1
THE 14TH THAI ART PROJECT
2
3
4
/ Preface คำ�นำ� /
5
โครงการศิลปกรรมไทยเป็นโครงการศิลปกรรมที่จัดมาอย่างต่อเนื่องเป็นประจําทุกปี โครงการนี้มุ่งนําเสนองานศิลปกรรมร่วมสมัยในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นการแลกเปลี่ยนและเผยแพร่ ในระดับสากล ไม่ว่าจะเป็นโครงการศิลปะเชิงปฏิบัติการหรือโครงการนิทรรศการระหว่าง ศิลปินไทยและศิลปินต่างชาติ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างศิลปิน นักศึกษา และผู้ชม ในครั้งนี้ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้นําผลงานภาพถ่ายของศิลปินภาพถ่ายของไทย และสวิตเซอร์แลนด์มาจัดแสดง โดยศิลปินทั้งสองฝ่ายล้วนมีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ หลังเสร็จสิ้นนิทรรศการในกรุงเทพฯแล้ว นิทรรศการนี้จะสัญจรไปยัง หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ต่อไป หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอขอบคุณสถานเอกอัครราชฑูตสวิสเซอร์แลนด์ ประจําประเทศไทย และ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มา ณ โอกาสนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะขยายความร่วมมือต่อไปในอนาคต
ผู้อํานวยการ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร
6
The Thai Art Project is a continuing project of the Art Centre, Silpakorn University that aims to promote various contemporary art forms through international exchange activities between Thai artists and foreign artists, either in form of art workshop or art exhibition. It is to encourage contemporary art learning and understanding between artists, students, and audiences. This year, the Art Centre, Silpakorn University brought together works from prominent photographers of Thailand and Switzerland to exhibit at our main gallery in Bangkok. The exhibition will travel to Chiangmai University Art Center in Chiangmai province afterwards. We would like to express our sincere thanks to the Embassy of Switzerland in Thailand and Chiangmai University Art Center, Chiangmai for the support. We do hope that this exhibition will strengthen our relationship for future collaboration.
Director The Art Centre, Silpakorn University
7
8
/ Exhibition Statement เกี่ยวกับนิทรรศการ /
9
ความทรงจำ� ... หลายครั้งเราสามารถที่จะจดจำ�บางสิ่งที่ต้องการจดจำ�ได้ดี และลืมเลือนความทรงจำ�ที่ไม่ต้องการได้ แต่ในประสบการณ์จริงของใคร หลายๆ คน กลับเเตกต่างออกไป สิง่ ทีค่ วรจะลืมกลับจดจำ� และสิง่ ทีอ่ ยากคำ�นึงถึง กลับลืมเลือน นี่คือคำ�กล่าวที่ชัดเจนที่สุดในนิทรรศการภาพถ่าย “อยากลืมกลับจำ� อยากจำ�กลับลืม [un] forgotten” ของ เล็ก เกียรติศิริขจร, สเตฟานี บอร์คาร์ และนิโคลา เมโทร ที่พูดถึงประเด็นเรื่องความทรงจำ� ที่มิได้เป็นเรื่องส่วนตัว หากเเต่เป็นความทรงจำ�ร่วมกับสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเรา นิทรรศการในครั้งนี้เป็นการโคจรมาพบกันระหว่างศิลปินภาพถ่ายจาก คนละซีกโลก คนหนึ่งเป็นคนไทยที่ไปศึกษาต่อยังซีกโลกตะวันตก อีกฝ่ายหนึ่ง เป็นคนในเเถบซีกโลกตะวันตกที่พำ�นักอยู่ในประเทศไทย การทำ�งานของศิลปิน ภาพถ่ายทั้งสองนี้ตั้งอยู่บนฐานความคิดเรื่องประสบการณ์ร่วมกับสังคมที่ว่า ด้วยความจริงที่ทำ�ให้กลายเป็นความทรงจำ� (ที่เจ็บปวด) ในปี 2554 ประเทศไทยได้ประสบกับภาวะวิบัติทางธรรมชาติ (ที่ผสานปนเปกับ ภาวะการเมือง) เมื่อเกิดน้ำ�ท่วมใหญ่ในหลายๆจังหวัด เเละโดยเฉพาะกรุงเทพฯ ที่เป็นเมืองหัวใจของประเทศไทย ความเจริญอย่างไม่เป็นระเบียบในโลก ทุนนิยมเสรีทำ�ให้เมืองหลวงของไทยเติบโตเเละขยายออกไปอย่างผิดหูผิดตา ความเจริญที่มากับความไม่พร้อมในหลายๆด้านทำ�ให้เมื่อเกิดภัยพิบัติ ความพินาศจึงมาเยือน เมื่อครั้งนั้น เล็ก เกียรติศิริขจร ได้บันทึกภาพเเห่งความเจริญที่พินาศไว้ด้วย