2
3
4
ศิลป์ พีระศรี ในการพัฒนาวงการศิลปกรรมร่วมสมัยของไทยมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 และดำ�เนินการอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีการจัด
6
social issues. The art exhibition will be first showcased at the Art and Cultural Center Comemorating the 6th Cycle
7
8
9
10
ศิลปิน ผูม ้ ชี อ ่ื เสียงและเป็นแบบอย่างในการทำ�งานสร้างสรรค์ตอ ่ ศิลปินรุน ่ เยาว์ ในปีนค ้ี ณะกรรมการอำ�นวยการจึงได้ลงมติให้จด ั แสดงผลงานโดย “นางสาว ปานพรรณ ยอดมณี” ศิลปินจากการแสดง
- การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์สัญจรในจังหวัดสงขลาจะสลับการแสดงงานระหว่างสถาบันในทุกปี
11
creativity of young artists, in which this year has come to the 36th . Details and guidelines of this exhibition are :
12
Collection of Works
13
14
ศิ ล ปิ น รั บ เชิ ญ • Guest Artist
15
ประวั ต ิ ศ าสตร์ ศ ิ ล ปะ จั ด แสดงผลงานอย่ า งต่ อ เนื ่ อ งและ
16
The 28th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists Silpa Bhirasri Silver Medal Award Pannaphan Yodmanee “New Avatar” Mixed techniques 200 x 150 cm
การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 28 รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” ปานพรรณ ยอดมณี “อาณาจักรใหม่แห่งโลกอวตาร” เทคนิคผสม 200 x 150 ซม.
17
18
• ผลงานที ่ ไ ด ้ ร ั บ รางวั ล • Award Winning Entries
19
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยม เหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” โดย นางสาวคนัมพร พันธุ์สวัสดิ์ “Dictionary of Life” Silpa Bhirasri Gold Medal Award by Miss Kanampon Puntusawasdi “Dictionary of Life”
20 20
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยม เหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” โดย นางสาวรสา สิทธิการ “ความงามของความตาย” Silpa Bhirasri Gold Medal Award by Miss Rasa Sitthikarn “Beauty of Death”
21 21
รางวัล เกียรตินิยม ยอดเยี ่ ย ม เหรี ย ญทอง “ศิ ล ป์ พี ระศรี” Silpa Bhirasri Gold Medal Award
• Silpa Bhirasri Gold Medal Award •
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยม เหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” นางสาวคนัมพร พันธุ์สวัสดิ์ “Dictionary of Life” ภาพพิมพ์สื่อผสมจัดวาง 200 x 62 x 48 ซม. Silpa Bhirasri Gold Medal Award Miss Kanampon Puntusawasdi “Dictionary of Life” Prints installation 200 x 62 x 48 cm มนุษย์เกิดมาเพื่อค้นหาเป้าหมายในชีวิตของตน เริ่มจากการค้นหาสิ่งหนึ่ง เพื ่ อ นำ � ไปสู ่ อี ก สิ ่ ง หนึ ่ ง เกิ ด เป็ น การเปลี ่ ย นแปลง สั ่ ง สมประสบการณ์ ความดี ความชอบ ความเกลียดชัง ทุกอย่างเรียกว่ากระบวนการคิดที่ไม่ อาจระบุได้อย่างแน่ชัด วันนี้คิดอย่างหนึ่ง พรุ่งนี้คิดอีกอย่างหนึ่งทุกสิ่ง เปลี่ย นแปลงและยื ด หยุ่น ตามสภาวะห้ ว งขณะความคิ ด นั้น ๆเป้ า หมาย ในชีวิตของมนุษย์ทุกคนคือการแสวงหาตนที่เป็นอนันต์ ดั่งเช่นหนังสือที่ อ่านไม่ออก พจนานุกรมที่หาความหมายไม่ได้ แต่สิ่งที่สำ�คัญคือการค้นหา ตนเองต่อไปเป็นการเดินทางชีวิตที่ไม่มีวันสิ้นสุด Everyone was born with an intention to achieve a goal in a lifetime. To find such goal, one may start with one thing that leads to another thing. Consequently, experience, hatred, fondness, goodness was created and accumulated. However, everything is changing as time goes by. People may change his or her mind whenever they want. Searching for self-identity in this case is like reading an unreadable or a meaningless dictionary. Nevertheless, this endless journey is important for everyone.
22
23
• Silpa Bhirasri Gold Medal Award •
รางวัล เกียรตินิยม ยอดเยี ่ ย ม เหรี ย ญทอง “ศิ ล ป์ พี ระศรี” Silpa Bhirasri Gold Medal Award
• Silpa Bhirasri Gold Medal Award •
รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยม เหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” นางสาวรสา สิทธิการ “ความงามของความตาย” ดินสอพองผสมกาวลาเท็กซ์ และกาวร้อน 187 x 174 x 141 ซม. Silpa Bhirasri Gold Medal Award Miss Rasa Sitthikarn “Beauty of Death” White clay with latex and cyanoacrylate glue 187 x 174 x 141 cm
24
The artist was inspired by human’s skeleton that reveals the human body and beautiful death. Most of human bones share mutual construction which is the result of nature. On the other hand, the skeleton of disabled people is different. In real life, the disabled person is sadly regarded as an ugly burden. It is only when the death equally comes; this disability reveals its beauty and becomes special.
25
• Silpa Bhirasri Gold Medal Award •
เนื่องจากสนใจในกระดูกของมนุษย์ที่แสดงถึงสังขารมนุษย์ และความตาย ที่งดงาม ศิลปินได้สังเกตเห็นความเหมือนกันของกระดูกมนุษย์ เพราะ ความปกติของคนเราจึงทำ�ให้กระดูกคล้ายกัน แม้จะไม่ได้อยู่ครอบครัว เดียวกัน โดยเฉพาะเรื่องของกระดูกคนพิการที่แปลก คนพิการในโลกของ เราถูกมองเป็นคนไร้ความสามารถและเปรียบเป็นภาระ บางครั้งความพิการ ของเขายังทำ�ให้ถูกมองเป็นคนที่ดูอัปลักษณ์ น่ากลัว แต่เมื่อความตายมา ถึง ความเสมอภาคเท่าเทียมกัน ความพิการจึงเกิดเป็นความพิเศษ จึงเล็ง เห็นถึงความงามของความพิเศษนั้น
รางวัลเกียรตินิยม ยอดเยี่ยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” Silpa Bhirasri Silver Medal Award
• Silpa Bhirasri Silver Medal Award •
รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” นายคเณศ แสนศรีลา “รถบรรทุก หมายเลข 4” ภาพพิมพ์แกะไม้ 126 x 182 ซม. Silpa Bhirasri Silver Medal Award Mr. Kanest Sansrila “Truck No. 4” Woodcut 126 x 182 cm ด้วยความประทับใจในความงามของรถบรรทุก และภาพบรรยากาศต่าง ๆ ที่ อ ยู่ ใ นขณะนั้ น จึ ง อยากถ่ า ยทอดบรรยากาศอารมณ์ ค วามรู้ สึ ก จาก เหตุ ก ารณ์ น ั ้ น ผ่ า นความประทั บ ใจในรถบรรทุ ก สิ ่ ง ของต่ า ง ๆ ที ่ ร ถ บรรทุ ก อยู ่ ภาพบรรยากาศที ่ เ กิ ด ลั ก ษณะต่ า ง ๆ ของรถบรรทุ ก ซึ ่ ง ภาพเหล่ านี ้ ท ำ � ให้ น ึ ก ถึ ง อาชี พ ของครอบครั ว รวมไปถึ ง ความสามารถ ความอดทนของรถบรรทุกชนิดต่าง ๆ ที่ถึงแม้เก่า แต่ก็ต้องทำ�งาน ซึ่ง เราสามารถรั บ รู้ ไ ด้ จ ากประสาทสั ม ผั ส ทางการมองเห็ น จนทำ � ให้ เ กิ ด อารมณ์ ความรู้สึกและสุนทรียภายในจิตใจ Seeing beauty in truck and its atmosphere, the artist wants to express such impression and feelings which remind him of his family’s work. The truck is regared as a symbol of toughness and durability. All of these moments are obviously seen through the eyes and consequently becomes beauty to its beholder.
26
27
รางวัลเกียรตินิยม ยอดเยี่ยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” Silpa Bhirasri Silver Medal Award
• Silpa Bhirasri Silver Medal Award •
รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” นายธนพล อินทฤทธิ์ “จรัญ 2561 หมายเลข 1” ภาพพิมพ์แกะไม้ 141 x 106 ซม. Silpa Bhirasri Silver Medal Award Mr. Thanapol Intalit “Cha Ran 2018 No. 1” Woodcut 141 x 106 cm แสดงออกถึ ง การเปลี ่ ย นแปลงของสิ ่ ง แวดล้ อ มของเมื อ งหลวง ในช่วงเวลาต่าง ๆ The artwork is to present changes of the capital city in different time.
28
29
รางวัลเกียรตินิยม ยอดเยี่ยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” Silpa Bhirasri Silver Medal Award
รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” นางสาวธนัชชา ลีลางกูร “รูปแห่งกิเลสวัฏฏะ” สีอะครีลิคบนผ้าใบ และวิดีโออาร์ต 178 x 170 ซม.
