Globalikezation Art Catalogue

Page 1


LIKE พรมแดน

#globaLIKEzation

CURATOR : ART CENTRE SLIPAKORN UNIVERSITY โครงการสร้างสรรค์ศิลปกรรม “ ศิลปะร่วมสมัยในบริบทของวัฒนธรรมไร้พรมแดน ”

7-27 FEBRUARY 2014

AT ART CENTRE SLIPAKORN UNIVERSITY (Wangthaphra)



สารผู้อำ�นวยการ

ในโลกปัจจุบันที่สื่อออนไลน์มีความสำ�คัญต่อชีวิตคนใน สังคม การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การทำ�ความรู้จักกัน การ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น กลายเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นง่ายดาย และสามารถทลายพรมแดนระหว่างชาติพันธุ์และภาษาที่ แตกต่างโดยสิ้นเชิง ภายใต้สภาวะที่เหมือนจะไร้พรมแดน นี้ กลับมีการสร้างพรมแดนสมมุติผ่านพื้นที่ส่วนตัวใน สื่อออนไลน์เหล่านั้นที่ทำ�ให้เกิดปรากฏการณ์ของการทับ ซ้อนกันระหว่างการสร้างพรมแดนและทลายพรมแดนขึ้น อย่างน่าสนใจ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรเล็งเห็นความน่าสนใจของ สภาวะที่เกิดขึ้นนี้ จึงนำ�เสนอผ่านนิทรรศการที่นำ�ผู้ชม เข้ามีส่วนร่วมตลอดกระบวนการนิทรรศการโดยใช้สื่อ ออนไลน์เป็นพื้นที่ และเชิญศิลปินให้ร่วมถ่ายทอดมุมมอง ที่มีต่อความไร้พรมแดนนี้ผ่านผลงานสร้างสรรค์ของตน หอศิลป์หวังเป็นอย่างยิ่งว่านิทรรศการในครั้งนี้จะกระตุ้น ผู้ชมต่อคำ�ถามในปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นว่าสื่อเเละสาร ต่างๆที่ไหลเวียนผ่านพื้นเสมือนจริงนี้ จะส่งผลอย่างไร ต่อวิถีการดำ�เนินชีวิต เเละจะทำ�อย่างไรให้สารที่อยู่ในสื่อ ต่างๆนี้มีประโยชน์ต่อสังคมให้มากที่สุด เเละมีประโยชน์ ต่อการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่นับวันยิ่ง ไร้พรมเเดน

อาจารย์ ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ รักษาราชการผู้อำ�นวยการหอศิลป์


ในสภาวการณ์ที่เป็นอยู่ขณะนี้โลกได้เเคบลงขึ้นทุกวันผ่าน การสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่จนทำ�ให้พรมเเดนที่ กั้นขวางดูเหมือนจะไม่มีอยู่จริง พรมเเดนทมีเส้นเเบ่งได้ จางลงด้วยการสื่อสารในโลกออนไลน์ เมื่อปี1969 ได้มีการเกิดขึ้นของโครงข่ายเน็ตเวิร์กอินเตอร์เน็ต ซึ่งได้สร้างการสื่อสารอย่างไร้พรมเเดนเลื่อยมาเเละทวี มากขึ้นในปัจจุบัน การสื่อสารที่รวดเร็วเเละไร้พรมเเดน นี้ได้ส่งผลกระทบต่อสังคม การเมือง วัฒนธรรม เเละ รวมถึงศิลปะ ศิลปะที่เราสามารถรับรู้ได้อย่างรวดเร็ว ผลงานศิลปะที่ได้เกิดขึ้นอีกซีกโลกหนึ่ง ผู้คนอีกซีกโลก หนึ่งสามารถรับรู้ได้อย่างง่ายดายผ่านโครงข่ายโซเชียล เน็ตเวิร์ก ซึ่งทำ� ให้การไหลผ่านของอิทธิพลศิลปะมีการ ส่งต่อกันไปมาอย่างต่อเนื่อง ศูนย์กลางของโลกศิลปะ มิได้มีอยู่ที่ยุโรปหรืออเมริกาอีกต่อไป ศูนย์กลางได้ไหล เวียนเเละเปลี่ยนผ่านกันไปมาอย่างต่อเนื่องเเละไม่หยุดนิ่ง

