1
2
โครงการศิลปะสู่ชุมชนครั้งที่ 9 ปี 2557 สี สรรค์ ชุมชน โครงการศิลปะสู่ชุมชน เป็นโครงการบริการวิชาการที่หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ ด�ำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี โดยโครงการนี้มุ่งเน้นการเผยแพร่ความรู้เรื่อง ศิลปะร่วมสมัยสู่ชุมชนในรูปแบบกิจกรรมที่แตกต่างกันไป โดยในครั้งนี้ ทางทีมงานหอศิลป์ ได้เดินทางไปยังชุมชนย้อมสีธรรมชาติ บ้านคีรวี ง อ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึง่ เป็นชุมชนทีพ่ งึ่ พาตนเองโดยน�ำเอาภูมปิ ญ ั ญาทีม่ าจากธรรมชาติรอบตัวมาสรรค์สร้างเป็น งานศิลปะประจ�ำชุมชน หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้นำ� ศิลปิน อาจารย์ และนักศึกษาศิลปะ ไปแลกเปลี่ยน เรียนรู้ภูมิปัญญาการน�ำสีจากธรรมชาติมาใช้ย้อมและเขียนลายผ้า โดยร่วมสร้างสรรค์ ผลงานการเขียนลายผ้าบาติกร่วมสมัยร่วมกับเยาวชนในชุมชน นอกจากนัน้ ศิลปินยังทดลอง น�ำสีย้อมธรรมชาติมาสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมส่วนตัว ผลงานศิลปะที่แสดงออกถึง ภูมปิ ญ ั ญาอันมีคา่ นี้ ได้น�ำมาจัดแสดงเพือ่ เผยแพร่ให้ผชู้ มทัว่ ไปชม ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัย ศิลปากร กรุงเทพฯ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาศิลปะทดลองใช้สีที่ได้จากธรรมชาติ เหล่านั้นเป็นสื่อในงานจิตรกรรมอีกด้วย หนังสือเล่มนี้จึงเป็นเสมือนบทบันทึกภูมิปัญญาอันมีค่า ซึ่งหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร มีเจตนารมณ์ในการเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อชุมชนและสาธารณะต่อไป สุดท้ายนี้ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรขอขอบคุณ พี่อารีย์ ขุนทน และน้องๆจาก กลุ่มย้อมสีธรรมชาติ บ้านคีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช ศิลปินและทีมงานทุกคนที่ทำ� ให้ การด�ำเนินงานเสร็จสิ้นลงเป็นอย่างดี และที่ส�ำคัญที่สุด หมู่บ้านคีรีวง สวรรค์ในแดนใต้ที่เปี่ยมไปด้วยมิตรภาพต่อผู้มาเยือน และ ท�ำให้ทุกๆนาทีที่อยู่ที่นี่มีแต่ความอบอุ่นและความสุข หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร
3
4
คีรีวง
5
หมู่บ้านคีรีวง ต�ำบล ก�ำโลน อ�ำเภอ ลานสกา จังหวัด นครศรีธรรมราช 80230
6
คีรีวง เป็นชุมชนแห่งหนึง่ ตัง้ อยูเ่ ชิงภูเขาหลวง อ�ำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช มีผอู้ ยูอ่ าศัยราวๆ 600 หลังคาเรือน ได้ชอื่ ว่าเป็นชุมชนทีส่ มาชิกมีความสมัครสมานสามัคคี ช่วยเหลือพึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกัน ท�ำให้ชมุ ชนเข้มแข็ง สามารถรอดพ้นวิกฤตกาลต่างๆทีเ่ คย เกิดขึ้น และการด�ำรงอยูไ่ ด้นี้เองจึงเป็นความส�ำเร็จของหมู่บ้านคีรีวงที่แสดงให้เห็นว่ามรดก ของชุมชนเป็นสิ่งมีค่ามหาศาล อุทกภัยครั้งยิ่งใหญ่และร้ายแรงที่สุดครั้งหนึ่งทางภาคใต้ของไทยในปลายปี พ.ศ. 2531 ท�ำให้ชื่อ “คีรีวง” เป็นที่คุ้นหู ตอนดึกค่อนรุ่งของวันที่ 21 พฤศจิกายนในปีนั้น มีเสียงดังสนั่นที่มาพร้อมกับน�้ำป่าไหลเข้าถล่มชุมชนคีรีวง บ้านเรือนถูกพัดพาหายไปกับ สายน�ำ้ บริเวณนั้นปัจจุบันกลายเป็นคลองท่าดีที่เรียงรายไปด้วยหินน้อยใหญ่ราวกับ เป็นงานประติมากรรมจากธรรมชาติ ที่ไหลลงมาจากภูเขาสูง หลอมรวมเป็นคลองหลาย สาย เช่น คลองท่าชาย คลองใหญ่ ล�ำงา ปลายปง เกิดเป็นสายน�ำ้ อันอุดมสมบูรณ์ ชุ่มฉ�ำ่ ไม่วา่ ใครก็ตามทีม่ าถึงคีรวี ง เป็นต้องหยุดมองคลองสายกว้างทีไ่ หลแทรกผ่านกลางหมูบ่ า้ น ทั้งผู้ใหญ่และเด็กพากันเล่นน�้ำ เจ้าของพาวัวลงอาบน�ำ้ ไล่หลังไปจนสุดสายตาคือทิวทัศน์ สีเขียวเข้มของผืนป่าและขุนเขาอันเป็นบ้านที่แท้จริงของชาวคีรีวง เมื่อผู้น�ำหมู่บ้านกับองค์กรพัฒนาภายนอก จัดสัมมนาขึ้นในหมู่บ้านในหัวข้อ “ฟื้นฟูชุมชนชีวิตและอาชีพหมู่บ้านคีรีวง” เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2532 มีนักพัฒนาชุมชน นักวิชาการ เข้าร่วมสัมมนากว่า 200 คน นับเป็นการสัมมนาทางวิชาการระดับหมู่บ้าน ครั้งแรก และได้เป็นต้นแบบการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา ซึ่งชาวบ้านมีส่วนร่วมและมีภารกิจ อย่างต่อเนื่อง ความน่าสนใจของหมู่บ้านคีรีวงไม่ใช่อยู่ที่การเป็นต้นแบบ แต่หมู่บ้านคีรีวง ได้แสดงให้เห็นศักยภาพของชุมชนแห่งหนึง่ ในประเทศไทยทีส่ ามารถลุกขึน้ มายืนหยัดได้อกี ครัง้ ท่ามกลางกระแสความอ่อนแอล้มละลายของหมู่บ้านอื่นๆเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจรูปแบบ การต่อสูอ้ ย่างเข้มแข็งเพือ่ เอาชนะความโชคร้าย ภัยพิบตั ิ และความยากจน การรูจ้ กั ประยุกต์ ทฤษฎีทางสังคมทีเ่ รียนรูจ้ ากภายนอกได้อย่างชาญฉลาด จนสามารถลุกขึน้ ยืนเข้าสูท่ ศวรรษ ใหม่ได้ด้วยตนเอง
7
8
กลุ่มมัดย้อมสีธรรมชาติบ้านคีรีวง กลุม่ มัดย้อมสีธรรมชาติบา้ นคีรวี งได้กอ่ ตัง้ มานานราว 18 ปี ริเริม่ โดยคุณอารีย์ ขุนทน หรือ พีอ่ ารียซ์ งึ่ เป็นคนท้องถิน่ บ้านคีรวี ง แต่เดิมอาชีพของคนในพืน้ ทีเ่ กือบทัง้ หมด คือ การท�ำเกษตรกรรมแบบ “สวนสมรม” (การเกษตรแบบผสมผสานและไม่มแี บบแผนชัดเจน) และเนือ่ งจากพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ของหมูบ่ า้ นคีรวี งตัง้ อยูใ่ นจุดอ่อนด้อยต่อการป้องกันตัวเอง จากภัยพิบัติทางธรรมชาติ ครั้งเมื่อเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ได้สร้างความเสียหายให้ผลผลิต เป็นอย่างมาก รายได้ทเี่ คยมีลดลงมากจนน่าใจหาย และส่งผลต่อการด�ำรงชีวติ ท�ำให้จำ� เป็น ต้องหาอาชีพเสริมเพื่อสร้างรายได้ทดแทน ตามประวัตศิ าสตร์ของชุมชนคีรวี ง ชาวบ้านในหมูบ่ า้ นคีรวี งยุคสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เคยมีการท�ำอาชีพย้อมผ้า แต่เนื่องจากภาวะแห่งความล�ำบากนั้นท�ำให้ผ้าหายาก จึงต้อง ผลิตและย้อมไว้เพือ่ ใช้สอยภายใน เมือ่ สงครามสิน้ สุดลง การย้อมผ้านีก้ ไ็ ด้หยุดไปเนือ่ งจาก ปัจจัยหลายๆอย่างรวมถึงภาวะเศรษฐกิจที่ตกต�่ำ อาชีพของชาวคีรวี งในประวัตศิ าสตร์ทนี่ า่ สนใจนี้ เป็นแรงบันดาลใจให้พอี่ ารียเ์ ริม่ ต้นคิดค้นทดลอง โดยมองสิง่ ต่างๆรอบตัว และเห็นวัสดุธรรมชาติทมี่ อี ยูใ่ นท้องถิน่ แนวคิด ในการผลิตสีจากวัสดุธรรมชาติจึงได้เกิดขึ้น หลังจากได้แนวคิดแล้วพี่อารีย์เริ่มน�ำพืชพันธ์ ในท้องถิ่นมาทดลองสกัดสีด้วยความร้อน (ต้ม) และทดลองย้อมกับผ้าชนิดต่างๆ จนท้าย ทีส่ ดุ ก็ได้คน้ พบสียอ้ มธรรมชาติจากพืชในท้องถิน่ เมือ่ สามารถคิดค้นสีได้แล้ว ก็ได้พยายาม ต่อยอดผลผลิต และได้เริม่ กรรมวิธมี ดั ย้อมขึน้ แต่มโี จทย์วา่ ต้องท�ำให้แตกต่างจากผ้ามัดย้อม ของแหล่งผลิตอื่นๆ จนที่สุดได้ผ้ามัดย้อมที่ใช้ไม้ไผ่ซีกเล็กเป็นตัวก�ำหนดลาย ซึ่งสามารถ สร้างสรรค์ลายได้หลากหลายตามความต้องการ ต่อมาได้มีการจัดตั้ง “กลุ่มย้อมสีธรรมชาติบ้านคีรีวง” โดยสมาชิกในกลุ่มเป็น สตรีทงั้ หมด เพือ่ ส่งเสริมการพัฒนาสตรีให้มโี อกาสในการหารายได้ นอกจากจะได้เรียนรู้ ในการแก้ไขปัญหาของครอบครัวและชุมชนแล้ว ยังเป็นการรื้อฟื้นการย้อมสีธรรมชาติของ หมู่บ้านคีรีวงอีกด้วย กลุ่มมัดย้อมก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ.2539 มีสมาชิก ก่อตัง้ ทัง้ หมด 10 คน ซึง่ ได้รบั ทุนสนับสนุน จากโครงการพัฒนาอาชีพเสริมเพือ่ การอนุรกั ษ์ ธรรมชาติ (พ.อ.อ.) อันเป็นโครงการหนึ่งในมูลนิธิโกมล คีมทอง ได้ให้เงินทุนสนับสนุน จ�ำนวน 25,000 บาท โดยกลุม่ ไม่มนี โบบายการระดมหุน้ เพือ่ การลงทุนจึงไม่มกี ารปันผลก�ำไร ให้กบั สมาชิก และใช้เงินทุนทีไ่ ด้จากมูลนิธเิ ป็นทุนหมุนเวียนการผลิตมาถึงปัจจุบนั นี้