ภาพถ่ายที่เรียบเงียบสงบ ราวกับชีวิตที่เคยมีลมหายใจอย่างรุนเเรงได้หยุด หายใจไปชั่วขณะ เมืองหลวงที่ก่อนเคยวุ่นวายเหลือเพียงเเค่ภาพ 30% ของ ด้านบนของวัตถุ ส่วนด้านล่างนั้นหลงเหลือเพียงระดับน้ำ�ที่สูงจนเเทบไม่เห็น พื้นดิน ในผลงานนั้นเเม้จะเป็นเพียงเเค่การบันทึกภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในช่วงเวลานั้น เเต่ในรายละเอียดของภาพกลับเเฝงลึกไปด้วยสาระที่เจ็บเเสบ ที่เกิดขึ้นกับบ้านเมืองเราทั้งจากสาเหตุของการคอรัปชั่น ผลประโยชน์ ทางการเมือง ทนุนิยม รวมทั้งเสียงลมหายใจที่เเผ่วเบาของสิ่งมีชีวิตที่ ลอยคออยู่ ณ ที่นั้นๆ ภาพถ่ายที่ดูเหมือนปราศจากชีวิตนั้นกลับมีสิ่งที่เรียกว่า ความหวังที่จะกลับมามีชีวิตอย่างเดิม เเละความปรารถนาที่จะให้ความทรงจำ� ที่เลวร้ายต่างๆ นี้ผ่านพ้นไป สุดท้ายแล้ว ถึงระดับน้ำ�จะลดผ่านและแห้งเหือดไป เเต่คราบน้ำ�ที่ยังฝังลึกในจิตใจก็ยังคงยากที่จะลืมเลือน 10
สำ�หรับสเตฟานี บอร์คาร์ และนิโคลา เมโทร ศิลปินคู่ชาวสวิสเซอร์เเลนด์ ที่พำ�นักอยู่ในไทยนั้นมีความสนใจในบ้านพักฟื้นผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อม (อัลไซเมอร์) แห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ บ้านพักแห่งนี้ก่อตั้งโดยชายชาวสวิส ซึ่งมีบุคคลในครอบครัวที่ต้องเผชิญโรคนี้ ผู้ป่วยที่อาศัยอยู่ในบ้านพักแห่งนี้ ล้วนเป็นผู้สูงอายุที่มีปัญหาเรื่องความทรงจำ�ในระดับต่างๆ กัน เขาเหล่านั้น ถูกลูกหลานส่งมาจากประเทศบ้านเกิดเพื่อมาพำ�นักอยู่ที่นี่ภายใต้การดูแล อย่างใกล้ชิดจากผู้ดูแลชาวไทย ที่ดูแลผู้ป่วยราวกับบุคคลในครอบครัว ภาพความสลดเศร้าของผู้ป่วย สลับกับภาพความเอื้ออาทรของ การพยาบาลดูแล ถูกถ่ายทอดผ่านสายตาของศิลปินชาวสวิสเซอร์เเลนด์ ทีด่ เู หมือนจะเป็นการบันทึกวิถชี วี ติ ประจำ�วันง่ายๆ ไม่ซบั ซ้อน หากเเต่เรือ่ งราว ทีภ่ าพได้จบั ไว้เพียงชัว่ ขณะนัน้ กลับกลายเป็นอดีตโดยสมบูรณ์เเบบของผูป้ ว่ ย ที่ซึ่งความทรงจำ�นั้นได้จางหายลงในทุกๆ วัน เวลาได้ผ่านไปอย่างเงียบสงบ ในบ้านพักดังกล่าว ร่องรอยเหี่ยวย่นได้เพิ่มขึ้นทุกวันโดยที่ปราศจาก อดีต ปัจจุบัน เเละความทรงจำ� ถึงเเม้ในจิตใจลึกๆ ของเขาเหล่านั้น อยากที่จะจดจำ�สิ่งต่างๆ ในอดีตมากมายเพียงใด นิทรรศการนี้จึงเป็นการฉายภาพปรากฏการณ์หนึ่งของความทรงจำ� ทีเ่ เฝงด้วยนัยคูต่ รงข้ามทีว่ า่ ด้วยการ “อยากลืมกลับจำ�” และ ”อยากจำ�กลับลืม” ภาพที่ถ่ายทอดออกมานั้นเป็นเสมือนการบันทึกเรื่องราวจริงที่เกิดขึ้นในสังคม เมืองที่กำ�ลังเจริญอย่างไม่หยุดหย่อน สภาวะดังกล่าวได้สร้างความทรงจำ�ใหม่ พร้อมทั้งสร้างกลไกในการลืมเลือนความทรงจำ�ด้วยเช่นกัน
กฤษฎา ดุษฎีวนิช, ภัณฑารักษ์
11
Memory… We often memorize what we would like to remember and forget unwanted memory. In real life, actually, of what should not have been reminded was stuck while what should have been memorized was forgotten. This might be the most appropriate description for this photo exhibition “[un] forgotten” by Lek Kiatsirikajorn, Stephanie Borcard and Nicolas Metraux who aimed to present aspects about memory which does not belong to them, but communally associates with our surroundings. This exhibition is based on the belief in (painful) social experiences, which express some facts. The photographers are from different parts of the world—one is the Thai who studied abroad and the other is a couple of foreigners residing in Thailand. In 2011 Thailand faced the natural disaster, along with political issues. Flood devastated many provinces including Bangkok, the capital. Civilization without direction brought by capitalism led Bangkok to peculiar growth and expansion. When the flood, punishment by nature, came, tragedy became the conclusion. Lek Kiatsirikajorn kept all the devastation in