรมใหม่ Trophy Award and Certificate in the Best Ceramic Entrepreneur and the Newest Innovation ประเภทโรงงานขนาดกลางและขนาดใหญ่ Medium to Large Entrepreneur

บริษัท ธนบดีอาร์ตเซรามิค จำ�กัด Dhanabadee Art Ceramic Co.,Ltd.

แผ่นรองแก้วแบบดูดซับน้ำ�ได้ Water Absorb Coaster

แผ่นรองแก้วทั่วไปมีปัญหาหยดน้ำ�ขัง ทำ�ให้มีโอกาสหกเลอะเทอะ หรือบางครั้งดูดติดก้นแก้ว แผ่นรองแก้วแบบดูดซับน้ำ�ได้ (Water Absorb Coaster) ผลิตจากเนื้อดินพิเศษมีรูพรุนขนาดเล็ก แข็งแกร่ง ดูดซึมน้ำ�ได้ดีทำ�ให้ไม่มีน้ำ�ขังบน แผ่นรอง และสามารถวางทิ้งไว้ให้น้ำ�ระเหยออก มีการเคลือบด้วยเนื้อดินพิเศษเพื่อป้องกันเชื้อราและเผาแกร่งที่ 1,260 องศาเซลเซียส Cup coaster in general always unabsorbed tiny drops of moisture on the outside of the glass. Consequently, glass sometime stick to the coaster and lead to unpleasant dirtiness. “Water Absorb Coaster” made of special clay that contains many spongy yet sturdy clay, well absorb, so that those drop would disappear. In addition, it can be dried automatically when stored in a dry place. The glaze is done by using specific clay, fired at 1,260 °C that protects the coaster from any fungi trouble.

85


86


โล่รางวัลและเกียรติบัตรประเภทผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผาและนวัตกรรมใหม่ Trophy Award and Certificate in the Best Ceramic Entrepreneur and the Newest Innovation ประเภทโรงงานขนาดกลางและขนาดใหญ่ Medium to Large Entrepreneur

บริษัท แมนนิจจิเบิล อินซูเลเตอร์ จำ�กัด Manageable Insulator Co., Ltd.

ลูกถ้วยไฟฟ้าปอร์ซเลน ชนิดลูกถ้วยแขวนคอตัน Porcelain insulator : Solidcore suspension

ลูกถ้วยไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์หลักของการเดินสายพาดเสาในระบบการกระจายกระแสไฟฟ้า โดยทำ�หน้าทีเ่ ป็นฉนวนไฟฟ้า ไม่ให้กระแสไฟฟ้าลัดวงจร หรือไหลลงสู่พื้นดินทำ�ให้เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต ลูกถ้วยไฟฟ้ามีหลายชนิดและรูปแบบตามค่าแรงดันไฟฟ้าและลักษณะการใช้งาน ลูกถ้วย ไฟฟ้าชนิดแขวนเป็นลูกถ้วยไฟฟ้าที่มีการใช้มากที่สุด โดยมีการใช้ทั้งระบบแรงดันไฟฟ้าสูง 115 kv (ชนิด ANSI 52-3) และแรงดันไฟฟ้าต่ำ� 22 – 33 kv (ANSI 52-1 และ 52-4) อย่างไรก็ตามพบว่าลูกถ้วยไฟฟ้าชนิดแขวนแบบเดิมมีคณ ุ สมบัตใิ นการเป็นฉนวนไฟฟ้าไม่เพียงพอในบางพืน ้ ทีก ่ ารใช้งาน ทำ�ให้เกิดการเจาะผ่าน ของกระแสไฟฟ้าและทำ�ให้เกิดปัญหาไฟฟ้าตก ไฟฟ้าดับ ซึง่ สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจให้กบ ั ผูใ้ ช้กระแสไฟฟ้า และระบบการจำ�หน่ายไฟฟ้า โดยรวมเป็นอย่างมาก ผลงานการประดิษฐ์ลูกถ้วยแขวนชนิดคอตันที่นำ�เสนอในโครงการนี้ได้ดำ�เนินการโดยวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา จึงใช้แนวคิดที่จะทำ�ให้ลูกถ้วย ดังกล่าวมีความหนาของเนื้อวัสดุที่เป็นฉนวนไฟฟ้ามากขึ้น และมีระยะบนผิวหน้าของลูกถ้วยเพิ่มขึ้น ผลการทดลองเปรียบเทียบระหว่างลูกถ้วยไฟฟ้าแขวนแบบใหม่ (ชนิดคอตัน) และลูกถ้วยไฟฟ้าแขวนแบบเดิมในห้องปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูง พบว่าคุณสมบัติทางไฟฟ้าของลูกถ้วยไฟฟ้าแบบใหม่ดีกว่าลูกถ้วยไฟฟ้าแบบเดิม และถ้าได้รับการทดสอบในภาคสนามโดยทำ�การใช้งานจริง จะทำ�ให้ได้ผลที่ชัดเจนยิ่งขึ้น ข้อบ่งชี้ความเป็นนวัตกรรมของโครงการในด้านเทคโนโลยีระหว่างแนวความคิดใหม่กับสิ่งที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน ลักษณะของส่วนแกนที่เป็นคอของลูกถ้วยเป็นแบบคอตัน ไม่มีช่องเจาะที่ตรงกลางของลูกถ้วย ทำ�ให้ระยะหรือความหนาของเนื้อวัสดุที่เป็น ฉนวนไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ทำ�ให้กระแสไฟฟ้าแรงสูงไหลผ่านทะลุเนื้อฉนวนจากส่วนปิดครอบที่ทำ�จากโลหะด้านหนึ่งไปยังส่วนปิดครอบที่ทำ�จากโลหะ อีกด้านหนึ่งทำ�ได้ยาก และมีระยะบนผิวหน้าของตัวลูกถ้วยมากขึ้น ทำ�ให้เกิดการวาบไฟบนลูกถ้วยได้ยากเช่นกัน Porcelain insulator is one of the main parts that provide absence of electrical conduction by functioning as an insulator, preventing any harmful situation causes by electrical current. There are many types of them, depends on voltage and usage, the most common type is solidcore suspension, for high voltage 115 kv (ANSI 52-3) and low voltage 22 – 33 kv (ANSI 52-1 and 52-4). However, some defect is founded in this type of insulator. In some area, the insulating property doesn’t function well enough. Therefore, electrical conduction system could be disrupted, affecting a huge of economic loss. The innovation of “Porcelain insulator : Solidcore suspension” in this project has been analysed the root of the trouble. The solution is thickening the insulation part so that the surface would be increased.The result when compared our new “Porcelain insulator : Solidcore suspension” to the old one in high voltage laboratory is that the new one could perform better. The innovation even performs much better in a fieldwork.

87


88


ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

89


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดย นาย จักรินทร์ เรือนษร Lampang Rajabhat University By Mr. Chakarin Rueansorn ผลงานชิ้น “ต้นไม้ในตำ�นาน” เทคนิค ขึ้นรูปแบบอิสระ ชนิดดิน ดินดำ� ชนิดเคลือบ เคลือบไหลผสมอ๊อกไซด์ อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 48 x 33 x 83 ซม. Title “Tree Legends” Technique Free Forming Materials Local Clay Glazed High Temperature Glazed and Oxide Glazed Temperature 1,200 °C Size 48 x 33 x 83 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย จำ�ลอง สุวรรณชาติ Mr. Jarmlong Suwanchat “องค์ประกอบแห่งการดำ�เนินของชีวิต” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ เคลือบเฟลด์สปาร์ 1,250 °C 40 x 115 x 125 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Composition of Live” Technique Hand Forming Materials Stoneware Clay Glazed Feldspar Glazed Temperature 1,250 °C Size 40 x 115 x 125 cm. ( 3 Pieces )

ศิลปิน ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดย นางสาว เกศริน บางทราย Bangsai Arts and Crafts Center, the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Miss Kedsarin Bangsai ผลงานชิ้น “การเคลื่อนไหว” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ ชนิดเคลือบ เคลือบไฟสูง อุณหภูมิ 1,250 °C ขนาด 43 x 35 x 65 ซม. Title “Movement” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,250 °C Size 43 x 35 x 65 cm.

90


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย เกียรติภูมิ กรรณสูตร Mr. Keithipoom Kannasoot “สัจธรรมแห่งชีวิต” รากุ ดินสโตนแวร์ ผสมก๊อก เคลือบขาวไฟต่ำ� 1,110 °C 195 x 179 x 142 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Truth of Life” Technique Raku Materials Stoneware and Mixed Clay Glazed Opaque Glazed Temperature 1,110 °C Size 195 x 179 x 142 cm. ( 3 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย คธาวุธ จุลทุม Mr. Khatawut Julatum “การดำ�รงอยู่” เอนโกบและขูดสี ดินนครปฐม เอนโกบ 900 °C 190 x 40 x 140 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Existent” Technique Engobe - Sgraffito Materials Local Clay ( Nakorn Pathom Clay ) Glazed Engobe Temperature 900 °C Size 190 x 40 x 140 cm. ( 3 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย ดุริวัฒน์ ตาไธสง Mr. Duriwat Tathaisong “บุพกรรม” ขึ้นรูปอิสระ ดินด่านเกวียน เคลือบไฟสูง 1,200 °C 224 x 100 x 165 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Past Deeds” Technique Free Forming Materials Local Clay ( Dan Kwean Clay ) Glazed High Temperature Temperature 1,200 °C Size 224 x 100 x 165 cm. ( 3 Pieces )

91

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดย นาย กิตติชัย สุขสุเมฆ Bangsai Arts And Crafts Center The Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mr. Kitthichai Suksumak “ดวงตาเห็นธรรม” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,210 °C 52 x 84 ซม.

Title “Wisdom Eyes” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,210 °C Size 52 x 84 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย โดย นาย ทรรศนพล นามวงษ์ Sisaketwittayalai School By Mr. Thasanapol Namwong “เมล็ดพันธุ์หิมพานต์” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินบ้านหม้อ ( มหาสารคาม ) 800 °C 30 x 30 x 88 ซม.

Title “Seed Creatures” Technique Hand Forming Materials Local Clay ( Ban Mor Clay from Mahasarakam ) Temperature 800 °C Size 30 x 30 x 88 cm.

92


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว จุรีพร พิมพ์แพง Miss Jureeporn Pimpang “การกระทำ�ของมนุษย์ หมายเลข 1” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินบ้านวังถั่ว เคลือบไฟสูง 900 - 1,200 °C 72 x 38 x 50 ซม. ( 2 ชิ้น )

Title Technique Materials Glazed Temperature Size

“Human Actions No. 1” Hand Forming Local Clay ( Baan Wang Thua Clay ) High Temperature 900 - 1,200 °C 72 x 38 x 50 cm. ( 2 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดย นางสาว ชลนิชา หมั่นยืน Bangsai Arts and Crafts Center, the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Miss Chonnicha Manyaen “Cactus Family” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,230 °C 125 x 84 ซม. ( 12 ชิ้น )

Title Technique Materials Glazed Temperature Size

“Cactus Family” Hand Forming Earthenware Clay High Temperature 1,230 °C 125 x 84 cm. ( 12 pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย ชัชชัยวัชร ชังชู Mr. Chatchaiwat Chungchoo “การกลายพันธุ์ของแจกันที่ไม่มีดอกไม้ ( ชุดที่ 1 )” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินสโตนแวร์ เคลือบขี้เถ้าไฟสูง 1,280 °C 55 x 95 x 124 ซม. ( 4 ชิ้น )

Title “Mutations of the Vase without Flowers ( Series 1 )” Technique Throwing and Finished Materials Stoneware Clay Glazed Smoking Fire Glazed Temperature 1,280 °C Size 55 x 95 x 124 cm. ( 4 Pieces )

93

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศล ิ ปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิรก ิ ต ิ ิ์ พระบรมราชินน ี าถ โดย นาย พนม เสมาทอง Bangsai Arts and Crafts Center, the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mr. Panom Sematong “ผลนิมิต” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินพิเศษบางไทร เคลือบไฟสูงผสมแก้ว 1,200 °C 222 x 70 x 45 ซม. ( 21 ชิ้น )

Title “Phol Nimit” Technique Hand Forming Materials Special Clay (Bangsai Clay) Glazed High Temperature and Glass Glazed Temperature 1,200 °C Size 222 x 70 x 45 cm. ( 21 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย ธาตรี เมืองแก้ว Mr. Thatree Muangkaew “ธรรมชาติแห่งชีวิต” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน แกะลาย และเตาฟืน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ จังหวัดราชบุรี เคลือบขี้เถ้า 1,220 °C 38 x 42 / 48 x 40 / 28 x 10 / 15 x 15 ซม. ( 4 ชิ้น )

Title “The Nature of Life” Technique Wheel Throwing, Carving and Woodfire Materials Earthenware Clay (Ratchaburi) Glazed Smoking Fire Glazed Temperature 1,220 °C Size 38 x 42 / 48 x 40 / 28 x 10 / 15 x 15 cm. ( 4 Pieces )

94


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนางสาว พรพิม อุโมง Valaya Alongkorn Rajabhat University By Miss Pornpim Umong “ตรานก 11 ตัว” ขึ้นรูปด้วยมือ VRU Clay VRU Glass 1,210 °C 85 x 85 x 43 ซม.( 8 ชิ้น )

Title “11 Birds Brand” Technique Hand Forming Materials VRU Clay Glazed VRU Glass Temperature 1,210 °C Size 85 x 85 x 43 cm. ( 8 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย ธนสิทธิ์ จันทะรี Mr. Thanasit Chantaree “เต้นรำ�เพื่อสันติภาพ” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเหนียวขอนแก่น เคลือบไฟต่ำ� 1,000 °C 110 x 110 x 65 ซม. ( 5 ชิ้น )

Title “Dance for Peace” Technique Hand Forming Materials Local Clay (Khon Kaen Clay) Glazed Low Temperature Temperature 1,000 °C Size 110 x 110 x 65 cm. ( 5 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดย นาย เจษฎา ทองสุข Lampang Rajabhat University By Mr. Jessada Thongsuk “เครื่อง จักร คน” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ เคลือบใส 1,220 °C 40 x 43 x 85 ซม.

Title “Machine’s Human” Technique Hand Forming Materials Stoneware Clay Glazed Clear Glazed Temperature 1,220 °C Size 40 x 43 x 85 cm.

95

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

นาย ธีรวัฒน์ ลอดภัย Mr. Theerawat Lodpai “เบ่งบาน” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินบ้านหม้อ 800 °C 150 x 150 x 60 ซม. ( 25 ชิ้น )

Title “Blossom” Technique Hand Forming Materials Local Clay ( Ban Mor Clay ) Temperature 800 °C Size 150 x 150 x 60 cm. ( 25 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย นพอนันต์ บาลิสี Mr. Nopanan Balisi “บทสนทนาจากลำ�มูล” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินแม่น้ำ�มูล เคลือบไฟต่ำ� 1,110 °C 190 x 182 x 158 ซม. ( 7 ชิ้น )

Title “Conversation of Lum Moon” Technique Hand Forming Materials Moon River Clay Glazed Low Temperature Temperature 1,110 °C Size 190 x 182 x 158 cm. ( 7 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

96


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

นาย ธนิต จินดาธรรม Mr. Tanit Chindatham “นารีผล” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเหนียว 900 °C 58 x 70 ซม.

Title “Tree Bearing Fruits in the Shape of Girls” Technique Hand Forming Materials Clay Temperature 900 °C Size 58 x 70 cm.