9
เมื่อการผลิตผ้ามัดย้อมด�ำเนินไปด้วยดี 4 ปีต่อมา จึงได้มีการเสนอความคิด เห็นที่จะลองน�ำสีธรรมชาติมาสร้างผลิตภัณฑ์ผ้าอย่างอื่น การท�ำผ้าบาติกด้วยสีธรรมชาติ จึงถูกพัฒนาขึ้น เนื่องจากกระบวนการท�ำผ้าบาติกนั้นสามารถท�ำได้จริงเนื่องจากมีวัตถุดิบ ในท้องถิ่น และไม่เกินก�ำลังของสมาชิกในกลุ่ม ผ้าบาติกที่มีในท้องตลาดส่วนใหญ่ผลิตโดย ใช้สีเคมี แต่กลุ่มมัดย้อมบ้านคีรีวงมีสีธรรมชาติที่เป็นวัตถุดิบส�ำคัญอยู่ จึงได้มีการทดลอง และเรียนรู้การท�ำผ้าบาติกสีธรรมชาติโดยใช้เวลาทั้งหมด 3 ปี การท�ำผ้าบาติกสีธรรมชาติจงึ ได้มขี นึ้ เป็นครัง้ แรกทีห่ มูบ่ า้ นคีรวี งแห่งนี้ นอกจาก สีธรรมชาติแล้ว กลุ่มย้อมสีธรรมชาติบ้านคีรีวงยังได้คิดค้นลวดลายผ้าอันเป็นเอกลักษณ์ อีกด้วย ในการเขียนลายนั้นเป็นการเขียนลายสด ไม่มีการร่างภาพก่อน ผ้าบาติกคีรีวง ไม่ได้เขียนลายทะเล หรือลายอันดามันแบบผ้าติกทั่วไป แต่เขียนลวดลายธรรมชาติ ต้นไม้ ใบหญ้าที่มีอยูใ่ นท้องถิ่น เช่น ลายใบพัดเหลืองสิงโต บัวแฉก เฟิร์นยักษ์ ฯลฯ เพื่อสร้าง อัตลักษณ์ให้กับผ้าบาติกคีรีวง ในด้านการจัดการรายได้ สมาชิกกลุม่ ย้อมสีธรรมชาติจะมีรายได้มาจาก การมัดย้อม และการเขียนลายผ้า ให้ค่าแรงเป็นเมตร ใน 1 วันสมาชิกแต่ละคนสามารถผลิตผ้าได้ถึง 5-6 ผืน ( 1 ผืนยาว 2 เมตร ) โดยพีอ่ ารีย์ ผูน้ ำ� กลุม่ จะมีรายได้ 4% จากยอดขายทัง้ หมด
10
ส่วนพนักงานขายมีรายได้ 5,000 บาทต่อเดือน มีเบี้ยเลี้ยงประชุม 200-300 บาทต่อครั้ง หากมีการน�ำสินค้าออกขายทีง่ านต่างๆนอกหมูบ่ า้ น พนักงานขายจะได้รบั 300 บาทต่อวัน และ ในทุนหมุนเวียน 100% นั้น มีการจัดการสัดส่วนส�ำหรับการผลิตและสิทธิประโยชน์แก่สมาชิก (เมื่อหักต้นทุนออกแล้ว) ดังนี้ 10% คืนกลับสู่ชุมชนเพื่อการปรับปรุงคุณภาพชีวิตโดยรวม 20% สวัสดิการส�ำหรับสมาชิกในกลุ่ม เช่น การเจ็บป่วย, คลอดบุตร เป็นต้น 20% การศึกษาดูงานเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างยั่งยืน 20% การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ 30% ทุนหมุนเวียน และเพือ่ สืบสานให้ภมู ปิ ญ ั ญาอันเป็นเอกลักษณ์และสร้างรายได้เสริมให้แก่ชมุ ชนคีรวี ง นั้นอยู่คู่ชุมชนอย่างยั่งยืน จึงได้มีการบรรจุหลักสูตรวิชาบังคับการเรียนวิชาท้องถิ่น โดยเด็กๆ ในชุมชนจะได้เรียนฝึกอาชีพสัปดาห์ละ 1 วัน และคนในชุมชนให้ความสนใจเป็นอย่างดี อีกทั้ง ลูกหลานของสมาชิกนั้นก็มีส่วนร่วมในการสานต่อกิจกรรมนี้ให้ด�ำเนินไปด้วยดีอีกด้วย นับเป็น อีกหนึ่งแหล่งภูมิปัญญาที่แสดงให้เห็นศักยภาพชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นตัวอย่างที่ดีในการอยู่ อย่างพอเพียงและใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นผืนแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด
11
“เราไม่ได้ท�ำเพื่อเงิน ท�ำเพื่อด�ำรงไว้ ท�ำเพื่อวิถีชีวิต...” อารีย์ ขุนทน
12
สีธรรมชาติของกลุ่มมัดย้อมคีรีวง
ใบมังคุดสดให้สีชมพู
ใบมังคุดแห้งให้สีส้ม
ใบเพกาให้สีเขียวเข้ม
ใบหูกวางให้สีเขียวอมเหลือง
เปลือกลูกเนียง, ไม้หลุมพอให้สีนำ�้ ตาล
ไม้ขนุนให้สีเหลืองเข้ม
เปลือกเงาะให้สีเทาอมม่วง
ฝักสะตอให้สีเทาด�ำ
จากสีทั้ง 8 เฉดนี้ สามารถผสมสีเพิ่มเป็นเฉดอื่นๆได้อีกมากมาย 13
การสกัดสีธรรมชาติ วัสดุและอุปกรณ์ 1. วัสดุธรรมชาติที่จะน�ำไปสกัดสี เช่น ใบมังคุด ใบเพกา ใบหูกวาง ฯลฯ 2. น�้ำ 3. ภาชนะทนความร้อนส�ำหรับต้มสี 4.. เตาส�ำหรับต้ม