Today, the world is smaller because of new technology that almost collapses the existing borders/boundaries. Social network, found in 1969, has created and expanded communications between people from different parts of the world and made this border become less and less distinct. This fast and borderless communication definitely has impact on social, political, and cultural aspects, as well as art as they can reach people easier. People living in one part of the world can view the work created from artist in different part of the world via social network. This enables continuing flow of art influences all around the world. Art no longer centers in the west but moving and transferring all the time.

ในครั้งนี้นิทรรศการ LIKE พรมเเดน #globoLIKEztion จึงมองไปที่สาระความสำ�คัญ LIKEพรมแดน : globaLIKEzation exhibition ของสิ่งที่เกิดขึ้นในโซเชียลเน็ตเวิร์ก์ที่ส่งผลกระทบ looks at the essence of what hapต่อการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะอย่างไร้พรมเเดน pened in the social network that affects ทุกคนสามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะหรือเผยเเพร่ this borderless creativity of artists and ผลงานศิลปะผ่านพื้นที่เสมือนจริงอย่าง facebook other people. Everyone can create work instagram หรือ blog ภาพต่างๆที่อยู่ต่างที่ and publicize it in this virtual world, ต่างเวลาไหลเวียนผ่านสื่อดังกล่าวนี้อย่างมากมายจึง like facebook, instagram, or blog. Photos ทำ�ให้เกิดปรากฏการณ์ที่น่าสนใจต่อพื้นที่สร้างสรรค์เเละ existed in different locations and difต่อการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ferent time, flow through this space and eventually cause such interesting pheนิทรรศการนี้จะเป็นการเปิดประเด็นเเละฉายภาพ nomenon to art creativity and art space. ปรากฏการณ์ชุมชนในโลกโซเชียลเน็ตเวริกต์เเละโลก ศิลปะที่ซ้อนทับ ไหลเวียนกันไปมาอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เเละ This exhibition illustrates this phenomหวังว่าเครือข่ายดังกล่​่าวที่เกิดขึ้นจากนิทรรศการนี้จะ enon of community existing in both art สร้างประโยชนเเละส่งผลต่อความเคลือนไหวของโลก world and virtual world that lies upon ศิลปะร่วมสมัยได้อย่างไร้พรมเเดน each other and circulates endlessly. It is with hope that the result of this ภัณฑารักษ์ exhibition will benefit and has positive หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร impact to the movement of the art world freely and without any boundaries . curator art centre,silpakorn university


Virtual space is used to support art works - photos, that are taken through the eyes of artists, professional and amateur. This kind of space connects, emerge, and dwell in the social network world, which might appear in form of Facebook, Instagram, or Blogs. Private space and art space merge and spread into the virtual world in borderless state. Sometimes they are presented in form of personal journal and sometimes they are presented in order to strengthen the creator’s artistic image. Art is rooted and shone abundantly in the virtual world, and at the same time, it also creates another self in this virtual world.

LIKE พรมแดน : GlobaLIKEzation intends to unfold the state of non-border and prefer-border by using Instagram - a virtual space to invite people to create, search, share and collect photos - seen as art works, and move them into the real space of this exhibition. Together in this space, we invited artist to express their views on this “borderless” state found in both virtual world and real world.

When original photos or artworks have been copied again and again through social network, as part of non-border and prefer border state, it is questioning whether the originality has been reduced into a kind of media for one self only.