97

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดย นายธมลวัฒน์ หิรัญชาติอนันต์ Lampang Rajabhat University By Mr. Tamonwat Hirunchart a-nan “ลูกแพร์” ขึ้นรูปอิสระ ขึ้นรูปแบบขด ดินสโตนแวร์ เคลือบสีน้ำ�ตาล 1,250 °C 50 x 50 x 90 ซม.

Title “Pear” Technique Coiling and Free Forming Materials Stoneware Clay Glazed Brown Glazed Temperature 1,250 °C Size 50 x 50 x 90 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดย นางสาว นริตา วงค์ก๋องคำ� Lampang Rajabhat University By Miss Narita Wongkongkham “ด้วยหัวใจ” ขึ้นรูปอิสระลอยตัว ดินสโตนแวร์ เคลือบสีขาว เคลือบไหลสีน้ำ�ตาล เอนโกบ 1,200 °C 180 x 100 x 90 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “By Heart” Technique Free Forming Materials Stoneware Clay Glazed White Glazed, Brown Glazed, High Temperature Glazed and Engobe Temperature 1,200 °C Size 180 x 100 x 90 cm. ( 3 Pieces ) ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดย นางสาว นริตา วงค์ก๋องคำ� Lampang Rajabhat University By Miss Narita Wongkongkham “ดอกไม้ทะเล” ขึ้นรูปอิสระลอยตัว ดินสโตนแวร์ เคลือบสีขาว เคลือบสีฟ้า เคลือบไหลสีน้ำ�ตาล 1,200 °C 140 x 40 x 84 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Sea Anemone” Technique Free Forming Materials Stoneware Clay Glazed White Glazed, Blue Glazed and High Temperature Glazed Temperature 1,200 °C Size 140 x 40 x 84 cm. ( 3 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนาย นวพล ปิ่นเพชร Valaya Alongkorn Rajabhat University By Mr. Nawapon Pinpech “สภาวะจิต หมายเลข 13” ขึ้นรูปด้วยมือ VRU Clay เตาฟืน เคลือบขี้เถ้า 1,250 °C 140 x 32 x 75 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Mind No. 13” Technique Hand Forming Materials VRU Clay Glazed Woodfire and Ash Glazed Temperature 1,250 °C Size 140 x 32 x 75 cm. ( 3 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

98


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย นิพนธ์ ชอบใหญ่ Mr. Nipon Chobyai “ชีวิตในสภาวะใหม่” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินบ้านหม้อ จังหวัดมหาสารคาม เคลือบสีสเตนไฟต่ำ� 800 - 900 °C 200 x 180 x 147 ซม.

Title Technique Materials Glazed Temperature Size

“Life in the New State” Hand Forming Local Clay ( Ban Mor Clay from Mahasarakam ) Low Temperature and Stain glaze 800 - 900 °C 200 x 180 x 147 cm.

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศล ิ ปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิรก ิ ต ิ ิ์ พระบรมราชินน ี าถ โดย นางสาว บูรณิน กาวี Bangsai Arts and Crafts Center, the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Miss Burin Kawi “คลื่น” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,200 °C 135 x 62 ซม. ( 4 ชิ้น )

Title “Wave” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,200 °C Size 135 x 62 cm. ( 4 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นาย ประกาศิต แก้วประดับ Valaya Alongkorn Rajabhat University By Mr. Prakasit Keawpradab “มนุษา 2559” ขึ้นรูปด้วยมือ VRU Clay เตาฟืน 1,250 °C 145 x25 x 90 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Human 2016” Technique Hand Forming Materials VRU Clay Glazed Ash Glazed Temperature 1,250 °C Size 145 x 25 x 90 cm. ( 3 Pieces )

99

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา โดยนาย ปราเมศวร์ กลางหมื่นไวย Rajamangala University of Technology Isan, Nakhon Ratchasima By Mr. Pramet Klangmuenwat ผลงานชุด “ความสมบูรณ์ของธรรมชาติก่อเกิดความงามแห่งชีวิต” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินด่านเกวียน ชนิดเคลือบ เคลือบขี้เถ้า อุณหภูมิ 1,300 °C ขนาด 200 x 125 x 145 ซม. ( 17 ชิ้น ) Title “Perfection of Nature and Life” Technique Hand Forming Materials Local Clay (Dan Kwean Clay) Glazed Smoking Fire Glazed Temperature 1,300 °C Size 200 x 125 x 145 cm. ( 17 Pieces )

ศิลปิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา โดย นางสาว พรวิมล ปนสูงเนิน Rajamangala University of Technology Isan, Nakhon Ratchasima By Miss Pornwimol Ponsungnoen ผลงานชุด “หัวใจของธรรมชาติ” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินด่านเกวียน ชนิดเคลือบ เคลือบขี้เถ้า อุณหภูมิ 1,250 °C ขนาด 100 x 80 x 85 ซม. ( 8 ชิ้น ) Title “Heart of Nature” Technique Hand Forming Materials Local Clay ( Dan Kwean Clay ) Glazed Smoking Fire Glazed Temperature 1,250 °C Size 100 x 80 x 85 cm. ( 8 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

100


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว เพื่อน โรจนพร Miss Puen Rojanaporn “หนุมาน 4 G” เผารมควันฟาง ดินนครราชสีมา 1,000 °C 180 x 75 x 45 ซม. ( 100 ชิ้น )

Title “Hanuman 4 G” Technique Smoking Fire Materials Local Clay ( Nakhon Ratchasima ) Temperature 1,000 °C Size 180 x 75 x 45 cm. ( 100 Pieces )

101

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว เยาวเรศ สุทธิศาล Miss Yaowaret Sutthisan “ลูกข่าง” สางลาย, พ่นทราย, ไม้กลึง ดินสโตนแวร์ เคลือบสเตน 1,250 °C 1S(45x22) / 2S(40x22) / 3S(33x22) / L(37x22) ซม. ( 4 ชิ้น )

Title “Spinning Top” Technique Surface Decoration and Wood Materials Stoneware Clay Glazed Stain Glazed Temperature 1,250 °C Size 1S(45x22) / 2S(40x22) / 3S(33x22) / L(37x22) cm. ( 4 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดย นาย พลเชษฐ์ แก้วธิดา Lampang Rajabhat University By Mr. Phorched Kaewtida “ไหล หมายเลข 2” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ เคลือบไหล 1,200 °C 58 x 58 x 78 ซม.

Title “Flowing No. 2” Technique Hand Forming Materials Stoneware Clay Glazed High Temperature Glazed Temperature 1,200 °C Size 58 x 58 x 78 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย พิเชฐ ธรรมวัฒน์ Mr. Pichet Thammawat “สุขใจในธรรมชาติ” ขึ้นรูปแบบประติมากรรม ดินด่านเกวียน และปักธงชัยอินดี้เคลย์ ขี้เถ้าไม้ 800 - 1,200 °C 120 x 120 x 150 ซม.

Title Technique Materials Glazed Temperature Size

“Happiness in Nature” Sculpture Forming Local Clay ( Dan Kwean Clay and Pakthongchai Indy Clay ) Ash Glazed 800 - 1,200 °C 120 x 120 x 150 cm.

102


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดย นางสาว วิมลมณี สีคำ�วัง Lampang Rajabhat University By Miss Wimonmanee Seekumwang “พ่อบ้านสุขสันต์” ขึ้นรูปอิสระลอยตัว ดินสโตนแวร์ เคลือบไหลสีน้ำ�ตาล สีสเตน 1,180 °C 50 x 40 x 80 ซม.

Title “Happy Family Man” Technique Free Forming Materials Stoneware Clay Glazed Brown Glazed, High Temperature Glazed and Stain Color Temperature 1,180 °C Size 50 x 40 x 80 cm.

103

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดย นาย รัฐพล กันทะจันทร์ Lampang Rajabhat University By Mr. Rattaphon Kantajan “โลกใต้ทะเล” ขึ้นรูปแบบอิสระ ดินสโตนแวร์ สลัดสี, เคลือบไหล 1,250 °C 55 x 59 x 82 ซม.

Title “The World under the Sea” Technique Free Forming Materials Stoneware Clay Glazed Color Splashed and High Temperature Glazed Temperature 1,250 °C Size 55 x 59 x 82 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

นาย สุภัตษร บรรณศรี Mr. Supatson Bannasri “งอกงาม” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินบ้านหม้อ จังหวัด มหาสารคาม 700 -800 °C 83 x 34 x 120 ซม.

Title Technique Materials Temperature Size

“Blossoming” Hand Forming Local Clay ( Ban Mor Clay from Mahasarakam ) 700 -800 °C 83 x 34 x 120 cm.

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย สุทธิพงษ์ ศรีไกรภักดิ์ Mr. Sutthipong Srikaipak “สัมพันธภาพสิ่งมีชีวิตในอุดมคติ” ขึ้นรูปด้วยมือ เผากลางแจ้ง ดินบ้านเชียงเครือ จังหวัด สกลนคร เคลือบขี้เถ้า 800 °C 123 x 75 x 70 ซม.

Title “Ideal of Creature’s Relationship” Technique Hand Forming and Outdoor Firing Materials Local Clay ( Sakon Nakorn ) Glazed Smoking Fire Glazed Temperature 800 °C Size 123 x 75 x 70 cm.

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย อติชาติ เต็งวัฒนโชติ Mr. Athichart Thengwattanachote “แทง หน่อ แตกกอ” ขึ้นรูปด้วยมือ เผากลางแจ้ง เตาฟืน ดินบ้านเชียงเครือ จังหวัด สกลนคร เคลือบขี้เถ้า 800 °C 130 x 110 x 65 ซม. ( 6 ชิ้น )

Title “Growing” Technique Hand Forming, Outdoor and Woodfire Firing Materials Local Clay ( Sakon Nakorn ) Glazed Smoking Fire Glazed Temperature 800 °C Size 130 x 110 x 65 cm. ( 6 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

104


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนาย สมควร กุลวงศ์ Bangsai Arts and Crafts Center, the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mr. Somkhoun Kunlawong “ดอกไม้ แมลง หม้อข้าวหม้อแกงลิง” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,230 °C 116 x 23 x 60 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Flower, Insect and Nepenthes” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,230 °C Size 116 x 23 x 60 cm. ( 3 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

นาย วิทวัส ปิยะชัยวุฒิ Mr. Wittawat Piyachaiwut “โค้งเว้า หมายเลข 2 ” หล่อ ขูดตกแต่งผิว ดินพอร์ซเลน 1,250 °C 110 x 30 x 22 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Curve No. 2” Technique Casting and Incising Materials Porcelain Clay Temperature 1,250 °C Size 110 x 30 x 22 cm. ( 3 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดย นาย สรวิศ มูลอินต๊ะ Lampang Rajabhat University By Mr. Soravich Mulinta “ลวง-พราง” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินดำ�แม่ทาน เคลือบดินลูกรัง 1,200 °C 185 x 30 x 79 ซม. ( 5 ชิ้น )

Title “Hidden” Technique Hand Forming Materials Local Clay ( Maetan Clay ) Glazed Red Earth Glazed Temperature 1,200 °C Size 185 x 30 x 79 cm. ( 5 Pieces )

105

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

นาย สุรศักดิ์ แสนโหน่ง Mr. Surasuk Sannong “ช่วงเวลาแห่งความสุข หมายเลข 2” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินบ้านหม้อ จังหวัดมหาสารคาม 1,200 และ 800 °C 60 x 70 x 80 ซม.

Title Technique Materials Temperature Size

“Moment of Happiness No.2” Hand Forming Local Clay ( Ban Mor Clay from Mahasarakam ) 1,200 and 800 °C 60 x 70 x 80 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดย นางสาว สุกัญญา พุกพบสุข Lampang Rajabhat University By Miss Sukanya Pukpobsuk “ใจดำ�” ขึ้นรูปอิสระลอยตัว ดินดำ� เคลือบไหลผสมอ๊อกไซด์ 1,200 °C 100 x 40 x 90 ซม. ( 2 ชิ้น )

Title “Black - Hearted” Technique Free Forming Materials Local Clay Glazed High Temperature Glazed and Oxide Glazed Temperature 1,200 °C Size 100 x 40 x 90 cm. ( 2 Pieces )

106


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

107

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

นาย รชต เที่ยงผดุง Mr. Rachata Taingphadung “ความสมดุล-ชีวิต” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินบ้านหม้อ 800 – 900 °C 80 x 70 x 190 ซม.

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

Title Technique Materials Temperature Size

“Balance - Life” Hand Forming Local Clay ( Ban Mor Clay ) 800 – 900 °C 80 x 70 x 190 cm.

Title “Imagination of Flower” Technique Hand Forming Materials Local Clay ( Ban Mor Clay ) Temperature 800-900 °C Size 100 x 78 x 115 cm.

นาย อดิศักดิ์ มาลา Mr. Adisak Mala “จินตนาการรูปทรงของดอกไม้” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเผาบ้านหม้อ 800-900 °C 100 x 78 x 115 ซม.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนางสาว หทัยรัตน์ ปรมัตถ์คุณาสิน Bangsai Arts and Crafts Center, the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Miss Hatairat Proramutkunasin “ไตรลักษณ์ และอริยสัจ 4” ขึ้นรูปด้วยมือ เอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,250 °C 26 x 26 x 200 ซม.

Title “The Three Characteristics and the Four Noble Truths” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,250 °C Size 26 x 26 x 200 cm.

ศิลปิน ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนาย เสริมศักดิ์ ทามี Bangsai Arts and Crafts Center, the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mr. Soomsak Tame ผลงานชิ้น “Music No. 2” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ ชนิดเคลือบ เคลือบไฟสูง อุณหภูมิ 1,250 °C ขนาด 56 x 79 ซม. Title “Music No. 2” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,250 °C Size 56 x 79 cm.

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถโดยนาย เสริมศักดิ์ ทามี Bangsai Arts and Crafts Center, the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mr. Soomsak Tame “Music No. 1” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,250 °C 84 x 59 ซม.

Title “Music No.1” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,250 °C Size 84 x 59 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

108


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

109

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว เสาวนีย์ พลศร Miss Soawanee Polsorn “พฤติกรรมซ่อนเร้น” ขึ้นรูปแบบประติมากรรม ดินสโตนแวร์ เคลือบไฟสูง 1,200 °C 60 x 60 x 100 ซม.

Title “Hidden Behavior” Technique Sculpture Forming Materials Stoneware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,200 °C Size 60 x 60 x 100 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดย นาย อลงกรณ์ ธรรมพิชัย Bangsai Arts and Crafts Center, the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mr. Alongkon Thumpichai “Construction” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ เคลือบไฟสูง ( แทคเจอร์ ) 1,250 °C 37 x 12 x 73 ซม.

Title “Construction” Technique Hand Forming Materials Stoneware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,250 °C Size 37 x 12 x 73 cm.

110


ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย Contemporary Ceramic Art

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว อรพรรณ พินชนะ Miss Orapan Pinchana “ชีวิตกึ่งสำ�เร็จรูป” บีบเส้นและกดพิมพ์ ดินสโตนแวร์ เคลือบขาวทึบ, สีดิน 1,200 °C 108x 120 x 120 ซม. ( 85 ชิ้น )

Title “Instant Life” Technique Extruder and Stamping Materials Stoneware Clay Glazed Shino Glazed Temperature 1,200 °C Size 108 x 120 x 120 cm. ( 85 Pieces )

111

ศิลปิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา โดยนาย เอกราช พลับจะโปะ Rajamangala University of Technology Isan, Nakhon Ratchasima By Mr. Aekkarach Plubjapo ผลงานชิ้น “เรื่องเล่าของหุ่นไล่กา” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยมือ ชนิดดิน ดินด่านเกวียน ชนิดเคลือบ เคลือบขี้เถ้า ( รมควัน ) อุณหภูมิ 800 - 1,200 °C ขนาด 190 x 158 x 20 ซม. Title Technique Materials Glazed Temperature Size

“Scarecrow’s Story” Hand Forming Local Clay ( Dan Kwean Clay ) Smoking Fire Glazed 800 - 1,200 °C 190 x 158 x 20 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว กมลทิพย์ คำ�คง Miss Kamontip Hamkong “ภาชนะสำ�หรับตกแต่งความประทับใจจากโคกกระออม หมายเลข 1” ฉลุ ดินสโตนแวร์สำ�เร็จ เคลือบด้าน 1,220 °C 15 x 15 x 17 ซม.

