1
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 34 การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งที่ 34 ประจ�ำปี 2560 นี้ ผลงานมีความน่าสนใจในมิติของการเกิดขึ้นในปรากฏการณ์ใหม่ๆ ทางศิลปะของศิลปินรุ่นใหม่ที่น่าจับตามอง ซึ่งมีการเริ่มที่จะก้าวข้ามกระบวนการสร้างสรรค์เดิมๆที่ยึดถือและเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในสถาบัน การศึกษาศิลปะแบบกระแสหลัก แม้บางผลงานในปีนี้มีอยู่บ้างที่เรื่องราวและเนื้อหายังคงวนเวียนกับการแสดงออกแบบอัตวิสัยที่ไม่ต่างจากปีที่ ผ่านๆมา แต่ก็มีผลงานหลายชิ้นที่หลุดกรอบและโดดเด่นทั้งในมิติของการแสดงออกและเรื่องราวที่น�ำเสนอที่น�ำพาศิลปะให้ก้าวออกจากหนทาง เดิม เข้าสูก่ ระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัยทีม่ กี ารอิงแอบ/หยิบยืมเรือ่ งราวของประวัตศิ าสตร์ศลิ ป์ตะวันตกมาตัง้ ค�ำถามและแสดงออก เป็นผลงานศิลปะที่น่าสนใจ และในครั้งนี้เป็นครั้งแรกในการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ที่ผู้ที่ได้รับรางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยม เหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” มีถึง 2 ท่าน ซึ่งนับได้ว่าผลงานทั้ง 2 ชิ้นนี้อุดมไปด้วยคุณภาพทั้งทางด้านเนื้อหาและรูปแบบการแสดงออกได้อย่าง เท่าเทียมและเทียบเท่ากันทั้ง 2 ชิ้น ในครั้งนี้มีผู้ได้รับรางวัลทั้งสิ้น 17 รางวัล แบ่งเป็นรางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” 2 รางวัล รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” 8 รางวัล และรางวัลสนับสนุน 7 รางวัล โดยในแต่ละรางวัลนั้นล้วนมีเทคนิคและเนื้อหาแนวทางการสร้างสรรค์ผล งานที่น่าสนใจ
2
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
ผลงานที่ได้รับรางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” ในครั้งนี้ได้แก่ ผลงานของ นางสาวพัชรพรรณ ธรรมสุนทรี ในผลงานชื่อ “ท�ำลายก�ำแพงทั้ง 4 หมายเลข 1” เทคนิคสีนำ�้ มันบนผ้าใบ ด้วยแนวความคิด “ผลงานศิลปกรรมนีส้ ร้างสรรค์ ด้วยแนวคิดที่ว่าภาพ 2 มิติ ก็สามารถเป็น 3 มิติได้ ไม่ใช่แค่เพียงก�ำกับแสงเงา แต่ สามารถสร้างให้เป็น 3 มิติ ขึ้นมาได้ด้วยสีน�้ำมันซึ่งเป็นเทคนิคทางจิตรกรรม” จากแนว ความคิดที่ศิลปินได้อธิบายอย่างง่ายดาย กระชับ ดูไม่สลับซับซ้อน ซึ่งแตกต่างจากผล งานทีป่ รากฏออกมาอย่างมาก ในผลงานมีการกล่าวถึงเรือ่ งราวในหลายๆมิตทิ นี่ า่ สนใจ แต่สิ่งที่เห็นได้ชัดจากผลงานชิ้นดังกล่าวนี้ คือการตั้งค�ำถามกับสิ่งที่เคยเกิดขึ้นในพื้นที่ ของประวัติศาสตร์ศิลปะตั้งแต่อดีต และการก้าวข้ามเข้าสู่ส่ิงใหม่ และอาจรวมถึงการ ตั้งค�ำถามถึงการสร้างสรรค์ในระบบของกรอบการศึกษาศิลปะในบ้านเรา ผลงานมีการ ก้าวข้ามขีดจ�ำกัดเดิมๆที่ว่าด้วยกฏและรูปแบบการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่จ�ำกัดอยู่ ในกรอบทั้ ง 2 มิ ติ หรื อ 3 มิ ติ การข้ า มข้ อ ก� ำ หนดกั น ไปมาระหว่ า งจิ ต รกรรม ประติมากรรม นับได้ว่าเป็นการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่มีความน่าสนใจและท้าทาย กั บ การศึ ก ษาศิ ล ปะที่ ก� ำ หนด/วางรากฐานว่ า อะไรคื อ จิ ต รกรรมหรื อ อะไรคื อ ประติมากรรม และเมือ่ ผลงานศิลปะชิน้ ดังกล่าวได้ปรากฎอยูใ่ นพืน้ ทีก่ ารแสดงศิลปกรรม ของศิลปินรุ่นเยาว์ครั้งนี้ จึงนับได้ว่าเป็นการก้าวเข้าสู่ยุคแห่งการสร้างสรรค์ใหม่ที่มิได้ จ�ำกัดขอบเขตการสร้างสรรค์ที่อยู่ในวงเดิมๆ ซึ่งเหมือนกับการก้าวไปข้างหน้าของเวที นี้อย่างเห็นได้ชัด
นางสาวพัชรพรรณ ธรรมสุนทรี “ท�ำลายก�ำแพงทั้ง 4 หมายเลข 1” สีน�้ำมันบนผ้าใบ, 96 x 70 x 40 ซม.