• Silpa Bhirasri Silver Medal Award •
Silpa Bhirasri Silver Medal Award Miss Thanutcha Leelangkura “Cycle of Sensuality” Acrylic on canvas and video art 178 x 170 cm “หากมนุษย์เป็นเพียงจิตและกายหยาบที่ติดอยู่ในวัฏสงสาร ดังเหมือน ถูกห่อหุ้มไปด้วยเปลือกอันโสมมแล้วเหตุไฉนเล่าจึงไม่กะเทาะเปลือกอัน เต็มไปด้วยกิเลสเหล่านี้ออกมา?” ด้วยแรงบันดาลใจที่ได้จากพระไตรปิฎกในตอนหนึ่งพระพุทธเจ้าได้ตรัส กั บ พราหมณ์ ดั ง พอสรุ ป ใจความได้ ว่ า ลู ก ไก่ ตั ว ใดทำ � ลายกระเปาะฟอง ด้วยปลายเล็บเท้าหรือด้วยจงอยปากออกมาได้โดยสวัสดีกอ ่ น ก็เสมือนเป็น พี่ ใ หญ่ ท่ี ส ามารถทำ � ลายกระเปาะอั น เสมื อ นเป็ น อวิ ช ชาไม่ ต กเป็ น ทาสของกิเลส จึงตีความจากแรงบันดาลใจนี้ หากฟองไข่นั้นคือฟองซึ่งทั้งมนุษย์ เทวดา มาร ซึ่งยังติดอยู่วัฏสงสารล้วนอยู่อาศัย ก็เหมือนเป็นฟองไข่อันเน่าเหม็น ที่เต็มไปด้วยกิเลส จึงถ่ายทอดให้เห็นพฤติกรรมอันเต็มไปด้วยกิเลสของ มวลมนุษย์ ภพภูมิต่าง ๆ รวมไปถึงจินตนาการสร้างตัวละครที่มีอัตลักษณ์ เฉพาะเสมือนเป็นสัตว์ประหลาดที่เกิดจากฟองไข่อันเน่าเหม็นนี้ Being inspired by Tripitaka, the artist focuses on Buddha’s teaching on ignorance. As the story goes, any chicken that hatch itself before the others is like a human who free themselves from ignorance. The artwork presents this teaching through the imaginative characters and composition to remind its viewer.
QR CODE • VIDEO ART
30
• Silpa Bhirasri Silver Medal Award • ภาพจากวิดีโออาร์ต • Screenshots from video
31
รางวัลเกียรตินิยม ยอดเยี่ยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” Silpa Bhirasri Silver Medal Award
• Silpa Bhirasri Silver Medal Award •
รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” นายธีรพล สีอิ่น “เปลี่ยนผ่าน หมายเลข 1” เชื่อมโลหะประกอบวัสดุ 120 x 145 x 117 ซม. Silpa Bhirasri Silver Medal Award Mr. Teerapol Seeain “Transition No. 1” Metal welding and materials 120 x 145 x 117 cm ผู้สร้างสรรค์ได้รับแรงบันดาลใจจากเหตุการณ์ที่สร้างผลกระทบในเชิงลบ ต่ อ สั ง คม การเปลี ่ ย นผ่ า น สั ง คมเกษตรกรรมสู ่ ส ั ง คมอุ ต สาหกรรม จากเดิมที่มนุษย์มีวิถีชีวิตและการดำ�เนินชีวิตที่เรียบง่าย ความเป็นวิถีชีวิต ท้องถิ่นค่อย ๆ เปลี่ยนไป สังคมอุตสาหกรรมรวมไปถึงธรรมชาติที่เคย สวยงาม ความเป็นท้องทุ่ง โคกเนิน ป่าเขา นั้นได้กลายเป็นเพียงแปลงเพาะ ปลูก ปล่องโรงสีที่เข้ามาเป็นสัญลักษณ์ทางภูมิทัศน์แบบใหม่ การทำ�ไร่ ไถนาที่ เ คยเห็ น เป็ น ภาพของคนที่ เ ดิ น ตามสั ต ว์ ตั ว ใหญ่ ก ลั บ กลายเป็ น เครื่องจักรที่วิ่งเล่นอยู่ในท้องทุ่ง จากแรงบันดาลใจข้างต้นผู้สร้างสรรค์ ได้ นำ � เรื่ อ งราวเหตุ ก ารณ์ ม าเป็ น แรงบั น ดาลใจในการสร้ า งสรรค์ ประติมากรรมเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกที่มีต่อเหตุการณ์ดังกล่าว โดยการสร้างสรรค์ผลงานด้วยเทคนิคเชื่อมโลหะประกอบวัสดุล้อรถไถ และรูปทรงมนุษย์เป็นรูปทรงหลักในการสร้างสรรค์ The artist is inspired by events in the society. Agricultural life, simple life, rural way of life and natural resources are disrupted. Industrial has played an important role instead. Forest becomes agricultural fields. Rice mill becomes familiar scenery. Cattleman becomes tractor-truck. This sculpture is to portray such events through materials like human figure and truck wheel.
32
33
รางวัลเกียรตินิยม ยอดเยี่ยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” Silpa Bhirasri Silver Medal Award
• Silpa Bhirasri Silver Medal Award • รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” นางสาวปรัชญา เจริญสุข “ขยะ-สังคม” สื่อผสม 26 x 190 x 146 ซม. Silpa Bhirasri Silver Medal Award Miss Pratchaya Charernsook “Wastrel – People Society” Mixed media 26 x 190 x 146 cm
34
• Silpa Bhirasri Silver Medal Award • ผลงานนำ � เสนอข้ อ เท็ จ จริ ง ด้ า นการเปลี่ ย นแปลงมลภาวะขยะทางทะเล ผ่านรูปแบบศิลปะการจัดวางวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้แล้วทิ้งไปโดยไร้ จิตสำ�นึก มนุษย์กำ�ลังรับผลจากการกระทำ�นั้นร่วมกันโดยต่างก็รู้ตัวดังที่ ผลงานศิลปะชิ้นนี้นำ�เสนอ The artwork portrays the facts of changing marine pollution through an art installation. The installation consisted of man made wastes that were unable to be recycled. Thus, human is now consciously paying the price for nature destruction like in this artwork.
35 35
รางวัลเกียรตินิยม ยอดเยี่ยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” Silpa Bhirasri Silver Medal Award
• Silpa Bhirasri Silver Medal Award •
รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” นายภัทร ทองขจร “สามัญชีวิต หมายเลข 7” วาดเส้นบนกระดาษ 122 x 174 ซม. Silpa Bhirasri Silver Medal Award Mr. Phatthara Thongkajorn “Back to Basic No. 7” Drawing on paper 122 x 174 cm ผลงานนี้สร้างสรรค์ขึ้นโดยมีที่มาและแรงบันดาลใจมาจากสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ สามัญธรรมดาตามธรรมชาติ คือ แมลง ซึ่งสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ นี้ได้สะท้อน ให้เห็นถึงสัจจะแห่งวัฎจักรของชีวิต ดั่งเช่นชีวิตของแมลงเปรียบประหนึ่ง กั บ ชี ว ิ ต ของมนุ ษ ย์ โ ลกธรรมดาทั ่ ว ไป โดยได้ เ ลื อ กใช้ ก ระบวนการ สร้างสรรค์เทคนิคของการวาดเส้นบนกระดาษเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความ เรียบง่ายขั้นพื้นฐานในมุมมองของหนึ่งชีวิตเล็ก ๆ ที่ธรรมดาสามัญ แต่ สะท้อนสัจจะธรรม และมอบพุทธิปัญญาให้แก่ผู้ชมได้ตระหนักถึงสามัญ แห่งชีวิต This drawing is inspired by simple tiny insects. By looking at its life cycle,we learn that we share a similarity of impermanent life. Drawing on paper is a basic art technique that the artist intentionally uses to portray such simplicity.
36
37
รางวัลเกียรตินิยม ยอดเยี่ยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” Silpa Bhirasri Silver Medal Award
• Silpa Bhirasri Silver Medal Award •
รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” นายภานุวัฒน์ อังคะสี “ไม่ใช่เรื่องใหม่ เป็นปรากฏการณ์ที่เราเคยพบผ่าน” ประติมากรรม 72 x 177 x 198 ซม. Silpa Bhirasri Silver Medal Award Mr. Panuwat Angkasee “Nothing new, we have seen this before” Sculpture 72 x 177 x 198 cm ผลงานว่าด้วยความสนใจสถานการณ์ทางการเมืองและประวัติศาสตร์ทาง การเมือง เหตุการณ์อนุสรณ์สถาน ในช่วงอดีตก่อนและหลังการปฏิวัติ พ.ศ.2475 เป็นประวัติศาสตร์ที่ควรศึกษาและเรียนรู้ข้อดีข้อเสียพัฒนาการ ของประชาธิปไตย The sculpture represents the artist’s interest of political and historical movement and monument in 1932 revolution. In his point of view, to learn about democracy and studying history is necessary.
