1
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ครั้งนี้มีความน่าสนใจอยู่ไม่น้อยในมิติของการ แสดงออกทีม่ คี วามเป็นร่วมสมัยมากกว่าครัง้ ผ่านๆมา ศิลปะเริม่ มีการแสดงออกทีท่ นั ยุค ทันสมัย รูปลักษณ์การ จัดวางเริม่ มีโครงสร้างในวิธคี ดิ ทีท่ นั โลก ศิลปะมีการแสดงภาวะการก้าวข้ามสุนทรียศาสตร์แบบหลักวิชาการที่ สืบทอดกันมาในสถาบันหลักมากขึน้ ความเป็นเหตุเป็นผลในวิธคี ดิ เริม่ มี “ทิศทาง” ใหม่ๆ มิได้จำ� เจเหมือนแต่ ก่อน ครั้งนี้ผลงานที่น่าสนใจและสร้างความน่าสนใจให้แก่พื้นที่เวทีนี้คงหนีไม่พ้นงานรางวัลสูงสุด ซึ่งมีผลงาน ที่ได้รับรางวัลดังกล่าวถึง 2 ผลงาน โดยผลงานทั้งคู่ชี้ให้เห็นว่าการขยับหรือการเคลื่อนตัวของศิลปะร่วมสมัย เริ่มเข้ามาสู่การแสดงออกของศิลปินรุ่นใหม่มากขึ้น การจัดวาง วิธีคิด การแสดงออก การน�ำเสนอรูปลักษณ์ ดูน่าสนใจ ซึ่งผลงานทั้ง 2 ชิ้นนั้นมีความเท่าเทียมกันในทุกๆด้าน ในที่นี้ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมว่าด้วยเรื่องผลงาน ศิลปะของศิลปินรุน่ เยาว์ทเี่ กิดขึน้ ในทิศทางเช่นนี้ คงหนีไม่พน้ การมีสดั ส่วนกรรมการใหม่ทเี่ ป็นศิลปินร่วมสมัย มาร่วมตัดสินผลงาน โดยสร้างปรากฏการณ์ของการตัดสินทีก่ ลมกล่อมหยอกล้อไปกับผลงานของศิลปินรุน่ ใหม่ ทีส่ นุกสนาน ในการแสดงครัง้ นีน้ บั ว่าเป็นการเปิดมโนทัศน์ใหม่ของพัฒนาการการศึกษาศิลปะในประเทศไทย ที่มีการเคลื่อนตัวไปข้างหน้าอีกขั้น ในครั้งนี้มีผู้ได้รับรางวัลทั้งสิ้น 18 รางวัล แบ่งเป็นรางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยม เหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” 2 รางวัล รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” 8 รางวัล และรางวัลสนับสนุน 8 รางวัล โดยในแต่ละ รางวัลนั้นล้วนมีเทคนิคและเนื้อหาแนวทางการสร้างสรรค์ผลงานที่น่าสนใจ
2
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยม เหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลเกียรตินยิ มยอดเยีย่ มเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” ในครัง้ นีไ้ ด้แก่ นางสาวคนัมพร พันธุ์สวัสดิ์ ในผลงานชื่อ “Dictionary of Life” เทคนิค ภาพพิมพ์สื่อผสม จัดวาง ด้วยแนวความคิดที่ว่า “มนุษย์เกิดมาเพื่อค้นหาเป้าหมายในชีวิตของตน เริ่มจากการ ค้นหาสิง่ หนึง่ เพือ่ น�ำไปสูอ่ กี สิง่ หนึง่ เกิดเป็นการเปลีย่ นแปลง สัง่ สมประสบการณ์ความดี ความ ชอบ ความเกลียดชัง ทุกอย่างเรียกว่ากระบวนการคิดทีไ่ ม่อาจระบุได้อย่างแน่ชดั วันนีค้ ดิ อย่าง หนึ่ง พรุ่งนี้คิดอีกอย่างหนึ่ง ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงและยืดหยุ่นตามสภาวะห้วงขณะความคิดนั้น ๆ เป้าหมายในชีวิตของมนุษย์ทุกคนคือการแสวงหาตนที่เป็นอนันต์ ดั่งเช่น หนังสือที่อ่านไม่ ออก พจนานุกรมที่หาความหมายไม่ได้ แต่สิ่งที่ส�ำคัญคือการค้นหาตนเองต่อไปเป็นการเดิน ทางชีวติ ทีไ่ ม่มวี นั สิน้ สุด” จากแนวคิดทีศ่ ลิ ปินได้นำ� เสนอผนวกกับการแสดงออกทีเ่ รียบง่ายแต่ ทรงพลังท�ำให้ผลงานชิ้นดังกล่าวมีความน่าสนใจอย่างมากในหลายๆมิติ ความน่าสนใจอย่าง แรกเมื่อรับชมในผลงานนี้คือการแสดงออกในทุกๆวัตถุที่ปรากฏที่มีการรวมตัวกันของการใช้ สื่อแสดงออกแบบเดิมที่เป็นภาพพิมพ์ใส่กรอบแขวนผนัง และมีวัตถุต้นแบบจริงที่วางให้ผู้ชม สัมผัส เปิดออกให้เห็นสิ่งที่ซ่อนเร้นภายใน การจัดวางที่เรียบง่ายดูเหมือนไม่มีอะไร แต่กลับ คล้องจองลืน่ ไหลให้เข้าไปสูใ่ นเนือ้ หาทีม่ คี วามเป็นปรัชญาโดยการหยิบยกเรือ่ งราวภายในส่วน ตนมาแสดง “หนังสือที่อ่านไม่ออก พจนานุกรมที่หาความหมายไม่ได้” ประโยคดังกล่าวนี้ คือหัวใจหลักของผลงานที่จะน�ำพาเราเข้าไปสู่ดินแดนใหม่ในหนังสือ/ พจนานุกรม ที่วางแน่ นิ่งอยู่ตรงหน้า ราวกับการอ่านออกเขียนได้เป็นเรื่องส่วนบุคคล (ศิลปิน) ศิลปินได้สร้างภาษา ใหม่ในการเดินทางค้นหาตัวเองด้วยภาษาทีอ่ าจไม่มใี ครเข้าใจแต่มนั ได้บนั ทึกเข้าไปสูแ่ ก่นแกน ของจิตใจ ศิลปะเข้ามามีบทบาทในการสร้างภาษาใหม่ครั้งนี้อย่างน่าสนใจ และพัฒนาการใน การสร้างภาษาของศิลปินท่านนีเ้ ชือ่ ว่าต่อไปข้างหน้าจะสร้างภาษาทีไ่ ม่ได้หยุดอยูแ่ ค่การค้นหา ตนเองแต่เพียงอย่างเดียว เพราะยังมีอะไรอื่นอีกมากมายรอให้ค้นหา
นางสาวคนัมพร พันธุ์สวัสดิ์ “Dictionary of Life” ภาพพิมพ์สื่อผสมจัดวาง 200 x 62 x 48 ซม. 3
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยม เหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
นางสาวรสา สิทธิการ “ความงามของความตาย” ดินสอพองผสมกาวลาเท็กซ์ และกาวร้อน 187 x 174 x 141 ซม.
