1
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 32 ประจ�ำปี 2558
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 32 การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุน่ เยาว์ครัง้ ที่ 32 นี้ ผลงาน ยังคงมีความน่าสนใจในมิตขิ อง”การแสดงออกทีเ่ ป็นอัตวิสยั ” ไม่ตา่ งจากปีที่ ผ่านมา โดยอาจกล่าวได้ว่าผลงานที่เกิดขึ้นในพื้นที่ดังกล่าวนี้ยังคงบุคลิกเดิม ทีเ่ คยพบเห็นกันอยู่ ผลงานส่วนมากมาจากประสบการณ์สว่ นตัว ความผูกพัน หรือเรื่องราวความเชื่อตามจารีตประเพณี และการเกิดอยู่ดับไปของสิ่งต่างๆ ทางพุทธศาสนา ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าศิลปินยังคงโหยหาความจริงแท้ทั้งใน การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและการใช้ชีวิต เเต่บางผลงานก็เริ่มมีพัฒนาการ ทีก่ า้ วออกไปจากครัง้ ก่อนหน้า ด้วยผลงานทีว่ า่ นัน้ มีการตัง้ ค�ำถามกับชุดความ รู้เดิม (จิตรกรรม) ซึ่งนับว่าเป็นพัฒนาการของพื้นที่การแสดงศิลปกรรมร่วม สมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 32 ได้อย่างน่าสนใจ
2
ในครัง้ นีม้ ผี ไู้ ด้รบั รางวัลทัง้ สิน้ 18 รางวัล แบ่งเป็นรางวัลเกียรตินยิ ม ยอดเยี่ยมเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” 1 รางวัล รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” 9 รางวัล และรางวัลสนับสนุน 8 รางวัล โดยใน แต่ละรางวัลนั้นล้วนมีเทคนิคและเนื้อหาแนวทางการสร้างสรรค์ผลงานที่น่า สนใจ และล้วนเป็นก้าวส�ำคัญต่อการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัยใน อนาคตต่อไป
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
นางสาวอรวรรณ ไชยแป้น
“เส้นสายแห่งความผูกพัน หมายเลข 1” ภาพพิมพ์ดิจิตอลและภาพพิมพ์โลหะ, 106 x 145 ซม.
ผลงานที่ได้รับรางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” ในครั้งนี้ได้แก่ ผลงานของ นางสาว อรวรรณ ไชยแป้น ในผลงานชื่อ “เส้นสายแห่งความผูกพัน หมายเลข 1” ในเทคนิคภาพพิมพ์ดิจิตอล และภาพพิมพ์โลหะ ผลงานชิ้นดังกล่าวนี้มุ่งสร้างสรรค์แนวทางศิลปะภาพพิมพ์ที่มีการผสมเทคนิคระหว่างภาพ ถ่ายกับเเม่พิมพ์โลหะ ด้วยความคิดที่ว่าด้วยความรัก ความผูกพันในครอบครัว เสมือนสายใยที่เชื่อมต่อกันอย่าง ไม่ขาดสาย ความรักระหว่างพี่น้องเเม้จะเป็นสิ่งธรรมดาส�ำหรับใครหลายๆ คนเเต่ส�ำหรับตัวเธอ สิ่งนี้คือสิ่งที่มีค่า เเละยิ่งใหญ่เสมอมา ในผลงานนั้นเป็นภาพถ่ายของศิลปินเเละบุคคลในครอบครัวที่ดูเหมือนจะเป็นภาพถ่าย ธรรมดา เเต่สิ่งที่น่าสนใจคือการที่ศิลปินน�ำลายเส้นที่เขียนคล้ายลักษณะเส้นผมที่เชื่อมต่อกันราวกับเป็นสายใย นอกเหนือการเเสดงออกของภาพถ่ายธรรมดา ในผลงานจึงมีความน่าสนใจทางด้านเทคนิคที่ตอบสนองเนื้อหา 3
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 32 ประจ�ำปี 2558