3
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” อีกผลงานที่ได้รับรางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” ในครั้งนี้เช่นกัน ได้แก่ ผลงานของ นายธีรพล สีสังข์ ในผลงานชื่อ “ปรารถนา” เทคนิค ถัก สาน ขด และ ขมวดเส้นใยโลหะ ด้วยแนวความคิดที่ ศิลปินสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้เทคนิคและวัสดุ วิธกี าร แบบหัตถกรรมของไทย โดยได้แรงบันดาลใจมาจากรูปทรงต่างๆในอุดมคติ ความเชื่อ ผ่าน จินตนาการให้เห็นถึงรูปลักษณ์ที่เป็นอุดมคติ น�ำเสนอด้วยกระบวนการถัก การขด และการ ขมวดของเส้นใยโลหะที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงความประณีต เพื่อต้องการแสดงออกถึงความงาม ของรูปทรงในอุดมคติตามเค้าโครงประเพณีนยิ ม แต่สงิ่ เหล่านีก้ ถ็ กู สร้างให้คลุมเครือ ไม่ชดั เจน บอบบาง จับต้องได้ยาก เพือ่ อธิบายในเชิงสัญลักษณ์ตามอย่างปรัชญาในพระพุทธศาสนา อัน เกีย่ วกับความจริงของความยึดมัน่ ปรารถนาต่อสิง่ เร้าต่างๆ ของมนุษย์ปถุ ชุ นกับการตัง้ ค�ำถาม ต่อการมีอยู่ของสิ่งเหล่านั้นที่มีความเชื่อว่าสิ่งจูงใจต่างๆ แม้จะเป็นรูปวัตถุในอุดมคติ แต่ แท้จริงแล้ว รูปสมมติเหล่านี้คือสิ่งแทนบทบาทชั่วขณะในทางโลก ไม่สามารถเหนี่ยวรั้งไว้ให้ คงอยู่กับเราตลอดไป และเป็นเพียงสิ่งสมมติเท่านั้น
นายธีรพล สีสังข์ “ปรารถนา” ถัก สาน ขด และขมวดเส้นใยโลหะ, 200 x 200 x 170 ซม.
4
ในผลงานชิน้ ดังกล่าวนีม้ คี วามน่าสนใจว่าด้วยเนือ้ หา/เรือ่ งราวของผลงานทีส่ อดคล้องกับการ เลือกใช้เทคนิคถักทอเส้นใยโลหะ(ทองแดง) ในการน�ำเสนอ เราสามารถเล็งเห็นถึงความ พยายามของศิลปินที่สร้างสรรค์ผลงานศิลปะออกมาด้วยความเปราะบาง และด้วยความ เปราะบาง ไม่คงทนนีเ้ อง ทีท่ ำ� ให้ผชู้ มสามารถเข้าไปสูต่ วั เนือ้ หาของแนวความคิดของผลงาน ได้อย่างสมบูรณ์ สิ่งที่พริ้วไหว ล่องลอยอยู่เหนือระดับสายตา จนแทบจะลอยอยู่เหนือศีรษะ นี้ แสดงให้เห็นถึงสิ่งสมมุติของแรงปรารถนาที่คลุมเครือด้วยการสร้างสัญลักษณ์ต่างๆที่ล่อง ลอยบอบบาง ไม่คงที/่ คงทนและยากทีจ่ ะจับต้อง ซึง่ ด้วยตัวเนือ้ หาทีต่ อ้ งการจะน�ำเสนอผนวก
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” กับเทคนิคทีม่ กี ารเลือกใช้การถัก/สานเส้นลวดทองแดง ทีซ่ งึ่ ตัวเทคนิคและวัสดุนนั้ สามารถตอบ สนองค�ำว่า “ปรารถนา” ได้อย่างน่าสนใจ ค�ำว่าปรารถนาในผลงานชิ้นดังกล่าวนี้แม้จะเป็นสิ่ง สวยงาม ระยิบระยับ ดูมีคุณค่าน่าค้นหาให้ได้มาซึ่งการครอบครอง แต่ความงามต่างๆนั้นล้วน เป็นสิ่งสมมติ หาใช่สิ่งที่สามารถยึดเหนี่ยวให้อยู่กับเราจนจีรังไม่ ทุกสิ่งสามารถย่อยสลายหาย