Title “Kok-Gra-Aom Set for Decorated No. 1” Technique Perforating Materials Stoneware Clay Glazed Matt Glazed Temperature 1,220 °C Size 15 x 15 x 17 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว กมลทิพย์ คำ�คง Miss Kamontip Hamkong “ภาชนะสำ�หรับตกแต่งความประทับใจจากโคกกระออม หมายเลข 2” ฉลุ ดินสโตนแวร์สำ�เร็จ เคลือบศิลาดล 1,220 °C 14 x 14 x 18 ซม.

Title “Kok-Gra-Aom Set for Decorated No. 2” Technique Perforating Materials Stoneware Clay Glazed Celadon Glazed Temperature 1,220 °C Size 14 x 14 x 18 cm.

112


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย กิตติพศ ประโยชน์มี Mr. Kittipot Prayotmee “ผลิ” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินแม่ริม เคลือบไฟสูง 1,220 °C 20 x 44 x 65 ซม. ( 2 ชิ้น )

Title “Blossom” Technique Throwing Materials Local Clay ( Maerim Clay) Glazed High Temperature Temperature 1,220 °C Size 20 x 44 x 65 cm. ( 2 Pieces )

113

ศิลปิน โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยนาย เกรียงไกร ดวงขจร Ceramics Technology Program. Faculty of Industrial Technology Nakhon Ratchasima Rajabhat University By Mr. Kriangkrai Duangkhachon ผลงานชุด “ภาชนะจากธรรมชาติ (2)” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ชนิดดิน ดินสโตนแวร์ อุณหภูมิ 1,220 °C ขนาด 65x40x29 ซม. ( 4 ชิ้น ) Title “Pottery in Nature (2)” Technique Throwing and Finished Materials Stoneware Clay Temperature 1,220 °C Size 65 x 40 x 29 cm. ( 4 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนางสาว กนกกัญญา รวมไมตรี Lampang Rajabhat University By Miss Kanokkanya Ruammaitree “ธงไอยรา” หล่อน้ำ�ดิน, เอนโกบและจุดน้ำ�ดินสี ดินพอร์ซเลน เอนโกบ 1,230 °C 41 x 41 x 75 ซม. ( 6 ชิ้น )

Title “Elephant Flag” Technique Slip Casting, Engobe and Spot Painting Materials Porcelain Clay Glazed Engobe Temperature 1,230 °C Size 41 x 41 x 75 cm.( 6 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนางสาว เกศริน บางทราย Bangsai Arts and Crafts Center the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Miss Kedsarin Bangsai “สีสันดอกกระเจียว” การขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ การเคลือบไฟสูง 1,200 °C 52 x 55 x 74 ซม.

Title “Colorful Flowers” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,200 °C Size 52 x 55 x 74 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว จิรัชยา กาญจนวิบุญ Miss Jiratchaya Kranjanaviboon “ฤดูใบไม้ร่วงที่ลึกลับ” ขึ้นรูปแบบแผ่น ดินสโตนแวร์ เคลือบเงา 1,230 °C 16 x 14 x 45 ซม.

Title “Dark Autumn” Technique Slab Building Materials Stoneware Clay Glazed Gloss Glazed Temperature 1,230 °C Size 16 x 14 x 45 cm.

114


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย จำ�ลอง สุวรรณชาติ Mr. Jarmlong Suwanchat “ธรรมชาติบันดาล” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ เคลือบเฟลด์สปาร์ 1,250 °C สูง 75, 70, 60 ( 3 ชิ้น )

Title “Nature Inspires” Technique Hand Forming Materials Stoneware Clay Glazed Feldspar Glazed Temperature 1,250 °C Size H 75, 70, 60 ( 3 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย จิรวัฒน์ จันทร์สว่าง Mr. Jerawat Jansawang “วิถีชีวิต ความเรียบง่าย พอเพียง” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินด่านเกวียน เคลือบขี้เถ้าและเขียนสีบนเคลือบ 1,250 °C และ 750 °C 40 x 40 ซม.

Title “Lifestyle Folk” Technique Throwing and Finished Materials Local Clay ( Dan Kwean Clay ) Glazed Smoking Fire Glazed and Over Glazed Temperature 1,250 °C and 750 °C Size 40 x 40 cm.

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย ชยกร อิ่มอกใจ Mr. Chayakorn Imokjai “ไห 2559” ปั้นแป้นหมุนและเผาเตาฟืน VRU Clay เตาฟืน เคลือบขี้เถ้า 1,250 °C 45 x 22 x 30 ซม. ( 2 ชิ้น )

Title “Jar 2016” Technique Hand Throwing and Wood Firing Materials VRU Clay Glazed Wood Firing and Smoking Fire Glazed Temperature 1,250 °C Size 45 x 22 x 30 cm. ( 2 Pieces )

115

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย จิรายุทธ พันธโกศล Mr. Jirayoot Pantakosol “เกลียวคลื่น” ขึ้นรูปแบบขด ดินสโตนแวร์ เคลือบมันวาว 1,230 °C 30 x 13 x 46 ซม.

Title “Wave” Technique Coiling Materials Stoneware Clay Glazed Gloss Glazed Temperature 1,230 °C Size 30 x 13 x 46 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย ชยกร อิ่มอกใจ Mr. Chayakorn Imokjai “ตะไคร่” ปั้นแป้นหมุนและเผาเตาฟืน VRU Clay เคลือบขี้เถ้า 1,250 °C 28 x 28 x 37 ซม.

Title “Lichen” Technique Hand Throwing and Wood Firing Materials VRU Clay Glazed Smoking Fire Glazed Temperature 1,250 °C Size 28 x 28 x 37 cm.

116


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

นาย ไกรสร ลีสีทวน Mr. Kaison Leeseetoun “เล่นกับ Oxic” Throwing and Hand Forming ดินสโตนแวร์ 900 °C 60 x 60 x 70 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Play with Oxic” Technique Throwing and Hand Forming Materials Stoneware Clay Temperature 900 °C Size 60 x 60 x 70 cm. ( 3 Pieces )

117

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถโดยนางสาว ชลนิชา หมั่นยืน Bangsai Arts and Crafts Center the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Miss Chonnicha Manyaen “อุกกาบาต” ขึ้นรูปด้วยมือ เอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,230 °C 75 x 57 ซม. ( 2 ชิ้น )

Title “Meteor” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,230 °C Size 75 x 57 cm.( 2 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน นางสาว ชาลิสา จันทร์น้อย Miss Chalisa Channoi ผลงานชุด “แจกันตกแต่งที่ได้รับแรงบันดาลใจมา จากจิตรกรรมฝาผนังอียิปต์โบราณ” เทคนิค การขึ้นรูปด้วยมือและตัดต่อดินสี ชนิดดิน ดินพื้นบ้านและสโตนแวร์ ชนิดเคลือบ เคลือบด้าน อุณหภูมิ 1,220 °C ขนาด 200 x 125 x 128 ซม. ( 4 ชิ้น )

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

Title “Egyptian Vase” Technique Hand Forming and Stained Clay Applique Materials Local Clay and Stoneware Clay Glazed Matt Glazed Temperature 1,220 °C Size 200 x 125 x 128 cm. ( 4 Pieces )

Title “Deep Green 20,000 Y” Technique Coiling Materials VRU Clay Glazed VRU Glass Temperature 1,210 °C Size 62 x 55 x 44 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนาย นวพล ปิ่นเพชร Valaya Alongkorn Rajabhat University By Mr. Nawapol Pinpech “เขียวดิ่ง 20,000 โยชน์” ขึ้นรูปด้วยวิธีการขด VRU Clay VRU Glass 1,210 °C 62 x 55 x 44 ซม.

118


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนางสาว บูรณิน กาวี Bangsai Arts and Crafts Center the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Miss Buranin Kawi “ป่าต้นน้ำ� หมายเลข 2” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,200 °C 34 x 79 ซม.

Title “Watershed Forest No.2” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,200 °C Size 34 x 79 cm.

119

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนาย ประกาศิต แก้วประดับ Valaya Alongkorn Rajabhat University By Mr. Prakasit Keawpradab “โคตรไหล 59” ขึ้นรูปด้วยมือ VRU Clay VRU Glass 1,250 °C 80 x 80 x 60 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Deep Flow 16” Technique Hand Forming Materials VRU Clay Glazed VRU Glass Temperature 1,250 °C Size 80 x 80 x 60 cm. ( 3 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนาย ธนกร เลิศธนปัญญารุ่ง Silpakorn University By Mr. Thanakorn Lertanapanyarung ผลงานชุด “บ้านเชียง” เทคนิค แป้นหมุนไฟฟ้า,เตาแก๊ส และเตาฟืน ชนิดดิน ดินพื้นบ้าน ชนิดเคลือบ เคลือบขี้เถ้า อุณหภูมิ 1,250 °C ขนาด 60 x 50 x 45 ซม. ( 2 ชิ้น ) Title “Baan Chiang” Technique Electronic Throwing, Wood Firing and Gas Firing Materials Local Clay Glazed Smoking Fire Glazed Temperature 1,250 °C Size 60 x 50 x 45 cm. ( 2 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนาง บุญศรี ศรีแปงวงค์ Lampang Rajabhat University By Mrs. Bunsri Sripangwong “เส้น” ขึ้นรูปด้วยวิธีการขด ดินสโตนแวร์ เคลือบประกายโลหะ 1,250 °C 66 x 45 x 12 ซม. ( 4 ชิ้น )

Title “Lines” Technique Coiling Materials Stoneware Clay Glazed Sparkling Metallic Glazed Temperature 1,250 °C Size 66 x 45 x 12 cm. ( 4 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนาย พีรภัทร์ ชายกรวด Valaya Alongkorn Rajabhat University By Mr. Peelapat Chaikuad “แจกันทองคำ� 2559” ขึ้นรูปแบบแผ่น VRU Clay VRU Glass 1,250 °C 93 x 80 x 36 ซม. ( 9 ชิ้น )

Title “Gold Vases 2016” Technique Slab Building Materials VRU Clay Glazed VRU Glass Temperature 1,250 °C Size 93 x 80 x 36 cm. ( 9 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

120


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว ณพกมล อัครพงศ์ไพศาล Miss Nopkamon Akarapongpaisan “ชุดจานละมุนละไม” ขึ้นรูปแบบบีบดิน ดินพอร์ซเลน 1,250 °C 80 x 80 x 6 ซม. ( 6 ชิ้น )

Title “Pinch Wares Set” Technique Pinching Materials Porcelain Clay Temperature 1,250 °C Size 80 x 80 x 6 cm. ( 6 Pieces )

ศิลปิน มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนาย ธนกร เลิศธนปัญญารุ่ง Silpakorn University By Mr. Tanagon Lertanapanyarung ผลงานชุด “ชุดบ้านชา” เทคนิค แป้นหมุนไฟฟ้าและเตาแก๊ส ชนิดดิน ดินพื้นบ้าน ชนิดเคลือบ เคลือบขี้เถ้า อุณหภูมิ 1,250 °C ขนาด 90 x 65 x 43 ซม. ( 19 ชิ้น ) Title “Teapot Sets” Technique Electronic Throwing and Gas Firing Materials Local Clay Glazed Smoking Fire Glazed Temperature 1,250 °C Size 90 x 65 x 43 cm. ( 19 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย เด่น รักซ้อน Mr. Den Raksorn “ภูมิปัญญาวัฒนธรรม ไหปลาร้าอีสาน” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินด่านเกวียน เคลือบขี้เถ้า 1,250 °C สูง 17,15,20,21,19.2,22 ซม. ( 6 ชิ้น )

Title “Cultural Wisdom: Jar Pickled Fish” Technique Throwing and Finished Materials Local Clay ( Dan Kwean Clay ) Glazed Smoking Fire Glazed Temperature 1,250 °C Size H 17,15,20,21,19.2,22 cm. ( 6 Pieces )

121

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนางสาว มาริษา แก่นเพ็ชร Valaya Alongkorn Rajabhat University By Miss Marisa Kaenpet “แจกันเผาฟืน” ขึ้นรูปแบบขด VRU Clay เตาฟืนเคลือบขี้เถ้า 1,280 °C 20 x 20 x 54 ซม.

Title “Vase Burn Firewood” Technique Coiling Materials VRU Clay Glazed Wood Firing and Smoking Fire Glazed Temperature 1,280 °C Size 20 x 20 x 54 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนาย สมพร อินทร์หยุย Bangsai Arts and Crafts Center the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mr. Somporn Inhyui “เกล็ดทอง” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,220 °C 62 x 63 ซม.

Title “Golden Scale” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,220 °C Size 62 x 63 cm.

122


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนาย เศกพร ตันศรีประภาศิริ Valaya Alongkorn Rajabhat University By Mr. Sekporn Tansripraparsiri “แจกันคู่” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน VRU Clay VRU Glass 1,220 °C 87 x 31 x 72 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Twin Vases” Technique Throwing Materials VRU Clay Glazed VRU Glass Temperature 1,220 °C Size 87 x 31 x 72 cm. ( 3 Pieces )

123

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนางสาว หทัยรัตน์ ปรมัตถ์คุณาสิน Bangsai Arts and Crafts Center the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Miss Hatairat Proramutkunasin “ก้นหอย หมายเลข 1” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,230 °C 60 x 38 x 65 ซม.

Title “Spiral” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,230 °C Size 60 x 38 x 65 cm.