Like พรมแดน #globaLIKEzation

พื้นที่เสมือนจริงถูกนำ�มาใช้เป็นที่รองรับผลงานศิลปะ(ภาพ)จากเหล่า บรรดาศิลปิน ทั้งมืออาชีพ เเละมือสมัครเล่น ซึ่งได้เชื่อมต่อกันผ่าน การไหลผ่านเเละอาศัยอยู่บนโลกโซเชียลเน็ตเวิร์กอย่างมากมาย บาง คนมีตัวตนใน เฟสบุ๊ค ( Facebook) อินสตาเเกรม (Instagram) หรือบล็อก ( Blog ) ต่างๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงพื้นที่ส่วนตัวเเละ พื้นที่ทางศิลปะที่ได้กระจายตัวออกมาอยู่ในโลกเสมือนจริงได้อย่าง ไร้พรมเเดน บางคนอาจนำ�เสนอเป็นเสมือนบทบันทึก บางคนนำ� เสนอเพื่อสร้างตัวตนของความเป็นศิลปิน อย่างไรก็ตามความเป็น ศิลปะได้ฝังรากเเละฉายภาพอย่างมากมายในโลกเสมือนจริง และ ขณะเดียวกันภาพดังกล่าวได้สร้างตัวตน และพรมเเดนสมมุติขึ้นมา ได้อย่างน่าสนใจ LIKE พรมเเดน : GlobaLIKEzation จึงนำ�ประเด็นของสิ่งที่เกิด ขึ้นในโลกโซเชียลเน็ตเวิร์กมาร้อยเรียงเรื่องราวเสียใหม่ พร้อมทัง้ นำ� เสนอภาพของปรากฏการณ์หวงเเหนพรมเเดนเเละไร้พรมเเดนที่ซ้อนทับ กันอยู่ให้ออกมาเป็นรูปธรรม โดยเชื้อเชิญบุคคลทั่วไปที่เป็นเจ้าของ พื้นที่เสมือนจริงของตนเองใน Instagram มาร่วมกันกระจาย สืบเสาะ และสร้างสรรค์ภาพที่เป็นเสมือนผลงานศิลปะให้เข้ามาอยู่ ในพื้นที่จริงในนิทรรศการนี้ พร้อมทั้งเชื้อเชิญศิลปินในโลกจริงให้ ถ่ายทอดมุมมองจากสภาวการณ์ไร้พรมแดนที่เป็นอยู่ทั้งในโลกจริง และโลกเสมือนจริงผ่านสื่อสร้างสรรค์ทางศิลปะ การซ้อนทับที่เกิดขึ้นนี้อาจส่งผลให้ผลงานศิลปะหรือภาพต่างๆที่ มีความเป็นต้นฉบับได้ถูก copy ครั้งเเล้วครั้งเล่าผ่านสื่อออนไลน์ สุดท้าย ความเป็นต้นฉบับจะถูกลดทอนให้กลายเป็นเพียงสื่อเฉพาะ ตัวตนหรือไม่











Guest Artists

Apichat Yimyong อภิชาติ ยิ้มย่อง “ ไม่มีอะไรขีดกั้นแบ่งเขตเรามาตั้งแต่เริ่มเดิมทีอยู่แล้ว “ แดนดินของเธอ แดนดินของฉัน เป็นดินแดนเดียวกับพระเป็นเจ้า ที่อ้างตัวว่าสร้างโลก? ขีดเส้นที่มองไม่เห็นระหว่างเธอและฉัน ให้แบ่งแยกและแตกต่างกันมากขึ้นทุกที “จนไม่มีใครอยากจะอยู่ร่วมกับใคร” นอกจากการเดินทางเท่านั้น


Endless journey When I stepped out of home,I was wandering in a desolate land dreaming that it would last forever. Step over the edge of the door, suddenly lost so far from this world. I find the magic in every place I travel to. Anonymous borders “ Time “ there was no answer. The moon and the sun, They never discuss together Dark and light to greet me. and a new land I can travel to. All these are good companions. But it is regrettable that it could only be a dream. An illusion that I create in the land that I have never travel People like to dream and yearn for a journey So do I But do they know that there are dreams that they could never travel to. A Dream of eternal journey and perpetuity. Boundaries, where are they? Even now, will you realise that there is something hidden inside your freedom. You might not know.