อีกผลงานที่ได้รับรางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” ในครั้งนี้ได้แก่ ผลงานของ นางสาวรสา สิทธิการ ในผลงานชื่อ “ความ งามของความตาย” เทคนิค ดินสอพองผสมกาวลาเท็กซ์ และกาวร้อน ด้วยแนวความคิดที่ว่า “เนื่องจากความสนใจในกระดูกของมนุษย์ที่แสดงถึง สังขารและความตายที่งดงาม ซึ่งได้สังเกตเห็นความเหมือนกันของกระดูกมนุษย์ เพราะความปกติของคนเราจึงท�ำให้กระดูกคล้ายกัน แม้จะไม่ได้ อยู่ครอบครัวเดียวกัน โดยเฉพาะเรื่องของกระดูกคนพิการที่แปลก คนพิการในโลกของเราถูกมองเป็นคนไร้ความสามารถและเปรียบเป็นภาระ บาง ครั้งความพิการของเขายังท�ำให้ถูกมองเป็นคนที่ดูอัปลักษณ์ น่ากลัว แต่เมื่อความตายมาถึง ความเสมอภาคเท่าเทียมกัน ความพิการจึงเกิดเป็นความ พิเศษ จึงเล็งเห็นถึงความงามของความพิเศษนั้น” ในผลงานดังกล่าวนี้ก็เช่นกัน สิ่งที่น่าสนใจอย่างแรกเมื่อรับชม คือ ความพิเศษในการแสดงออก แนวความคิดกับเทคนิคที่ลงตัว สอดคล้องกันอย่างมาก ว่าด้วยเรื่องสังขารและการใช้วัสดุที่เปราะบางมาสรรค์สร้างรูปทรงของแก่นกลางชีวิตที่บิด เบี้ยวไม่สวยงามและไม่สมบูรณ์ให้มีความพิเศษงดงามน่าค้นหา ชิ้นส่วนกระดูกต่างๆของมนุษย์ที่ศิลปินได้สร้างมาอย่างบิดๆเบี้ยวๆด้วยวัสดุที่เปราะ บางอย่างดินสอพองนั้นแสดงให้เห็นถึงความไม่ยั่งยืนของสังขาร และการบิดเบี้ยวผิดแปลกเมื่อครั้งยังมีชีวิต หากแต่ด้วยแนวความคิดของผลงานนั้น มิได้จบลงเพียงแค่ค�ำว่าสังขาร ศิลปินยังได้ตั้งค�ำถามต่อความเสมอภาคของชีวิตต่อเมื่อสิ้นลมหายใจ ความตายท�ำให้เท่าเทียม ความตายท�ำให้เสมอ ภาค แต่สงิ่ พิเศษทีท่ ำ� ให้แตกต่างกันคือความพิการบิดเบีย้ วเมือ่ ครัง้ ยังมีชวี ติ อยูน่ นั้ ท�ำให้ “สิง่ ” เหล่านัน้ พิเศษขึน้ มาจากความเสมอภาคของความตาย และสิง่ ทีช่ ว่ ยในผลงานนีม้ คี วามน่าสนใจและโดดเด่นขึน้ มาได้นนั้ คือรูปแบบการจัดแสดงแบบตูพ้ พิ ธิ ภัณฑ์โชว์วตั ถุทเี่ คยมีหน้าทีแ่ ละมีการใช้งานแบบ หนึง่ มาก่อน แต่เมือ่ หมดอายุขยั ก็เป็นได้แค่เพียงความตายของวัตถุทแี่ น่นงิ่ ในตูท้ ใี่ ห้คณ ุ ค่าโดยมนุษย์ทมี่ คี วามส�ำคัญต่อประวัตศิ าสตร์ ราวกับว่าศิลปิน ได้สถาปนาวัตถุในตู้ดังกล่าวเป็นวัตถุส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ขึ้นมา 4
รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลถัดมาคือ รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” มีศิลปินได้รับรางวัลทั้งสิ้นจ�ำนวน 8 ท่าน ผลงานแต่ละชิ้นนั้นล้วนมีการแสดงออก ในทิศทางเฉพาะตัว ซึ่งปรากฏการแสดงออกทั้งในเรื่องราวจากจากประสบการณ์ส่วนตน และรูปแบบการแสดงออกที่น่าสนใจ และเทคนิคในการ สร้างสรรค์ที่น่าสนใจดังนี้ 1. นายคเณศ แสนศรีลา ในผลงานชื่อ “รถบรรทุก หมายเลข 4” เทคนิค ภาพพิมพ์แกะไม้ ด้วยแนวความคิดที่ว่า “ความประทับใจในความงามของรถบรรทุก และภาพบรรยากาศต่าง ๆ ทีอ่ ยูใ่ นขณะนัน้ จึงอยากถ่ายทอดบรรยากาศอารมณ์ความรูส้ กึ จากเหตุการณ์นนั้ ผ่านความ ประทับใจในรถบรรทุก สิง่ ของต่าง ๆ ทีร่ ถบรรทุกอยู่ ภาพบรรยากาศทีเ่ กิดลักษณะต่าง ๆ ของ รถบรรทุก ซึง่ ภาพเหล่านีท้ ำ� ให้นกึ ถึงอาชีพของครอบครัว รวมไปถึงความสามารถ ความอดทน ของรถบรรทุกชนิดต่าง ๆ ทีถ่ งึ แม้เก่า แต่กต็ อ้ งท�ำงาน ซึง่ เราสามารถรับรูไ้ ด้จากประสาทสัมผัส ทางการมองเห็นจนท�ำให้เกิดอารมณ์ ความรู้สึกและสุนทรียภายในจิตใจ” ในผลงานชิ้นนี้สิ่ง ที่ได้เมื่อรับชมคือความเหมือนจริงที่ต้องอาศัยทักษะฝีมือขั้นสูงในเทคนิคภาพพิมพ์แกะไม้ที่ สีสันนั้นมีความเหมือนจริงอย่างมาก อย่างที่ทราบกันในทุกๆวันนี้ ภาพพิมพ์แกะไม้ที่ปรากฏ ในเวทีประกวดต่างๆเป็นที่นิยมอย่างมากโดยเฉพาะแนวทางการสร้างสรรค์เหมือนจริงที่มี การถ่ายทอดออกมาอย่างละเอียด แต่สงิ่ ทีข่ าดไปคือภาพพิมพ์แกะไม้ทมี่ กี ลิน่ อายของแสงใน ความเหมือนจริง ที่ซึ่งที่ผ่านมาหลายๆงานมักจะปรากฏให้เห็นเพียงแค่ภาพพิมพ์ขาว-ด�ำที่มี การสร้างน�ำ้ หนักได้เหมือนจริง ซึง่ แตกต่างจากผลงานทีไ่ ด้รางวัลดังกล่าว ศิลปินได้มอบแสง สี นานาเฉดคืนแก่เทคนิคภาพพิมพ์แกะไม้ และผลงานชิน้ นีไ้ ด้สร้างกลิน่ อายของของเหมือนจริง นายคเณศ แสนศรีลา ได้อย่างสมบูรณ์ ความเหมือนจริงในผลงานนีม้ ไิ ด้แค่ถา่ ยทอดวิถชี นบทเพียงเท่านัน้ หากแต่ยงั “รถบรรทุก หมายเลข 4” ภาพพิมพ์แกะไม้ ถ่ายทอดกลิน่ ของความเป็นชนบทได้อย่างสมบูรณ์ผา่ นส่วนประกอบต่างๆนานาในผลงานไม่ 126 x 182 ซม. ว่าจะเป็นร่องรอยดิน กองฟาง รถบรรทุก ท้องฟ้าที่เราอาจจะสัมผัสได้ถึงอากาศ 5
รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นายธนพล อินทฤทธิ์ “จรัญ 2561 หมายเลข 1” ภาพพิมพ์แกะไม้ 141 x 106 ซม.