form of photographs. The real conditions of an agitating capital became the substance, which could survive for 30%. In other words, the rest proportion was unable to survive due to the flood. Despite the fact that they are just photographs, they truly portray sorrow caused by political corruption and benefits. The breath of the survivor could be heard from the photos. Hope and wish might be the only factors during such torturing period. Flood finally became the painful past; however, stain still last in the memory.
12
Stephanie Borcard and Nicolas Metraux are the Swiss couple who are residing in Thailand. They have interests in a nursing home for patients with Alzeimer in Chiangmai, founded by a Swiss guy whose family member also suffered from this disease. All residents are foreign elderly who face problems of memory loss at different levels. These patients all were led here by the members of their family into the warm hands of local staff, who took very good care of them as if they were relatives. Grief and mercy were paradoxically portrayed through the eyes of the photographers. These daily acts are recorded, just like a simple diary. What have been recorded; on the contrary, have become a complete past for these patients, whose memories are now fading away. As the time goes by, wrinkles on their faces seem to replace their past, present, and also memory, day by day. Hence, this exhibition reflects the opposition between “the wish to forget but remember” and “the wish to remember but forget”. These photos are to reflect the facts of what is happening in big cities, which has not only awoken the new memory but also created a method to forget it.
Kritsada Duchsadeevanic, curator
13
นิทรรศการ [un] forgotten อยากลืมกลับจำ� อยากจำ�กลับลืม โดย เล็ก เกียรติศิริขจร, สเตฟานี บอร์คาร์ และนิโคลา เมโทร
15 มกราคม - 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
ภัณฑารักษ์ : กฤษฎา ดุษฎีวนิช หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้แปล : นันทวรรณ ม่วงใหญ่ ออกแบบสูจิบัตรและกราฟฟิค : ศุภกานต์ วงษ์แก้ว พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ ลิขสิทธิ์ 2015 หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร นิทรรศการสัญจร กันยายน 2558 ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
A Photography Exhibition :[un] forgotten by Lek Kiatsirikajorn, Stephanie Borcard and Nicolas Metraux 15 Janaury - 14 Feabuary 2015 Curator : Kritsada Duchsadeevanich The Art Centre, Silpakorn University Text Translator : Nantawan Muangyai Catalogue and Graphic Designer : Suppakarn Wongkaew Printed in Thailand at Parbpim Copyright 2015 หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร Travel Exhibition September 2015 Chiangmai University Art Center, Chiangmai
14
Supported by
15
16
Flowing Through the Wreckage of Despair by Lek Kiatsirikajorn
17
Flowing Through the Wreckage of Despair โดย เล็ก เกียรติศิริขจร