วิธีการสกัดสีธรรมชาติ 1. น�ำวัสดุธรรมชาติและน�้ำ ในอัตราส่วน 1:1 ใส่ภาชนะต้มให้เดือดอยู่ตลอดเป็นเวลา 1 วัน 2. หลังจากนั้นต้มต่อไปเรื่อยๆโดยใช้ไฟอ่อนและหมั่นคนส่วนผสมเป็นเวลา 2 สัปดาห์ 3. น�ำน�้ำสีที่ได้ไปกรองเอากากและเศษผงออก
14
ในการสกัดสีธรรมชาติในแต่ละครั้งอาจได้สีที่ออกมาต่างกันเนื่องด้วยปัจจัยต่างๆดังนี้ 1. น�้ำ เนื่องจากน�้ำในแต่ละพื้นที่ หรือต่างต้นก�ำเนิดจะส่งผลให้สีย้อมออกมาต่างกันไปตาม ฤดูกาล ในฤดูฝนน�้ำมาก ท�ำให้พืชพันธุ์งอกงาม แต่ปริมาณน�้ำที่เยอะ ท�ำให้สีที่สกัด ออกมานั้นเจือจางและซึมซับบนเนื้อผ้าได้ไม่ดีนัก ในทางกลับกันฤดูร้อนที่แม้จะไม่ส่งผล ต่อการเจริญเติบโตของพืช แต่เมื่อน�ำ้ น้อย สีที่สกัดออกมาจะมีความเข้มข้นสูง ให้เนื้อสี มีปริมาณมาก และซึมกับผ้าได้ดี 2. ช่วงเวลาในการย้อม หากย้อมผ้าในช่วงเช้าสีจะมีความสดกว่าผ้าที่ย้อมในช่วงบ่ายถึงเย็น 3. เครื่องมือที่ใช้ในการย้อมก็มีผลต่อสีที่ย้อมเช่นกัน หากมีความสะอาดดีก็จะท�ำให้ สีที่ย้อม มีความสดและคงทน ปัจจุบันกลุ่มมัดย้อมคีรีวงได้มีก�ำลังคิดค้นพัฒนาการท�ำสีผงจากธรรมชาติ เพื่อให้ได้ผงสีที่ สามารถเก็บรักษาได้นานยิ่งขึ้น
15
16
17
การท�ำผ้ามัดย้อมคีรีวง วัสดุและอุปกรณ์ 1. ผ้าเส้นใยธรรมชาติ (หากเป็นใยสังเคราะห์จะย้อมสีไม่ติด) 2. หนังยาง 3. ไม้ไผ่ ชิ้นเล็กๆ ความยาวประมาณ 3-4 เซนติเมตร กว้างประมาณ 0.5 เซนติเมตร 4. สีย้อมและอุปกรณ์ในการย้อมร้อน ขั้นตอนการท�ำ 1. ท�ำความสะอาดผ้าด้วยสารท�ำความสะอาดที่เป็นด่างอ่อนๆ เช่น น�้ำสบู่ เพื่อท�ำความสะอาดสิ่งสกปรกที่ติดอยู่บนผ้า ท�ำให้ย้อมสีติดได้ดีขึ้น 2. น�ำผ้าที่ซักสะอาดแล้วมา โดยจับผ้าพับไปมาตามต้องการ แล้วน�ำไม้ไผ่สองชิ้นมา ประกบแล้วมัดด้วยหนังยางให้แน่น จุดนี้จะเกิดเป็นลายบนผ้าเมื่อน�ำไปย้อมสี 3. น�ำผ้าไปจุ่มน�้ำอีกครั้งให้พอหมาด 4. น�ำผ้าลงต้มในน�้ำสีที่เตรียมไว้แล้ว 3 ชั่วโมง 5. น�ำผ้าไปล้างและต้มใหม่ (ท�ำ 3 ครั้ง) 6. น�ำผ้ามาซักและผึ่งในที่ร่มจนแห้ง ค�ำแนะน�ำ : เวลาย้อมต้องคอยคน และกดให้ผ้าจมในน�้ำสีทั่วทั้งผืน เพื่อให้สีติดยิ่งขึ้นควรรักษา อุณหภูมิของน�้ำสีในภาชนะย้อมให้ร้อนอยู่ตลอดเวลา แต่ไม่ควรเกิน 50 องศาเซลเซียส
18
19
20
21
การท�ำผ้าบาติกคีรีวง วัสดุและอุปกรณ์ 1. 2. 3. 4. 5.
ผ้าขาวเส้นใยธรรมชาติที่ซักท�ำความสะอาดเรียบร้อยแล้ว น�้ำสีธรรมชาติ กรอบไม้ และอุปกรณ์ในการขึงผ้า เทียน ปากกาเขียนเทียน หรือซานติ้ง (Canting) แปรง และวัสดุที่ทนความร้อนอื่นๆ ส�ำหรับเขียนเทียน 6. กระดาษแข็งหลายรูปแบบขนาดต่างๆ เอาไว้สร้างลวดลาย 7. หม้อไฟฟ้าส�ำหรับต้มเทียน 8. สารกันสีตก โซเดียม ซิลิเกต (Sodium Silicate)
22
ขั้นตอนการท�ำ 1. ขึงผ้ากับกรอบไม้ให้ตึงเพื่อง่ายต่อการเขียนเทียนและสร้างลวดลาย 2. น�ำเทียนไปท�ำให้ละลาย เมื่อเทียนละลายแล้วปรับอุณหภูมิให้พอดี หากมีฝุ่นใน น�้ำเทียนควรกรองออก 3. จุ่มอุปกรณ์เขียนเทียนลงในน�้ำเทียน และเขียนภาพที่ต้องการด้วยความรวดเร็วก่อนที ่ น�้ำเทียนจะแห้งและท�ำให้ปลายปากกาเขียนเทียนตัน ถ้าหากตันให้น�ำไปละลายใน น�้ำเทียนใหม่อีกครั้ง หรืออาจสร้างลวดลายด้วยการวางกระดาษแข็งรูปทรงต่างๆที ่ เตรียมไว้ลงบนผ้า และใช้วิธีการหยดน�้ำเทียนลงรอบๆแบบ เหมือนหลักการพิมพ์ แบบสเตนซิล (Stencil) ใช้กระดาษทิชชูคอยซับน�้ำเทียนที่เกาะรอบๆอุปกรณ์ เขียนเทียนก่อนทุกครั้งเพื่อไม่ให้น�้ำเทียนหยดลงผ้า 4. เมื่อเทียนที่เขียนไว้เย็นตัวลงแล้ว ระบายสีธรรมชาติลงบนผ้าให้สวยงามตามต้องการ หากบริเวณใดไม่ต้องการให้สีด่าง เมื่อลงสีแล้ว บริเวณนั้นห้ามโดนน�้ำโดยเด็ดขาด 5. รอให้สีแห้ง 