Have you ever imagined that? Although only a step forward, one step wrong the whole world would collapse on you.












Guest Artists

vedio installation

Siwakorn

Tesabum ศิวกร เทศะบำ�รุง

One Second Process ในการบันทึกภาพด้วยกล้องฟิล์มแบบเก่า การจะได้ภาพๆหนึ่งมา นั้นจำ�เป็นต้องใช้ระยะเวลาในการผ่านกระบวนการต่างๆหลังการ ถ่ายมาแล้ว ตั้งแต่การล้างฟิล์ม การอัดขยายรูปด้วยเครื่องฉาย แสง จึงจะได้เห็นสิ่งที่เราบันทึกมาว่ามีหน้าตาออกมาเป็นอย่างไร แต่ พอเทคโนโลยีต่างๆเริ่มพัฒนามากขึ้น ช่วงเวลาเหล่านั้นก็เริ่มค่อยๆ ถูกลดทอนให้สั้นลงไป ในยุคดิจิตอลที่ใช้เวลาแค่เพียงไม่กี่วินาทีก็ สามารถเห็นรูปภาพที่เพิ่งกดบันทึกไปได้ เราเลยเชื่อว่าสิ่งที่สูญหาย ไประหว่างนั้นมันไม่ใช่แค่กระบวนการเพียงอย่างเดียว แต่รวมไปถึง สเน่ห์หรือความรู้สึกและคุณค่าของผลลัพธ์ของมันเอง งานชิ้นนี้จึง เป็นเหมือนการย้อนกลับไปจำ�ลองความรู้สึกของช่วงเวลาเปลี่ยนผ่าน ของเทคโนโลยีการถ่ายภาพในความทรงจำ�วัยเด็กของเราซึ่งเติบโตมา ในยุคปลายของอนาล็อคไปสู่ระบบดิจิตอล ผ่านการบันทึกและย่นย่อ กระบวนการอัดขยายรูปแบบดั้งเดิมด้วยสื่อวิดีโอ





























Guest Artists

Photo

Alongkorn

Sriprasert อลงกรณ์ ศรีประเสริฐ

Nothing project ผลงานชุดนี้นำ�เสนอช่วงเวลาหลายๆช่วงในชีวิตที่ข้าพเจ้า รู้สึกผูกพัน ต่างกรรมต่างวาระกันไป เมื่อเราหวนนึกถึงและ กลับไปสมผัสกับภาพเหล่านั้นอีกครั้ง มันอาจช่วยย้ำ�ให้ภาพ อดีตในความทรงจำ�ชัดเจนขึ้นก็จริง หาก ณ วันนี้ หน้าตา ของมันกลับต่างออกไป เป็นความเปลี่ยนแปลงอันเป็นผล จากกาลเวลาบางพื้นที่ถูกยกเลิกทำ�การ บางพื้นที่กำ�ลังจะถูก รื้อถอนทำ�ลาย ความผูกพันที่เคยมีกับพื้นที่นั้นๆกำ�ลังจะหมด ไปอย่างน่าเสียดาย แต่ถ้าคิดในแง่ของหลักความจริง ก่อน ที่เราจะได้เข้าไปมีส่วนร่วมกับที่เหล่านั้น ตัวมันก็ไม่เคยมีอยู่ ก่อนเช่นกัน การโหยหาอดีต เกิดต่อเมื่อคนเรารู้สึกเหนื่อยล้าหรือกดดัน จากสังคมรอบข้าง การได้หวนกลับไปสัมผัสสิ่งที่ตนเองเคย