งานชุด “ Flowing Through the Wreckage of Despair ” ได้ถกู สร้างขึน้ ในปี พ.ศ. 2554 ในช่วงนา้ํ ท่วมครัง้ ใหญ่ทส่ี ดุ ในรอบ 50 ปีของประทศไทย ผลงานชุดนีไ้ ด้แสดงถึงบรรยากาศของกรุงเทพและพืน้ ทีข่ า้ งเคียงทีถ่ กู ทำ�ให้ หยุดชะงักราวกับเป็นอัมพาต รวมไปถึงประชาชนผู้ได้รบั ผลกระทบในช่วง 3 เดือนของภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติครัง้ นี้ นอกจากการบันทึกความเสียหาย ทางกายภาพของเมืองและผูค้ นแล้ว เล็กยังหวังว่างานผลชุดนีจ้ ะเป็นเสมือน เครือ่ งเตือนความจำ�เกีย่ วกับปัญหาความวุน่ วายทางการเมืองทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงเวลาเดียวกันอีกด้วย หนึง่ ในสาเหตุใหญ่ทท่ี �ำ ให้เกิดภัยพิบตั ใิ นครัง้ นีค้ อื การพัฒนาของเขตเมืองในประเทศไทยอย่างไม่เป็นระบบมาอย่างยาวนาน แต่การขาดความเข้าใจในปัญหาและการจัดการทีผ่ ดิ พลาดจากนักการเมือง ผูร้ บั ผิดชอบ ทำ�ให้สถานการ์ณยิง่ ทรุดหนักลง ปัญหาการคอรัปชัน่ และ การเล่นเกมการเมืองระหว่างพรรครัฐบาลและพรรคฝ่ายค้านในช่วงเวลานัน้ ทำ�ให้ประชาชนรูส้ กึ ว่าถูกทอดทิง้ อยูก่ บั ความสิน้ หวัง งานชุดนีท้ �ำ หน้าทีเ่ สมือน ภาพบันทึกประวัตศิ าสตร์อกี หน้าหนึง่ ของประเทศไทยในวันทีน่ กั การเมือง และคณะผูม้ อี �ำ นาจบริหารขาดความสามารถในการแก้ปญ ั หา จึงนำ�มาซึง่ ความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงทัว่ ประเทศ
18
Flowing Through the Wreckage of Despair by Lek Kiatsirikajorn
“ Flowing Through the Wreckage of Despair ” was created in 2011 during the worst flood in 50 years of Thailand’s history. This photo series portrays the paralysed atmosphere of Bangkok and its outskirts together with their inhabitants during the three month-long natural disaster. As well as documenting the actual physical damages of the cities and the people, Lek would also like his photo series to remind us about the political turmoil which occurred simultaneously on the background. One of the greatest causes of this natural disaster was the country’s slow and ineffective urban development. A lack of understanding and mismanagement of those politicians in charge worsened the situation. Corruption and the political power play between the government and the opposition left the country in despair. This photo series functions as a historical visual record of the immense impact misrule had on the country which its inhabitants suffered nationwide.
19
20
Rangsit-Nakhon Nayok Road, Prathumthani
Underneath Don Muang Tollway, Rangsit, Prathumthani
21
22
Don Muang Airport, Don Muang, Bangkok
Don Muang Airport Car Park, Don Muang, Bangkok
23
24
Petrol Station_01, Rangsit, Prathumthani
Sport Stadium in Thammasat University, Rangsit, Prathumthani
25
26
Petrol Station_02, Rangsit, Prathumthani
Arun Amarin Junction, Pinklao, Bangkok
27
28
Truck Driver, Rangsit, Prathumthani
Man Waiting For A Boat, Pinklao, Bangkok
29
30
Two Locals Checking Their Fishnet By A Petrol Station, Nakornluang, Ayutthaya
Pine Hurst Golf and Country Club, Rangsit, Prathumthani
31
32
Perfect Park Village, Bangyai, Nonthaburi
Meaw in Her Living Room, Pruksa Village, Bangyai, Nonthaburi
33
34
Tok in front of His House, Pruksa Village, Bangyai, Nonthaburi
People Looking at The Water Level, Pinklao, Bangkok
35
36
Lake View, Perfect Park Village, Bangyai, Nonthaburi
Light Post, Pruksa Village, Bangyai, Nonthaburi
37
38
Suvarnabhumi Airport Sign, Pinklao, Bangkok
The King on The Ministry of Energy Building, Don Muang, Bangkok
39
40
/ About Artist เกี่ยวกับศิลปิน /
41