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย วัฏจักร ฉันงูเหลือม Mr. Wattajak Channgooluem “ไอทะเล” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินดำ�ผสมดินขาว เคลือบไฟสูง 1,230 °C 30 x 27 x 97 ซม. ( 2 ชิ้น )

Title “Sea Breeze” Technique Hand Forming Materials Mixed Clay Glazed High Temperature Temperature 1,230 °C Size 30 x 27 x 97 cm. ( 2 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย ศรัทธา สินสาธิตสุกุล Mr. Sattha Sinsathitsukul “ลีลา จังหวะ ดิน” ขด ดินสโตนแวร์ เคลือบไฟต่ำ� 1,050 °C 220 x 40 x 55 ซม. ( 7 ชิ้น )

Title “Style Clay” Technique Coiling Materials Stoneware Clay Glazed Low Temperature Temperature 1,050 °C Size 220 x 40 x 55 cm. ( 7 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนาย ศราวุฒิ โปนา Valaya Alongkorn Rajabhat University By Mr. Sarawut Pona “พื้นผิว” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน และเผาเตาฟืน VRU Clay เตาฟืน 1,280 °C 148 x 80 x 4 ซม. ( 2 ชิ้น )

Title “Texture” Technique Throwing, Finished and Woodfire Materials VRU Clay Glazed Wood Fire Glazed Temperature 1,280 °C Size 148 x 80 x 42 cm. ( 2 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

124


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว ยลลดา จะวะนะ Miss Yonlada Jawana “ปะการังน้ำ�ลึก” ขึ้นรูปด้วยมือและบีบ ดินสโตนแวร์ เคลือบอุนหภูมิสูง 1,250 °C 38 x 19 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Deep Coral” Technique Hand Forming and Pinching Materials Stoneware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,250 °C Size 38 x 19 cm. ( 3 Pieces )

ศิลปิน มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนาย รัชพล ชยะกูรจิรภัทร Silpakorn University By Mr. Ratchapon Chayakoonjirapat ผลงานชุด “กาสีน้ำ�” เทคนิค ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ชนิดดิน ดินสโตนแวร์ ชนิดเคลือบ เคลือบไฟสูง อุณหภูมิ 1,230 °C ขนาด 40 x 40 x 20 ซม. ( 2 ชิ้น ) Title “Watercolor Teapots” Technique Throwing and Finished Materials Stoneware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,230 °C Size 40 x 40 x 20 cm. ( 2 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว วรรณวิสา บุณย์ศุภา Miss Wanvisa Boonyasupha “ปั้นเล่น” ขึ้นรูปอิสระ ดินแม่ริม น้ำ�ตาลไหลและดำ�ด้าน 1,250 °C 60 x 25 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Chill Chill” Technique Free Forming Materials Local Clay ( Maerim Clay ) Glazed Brown Glazed and Matt Black Glazed Temperature 1,250 °C Size 60 x 25 cm. ( 3 Pieces )

125

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนาย ศราวุฒิ โปนา Valaya Alongkorn Rajabhat University By Mr. Sarawut Pona “โปนา 59” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน และเผาเตาฟืน VRU Clay เตาฟืน 1,280 °C 90 x 40 x 32 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Pona 16” Technique Throwing and Finished Materials VRU Clay Glazed Wood Fire Glazed Temperature 1,280 °C Size 90 x 40 x 32 cm. ( 3 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว สุริย์กานต์ ไม้ทอง King Mongku’s University of Technology North Bangkok By Miss Surikorn Maithong “โคมไฟที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากศิลปะประดิษฐ์พานพุ่ม” แม่พิมพ์, หล่อกลวง และร้อยด้าย VCB เคลือบใส 1,200 °C 110 x 43 x 50 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Lamps Inspired By the Art of Fabrication Phan Phum” Technique Molding, Drain Casting and Thread Materials VCB Glazed Clear Glazed Temperature 1,200 °C Size 110 x 43 x 50 cm. ( 3 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนาง สมควร กุลวงศ์ Bangsai Arts and Crafts Center the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mrs. Somkhoun Kunlawong “แตกหน่อ” หล่อน้ำ�สลิป ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,230 °C 114 x 34 x 45 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Sprout” Technique Slip Casting and Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,230 °C Size 114 x 34 x 45 cm. ( 3 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

126


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนาง สมควร กุลวงศ์ Bangsai Arts and Crafts Center the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mrs. Somkhoun Kunlawong “ปลูกป่า” หล่อน้ำ�สลิป ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,230 °C 110 x 35 x 38 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Forestation” Technique Slip Casting and Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,230 °C Size 110 x 35 x 38 cm. ( 3 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย สราวุฒิ วงษ์เนตร Mr. Saravut Vongnate “อิ่ม” ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดินสโตนแวร์ เคลือบเฟลสปาร์ 1,250 °C 47 x 42 ซม.

Title “Be Satisfied” Technique Throwing and Finished Materials Stoneware Clay Glazed Feldspar Glazed Temperature 1,250 °C Size 47 x 42 cm.

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

นาย อนุรักษ์ วัฒนากลาง Mr. Anurak Wattanaklang “ชีวิตบ้านนอก ( ชาวนา )” ดินเผารมดำ� ดินอยุธยา 900 °C 120 x 50 x 32 ซม. ( 50 ชิ้น )

Title “Rural Life (Farmer)” Technique Smoking Fired Materials Local Clay (Phra Nakhon Si Ayutthaya Clay) Temperature 900 °C Size 120 x 50 x 32 cm. ( 50 Pieces )

127

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดย นาง อภิญญา วิไล Rajamangala University of Technology Lanna By Mrs. Apinya Wilai “หม้อสร้อยใบสุดท้าย” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินสโตนแวร์ เคลือบขี้เถ้าไม้ 1,250 °C 38 x 46 ซม. ( 2 ชิ้น )

Title “The Last Keereemast Pot” Technique Hand Forming Materials Stoneware Clay Glazed Wood Ashes Glazed Temperature 1,250 °C Size 38 x 46 cm. ( 2 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนาย เสริมศักดิ์ ทามี Bangsai Arts and Crafts Center the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mr. Soemsak Tame “บ้านเชียง เวอร์ชั่น 2559” ขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,250 °C 34 x 80 ซม.

Title “Ban Chiang Version 2016” Technique Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,250 °C Size 34 x 80 cm. 128


ประเภทหัตถกรรม Ceramic Handicraft

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนาย อลงกรณ์ ธรรมพิชัย Bangsai Arts and Crafts Center the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mr. Alongkon Thumpichai “3 แจกันกลม” หล่อพิมพ์และขึ้นรูปด้วยมือ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,250 °C 80 x 25 x 36 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “3 Round Vases” Technique Molding and Hand Forming Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,250 °C Size 80 x 25 x 36 cm. ( 3 Pieces ) 129

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว อัญชิษฐา คำ�วิเศษ Miss Anchittha Kamwises “Anchitha” การเขียนสีบนเคลือบ ดินวิเทรียสไชน่า เคลือบใส 1,200 °C 20 x 20 x 36 ซม. ( 6 ชิ้น )

Title “Anchitha” Technique Over Glazed Materials Vitreous China Clay Glazed Clear Glazed Temperature 1,200 °C Size 20 x 20 x 36 cm. ( 6 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Ceramic Industrial Prototype

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนางสาว กนกกัญญา รวมไมตรี Lampang Rajabhat University By Miss Kanokkanya Ruammaitree “กลิ่นไอกล้วยไม้” หล่อน้ำ�ดิน ดินสโตนแวร์ เคลือบศิลาดล 1,230 °C 41 x 41 x 11 ซม. ( 13 ชิ้น )

Title “Orchid Spa” Technique Slip Casting Materials Stoneware Clay Glazed Celadon Glazed Temperature 1,230 °C Size 41 x 41 x 11 cm. ( 13 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว ขวัญหทัย ธาดา Miss Kwanhatai Thada “รองตอง” หล่อด้วยน้ำ�ดิน ดินสโตนแวร์ เคลือบไฟสูง 1,220 °C 120 x 60 x 125 ซม. ( 11 ชิ้น )

Title “Rong Tong” Technique Slip casting Materials Stoneware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,220 °C Size 120 x 60 x 125 cm. ( 11 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

130


ประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Ceramic Industrial Prototype

ศิลปิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว ธัญญลักษณ์ คันธรักษ์ King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Thanyaluck Khantharux ผลงานชุด “ข้าวสาน” เทคนิค หล่อน้ำ�ดินประกอบเส้นทองเหลือง ชนิดดิน ดินวิเทรียสไซน่า ( VCB ) ชนิดเคลือบ เคลือบไฟสูง อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 65 x 50 x 190 ซม. ( 3 ชิ้น ) Title “Kao san” Technique Slip Casting and Brass Materials VCB Glazed High Temperature Temperature 1,200 °C Size 65 x 50 x 190 cm. ( 3 Pieces )

131

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศล ิ ปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิรก ิ ต ิ ิ์ พระบรมราชินีนาถโดยนาย กิตติชัย สุขสุเมฆ Bangsai Arts and Crafts Center, the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mr. Kittichai Suksumak “ชุดโยคะ” ปั้นหล่อน้ำ�สลิป ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟสูง 1,230 °C 134 x 20 x 40 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Yoga” Technique Slip Casting Materials Earthenware Clay Glazed High Temperature Temperature 1,230 °C Size 134 x 20 x 40 cm. ( 3 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นางสาว ศิรัมภา จุลนวล Miss Sirumpa Chunnuan “โนรา” หล่อน้ำ�ดิน ดินพอร์ซเลน เคลือบไฟสูง 1,280 °C 105 x 47 x 120 ซม. ( 7 ชิ้น )

Title “Nora” Technique Slip Casting Materials Porcelain Clay Glazed High Temperature Temperature 1,280 °C Size 105 x 47 x 120 cm. ( 7 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Ceramic Industrial Prototype

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดย นางสาว ณิชา จันทร์สด King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Nicha Jansod “เครื่องประดับสำ�หรับสตรีรูปร่างอ้วน” หล่อน้ำ�ดินและเขียนสีบนเคลือบ ดินวิเทรียสไซน่า ( VCB ) ใสและเขียนสีบนเคลือบ 1,200 °C 25 x 53 x 26 ซม. ( 4 ชิ้น )

Title “Accessories for Big Woman” Technique Slip Casting and Over Glaze Firing Materials VCB Glazed Clear Glaze and Over Glaze Firing Temperature 1,200 °C Size 25 x 53 x 26 cm. ( 4 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว ศิริขวัญ ข้องหลิม King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Sirikhwan Konglim “จับจีบ กลีบตอง” หล่อน้ำ�ดินและขูดลาย ดินวิเทรียสไซน่า (VCB) เคลือบสีออกไซด์ 1,200 °C 60 x 60 x 28 ซม. ( 4 ชิ้น )

Title “Jab Jeeb Kleap Tong” Technique Slip Casting and Incsing Materials VCB Glazed Oxide Glazed Temperature 1,200 °C Size 60 x 60 x 28 cm. ( 4 Pieces )

132


ประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Ceramic Industrial Prototype

ศิลปิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว วัลภา อิสระมาลัย King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Wanlapa Itssramalai ผลงานชุด “โครงการออกแบบเครื่องประดับสำ�หรับสตรี แนวความคิดมาจากศิลปะการแสดงมโนราห์” เทคนิค การหล่อแบบกลวงและตกแต่งสีบนเคลือบ ชนิดดิน ดินวิเทรียสไซน่า ( VCB ) ชนิดเคลือบ สีบนเคลือบ,เคลือบใส อุณหภูมิ 1,200 °C ขนาด 45 x 45 x 25 ซม. ( 12 ชิ้น ) Title “The Ceramics Accessories Design Inspired by Manorah Performing Art” Technique Drain Casting and Over Glazed Stain Materials VCB Glazed Over Glazed Stain and Clear Glazed Temperature 1,200 °C Size 45 x 45 x 25 cm. ( 12 Pieces )

133

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว ศศิประภา เวชศิลป์ King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Sasiprapa Wechasin “พฤกษา” หล่อน้ำ�ดิน,ฉลุลาย ดินวิเทรียสไซน่า ( VCB ) เคลือบใส 1,200 °C 60 x 60 x 28 ซม. ( 5 ชิ้น )

Title “Arabesque” Technique Slip Casting and Perforating Materials VCB Glazed Clear Glaze Temperature 1,200 °C Size 60 x 60 x 28 cm. ( 5 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Ceramic Industrial Prototype

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนาย สมพร สินเจริญโภคัย King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Mr. Somphon Sinjaroenpokai “ชุดบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์แรงบันดาลใจจากบัวสี่เหล่ากับปลาอานนท์” ขัดมันหลังเผา ดินวิเทรียสไซน่า ( VCB ) เคลือบใส 1,200 °C 35 x 32 x 28 ซม. ( 7 ชิ้น )

Title “Worshipping Sacred Item Set Inspired By See Log Lotus and Anon Fish” Technique Burnishing Materials VCB Glazed Clear Glaze Temperature 1,200 °C Size 35 x 32 x 28 cm. ( 7 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

ศิลปิน ผลงานชิ้น เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย พนาสิน ธนบดีสกุล Mr. Panasin Dhanabadesakul “ไตรภูมิ” พ่นทราย ดินพอร์ซเลน เคลือบใส 1,250 °C 18 x 29 ซม.

Title “Trai Bhumi” Technique Sand Blasting Materials Porcelain Clay Glazed Clear Glaze Temperature 1,250 °C Size 18 x 29 cm.

134


ประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Ceramic Industrial Prototype

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนาย สมศักดิ์ จันทร์เพ็ญ Bangsai Arts and Crafts Center, the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mr. Somsak Janphen “ชุดน้ำ�พริกปลาทู” การเขียนบนเคลือบ ดินเอิร์ทเทิร์นแวร์ เคลือบไฟต่ำ� 800 °C 18 x 57 ซม. ( 5 ชิ้น )

Title “Fish Sauce” Technique Over Glazed Materials Earthenware Clay Glazed Low Temperature Temperature 800 °C Size 18 x 57 cm. ( 5 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนาย สมศักดิ์ จันทร์เพ็ญ Bangsai Arts and Crafts Center, the Support Foundation of Her Majesty the Queen Sirikit of Thailand By Mr. Somsak Janphen “ชุดข้าวยำ�” การเขียนสีบนเคลือบ ดินพอร์ซเลน เคลือบไฟต่ำ� 800 °C 30 x 30 x 7 ซม. ( 2 ชิ้น )

Title “Khao Yam Series” Technique Over Glazed Materials Porcelain Clay Glazed Low Temperature Temperature 800 °C Size 30 x 30 x 7 cm. ( 2 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

นาย สรณัฎรฐ์ คงนวล Mr. Sorranat Khongnuan “แจกันแห่งการย้อมคราม” หล่อน้ำ�ดิน,ขูดลาย,ฝังสี ดินสโตนแวร์ ตกแต่งสีเสตน 1,250 °C 15 x 9 x 28 ซม., 11 x 7 x 20 ซม., 11 x 7 x 12 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Vase of Indigo-Dye” Technique Slip Casting, Incising and Glazing Materials Stoneware Clay Glazed Stain Glazed Temperature 1,250 °C Size 15 x 9 x 28 cm., 11 x 7 x 20 cm., 11 x 7 x 12 cm. ( 3 Pieces )

135

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition


ประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม Ceramic Industrial Prototype

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว สุคนธมาศ ดิษฐอุดม King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Sukhonthamas Ditudon “ชุดภาชนะบนโต๊ะอาหารยุโรป” หล่อน้ำ�ดิน ดินวิเทรียสไซน่า ( VCB ) เคลือบใส 1,200 °C 60 x 60 x 10 ซม. ( 8 ชิ้น )

Title “European-Style Dining set” Technique Slip Casting Materials VCB Glazed Clear Glaze Temperature 1,200 °C Size 60 x 60 x 10 cm. ( 8 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยนาย อมรเทพ กลายกลาง Nakhonratchasima Rajabhat University By Mr. Amornthep Klaiklalng “ธรรมชาติแห่งการพักผ่อน” การหล่อ ดินสโตนแวร์ 1,260 °C 60 x 46 x 35 ซม. ( 5 ชิ้น )

Title “Nature of Relaxation” Technique Casting Materials Stoneware Clay Temperature 1,260 °C Size 60 x 46 x 35 cm. ( 5 Pieces )

ศิลปิน ผลงานชุด เทคนิค ชนิดดิน ชนิดเคลือบ อุณหภูมิ ขนาด

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว อังคณา แทนวันดี King Mongkut’s University of Technology North Bangkok By Miss Angkana Tanwandee “โคมไฟเพื่อเผยแพร่นาฏศิลป์ไทย” เขียนสีบนเคลือบ ดินวิเทรียสไซน่า ( VCB ) เคลือบใส 1,200 °C 62 x 50 x 20 ซม. ( 3 ชิ้น )

Title “Lamp for Promoting Dramatic Arts” Technique Over Glazed Materials VCB Glazed Clear Glaze Temperature 1,200 °C Size 62 x 50 x 20 cm. ( 3 Pieces )

ผลงานที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมแสดง Selected Entries for Exhibition

136


137


138


139

ประวัติศิลปิน Artists’ Profiles


ชื่อ บูรณิน กาวี เกิด 14 มกราคม 2518 ที่อยู่ 53/4 หมู่ 1 ต.โพแตง อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา 13290 โทร. 061-5398399 การศึกษา