ผูกพันอีกครั้ง เหมือนเป็นการหลีกหนีจากความจริงของ ปัจจุบัน หากเราโหยหาอย่างพอเหมาะพอดี ก็จะเป็นการ เยียวยาความรู้สึกนั้น แต่ถ้าความต้องการมากจนเป็นการ ยึดติด ทางการแพทย์จัดว่าเป็นโรคชนิดหนึ่ง จากที่กล่าวไปนั้น ข้าพเจ้าเลือกกระบวนการทางการถ่าย ภาพมาเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดแนวความคิด เพราะ ภาษาของภาพถ่าย คือการบันทึกช่วงเวลาหนึ่ง การถ่าย รูปที่แสงพอดีกับความไวชัตเตอร์ ก็จะได้ภาพที่สมบูรณ์ หากแต่การถ่ายรูปที่ตั้งระยะเวลามากเกินไป ก็จะทำ�ให้บาง ส่วนของภาพหายไปเปรียบได้กับความทรงจำ�ที่กำ�ลังค่อยๆ เลือนไป















Guest Artists

Interactive drawing

Phansa

Buddharaksa พรรษา พุทธรักษา “Choose Shoot”

เรื่องราวมากมายหลายทิศทางในยุคของการสื่อสาร ผ่านข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ต่างๆนานา ในโลกออนไลน์ปัจจุบัน การแสดงออกของผู้คน ภายใต้วัฒนธรรมการจ้องมอง(Gaze) ที่เป็นทั้ง ผู้สังเกตการณ์และผู้ถูกสังเกตการณ์ในเวลาเดียวกัน ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าการสื่อสารในทุกวันนี้มนุษย์สามารถ สร้างมุมมองทั้งยังกำ�หนดทิศทางในการส่งสารและ รับสารได้ด้วยตนเองอย่างหลากหลาย สาระดังกล่าว นี้เป็นต้นความคิดในการสร้างผลงานศิลปะแบบมีส่วน ร่วมด้วยการกำ�หนดภาพลักษณ์ของรูปร่างแผนที่บน เปลือกโลกโดยมีนยั ยะถึงการติดต่อสือ่ สารของมนุษย์ ผ่านสื่อทางศิลปะวาดเส้นไปสู่การสร้างพรมแดน ทางความคิดให้ผู้ชมสามารถตีความผลงานจากการ ปฏิสัมพันธ์ด้วยการปักปันเขตแดนได้ด้วยตนเอง















Short Film

สถานะ, 2556 [STATUS, 2013] (18 min.) ฉันทนา ทิพย์ประชาติ Chantana Tiprachart ตั๊กเป็นนิสิตที่ไม่เชื่อในความรู้ที่อาจารย์สอนในห้องเรียน แต่ก็ไม่ยอมถกเถียงและเปลี่ยนกับอาจารย์และเพื่อนๆ ตั๊กชอบเล่นเฟซบุคจึงเอาความเห็นของตัวเองที่แตกต่างจากอาจารย์ และเพื่อนๆ มาพิมพ์เป็นสเตตัส และโพสต์ลงใน เฟซบุคอยู่เสมอ สุดท้ายตั๊กโดนอาจารย์อันเฟรนด์ Take / Know / Low / ยี้, 2555 [Take / Know / Low / Yee, 2012] (15 min.) ทิพย์วรรณ นรินทร Tippawan Narintorn Take / Know / Low / ยี้ เล่าเรื่องผ่านสองพี่น้องอาอีซะห์และอามีนะกลับบ้านเร็วกว่าปกติเพราะครูประชุม ทั้งสองใช้เวลาต่างกันไปพี่สาว (อาอีซะห์) ใช้อินเตอร์เนตท่องไปในโลกไร้พรมแดน ส่วนน้อง (อามีนะ) ช่วยแม่ทำ�งาน บ้าน ทั้งสองอยู่บ้านเดียวกัน แต่กลับมีพื้นที่ชีวิตที่ต่างคนไม่ได้มีส่วนร่วมซึ่งกันและกัน