ไปตามเหตุและปัจจัยต่างๆ รางวัลถัดมาที่มีคุณภาพไม่ต่างกัน นั่นคือ รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระ ศรี” มีศลิ ปินได้รบั รางวัลทัง้ สิน้ จ�ำนวน 8 ท่าน ผลงานแต่ละชิน้ นัน้ ล้วนมีการแสดงออกในทิศทาง เฉพาะตัว ซึ่งปรากฏการแสดงออกทั้งในเรื่องราวจากจากประสบการณ์ส่วนตน และเรื่องราว บริบทแวดล้อมภายนอกได้อย่างน่าสนใจ ดังนี้ 1. นางสาวกูซอฟียะฮ์ นิบอื ซา ในผลงานชือ่ “บทสนทนาในร้านน�ำ้ ชาปัตตานี” เทคนิค ประกอบ กระดาษ บนพื้นผิววัสดุภาพพิมพ์ ในผลงานเกิดจากความต้องการถ่ายทอดเรื่องราววิถีการ ด�ำเนินชีวิต ความเป็นอยู่ของชาวไทยมลายูท้องถิ่น ที่มีความงามอันเรียบง่าย ซึ่งเป็นอัตลักษณ์ วิถีที่สมบูรณ์ โดยแสดงออกผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ในรูปแบบจิตรกรรมผสม เทคนิค ประกอบกระดาษบนพื้นผิววัสดุภาพพิมพ์ เปรียบเสมือนการก่อรูปทรง สัญลักษณ์ให้เกิดความ สมบูรณ์ของวัฒนธรรม คุณค่า ความดีงาม ของความรู้สึกภายในสู่ภายนอก ในผลงานมีความ น่าสนใจอยู่ที่ความพยายามสร้างมิติทางจิตรกรรมให้มีตื้นลึกและมีการผสมผสานเทคนิคภาพ พิมพ์ลงบนกระดาษได้อย่างลงตัว และด้วยความพยายามในการสร้างมิติทางจิตรกรรมนี้ คงไม่ ต่างกับการที่ศิลปินพยายามแสดงให้เห็นภาพวิถีชีวิตที่เรียบง่ายในชายแดนภาคใต้ที่สวยงาม
นางสาวกูซอฟียะฮ์ นิบือซา “บทสนทนาในร้านน�้ำชาปัตตานี” ประกอบกระดาษ บนพื้นผิววัสดุภาพพิมพ์, 160 x 200 ซม.
5
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นางสาวจุฬารัตน์ แพงค�ำ “ความงามของชีวิตสัตว์เลี้ยง” ปั้นหล่อ ปูนปลาสเตอร์, 90 x 105 x 160 ซม.
2. นางสาวจุฬารัตน์ แพงค�ำ ในผลงานชื่อ “ความงามของชีวิตสัตว์เลี้ยง” เทคนิค ปั้นหล่อ ปูนปลาสเตอร์ จากแนวความคิดที่ว่าด้วยจากประสบการณ์ที่ได้ประกอบอาชีพเกษตรกรร่วม กับครอบครัว (ฟาร์มเลี้ยงสุกร) จึงได้สัมผัสสัตว์เลี้ยงอย่างใกล้ชิดและเรียนรู้พฤติกรรมสัตว์ใน ระบบอุตสาหกรรม การเห็นความเป็นอยู่ของชีวิตสุกรที่อยู่ในการควบคุมของมนุษย์นั้นก็ยังคง เห็นความเดียงสา เห็นความรัก ซึง่ เป็นธรรมชาติของสิง่ มีชวี ติ ทีม่ คี วามหลากหลายทางด้านการ แสดงอารมณ์ ความรู้สึกจากพฤติกรรม จึงสร้างสรรค์เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าของชีวิต สะท้อนให้เห็นว่าชีวิตทุกชีวิตมันมีความงามของมัน สัตว์เลี้ยงไม่ว่าจะอยู่ในสภาวะใด มันก็มี ความงามของชีวิตมันเสมอ ที่บางครั้งมนุษย์อย่างเราก็มองข้ามไป 6
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นางสาวชลนัฐฐา แก้วกนก “สุขสันต์วันกลับบ้าน” ภาพพิมพ์ดิจิตอลและแม่พิมพ์หิน, 93 x 128 ซม.