ปริญญาตรี ศิลปะศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนครศรีอยุธยา

ชื่อ เกิด ที่อยู่

พรสวรรค์ นนทะภา 6 ตุลาคม 2518 5/5 ต.โนนสูง อ. ยางตลาด จ. กาฬสินธุ์ 46120

ประวัติการศึกษา

สถานที่ทำ�งาน

2536 2542 2557

ประวัติการทำ�งาน

ศูนย์ศิลปาชีพ บางไทรฯ 59 ม.4 ต.ช้างใหญ่ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา

ประวัติการแสดงผลงาน 2549 2543 2545 2547 2549 2551 2553 2555 2557

- การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ - การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 10 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ - การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 11 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ - การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 12 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ - การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 13 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ - การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 14 ณ หอศิลป์ ร่วมสมัย (อาคารใหม่) มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง สนามจันทร์ จ.นครปฐม - การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 15 ณ หอศิลป์ ร่วมสมัย (อาคารใหม่) มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง สนามจันทร์ จ.นครปฐม - การแสดงเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 16 ณ ห้องประชุมชั้น 5 - หอศิลป์วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพฯ - การแสดงเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 ณ หอศิลป์ร่วมสมัย ราชดำ�เนิน ถนนราชดำ�เนิน กรุงเทพฯ

เกียรติประวัติ 2559

- รางวัลดีเด่น ประเภท หัตถกรรม การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผา แห่งชาติ ครั้งที่ 18 ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม

2543 2545 2557 2558

วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม ศิลปกรรมบัณฑิต (ภาพพิมพ์) คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศิลปกรรมมหาบัณฑิต(ทัศนศิลป์)คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสาคาม

- อาจารย์พิเศษ ภาควิชาทันศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม - อาจารย์พิเศษ โปรแกรมศิลปกรรม คณะมนุษย์ศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม - ครูอัตราพิเศษ โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย - อาจารย์ประจำ�สาขาวิจิตรศิลป์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม

ประวัติการแสดงผลงาน 2558 2557 ประชาชนลาว 2556 2555 2550

ร่วมแสดงผลงานศิลปกรรมกลุ่ม ฮักส์-โฮม-เฮา ณ ฮักส์มอลล์ จังหวัดขอนแก่น ร่วมแสดงผลงานศิลปกรรมภาพถ่าย โรงการถ่ายภาพเชิงคุณธรรม “วิถีชีวิตและวัฒนธรรมประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ำ� โขง” ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมแดงผลงานat the ‘9 international art Work shop ณ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ร่วมแสดงผลงาน 2 HUE Printmaking Workshop ณ เมืองถือเทียนเว้ ประเทศเวียดนาม ร่วมแสดงศิลปกรรมภาพถ่าย ณ มหาวิทยาลัยแห่งชาติ วิจิตรศิลป์ แขวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตย ร่วมแสดงผลงาน ศิลปกรรมร่วมสมัย พานาโซนิก ร่วมแสดงผลงานศิลปกรรมร่วมสมัยลุ่มน้ำ�โขง ครั้งที่ 2 ร่วมแสดงงาน at the ‘7 international art Workshop ณ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ร่วมแสดงผลงานศิลปกรรมร่วมสมัย ธนาคารกสิกรไทย ร่วมแสดงผลงานศิลปกรรม Self Portrait 400 ศิลปิน ณ สีลม แกลเลอรี กรุงเทพ

เกียรติประวัติ 2559 2558 2557 2556 2541 2542 2539 2537 2535

-

รางวัลยอดเยี่ยมศิลปกรรมดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่18 รางวัลทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรมศิลป์ พีระศรี ครั้งที่ 16 รางวัลเกียรตินิยมเหรียญเงิน ประเภทประติมากรรม ศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่62 รางวัลเหรียญทองแดงฐานครูศิลปะโครงการศิลปินแห่งชาติสัญจร กรมส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรม ณ.มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร รางวัลยอดเยี่ยม ศิลปกรรม ปตท.ครั้งที่31 พอเพียง เพียงพอ ชีวิตที่ยั่งยืนบน แผ่นดินไทย รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน ประเภทประติมากรรม ศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 61 รางวัลดีเด่น ศิลปกรรม ปตท. ครั้งที่ 30 “อนาคตออกแบบได้” รางวัลเหรียญทองคุรุศิลป์กับศิลปินแห่งชาติ รุ่นที่ 6 พร้อมศึกษาดูงานที่ สหรัฐอเมริกา รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 3 ศิลปกรรมกรุงไทย ครั้งที่ 1 รางวัลดีเด่น ศิลปกรรมดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 รางวัลที่ 1 ด้านจิตรกรรมและสื่อผสม ระดับอุดมศึกษาและศิลปินอิสระ โครงการ ศิลปินแห่งชาติสัญจร ค่ายวัฒนธรรมเยาวชน รู้รักษ์แผ่นดินไทย ภูมิใจถิ่นกำ�เนิด

- ร่วมศึกษาดูงานที่ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นเวลา 3 เดือน ในโครงการ ON THE ROAD ACROSS 1998 By Rirkrit Tiavanija - ทุนการศึกษาจากบริษัท TOSHIBA Thailand - ทุนการศึกษาจากคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - รางวัลยอดเยี่ยม การประกวดศิลปกรรมหัวข้อ(สมบัติอีสาน) วิทยาลัสารพัดช่างบุรีรัมย์ - รางวัลชนะเลิศอันดับหนึ่ง (บาติก)การแข่งขันทักษะวิชาชีพภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรมอาชีวศึกษา 140


ชื่อ พิเชฐ ธรรมวัฒน์ เกิด 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 ที่อยู่ 19 หมู่ 1 ตำ�บลธงชัยเหนือ อำ�เภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา 30150 โทร. 084-8883995 E-mail chet.tu88@Gmail.com ประวัติการศึกษา

- โรงเรียนปักธงชัยประชานิรมิต จังหวัดนครราชสีมา ศิลปบัณฑิต สาขาออกแบบ เซรามิก คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม - มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชา เครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประวัติการแสดงผลงาน 2550 - การแสดงผลงานผ่านเคเบิลทีวี จังหวัดนครราชสีมา 2550 - การแสดงผลงานนักศึกษา สาขาออกแบบเซรามิก คณะศิลปกรรม และออกแบบ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา 2555 - การแสดงผลงานนักศึกษา ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เครื่องปั้นดินเผาแบบรากุ ไทย-อินเดีย ณ มหาวิทยาลัยวิศวบารติสันติ นิเกตัน รัฐเบงกอล อินเดีย 2556 - ร่วม workshop สร้างประติมากรรมเครื่องปั้นดินเผานูนต่ำ� ณ เมืองวอนจู สาธารณรัฐ เกาหลีใต้ 2557 - นิทรรศการแสดงผลงานวิทยานิพนธ์ สุขภายใน…ใจ - ร่วมแสดงการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 - ร่วมแสดงการประกวดประติมากรรม ครบรอบ 25 ปี ศุภาลัย - ร่วมแสดง w ceramic art exhibition seoul tech museum of art. Korea - ร่วมแสดงงาน บางกอก Clay 2558 - ร่วมแสดงงานกลุ่มClay เดิ้ง At phimai 2559 - ร่วมแสดงการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 เกียรติประวัติ 2557 2557 2559

141

- รางวัลดีเด่น ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย การแสดงเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่17 - ได้รับกองทุนส่งเสริมการศึกษาการสร้างสรรค์ศิลปะ “มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์” - รางวัลดีเด่น ประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย การแสดงเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติครั้งที่ 18

ชื่อ พินิจ แสงทอง เกิด 10 สิงหาคม 2536 ที่อยู่ 284 ซ.จรัญสนิทวงศ์ 66/1 เขต บางพลัด แขวง บางพลัด กทม. 10700 โทร. 0873632676 E-mail everybody.say.michael@gmail.com ประวัติการศึกษา - โรงเรียนพิมลวิทย์ - โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา - คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ภาควิชาเทคโนโลยีศิลปอุตสาหกรรม ออกแบบเซรามิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ


ชื่อ เกิด ที่อยู่ โทร. E-mail

มาริษา แก่นเพ็ชร 9 กุมภาพันธ์ 2538 32/3 หมู่ที่ 8 ตำ�บลคลองหก อำ�เภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 088-6070705 moddang.2538@hotmail.com

ประวัติการศึกษา

กำ�ลังศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรเทคโนโลยีเซรามิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี

การแสดงผลงาน 2559 - เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตกรรม การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติครั้งที่ 18 เกียรติประวัติ 2559 - รางวัลรองชนะเลิศโอ่งทอง การประกวดนวัตกรรมผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาโอ่ง จ.ราชบุรี

ฃื่อ เกิด ที่อยู่ โทร.

เยาวเรศ สุทธิศาล 30 พฤศจิกายน 2531 193/2 ม.1 ต.บ้านบอม อ.แม่ทะ จ. ลำ�ปาง 52150 089-7064543 , 054-290327

ประวัติการศึกษา

โรงเรียนพุทธชินราชพิทยา จ.พิษณุโลก หลักสูตรศิลปกรรมบัณฑิต สาขาวิชาการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ภาควิชาศิลปะและการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก

สถานที่ทำ�งาน

นักออกแบบ บริษัทธนบดีอาร์ตเซรามิค จ.ลำ�ปาง

ประวัติการแสดงผลงาน 2556 2557 2559

- ร่วมแสดงงานออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก (Ceramic Design) ประเภทการออกแบบ เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร ณ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลพลาซ่า จ.ลำ�ปาง - ร่วมแสดงงาน รูปลอกเซรามิคบนชุดกาแฟ ณ ศูนย์แสดงและจาหน่ายสินค้าเซรามิก และ หัตถอุตสาหกรรม จ.ลำ�ปาง - ร่วมแสดงงานศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 ประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบ อุตสาหกรรม - ร่วมแสดงงานศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบ อุตสาหกรรม

เกียรติประวัติ 2556 2557 2557 2559

- รางวัลที่ 1 การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก (Ceramic Design) ประเภทการ ออกแบบเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร ลาปาง - รางวัลยอดเยี่ยม การทารูปลอกเซรามิคบนชุดกาแฟ “ลาปางนครแห่งความสุข” - การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 รางวัลดีเด่นเครื่องปั้นดินเผา ประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม - การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 รางวัลดีเด่นเครื่องปั้นดินเผา ประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม

142


ชื่อ เกิด ที่อยู่

วาสนา สุนันสา 4 ตุลาคม 2538 90 ม. 11 ต.บ้านเวียง จ.แพร่ 54140

ประวัติการศึกษา

โรงเรียนแพร่ปัญญานุกูล จ.แพร่

สถานที่ทำ�งาน

ศูนย์ศิลปาชีพ บางไทรฯ 59 ม.4 ต.ช้างใหญ่ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา 13290 แผนก ช่างเครื่องเคลือบดินเผา

การแสดงผลงาน 2559

- การแสดงเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม เฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง สนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม

เกียรติประวัติ 2559

143

- รางวัลดีเด่น ประเภทหัตถกรรม การแสดงเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม

ชื่อ วิทวัส ปิยะชัยวุฒิ ที่อยู่ 16/11 ถนนถวิลราษฎรบูณะ ตำ�บลบ่อพลับ อำ�เภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000 โทร. 096-5925862 อีเมล์ witwat.chaiwut@gmail.com ประวัติการศึกษา ปริญญาตรี ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการแสดงงาน 2555 2556 2557 2558 2559

-

CERANA, ceramic exhibition,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร เด็กฝึกหัตถ์ 4 : dinner, เถ้า ฮง ไถ่, ราชบุรี Bangkok Clay Connection, HOF art space, กรุงเทพมหานคร DONE, senior project exhibition, ห้างสรรพสินค้าCentral World, กรุงเทพมหานคร Clayma’ , ceramic exhibition, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร - AFFA (art forward fund award), MOCA (Museum of Contemporary Art) ,กรุงเทพมหานคร


ชื่อ เกิด ที่อยู่ อีเมล์

วีรดา บัวบังใบ 12 สิงหาคม 2527 95 หมู่ 8 ต.แม่กา อ.เมือง จ.พะเยา 56000 amceramy@gmail.com

ประวัติการศึกษา 2545 โรงเรียนราชินีบูรณะ จังหวัดนครปฐม 2549 ศิลปบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 2 ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2553 ศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร สถานที่ทำ�งาน 2555 อาจารย์ประจำ� สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ชื่อ ศรกมล อยู่ยงค์ เกิด 22 พฤศจิกายน 2536 ที่อยู่ 59/89 ม.6 หมู่บ้าน บุรีรมย์ ถนน พระองค์เจ้าสาย ตำ�บล ลาดสวาย อำ�เภอ ลำ�ลูกกา จังหวัด ปทุมธานี 12150 โทร. 085-4083399 อีเมล์ adda_2002@hotmail.com ประวัติการศึกษา

- โรงเรียนรัตนโกสินทร์ – รังสิต - โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย – รังสิต - คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ภาควิชาเทคโนโลยีศิลปอุตสาหกรรม ออกแบบเซรามิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ประวัติการแสดงผลงาน 2548 2550 2551 2552 2553 2556 2557

- นิทรรศการ “Clay and The Way of us No.3” ณ หอศิลปะและการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - นิทรรศการ “Clay and The Way of us No.4” ณ หอศิลปะและการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - นิทรรศการการแสดงผลงานศิลปนิพนธ์ ครั้งที่ 37 ของนักศึกษาคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - ร่วมแสดงผลงาน การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 14 นิทรรศการศิลปกรรม ART CAMP ประจำ�ปี 2551 โดยกองทุนส่งเสริมการศึกษาการ สร้างสรรค์ศิลปะ “มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์” ณ พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ หอศิลป - ร่วมแสดงผลงานนิทรรศการ CE24 ของนักศึกษาภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา ณ หอ ศิลปะและการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - นิทรรศการศิลปกรรม ART CAMP ประจำ�ปี 2553 โดยกองทุนส่งเสริมการศึกษาการ สร้างสรรค์ศิลปะ “มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์” ณ พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ หอศิลป - นิทรรศการศิลปกรรม ART CAMP ประจำ�ปี 2556 โดยกองทุนส่งเสริมการศึกษาการ สร้างสรรค์ศิลปะ “มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์” ณ พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ หอศิลป - นิทรรศการการแสดงผลงานศิลปะและการออกแบบ “Make your own art” โดย คณาจารย์จากเครือข่ายการสร้างสรรค์ 3 สถาบัน ณ หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย เชียงใหม่

เกียรติประวัติ 2549 2552 2559

- ได้รับทุนส่งเสริมการศึกษาการสร้างสรรค์ศิลปะ “มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์” ประจำ�ปี 2549 - ได้รับทุนส่งเสริมการศึกษาการสร้างสรรค์ศิลปะ “มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์” ประจำ�ปี 2552 - รางวัลดีเด่น ประเภทหัตถกรรม การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18

144


ฃื่อ สันติ พรมเพ็ชร เกิด 23 มกราคม 2521 จ.สุโขทัย ที่อยู่ ร้านกะเณชา แกลเลอรี่ 227/3 หมู่ 3 ต.เมืองเก่า อ.เมือง จ.สุโขทัย 64210 โทร. 055-633109 ,083-8720175,088-2935269 อีเมล์ chompoo_santi@hotmail.com

ฃื่อ สุธารักษ์ แสงเทศ ที่อยู่ 46 หมู่ 5 ตำ�บลบึงชำ�อ้อ อำ�เภอหนองเสือ ปทุมธานี 12170 โทร 084-115-3734 ประวัติการศึกษา