รางวัลถัดมาที่มีคุณภาพไม่ต่างกัน นั่นคือ รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” มีศิลปินได้ รับรางวัลทั้งสิ้นจ�ำนวน 9 ท่าน ผลงานแต่ละชิ้นนั้นล้วนมีการแสดงออกในทิศทางเฉพาะตัว ซึ่งมุ่งเน้นการ แสดงออกจากประสบการณ์ภายในได้อย่างน่าสนใจ ดังนี้ 1 นาย จิตรกร เทศชื่น ในผลงานชื่อ “บรรยากาศ แห่งความทับซ้อน” ด้วยเทคนิค สีอะครีลคิ บนผ้าใบ ผลงานนั้นมีการกล่าวถึง สภาพสังคมปัจจุบันที่เต็ม ไปด้วยปัญหาความแออัดวุน่ วายเป็นสาเหตุให้สภาพ อากาศบ้านเมืองมีแต่มลพิษ ซึ่งอาจมีผลกระทบกับ สภาวะจิ ต ใต้ ส� ำ นึ ก ของมนุ ษ ย์ ใ ห้ แ ปรเปลี่ ย นจน ต้องการแสวงหาดินแดนที่เงียบสงบ สวยงาม เพื่อ หาความสุขให้แก่ตนเอง ผลงานจึงมีการเเสดงออก ถึงบรรยากาศธรรมชาติที่เงียบสงบ (ของล้านนา) ที่ เขียวขจี ราวกับเป็นทางออกที่เหมาะสมต่อสภาพ สังคมปัจจุบัน นายจิตรกร เทศชื่น “บรรยากาศแห่งความทับซ้อน” สีอะครีลิคบนผ้าใบ, 170 x 189 ซม.
4
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นางสาวจิรนันท์ จุลบท
“แทรกซ้อน” ภาพพิมพ์สามมิติและวัสดุผสม, 113x200x160 ซม.
2 นางสาว จิรนันท์ จุลบท ในผลงานชือ่ “แทรกซ้อน” ด้วยเทคนิค ภาพพิมพ์ สามมิติ ผลงานนั้นมีการน�ำเสนอเเนวคิดที่ว่า ปัจจุบันนั้นเทคโนโลยีมีความ เจริญก้าวล�้ำพัฒนาปรับเปลี่ยนโครงสร้างการผลิตและรูปแบบให้สอดคล้อง เข้ากับสภาวะกระแสบริโภคนิยม ซึ่งในผลงานภาพพิมพ์ชุดดังกล่าวนี้เเสดง ให้เห็นถึงการเปลีย่ นเเปลงของธรรมชาติดว้ ยการตัดต่อพันธุกรรมพืชเเละผล ไม้ซึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนเเปลงทางธรรมชาติครั้งใหญ่ จนศิลปินสร้างภาพ เเทนของธรรมชาติที่พิกลพิการในมุมมองใหม่ 5
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 32 ประจ�ำปี 2558
นางสาวฉัฐจุฑา สมบูรณ์สาร “คร่าชีวิต” , สื่อประสม, 143 x 134 ซม
นางสาวณัฐชยา วังศิลาบัตร
6
“So far หมายเลข 3”, ภาพพิมพ์หิน, 79 x 99 ซม.
3 นางสาว ฉัฐจุฑา สมบูรณ์สาร ในผลงาน ชื่อ “คร่าชีวิต” ด้วยเทคนิคผสม จากเเนว ความคิดทีว่ า่ ด้วยมนุษย์นนั้ ล่าและฆ่าสัตว์ปา่ ตามความเชื่อที่ถูกสร้างมาอย่างผิดๆ ก่อให้ เกิดความเจ็บปวด ทรมาน และการสูญเสีย ชีวติ ของสัตว์ปา่ ทีถ่ กู มนุษย์ทำ� ร้าย ผลงานนัน้ เป็นการสร้างรูปลักษณ์ชนิ้ ส่วนสัตว์ปา่ ทีถ่ กู ล่า ด้วยวัสดุที่อ่อนนุ่ม (คล้ายตุ๊กตา) ที่วางบน ถาดราวกับเป็นชิ้นส่วนสัตว์ที่พร้อมขายตาม ตลาด เเต่ความน่าสนใจคือการเลือกใช้วสั ดุที่ ดูเหมือนเป็นตุก๊ ตานัน้ เป็นการจิกกัดสังคมได้ อย่างเจ็บเเสบเเละน่าสนใจ 4 นางสาว ณัฐชยา วังศิลาบัตร ในผลงานชือ่ “So Far No.3” ด้วยเทคนิค ภาพพิมพ์หิน จากเเนวคิดทีว่ า่ ด้วยความคาดหวังทีม่ าพร้อม ความรักของบุคคลในครอบครัวและบุคคลอืน่ เกิดเป็นช่องว่างทางความรูส้ กึ ระหว่างกันและ กัน ที่ผู้หยิบยื่นและผู้รับต่างมีความคาดหวัง และความหวั ง แตกต่ า งกั น ออกไป ความ