38
39 39
• Silpa Bhirasri Silver Medal Award •
รางวัลเกียรตินิยม ยอดเยี่ยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” Silpa Bhirasri Silver Medal Award
• Silpa Bhirasri Silver Medal Award • รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” นางสาวอรุณกมล ทองมอญ “ศิลปวัตถุ พ.ศ. 2562” สื่อผสม (การพับกระดาษโอริกามิ วัตถุ และวัสดุ) 70 x 181 x 130 ซม. Silpa Bhirasri Silver Medal Award Miss Aroonkamon Thongmorn “Art Objects 2019” Mixed media (origami, objects and materials) 70 x 181 x 130 cm
40 38 40
• Silpa Bhirasri Silver Medal Award • วัตถุสิ่งของที่มนุษย์สร้างขึ้นบ่งบอกการมีตัวตนของยุคสมัย มนุษย์นํามา ใช้ในการกำ�หนดแต่ละยุคสมัยของประวัติศาสตร์ เกิดการพิสูจน์หลักฐาน คาดการณ์ความเป็นมาในอดีต เพื่อเชื่อมโยง เติมเต็มเรื่องราวจากสิ่งที่ ค้นพบ กายภาพของวัตถุ แสดงให้เห็นถึงเวลาในตัวมันเอง ผู้สร้างสรรค์ จึงนำ�วัตถุที่หมดอายุการใช้งาน มาสร้างสรรค์ในภาษาของศิลปะสื่อผสม ในบริบทใหม่ จากวัตถุเดิมทีม ่ ค ี วามหมายอย่างหนึง่ ไปสูร่ ป ู ทรงนามธรรม ที่ให้สาระทางวัตถุแตกต่างไปจากหน้าที่เดิม ด้วยสัญชาตญาณการเติม เต็มด้วยจินตนาการจิตใต้สำ�นึกและประสบการณ์ การซึมซับวิธีการดำ�รง ชีวต ิ ความเปลีย ่ นแปลง และความเป็นไปของสังคมในช่วงชีวต ิ จนถึงปัจจุบน ั Manmade objects are evidenes of each periodand human existence. These objects generate many historical assumptions and possibilities to fulfill stories in the past. The artist applies useless pieces to create a new meaning in different context revealing the idea of changes in different time. 41 41
• Special Awards • รางวัลสนับสนุน นางสาวกัณฐณัฏฐ์ ณปฐมปณพัณณ์ “จดหมายจาก 1942 หมายเลข 3” ภาพพิมพ์ดิจิตอล และภาพพิมพ์ตะแกรงไหม 74 x 102 ซม. Special Awards Miss Kantanat Napatompanapan “Letter from 1942 No. 3” Digital print and silkscreen 74 x 102 cm
นำ�เสนอพื้นที่จากฉากในวิดีโอเกมแนวสงคราม และจินตนาการส่วนตัวที่ได้รับ อิทธิพลจากความรุนแรงในเหตุการณ์สงคราม เพือ ่ แสดงให้เห็นปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้น โดยต้องการนำ�เสนอให้แมลงสาบเป็นสัตว์ที่น่ากลัวและน่ารังเกียจ นำ�รูปทรงมาประกอบกับภาพความรุนแรงของสงคราม ทีถ ่ า่ ยทอดผ่านวิดโี อเกม เปรียบเสมือนความน่ากลัว รวมกับแมลงสาบกลุม ่ หนึง่ ทีอ ่ ยูร่ วมกันเป็นจำ�นวน มากและถ่ายทอดออกมาให้เห็นถึงสภาวะของความรุนแรง Causes and effects of violence are expressed through the imaginative fight scene in a video game. The cockroach army are portrayed here as ugliness and disgust creatures in such aggressive scene.
42 42
• Special Awards • ผลงานชิ ้ น นี ้ ไ ด้ น ำ � เอาประสบการณ์ “บ้าน” สถานที ่ ท ี ่ ซ ึ ่ ง รายล้ อ มไปด้ ว ย ครอบครัว บรรยากาศอันอบอุ่น สิ่งต่าง ๆ รอบตัวภายในบ้านและสัตว์เลี้ยง มาเป็ น แรงบั น ดาลใจในการถ่ า ยทอดเนื้ อ หาเรื่ อ งราวที่ เ กี่ ย วกั บ ความสุ ข ความรักและความผูกพัน โดยใช้รูปทรงสัญลักษณ์แทนความเป็นตัวเองผ่าน ทางภาพสุนัขตัวโปรด ที่เปรียบเสมือนเพื่อนและผู้เก็บความทรงจำ�ในวัยเด็ก แสดงออกมาในรู ป แบบของผลงานจิ ต รกรรมวั ส ดุ ผ สมด้ ว ยเทคนิ ค การ วาดเส้น และปักเย็บลงบนผืนผ้า มีการนำ�ผ้าดิบย้อมสีและเสื้อผ้าเก่าในวัยเด็ก เข้ามาประกอบ ทั้งรูปทรงและสีสันอันนุ่มนวลของผ้า สามารถนำ�พาให้นึกถึง ความอบอุ่นและประสบการณ์แห่งความสุขในอดีตได้เป็นอย่างดี The creator is inspired by her precious memory that she shared with her family. Her dog pet is a representation of herself and such bonding relationship. Also, the dog is like a memory collector for her. Those memorable moments are portrayed delicately through sewing, embroidery including tie dyed objects from her childhood.
43 43
รางวัลสนับสนุน นางสาวธนนันท์ ใจสว่าง “ภาพรักประจำ�บ้าน” วาดเส้น และปักเย็บบนผืนผ้า 140 x 180 ซม. Special Awards Miss Tananan Jaisawang “The Imagination of Love from Home” Drawing, sewing and embroidery 140 x 180 cm
• Special Awards • รางวัลสนับสนุน นายธนากร วงษ์บริสุทธิ์ “พันธนาการภายใต้มายาคติ” ภาพพิมพ์โลหะ 108 x 148 ซม.
การตั้งคำ�ถามต่อสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน การที่ทุกคนต้องประสบและใช้ชีวิต อยู่ในกรอบของสังคมอยู่ในที่ที่กำ�หนดไว้ให้ไม่มีอิสรภาพเป็นของตนเอง การ ดำ�เนินชีวิตของคนในปัจจุบันนั้น มีความเร่งรีบอย่างมาก มีการแก่งแย่งชิง ดีซึ่งกันและกัน เช่น การแย่งกันขึ้นรถไฟฟ้าในตอนเช้าของคนที่เร่งรีบเพื่อไป ทำ�งานให้ทันเวลา การวิ่งแย่งกันขึ้นรถประจำ�ทางในแต่ละวัน ไม่ได้ทำ�ในสิ่งที่ ตนเองนั้นต้องการที่จะทำ�หรืออยากที่จะเป็น สิ่งเหล่านี้แสดงถึงการดิ้นรนการ ถูกพันธนาการจากที่ที่เป็นอยู่ โดยมีความเชื่อว่าทุกคนมีสิ่งที่ถูกพันธนาการ ไม่ว่าเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จากมุมมองนี้ทำ�ให้เกิดความรู้สึกว่าชีวิตของคนเรานั้น ต้องแบกรับความคาดหวังไว้เสมอไม่ว่าเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งความคาดหวัง จากคนรอบข้างนั้นก็คือพันธนาการที่กักขังเราเอาไว้
Special Awards Mr. Thanakorn Wongborisuth “Bonding under the Myth” Etching 108 x 148 cm
Nowadays, people are inescapably bonded by social rules and order. Seeing people rushing through life wearily happens everyday. In the artist’s opinion, expectation from the others is the bond that imprison people. It is obvious that everyone is unable to do what they really want to do in such environment.
44 44
• Special Awards • ศิลปินได้คัดเลือกบางส่วนจากความจริงคลุกเคล้ากับจินตนาการของความ รู้สึก ความสุขบ้าง ความเศร้าบ้าง ทุก ๆ ความทรงจำ�มีการเสกสรรปั้นแต่งใส่ จินตนาการลงไป ทำ�ให้ความทรงจำ�ยังอยู่ในห้วงความรักความอบอุ่นจากการ ใช้ชีวิตกับครอบครัวอันเป็นที่รักในอดีตของช่วงเวลาเมื่อ 8 ปีที่ใช้ชีวิตอยู่กับ ครอบครัวในบ้านหลังใหม่ที่ตนเองกับครอบครัวมีช่วงเวลาดี ๆ ร่วมกัน The artist created this artwork by combining memories and feelings of happiness and grieves. Every moment is imaginatively memorized, especially the memory of 8 years ago that she spent with her family contentedly.
45 45
รางวัลสนับสนุน นางสาวนิชกานต์ จุลพงศ์ “บ้านของฉัน โลกจินตนาการของฉัน” ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม 165 x 124 ซม. Special Awards Miss Nichakarn Jullapong “My Home – My Imagination World” Silkscreen 165 x 124 cm
• Special Awards • รางวัลสนับสนุน นางสาวนิตยา เหิรเมฆ “ที่พำ�นักแห่งจิต” ภาพพิมพ์แกะไม้ 195 x 142 ซม. Special Awards Miss Nittaya Hernmek “Sanctuary of Mind” Woodcut 195 x 142 cm
จินตนาการภาพลวงหรือภาพสมมติแห่งผืนป่า ผืนน้ำ� และสภาวะแวดล้อมที่อุดมไปด้วยพืชพันธุ์ ต่าง ๆ โดยนัยนี้ย่อมเป็นวิถีแห่งจิตที่รับรู้ส่งผลให้สิ่งที่ห่อหุ้มจิต คือ กายได้สุขสงบผ่อนคลาย ความเหนือ ่ ยล้าทีเ่ กิดจากปัจจัยรอบด้านในแต่ละวัน การสร้างสรรค์ผลงานทีอ ่ าศัยใช้กายภาพของผืนป่า พืชพันธุไ์ ม้ตา่ ง ๆ อันเป็นสิง่ แวดล้อมทีค ่ นกรุงน้อยคนจะได้สม ั ผัส เป็นเรือ ่ งราวเนือ ้ หาแห่งจินตภาพ ถึงสถานที่ที่เฝ้าถวิลหา ด้วยเจตนาสร้างสรรค์ผลงานให้สื่อถึงประเด็นสาระแห่งความหมายทาง นามธรรม ความรู้สึกสุขสมแห่งดุลยภาพแห่งจิตโดยนำ�รูปแบบของธรรมชาติมาปรับบริบทใหม่ ให้ความรู้สึกถึงโครงสร้างสถาปัตยกรรมที่เชื่อมโยงกับความเชื่อ ความศรัทธาในประเด็นเรื่อง “ธรรมะธรรมชาติ” หรือสร้างเอกภาพสุนทรียภาพแห่งดุลยภาพพื้นที่ทางจิตอันประกอบด้วย “สัจจะสุนทรียภาพและธรรมะ” ผ่านกระบวนการภาพพิมพ์แกะไม้ The forms of fertile nature and florae are well-arranged in this woodcut piece to comfort towns people who rarely see greenery in their weary life. This imaginative natural scenery represents peacefulness in one’s mind. Also,it refers to the beliefs of Dharma and nature through its symmetrical construction.