สถานที่ทำ�งาน

ประวัติการแสดงผลงาน

ทำ�งานส่วนตัวที่ กะเณช แกลเลอรี่

ประวัติการแสดงผลงาน 2532 2545 2547 2549 2553 2555 2557 2558

-

ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่4 ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่11 ณ หอศิลป์มหาวิทยารลัยศิลปากร วังท่าพระ ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่12 ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่13 ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม นิทรรศการ การแสดงผลงานการประกวด ประติมากรรม”พระพิฆเนศวร์” บริษัท เอเชีย เทเลวิชั่น แอนด์ มีเดีย จำ�กัด ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่15 ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัด นครปฐม ประกวดหัตถกรรมพื้นบ้านไทย บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำ�กัด ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่17 ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม นิทรรศการ ศิลปะร่วมสมัยสู่การวิจัยอารย ชาติพันธุ์ ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร นิทรรศการศิลปกรรม วันถวัลย์ ดัชนี กลุ่มครูศิลป์แผ่นดินล้านนา ครั้งที่13 ณ มหาวิหาร พิพิธภัณฑ์บ้านดำ� จังหวัดเชียงราย

เกียรติประวัติ 2549

145

- ประกาศนียบัตรเกียรตินิยมศิลปะเครื่องปั้นดินเผา ครั้งที่13 จากมหาวิทยาลัยศิลปากร

วท.บ.เทคโนโลยีเซรามิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี

- การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติครั้งที่ 12 – 17 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร

เกียรติประวัติ 2549 2551 2554 2555 2556 2557 2559

- รางวัลดีเด่น ประเภทหัตถกรรมแบบตกแต่งโดยไม่มีการเคลือบ การแสดงศิลปะ เครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 13 - รางวัลยอดเยี่ยม ประเภทหัตถกรรมร่วมสมัย การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผา แห่งชาติ ครั้งที่ 14 - รางวัลที่ 1 ประเภทผลิตภัณฑ์เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร Thai Ceramic Awards 2011 (TCA 2011) ครั้งที่ 1 - รางวัลดีเด่น ประเภทหัตถกรรมร่วมสมัย การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 16 - รางวัลที่ 1 ประเภทหัตถกรรมร่วมสมัย โครงการประกวดผลงานหัตถกรรมพื้นบ้าน ไทย ครั้งที่ 1 Thailand 2013 World Stamp - รางวัลยอดเยี่ยม ประเภทหัตถกรรมร่วมสมัย การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผา แห่งชาติ ครั้งที่ 17 - รางวัลดีเด่น ประเภทหัตถกรรมร่วมสมัย การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18


ชื่อ เกิด ที่อยู่

สุรศักดิ์ แสนโหน่ง 15 กรกฎาคม 2521 186 ถ.นาควิชัย ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 44000

ประวัติการศึกษา - โรงเรียนหลักเมืองมหาสารคาม - รงเรียนสารคามพิทยาคม สาขาวิจิตรศิลป์ วิทยาลัยอาชีวะศึกษามหาสารคาม - ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประวัติการแสดงผลงาน 254 2545 2546 2547 2548 2550 2551 2552 2553 2554 2555

- นิทรรศการกลุ่ม เลอ-บัด-นี่ บางกอกแกลอรี่ กรุงเทพฯ - รางวัลดีเด่นระดับอุดมศึกษา เนื่องในวันศิลปินแห่งชาติ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม - การแสดงศิลปกรรมโนเกีย Eye on the world กรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปนิพนธ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม - ร่วมแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 19 - ร่วมแสดงนิทรรศการจิตรกรรมร่วมสมัยพานาโซนิค ครั้งที่ 5 - นิทรรศการจิตรกรรมทิวทัศน์ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม - การแสดงผลงานประติมากรรมเนื่องในวันครบรอบ 30 ปี นิตยสารดิฉัน กรุงเทพฯ - นิทรรศการจิตรกรรมทิวทัศน์ ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม - นิทรรศการศิลปกรรมกลุ่มรัก ครั้งที่3 “ทุกหัวใจมีรัก” มหาวิทยาลัยราชภัฎ มหาสารคาม - นิทรรศการศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น - ร่วมแสดงนิทรรศการศิลปกรรม ปตท. ครั้งที่24 “ความสุข” กรุงเทพฯ แสดงเดี่ยว นิทรรศการศิลปะเครื่องปั้นดินเผา “เรื่องของดินอาบไฟ” หอศิลป์จำ�ปาศรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม - นิทรรศการศิลปกรรม ปตท. ครั้งที่25 “ความฝันอันสูงสุด” กรุงเทพฯ - นิทรรศการเชิดชูเกียรติ อ.นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน เนื่องในโอกาสได้รับ ปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม - นิทรรศการ การออกแบบเครื่องปั้นดินเผา โครงการวัฒนธรรมสรรสร้าง เศรษฐกิจ สร้างสรรค์ แรงบันดาลใจแห่งอีสาน กระทรวงวัฒนธรรมมหาวิยาลัยขอนแก่นกรุงเทพฯ - นิทรรศการศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 15 มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จ.นครปฐม - นิทรรศการ กลุ่มศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผา เผาดิน ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฎ มหาสารคาม - นิทรรศการเชิดชูเกียรติ ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ศิลปินแห่งชาติ เนื่องในวาระอายุครบรอบ 80 ปี - นิทรรศการศิลปกรรม กลุ่มสมาคมศิลปินอีสาน จ.อุบลราชธานี-จ.บุรีรัมย์ - นิทรรศการศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผา กลุ่มเผาดิน ครั้งที่ 2 จ.ยโสธร มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม - นิทรรศการศิลปกรรมปูนปั้น TPI ครั้งที่11 กรุงเทพฯ - นิทรรศการจิตรกรรมทิวทัศน์ ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม - นิทรรศการ ศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 57 - รางวัลดีเด่นศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 16มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จ.นครปฐม - นิทรรศการศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผา กลุ่มเผาดิน ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัย ราชภัฏ มหาสารคาม

- ร่วมแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยธนาคารกสิกร ประจำ�ปี 2555 2556 - เข้าร่วมโครงการปฏิบัติการสร้างสรรค์งานศิลป์ เพื่อหอศิลป์อันดามัน จังหวัดกระบี่ - ร่วมแสดงศิลปกรรมปูนปั้น TPI ครั้งที่13 กรุงเทพฯ - เข้าร่วมปฏิบัติงานโครงการ “Workshop Lacker paintmaking” มหาวิทยาลัย มหาสารคาม - ร่วมแสดงศิลปกรรม อมตะ อาร์ต อวอร์ต ครั้งที่ 5 - นิทรรศการศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผา กลุ่มเผาดิน ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัย ราชภัฏสกลนคร และราชภัฏมหาสารคาม 2557 - นิทรรศการศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 มหาวิทยาลัยศิลปากร - ร่วมแสดงนิทรรศการศิลปกรรมกรุงไทย ครั้งที่ 1 2558 - นิทรรศการผลงานศิลปะ 71 ปี กมล ทัศนาญชลี และเพื่อนศิลปิน หอศิลป์ ร่วมสมัยราชดำ�เนิน กรุงเทพฯ - นิทรรศการ กลุ่มศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผา เผาดิน ครั้งที่ 5 โรงเรียนศรีษะเกษ วิทยาคม จังหวัดศรีษะเกษ - นิทรรศการศิลปกรรม ทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี ครั้งที่ 14 หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ - นิทรรศการกลุ่ม Local sound หอศิลป์ต้นตาล จังหวัดขอนแก่น - นิทรรศการศิลปกรรมกลุ่ม ฮักส์-โฮม-เฮา ลานกิจกรรม ฮักส์ มอลล์ จังหวัด ขอนแก่น 2559 - นิทรรศการศิลปกรรมลุ่มน้ำ�โขงครั้งที่ 4 กลุ่มประเทศ CLMTV มหาวิทยาลัย มหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม - นิทรรศการศิลปกรรม Krungthai Art Awards ครั้งที่ 2 หอศิลป์กรุงไทย ธนาคารกรุงไทย กรุงเทพฯ เกียรติประวัติ 2553 2554 2555 2556 2557 2558

- รางวัลยอดเยี่ยมศิลปกรรม ปตท. ครั้งที่25 “ความฝันอันสูงสุด” กรุงเทพฯ - รางวัลดีเด่น การออกแบบเครื่องปั้นดินเผา โครงการวัฒนธรรมสรรสร้าง เศรษฐกิจ สร้างสรรค์ แรงบันดาลใจแห่งอีสาน กระทรวงวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย ขอนแก่น-กรุงเทพฯ - รางวัลยอดเยี่ยมศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 15 มหาวิทยาลัย ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม - รางวัลชมเชยศิลปกรรมปูนปั้น TPI ครั้งที่11 กรุงเทพฯ - รางวัลเกียรตินิยมเหรียญทองแดง ศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 57 ศึกษาดูงานที่หมู่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนิเชีย กับบริษัท ปตท. จำ�กัด( มหาชน) - รางวัลดีเด่นศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 16 มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จ.นครปฐม - ได้รับคัดเลือกผู้มีผลงานดีเด่นจากโครงการถ่ายทอดงานศิลป์จากศิลปินแห่งชาติ ครั้งที่ 4 เพื่อศึกษาดูงานที่สหรัฐอเมริกา - ได้รับทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรม ศิลป์ พีระศรี ประจำ�ปี 2557 โครงการเชิดชูเกียรติ ศิลปินยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย รางวัลศิลป์ พีระศรี ครั้งที่ 14 ของหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - รางวัลดีเด่นศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 มหาวิทยาลัยศิลปากร - รางวัลที่ 3 Krungthai Art Awards ครั้งที่ 2 แนวเรื่อง ศิลปกรรมกรุงไทย ธนาคารกรุงไทย

146


ชื่อ ที่อยู่ โทร อีเมลล์

อรวรา คงไพบูลย์ 744 ถ.มิตรภาพ15 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 086-8695054 onwarakpb@gmail.com

ประวัติการศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง Anhalt Hochschule university,Dessau Germany ประวัติการแสดงงาน

- การแสดงนิทรรศการ เด็กฝึกหัตถ์5 ณ เถ้า ฮง ไถ่ จังหวัดราชบุรี - การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติครั้งที่18 ณ ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม เฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง สนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม

เกียรติประวัติ 2559

147

- รางวัลดีเด่น ประเภทอุตสาหกรรม เทคนิคหล่อน้ำ�ดิน การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผา แห่งชาติ ครั้งที่ 18


ภาคผนวก Appendix

148


คำ�สั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 118 / 2559 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการอำ�นวยการ การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ...................................................... ด้วยมหาวิทยาลัยศิลปากร กำ�หนดจัดการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ฉะนั้น เพื่อให้การดำ�เนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการอำ�นวยการ การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ประกอบด้วยผู้ดำ�รงตำ�แหน่งและผู้มีนามดังต่อไปนี้ 1. นายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ปรึกษา 2. ผู้อำ�นวยการสถาบันส่งเสริมการออกแบบและนวัตกรรมเพื่อการค้า ที่ปรึกษา กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 3. ผู้อำ�นวยการศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเซรามิก ที่ปรึกษา กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 4. ผู้อำ�นวยการฝ่ายลงทุนธุรกิจท่องเที่ยว ที่ปรึกษา การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 5. ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ปรึกษา สาขากลุ่มอุตสาหกรรมเซรามิคส์ 6. อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร ประธานกรรมการ 7. รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร รองประธานกรรมการ . 8. คณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ กรรมการ 9. คณบดีคณะมัณฑนศิลป์ กรรมการ 10. หัวหน้าภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ กรรมการ 11. นายกสมาคมเซรามิกส์ไทย กรรมการ 12. หัวหน้าสาขาวิชาการออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา กรรมการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 13. หัวหน้าสาขาวิชาออกแบบเซรามิกส์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ กรรมการ มหาวิทยาลัยบูรพา 14. หัวหน้าภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา กรรมการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 15. หัวหน้าสาขาวิชาออกแบบเซรามิกส์ คณะสถาปัตยกรรมและ กรรมการ การออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 16. หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กรรมการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 17. หัวหน้าศูนย์ศิลปกรรมและกิจกรรมพิเศษ กรรมการ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 18. นายวศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ กรรมการ 19. ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการและเลขานุการ 20. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยเลขานุการ 21. นางนันทาวดี เกาะแก้ว ผู้ช่วยเลขานุการ 22. นายสำ�ราญ กิจโมกข์ ผู้ช่วยเลขานุการ 23. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง ผู้ช่วยเลขานุการ 24. นายกฤษฎา ดุษณีวนิช ผู้ช่วยเลขานุการ 25. นายวรรณพล แสนคำ� ผู้ช่วยเลขานุการ ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการอำ�นวยการจัดการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 มีหน้าที่กำ�หนดระเบียบต่างๆในการจัดประกวด การจัด แสดงงาน และการสรรหาบุคคลร่วมในคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินผลงานศิลปกรรมประเภทต่างๆ

สั่ง ณ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2559

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร

149


คำ�สั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 242/2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงาน การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ...................................................... ด้วยมหาวิทยาลัยศิลปากร กำ�หนดจัดการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ฉะนั้น เพื่อให้การดำ�เนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงาน การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ประกอบด้วยผู้ดำ�รงตำ�แหน่งและผู้มีนามดังต่อไปนี้

1. รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ปรึกษา 2. ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประธานกรรมการ 3. รองอธิการบดี พระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายบริการสถานที่ และรักษาความปลอดภัย 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สยุมพร กาษรสุวรรณ กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายนิทรรศการ 5. อาจารย์ ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายสูจิบัตร โปสเตอร์ บัตรเชิญ และสิ่งพิมพ์อื่นๆ 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรรณณา ธิธรรมมา กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ 7. ผู้อำ�นวยการกองคลัง มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายการเงิน เงินรางวัล และเหรียญรางวัล 8. หัวหน้างานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ 9. นายยุทธศักดิ์ รัตนปัญญา กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายรับ-คืนผลงานศิลปกรรม 10. นางสาวดาราพร ครุฑคำ�รพ กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายประเมินผล 11. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการและเลขานุการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายพิธีการ และเลขานุการ 12. นางนันทาวดี เกาะแก้ว กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 13. นายสำ�ราญ กิจโมกข์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 14. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 15. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 16. นายวรรณพล แสนคำ� กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 17. นายรุจฬสวัตต์ ครองภูมินทร์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ทั้งนี้ คณะกรรมการดำ�เนินงานจักมีหน้าที่ในการดำ�เนินการจัดการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 โดยประสานงานกับหน่วยงาน ต่างๆที่เกี่ยวข้องของมหาวิทยาลัยศิลปากร และหน่วยงานภายนอกให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