นางสาวธนัชชา ลีลางกูร “รูปแห่งกิเลสวัฏฏะ” สีอะครีลิคบนผ้าใบ และวิดีโออาร์ต 178 x 170 ซม.
2. นายธนพล อินทฤทธิ์ ในผลงานชื่อ “จรัญ 2561 หมายเลข 1” เทคนิค ภาพพิมพ์แกะไม้ ด้วยแนวความคิดที่ว่า “แสดงออกถึงการเปลี่ยนแปลง ของสิ่งแวดล้อมของเมืองหลวงในช่วงเวลาต่าง ๆ” ผลงานดังกล่าวแสดงออกในรูปแบบของการถ่ายทอดสภาวะเมืองที่มีการเปลี่ยนแปลงจากเขต ชานเมืองสูก่ ารเติบโตแบบเมืองหลวงโดยสัญลักษณ์ของการก่อสร้างรถไฟฟ้าทีด่ เู หมือนในเมืองอย่างกรุงเทพฯจะมีภาพแบบนีใ้ ห้เห็นกันอยูท่ วั่ ไป ผล งานชิ้นดังกล่าวนี้เสมือนกับบทบันทึกความเปลี่ยนแปลงของเมืองกรุง
6
3. นางสาวธนัชชา ลีลางกูร ในผลงานชื่อ “รูปแห่งกิเลสวัฏฏะ” เทคนิค สีอะครีลิคบนผ้าใบ และวิดีโออาร์ต ด้วยแนวความคิดที่ว่า “หากมนุษย์เป็น เพียงจิตและกายหยาบที่ติดอยู่ในวัฏสงสาร ดังเหมือนถูกห่อหุ้มไปด้วยเปลือกอันโสมมแล้วเหตุไฉนเล่าจึงไม่กะเทาะเปลือกอันเต็มไปด้วยกิเลสเหล่า นี้ออกมา? ด้วยแรงบันดาลใจที่ได้จากพระไตรปิฎกในตอนหนึ่ง พระพุทธเจ้าได้ตรัสกับพราหมณ์ดังพอสรุปใจความได้ว่าลูกไก่ตัวใดท�ำลายกระเปาะ ฟองด้วยปลายเล็บเท้าหรือด้วยจงอยปากออกมาได้โดยสวัสดีก่อน ก็เสมือนเป็นพี่ใหญ่ที่สามารถท�ำลายกระเปาะอันเสมือนเป็นอวิชชา ไม่ตกเป็น ทาสของกิเลส จึงตีความจากแรงบันดาลใจนี้ หากฟองไข่นั้นคือฟองซึ่งทั้งมนุษย์ เทวดา มาร ซึ่งยังติดอยู่วัฏสงสารล้วนอยู่อาศัย ก็เหมือนเป็นฟองไข่ อันเน่าเหม็นที่เต็มไปด้วยกิเลส จึงถ่ายทอดให้เห็นพฤติกรรมอันเต็มไปด้วยกิเลสของมวลมนุษย์ภพภูมิต่าง ๆ รวมไปถึงจินตนาการสร้างตัวละครที่มี อัตลักษณ์เฉพาะเสมือนเป็นสัตว์ประหลาดที่เกิดจากฟองไข่อันเน่าเหม็นนี้” ในผลงานชิ้นนี้มีการน�ำเรื่องราวจากพระไตรปิฎกมาตีความใหม่ผ่านการ แสดงออกทางศิลปะรูปแบบจิตรกรรมผสานกับการใช้สื่อใหม่อย่าง vdo art เข้ามาเล่าเรื่องราว ตั้งค�ำถามในประเด็นที่ซุกซ่อนอยู่ในพระไตรปิฎกให้ มีความน่าสนใจไปตามยุคสมัย
รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
4. นายธีรพล สีอิ่น ในผลงานชื่อ “เปลี่ยนผ่าน หมายเลข 1” เทคนิค เชื่อมโลหะประกอบวัสดุ ด้วยแนวความคิดที่ว่า “ได้รับแรงบันดาลใจจาก เหตุการณ์ที่สร้างผลกระทบในเชิงลบต่อสังคม การเปลี่ยนผ่าน สังคม เกษตรกรรมสู่สังคมอุตสาหกรรม จากเดิมที่มนุษย์มีวิถีชีวิตและการด�ำเนิน ชีวติ ทีเ่ รียบง่าย ความเป็นวิถชี วี ติ ท้องถิน่ ค่อย ๆ เปลีย่ นไป สังคมอุตสาหกรรม รวมไปถึงธรรมชาติที่เคยสวยงาม ความเป็นท้องทุ่ง โคกเนิน ป่าเขา นั้นได้ กลายเป็นเพียงแปลงเพาะปลูก ปล่องโรงสีที่เข้ามาเป็นสัญลักษณ์ทางภูมิ ทัศน์แบบใหม่ การท�ำไร่ไถนาทีเ่ คยเห็นเป็นภาพของคนทีเ่ ดินตามสัตว์ตวั ใหญ่ กลับกลายเป็นเครื่องจักรที่วิ่งเล่นอยู่ในท้องทุ่ง จากแรงบันดาลใจข้างต้นผู้ สร้างสรรค์ได้น�ำเรื่องราวเหตุการณ์มาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ ประติมากรรมเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกที่มีต่อเหตุการณ์ดังกล่าว โดย การสร้างสรรค์ผลงานด้วยเทคนิคเชื่อมโลหะประกอบวัสดุล้อรถไถ และรูป ทรงมนุษย์เป็นรูปทรงหลักในการสร้างสรรค์” จากแนวความคิดผนวกกับรูป ลักษณ์ทแี่ สดงออกมานัน้ ท�ำให้เราเข้าใจประเด็นทีต่ อ้ งการจะสือ่ สารได้อย่าง ตรงไปตรงมา การเปลีย่ นผ่านจากสังคมเกษตรกรรมสูส่ งั คมอุตสาหกรรม คือ หัวใจของผลงานชิน้ ดังกล่าว แต่สงิ่ ทีน่ า่ สนใจของผลงานชิน้ นีค้ อื การใช้วสั ดุ ทีม่ กี ารผสานกันอย่างลงตัวระหว่างเหล็กกับยางรถยนต์ (รถไถ) ซึง่ ท�ำให้การ เข้าถึงมโนทัศน์ตอ่ งานชิน้ นีเ้ ป็นไปได้อย่างราบรืน่ แสดงให้เห็นถึงการเปลีย่ น ผ่านของสังคมได้อย่างสมบูรณ์
นายธีรพล สีอิ่น “เปลี่ยนผ่าน หมายเลข 1” เชื่อมโลหะประกอบวัสดุ 120 x 145 x 117 ซม. 7
รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นางสาวปรัชญา เจริญสุข “ขยะ-สังคม” สื่อผสม 26 x 190 x 146 ซม.