นางสาวธนภรณ์ อัญมณีเจริญ “Step” Screenprint, 88 x 118 ซม.
3. นางสาวชลนัฐฐา แก้วกนก ในผลงานชื่อ “สุขสันต์วันกลับบ้าน” เทคนิค ภาพพิมพ์ดิจิตอลและแม่พิมพ์หิน จากแนวคิดที่ว่าด้วยการเก็บสิ่งของหรือประสบการณ์ที่เกิดขึ้น ในชีวิตไว้ให้นานเท่าที่จะท�ำได้ เพราะความจริงของชีวิตทุกอย่างมีการเสื่อมสลายไป ไม่เว้นแม้แต่คนที่รัก หรือสิ่งของ จากความจริงข้อนี้มีเพียงวิธีเดียวคือ เก็บ ถนอมความรัก ความผูกพันที่มีต่อครอบครัวผ่านวัตถุสิ่งของ ที่น�ำมาแช่แข็งไว้ อย่างน้อยกระบวนการนี้ก็จะท�ำให้ภาพความทรงจ�ำต่างๆที่เป็นความสุขของครอบครัวอบอวลอยู่รอบตัว 4. นางสาวธนภรณ์ อัญมณีเจริญ ในผลงานชื่อ “Step” เทคนิค Screenprint ด้วยแนวความคิดที่ต้องการน�ำเสนอเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมที่ได้พบเจอ ผ่านลักษณะ การบันทึกเรื่องราวต่างๆ บนกระดาษลายเส้นที่มีลักษณะเฉพาะตัวของจินตนาการ โดยอาศัยความฉับพลันทางอารมณ์ ผ่านปัญญาญาณ ผสานกับ ปรีชาญาณ เพื่อแสดงถึง ลักษณะเรือ่ งราวทีถ่ กู ปิดกัน้ ของคนในสังคม เนือ่ งจากสังคมไม่อาจยอมรับการกระท�ำทีไ่ ม่ถกู ต้อง หรือผิดวิสยั ไปจากปกติทวั่ ไป ศิลปินจึงน�ำเสนอโดยใช้ลกั ษณะบิดเบือน ทฤษฎี ตรรกะความจริง ภาพ การเรียนรู้ให้กลายเป็นจินตนาการ 7
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นายนคร พูลทรัพย์ “โดดเดี่ยวในมหานคร หมายเลข 3” ภาพพิมพ์แกะไม้, 116 x 160 ซม.
5. นายนคร พูลทรัพย์ ในผลงานชือ่ “โดดเดีย่ วในมหานคร หมายเลข 3” เทคนิค ภาพพิมพ์แกะไม้ ด้วยแนวความคิดทีว่ า่ ถ้าหากพูดถึงกรุงเทพฯ ก็คงนึกถึงความศิวไิ ลซ์ ตึกสูงระฟ้า ห้างสรรพสินค้าใหญ่โต มากมาย ผูค้ นมากมายจากหลายจังหวัดทุกภาคในประเทศไทยหลัง่ ไหลกันเข้ามาใช้ ชีวิตในเมืองหลวงแห่งนี้ หลายๆคนอาจมีความสุขและรักการใช้ชีวิตในความศิวิไลซ์นี้ แต่ก็มีผู้คนจ�ำนวนไม่น้อยที่จ�ำเป็นต้องจากครอบครัวอัน แสนอบอุ่น เพื่อเข้ามาแสวงหาผลประโยชน์จากเมืองหลวงที่แสนวุ่นวายแห่งนี้เพียงล�ำพัง เพราะหวังถึงอนาคตของครอบครัวที่จากมา ศิลปิน จึงถ่ายทอดความรู้สึกคิดถึงบ้านในชนบทโดยผ่านกระบวนการทางภาพพิมพ์แกะไม้ 8
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นางสาวภัณฑิรา ไชยแก้ว “วิถีชีวิตในพหุวัฒนธรรม หมายเลข 1” ฉลุกระดาษ คอลลาจกระดาษและสีฝุ่น, 150 x 190 ซม.