46
• Special Awards • คุณค่าของคำ�ว่ามนุษย์นั้น ไม่ได้ขึ้นอยู่กับปริมาณเงินตรา ฐานะ หรือชนชั้นที่ แตกต่างทางสังคม เพราะทุกสิ่งนั้นเป็นเพียงมายาคติที่ไม่จีรังยั่งยืนเป็นเพียง ความเชื่ อ ที่ ถู ก สร้ า งขึ้ น เพื่ อ กำ � หนดความน่ า จะเป็ น ของสิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง นำ�ไปสู่สัจจะธรรมหรือความเป็นจริงของชีวิตที่ถูกมองข้าม แม้วา่ ภายนอก ของแต่ละบุคคลหรือวัตถุสิ่งของมีความแตกต่างกันออกไปตามรูปแบบต่าง ๆ ในด้านค่านิยม ความชอบ วัฒนธรรม แต่สุดท้ายทุกสิ่งก็ต้องดำ�รงและมีอยู่ ภายใต้กฎของเวลา ต้องเสื่อมสลายไปตามกาลเวลาซึ่งยืนยันถึงช่วงเวลาที่ เดินไปข้างหน้าโดยไม่มีวันย้อนกลับ Value of a human is not measured by money or wealth. To value things by such definition is only deceptive illusion. Though everything and everyone has different culture, interest and social status, they share a mutual impermanence and cycle of life.
47
รางวัลสนับสนุน นายวิเชียร คงสวัสดิ์ “สัจจะธรรมแห่งชีวิต หมายเลข 4” จิตรกรรมผสม 110 x 153 ซม. Special Awards Mr. Wichian Khongsawat “The Truth of Life No. 4” Mixed painting 110 x 153 cm
• Special Awards • รางวัลสนับสนุน นางสาวสุวิมล สุขสำ�ราญ “อยากขี่เสือเหยื่อต้องเด็ด” ภาพพิมพ์แกะไม้ 137 x 94 ซม.
วัฒนธรรมความเชื่อเรื่องเพศ เป็นเครื่องมือที่สำ�คัญในการควบคุมภาวะ ทางเพศของคนในสังคม และเป็นแนวทางในการแสดงออกของพฤติกรรม ทางเพศ เช่น ความเชื่อว่าผู้ชายเป็นเพศที่เหนือกว่าผู้หญิง ผู้หญิงเป็นเพศ ที่อ่อนแอกว่า ซึ่งจากประสบการณ์และการใช้ชีวิตประจำ�วัน เรื่องเพศมัก เกิดจากทัศนคติมุมมองของเพศชาย จึงต้องการแสดงทัศนคติด้วยการ ที่เพศหญิงต้องทัดเทียมและเหนือกว่าเพศชาย
Special Awards Miss Suwimol Suksamran “Woman Power” Woodcut 137 x 94 cm
Gender role is a way to define and control how people in a society should behave. To believe that a man is stronger than a woman is one of those gender beliefs in culture which is generated by men. This artwork is to express that woman and man are actually equal.
48
• Special Awards • ในสังคมปัจจุบัน การกระทำ� และคำ�พูดของคนรอบตัว รวมไปถึงสื่อรูปแบบ ต่าง ๆ ได้เข้ามามีบทบาทในการดำ�รงชีวต ิ ประจำ�วันมากขึน ้ สือ ่ เหล่านีส ้ ามารถ ถูกบิดเบือนและเปลี่ยนแปลงได้ ต ลอดเวลาโดยที ่ ข าดการตรวจสอบอย่ า ง ถูกต้องว่าสิ ่งเหล่านั ้นถูกต้องหรือไม่ เราเสพติ ด การรั บ รู ้ อ ย่ า งฉาบฉวย มัวเมากับความสนุกสนาน และส่งผ่านเรือ ่ งราวนัน ้ ออกไป แม้จะเป็นการรับรู้ เพียงมุมมองใดมุมมองหนึ่งเท่านั้น จึงต้องการแสดงออกถึงความตระหนัก ต่อการรับรู้ที่ไม่เพียงพอต่อการตัดสินโดยใช้ วั ต ถุ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ความจริ ง กั บ ความลวงเพื่ อ ต้ อ งการให้ ผู้ ช มเกิ ด การตั้ ง คำ � ถามกั บ ความจริ ง ในการ มองเห็น ทีไ่ ม่สามารถรับรู้ได้จากการมองเพียงมุมมองเดียว แต่ภาพสะท้อน ที่ปรากฏนั้น เป็นเพียงแค่ภาพที่แทนความจริงเท่านั้น ไม่ใช่ความจริงที่ สามารถจับต้องได้ เหมือนกับความจริงที่อยู่ตรงหน้า
รางวัลสนับสนุน นายอภิรัฐ ฤกษ์ดี “The Truth, Dimension and the truth? No. 6” Screenprint 91 x 121.5 ซม.
Words, actions and media are parts of our daily life. These media can be distorted and changed incorrectly anytime. We’re addicted to such media and hastily share those mislead information by considering only one aspect. The artwork is to question its viewer on the illusion and reality of perception.
Special Awards Mr. Apirat Rerkdee “The Truth, Dimension and the truth? No. 6” Screenprint 91 x 121.5 cm
49
• ผลงานที ่ ไ ด้ ร ั บ คั ด เลื อ กเข้ า ร่ ว มแสดง• Entries Selected for Exhibition
50
• Selected Entries• นายปฏิภาณ แสงอุทัย “กระดาษแห่งความทรงจำ�” ภาพพิมพ์แกะไม้ 83 x 104 ซม. Mr. Patipan Sanguthai “Paper of Memory” Woodcut 83 x 104 cm นายจักรชัย เพ็ชรปานกัน “ธรรมชาติกับความอุดมสมบูรณ์” ลายรดน้ำ� 122 x 180 ซม. Mr. Jakchai Pedparnkun “Natural Integrity” Thai lacquer works 122 x 180 cm
นางสาวณัฐกานต์ สิงหนาท “น้ำ�ท่วม” ภาพพิมพ์โลหะ 71 x 79 ซม. Miss Nattakarn Singhanat “Flood” Etching 71 x 79 cm
51
• Selected Entries• นางสาวธมลวรรณ ลวพิมล “ป้าย” เย็บปัก 150 x 180 ซม. Miss Thamonwan Lawapimol “Signs” Embroidery and sewing 150 x 180 cm นางสาวธมลวรรณ ลวพิมล “ฮกเส็ง” ผ้า และเย็บปัก 81 x 180 ซม. Miss Thamonwan Lawapimol “Hok Seng” Embroidery and sewing 81 x 180 cm
นายภฤศชัย หอมช่วงทรัพย์ “อารมณ์แห่งตัณหาทั้งสาม หมายเลข 3” สีฝุ่นบนพื้นกาวเม็ดมะขาม 140 x 180 ซม. Mr. Phruetsachai Homchuangsap “Emotional Obsessions No. 3” Tempera on tamarind glue 140 x 180 cm
52
• Selected Entries• นายคเณศ แสนศรีลา “รถบรรทุก หมายเลข 3” ภาพพิมพ์แกะไม้ 118 x 187 ซม. Mr. Kanest Sansrila “Truck No. 3” Woodcut 118 x 187 cm นายวรุณ ห้วยบุญ “ห้วงเวลาแห่งความคิดถึง หมายเลข 4” ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม 90 x 109 ซม. Mr. Waroon Houiboon “Moment of Nostalgia No. 4” Silkscreen 90 x 109 cm
นายวิเชียร คงสวัสดิ์ “สัจจะธรรมแห่งชีวิต หมายเลข 3” จิตรกรรมผสม 122 x 160 ซม. Mr. Wichian Khongsawat “The Truth of Life No. 3” Mixed painting 122 x 160 cm
53
นายเจนณรงค์ แคะมะดัน “ความจริงของอุดมคติ” วาดเส้น 188 x 188 ซม. Mr. Jennarong Khaemadan “Idealistic Truth” Drawing 188 x 188 cm
• Selected Entries•
นายกฤตณัฐชา พยัคฆศักดิ์ “พันธนาการแห่งการศึกษา” สื่อผสม (เย็บปัก ยางพารา และอัดฝ้าย) 23 x 32 ซม. Mr. Krittanatcha Payagkasak “Bondage of Education” Mixed media (sewing on rubber and stuffing) 23 x 32 cm
นายสุทธิลักษณ์ เวียงคำ� “มักกะลีผล หมายเลข 1” “มักกะลีผล หมายเลข 2” ปั้นดินญี่ปุ่นลอยตัว และสีอะครีลิค 116 x 88 x 188 ซม. Mr. Sutthilak Wiangkham “Nariphon No. 1” “Nariphon No. 2” Japanese soft clay and acrylic 116 x 88 x 188 cm นางสาวภัสรากร สุทธิ “อัตลักษณ์ผู้หญิงและคุณค่า” ปรุกระดาษ 126 x 99 ซม. Miss Passarakorn Sutti “Women Identity and Value” Paper perforating 126 x 99 cm
54
Mr. Weerayoot Niyom “Life and Relation in Changing State” Wood assembling and rope weaving 186 x 186 x 200 cm
นายสาคร วงษ์ราชสีห์ “รถถัง ไม้ไผ่ รังไหม” ผูกไม้ไผ่ด้วยเส้นใยจากรังไหม 200 x 200 x 200 ซม. Mr. Sakorn Wongratchasi “Tank Bamboo Cocoon” Bamboo biding with cocoon 200 x 200 x 200 cm
นายสาคร วงษ์ราชสีห์ “สัตว์-มนุษย์ กระดาษ ไม้ไผ่ รังไหม” ไม้ไผ่ รังไหม กระดาษ และสีน้ำ�มัน 200 x 200 x 200 ซม. Mr. Sakorn Wongratchasi “Animal Human Paper Bamboo Cocoon” Bamboo, cocoon, paper and oil color 200 x 200 x 200 cm
55
• Selected Entries•
นายวีรยุทธ นิยม “ชีวิต-สัมพันธ์ในพื้นที่เปลี่ยนผ่าน” ประกอบไม้ และถักเชือก 186 x 186 x 200 ซม.