5. นางสาวปรัชญา เจริญสุข ในผลงานชื่อ “ขยะ-สังคม” เทคนิค สื่อผสม ด้วยแนวความคิดที่ว่า “เสนอข้อเท็จจริงด้านการเปลี่ยนแปลงมลภาวะขยะ ทางทะเล ผ่านรูปแบบศิลปะการจัดวางวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้แล้วทิ้งไปโดยไร้จิตส�ำนึก มนุษย์ก�ำลังรับผลจากการกระท�ำนั้นร่วมกันโดยต่างก็ รู้ตัว ดังที่ผลงานศิลปะชิ้นนี้น�ำเสนอ” ในเรื่องราวของผลงานชิ้นดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงภัยคุกคามที่มนุษย์มีต่อธรรมชาติ ขยะทางทะเลเป็นสิ่งที่ มนุษย์ผลิตสร้างมาเพื่อท�ำลายตัวเราเอง ผลงานดังกล่าวสามารถสะท้อนเรื่องราวได้อย่างน่าสนใจด้วยการแสดงออกให้เห็นถึงภัยที่อันตรายของขยะ ด้วยการจ�ำลองขยะให้ใหญ่กว่าตัวมนุษย์เปรียบเสมือนภูเขา แผ่นดินที่ก�ำลังกลืนกินโลกใบนี้ของเรา 6. นายภัทร ทองขจร ในผลงานชื่อ “สามัญชีวิต หมายเลข 7” เทคนิค วาดเส้นบนกระดาษ ด้วยแนวความคิดที่ว่า “ผลงานนี้สร้างสรรค์ขึ้นโดยมีที่มา และแรงบันดาลใจมาจากสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ สามัญธรรมดาตามธรรมชาติ คือ แมลง ซึ่งสิ่งมีชีวิตเล็กๆ นี้ได้สะท้อนให้เห็นถึงสัจจะแห่งวัฎจักรของชีวิต ดั่งเช่นชีวิตของแมลงเปรียบประหนึ่งกับชีวิตของมนุษย์โลกธรรมดาทั่วไป โดยได้เลือกใช้กระบวนการสร้างสรรค์เทคนิคของการวาดเส้นบนกระดาษ เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความเรียบง่ายขั้นพื้นฐานในมุมมองของหนึ่งชีวิตเล็ก ๆ ที่ธรรมดาสามัญ แต่สะท้อนสัจจะธรรม และมอบพุทธิปัญญาให้แก่ผู้ ชมได้ตระหนักถึงสามัญแห่งชีวิต” ความธรรมดาสามัญตามธรรมชาติที่มีเกิด มีตาย ล้วนเป็นวัฏจักรของชีวิต แต่สิ่งที่ท�ำให้น่าสนใจคือทักษะฝีมือที่ ปรากฏในผลงานดังกล่าวท�ำให้เราหยุดนิ่งและจดจ่อไปกับแมลงที่ก�ำลังบินหรือร่วงหล่นก็ตามแต่ ซึ่งท�ำให้เราใคร่ครวญไปถึงค�ำว่าสัจจะแห่งชีวิตได้ อย่างดีงาม ความสามัญที่ปรากฏในผลงานนั้นท�ำให้อดนึกไม่ได้ถึงพัฒนาการก้าวต่อไปของผลงานชิ้นดังกล่าวนี้ว่าจะออกมาในทิศทางใดในวันข้าง หน้า ความสามัญจะน�ำพาแมลงเหล่านี้ไปในทิศทางใดนับเป็นเรื่องที่น่าติดตาม 8
รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นายภัทร ทองขจร “สามัญชีวิต หมายเลข 7” วาดเส้นบนกระดาษ, 124 x 174 ซม.
นายภานุวัฒน์ อังคะสี “ไม่ใช่เรื่องใหม่ เป็นปรากฏการณ์ที่เราเคยพบผ่าน” ประติมากรรม, 72 x 177 x 198 ซม.
7. นายภานุวฒ ั น์ อังคะสี ในผลงานชือ่ “ไม่ใช่เรือ่ งใหม่ เป็นปรากฏการณ์ทเี่ ราเคยพบผ่าน” เทคนิค ประติมากรรม ด้วยแนวความคิดทีว่ า่ “ความสนใจ สถานการณ์ทางการเมืองและประวัตศิ าสตร์ทางการเมือง เหตุการณ์อนุสรณ์สถาน ในช่วงอดีตก่อนและหลังการปฏิวตั ิ พ.ศ.2475 เป็นประวัตศิ าสตร์ ที่ควรศึกษาและเรียนรู้ข้อดีข้อเสียพัฒนาการของประชาธิปไตย” ผลงานชิ้นดังกล่าวนั้นได้ว่าเป็นผลงานชิ้นเดียวในพื้นที่เวทีนี้ที่มีการน�ำเสนอว่าด้วย เรื่องการเมืองไทยอย่างชัดเจน ศิลปะในเวทีนี้ได้เริ่มขยับใกล้เข้ามาสู่เรื่องราวทางสังคมการเมืองได้อย่างน่าสนใจ ด้วยรูปลักษณ์การแสดงออกทาง ประติมากรรมที่เล่าเรื่องผ่านรูปทรงที่ศิลปินประดิษฐ์ออกมาเป็นเสื้อทหารยศใหญ่ที่มีเหรียญประดับประดามากมายผลงานมิได้ตัดสินหรือสรุปว่าสิ่ง ไหนดีสงิ่ ไหนไม่ดี หากแต่ในแนวคิดน�ำเสนอถึงการทบทวนสิง่ ทีผ่ า่ นมาว่าดีหรือไม่ ศิลปินได้นำ� เพียงแค่รปู ลักษณ์มาน�ำเสนอกับวัสดุสำ� เร็จรูปและวัตถุ ประดิษฐ์ทสี่ ร้างขึน้ มาอย่างเหล็กดัด เสมือนกับว่าเป็นการปลดปล่อยให้ผชู้ มได้ตคี วามอย่างสนุกสนาน (แต่ในใจศิลปินอาจมีความคิดว่าอย่าสนุกมากไป) 9
รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