6. นางสาวภัณฑิรา ไชยแก้ว ในผลงานชื่อ “วิถีชีวิตในพหุวัฒนธรรม หมายเลข 1” เทคนิค ฉลุกระดาษ คอลลาจกระดาษและสีฝุ่น จากแนวความคิดที่ว่าด้วย “บ้าน” คือจุด เริ่มต้นของทุกสิ่งทุกอย่างแห่งความสุข และสายใยสัมพันธ์อันอบอุ่น ด้วยความรู้สึกเหล่านี้จึงท�ำให้หวนนึกถึง “สงขลา” ที่มีสถาปัตยกรรม “ชีโน-โปรตุกีส” อันเป็นสิ่งที่บ่งบอก ถึงอดีตแห่งประวัติศาสตร์ของเมืองสงขลามาจนถึงปัจจุบัน ด้วยความรู้สึกนี้ท�ำให้แสดงออกถึงความประทับใจในความงามแห่งรอยอดีตของ สถาปัตยกรรมชิโน-โปรตุกีสที่แฝง ไปด้วยความรัก ความอบอุ่น และวิถีชีวิตที่หลากหลายของสังคมในปัจจุบัน แสดงให้เห็นถึงลวดลายอันละเอียดลออ ประณีต และวิจิตรบนความงดงามของสถาปัตยกรรมอัน ทรงคุณค่า ในผลงานชิ้นดังกล่าวนี้ สิ่งที่น่าสนใจไม่ใช่เพียงรูปแบบและเทคนิคในการแสดงออกมาเป็นผลงานจิตรกรรมผสมเพียงเท่านั้น หากแต่ในเนื้อหาเรื่องราวที่มีการน�ำ ความรู้ในด้านศาสตร์อื่น(สถาปัตยกรรม)เข้ามาแฝงอยู่ในผลงานศิลปกรรม เพื่อแสดงให้เห็นถึงร่องรอยทางประวัติศาสตร์ของคน ชุมชน และวัฒนธรรมในพื้นที่ดังกล่าว 9
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” 7. นางสาวสุพัฒนาวดี เหมือนตา ในผลงานชื่อ “Gender/Me/Mind No. 2” เทคนิค ภาพพิมพ์ดิจิตอล และแม่พิมพ์หิน จากแนวคิดที่ว่าด้วยการเกิดความรู้สึกและประสบการณ์ส่วนตัวในเรื่องเพศสภาพ การ ถูกปิดกัน้ การแสดงออก การเปิดเผยตัวตนและพฤติกรรมทีเ่ ป็นตัวของตัวเองต่อคนใกล้ชดิ และสังคม การ แสดงออกที่กึ่งเปิดกึ่งปิด เกิดเป็นพฤติกรรมที่สับสนและซับซ้อน ไม่กล้าเปิดเผยตัวเองอย่างสมบูรณ์ น�ำ มาซึง่ การสร้างผลงานทีเ่ ป็นมิตทิ บั ซ้อนของร่างกาย และอัตลักษณ์ความเป็นตัวของตัวเองทีไ่ ม่สามารถเปิด เผยให้ใครๆรับรู้ สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาของเพศที่สามที่ไม่ได้รับการยอมรับเต็มใจสมบูรณ์ ในผลงานชิ้น ดังกล่าวนีด้ ว้ ยเทคนิคและรูปแบบการแสดงออกนับได้วา่ ยังไม่โดดเด่นมากนัก หากแต่สงิ่ ทีน่ า่ สนใจคือเรือ่ ง ราวที่ปรากฏเป็นภาพนั้นได้สะท้อนให้เห็นถึงสภาพความเป็นจริงในสังคม ศิลปะสามารถเป็นเครื่องมือ หนึง่ ในการส่งเสียงเรือ่ งราวออกสูส่ งั คมไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งใดก็ตาม ผลงานชิน้ ดังกล่าวนัน้ แม้จะเป็นการพูด ในเรื่องส่วนตัวแต่ก็สามารถเชื่อมโยงกับสังคมในประเด็นเรื่องเพศสภาพได้อย่างน่าสนใจ 8. นายอนันต์ยศ จันทร์นวล ในผลงานชื่อ “ไอ้เข้ หมายเลข 2” เทคนิค สีอะครีลิค และสีน�้ำมันบนผ้าใบ จากแนวคิดที่ว่าด้วยการแสดงออกทางความคิด อารมณ์และความรู้สึก โดยต้องการเสียดสีสภาวะสังคม ไทยในปัจจุบันที่นับวันยิ่งเห็นความเสื่อมถอยทางจริยธรรมและศีลธรรม ทั้งความคิด การกระท�ำของคน ที่ก่อให้เกิดความ รัก โลภ โกรธ หลง น�ำไปสู่ความขัดแย้ง การแย่งชิง เข่นฆ่า เพื่อให้ได้ในสิ่งที่ตนต้องการ ซึ่งล้วนแล้วแต่กิเลสทั้งสิ้น
10
นางสาวสุพัฒนาวดี เหมือนตา “Gender/Me/Mind No. 2” ภาพพิมพ์ดิจิตอลและแม่พิมพ์หิน, 110 x 83 ซม.