ศิลปิน / เล็ก เกียรติศิริขจร / เล็ก เกียรติศริ ขิ จร เกิดในปี พ.ศ. 2520 เค้าจบการศึกษาในสาขาจิตรกรรม จากคณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากรในปี พ.ศ. 2543 ก่อนที่จะเปลี่ยนความสนใจไปศึกษาทางด้านภาพถ่าย เล็กเป็นศิลปินรุ่นเยาว์ที่มีความตั้งใจและน่าจับตามองในยุคนั้น เค้าเดินทางไปศึกษาต่อทางด้าน ภาพถ่ายที่ The Arts Institute at Bournemouth ในประเทศอังกฤษ เล็กกลับมาเมืองไทย ในปี พ.ศ. 2551 หลังจากใช้เวลาเกือบ 7 ปี ให้กับการศึกษาและการทำ�งานเป็นผู้ช่วยช่างภาพ ให้กับช่างภาพแฟชั่นชั้นนำ�ที่นั่น ช่วงเวลาสองปีสุดท้ายในประเทศอังกฤษ เล็กมีความสนใจในงานภาพถ่ายของช่างภาพชื่อดังชาว อเมริกันเป็นอย่างมาก เช่น Walker Evens, Stephen Shore, Joel Sternfeld and Alec Soth วิธีการบันทึกสังคมอเมริกันที่เป็นเอกลักษณ์ในงานของแต่ละคน สร้างแรงบันดาลใจให้เล็ก มองกลับมาที่รากฐานของตัวเค้าเอง การใช้ชีวิตอยู่ในต่างแดนเป็นเวลานานทำ�ให้ทัศนคติ ในการมองสิ่งต่างๆในที่ที่เค้าเคยอยู่เปลี่ยนไป และทำ�ให้เค้าสามารถทำ�งานภาพถ่ายด้วยรูปแบบ ที่เป็นสากลมากขึ้น ในช่วงเวลานี้เล็กเกิดแรงบันดาลใจในการสร้างงานภาพถ่ายที่เกี่ยวข้องกับ สังคมไทยซึ่งเป็นรากฐานของตัวเค้าเอง ปัจจุบัน เล็กใช้ชีวิตและทำ�งานอยู่ในกรุงเทพฯ เค้าแสดงงานภาพถ่ายอย่างสมํ่าเสมอ ทั้งในและต่างประเทศ ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2556 เล็กเป็นหนึ่งในช่างภาพ 20 คนจากทั่วโลก ทีถ่ กู คัดเลือกให้รว่ มโครงการภาพถ่ายชือ่ “The Russian Moment” โครงการนี้ เป็นกิจกรรมหนึง่ ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการประชุมสุดยอดผู้นำ�กลุ่ม G20 ที่เมืองเซนต์ปีเตอร์เบิร์ก ประเทศรัสเซีย งานภาพถ่ายของเค้าชุด ”Restoration from Within” ได้ถูกนำ�ไปแสดงในพิพิธภัณฑ์ The State Russian Museum ร่วมกับงานของช่างภาพที่มีชื่อเสียง เช่น Adam Broomberg & Oliver Chanarin, Pablo Batholomew และ Stanley Green นอกจากนี้ในปี พ.ศ. 2555 เล็กได้รับการคัดเลือกให้รับทุนสนับสนุนในการสร้างงานภาพถ่ายจากพิธภัณฑ์ Quai Branly Museum ในปารีส ประเทศฝรั่งเศส ภาพถ่าย 13 ภาพจาก 22 ภาพ ที่เล็กสร้างขึ้น จากทุนสนับสนุนได้ถูกรวมเข้ากับคอลเล็คชั่นภาพถ่ายของทางพิพิธภัณฑ์อย่างถาวร 42
Artist / Lek Kiatsirikajorn / Born in 1977. Lek Kiatsirikajorn studied painting at Silpakorn University in Bangkok before switching to photography, which interested him with its potential for outreach. He was promising young artist on the Thai arts scene in 2001 when he decided to move to England and study photography at The Arts Institute at Bournemouth. He returned to Thailand in 2008 after spending almost seven years studying and working as a fashion photography assistant in the UK. During his last two years in England, Lek became fascinated with great American documentary photographers such as Walker Evens, Stephen Shore, Joel Sternfeld and Alec Soth. The way they managed to project a strong visual documentation of American society through a personal vision inspired him to look back to his own roots. As an expatriate, he came to think he could understand his home country better than when he lived there. He became aware of aspects of it which he has not seen before, and this enables him to portray it in a more universal way through images of daily life. This new period of his life has been inspiring him to produce photography projects which are directly related to his own society. Lek is now based in Bangkok. He has been exhibiting internationally. In September 2013, He was one of the 20 photographers selected for a photography project called ”The Russian Moment”. The project was in the conjuction with the G20 Summit in St. Petersburg. Lek’s work ”Restoration from Within” was exhibited at The State Russian Museum, together with works from different photographers such as Adam Broomberg and Oliver Chanarin, Pablo Batholomew and Stanley Green. He was also selected by the Quai Branly Museum in Paris for the 2012 photography grant. 13 of 22 images from the series, ”Lost in Paradise” which he produced with the grant were included to the museum’s permanent photography collection.