8. นางสาวอรุณกมล ทองมอญ ในผลงานชื่อ “ศิลปวัตถุ พ.ศ. 2562” เทคนิค สื่อผสม (การพับกระดาษโอริกามิ วัตถุ และวัสดุ) ด้วยแนวความคิดที่ว่า “วัตถุ สิ่งของที่มนุษย์สร้างขึ้นบ่งบอกการมีตัวตนของยุคสมัย มนุษย์นํามาใช้ในการ ก�ำหนดแต่ละยุคสมัยของประวัติศาสตร์ เกิดการพิสูจน์หลักฐาน คาดการณ์ ความเป็นมาในอดีต เพื่อเชื่อมโยง เติมเต็มเรื่องราวจากสิ่งที่ค้นพบ กายภาพ ของวัตถุ แสดงให้เห็นถึงเวลาในตัวมันเอง ผู้สร้างสรรค์จึงน�ำวัตถุที่หมดอายุ การใช้งาน มา สร้างสรรค์ในภาษาของศิลปะสื่อผสมในบริบทใหม่ จากวัตถุ เดิมที่มีความหมายอย่างหนึ่งไปสู่รูปทรงนามธรรมที่ให้สาระทางวัตถุแตกต่าง ไปจากหน้าทีเ่ ดิม ด้วยสัญชาตญาณการเติมเต็มด้วยจินตนาการจิตใต้สำ� นึกและ ประสบการณ์ การซึมซับวิธีการด�ำรงชีวิต ความเปลี่ยนแปลง และความเป็นไป ของสังคมในช่วงชีวิตจนถึงปัจจุบัน” ในผลงานชิ้นดังกล่าวศิลปินมีความตั้งใจ น�ำเสนอความเป็นนามธรรมของวัตถุผ่านการใช้เทคนิคที่น่าสนใจอย่างการพับ นางสาวอรุณกมล ทองมอญ กระดาษโอริกามิ การเลือกน�ำวัสดุส�ำเร็จรูปมาประสานกับเทคนิคพับกระดาษ “ศิลปวัตถุ พ.ศ. 2562” สื่อผสม (การพับกระดาษโอริกามิ วัตถุ และวัสดุ) นับได้ว่าเป็นการกระท�ำที่ค่อนข้างฉลาดและน่าสนใจ แสดงให้เห็นถึงชั้นบางๆ 70 x 181 x 130 ซม. ของกาลเวลา และวัฒนธรรมที่ก�ำลังแปรเปลี่ยนไปอย่างช้าๆนับเป็นการสร้าง ภาษานามธรมทางศิลปะได้อย่างน่าสนใจ ผลงานทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นทั้งรางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยมเหรียญทองและเกียรตินิยม เหรียญเงินนั้นสังเกตได้ว่า ผลงานมีพัฒนาการที่ก้าวไป ข้างหน้าได้อย่างน่าสนใจ มีการทดลองการแสดงออกในรูปแบบใหม่ แม้บางผลงานจะเป็นเรื่องราวการแสดงออกเดิม หากแต่ยังมีการน�ำเทคนิคสมัย ใหม่เข้ามาเป็นส่วนประกอบผลงาน ส่วนผลงานทีส่ ร้างสรรค์ตามขนบนัน้ ก็นบั ได้วา่ มีคณ ุ ภาพทีน่ า่ ชืน่ ชม มีความงาม ความจริง และแนวคิดทีน่ า่ สนใจ ซุกซ่อนอยู่ และยังอีกทั้งปรากฏผลงานที่มีการกล่าวถึงสังคมการเมือง ถึงแม้ไม่ได้ถ่ายทอดเรื่องราวอะไรต่างๆมากมายแต่ก็เป็นก้าวที่ดีที่พื้นที่นี้ยังมี เสรีภาพในการแสดงออกทางศิลปะ 10
รางวัลสนับสนุน
นางสาวกัณฐณัฏฐ์ ณปฐมปณพัณณ์ “จดหมายจาก 1942 หมายเลข 3” ภาพพิมพ์ดิจิตอล และภาพพิมพ์ตะแกรงไหม 74 x 102 ซม.
นางสาวธนนันท์ ใจสว่าง “ภาพรักประจ�ำบ้าน” วาดเส้น และปักเย็บบนผืนผ้า 140 x 180 ซม.
นอกจากรางวัลที่กล่าวมาแล้ว ยังมีรางวัลสนับสนุนที่เป็นรางวัลส่งเสริมการสร้างสรรค์แก่ศิลปินรุ่นเยาว์อีก 8 รางวัลได้แก่ 1. นางสาวกัณฐณัฏฐ์ ณปฐมปณพัณณ์ ในผลงานชื่อ “จดหมายจาก 1942 หมายเลข 3” เทคนิค ภาพพิมพ์ดิจิตอล และภาพพิมพ์ตะแกรงไหม ด้วย แนวความคิดทีว่ า่ “น�ำเสนอพืน้ ทีจ่ ากฉากในวิดโี อเกมแนวสงคราม และจินตนาการส่วนตัวทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากความรุนแรงในเหตุการณ์สงคราม เพือ่ แสดงให้เห็นปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน้ โดยต้องการน�ำเสนอให้แมลงสาบเป็นสัตว์ทนี่ า่ กลัวและน่ารังเกียจ น�ำรูปทรงมาประกอบกับภาพความรุนแรงของ สงครามที่ถ่ายทอดผ่านวิดีโอเกม เปรียบเสมือนความน่ากลัว รวมกับแมลงสาบกลุ่มหนึ่งที่อยู่รวมกันเป็นจ�ำนวนมากและถ่ายทอดออกมาให้เห็นถึง สภาวะของความรุนแรง” 2. นางสาวธนนันท์ ใจสว่าง ในผลงานชื่อ “ภาพรักประจ�ำบ้าน” เทคนิค วาดเส้น และปักเย็บบนผืนผ้า ด้วยแนวความคิดที่ว่า “ผลงานชิ้นนี้ได้น�ำเอา ประสบการณ์ “บ้าน” สถานที่ที่ซึ่งรายล้อมไปด้วยครอบครัว บรรยากาศอันอบอุ่น สิ่งต่าง ๆ รอบตัวภายในบ้านและสัตว์เลี้ยงมาเป็นแรงบันดาลใจ ในการถ่ายทอดเนื้อหาเรื่องราวที่เกี่ยวกับความสุข ความรักและความผูกพัน โดยใช้รูปทรงสัญลักษณ์แทนความเป็นตัวเองผ่านทางภาพสุนัขตัวโปรด ที่เปรียบเสมือนเพื่อนและผู้เก็บความทรงจ�ำในวัยเด็ก แสดงออกมาในรูปแบบของผลงานจิตรกรรมวัสดุผสม ด้วยเทคนิคการวาดเส้น และปักเย็บลง บนผืนผ้า มีการน�ำผ้าดิบย้อมสีและเสื้อผ้าเก่าในวัยเด็กเข้ามาประกอบ ทั้งรูปทรงและสีสันอันนุ่มนวลของผ้า สามารถน�ำพาให้นึกถึงความอบอุ่นและ ประสบการณ์แห่งความสุขในอดีตได้เป็นอย่างดี”
11
รางวัลสนับสนุน
นายธนากร วงษ์บริสุทธิ์ “พันธนาการภายใต้มายาคติ” ภาพพิมพ์โลหะ, 108 x 148 ซม.
นางสาวนิชกานต์ จุลพงศ์ “บ้านของฉัน โลกจินตนาการของฉัน” ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม, 165 x 124 ซม.