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นายอนันต์ยศ จันทร์นวล “ไอ้เข้ หมายเลข 2” สีอะครีลิค และสีน�้ำมันบนผ้าใบ, 130 x 180 ซม.
ผลงานทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นทั้งรางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญทองทั้ง 2 รางวัลและเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญเงิน 8 รางวัลนั้น จะสังเกตได้ว่า ผลงานต่างๆล้วนมีความหลากหลาย ทั้งทางด้านเทคนิคและวิธีคิด ที่ทั้งเกี่ยวโยงกับสังคม ตนเอง เรื่องราวภายใน และภาพแทนทางความคิด ซึ่งเป็นการเริ่มต้นเส้นทางของศิลปินรุ่นเยาว์ได้อย่างน่าติดตาม และผลงานทั้งหมด อาจสามารถสะท้อนพัฒนาการของการศึกษาศิลปะว่า ในทุกๆวันนี้การเรียนการสอนก�ำลังหันหน้าไปสู่เส้นทางศิลปะในแบบใด และพัฒนาการจะออกมาในทิศทางเช่นไร ซึ่งผลงานที่ได้รับ รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” ทั้ง 2 ท่านที่ได้กล่าวมาข้างต้นนี้ นับได้ว่าเป็นภาพของพัฒนาการทางศิลปะของเวทีศิลปินรุ่นเยาว์แห่งนี้อย่างน่าสนใจ คนหนึ่ง สร้างสรรค์ผลงานศิลปะทีม่ กี ารต่อรองกับเทคนิคทีเ่ ป็นแบบแผนและวิธกี ารน�ำเสนอ อีกคนสร้างสรรค์ผลงานทีม่ คี วามวิจติ รสวยงามตามขนบ หากแต่เปราะบางไม่จรี งั นับได้วา่ ผลงานทัง้ สอง ชิ้นดังกล่าวก�ำลังก้าวขยับเข้าใกล้เข้าสู่โลกศิลปะร่วมสมัยอย่างน่าสนใจ กฤษฎา ดุษฎีวนิช
11
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นอกจากรางวัลที่กล่าวมาแล้ว ยังมีรางวัลสนับสนุนที่เป็นรางวัลส่งเสริมการสร้างสรรค์แก่ศิลปินรุ่นเยาว์อีก 7 รางวัลได้แก่
12
นางสาวธมลวรรณ แสงนาค “พิษณุโลก หมายเลข 7” สกรีนและวัสดุผสม, 122 x 193 ซม.
นางสาวธันย์ชนก ศรีสุข “พลังแห่งดุลยภาพ หมายเลข 3” ภาพพิมพ์กระดาษ, 143 x 172 ซม.
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นางสาวนิตยา เหิรเมฆ “ป่า หมายเลข 3” ภาพพิมพ์แกะไม้, 181 x 126 ซม. นางสาวปัทมา ทับทิมไทย “รอยกรรม หมายเลข 2” ฉลุกระดาษ, 175 x 125 ซม.
13
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายพิษณุ วงศ์วิไลพิสิฐ “ชาติ ศาสน์ กษัตริย์” สีอะครีลิค, 190 x 145 ซม.
14
นางสาววรัญญา ตันสกุล “On My Mind No. 1” แม่พิมพ์หิน, 106 x 78 ซม.
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นางสาววริศรา อภิสัมภินวงค์ “วิถีคนไทยเชื้อสายจีน หมายเลข 2” ภาพพิมพ์แกะไม้, 110 x 144 ซม.
15
ขอขอบคุณ คุณดิสพล จันศิริ
ปกหน้า-หลัง รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” 16