6. เคลือบชิ้นงานด้วยซิลิเกตให้ทั่ว เพื่อไม่ให้สีตก แล้วพักไว้ 1 คืน 7. ล้างน�้ำยากันสีตกด้วยการน�ำผ้าไปซักในน�้ำเปล่าจนกว่าน�ำ้ ที่ซักผ้าจะใส 8. ต้มเทียนออกจากผ้าในน�้ำผงซักฟอกหรือน�้ำยาล้างจาน โดยต้มให้เดือดอยู่ตลอดเวลา 9. เมื่อเทียนละลายออกหมดแล้ว ให้ซักอีกครั้ง 10. น�ำผ้าที่ซักแล้วไปตากในที่ร่ม ค�ำแนะน�ำ : ในขั้นตอนการต้มเทียนและใช้น�้ำเทียน ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ อย่าให้มี น�้ำหยดลงไปในน�้ำเทียนที่ต้มอยู่เพราะน�้ำเทียนจะกระเด็นโดนผิวหนัง และอาจท�ำให้เกิดแผลได้
23
24
บาติกสร้างสรรค์ ศิลปินร่วมกับตัวแทนเยาวชนบ้านคีรวี ง ท�ำผ้าบาติกสีธรรมชาติ เพือ่ แลกเปลีย่ น เทคนิค วิธกี าร และแนวคิดทีผ่ สมผสาน ระหว่างภูมิปัญญาของชุมชนกับเทคนิค ในงานจิตรกรรม ท�ำให้ได้งานผ้าบาติก ที่ออกมาสวยงาม และแปลกใหม่
25
26
ผ้าลาย Semi Abstract ทิวทัศน์คีรีวง “น�ำสิ่งที่เคยถูกเชื่อว่าผิด มาสร้างสรรค์และน�ำเสนอสิ่งใหม่” ศิลปิน
ตัวแทนชุมชน
: :
พรรษา พุทธรักษา วรรณพล แสนค�ำ ฉัตรกนก ขุนทน
ทิ ว ทั ศ น์ บ ริ เวณล� ำ ธารที่ เป็ น เสมื อ นจุ ด รวมสายตาของคนในชุ ม ชนสองฝั ่ ง และ ผู้มาเยือนคีรีวง เป็นแรงบันดาลใจส�ำคัญในการสร้างงาน แต่ไม่ได้ถ่ายทอดออกมา ในรูปแบบของภาพทิวทัศน์ทั่วไป มีการคลี่คลายรูปแบบและรูปทรงให้เป็นลายเส้น อิสระมีน�้ำหนัก เข้มอ่อนของสี หลีกเลี่ยงรูปทรงเลขาคณิต คล้ายภาพกึ่งนามธรรม (Semi Abstract) และให้ความส�ำคัญกับรอยเทียนซึ่งเป็นองค์ประกอบส�ำคัญใน การสร้างงานบาติก การเขียน หยด ปาด สะบัดที่เกิดจากอารมณ์ความรู้สึกจึงท�ำให้ เกิดเป็นผลงานแบบ Expression Batik งานชิน้ นีม้ คี วามน่าสนใจในขัน้ ตอนการลงสี โดย ลงสีทีละชั้น เพื่อท�ำให้เกิดการทับกันของสีคล้ายวิธีการที่ใช้ในงานภาพพิมพ์ นอกจากนั้นยังมีการทดลองเทคนิคอื่นๆที่คล้ายกับเทคนิคในงานจิตรกรรมอีกด้วย เช่น การไล่ ระดั บความเข้ ม ของสี โดยใช้ ล ะอองน�้ ำจากที่ ฉดี ผ้ า เป็ นการทดลอง ที่ ท� ำให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ กั บ ตั ว แทนชุ ม ชนที่ เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมเนื่ อ งจาก บางเทคนิคที่ ทดลองนั้ น ไม่ เคยถู กน� ำมาใช้ ในงานบาติ ก คี รี ว งมาก่ อ น
27
28
ผ้าลายของดีคีรีวง และทิวทัศน์ “บางครั้งคนเราพยายามหนีออกจากกรอบเดิม แล้วเข้าไปอยูใ่ นกรอบใหม่ เราต้องเลิกสร้างกรอบ” ศิลปิน ตัวแทนชุมชน
: :
ศุภวัฒน์ วัฒนภิโกวิท ประเสริฐ ยอดแก้ว ศิริภัทรสร ปานเนียม
ศิลปินมีความต้องการสร้างสรรค์ผลงานเพื่อให้คนในชุมชนมีความเข้าใจตัวตนและ พื้นถิ่น อาจไม่ได้เป็นความไม่เข้าใจ แต่เป็นเพียงการหลงลืม และหันไปสนใจในสิ่ง ทีไ่ กลตัว จึงเลือกน�ำเสนอสิง่ ทีพ่ บเห็นได้งา่ ยในชุมชนมาใช้จดั องค์ประกอบภาพและลอง ท�ำเทคนิคการเขียนสีใหม่ๆทีแ่ ตกต่างไปจากวิธเี ดิมๆ เช่น การลงสีนำ�้ หนัก ไม่เท่ากัน แทน การลงสีให้สดเข้มเท่ากันทัง้ หมด ผลงานทีอ่ อกมาดูเรียบง่ายใสซือ่ บ่งบอกถึง อัตลักษณ์ พื้นถิ่นได้เป็นอย่างดี นอกจากนั้นระหว่างการท�ำงานได้มีการพูดคุยแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว่างศิลปินและตัวแทนชุมชนในเรื่องเทคนิคการสร้างงานอีกด้วย
29
30
ผ้าลายอิสระ “เรื่องเล่าผ่านลายเส้นผสมผสานความเป็นตัวตนที่ต่างคนต่างยอมรับซึ่งกันและกัน” ศิลปิน : ชัยวัช เวียนสันเทียะ ชัยรัตน์ มงคลนัฏ ตัวแทนชุมชน : ศุกุลตลา มาลาทอง ผลงานนี้มีลวดลายที่เป็นการร้อยเรียงเรื่องราวอันหลากหลายเข้าไว้ด้วยกัน ไม่มี แบบร่างทีก่ ำ� หนดตายตัวว่าจะต้องออกมาเป็นแบบใด ผูส้ ร้างสรรค์ตล่ ะคนต่างบรรจง เล่าเรือ่ งราวตามจินตนาการผ่านรูปทรงทัง้ ทีเ่ ป็นนามธรรมและรูปธรรมลงบนผืนผ้า อย่างอิสระ เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม สีสันสดใส และเข้ากันได้อย่างไม่น่าเชื่อ ผู้ชม จะสามารถรับรู้ความหมายและเรื่องราวบนผืนผ้านั้น ได้ตามจินตนาการของตนเอง โดยไม่มีการตัดสินถูกผิดใดๆ