3. นายธนากร วงษ์บริสุทธิ์ ในผลงานชื่อ “พันธนาการภายใต้มายาคติ” เทคนิค ภาพพิมพ์โลหะ ด้วยแนวความคิดที่ว่า “การตั้งค�ำถามต่อสิ่งที่เกิด ขึ้นในปัจจุบัน การที่ทุกคนต้องประสบและใช้ชีวิตอยู่ในกรอบของสังคมอยู่ในที่ที่ก�ำหนดไว้ให้ไม่มีอิสรภาพเป็นของตนเอง การด�ำเนินชีวิตของคนใน ปัจจุบันนั้น มีความเร่งรีบอย่างมาก มีการแก่งแย่งชิงดีซึ่งกันและกัน เช่น การแย่งกันขึ้นรถไฟฟ้าในตอนเช้าของคนที่เร่งรีบเพื่อไปท�ำงานให้ทันเวลา การวิง่ แย่งกันขึน้ รถประจ�ำทางในแต่ละวัน ไม่ได้ทำ� ในสิง่ ทีต่ นเองนัน้ ต้องการทีจ่ ะท�ำหรืออยากทีจ่ ะเป็น สิง่ เหล่านีแ้ สดงถึงการดิน้ รนการถูกพันธนาการ จากทีท่ เี่ ป็นอยู่ โดยมีความเชือ่ ว่าทุกคนมีสงิ่ ทีถ่ กู พันธนาการไม่วา่ เรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ จากมุมมองนีท้ ำ� ให้เกิดความรูส้ กึ ว่าชีวติ ของคนเรานัน้ ต้องแบกรับ ความคาดหวังไว้เสมอไม่ว่าเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งความคาดหวังจากคนรอบข้างนั้นก็คือพันธนาการที่กักขังเราเอาไว้” 4. นางสาวนิชกานต์ จุลพงศ์ ในผลงานชื่อ “บ้านของฉัน โลกจินตนาการของฉัน” เทคนิค ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม ด้วยแนวความคิดที่ว่า “ในการ สร้างสรรค์ผลงานได้เลือกบางส่วนจากความจริงคลุกเคล้ากับจินตนาการของความรูส้ กึ ความสุขบ้าง ความเศร้าบ้าง ทุก ๆ ความทรงจ�ำมีการเสกสรร ปัน้ แต่งใส่จนิ ตนาการลงไป ท�ำให้ความทรงจ�ำยังอยูใ่ นห้วงความรัก ความอบอุน่ จากการใช้ชวี ติ กับครอบครัวอันเป็นทีร่ กั ในอดีตของช่วงเวลาเมือ่ 8 ปี ที่ใช้ชีวิตอยู่กับครอบครัวในบ้านหลังใหม่ที่ตนเองกับครอบครัวมีช่วงเวลาดี ๆ ร่วมกัน” 12
รางวัลสนับสนุน
นางสาวนิตยา เหิรเมฆ “ที่พ�ำนักแห่งจิต” ภาพพิมพ์แกะไม้, 195 x 142 ซม.
นายวิเชียร คงสวัสดิ์ “สัจจะธรรมแห่งชีวิต หมายเลข 4” จิตรกรรมผสม, 110 x 153 ซม.
5. นางสาวนิตยา เหิรเมฆ ในผลงานชื่อ “ที่พ�ำนักแห่งจิต” เทคนิค ภาพพิมพ์แกะไม้ ด้วยแนวความคิดที่ว่า “จินตนาการภาพลวงหรือภาพสมมติ แห่งผืนป่า ผืนน�้ำ และสภาวะแวดล้อมที่อุดมไปด้วยพืชพันธุ์ต่าง ๆ โดยนัยนี้ย่อมเป็นวิถีแห่งจิตที่รับรู้ส่งผลให้สิ่งที่ห่อหุ้มจิต คือ กาย ได้สุขสงบผ่อน คลายความเหนื่อยล้าที่เกิดจากปัจจัยรอบด้านในแต่ละวัน การสร้างสรรค์ผลงานที่อาศัยใช้กายภาพของผืนป่า พืชพันธุ์ไม้ต่าง ๆ อันเป็นสิ่งแวดล้อม ที่คนกรุงน้อยคนจะได้สัมผัส เป็นเรื่องราวเนื้อหาแห่งจินตภาพถึงสถานที่ที่เฝ้าถวิลหา ด้วยเจตนาสร้างสรรค์ผลงานให้สื่อถึงประเด็นสาระแห่งความ หมายทางนามธรรม ความรู้สึกสุขสมแห่งดุลยภาพแห่งจิต โดยน�ำรูปแบบของธรรมชาติมาปรับบริบทใหม่ให้ความรู้สึกถึงโครงสร้างสถาปัตยกรรมที่ เชื่อมโยงกับความเชื่อ ความศรัทธาในประเด็นเรื่อง “ธรรมะธรรมชาติ” หรือสร้างเอกภาพสุนทรียภาพแห่งดุลยภาพพื้นที่ทางจิตอันประกอบด้วย “สัจจะสุนทรียภาพและธรรมะ” ผ่านกระบวนการภาพพิมพ์แกะไม้” 6. นายวิเชียร คงสวัสดิ์ ในผลงานชื่อ “สัจจะธรรมแห่งชีวิต หมายเลข 4” เทคนิค จิตรกรรมผสม ด้วยแนวความคิดที่ว่า “คุณค่าของค�ำว่ามนุษย์นั้น ไม่ได้ขึ้นอยู่กับปริมาณเงินตรา ฐานะ หรือชนชั้นที่แตกต่างทางสังคม เพราะทุกสิ่งนั้นเป็นเพียงมายาคติที่ไม่จีรังยั่งยืน เป็นเพียงความเชื่อที่ถูกสร้าง ขึ้นเพื่อก�ำหนดความน่าจะเป็นของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง น�ำไปสู่สัจจะธรรมหรือความเป็นจริงของชีวิตที่ถูกมองข้าม แม้ว่าภายนอกของแต่ละบุคคลหรือวัตถุ สิ่งของมีความแตกต่างกันออกไปตามรูปแบบต่าง ๆ ในด้านค่านิยม ความชอบ วัฒนธรรม แต่สุดท้ายทุกสิ่งก็ต้องด�ำรงและมีอยู่ภายใต้กฎของเวลา ต้องเสื่อมสลายไปตามกาลเวลาซึ่งยืนยันถึงช่วงเวลาที่เดินไปข้างหน้าโดยไม่มีวันย้อนกลับ”
13
รางวัลสนับสนุน
7. นางสาวสุวิมล สุขส�ำราญ ในผลงานชื่อ “อยากขี่เสือเหยื่อต้องเด็ด” เทคนิค ภาพพิมพ์แกะไม้ ด้วยแนวความคิดทีว่ า่ “วัฒนธรรมความเชือ่ เรือ่ งเพศ เป็นเครือ่ ง มือทีส่ ำ� คัญในการควบคุมภาวะทางเพศของคนในสังคม และเป็นแนวทางในการ แสดงออกของพฤติกรรมทางเพศ เช่น ความเชื่อว่าผู้ชายเป็นเพศที่เหนือกว่าผู้ หญิง ผู้หญิงเป็นเพศที่อ่อนแอกว่า ซึ่งจากประสบการณ์และการใช้ชีวิตประจ�ำ วัน เรื่องเพศมักเกิดจากทัศนคติมุมมองของเพศชาย จึงต้องการแสดงทัศนคติ ด้วยการที่เพศหญิงต้องทัดเทียมและเหนือกว่าเพศชาย” นางสาวสุวิมล สุขส�ำราญ “อยากขี่เสือเหยื่อต้องเด็ด” ภาพพิมพ์แกะไม้, 137 x 94 ซม.