5 นาย ธวัชชัย สาริสทุ ธิ์ ในผลงานชือ่ “ก่อ ก�ำเนิด สุข หมายเลข 2” จากเเนวความ คิดที่ว่าด้วยการก่อตัวของความสุขที่อยู่ใน ตัวของทุกคนนั้นสามารถแสดงออกทาง งานศิลปะ ผ่านความรู้สึกที่บริสุทธิ์ราวอยู่ ในดินเเดนสรวงสวรรค์ที่ผุดผ่อง ศิลปิน เลือกใช้วัสดุผสมมาบรรยายความงดงาม ของความสุขที่บริสุทธิ์ได้อย่างเหมาะเจาะ ลงตัว
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
ปรารถนาดีที่มาพร้อมกับความคาดหวัง ของบุคคลอันเป็นที่รัก มักสร้างสภาวะ ความกดดันต่อการด�ำเนินชีวติ ความอึดอัด ความหวาดกลัว ระแวง แคลงใจ จนผลัก ดันไปสู่การสร้างก�ำแพงภายในจิตใจเพื่อ ปิดกั้นความปรารถนาดี ซึ่งมักสวนทางกับ ความต้ อ งการของตนเอง ผลงานนั้ น มี ความน่าสนใจอยู่ที่การเเสดงอารมณ์ของ บุคคลที่อยู่ในภาพกับเเขนที่เเสดงอาการ กอดรัดอย่างมากจนเกินไป
นายธวัชชัย สาริสุทธิ์ “ก่อ ก�ำเนิด สุข หมายเลข 2” สื่อประสม, 196 x 195 ซม.
7
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 32 ประจ�ำปี 2558
นางสาวธิติพรหม อ่อนเปี่ยม “บรรพบุรุษร�ำลึก” เย็บปัก, 160 x 190 ซม.
8
6 นางสาว ธิติพรหม อ่อนเปี่ยม ในผลงานชื่อ “บรรพบุรุษร�ำลึก” ในเทคนิคเย็บปัก จากเเนวความคิดที่ว่าด้วย ความเชื่อ เกี่ยวกับการนับถือผีบรรพบุรุษและชีวิตหลังความตาย การสื่อสารระหว่างบุคคลที่ซึ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต โดยสอดคล้อง กับความเชื่อของชาวล้านนาที่มีมาแต่เดิม ความเชื่อนี้มักมีอิทธิพลต่อการเกิดประเพณีและพิธีกรรมต่างๆ โดยพิธีกรรม เหล่านี้กลายเป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ภายในเครือญาติและปลูกฝังให้เคารพผู้อาวุโส ศิลปินเลือกใช้วิธีการเย็บปักผืนผ้า ด้วยมือ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นสตรีเพศ โดยน�ำมาห่อหุ้มภาพถ่ายที่เชื่อว่าเป็นที่สถิตของดวงวิญญาณบรรพบุรุษ และเป็นที่ตั้งของเครื่องประกอบพิธีกรรมการเซ่นไหว้ นับได้ว่าเป็นผลงานที่น่าสนใจอีกผลงานหนึ่งที่มีการใช้วัสดุผสาน กับเเนวความคิดที่ลงตัว ความปราณีตที่ปรากฏในผลงานนั้นราวกับภาพเขียนที่มีทักษะสูง การถ่ายทอดแสงเงาออกมา ราวกับภาพจริงท�ำให้ผลงานชิ้นดังกล่าวนี้มีเเรงดึงดูดจนสามารถดึงให้เข้าไปอยู่ในเนื้อหาผลงานได้อย่างไม่ยาก
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
7 นางสาว ปณิตา มงคลศรัทธากุล ในผลงานชือ่ “ความงามของ รูปทรงในธรรมชาติ” ด้วยเทคนิคประติมากรรมประกอบไม้ สะท้อนแนวคิดที่ว่าด้วยความดีงามในรูปทรงธรรมชาติที่งดงาม จากผลไม้ชนิดต่างๆทีม่ คี วามอวบอิม่ เต่งตึง ซึง่ เป็นรูปทรงทีเ่ รียบ ง่าย พื้นผิวที่แสดงออกถึงความสมบูรณ์ มีพลังความงดงามของ ธรรมชาติที่น�ำไปสู่ความสุข จึงเกิดเป็นแรงบันดาลใจไปสู่ในการ สร้างรูปทรงนามธรรม
นางสาวปณิตา มงคลศรัทธากุล
“ความงามของรูปทรงในธรรมชาติ” ประกอบไม้, 175 x 200 x 90 ซม.