43
Solo photography exhibitions 2014 “Lost in Paradise”, Katmandu Photo Gallery, Bangkok, Thailand, curated by Manit Sriwanichpoom 2013 “Rhapsodie Suspendue”, Galerie Planete Rouge, Paris, France
44
Selective photography exhibitions 2014 “Organ Vida Photo Festival 2014”, Zegreb, Croatia “Backlight Photo Festival 2014”, Tampere, Finland 2013 “Family”, RMA Institute, Bangkok, Thailand “Local Futures”, He Xiangning Art Museum, Shenzhen, China, curated by Feng Boyi “The Russian Moment” , The State Russian Museum, St. Petersburg, Russia 2012 “Homo Empathicus” Bredaphoto 2012, Breda, Netherlands “Nuova (Arte) Povera” , Osage Art Foundation, Hong Kong, curated by Ark Fongsamut 2011 “Dali International Photo Exhibition”, Dali, China “Photo Phnom Penh 2011”, Phnom Penh, Cambodia, curated by Christian Caujolle “Photoquai Photo Festival”, Paris, France, organised by The Quai Branley Museum, curated by Franoise Huguier “ Wonderland ” , G23 gallery, Bangkok, Thailand, curated by Ark Fongsamut 2010 “2nd Singapore International Photography Festival”, Singapore 2006 “Photographic Portrait Prize 2006”, National Portrait Gallery, London, England 2005 “Peep”, The Association of Photographer Gellery, London, England
45
46
FADING MEMORIES by Stephanie Borcard and Nicolas Metraux
47
FADING MEMORIES โดย สเตฟานี บอร์คาร์ และ นิโคลา เมโทร
ไม่ไกลจากตัวเมืองเชียงใหม่นกั เป็นทีต่ ง้ั ของตำ�บลฟ้าฮ่าม ทีซ่ ง่ึ มาร์ตนิ วูดทลิ ชาวสวิตเซอร์แลนด์ ได้ก่อตั้งศูนย์พยาบาลผู้ป่วยในภาวะสมองเสื่อม (อัลไซเมอร์) และผู้ป่วยที่สูญเสียความทรงจำ� ภายใต้ชื่อ “บ้านกำ�ลังใจ” จุดเริม่ ต้นของศูนย์นล้ี ว้ นมาจากเรือ่ งราวส่วนตัวของ มาร์ตนิ เมือ่ พ่อของเขา กระทำ�อัตวินิบาตกรรมเนื่องจากความเครียดจากอาการป่วยของภรรยา ด้วยโรคอัลไซเมอร์ เขาต้องดูแล มาร์กริท แม่ของเขาตามลำ�พัง แต่เนื่องด้วย ทางประเทศสวิตเซอร์แลนด์ดูเหมือนไม่จูงใจเขาในเรื่องการรักษาแม่ ทั้งเรื่องของระบบและการเงิน เขาจึงไตร่ตรองและตัดสินใจพาแม่มายัง ประเทศไทยเพื่อปรับวิธีการที่จะรักษาแม่ นอกจากนี้ เขายังรู้จักประเทศไทย เป็นอย่างดีเนื่องจากเคยร่วมงานกับ “แพทย์ ไร้พรมแดน” มาก่อน ทุกวันนี้ ที่ศูนย์แห่งนี้มีชาวยุโรปที่เข้ารับการรักษานับสิบคน “ฉันเป็นใคร?” หรือ “คำ�ถามเดิมอีกแล้ว...” ซีคฟริด ชายชราชาวเยอรมัน วัย 78 ไม่คาดหวังต่อคำ�ตอบที่มากกว่าประโยคซ้ำ�ๆ แบบนี้จากไอรีน ภรรยา ของเขาอีกแล้ว อาการป่วยที่เกิดขึ้นกับไอรีนยังคงเป็นทั้งปริศนาและเรื่องยาก สำ�หรับครอบครัว ชีวิตประจำ�วันกว่าห้าสิบปีที่ผ่านมาค่อยๆ เลือนลางจาก ความทรงจำ� จนกระทั่งเลือนหายไปอย่างสิ้นเชิง ไอรีนยังรักษาตัวอยู่ที่นี่ อีกสองสามวันเท่านั้น เพราะ ซีคฟริด ไม่สามารถจะทิ้งเธอไว้ตามลำ�พังที่ เมืองไทยได้ ทั้งคู่จะกลับไปใช้ชีวิตที่เมือง พอตสดัมในเยอรมนี และเขาจะเป็นผู้ดูแลภรรยาของเขาเอง
48