31
32
ผ้าลายต้นมังคุด “ความประทับใจในต้นมังคุดคีรีวง สอดผสานกับหลากโทนสีธรรมชาติ” ศิลปิน
:
ชญานิน กวางแก้ว มกรา จันหฤทัย
ผลงานดูแปลกตาด้วยรูปวงกลมหลายวงเรียงกัน วงกลมแต่ละวงมีลวดลายต้น มังคุด ราวกับผูช้ มได้มองทะลุผา้ ออกไปยังทิวทัศน์ทมี่ ตี น้ มังคุดเป็นองค์ประกอบส�ำคัญ สีบรรยากาศในวงกลมแต่ละช่องเป็นโทนสีพาสเทลทีห่ ลากหลาย ศิลปินใช้เทคนิคการ ผสมน�้ำเพื่อท�ำให้ความเข้มข้นของสีเจือจางลง ท�ำให้ได้โทนสีที่นุ่มนวล อ่อนหวาน
33
34
ผ้าลายผิวน�ำ้ ในล�ำธารและปลาพรวน “ประกายผิวน�้ำสะท้อนกับแสงแดดและฝูงปลาพรวน สิ่งสวยงามใกล้ตัว ที่อาจช่วย ต่อยอดงานบาติกคีรีวง” ศิลปิน
:
ชัยบูรณ์ บันลือ อาทิตย์ สังข์ตะคุ
การสะท้อนแสงแดดบนผิวน�้ำที่ระยิบระยับ และฝูงปลาพรวนที่แหวกว่ายอยู่ภายใต้ ความระยิบระยับนั้นเป็นความประทับใจแรกที่ศิลปินมาถึงคีรีวง กลุ่มนี้เลือกเนื้อหา และการสื่อสารที่ไม่ซับซ้อนมาสร้างงานเพื่อท�ำให้สามารถเข้าถึงคนในท้องถิ่นได้ง่าย แม้จะวางองค์ประกอบคล้ายงานบาติกแบบดั้งเดิมแต่ลวดลายนั้นอาจเป็นความ แปลกใหม่ของชุมชนคีรีวงที่น�ำไปพัฒนาลวดลายงานผ้าบาติก
35
36
“การวาดภาพบาติกเป็นสิ่งที่ทำ� เป็นอยู่แล้ว แต่การท�ำกิจกรรมครั้งนี้ทำ� ให้ได้เทคนิค และวิธคี ดิ ใหม่ๆเพราะวิธกี ารท�ำงานวันนัน้ มันเป็นแบบจิตรกรรมไม่เหมือนบาติกทีเ่ คย ท�ำ มันแปลกออกไป” นางสาวฉัตรกนก ขุนทน (พิ้ง) อายุ 18 ปี ศึกษาที่วิทยาลัยช่างศิลป์นครศรีธรรมราช
“เห็นเทคนิควิธีการใหม่ๆในเรื่องของการใช้สีที่แตกต่างไปจากที่เคยท�ำอยู่” นางสาวศิริภัทรสร ปานเนียม (ใหม่) อายุ 19 ปี ศึกษาที่วิทยาลัยช่างศิลป์นครศรีธรรมราช
“มีลายที่พี่เค้ากล้าท�ำ แต่เราไม่กล้าท�ำ มีเรื่องแย้งกันนิดหน่อยทางเทคนิคการลงสี เพราะสีบาติกมันจะแห้งเร็วกว่าสีนำ�้ เยอะ เรากลัวจะไม่สวย แต่พี่บอกว่าไม่เป็นไร พอท�ำออกมาแล้วมันก็สวยดีเหมือนกัน” นางสาวศุกุลตลา มาลาทอง (เจมส์) อายุ 19 ปี ศึกษาที่วิทยาลัยช่างศิลป์นครศรีธรรมราช
37
38
กิจกรรม สีธรรมชาติบนกระดาษ เป็ น กิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ ง านศิ ล ปะ ตามแนวทางงานจิ ต รกรรมโดย ใช้ สี ธ รรมชาติ บ ้ า นคี รี ว ง เป็ น สื่ อ ในการสร้ า งสรรค์ เปิ ดโอกาสให้ ศิ ล ปิ นได้ ท ดลองใช้ สี ธ รรมชาติ ที่ เป็ น ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น มาต่ อ ยอด สร้ า งสรรค์ สิ่ งใหม่ ต ามแนวทาง ของตนเองได้ ท� ำ ความเข้ าใจกั บ คุ ณ สมบั ติ ข องสี ส กั ด ธรรมชาติ สามารถเปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่ า งสี เ คมี ที่ เ คยใช้ ในงานศิ ล ปะ กั บ สี ธ รรมชาติ ไ ด้ ว ่ า มี ผ ลลั พ ท์ เหมื อ นหรื อ แตกต่ า งกั น อย่ า งไร ท�ำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่เรื่องการ ใช้สื่อในงานศิลปะ
39
40