9
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 32 ประจ�ำปี 2558
นางสาวปัญจรัตน์ พลพลึก “Untitled # 2015 หมายเลข 1” สีอะครีลิคบนผ้าใบ, 181 x 170 ซม.
10
นางสาวอชิรญา ขับกล่อมส่ง
“จิตวิญญาณแห่งท้องทะเล” สื่อประสม (ประติมากรรม ปูนปั้นและวัสดุ และการจัดวาง),200x200x200 ซม.
9 นางสาว อชิรญา ขับกล่อมส่ง ในผลงานชื่อ “จิตวิญญาณแห่งท้องทะเล” ด้วยเทคนิควัสดุผสม จากแนวความคิดที่ว่า พื้นผิวโลกปกคลุมด้วยน�้ำทะเลและมหาสมุทรมากถึง 3 ใน 4 ส่วน การอุบัติของชีวิตในธรรมชาตินั้น น�้ำเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่ง ท้องทะเลเปรียบเสมือนสายเลือดทีห่ ล่อเลีย้ งชีวติ เป็นโลกทีก่ ว้างใหญ่ มากด้วยเรือ่ งราวปรัมปรา ปริศนา ต�ำนาน คติความ เชื่อ มีอารมณ์ความรู้สึก เฉกเช่นมีชีวิตและจิตใจ และเป็นดั่งครอบครัวดั้งเดิมของทุกชีวิต เกิดเป็นสายสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน อย่างแน่นแฟ้น ธรรมชาติและทุกสรรพสิง่ เป็นดัง่ กันและกัน มีการถ่ายโอนหมุนเวียนของการให้และรับ เสมือนวัฏจักรแห่ง ชีวิตเพื่อคงซึ่งความสมดุล ยั่งยืน การถ่ายทอดผลงานมีวัตถุประสงค์เพื่อสะท้อนถึง “ธรรมะในธรรมชาติ” และ “คุณธรรม แห่งการให้” ทีย่ งิ่ ใหญ่และบริสทุ ธิข์ องธรรมชาติ เปรียบได้ดงั่ ความรักของแม่ผใู้ ห้กำ� เนิด โอบอุม้ เลีย้ งดูลกู ด้วยเมตตาธรรม คุณธรรม ทานธรรม ธรรมชาติจึงเป็นแม่ผู้ให้ (เปล่า) โดยไม่หวังผลตอบแทน ไม่มีเงื่อนไขหรือข้อจ�ำกัด และไม่มีวันสิ้นสุด
11
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
8 นางสาว ปัญจรัตน์ พลพลึก ในผลงานชื่อ “Untitled # 2015” ศิลปินต้องการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมที่น�ำเสนอ สาระส�ำคัญและคุณสมบัติแท้จริงของสีที่เกิดจากเทคนิควิธีการบีบสีลงบนผืนผ้าใบในระนาบสองมิติและปล่อยให้ผลของสี ที่ไหลลงมาผ่านโครงสร้างเดิมของภาพต้นแบบที่ได้จากนิตยสารแฟชั่น ให้แรงโน้มถ่วงฉุดดึงเนื้อสีภาพต้นแบบนั้นได้ถูก ท�ำลายไปจนเกิดภาพทีส่ ร้างประสบการณ์การรับรูใ้ หม่ให้แก่ผชู้ มผ่านภาษาของจิตรกรรม และได้ทำ� ลายประสบการณ์รว่ ม ทีค่ นุ้ เคยและเห็นจนชินตาในสือ่ สิง่ พิมพ์ไปสูส่ นุ ทรียศาสตร์ทแี่ ท้จริงของงานจิตรกรรม ผลงานชิน้ ดังกล่าวนีม้ คี วามน่าสนใจ ในพัฒนาการศิลปะของศิลปินรุน่ เยาว์เป็นอย่างมาก ผลงานนัน้ มีการตัง้ ค�ำถามกับการรับรูผ้ ลงานจิตรกรรม พร้อมทัง้ สร้าง การรับรูใ้ นมิตใิ หม่ในระนาบ 2 มิติ การปลดปล่อยให้สที ำ� งานตามเเรงโน้มถ่วงของธรรมชาตินนั้ คือการต่อรองกับเเม่เเบบที่ เป็นภาพภ่ายเหมือนจริง (นิตยสารแฟชั่น) ที่คุ้นชินตาไปสู่สุนทรียของระนาบจิตรกรรม
ผลงานทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นทั้งรางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญทองและเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงินนั้นสังเกตได้ ว่าสีสนั ต่างๆ เริม่ กลับคืนสูผ่ ลงานศิลปะอีกครัง้ เเละผลงานบางชิน้ มีการก้าวออกไปจากกรอบความคิดเดิมซึง่ มุง่ เน้นเเสวงหา สิ่งที่อยู่ภายในตัวตนสู่เเนวความคิดเเละการสร้างสรรค์ใหม่เชิงทดลอง
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 32 ประจ�ำปี 2558
นอกจากรางวัลที่กล่าวมาแล้ว ยังมีรางวัลสนับสนุนที่เป็นรางวัลส่งเสริมการสร้างสรรค์แก่ศิลปินรุ่นเยาว์อีก 8 รางวัลได้แก่ 1 นาย จาตุรนต์ ปานน�้ำผึ้ง ในผลงานชื่อ “เติบโตและปิดบัง” เทคนิคภาพพิมพ์ตะแกรงไหม 2 นางสาว เดือนวิสาข์ ชลศิริ ในผลงานชื่อ “กล่อง” เทคนิคภาพพิมพ์ตะแกรงไหมและสีอะครีลิค 3 นางสาว ธารรวี อิ่มโดด ในผลงานชื่อ “ชีวิตสัมพันธ์” เทคนิคพิมพ์ผ้าและปักผ้า 4 นางสาว พรทวี พลอยกระโทก ในผลงานชื่อ “ลีลาความเคลื่อนไหวของรูปทรงธรรมชาติ” เทคนิคประกอบไม้ 5 นางสาว ปุญญิศา ศิลปรัศมี ในผลงานชื่อ “วัตถุ กับ ความทรงจ�ำ” เทคนิคประกอบไม้และบานพับ 6 นาย ภาคิน อิศวมงคล ในผลงานชื่อ “เจ็ดเป็ด” เทคนิคสีอะครีลิคบนผ้าใบ 7 นาย วาสิทธิ์ จินดาพร ในผลงานชื่อ “งานเต้นร�ำบนสายน�้ำ” เทคนิคผสม 8 นางสาว ประจวบลาภ สวัสดี ในผลงานชื่อ “ สภาวะแห่งชีวิต” เทคนิคภาพพิมพ์โลหะ กฤษฎา ดุษฎีวนิช
12
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายจาตุรนต์ ปานน�้ำผึ้ง “เติบโตและปิดบัง” Screen print, 164 x 113 ซม.
นางสาวธารรวี อิ่มโดด
“ชีวิตสัมพันธ์” Sublimation printing,patchwork, 175 x 198 ซม.
นางสาวประจวบลาภ สวัสดี “สภาวะแห่งชีวิต” ภาพพิมพ์โลหะ, 103 x 85 ซม.
13
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 32 ประจ�ำปี 2558
นางสาวเดือนวิสาข์ ชลศิริ
14
“กล่อง” ภาพพิมพ์ตะแกรงไหมและสีอะครีลิค, 123 x 94 ซม.
นางสาวปุญญิศา ศิลปรัศมี “วัตถุ กับ ความทรงจ�ำ” ประกอบไม้และบานพับ, 183x110x96 ซม.
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นางสาวพรทวี พลอยกระโทก “ลีลาความเคลื่อนไหวของรูปทรงธรรมชาติ” ประกอบไม้, 115 x 190 x 100 ซม
นายภาคิน อิศวมงคล “เจ็ดเป็ด” สีอะครีลิคบนผ้าใบ, 173 x 143 ซม.
นายวาสิทธิ์ จันดาพร “งานเต้นร�ำบนสายน�้ำ” วัสดุผสม, 160x198x140 ซม.
15
ขอขอบคุณ หจก. ภาพพิมพ์ คุณดิสพล จันศิริ
C50 M80 Y90 K40
16