ผู้เข้ารับการรักษาหลายคนพำ�นักอยู่ที่นี่มาเป็นเวลาหลายปีแล้ว บางคนอาจ เพิ่งมาถึง หรืออย่างน้อยที่สุด พวกเขาเข้าใจเช่นนั้น แกรี่ เป็นผู้ป่วยที่มีความ วิตกกังวล เขาจะพูดต่อเนื่องไปเรื่อยๆ ด้วยภาษาที่ไม่สามารถฟังออก ในขณะที่ เบด้า อายุ 58 ปี กลับขังตัวเองอยู่กับความเงียบด้วยการนั่งนิ่งๆ อยู่บนเก้าอี้และจ้องมองไปยังความว่างเปล่า บางครั้งเท่านั้นที่เขาส่งเสียง เกรี้ยวกราดออกมา นอกจากนี้ยังมี รูธ มาร์กริท ซูซี่ เบอร์นาร์ด ฯ โดยที่ แต่ละคนมีอาการป่วยที่เกี่ยวกับความทรงจำ�ในรูปแบบที่แตกต่างกัน สิ่งนี้คือการขังตัวเองหรือไม่? พวกเขาจะรู้สภาพของตัวเองหรือไม่? จะรู้หรือไม่ว่าตัวเขาอยู่ที่ไหน? ตัวเขาเป็นใครกัน? และถ้าหากสิ่งนี้เกิดขึ้นกับพวกเราบ้างเล่า? ความผิดปกติที่แปลกเช่นนี้สร้างความหวาดกลัวให้กับเราเพราะมัน ส่งผลกระทบต่อความเป็นตัวเรา ไม่ว่าจะเป็นจิตใจ การตัดสินใจ หรือความเป็นตัวตน โรคนี้จะกลืนกินทุกสิ่ง รวมถึงความทรงจำ�ในช่วงชีวิต ชีวิตกลับกลายเป็นมืดมัว ทึบตัน ลืมแม้กระทั่งตัวเราเอง มันคือภาวะสิ้นสุดในการดำ�รงอยู่
49
50
Beda has been here for three years. This former 58-year-old engineer is imprisoned in a kind of silence. Sitting on his armchair, he stares at a point in the distance.
51
52
Jenny, 89, sitting in her couch.
Ruth, 74, sits in the living room of her new home. She arrived in Chiang Mai six months ago.
53
54
￟ To look after one’s appearance, against all odds. Jenny, 89, is proud of her nail polish.
In the afternoon heat, all is calm.
55
56
The small and peaceful village of Faham is located five kilometres North of Chiang Mai.
Fon, 34, has been working here for a year. She takes care of Beda with two other attendants, taking turns on a system of three-eight.
57
58
Loulou, 89, arrived here nine years ago. Her weak health forces her to stay in bed most of the time. Her attendant watches over her well being as she requires special attention.
Twice a week, Nut, 42, provides a massage for guests of the Baan Kamlangchay. Bernard, 80, native of Geneva, is the only French- speaking guest.
59
60
Irene, 78, will only spend a few months here as a guest. It is a way to give her husband, Siegfried, a little support. Together, they will return to Potsdam in Germany, where Siegfried will continue to take care of his wife alone.
Suzie, 65, has painted numerous calendars, which were sold throughout Switzerland. Today, the disease impedes her to paint. She rarely speaks, withdrawn into herself.
61
62
Geri, 65, has a constant need to move and to talk. He expresses himself in an unintelligible language. Unlike in Switzerland, here no Sedative is administered to the residents.
Alzheimer’s disease devours everything, engulfing with it the memories of a lifetime.
63
64
Philippina, 73, has been staying in the centre for the last six years. She spends her afternoons lying on the couch.
Nightgown in the rays of the sun.
65
66
At dusk, residents and caretakers meet for a relaxing moment on one of the private terraces.
Geri and Nong after a ball game. Despite the language barrier, the exchanges between the patients and the caretakers are sincere.
67
68
ďżź A short breather. Fifty employees, mostly women, are working in the centre. Patients are supported 24 hours a day by three caregivers on a three-eight system.
A Buddha statue watches over the park of the Baan Kamlangchay.
69
70
Geri’s bed. The centre provides each resident his own room: A way to make the patients feel home, away from home..