นางสาวปัณฑิตา มีบุญสบาย “มวลหมู่ประชาหมา” สีน้ำ�มันบนแผ่นอะลูมิเนียม 135 x 163 ซม. Miss Puntita Meeboonsabai “Dog Crowd” Oil on aluminum plate 135 x 163 cm
• Selected Entries• นายศุภวิชญ์ วีสเพ็ญ “การสังเคราะห์ของการโต้เถียงที่เป็นอนันต์” สีน้ำ�มันบนผ้าใบ 185 x 170 ซม.
นายเกียรติศักดิ์ ไพราม “ผจญภัยแดนต่างดาว” สื่อผสม 70 x 71 x 191 ซม.
Mr. Supawich Weesapen “The Synthesis of Infinite Dialectics” Oil color on canvas 185 x 170 cm
Mr. Keittisak Pairam “Our Solar System” Mixed media 70 x 71 x 191 cm
56
• Selected Entries• นายวงศธร ธนปฐมสินชัย “มนุษย์กับธรรมชาติ หมายเลข 1” ภาพพิมพ์โลหะ 83 x 101 ซม. Mr. Wongsatorn Tanapathomsinchai “Human and Nature No. 1” Etching 83 x 101 cm
57
นายวันชัย ณรงค์ชัย “สายสัมพันธ์บรรพชน” ภาพพิมพ์ร่องลึก 106 x 146 ซม. Mr. Wanchai Narongchai “Ancestor’s Life” Intaglio 106 x 146 cm
• Selected Entries•
นายกิตติพิชญ์ ทองขาว “สัญญะชีวิตริมทาง” สีอะครีลิค 160 x 140 ซม.
นายธนพล ดาทุมมา “พื้นที่ในจิตใจของคนข้ามเพศ หมายเลข 1” เย็บปัก 190 x 150 ซม.
Mr. Kittipish Thongkhao “Signified Stray Life” Acrylic color 160 x 140 cm
Mr. Thanapon Dathumma “Space in the Minds of Transgender People No. 1” Sewing 190 x 150 cm
นางสาวพรพรรณ มงคลสิทธิ์ “แลเรือน ที่เลือนราง หมายเลข 2” เย็บด้วยจักร 188 x 148 ซม. Miss Phornphan Mongkonsit “Fading House No. 2” Free hand sewing 188 x 148 cm
58
Mr. Aphison Arsu “Relation – Way – Material No. 2” Bamboo biding and weaving 150 x 97 x 168 cm
นายอัษฎาวุธ ภูยาทิพย์ “จังหวะในวัตถุชนบท” สื่อผสม 160 x 130 x 155 ซม. Mr. Uassadawut Phuyatip “Rhythm in Countryside’s Materials” Mixed media 160 x 130 x 155 cm
นายศุภศิษฎ์ อัศวิษณุ “ยึดโยง หมายเลข 1” ศิลปะเส้นด้าย 180 x 180 ซม. Mr. Suppasit Asavisanu “Fasten No. 1” String art 180 x 180 cm
59
• Selected Entries•
นายอภิสร อาสุ “สัมพันธ์-วิถี-วัตถุ หมายเลข 2” มัด ผูก สานไม้ไผ่ 150 x 97 x 168 ซม.
• Selected Entries• นายจิรายุ แซ่ลอ “ฤดูกาล” วัสดุผสม 150 x 150 x 150 ซม.
นายธีรพล สีอิ่น “เปลี่ยนผ่าน หมายเลข 2” เชื่อมโลหะ และประกอบวัสดุ 105 x 170 x 105 ซม.
Mr. Jirayu Saelo “Season Change” Mixed materials 150 x 150 x 150 cm
Mr. Teerapol Seeain “Transition No. 2” Metal welding and materials assembling 105 x 170 x 105 cm
60
Miss Pasinee Chanroj “Nature No. 2” Silkscreen 114 x 85 cm
นายภูริกรณ์ คงสุวรรณ “สัญญะแทนความคิดถึง” สื่อผสม (วัสดุขยะจากทะเล) 200 x 193 ซม.
นางสาวธนนันท์ ใจสว่าง “นักเก็บความทรงจำ�ประจำ�บ้าน หมายเลข 2” วาดเส้น และเย็บปักบนผืนผ้า 180 x 120 ซม.
Mr. Phurikorn Kongsuwan “Symbol of Missing” Mixed media (sea wastes) 200 x 193 cm
Miss Tananan Jaisawang “The Memories Keeper No. 2” Drawing and embroidery 180 x 120 cm
61
• Selected Entries•
นางสาวภาสินี ชั้นโรจน์ “ธรรมชาติ หมายเลข 2” ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม 114 x 85 ซม.
• Selected Entries• นายนนทวัฒน์ ป้องศรี “ปฏิสัมพันธ์ ขัดแย้ง หมายเลข 2” เชื่อมเหล็ก และประกอบไม้ 125 x 90 x 153 ซม.
นางสาวพนิตตา วัชรนพวิภา “มหัศจรรย์แห่งป่า” ถักโครเชต์ 150 x 200 x 150 ซม.
Mr. Nontawat Pongsri “Conflict Interaction No. 2” Metal welding and wood assembling 125 x 90 x 153 cm
Miss Panitta Watcharanopwipa “Wonders of Forest” Crochet 150 x 200 x 150 cm
นายพงศ์นรินทร์ อินทะศร “การปรับเปลี่ยนตนเองจากประสบการณ์ชีวิต หมายเลข 1” เข้าไม้ และประกอบไม้ 80 x 82 x 200 ซม.
นายสมาชัย ปุ่มสันเทียะ “สัมพันธภาพของความรัก หมายเลข 5” ประกอบไม้ และแกะสลักไม้ 195 x 80 x 200 ซม.
Mr. Pongnarin Inthasorn “Life Experience No. 1” Wood joint and assembling 80 x 82 x 200 cm
Mr. Samachai Pumsanthia “Relationship of Love No. 5” Wood assembling and carving 195 x 80 x 200 cm
62
• Selected Entries• นายวสันต์ สมนึก “สัมพันธภาพรูปทรงธรรมชาติ” ประกอบไม้ และเชื่อมเหล็ก 184 x 90 x 135 ซม. Mr. Vasan Somnuak “Relationship of Nature” Wood assembling and metal welding 184 x 90 x 135 cm นายธนเศรษฐ์ รัตนวงศ์ “ความคิดที่ไม่รู้จบ” เชื่อมโลหะ และเคลือบเงา 200 x 130 x 100 ซม. Mr. Tanaset Ruttanawong “Unceasing Thought” Metal welding and coating 200 x 130 x 100 cm
นายเชาวรินทร์ ลามคำ� “รูปทรงแห่งการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิต หมายเลข 2” เชื่อมโลหะ 135 x 120 x 169 ซม. Mr. Chowarin Lamkham “Shape of Change in Lifestyle No. 2” Metal welding 135 x 120 x 169 cm
63
• Selected Entries• นายอมรเทพ อาจอ่อนศรี “สภาวะมลพิษแห่งมนุษย์” ประติมากรรม 75 x 53 x 175 ซม. Mr. Amornteap Adonsri “Pollution” Sculpture 75 x 53 x 175 cm นางสาวจุฑามาศ มาสว่าง “Baby Doll” ปั้นหล่อปูนปลาสเตอร์ และประกอบไม้ 200 x 200 x 188 ซม. Miss Juthamas Masawang “Baby Doll” Plaster casting and wood assembling 200 x 200 x 188 cm นายสุทธิโชค ภูเขา “จับจ้อง” ประกอบไม้ เรซิ่น และเชื่อมเหล็ก 145 x 190 x 142 ซม. Mr. Sutthichok Pookuw “Record” Wood assembling, resin and metal welding 145 x 190 x 142 cm
64
• Selected Entries• นางสาวสุวิมล สุขสำ�ราญ “เชิด” ภาพพิมพ์แกะไม้ 95 x 138 ซม. Miss Suwimol Suksamran “Strut” Woodcut 95 x 138 cm
นางสาวชนินาถ นาระต๊ะ “ภาวะสิ้นยินดี หมายเลข 2” ภาพพิมพ์หิน 163 x 165 ซม. Miss Chaninart Narata “Anhedonia No. 2” Lithograph 163 x 165 cm นายณัฐพงศ์ บุญมีลาภ “มิติลี้ลับ” ภาพพิมพ์โลหะ 85.5 x 104.5 ซม. Mr. Nuttapong Boonmeelarp “Tunno” Etching 85.5 x 104.5 cm
65
• Selected Entries• นางสาวชฎาพร นวลพงษ์ “รูปทรงจินตนาการแห่งวิถีชีวิตชนบทอีสาน” สื่อผสม 175 x 170 ซม. Miss Chadaporn Nuanpong “Imagination of E-san Life” Mixed media 175 x 170 cm
นายกันต์ มหาเปารยะ “เทวรูปยุควัตถุนิยม” เชื่อมเหล็ก 135 x 190 x 170 ซม. Mr. Kant Mahapaurya “Idol of Materialism” Metal welding 135 x 190 x 170 cm
นางสาวกุลพธู บุญเลี้ยง “วัตถุที่ไม่สามารถระบุได้” เทคนิคผสม 40 x 100 x 141 ซม. Miss Kunpatu Boonlieng “Unidentified Object” Mixed techniques 40 x 100 x 141 cm
66
นายวุฒิไชย บุณยมานนท์ “Chameleon’s Evolution” ภาพพิมพ์โลหะ 106.5 x 85.5 ซม.