ป่าตั๊กแตน, 2556 [Prt_Fild07, 2013] (25 min.) พีรดล อมรินทร์ Peeradon Amarin ชาติ เด็กมัธยมต้น ที่ถูกกลั่นแกล้งซ้ำ�ซาก ได้สร้างความสัมพันธ์กับตาล เพื่อนหญิงร่วมโรงเรียน ซึ่งพบเจอกันในโลก เสมือนแห่งหนึ่งความสัมพันธ์ที่พัฒนาในโลกเสมือน และความไม่มีตัวตนในโรงเรียนยิ่งผลักให้ชาติเข้าไปรู้จักและพบเจอ ความซับซ้อนของความสัมพันธ์ระหว่าง เขา ตาล และป้าของตาล ซึ่งเป็นหญิงวัยกลางคนที่หลบหนีจากโลกความจริง เช่นเดียวกับเขา Deleted, 2556 [Deleted, 2013] (17.06 min. ) นิทรรศ สินวัฒนกุล Nitaz Sinwattanakul “นิค” กำ�ลังจะเริ่มต้นชีวิตใหม่หลังจากที่ “พัฒน์” สามีเก่าของเธอเสียชีวิตไปเมื่อหลายปีก่อน แต่ยิ่งนิคพยายามลบ ความทรงจำ�เกี่ยวกับพัฒน์มากเท่าไหร่ ความทรงจำ�เหล่านั้นกลับตามมาหลอกหลอนเธอมากขึ้นเท่านั้น อาณาจักรใจ, 2556 [Endless Realm, 2013 ] (16.22 min.) เอกลักษณ์ มาลีทิพย์วรรณ Eakalak Maleetipawan นายทหารและชาวบ้านพบกันในป่า ทั้งสองต้องเหยียบกับระเบิดตายอย่างน่าสงสาร Controller ตอนที่ 2/3, 2556 [2013] (22.31 mins) Yingsiwat Yamolyong ยิ่งศิวัช ยมลยง หนึ่งพยายามเก็บเลเวลทั้งในเกมส์และโลกความจริง อวสานโลกสวย, 2556 [2013] (37 min. ) ปัญญ์ หอมชื่น, อรอุษา ดอนไสว Pun Homcheun, Onusa Donsawai โลกไม่สวย แต่กูสวย มั่นใจว่าคนไทยเกิน 1 ล้านคนเกลียดเมธาวี, 2553 [2010] (34 min.) นวพล ธำ�รงรัตนฤทธิ์ Nawapol Thamrongrattanarit เคยไหมที่คุณเกลียดขี้หน้าใครซักคน โดยที่คุณไม่เคยสัมผัสตัวตนของเขาเลย

Film

36, 2555 [2012] (68 mis) นวพล ธำ�รงรัตนฤทธิ์ Nawapol Thamrongrattanarit ทรายเป็นคนหาสถานที่ถ่ายทำ�ภาพยนตร์ อุ้มเป็นฝ่ายกำ�กับศิลป์ ดูแลฉากในกองถ่าย ทั้งสองคนทำ�งานที่บริษัทเดียวกันในช่วงระยะเวลาหนึ่ง สองปีต่อมาทรายยังเป็นคนหาสถานที่ถ่ายทำ�ภาพยนตร์เช่นเดิม สิ่งที่ต่างไปคืออุ้ม และไฟล์ต่างๆ ในฮาร์ดดิสก์ของทราย คนบางคนผ่านเข้ามาในชีวิตเราแค่ช่วงระยะเวลาสั้นๆ ถ้าเราไม่มีสิ่งเตือนความจำ� เราจะยังจำ�เขาคนนั้นได้หรือเปล่า ถ้าเราไม่เห็น เราจะจำ�ได้ไหม


Guest Artists Apichat Yimyong Siwakorn Tesabumrong Alongkorn Sriprasert Phansa Buddharaksa

Curator Arts Centre Slipakorn University

Coordinator Soifa Saenkhamkon

Graphic Design Saruda Suansa-ard

*Special Thanks All instagram users Our Facebook fan page Non-Touch Brahmse and every kindly friends.


ORGANIZED BY

GLASS HOUSE ART PROJECT SUPPORTED BY




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.