Elizabeth is 92 years old and still loves to feel pretty: Beautiful perm and elegant flower shirt. Despite senile dementia, she remains a perfect polyglot, speaking German, English and French.
71
72
/ About Artist เกี่ยวกับศิลปิน /
73
ศิลปิน / สเตฟานี บอร์คาร์ และ นิโคลา เมโทร / สเตฟานี บอร์คาร์ และนิโคลา เมโทร เป็นช่างภาพชาวสวิตเซอร์แลนด์ที่พำ�นักในประเทศไทย ทั้งสองทำ�งานส่วนตัว โดยได้รับอิทธิพลจูงใจจากการเดินทางและการแสดงออกทางด้าน ความคิดในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวรรณคดี งานศิลปะ และภาพยนตร์ พวกเขาสนใจที่จะสำ�รวจหาพรมแดนเกี่ยวกับประเด็นทางสังคม งานล่าสุดของพวกเขาเกี่ยวข้อง กับความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกและสังคม ซึ่งสิ่งเหล่านั้นทำ�ให้พวกเขาเข้าใจโลกมากขึ้น และยังนำ� ไปสู่การตั้งคำ�ถามว่าพวกเขาคือใคร ความสงสัยใคร่รู้และความหลงใหลในบุคคลอื่นๆ ชักนำ�พวกเขาไปยังประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชีย และล่าสุดคือบอสเนียและเฮอร์เซโกวินา หนังสือที่ตีพิมพ์โดยสำ�นักพิมพ์ BENTELI ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นโครงการระยะยาวล่าสุดของพวกเขาเกี่ยวกับคาบสมุทรบอลข่าน ซึ่งจะเปิดตัวในปี 2015 ลูกค้าของพวกเขาได้แก่ The Washington Post, NZZ am Sonntag, Die Zeit, L’Hebdo, South China Morning Post Magazine, Swissinfo
74
Artist / Stephanie Borcard and Nicolas Metraux / Stephanie Borcard and Nicolas Metraux are two Swiss photographers based in Bangkok, Thailand. They work on personal projects, influenced by their travels and by different forms of expression such as literature, art and cinema. They are interested in exploring the margins of social issues. Their recent series focus on the relation between individual and society, helping them not only to have a better understanding of the world we are living in, but also to question who they are. Curiosity and passion for others led them to different countries around Asia and most recently to Bosnia-and-Herzegovina. A book published by BENTELI Publishers, Switzerland, will finalize their long-term project in the Balkans and will be released in 2015. Their clients include: The Washington Post, NZZ am Sonntag, Die Zeit, L’Hebdo, South China Morning Post Magazine, Swissinfo among others.
75
AWARDS AND EXHIBITIONS 2014 Encontros da Imagem, Hope & Faith solo exhibition. Braga, Portugal. Photo Circle Festival solo exhibition. Vilnius, Lithuania. 2013 Featured in the Swiss Press Photo 2013 / art & culture Solo exhibition Ancienne Gare Gallery. Fribourg, Switzerland. Month of Photography, solo exhibition Credo Bonum Gallery. Sofia, Bulgaria. Public screening Obscura Festival. Georgetown, Malaysia. 2012 olo exhibition Espace Forme+Confort. Fribourg, Switzerland. Public screening Espace L Geneva, Switzerland High Distinction Award WORLD PHOTOGRAPHY DAY 2012 PX3, PRIX DE LA PHOTOGRAPHIE PARIS 2012 Honorable Mention; Press – Travel X3 PEOPLE’S CHOICE AWARDS 2012 PRESS PRO – 1st category winner PRESS PRO – 3rd category winner PRESS PRO – Feature story, Gold medal PRESS PRO – feature story, Silver medal PRESS PRO – Travel/Tourism, Gold medal
76
2010 VISA POUR L’IMAGE PERPIGNAN “Coup de coeur” ANI (Association Nationale des Iconographes) IPA, INTERNATIONAL PHOTOGRAPHY AWARDS 2010 Honorable Mention; Editorial – Photo essayLifestyle Honorable Mention; People – Culture Honorable Mention; People – Lifestyle PX3, PRIX DE LA PHOTOGRAPHIE PARIS 2010 3rd place PX3 Photojournalism – Feature Story 3rd place PX3 Photojournalism – Other PJ Honorable Mention PX3, PRIX DE LA PHOTOGRAPHIE PARIS 2010 – People’s Choice Awards 1st Category Winner Photojournalism 1st place Photojournalism – Feature Story 3rd place Photojournalism – Travel / Tourism 2nd place Portraiture – Culture
77
78