มนุษย์มกี ารคิดค้นสีจากธรรมชาติโดยสกัดสีจากแร่ธาตุ ต่างๆ ดิน พืช สัตว์ แมลง และน�ำสีธรรมชาตินั้นมาใช้เป็นวัตถุดิบ หลักในการสร้างสรรค์งานศิลปะและงานหัตถกรรมมายาวนาน ในปัจจุบันกระบวนการผลิตสีได้อยู่ภายใต้ระบบการผลิตแบบ อุตสาหกรรมตามสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป จึงท�ำให้ศิลปิน และผู้คนมองข้ามต้นก�ำเนิดที่มาของเนื้อสีในธรรมชาติไปอย่าง น่าเสียดาย จากการที่ศิลปินได้มีโอกาสทดลองใช้สีธรรมชาติจาก ชุมชนคีรีวงสร้างสรรค์งานศิลปะ พบว่าคุณสมบัติของสีธรรมชาติ นั้นมีความโปร่งใสกว่าสีเคมี เนื้อสีไม่จัดจ้าน มีเฉดสีหลักได้แก่ เหลือง,แดง,น�ำ้ เงิน,ส้ม,เขียว,ม่วง,น�ำ้ ตาล,ด�ำ ซึง่ มีความใกล้เคียงกับ สีเคมีในระดับหนึง่ สีธรรมชาติบางสีมเี อกลักษณ์พเิ ศษทีส่ เี คมีไม่มี ถึงแม้คุณสมบัติจะมีส่วนด้อยกว่าสีเคมีไปบ้าง เช่น สีธรรมชาติจะ ไม่สดเท่าสีเคมีส�ำหรับงานจิตรกรรม ด้วยเหตุนี้ท�ำให้ไม่สามารถ สร้างน�้ำหนักสีในงานจิตรกรรมได้ดีเท่าที่ควร และหากเพิ่มน�้ำ หนักสีมากๆ เมื่อสีแห้งแล้วจะกลายเป็นตะกอนอยู่บนกระดาษ ใน กรณีที่เขียนแบบสีน�้ำแบบเปียกบนเปียก สีธรรมชาติจะซึมเข้าหา กันท�ำให้ควบคุมสีได้ยากกว่าสีเคมี และหากเขียนแบบแห้งบนแห้ง สีชั้นแรกจะหลุดง่ายไม่ยึดเกาะเท่าที่ควร น�้ำสีธรรมชาติแต่ละตัว นั้นมีคุณสมบัติแตกต่างกัน บางสีมีความโปร่งใสท�ำให้สามารถ ลงสีได้เรียบเนียน บางสีเป็นตะกอนเมื่อลงสีแล้วจะเกิดจ�ำ้ สีซึ่งเป็น ผลจากตะกอนของสีที่ปะปนมาในน�้ำสี เมื่อปล่อยให้แห้งจะเห็น ตะกอนสีน�้ำตาลหรือสีด�ำได้อย่างชัดเจน แต่ความหม่นของตัวสี เช่นนีก้ ลับสร้างความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะทีน่ า่ สนใจ และด้วยเสน่ห์ จากกระบวนการสกัดสีซึ่งปราศจากสารเคมีไม่เป็นอันตรายต่อ ร่างกาย เรียบง่ายหากแต่พิถีพิถัน ความบริสุทธิ์ของน�้ำจากแหล่ง น�ำ้ ธรรมชาติในชุมชนทีเ่ ป็นวัตถุดบิ หลัก พืชพันธุท์ บี่ ง่ บอกอัตลักษณ์ ของชุมชน ระบบนิเวศที่สมบูรณ์ของธรรมชาติ ปัจจัยส�ำคัญเหล่านีอ้ าจเป็นทางเลือกหนึง่ ในการต่อยอด การสร้างสรรค์ของศิลปินร่วมสมัย เพือ่ สะท้อนเรือ่ งราวจากวิถชี วี ติ รวมถึงปรัชญาทางความงามทีม่ ธี รรมชาติเป็นผูเ้ ล่าโดยตรง จึงท�ำให้ “สีธรรมชาติจากชุมชนคีรีวง” เป็นผลผลิตจากภูมิปัญญาท้องถิ่น อันทรงคุณค่าและควรแก่การอนุรกั ษ์ 41
42
43
บันทึกกิจกรรม กิจกรรมโครงการศิลปะชุมชน สีสรรค์คีรีวง เริ่มตั้งแต่ที่เราก้าวขึ้นรถไฟ ขบวนรถด่วนสายใต้ กรุงเทพ-ยะลา ใน ตอนเย็นของวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2557 จากสถานีหัวล�ำโพง บางซื่อ นครปฐม แล้วแต่ความสะดวกในการเดินทางของ สมาชิกแต่ละคน ตลอดเกือบ 12 ชัว่ โมงทีอ่ ยูบ่ น รถไฟ ทิวทัศน์สองข้างทางได้ค่อยละลาย ภาพความเป็นเมืองจอแจสิง่ แวดล้อมทีเ่ รา คุน้ ตา ให้กลายเป็นภาพทิวทัศน์ทเี่ ขียวขจี ดวงตะวันทีก่ ำ� ลังจะลับขอบฟ้า และจะกลับ มาในวันรุ่งขึ้นที่สภาพแวดล้อมรอบตัวจะ เปลี่ยนไปจากที่เราคุ้นชิน สมาชิกบางคนพูดคุยกันเฮฮา สนุกสนาน บางคนก็นงั่ ละเลียดบรรยากาศ บนรถไฟทีอ่ าจจะไม่ได้มโี อกาสนัง่ บ่อยนัก ก่อนที่เจ้าหน้าที่จะมาปรับเก้าอี้ให้เป็น ที่นอนสองชั้น และแยกย้ายกันเข้านอน
44
ในที่ สุ ด พวกเราก็ ถึ ง สถานี ค ลองจั น ดี จ.นครศรี ธ รรมราช ตอนเช้ า มื ด ของ วันที่ 10 สิงหาคม หลังจากแวะฝากท้อง ไว้ กั บ ร้ า นกาแฟใกล้ ๆ สถานี แ ล้ ว เรา ก็ เ ดิ น ทางต่ อ ด้ ว ยรถสองแถวไปยั ง คี รี ว ง จุ ด หมายปลายทางเพื่ อ เข้ า พั ก วางสั ม ภาระที่ เพ็ ช รคี รี โ ฮมสเตย์ หลั ง จากพั ก ผ่ อ นให้ พ อหาย เหนือ่ ยก็ออกจากทีพ่ กั ไปยังบ้าน คุณอารีย์ ขุนทน หรือ พี่อารีย์ ผู้นำ� กลุ่มผ้ามัดย้อม และผ้าบาติกสีธรรมชาติทคี่ รี วี ง เมือ่ พบปะ และพูดคุยกับพี่อารีย์แล้ว การร่วมกันท�ำ กิจกรรมระหว่างกลุ่มคนที่ไปซึ่งมีศิลปิน อาจารย์ ผูร้ วบรวมข้อมูล และคนในท้องถิน่ ก็เริ่มต้นขึ้น พี่ อ ารี ย ์ ไ ด้ อ ธิ บ ายวิ ธี ก ารท� ำ ผ้ามัดย้อมและการท�ำผ้าบาติกทีละขัน้ ตอน และให้เราได้ลงมือท�ำผ้าเช็ดหน้ามัดย้อม ด้วยสีธรรมชาติกันคนละ 2 ผืน
45