สั่ง ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร

150


คำ�สั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 211 / 2559 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ……………………………. ด้วยมหาวิทยาลัยศิลปากร กำ�หนดจัดการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ณ หอศิลป์สนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ฉะนัน ้ เพือ ่ ให้การดำ�เนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตัง้ คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน การแสดง ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ประกอบด้วยผู้ดำ�รงตำ�แหน่งและผู้มีรายนาม ดังต่อไปนี้ เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย 1. ศาสตราจารย์เกียรติคุณเสริมศักดิ์ นาคบัว กรรมการ 2. ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน กรรมการ 3. ศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี กรรมการ 4. อาจารย์อำ�มฤทธิ์ ชูสุวรรณ กรรมการ 5. อาจารย์สุโรจนา เศรษฐบุตร สนิทวงศ์ ณ อยุธยา กรรมการ 6. นายวศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ กรรมการ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สยุมพร กาษรสุวรรณ กรรมการ 8. ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขานุการ 9. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยเลขานุการ เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม 1. ศาสตราจารย์เกียรติคุณเสริมศักดิ์ นาคบัว กรรมการ 2. รองศาสตราจารย์ภรดี พันธุภากร กรรมการ 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาธร ชลชาติภิญโญ กรรมการ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภกา ปาลเปรม กรรมการ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สืบพงษ์ เผ่าไทย กรรมการ 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สยุมพร กาษรสุวรรณ กรรมการ 7. นายสมลักษณ์ ปันติบุญ กรรมการ 8. ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขานุการ 9. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยเลขานุการ เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม 1. นายอภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล กรรมการ 2. ดร.สมนึก ศิริสุนทร กรรมการ 3. รองศาสตราจารย์เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์ กรรมการ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวนิช สุวรรณโมลี กรรมการ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิม สุทธิคำ� กรรมการ 6. นายวศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ กรรมการ 7. นายไชยยง รัตนอังกูร กรรมการ 8. ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขานุการ 9. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยเลขานุการ เครื่องปั้นดินเผาประเภทผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผาและนวัตกรรมใหม่ 1. ม.ล. คฑาทอง ทองใหญ่ กรรมการ 2. ดร.สมนึก ศิริสุนทร กรรมการ 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เวนิช สุวรรณโมลี กรรมการ 4. นายวศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ กรรมการ 5. นายอภินันท์ เจริญสุข กรรมการ 6. นางวรางคณา กลิ่นสุคนธ์ กรรมการ 7. นายวิบูลย์ นิมิตรวานิช กรรมการ 8. ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขานุการ 9. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยเลขานุการ

สั่ง ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร 151


คำ�สั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 335 / 2559 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำ�เนินงานฝ่ายต่างๆ การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ------------------------------------- ตามคำ�สั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 242/2559 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงาน การแสดงศิลปะ เครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 แล้วนั้น เพื่อให้การดำ�เนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำ�เนินงานฝ่ายต่างๆ การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ประกอบด้วยผู้ดำ�รงตำ�แหน่งและผู้มีนามดังนี้ 1. คณะอนุกรรมการฝ่ายบริการสถานที่ และรักษาความปลอดภัย 1. รองอธิการบดี พระราชวังสนามจันทร์ ประธานอนุกรรมการ 2. ผู้อำ�นวยการกองบริการอาคารสถานที่และยานพาหนะ อนุกรรมการ 3. หัวหน้างานธุรการ อนุกรรมการ 4. หัวหน้างานบริการและสวัสดิการ อนุกรรมการ 5. หัวหน้างานบำ�รุงรักษาสวนและสนาม อนุกรรมการ 6. หัวหน้างานรักษาความปลอดภัย อนุกรรมการ 7. หัวหน้างานยานพาหนะ อนุกรรมการ 8. หัวหน้างานสาธารณูปโภคและซ่อมบำ�รุง อนุกรรมการ 9. นางรัชญา ภูริโสภณ อนุกรรมการ 10. นายกิตติศักดิ์ เสมอสุข อนุกรรมการ 11. นายเอกชัย ยอดสุวรรณ อนุกรรมการ 12. นายพีระวิทย์ ถวิลกลิ่นซ้อน อนุกรรมการ 13. ว่าที่ร้อยตรีประกิต วิโรจน์ชัยสิทธิ์ อนุกรรมการ 14. นายสกล ทองทวี อนุกรรมการ 15. นายบัณฑิต พยุงเรืองศักดิ์ อนุกรรมการ 16. นางนันทาวดี เกาะแก้ว อนุกรรมการ 17. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง อนุกรรมการ 18. นางสาวจันจิรา จันทร์ผดุง อนุกรรมการ 19. นายวรรณพล แสนคำ� อนุกรรมการ 20. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ อนุกรรมการ 21. นายศรายุทธ ภูจริต อนุกรรมการ 22. นางสาวณัฐธยาน์ นันทิสิงห์ อนุกรรมการและเลขานุการ 23. นายปัญจพจน์ ชิวปรีชา อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 2. คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรรณณา ธิธรรมา ประธานอนุกรรมการ 2. นางสาวดาราพร ครุฑคำ�รพ อนุกรรมการ 3. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช อนุกรรมการ 4. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ อนุกรรมการ 5. นายวรรณพล แสนคำ� อนุกรรมการ 6. นายศรายุทธ ภูจริต อนุกรรมการ 7. นายรุจฬสวัตต์ ครองภูมินทร์ อนุกรรมการ 8. นางสาวเมธาวี กิตติอาภรณ์พล อนุกรรมการและเลขานุการ 3.

คณะอนุกรรมการฝ่ายสูจิบัตร โปสเตอร์ บัตรเชิญ และสิ่งพิมพ์อื่นๆ 1. อาจารย์ ดร. ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ ประธานอนุกรรมการ 2. นายยุทธศักดิ์ รัตนปัญญา อนุกรรมการ 3. นางนันทาวดี เกาะแก้ว อนุกรรมการ 4. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง อนุกรรมการ 5. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช อนุกรรมการ 6. นายวรรณพล แสนคำ� อนุกรรมการ 7. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ อนุกรรมการ 8. นางสาวเมธาวี กิตติอาภรณ์พล อนุกรรมการ 9. นายศรายุทธ ภูจริต อนุกรรมการและเลขานุการ

4. คณะอนุกรรมการฝ่ายการเงิน เงินรางวัล และเหรียญรางวัล 1. ผู้อำ�นวยการกองคลัง มหาวิทยาลัยศิลปากร ประธานอนุกรรมการ 2. นางดุษณี คล้ายปาน อนุกรรมการ 3. นางสาวเกษณีย์ วันศรี อนุกรรมการ 4. นายสำ�ราญ กิจโมกข์ อนุกรรมการและเลขานุการ 5. นางสาวจิราภรณ์ ทองแกมแก้ว อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

152


5.

คณะอนุกรรมการฝ่ายรับ-คืนผลงานศิลปกรรม 1. นายยุทธศักดิ์ รัตนปัญญา ประธานอนุกรรมการ 2. นายสำ�ราญ กิจโมกข์ อนุกรรมการ 3. นางสาวมินตา วงษ์โสภา อนุกรรมการ 4. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง อนุกรรมการ 5. นางสาวจิราภรณ์ ทองแกมแก้ว อนุกรรมการ 6. นายเอกพงษ์ สกุลพันธุ์ อนุกรรมการ 7. นางสาวจันจิรา จันทร์ผดุง อนุกรรมการ 8. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช อนุกรรมการ 9. นายวรรณพล แสนคำ� อนุกรรมการ 10 นายศรายุทธ ภูจริต อนุกรรมการ 11. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ อนุกรรมการ 12. นายรุจฬสวัตต์ ครองภูมินทร์ อนุกรรมการ 13. นายวัยวัฒน์ งามสิงห์ อนุกรรมการ 14. นายเฉลิม กลิ่นธูป อนุกรรมการ อนุกรรมการ 15. นายสิทธิพร กล่ำ�ศรี อนุกรรมการ 16. นางนันทาวดี เกาะแก้ว อนุกรรมการและเลขานุการ

6.

คณะอนุกรรมการฝ่ายนิทรรศการ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สยุมพร กาษรสุวรรณ ประธานอนุกรรมการ 2. อาจารย์ธาตรี เมืองแก้ว อนุกรรมการ 3. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช อนุกรรมการ 4. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ อนุกรรมการ 5. นายศรายุทธ ภูจริต อนุกรรมการ 6. นายวัยวัฒน์ งามสิงห์ อนุกรรมการ 7. นายเฉลิม กลิ่นธูป อนุกรรมการ 8. นายสิทธิพร กล่ำ�ศรี อนุกรรมการ 9. นายวรรณพล แสนคำ� อนุกรรมการและเลขานุการ

7. คณะอนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ 1. หัวหน้างานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประธานอนุกรรมการ 2. นางกนกรัตน์ พรประเสริฐ อนุกรรมการ 3. นางกัญจราภา แจ่มสวัสดิ์ อนุกรรมการ 4. นายยุทธศักดิ์ รัตนปัญญา อนุกรรมการ 5. นางสาวดาราพร ครุฑคำ�รพ อนุกรรมการ 6. นางนันทาวดี เกาะแก้ว อนุกรรมการ 7. นายศรายุทธ ภูจริต อนุกรรมการ 8. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ อนุกรรมการ 9. นายรุจฬสวัตต์ ครองภูมินทร์ อนุกรรมการ 10. นางศรีวรรณ ฤกษ์ชัยรัศมี อนุกรรมการ 11. นางสาวพรพิบูลย์ ขจรบุญ อนุกรรมการ 12. นางสาวกาญจนา จุลโพธิ์ อนุกรรมการ 13. นายธนตุลย์ เบ็งสงวน อนุกรรมการ 14. นางสาวขจี ชิดเชื้อ อนุกรรมการและเลขานุการ 15. นางสาวดลนภา พัวพันธ์งาม อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 8. คณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผล 1. นางสาวดาราพร ครุฑคำ�รพ ประธานอนุกรรมการ 2. นายพรเพิ่ม เกิดหนุนวงศ์ อนุกรรมการ 3. นายเอกพงษ์ สกุลพันธุ์ อนุกรรมการ 4. นางสาวจุฑารัตน์ เนียมวิรัตน์ อนุกรรมการ 5. นายรุจฬสวัตต์ ครองภูมินทร์ อนุกรรมการและเลขานุการ 9. คณะอนุกรรมการฝ่ายพิธีการ และเลขานุการ 1. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประธานอนุกรรมการ 2. นางลภัสรดา ทองผาสุก อนุกรรมการ 3. นางนันทาวดี เกาะแก้ว อนุกรรมการ 4. นายสำ�ราญ กิจโมกข์ อนุกรรมการ 5. นายเอกพงษ์ สกุลพันธุ์ อนุกรรมการ 6. นางสาวจิราภรณ์ ทองแกมแก้ว อนุกรรมการ 7. นางสาวจันจิรา จันทน์ผดุง อนุกรรมการ 153


8. 9. 10. 11. 12. 13.

นายรุจฬสวัตต์ ครองภูมินทร์ นางสาวเมธาวี กิตติอาภรณ์พล นางเอื้อมพร แผนสมบูรณ์ นางประคิ่น สุกเทพ นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง นางสาวมินตา วงษ์โสภา

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ทั้งนี้ ให้คณะอนุกรรมการดำ�เนินงานฝ่ายต่างๆ มีหน้าที่ในการดำ�เนินงานจัดการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 โดยประสานงาน กับหน่วยงานต่างๆที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยศิลปากร และหน่วยงานภายนอกให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

สั่ง

ณ วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2559

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร

154


ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ผลการตัดสินรางวัล การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ............................... ตามประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ. ศ. 2559 ได้เชิญชวน ศิลปินและหน่วยงานต่าง ๆ ส่งผลงานเข้าร่วมในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 นั้น บัดนี้ คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ได้พิจารณาคัดเลือกและตัดสินผลงานศิลปะของศิลปินที่ส่งเข้าร่วมในการแสดงในครั้งนี้แล้ว ผลปรากฏว่ามีศิลปินได้รับ รางวัลประเภท ต่างๆ ดังนี้ เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย รางวัลยอดเยี่ยม นาย พรสวรรค์ นนทะภา ผลงานชุด “ความทรงจำ�ในวิถีชีวิตชนบทอีสาน” ( 2 ชิ้น ) รางวัลดีเด่น นาย พิเชฐ ธรรมวัฒน์ ผลงานชิ้น “ฝันไปในธรรมชาติ” นาย วิทวัส ปิยะชัยวุฒิ ผลงานชุด “โค้งเว้า หมายเลข 4” ( 6 ชิ้น ) นาย สันติ พรมเพ็ชร ผลงานชิ้น “อสูร” นาย สุรศักดิ์ แสนโหน่ง ผลงานชิ้น “ช่วงเวลาแห่งความสุข หมายเลข 1” เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม รางวัลยอดเยี่ยม -ไม่มีผู้ได้รับรางวัล รางวัลดีเด่น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา โดย นางสาว วีรดา บัวบังใบ ผลงานชุด “ค่ำ�คืนที่แสนดี” ( 11 ชิ้น ) มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย นางสาว มาริษา แก่นเพ็ชร ผลงานชุด “3 ตัด 2559” ( 3 ชิ้น ) มูลนิธิศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดย นางสาว บูรณิน กาวี ผลงานชิ้น “ป่าต้นน้ำ� หมายเลข 1” มูลนิธิศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนางสาว วาสนา สุนันสา ผลงานชิ้น “ขี้เถ้า” นาย สุธารักษ์ แสงเทศ ผลงานชุด “ทิวเขา 2559” ( 5 ชิ้น ) เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม หัวข้อ “ผลิตภัณฑ์สำ�หรับอุตสาหกรรมบริการ” รางวัลยอดเยี่ยม ไม่มีผู้ได้รับรางวัล รางวัลดีเด่น นาย พินิจ แสงทอง ผลงานชุด “แสงสร้างเรื่อง” ( 3 ชิ้น ) นางสาว เยาวเรศ สุทธิศาล ผลงานชุด “ผลหอม” ( 10 ชิ้น ) นางสาว ศรกมล อยู่ยงค์ ผลงานชุด “ก้าวแรกจากภูมิปัญญา” ( 2 ชิ้น ) นางสาว อรวรา คงไพบูลย์ ผลงานชุด “กาล ละ เวลา” ( 8 ชิ้น ) เครื่องปั้นดินเผาประเภทผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา และนวัตกรรมใหม่ เกียรติบัตรประเภทผู้ประกอบการประเภทโรงงานขนาดกลางและใหญ่ โรงงานธนบดี อาร์ตเซรามิค นวัตกรรม “จานรองแก้วดูดน้ำ�เผาแกร่งและป้องกันเชื้อรา” บริษัท คราวน์ เซรามิคส์ จำ�กัด นวัตกรรม “ลูกถ้วยไฟฟ้าแขวน ชนิดคอตัน” เกียรติบัตรประเภทผู้ประกอบการประเภทโรงงานขนาดเล็ก โรงงานซันวาเซอรามิค นวัตกรรม “การทำ�ผลิตภัณฑ์เซรามิคเนื้อโบนไชน่าด้วย 3D Printing” เกียรติบัตรประเภทผู้ประกอบการประเภทศูนย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร นวัตกรรม “เครื่องกัด Mini CNC Milling สำ�หรับทำ�ต้นแบบและ ชิ้นงานเซรามิค”

