บทความตีพิมพ์ในสูจิบัตรการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 53 อันเนื่องมาจาก “MIXED MEDIA” * โดย สมพร รอดบุญ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปัจจุบันนี้ คาว่า “MIXED MEDIA” หรือสื่อประสม ได้นามาใช้กันอย่างกว้างขวางในวงการศิลปร่วม สมัยของไทย ความจาเป็นในการทาความเข้าใจกับความหมายของศิลปะในแนวนี้ จึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง
“สีสันแห่งความรัก” ประติมากรรมสื่อประสม ของ อาร์มัน ทาขึ้นในปี ค.ศ. 1966 ผลงานอินสตอลเลชั่นสื่อประสม ของ โรเชนบัค ทาขึ้นในปี ค.ศ. 1982
ในพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ได้ให้คาจากัดความของคาว่า ”MEDIA” ในแง่ของศิลปะซึ่งสามารถจาแนก ได้เป็น สองความหมาย คือ วัสดุที่ใช้เป็ นสื่ อในการแสดงออกในงานศิล ปะ และกรรมวิธีหรือวิธีการในการ สร้างสรรค์ศิลปะ1 ดังนั้น ความหมายของคาว่า “MIXED MEDIA” ในงานศิลปะนั้น คือ การใช้วัสดุหลากชนิด ผสมกัน หรือการใช้กรรมวิธีหรือวิธีการในการสร้างสรรค์ในลักษณะผสม เช่น กรรมวิธีของจิตรกรรมผสมผสาน กับกรรมวิธีทางประติมากรรม เป็นต้น อันที่จริงแล้ว หากเราได้ศึกษาวิวัฒนาการของความคิด รูปแบบ และเทคนิควิธีการต่างๆ ในงานศิลปะ นับตั้งแต่อดีตจนปัจจุบันจะพบว่า “MIXED MEDIA” มิใช่เป็นของใหม่แต่ประการใด การใช้ “MIXED MEDIA” ในงานศิลปะนั้นมีมาช้านานแล้ว เพียงแต่ว่าผู้ผลิตผลงานหรือศิลปินในอดีตมิได้นาคานี้มาใช้อย่างเป็น