นายอภิรัฐ ฤกษ์ดี “The Truth, Dimension and the truth? No. 6” Screenprint, 91 x 121.5 ซม. 14
8. นาย อภิรัฐ ฤกษ์ดี ในผลงานชื่อ “The Truth, Dimension and the truth? No. 6” เทคนิค Screenprint ด้วยแนวความคิดที่ว่า “ในสังคมปัจจุบัน การ กระท�ำ และค�ำพูดของคนรอบตัว รวมไปถึงสือ่ รูปแบบต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทใน การด�ำรงชีวิตประจ�ำวันมากขึ้น สื่อเหล่านี้สามารถถูกบิดเบือนและเปลี่ยนแปลง ได้ตลอดเวลา โดยที่ขาดการตรวจสอบอย่างถูกต้องว่าสิ่งเหล่านั้นถูกต้องหรือไม่ เราเสพติดการรับรู้อย่างฉาบฉวย มัวเมากับความสนุกสนาน และส่งผ่านเรื่อง ราวนั้นออกไป แม้จะเป็นการรับรู้เพียงมุมมองใดมุมมองหนึ่งเท่านั้น จึงต้องการ แสดงออกถึงความตระหนักต่อการรับรู้ที่ไม่เพียงพอต่อการตัดสิน โดยใช้วัตถุ สะท้อนให้เห็นความจริงกับความลวงเพื่อต้องการให้ผู้ชมเกิดการตั้งค�ำถามกับ ความจริงในการมองเห็น ที่ไม่สามารถรับรู้ได้จากการมองเพียงมุมมองเดียว แต่ ภาพสะท้อนที่ปรากฏนั้น เป็นเพียงแค่ภาพที่แทนความจริงเท่านั้น ไม่ใช่ความ จริงที่สามารถจับต้องได้ เหมือนกับความจริงที่อยู่ตรงหน้า” กฤษฎา ดุษฎีวนิช
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ เป็นเวทีการประกวดศิลปกรรมที่จัดโดยมหาวิทยาลัย ศิลปากร เพื่อสนับสนุนการสร้างสรรค์ของศิลปินในระดับเยาวชนอายุระหว่าง 16-25 ปี จัดขึ้นครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2527 และต่อเนื่องเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นผู้ดูแลจัดการ ประกวดและจัดแสดง และร่วมมือกับสถาบันการศึกษาหลักในทุกภูมภิ าค ในแต่ละปีคณะกรรมการอ�ำนวยการฯ ทีป่ ระกอบด้วยผูแ้ ทนจากสถาบันการศึกษาด้านศิลปะต่างๆ จะดําเนินการคัดเลือกผูท้ รงคุณวุฒดิ า้ นศิลปะ เพื่อทําหน้าที่เป็นคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน และเปิดรับผลงานศิลปกรรมที่ไม่จ�ำกัดประเภทและ แนวคิดเข้าประกวด โดยคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินจะพิจารณาผลงานให้ได้รับรางวัลเกียรตินิยม ยอดเยีย่ ม เหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” 1 รางวัล รางวัลเกียรตินยิ ม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” 9 รางวัล และรางวัลสนับสนุนจากหน่วยงานเอกชน รวมถึงคัดเลือกผลงานส่วนหนึง่ เข้าร่วมแสดง เมือ่ สิน้ สุดการจัด แสดงในส่วนกลาง ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐมแล้ว ทางหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรจึงน�ำผลงานไป จัดแสดงสัญจรยังสถาบันต่างๆ ในส่วนภูมิภาค
15
ทรรศนะจากคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน “ผลงานรางวัลแต่ละชิ้นก็มีความโดดเด่นเป็นพิเศษ และมีรูปแบบแนวทางการแสดงที่แม้จะต่างกันแต่มีความโดดเด่นของแต่ละชิ้น อย่างชิ้น “ความ งามของความตาย” จะเป็นชิ้นที่แสดงถึงสุนทรียะภาพ และโดดเด่นในเรื่องการใช้วัสดุที่เอามาประกอบกันโดยมีการท�ำเทคนิคด้วยงานกระดาษเป็น หลัก และใช้วัสดุต่าง ๆ จากธรรมชาติที่อาจจะมีอายุของการเสื่อมสลายเข้ามาประกอบโดยรูปที่น�ำมาเสนอก็คือกระดูกในแต่ละส่วนของร่างกาย มนุษย์ อีกชิ้นหนึ่ง “Dictionary of Life” ก็มีความโดดเด่นในเรื่องความคิด และการน�ำเสนอที่เป็นเชิงความคิด เรื่องรูปแบบที่พูดถึงในเรื่องศิลปะ แนว conceptual art รวมถึงการท�ำเล่มซึ่งเห็นความละเมียดละไม พิถีพิถัน มีความโดดเด่นคนละแบบ ก็ยินดีที่คณะกรรมการได้มีการอภิปรายและ เห็นพ้องไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีเอกภาพ” ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ปริญญา ตันติสุข (ประธานคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน) ....................................................................................................................................................................................................................................... “เหรียญทอง เหรียญเงิน ที่หนึ่ง ที่สอง หรือการได้เหรียญเท่ากันหมด เป็นเรื่องชั่วคราวเท่านั้นเอง เป็นการให้สัญญาณว่างานคุณดีแล้ว แต่ว่าใน อนาคตทุกคนจะต้องท�ำงานต่อเนื่องและต่อไปเรื่อย ๆ หากคุณจะได้ที่หนึ่ง คุณจะต้องไม่หยุด แต่ถ้าคุณหยุดคุณก็ล้มเหลว อันนี้คือประเด็นและ ศิลปะก็เป็นแบบนี้” ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พงศ์เดช ไชยคุตร ....................................................................................................................................................................................................................................... 16
“เราเห็นแล้วว่าสองเหรียญทองนี้ ด้านหนึ่งคือเรื่อง สกิล ความแข็งแรง ทักษะหรือความงาม มันมีสูงมาก กับอีกอันหนึ่งเป็นเรื่องของความคิด conceptual แนวคิดซึ่งเป็นแนวทางของการท�ำงานศิลปะ ซึ่งต่างกันอย่างมาก ถ้าการให้น�้ำหนักหรือคุณค่าเท่ากัน แปลว่าเวทีศิลปกรรมรุ่นเยาว์ ให้ความส�ำคัญทัง้ แนวคิดและความเป็นฝีมอื เพราะฉะนัน้ การทีจ่ ะได้รางวัลทัง้ สองเหรียญทอง ก็คอื เราอยากให้เกิดมาตรฐานทีเ่ กิดความหลากหลาย ในคุณภาพของงานศิลปะไปสู่เด็ก ๆ รุ่นใหม่” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิกร คงคา ....................................................................................................................................................................................................................................... “คุณภาพของผลงานในภาพรวมเป็นทีน่ า่ พอใจแล้ว มันมีอะไรทีแ่ ปลกใหม่ น่าตืน่ เต้นส�ำหรับการทดลองความเป็นเยาวชน ผมว่าเยาวชนเป็นช่วงเวลา ของการค้นหาลองผิดลองถูก คือถ้ามันมีอะไรแบบนี้ออกมาเราจะได้เห็นของใหม่ ๆ ก็ไม่อยากให้เด็ก ๆ มองข้ามเวทีงานประกวด ถ้าหากผลงานของ ตัวเองดี และเหมาะกับเวทีไหน พื้นที่ไหนก็ลองเข้าไปเล่นดู ก็เป็นโอกาสให้กับตัวเองด้วย และพอมีแรงกระตุ้นเกิดขึ้นในรุ่น มันมีการส่งงานประกวด แล้วเห็นเพื่อนได้รางวัล มันมีเรื่องของกลไกของการแข่งขันเกิดขึ้น มันจะท�ำให้บรรยากาศในการเรียนมันยิ่งสนุก ยิ่งตื่นเต้นมากขึ้น” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อนุพงษ์ จันทร ....................................................................................................................................................................................................................................... “สิ่งที่น่าสนใจคือปีนี้ที่มันมีสุนทรียะ งานเหรียญทองสองรางวัลนี้ก็มีกายภาพเหมือนกัน เพียงแต่ว่ามันอาจจะเป็นกายภาพที่ไม่ใช่ประเพณีนิยม ถ้า เราเปิดโอกาสว่าเวทีนี้เปิดให้งานหลาย ๆ แบบเข้ามาได้ มันก็ท�ำให้เห็นว่า หนึ่ง มันเริ่มเปิดกว้างขึ้น แล้วนักศึกษาก็อาจจะได้สร้างสรรค์งานอื่น ๆ ที่ ไม่ต้องติดกรอบว่า ถ้ามางานประกวดมันจะต้องเป็นแบบนี้เท่านั้น” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร ....................................................................................................................................................................................................................................... 17
“ทุก ๆ ท่านก็เห็นพ้องกันว่ากลุ่มศิลปินเยาวชนต่าง ๆ ที่ส่งเข้ามาเป็นนักคิดและต่างฝ่ายต่างมีข้อดีของตัวเอง พอถึงขั้นที่จะต้องมาเลือกคะแนนหรือ ว่าโหวตกันถึงสูงสุด ก็ปรากฏว่าถึงแม้จะมีคะแนนต่างกันเล็กน้อย แต่ก็มีความเห็นว่างานศิลปะที่ฝ่ายหนึ่งมีความสมบูรณ์แบบทั้งด้านฝีมือและทาง ด้านความคิด อีกฝ่ายหนึ่งก็มีวิธีคิดที่ก้าวหน้ามาก อาจจะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีส�ำหรับคนรุ่นใหม่ ๆ ที่หลังจากนี้ ถ้าเกิดว่าเป็นคนที่จะส่งเข้ามาประกวด ในระดับเยาวชนจะได้รู้ว่า เวทีของเราเปิดกว้างพอที่จะรับงานหลาย ๆ รูปแบบ ก็เปิดโอกาสให้ประกาศชื่อผู้ที่ได้รับรางวัลสูงสุดเป็นสองท่านดีกว่า เพื่อให้ในแง่ของด้านการศึกษาศิลปะในปีต่อ ๆ ไปและพัฒนารูปแบบต่าง ๆ ให้คนรุ่นใหม่ ๆ ได้รู้สึกว่า นอกจากเราจะเปิดกว้างแล้ว เรายอมรับทุก ๆ อย่างในแง่ของความเป็นมนุษย์และในเชิงของวัฒนธรรม” อาจารย์ สาครินทร์ เครืออ่อน ....................................................................................................................................................................................................................................... “ในครัง้ หน้าเด็กคนอืน่ ๆ ก็อาจจะต้องมีพฒ ั นาการแล้ว เขาจะเห็นว่าปีนรี้ างวัลทีห่ นึง่ มันเป็นแบบนีน้ ะ แล้วงานของเขาอยูต่ รงนี้ จะได้มแี รงท�ำต่อ อาจ จะเปลี่ยนแปลงได้ หรืออาจจะเลิกเลยก็ได้ บางทีก็แห่กันไปท�ำทางเดียวกันหมด ต้องมีความหลากหลาย ศิลปะมันก็ต้องมีหลายประเภท หลายเวที” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมหมาย มาอ่อน ....................................................................................................................................................................................................................................... “งานทั้งคู่มีคุณภาพในสองลักษณะ ในขณะที่งานชิ้นหนึ่ง เป็นงานที่มีเสน่ห์ มีความงามสมบูรณ์แบบ และมีสุนทรียะเต็มไปหมด ในขณะที่อีกชิ้นหนึ่ง ถ้ามองเฉย ๆ งานมันจะยังไม่ค่อยเห็น แต่ว่าวิธีคิดมันน่าสนใจ แล้วพอมันน่าสนใจก็ต้องเข้าไปดูใกล้ๆ คือมันไม่ได้เชิญชวนในการดูครั้งแรกแต่มันมี การพลิก อย่างบางคนแค่แนวความคิดก็เอาอยู่ แต่อีกชิ้นหนึ่งเมื่อพิจารณารายละเอียดของมัน มันก็งามด้วย และความที่ดูเหมือนดูง่าย เหมือนดูไม่ ได้ท�ำยาก แต่ตรงนั้นมัน ไม่ใช่เรื่องส�ำคัญแล้ว มันกลายเป็นวิธีคิดของเขากับผลที่ออกมามันน่าสนใจ”
18
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ รสลิน กาสต์ .......................................................................................................................................................................................................................................
“ผลงานในปีนี้ค่อนข้างที่จะเยอะพอสมควร 400 กว่าชิ้น และยังเป็นปีพิเศษที่เราได้ตัดสินให้มีเหรียญทองสองเหรียญ ซึ่งสองชิ้นงานนี้ที่ได้เหรียญ ทองนี้มีความแตกต่างในเชิงของการน�ำเสนอ คนหนึ่งใช้ทักษะ เน้นเรื่องของสุนทรียะในการน�ำ อีกคนหนึ่งใช้ความคิดในการน�ำ ซึ่งเป็นผลงานที่น่า สนใจทั้งสองชิ้น ผมคิดว่าเป็นการดีที่ผลงานทั้งสองชิ้นนี้ได้รับรางวัลและอาจจะเป็นแนวทางในการท�ำงานของคนรุ่นใหม่ได้ มีลักษณะที่มีความแตก ต่างแต่ว่าเป้าหมายในความสมบูรณ์ของงานศิลปะค่อนข้างที่จะดีเยี่ยม” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะ ....................................................................................................................................................................................................................................... “ผลงานทั้งสองชิ้นนี้ถือได้ว่าเป็นผลงานที่มีคุณภาพทัดเทียมกัน ทั้งในแง่ความคิด การแสดงออก ความงาม ซึ่งแม้จะแสดงออกแตกต่างกันแต่มีความ สมบูรณ์ทั้งคู่ และสมควรอย่างยิ่งที่จะให้ได้รางวัลสูงสุดเท่าเทียมกัน สิ่งที่น่าสนใจคือ ผลงานทั้งสองชิ้นนี้แสดงออกถึงกระบวนการคิดและสร้างสรรค์ ที่ฉีกขนบการสร้างสรรค์แบบเดิมๆ ในเวทีศิลปินรุ่นเยาว์ ซึ่งจะสามารถสร้างมาตรฐานการสร้างสรรค์ในรูปแบบใหม่ๆให้เกิดขึ้นในเวทีการประกวด ศิลปกรรมระดับเยาวชน” อาจารย์ ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ (ผู้อ�ำนวยการหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร) .......................................................................................................................................................................................................................................
19
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 The 36th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists เจ้าของและผู้จัดพิมพ์ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 02 221 3841 Website : www.art-centre.su.ac.th Email : su.artcentre@gmail.com
พิมพ์ครั้งแรก กันยายน 2562 จ�ำนวนที่พิมพ์ 5,000 เล่ม พิมพ์ท ี่ โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ 45/14 หมู่4 ถนนบางกรวย - จงถนอม ต�ำบลบางขนุน อ�ำเภอบางกรวย นนทบุรี 11130
ขอขอบคุณ คุณดิสพล จันศิริ
20