ประกาศ ณ วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2559

155

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร


ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ผลการคัดเลือกผลงานร่วมแสดง การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ................................ ตามประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ประจำ�ปี 2559 ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ. ศ. 2559 ได้เชิญ ชวนศิลปินและหน่วยงานต่าง ๆ ส่งผลงานเข้าร่วมในการแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 นั้น บัดนี้ คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน ได้พิจารณาคัดเลือกและตัดสินผลงานศิลปะของศิลปินที่ส่งเข้าร่วมในการแสดงในครั้งนี้แล้ว ผลปรากฏว่ามีศิลปินได้ รับรางวัลประเภท ต่างๆ ดังนี้ เครื่องปั้นดินเผาประเภทศิลปกรรมร่วมสมัย นาย เกียรติภูมิ กรรณสูตร ผลงานชุด นาย คธาวุธ จุลทุม ผลงานชุด นาย จำ�ลอง สุวรรณชาติ ผลงานชุด นางสาว จุรีพร พิมพ์แพง ผลงานชุด นาย ชัชชัยวัชร ชังชู ผลงานชุด นาย ดุริวัฒน์ ตาไธสง ผลงานชุด นาย ธนสิทธิ์ จันทะรี ผลงานชุด นาย ธนิต จินดาธรรม ผลงานชุด นาย ธาตรี เมืองแก้ว ผลงานชุด นาย ธีรวัฒน์ ลอดภัย ผลงานชุด นาย นพอนันต์ บาลิสี ผลงานชุด นาย นิพนธ์ ชอบใหญ่ ผลงานชุด นาย พิเชฐ ธรรมวัฒน์ ผลงานชุด นางสาว เพื่อน โรจนพร ผลงานชุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา โดยนาย ปราเมศวร์ กลางหมื่นไวย ผลงานชุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา โดยนางสาว พรวิมล ปนสูงเนิน ผลงานชุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา โดยนาย เอกราช พลับจะโปะ ผลงานชิ้น มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนาย จักรินทร์ เรือนษร ผลงานชิ้น มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนาย เจษฎา ทองสุข ผลงานชิ้น มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนาย ธมลวัฒน์ หิรัญชาติอนันต์ ผลงานชิ้น มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนางสาว นริตา วงค์ก๋องคำ� ผลงานชุด และ ผลงานชุด มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนาย พลเชษฐ์ แก้วธิดา ผลงานชิ้น มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนางสาว วิมลมณี สีคำ�วัง ผลงานชิ้น มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนาย รัฐพล กันทะจันทร์ ผลงานชิ้น มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนาย สรวิศ มูลอินต๊ะ ผลงานชุด มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนางสาว สุกัญญา พุกพบสุข ผลงานชุด มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนาย นวพล ปิ่นเพชร ผลงานชุด มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนาย ประกาศิต แก้วประดับ ผลงานชุด มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนางสาว พรพิม อุโมง ผลงานชุด นางสาว เยาวเรศ สุทธิศาล ผลงานชุด นาย รชต เที่ยงผดุง ผลงานชิ้น

“สัจธรรมแห่งชีวิต” ( 3 ชิ้น ) “การดำ�รงอยู่” ( 3 ชิ้น ) “องค์ประกอบแห่งการดำ�เนินของชีวิต” ( 3 ชิ้น ) “การกระทำ�ของมนุษย์ หมายเลข 1” ( 2 ชิ้น ) “การกลายพันธุ์ของแจกันที่ไม่มีดอกไม้ (ชุดที่ 1)” ( 4 ชิ้น ) “บุพกรรม” ( 3 ชิ้น ) “เต้นรำ�เพื่อสันติภาพ” ( 5 ชิ้น ) “นารีผล” “ธรรมชาติแห่งชีวิต” ( 4 ชิ้น ) “เบ่งบาน” ( 25 ชิ้น ) “บทสนทนาจากลำ�มูล” ( 7 ชิ้น ) “ชีวิตในสภาวะใหม่” “สุขใจในธรรมชาติ” “หนุมาน 4 G” ( 100 ชิ้น ) “ความสมบูรณ์ของธรรมชาติก่อเกิดความงามแห่งชีวิต”( 17 ชิ้น) “หัวใจของธรรมชาติ” ( 8 ชิ้น ) “เรื่องเล่าของหุ่นไล่กา” “ต้นไม้ในตำ�นาน” “เครื่อง จักร คน” “ลูกแพร์” “ด้วยหัวใจ” ( 3 ชิ้น ) “ดอกไม้ทะเล” ( 3 ชิ้น ) “ไหล หมายเลข 2” “พ่อบ้านสุขสันต์” “โลกใต้ทะเล” “ลวง-พราง” ( 5 ชิ้น ) “ใจดำ�” ( 2 ชิ้น ) “สภาวะจิต หมายเลข I3” ( 3 ชิ้น ) “มนุษา 2559” ( 3 ชิ้น ) “ตรานก 11 ตัว” ( 8 ชิ้น ) “ลูกข่าง” ( 4 ชิ้น ) “ความสมดุล-ชีวิต” 156


โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย โดยนาย ทรรศนพล นามวงษ์ นาย วิทวัส ปิยะชัยวุฒิ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนาย กิตติชัย สุขสุเมฆ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนางสาว เกศริน บางทราย ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนางสาว ชลนิชา หมั่นยืน ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนาย บูรณิน กาวี ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนาย พนม เสมาทอง ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนาย สมควร กุลวงศ์ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนาย เสริมศักดิ์ ทามี และ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนางสาว หทัยรัตน์ ปรมัตถ์คุณาสิน ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนาย อลงกรณ์ ธรรมพิชัย นาย สุทธิพงษ์ ศรีไกรภักดิ์ นาย สุภัตษร บรรณศรี นาย สุรศักดิ์ แสนโหน่ง นางสาว เสาวนีย์ พลศร นาย อดิศักดิ์ มาลา นาย อติชาติ เต็งวัฒนโชติ นางสาว อรพรรณ พินชนะ

ผลงานชิ้น “เมล็ดพันธุ์หิมพานต์” ผลงานชุด “โค้งเว้า หมายเลข 2 ” ( 3 ชิ้น ) พระบรมราชินีนาถ ผลงานชิ้น “ดวงตาเห็นธรรม” พระบรมราชินีนาถ ผลงานชิ้น “การเคลื่อนไหว” พระบรมราชินีนาถ ผลงานชุด “Cactus Family” ( 12 ชิ้น ) พระบรมราชินีนาถ ผลงานชุด “คลื่น” ( 4 ชิ้น ) พระบรมราชินีนาถ ผลงานชุด “ผลนิมิต” ( 21 ชิ้น ) พระบรมราชินีนาถ ผลงานชุด “ดอกไม้ แมลง หม้อข้าวหม้อแกงลิง” ( 3 ชิ้น ) พระบรมราชินีนาถ ผลงานชิ้น “Music No. 1” ผลงานชิ้น “Music No. 2” พระบรมราชินีนาถ ผลงานชิ้น “ไตรลักษณ์ และอริยสัจ 4” พระบรมราชินีนาถ ผลงานชิ้น “Construction” ผลงานชิ้น “สัมพันธภาพสิ่งมีชีวิตในอุดมคติ” ผลงานชิ้น “งอกงาม” ผลงานชิ้น “ช่วงเวลาแห่งความสุข หมายเลข 2” ผลงานชิ้น “พฤติกรรมซ่อนเร้น” ผลงานชิ้น “จินตนาการรูปทรงของดอกไม้” ผลงานชุด “แทง หน่อ แตกกอ” ( 6 ชิ้น ) ผลงานชุด “ชีวิตกึ่งสำ�เร็จรูป” ( 85 ชิ้น )

เครื่องปั้นดินเผาประเภทหัตถกรรม

157

นางสาว กมลทิพย์ คำ�คง ผลงานชิ้น และ ผลงานชิ้น นาย กิตติพศ ประโยชน์มี ผลงานชุด นาย ไกรสร ลีสีทวน ผลงานชุด นาย จำ�ลอง สุวรรณชาติ ผลงานชุด นาย จิรวัฒน์ จันทร์สว่าง ผลงานชิ้น นางสาว จิรัชยา กาญจนวิบุญ ผลงานชิ้น นาย จิรายุทธ พันธโกศล ผลงานชิ้น นาย ชยกร อิ่มอกใจ ผลงานชิ้น และ ผลงานชุด นางสาว ชาลิสา จันทร์น้อย ผลงานชุด นางสาว ณพกมล อัครพงศ์ไพศาล ผลงานชุด นาย เด่น รักซ้อน ผลงานชุด โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โดยนาย เกรียงไกร ดวงขจร ผลงานชุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว สุริย์กานต์ ไม้ทอง ผลงานชุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดย นาง อภิญญา วิไล ผลงานชุด มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนางสาว กนกกัญญา รวมไมตรี ผลงานชุด มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนาง บุญศรี ศรีแปงวงค์ ผลงานชุด มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนาย นวพล ปิ่นเพชร ผลงานชิ้น มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนาย ประกาศิต แก้วประดับ ผลงานชุด มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนาย พีรภัทร์ ชายกรวด ผลงานชุด มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนางสาว มาริษา แก่นเพ็ชร ผลงานชิ้น มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยนาย ศราวุฒิ โปนา ผลงานชุด และ ผลงานชุด มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

“ภาชนะสำ�หรับตกแต่ง ความประทับใจจากโคกกระออม หมายเลข 1” “ภาชนะสำ�หรับตกแต่ง ความประทับใจจากโคกกระออม หมายเลข 2” “ผลิ” ( 2 ชิ้น ) “เล่นกับ oxic” ( 3 ชิ้น ) “ธรรมชาติบันดาล” ( 3 ชิ้น ) “วิถีชีวิต ความเรียบง่าย พอเพียง” “ฤดูใบไม้ร่วงที่ลึกลับ” “เกลียวคลื่น” “ตะไคร่” “ไห 2559” ( 2 ชิ้น ) “แจกันตกแต่งที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจาก จิตรกรรมฝาผนังอียิปต์โบราณ” ( 4 ชิ้น ) “ชุดจานละมุนละไม” ( 6 ชิ้น ) “ภูมิปัญญาวัฒนธรรมไหปลาร้าอีสาน” ( 6 ชิ้น ) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา “ภาชนะจากธรรมชาติ (2)” ( 4 ชิ้น ) “โคมไฟที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากศิลปะประดิษฐ์พานพุ่ม” ( 3 ชิ้น ) “หม้อสร้อยใบสุดท้าย” ( 2 ชิ้น ) “ธงไอยรา” ( 6 ชิ้น ) “เส้น” ( 4 ชิ้น ) “เขียวดิ่ง 20,000 โยชน์” “โคตรไหล 59” ( 3 ชิ้น ) “แจกันทองคำ� 2559” ( 9 ชิ้น ) “แจกันเผาฟืน” “พื้นผิว” ( 2 ชิ้น ) “โปนา 59” ( 3 ชิ้น )


โดยนาย เศกพร ตันศรีประภาศิริ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนาย ธนกร เลิศธนปัญญารุ่ง และ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนาย รัชพล ชยะกูรจิรภัทร นางสาว ยลลดา จะวะนะ นางสาว วรรณวิสา บุณย์ศุภา นาย วัฏจักร ฉันงูเหลือม นาย ศรัทธา สินสาธิตสุกุล ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนางสาว เกศริน บางทราย ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนางสาว ชลนิชา หมั่นยืน ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนางสาว บูรณิน กาวี ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนาง สมควร กุลวงศ์ และ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนาย สมพร อินทร์หยุย ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนาย เสริมศักดิ์ ทามี ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนางสาว หทัยรัตน์ ปรมัตถ์คุณาสิน ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โดยนาย อลงกรณ์ ธรรมพิชัย นาย สราวุฒิ วงษ์เนตร นาย อนุรักษ์ วัฒนากลาง นางสาว อัญชิษฐา คำ�วิเศษ

ผลงานชุด “แจกันคู่” ( 2 ชิ้น ) ผลงานชุด “ชุดบ้านชา” ( 19 ชิ้น ) ผลงานชุด “บ้านเชียง” ( 2 ชิ้น ) ผลงานชุด “กาสีน้ำ�” ( 2 ชิ้น ) ผลงานชุด “ปะการังน้ำ�ลึก” ( 3 ชิ้น ) ผลงานชุด “ปั้นเล่น” ( 3 ชิ้น ) ผลงานชุด “ไอทะเล” ( 2 ชิ้น ) ผลงานชุด “ลีลา จังหวะ ดิน” ( 7 ชิ้น ) พระบรมราชินีนาถ ผลงานชิ้น “สีสันดอกกระเจียว” พระบรมราชินีนาถ ผลงานชุด “อุกกาบาต” ( 2 ชิ้น ) พระบรมราชินีนาถ ผลงานชิ้น “ป่าต้นน้ำ� หมายเลข 2” พระบรมราชินีนาถ ผลงานชุด “ปลูกป่า” ( 3 ชิ้น ) ผลงานชุด “แตกหน่อ” ( 3 ชิ้น ) พระบรมราชินีนาถ ผลงานชิ้น “เกล็ดทอง” พระบรมราชินีนาถ ผลงานชิ้น “บ้านเชียง เวอร์ชั่น 2559” พระบรมราชินีนาถ ผลงานชิ้น “ก้นหอย หมายเลข 1” พระบรมราชินีนาถ ผลงานชุด “3 แจกันกลม” ( 3 ชิ้น ) ผลงานชิ้น “อิ่ม” ผลงานชุด “ชีวิตบ้านนอก ( ชาวนา )” ( 50 ชิ้น ) ผลงานชุด “Anchitha” ( 6 ชิ้น )

เครื่องปั้นดินเผาประเภทผลิตภัณฑ์ต้นแบบอุตสาหกรรม หัวข้อ “ผลิตภัณฑ์สำ�หรับอุตสาหกรรมบริการ” นางสาว ขวัญหทัย ธาดา ผลงานชุด “รองตอง” ( 11 ชิ้น ) นาย พนาสิน ธนบดีสกุล ผลงานชิ้น “ไตรภูมิ” มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว ณิชา จันทร์สด ผลงานชุด “เครื่องประดับสำ�หรับสตรีรูปร่างอ้วน” ( 4 ชิ้น ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว ธัญญลักษณ์ คันธรักษ์ ผลงานชุด “ข้าวสาน” ( 3 ชิ้น ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว วัลภา อิสระมาลัย ผลงานชุด “โครงการออกแบบเครื่องประดับสำ�หรับสตรี แนวความคิดมาจากศิลปะการแสดงมโนราห์” ( 12 ชิ้น ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว ศศิประภา เวชศิลป์ ผลงานชุด “พฤกษา” ( 5 ชิ้น ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว ศิริขวัญ ข้องหลิม ผลงานชุด “จับจีบ กลีบตอง” ( 4 ชิ้น ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนาย สมพร สินเจริญโภคัย ผลงานชุด “ชุดบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์แรงบันดาลใจจากบัวสี่เหล่า กับปลาอานนท์” ( 7 ชิ้น ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว สุคนธมาศ ดิษฐอุดม ผลงานชุด “ชุดภาชนะบนโต๊ะอาหารยุโรป” ( 8 ชิ้น ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยนางสาว อังคณา แทนวันดี ผลงานชุด “โคมไฟเพื่อเผยแพร่นาฏศิลป์ไทย” ( 3 ชิ้น ) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยนาย อมรเทพ กลายกลาง ผลงานชุด “ธรรมชาติแห่งการพักผ่อน” ( 5 ชิ้น ) มหาวิทยาลัยราชภัฏลำ�ปาง โดยนางสาว กนกกัญญา รวมไมตรี ผลงานชุด “กลิ่นไอกล้วยไม้” ( 13 ชิ้น ) นางสาว ศิรัมภา จุลนวล ผลงานชุด “โนรา” ( 7 ชิ้น ) ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนาย กิตติชัย สุขสุเมฆ ผลงานชุด “ชุดโยคะ” ( 3 ชิ้น ) ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยนาย สมศักดิ์ จันทร์เพ็ญ ผลงานชุด “ชุดน้ำ�พริกปลาทู” ( 5 ชิ้น ) และ ผลงานชุด “ชุดข้าวยำ�” ( 2 ชิ้น ) นาย สรณัฏฐ์ คงนวล ผลงานชุด “แจกันแห่งการย้อมคราม” ( 3 ชิ้น ) ประกาศ ณ วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2559

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร

158


159


160


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.