วันที่ 11 สิงหาคม จับคูศ่ ลิ ปินออกเป็น 5 กลุม่ ในวันนี้มีเยาวชนเป็นตัวแทนจากหมู่บ้านคีรีวง 3 คน เข้ า มาร่ ว มท� ำ กิ จ กรรมผ้ า บาติ ก ทาง ผู้จัดกิจกรรมจึงเปิดโอกาสให้น้องๆเลือกเองว่า สนใจรูปแบบ เทคนิค หรืออยากร่วมท�ำงาน สร้างสรรค์กบั ศิลปินกลุม่ ใด เกิดการแลกเปลีย่ น เรียนรู้กนั ระหว่างคนในกลุม่ และต่างกลุม่ และได้ งานสร้างสรรค์กลุ่มออกมา 5 ชิ้น วันที่ 12 สิงหาคม ศิลปินท�ำงานของตนเอง โดยใช้สีธรรมชาติ ของบ้ า นคี รีวงมาเป็ น สื่ อใน การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ โดยผลงานส่วน หนึ่งได้มอบไว้ให้ทางชุมชน เพื่อให้คนในชุมชน และ นักท่องเที่ยวเห็นคุณค่าของสีย้อมที่น�ำไป สร้างสรรค์ได้ไม่จ�ำกัด
46
ขากลับทุกๆคนทีไ่ ปร่วมกิจกรรมครัง้ นี้ ไม่ได้เก็บแต่สมั ภาระและงานศิลปะกลับมาเท่านัน้ แต่ยงั ได้เก็บความประทับใจจากคีรวี งกลับมากัน อย่างเต็มเปีย่ ม ธรรมชาติอนั งดงามอุดมสมบูรณ์ แม่น�้ำล�ำธารใสเย็น มีฝูงปลาแหวกว่าย อาหาร อร่อยๆอย่างน�ำ้ พริกลูกประ แกงร้อน หมูผัด กะปิสะตอ คั่วกลิ้ง ผักกูดราดกะทิ มังคุดที่มีไม่ เคยขาด ผู้คนที่มีไมตรี ยิ้มแย้มแจ่มใสไม่ปฏิเสธ ผู้มาเยือน และกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธี คิด แนวทาง ที่ประสานกันระหว่างภูมิปัญญา ท้องถิ่นกับงานศิลปะที่ไม่ได้มีเพียงหนึ่งผู้ให้และ หนึ่งผู้รับ หากแต่เราทุกคนได้เปิดใจแลกเปลี่ยน และยอมรับในตัวตนซึ่งกันและกัน น�ำไปสู่การ พัฒนาศักยภาพส่วนบุคคลไปจนถึงสังคมต่อไป
47
48
49
50
“...พี่จะให้ความส�ำคัญทุกครั้งเมื่อมีคนติดต่อเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็น องค์กร หรือกลุ่มบุคคลผู้สนใจทั่วไป เพราะสิ่งที่พี่ต้องการคือ ประสบการณ์ที่ได้จาก การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ และมิตรภาพใหม่ๆและการยอมรับในตัวตนทัง้ ของตนเองและผูอ้ นื่ แล้วช่องทางการหารายได้ก็จะเข้ามาเอง ครั้งนี้ท�ำให้พี่เห็นว่าพี่มีแค่เทียนแค่สี แต่มี เทคนิคอีกมากมายทีร่ อให้เราค้นหาและสร้างงาน พีม่ คี วามสุขมากทีเ่ ราได้เปิดหน้าต่าง โลกให้เด็กๆกล้าคิดกล้าท�ำ คนเรามันต้องมีความกระหายในการเรียนรู้ ไม่อย่างนั้น ไปไม่ถึงดวงดาวหรอก บางชุมชนกลัวในเรื่ององค์ความรู้ที่จะเผยแพร่สู่ภายนอก แต่ส�ำหรับพี่แล้ว ถ้ามันขยายไปเท่าไหร่มันกลับมาเราเท่านั้น...” อารีย์ ขุนทน
51
Exhibition / Workshop
นิ ท รรศการ “สี สรรค์ ชุ ม ชน ณ บ้ า นคี รี ว ง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช” จั ด ขึ้ น ที่ ห อศิ ล ป์ ม หาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร(วั ง ท่ า พระ)เพื่ อ เผยแพร่ อ งค์ ค วามรู ้ ต ่ า งๆที่ ไ ด้ จากการท� ำ กิ จ กรรมศิ ล ปะชุ ม ชน เพื่ อให้ กั บ นักศึกษาศิลปะและบุคคลผู้สนใจทั่วไปได้รับรู้ ถึงภูมิปัญญาอันมีค่าของชุมชนคีรีวงและพัฒนา ไปสู่การเรียนรู้และสร้างสรรค์งานศิลปะ
52
53
54
55
56
57
58
59
Workshop สร้างงานจิตรกรรมด้วยสีธรรมชาติ
ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร (วังท่าพระ) วันที่ 4 พฤศจิกายน 2557
60
61
62
63
หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอขอบคุณ ศิลปินผู้เข้าร่วมโครงการ กลุ่มย้อมสีธรรมชาติ บ้านคีรีวง โดย พี่อารีย์ ขุนทน ผศ.ดร.สุดสันต์ สุทธิพิศาล ฉัตรกนก ขุนทน ศิริภัทรสร ปานเนียม ศุกุลตลา มาลาทอง คุณกฤษณา ธนวัฒนาภรณ์ เนื้อหา
: วิชนัญ กลั่นรอด
ปกและรูปเล่ม พิมพ์ที่ จ�ำนวนพิมพ์ จัดท�ำโดย
: : : :
ชุติมา พรหมเดชะ ศรุดา สวนสะอาด โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ 1,000 เล่ม หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร 64