นางสาวทิพรัตน์ อ่อนอินทร์ “ดินแดนแห่งความฝัน หมายเลข 1” ภาพพิมพ์แกะไม้ 111 x 92 ซม.
นางสาวทิพรัตน์ อ่อนอินทร์ “ดินแดนแห่งความฝัน หมายเลข 2” ภาพพิมพ์แกะไม้ 111 x 92 ซม.
Miss Tipparat On-in “The Land of Dream No. 1” Woodcut 111 x 92 cm
Miss Tipparat On-in “The Land of Dream No. 2” Woodcut 111 x 92 cm
67
• Selected Entries•
Mr. Wuttichai Boonyamanond “Chameleon’s Evolution” Etching 106.5 x 85.5 cm
• Selected Entries• นายซุบฮา จาเอาะ “สัญลักษณ์พื้นฐานชีวิต” ภาพพิมพ์แกะไม้บนผืนยางพารา 66 x 121 ซม. Mr. Subha Jaaoh “Symbol of Life” Woodcut on rubber 66 x 121 cm นายกฤษณรัช นันต๊ะคำ� “สัตว์สังคม หมายเลข 1” ภาพพิมพ์หิน 80 x 111 ซม. Mr. Kritsanarach Nanthakham “Social Animal No. 1” Lithograph 80 x 111 cm นายภัทร ทองขจร “สามัญชีวิต หมายเลข 3” วาดเส้นบนกระดาษ 124 x 124 ซม. Mr. Phatthara Thongkajorn “Back to Basic No. 3” Drawing on paper 124 x 124 cm
68
• Selected Entries• นายภานุชิต ศรีวิชัย “วิถีแห่งการแลกเปลี่ยน หมายเลข 1” ภาพพิมพ์แกะไม้ 147 x 200 ซม.
นางสาวมนัชญา กิจประเสริฐ “หวนนึกถึง หมายเลข 2” ภาพพิมพ์แกะไม้ และระบายสี 120 x 164 ซม.
Mr. Phanuchit Sriwichai “The Way of Trading No. 1” Woodcut 147 x 200 cm
Miss Manatchaya Kitprasert “Nostalgia No. 2” Woodcut and hand coloring 120 x 164 cm
69
• Selected Entries• นางสาวธัญลักษณ์ วรพันธ์ “ล่วงกระเพาะลงไปสู่” ร้อยฝากระป๋อง 90 x 60 x 195 ซม.
นายพงศกร ทองโฉม “สุรพล SOLO เลย!” สื่อผสม 70 x 70 x 147 ซม.
นางสาววาสนา สุนันสา “คู่เคียง” ขึ้นรูปด้วยมือ 76 x 60 x 183 ซม.
Miss Tanyalux Worapan “Through the Gastric” Can tabs weaving 90 x 60 x 195 cm
Mr. Pongsakorn Thongchom “SOLO NOW!” Mixed media 70 x 70 x 147 cm
Miss Wasana Sunansa “Twin” Hand forming 76 x 60 x 183 cm
70
• Selected Entries• นางสาวชนิยา มณีนวล “ครัวไทย” หลอมลูกปัด 107 x 180 x 120 ซม. Miss Chaniya Maneenual “Thai Kitchen” Beads melting and casting 107 x 180 x 120 cm
นางสาววนัญญา นักบริตน “ชุมชนเก่า” สื่อผสม (กระดาษชานอ้อย) 200 x 200 x 82 ซม. Miss Wananya Nakbariton “Old Community” Mixed media (bagasse paper) 200 x 200 x 82 cm
นายสุภาพ ธาวินัย “การเก็บรักษาความรู้สึกของเด็กผู้ชาย” สื่อผสม (เหล็ก และกัดกรด) 160 x 170 x 115 ซม. Mr. Suphap Thawinai “Keeping the Feelings of Boys” Mixed media (metal and etching) 160 x 170 x 115 cm
71
นายกิตติพันธ์ บุญชุ่มใจ “โซนของมากาเร็ต” ภาพพิมพ์แกะไม้ 107 x 79 ซม. Mr.Kittipan Boonchumjai “Magaret’s zone” Woodcut 107 x79 cm
• Selected Entries•
นางสาวพิมพ์เพ็ญ หอมสมบัติ “Tuberose Flower” ภาพพิมพ์โลหะ 118 x 82 ซม.
นายธนพล อินทฤทธิ์ “อรุณอัมรินทร์ หมายเลข 1” ภาพพิมพ์แกะไม้ 141 x 106 ซม.
Miss Pimpen Homsombut “Tuberose Flower” Etching 118 x 82 cm
Mr. Thanapol Intalit “Arun Amarin No. 1” Woodcut 141 x 106 cm
72
• Selected Entries• นายคมสันต์ ตันเสรีสกุล “อนุสาวรีย์ศิวิไลซ์ หมายเลข 1” ภาพพิมพ์โลหะ 103 x 82 ซม. Mr. Komson Tansereesakul “Monument of Civilization No. 1” Etching 103 x 82 cm
73
นายธนบดี สุขสอาด “พรหมลิขิต หมายเลข 2” เชื่อมแผ่นอะครีลิค 53 x 120 x 150 ซม. Mr. Thanabordee Suksaard “Destiny No. 2” Acrylic plate cementing 53 x 120 x 150 cm
นายธรรศ รัชนีกร “กิจกรรมยามว่างหลังเลิกเรียนก่อนเวลา” สีน้ำ�มันบนผ้าใบ 154.5 x 185 ซม. Mr. Tat Ratchaneekon “Free Time after School” Oil on canvas 154.5 x 185 cm
• Selected Entries• นางสาวจรรยพร รุ่งเรืองระยับกุล “ความฝันอันสูงสุดของฉัน” ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม 105 x 81 ซม. Miss Junyaporn Rungruangrayabkul “My Ultimate Dream” Silkscreen 105 x 81 cm
นางสาวนิชกานต์ จุลพงศ์ “บ้านของฉัน โลกจินตนาการของฉัน หมายเลข 1” ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม 165 x 125 ซม. Miss Nichakarn Jullapong “My Home – My Imagination World No. 1” Silkscreen 165 x 125 cm
74
• การตั ด สิ น และการคั ด เลื อ ก • Selection of the 36 th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists
75
ทรรศนะจากคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน Comments of the Judging Committee
“ผลงานรางวัลแต่ละชิ้นก็มีความโดดเด่นเป็นพิเศษและมีรูปแบบแนวทางการแสดงที่แม้จะต่างกันแต่ มีความโดดเด่นของแต่ละชิ้น อย่างชิ้น “ความงามของความตาย” จะเป็นชิ้นที่แสดงถึงสุนทรียะภาพ และโดดเด่นในเรื่องการใช้วัสดุที่เอามาประกอบกันโดยมีการทำ�เทคนิคด้วยงานกระดาษเป็นหลัก และใช้ วัสดุต่าง ๆ จากธรรมชาติที่อาจจะมีอายุของการเสื่อมสลายเข้ามาประกอบโดยรูปที่นำ�มาเสนอก็ คือกระดูกในแต่ละส่วนของร่างกายมนุษย์ อีกชิ้นหนึ่ง “Dictionary of Life” ก็มีความโดดเด่นในเรื่อง ความคิด และการนำ�เสนอที่เป็นเชิงความคิด เรื่องรูปแบบที่พูดถึงในเรื่องศิลปะแนว conceptual art รวมถึงการทำ�เล่มซึ่งเห็นความละเมียดละไม พิถีพิถัน มีความโดดเด่นคนละแบบ ก็ยินดีที่คณะกรรมการ ได้มีการอภิปรายและเห็นพ้องไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีเอกภาพ” ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ปริญญา ตันติสุข (ประธานคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน)
“เหรียญทอง เหรียญเงิน ที่หนึ่ง ที่สอง หรือการได้เหรียญเท่ากันหมด เป็นเรื่องชั่วคราวเท่านั้นเอง เป็นการให้สัญญาณว่างานคุณดีแล้ว แต่ว่าในอนาคตทุกคนจะต้องทำ�งานต่อเนื่องและต่อไปเรื่อย ๆ หากคุณจะได้ที่หนึ่ง คุณจะต้องไม่หยุด แต่ถ้าคุณหยุดคุณก็ล้มเหลว อันนี้คือประเด็นและศิลปะก็เป็น แบบนี้ “ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พงศ์เดช ไชยคุตร
“เราเห็นแล้วว่าสองเหรียญทองนี้ ด้านหนึง่ คือเรือ ่ ง สกิล ความแข็งแรง ทักษะหรือความงาม มันมีสงู มาก กับอีกอันหนึ่งเป็นเรื่องของความคิด conceptual แนวคิดซึ่งเป็นแนวทางของการทำ�งานศิลปะ ซึ่งต่าง กันอย่างมาก ถ้าการให้น้ำ�หนักหรือคุณค่าเท่ากัน แปลว่าเวทีศิลปกรรมรุ่นเยาว์ ให้ความสำ�คัญทั้ง แนวคิดและความเป็นฝีมือ เพราะฉะนั้นการที่จะได้รางวัลทั้งสองเหรียญทอง ก็คือเราอยากให้เกิด มาตรฐานที่เกิดความหลากหลายในคุณภาพของงานศิลปะไปสู่เด็ก ๆ รุ่นใหม่“ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิกร คงคา
“คุณภาพของผลงานในภาพรวมเป็นทีน ่ า่ พอใจแล้ว มันมีอะไรทีแ ่ ปลกใหม่ น่าตืน ่ เต้นสำ�หรับการทดลอง ความเป็นเยาวชน ผมว่าเยาวชนเป็นช่วงเวลาของการค้นหาลองผิดลองถูก คือถ้ามันมีอะไรแบบนี้ออก มาเราจะได้เห็นของใหม่ ๆ ก็ไม่อยากให้เด็ก ๆ มองข้ามเวทีงานประกวด ถ้าหากผลงานของตัวเองดี และ เหมาะกับเวทีไหน พื้นที่ไหนก็ลองเข้าไปเล่นดู ก็เป็นโอกาสให้กับตัวเองด้วย และพอมีแรงกระตุ้นเกิดขึ้น ในรุ่น มันมีการส่งงานประกวดแล้วเห็นเพื่อนได้รางวัล มันมีเรื่องของกลไกของการแข่งขันเกิดขึ้น มันจะทำ�ให้บรรยากาศในการเรียนมันยิ่งสนุก ยิ่งตื่นเต้นมากขึ้น“ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อนุพงษ์ จันทร 76
“สิง่ ทีน ่ า่ สนใจคือปีนท ้ี ม ่ี น ั มีสน ุ ทรียะ งานเหรียญทองสองรางวัลนีก ้ ม ็ ก ี ายภาพเหมือนกัน เพียงแต่วา่ มัน อาจจะเป็นกายภาพที่ไม่ใช่ประเพณีนิยม ถ้าเราเปิดโอกาสว่าเวทีนี้เปิดให้งานหลาย ๆ แบบเข้ามาได้ มัน ก็ทำ�ให้เห็นว่า หนึ่ง มันเริ่มเปิดกว้างขึ้น แล้วนักศึกษาก็อาจจะได้สร้างสรรค์งานอื่น ๆ ที่ไม่ต้องติด กรอบว่า ถ้ามางานประกวดมันจะต้องเป็นแบบนี้เท่านั้น “ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร
“ทุก ๆ ท่านก็เห็นพ้องกันว่ากลุ่มศิลปินเยาวชนต่าง ๆ ที่ส่งเข้ามาเป็นนักคิดและต่างฝ่ายต่างมีข้อดีของ ตัวเอง พอถึงขั้นที่จะต้องมาเลือกคะแนนหรือว่าโหวตกันถึงสูงสุด ก็ปรากฏว่าถึงแม้จะมีคะแนนต่าง กันเล็กน้อย แต่ก็มีความเห็นว่างานศิลปะที่ฝ่ายหนึ่งมีความสมบูรณ์แบบทั้งด้านฝีมือและทางด้านความ คิด อีกฝ่ายหนึ่งก็มีวิธีคิดที่ก้าวหน้ามาก อาจจะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีสำ�หรับคนรุ่นใหม่ ๆ ที่หลังจากนี้ ถ้า เกิดว่าเป็นคนที่จะส่งเข้ามาประกวดในระดับเยาวชนจะได้รู้ว่า เวทีของเราเปิดกว้างพอที่จะรับงานหลาย ๆ รูปแบบ ก็เปิดโอกาสให้ประกาศชื่อผู้ที่ได้รับรางวัลสูงสุดเป็นสองท่านดีกว่า เพื่อให้ในแง่ของด้านการ ศึกษาศิลปะในปีต่อ ๆ ไปและพัฒนารูปแบบต่าง ๆ ให้คนรุ่นใหม่ ๆ ได้รู้สึกว่า นอกจากเราจะเปิดกว้าง แล้ว เรายอมรับทุก ๆ อย่างในแง่ของความเป็นมนุษย์และในเชิงของวัฒนธรรม“ อาจารย์ สาครินทร์ เครืออ่อน
“ในครั้งหน้าเด็กคนอื่นๆ ก็อาจจะต้องมีพัฒนาการแล้ว เขาจะเห็นว่าปีนี้รางวัลที่หนึ่งมันเป็นแบบนี้นะ แล้วงานของเขาอยู่ตรงนี้ จะได้มีแรงทำ�ต่อ อาจจะเปลี่ยนแปลงได้ หรืออาจจะเลิกเลยก็ได้ บางทีก็แห่ กันไปทำ�ทางเดียวกันหมด ต้องมีความหลากหลาย ศิลปะมันก็ต้องมีหลายประเภท หลายเวที “ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมหมาย มาอ่อน
“งานทั้งคู่มีคุณภาพในสองลักษณะ ในขณะที่งานชิ้นหนึ่ง เป็นงานที่มีเสน่ห์ มีความงามสมบูรณ์แบบและ มีสุนทรียะเต็มไปหมด ในขณะที่อีกชิ้นหนึ่ง ถ้ามองเฉย ๆ งานมันจะยังไม่ค่อยเห็น แต่ว่าวิธีคิดมันน่า สนใจ แล้วพอมันน่าสนใจก็ต้องเข้าไปดูใกล้ๆ คือมันไม่ได้เชิญชวนในการดูครั้งแรกแต่มันมีการพลิก อย่างบางคนแค่แนวความคิดก็เอาอยู่ แต่อีกชิ้นหนึ่งเมื่อพิจารณารายละเอียดของมัน มันก็งามด้วย และความที่ดูเหมือนดูง่าย เหมือนดูไม่ได้ทำ�ยาก แต่ตรงนั้นมันไม่ใช่เรื่องสำ�คัญแล้ว มันกลายเป็นวิธี คิดของเขากับผลที่ออกมามันน่าสนใจ “ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ รสลิน กาสต์
“ผลงานในปีนี้ค่อนข้างที่จะเยอะพอสมควร 400 กว่าชิ้น และยังเป็นปีพิเศษที่เราได้ตัดสินให้มีเหรียญ ทองสองเหรียญ ซึ่งสองชิ้นงานนี้ที่ได้เหรียญทองนี้มีความแตกต่างในเชิงของการนำ�เสนอ คนหนึ่งใช้ ทักษะ เน้นเรื่องของสุนทรียะในการนำ� อีกคนหนึ่งใช้ความคิดในการนำ� ซึ่งเป็นผลงานที่น่าสนใจทั้งสอง ชิ้น ผมคิดว่าเป็นการดีที่ผลงานทั้งสองชิ้นนี้ได้รับรางวัลและอาจจะเป็นแนวทางในการทำ�งานของคนรุ่น ใหม่ได้ มีลักษณะที่มีความแตกต่างแต่ว่าเป้าหมายในความสมบูรณ์ของงานศิลปะค่อนข้างที่จะดีเยี่ยม“ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะ
“ผลงานทั้งสองชิ้นนี้ถือได้ว่าเป็นผลงานที่มีคุณภาพทัดเทียมกัน ทั้งในแง่ความคิด การแสดงออก ความงาม ซึ่งแม้จะแสดงออกต่างกันแต่มีความสมบูรณ์ทั้งคู่ และสมควรอย่างยิ่งที่จะให้ได้รางวัล สูงสุดทัดเทียมกัน สิ่งที่น่าสนใจคือ ผลงานทั้งสองชิ้นนี้แสดงออกถึงกระบวนการคิดและสร้างสรรค์ที่ ฉีกขนบการสร้างสรรค์แบบเดิมๆในเวทีศล ิ ปินรุน ่ เยาว์ ซึง่ จะสามารถสร้างมาตรฐานการสร้างสรรค์ในรูป แบบใหม่ๆให้เกิดขึ้นในเวทีการประกวดศิลปกรรมระดับเยาวชน“ อาจารย์ ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ (ผู้อำ�นวยการหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร)
77
ภาพบรรยากาศการคัดเลือกและตัดสินการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 Selection of the 36th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists
78
ประวั ต ิ ศ ิ ล ปิ น • Artists’ Profiles
79
Kanampon Puntusawadi 15 February 1997 179/27 Monsinee Village, Ladkrabang Road, Bangkok 10520 kanamworks@gmail.com
Rasa Sitthikarn 6 July 1998 222/13 Moo 4,Na Kluea, Bang La Mung, Chon Buri, 20150 rasa_sitthikarn@hotmail.com
Education 2015 • BFA, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 2012 • College of Fine Art, Bangkok, Thailand
Education 2019 • BFA, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok,Thailand
Group Exhibition 2018 • The 5 th Print for you , Silpakorn University, Sanamchandra Palace, Nakhon Pathom • Printable Print Exhibition 2018, Krung Thai Gallery, Bangkok, Thailand • Tokyo International Mini-Print Triennial, Tama Art University Museum, Japan • Remember RAMA IX, Dinsor Art Gallery & Studio, Bangkok, Thailand • Thai Consent Art Exhibition, Fathom Bookspace, Bangkok, Thailand
Group Exhibition 2018 • The 35th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, the Art and Cultural Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus,Nakorn Pathom Awards and Honors 2018 • 4th Prize, Energy Painting Contest, Ministry of Energy, Bangkok, Thailand
Awards and Honors 2017 • Special Awards, I AM ORIGINAL 2 by Pigma Micron, Thailand
80
Kanest Saensrila 8 March 1996 104 Moo. 3, Ban Na Sano, Na Sameng, Don Tan, Mukdahan, 49102 kanest2539@gmail.com
Thanapol Intalit 7 December 1995 60 Moo. 5, Wangmanao, Paktho, Ratchaburi 10740 thanapolintalit@gmail.com
Education 2019 • Faculty of Education (Art Education), Nakhon Ratchasima Rajabhat University
Education 2018 • Poh-Chang Academy of Arts, Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Bangkok, Thailand
Group Exhibition 2019 • The 34 th PTT Art Exhibition , Art and Cultural Center Commemorating the 6 th cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom • The 4th Krungthai Art Awards, Krungthai Gallery, Bangkok • Art thesis Exhibition, Terminal 21, Nakhon Ratchasima 2018 • Art Exhibition, Central Plaza Nakhon Ratchasima 2017 • Sima Nakorn Art Exhibition, Terminal 21, Nakhon Ratchasima • Sima Nakorn Art Exhibition, Ruen Korat Chalerm Watthana, Nakhon Ratchasima 2016 • Art Thesis Exhibition, Klang Villa, Nakhon Ratchasima 2015 • Art thesis Exhibition, Klang Villa, Nakhon Ratchasima
Group Exhibition 2019 • The 4th Krungthai Art Awards, Krung Thai Art Gallery, Bangkok, Thailand 2018 • The 13th National Youth and Juvenile Art, the Queen’s Gallery, Bangkok, Thailand •The 105 th Anniversary Poh-Chang Academy of Arts ,Bangkok, Thailand • The 10th Din Puen Mueg, Changchui, Bangkok, Thailand Awards and Honors 2018 • Creative RMUTR and Sustainable Innovation for Thailand 4.0, Bangkok, Thailand
81
Thanutcha Leelangkura 18 June 1994 79/15 Tararom 150,Ramkhamhaeng Road, Saphansoong Bangkok, Thailand 10240 Thanutcha.leelangkura@gmail.com FB: Thantucha Leelangkura
Teerapol Seeain 22 March 1996 364 No.9 Muang kao, Muang Khon kaen, Khon kaen, 40000 man_368@hotmail.com Education 2019 • BFA, Faculty of Fine and Applied Arts, Mahasarakham University, Thailand 2014 • Vocational Certificate, Khon kaen Vocational College, Khon kaen, Thailand
Education 2017 • MFA (Visual Arts),Faculty of Painting Sculpture and 2016
Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok, Thailand • BFA, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok, Thailand
Solo Exhibition 2017 • Ayatana(6), Number 1 Gallery, Bangkok, Thailand
Group Exhibition 2018 • A Collaborative Art Exhibition Thailand, Lao Pdr and China, Mahasarakham University, Thailand 2017 • Art Exhibition by Faculty of Fine and Applied Arts Mahasarakham University, Tontann Gallery, Khonkaen, Thailand 2016 • Art Exhibition by Faculty of Fine and Applied Arts Mahasarakham University, Jampasri Art Gallery, Mahasarakham University, Thailand
Group Exhibition 2018 • The 2nd How Thai? , H.R.H Princess Sirindhorn Art Gallery, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University Sanamchandra Palace,Nakhon Pathom 2017 • How Thai? , H.R.H Princess Sirindhorn Art Gallery,Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts,Silpakorn University Sanamchandra Palace, Nakhon Pathom • Anima, Charmchuri Art Gallery, Bangkok, Thailand • The 3rd Krungthai Art Awards, Krung Thai Art Gallery, Bangkok, Thailand 2016 • The Illusion, Pok Gow Song Deng Group, Wangna Arts Gallery, Bangkok, Thailand • King of Our Hearts, River City, Bangkok, Thailand • The 33rd Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, Art and Cultural Center Commemorating the 6th cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University,Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom • The 2nd Krungthai Art Awards, Krung Thai Art Gallery, Bangkok, Thailand • The 38th Bualuang Paintings Exhibition, the Queen’s Gallery, Bangkok, Thailand 2015 • Loyality to the King Art Exhibition, The Administrative Court,Bangkok, Thailand • The 2nd 10Steps Fundamental Art Exhibition , PSG Art Gallery,Bangkok, Thailand Awards and Honors 2017 • Special Awards, the 12 th NANMEE Fine Arts Award, Bangkok, Thailand
82
Pratchaya Charernsook 27 January 1997 53 Moo. 3, Wang Mai, Mueang, Chumphon 86190 pratchaya0934@gmail.com
Phatthara Thongkajorn 13 August 1995 107/3 Moo. 3, Khongphutsa, Phothong, Angthong 14120 B.Buai1303@gmail.com
Education Current • Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Thailand 2014 • Nakhon Si Thammarat College of Fine Arts, Nakhon Si Thammarat
Education Current • MFA, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts,
Group Exhibition 2019 • The 1st Thai Oil, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University 2018 • The 35th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, Art and Cultural Center Commemorating the 6th cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University,Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom • How…Thai?, H.R.H.Princess Sirindhorn Art Gallery, the Sirindhorn Visual Art Workshop Building, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Sanamchandra Palace, Nakhon Pathom, Thailand
Group Exhibition 2019 • The 41st Bua Luang Painting, the Queen’s Gallery,Bangkok, Thailand • The 65th National Exhibition of Art, the National Art Gallery, Bangkok, Thailand • The 5th International Print and Draw, Bangkok Art and Culture Centre (BACC), Bangkok, Thailand • The 14th National Exhibition of Children and Youth Art Contest, the National Art Gallery, Bangkok, Thailand 2018 • How…Thai?, H.R.H.Princess Sirindhorn Art Gallery, The Sirindhorn Visual Art Workshop Building, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Sanamchandra Palace, Nakornpathom, Thailand 2017 • I AM ORIGINAL 2, Bangkok Art and Culture Centre (BACC), Bangkok, Thailand 2016 • The 11th Exhibition of the National Children and Youth Art Contest, the National Art Gallery, Bangkok • Know the World No. 5, Central World Department Store, Bangkok • Stucco Art Contest for the Blind, Crystal Court, M Floor, Siam Paragon Department Store, Bangkok • SEA SIDE SHADE, Venice Di Iris,Bangkok
2018
Silpakorn University, Bangkok, Thailand
• BFA, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok, Thailand
Awards and Honors 2019 • 3rd Prize,Bronze Medal Awards (Contemporary painting), the 41st Bua Luang Painting Competition • Thai Young Artist Award Project 2019, Bangkok Art and Culture Centre, Bangkok, Thailand • 3rd Prize, the 14th National Exhibition of Children and Youth Art Contest, the National Art Gallery, Bangkok, Thailand 2016 • Honorable Mention, the Stucco Art Contest for the blind on the tourist destination
83
Panuwat Angkasee 22 August 1996 109/151 Bang Sao Thong, Bang Sao Thong, Samut Prakan 10540 net-schwarz@hotmail.com
Aroonkamon Thongmorn 16 April 1995 78/33 Taweecoon2 village ,Khaowngu-Berkpai Rd., Banpong, Ratchaburi 70110 aroon.kamon@hotmail.com
Education 2016 • Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Thailand 2014 • College of fine arts, Bangkok, Thailand
Education 2018 • MFA, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok,Thailand 2013 • BFA, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok,Thailand
Group Exhibition 2018 • The 13th National Youth and Juvenile Art, The Queen’s Gallery, Bangkok, Thailand • Young Thai Artist Award 2018 by SCG Foundation, the National Gallery, Bangkok, Thailand
Group Exhibition 2019 • International art Workshop 2019, Psg Art Gallery, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Nakorn Pathom • The 41st Bua Luang Art Exhibition, the Queen’s Gallery, Bangkok, Thailand 2018 • The 2nd How...Thai, Psg Art Gallery, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Nakorn Pathom • 7 o Art Thesis Exhibition, by the Graduating Class, Psg Art Gallery, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Nakorn Pathom • The 35th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom • The 13th Children and youth National Exhibition of Art, the National Gallery, Bangkok, Thailand • The 40th Bua Luang Art Exhibition (Contemporary Art), the Queen’s Gallery, Bangkok, Thailand • The 34th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom 2017 • How Thai? , H.R.H Princess Sirindhorn Art Gallery, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts,Silpakorn University Sanamchandra Palace, Nakorn Pathom
Awards and honors 2018 • 3rd Prize, the 13th National Youth and Juvenile Art • Winning Awards, Young Thai Artist Award 2018 ์
84
Kantanat Napatompanapan 14 February 1997 148/202 Padcha Village, Thepharak Road, Samutprakarn,Thailand 10270 filmkantanat@gmail.com kantaanat.wixsite.com/kantaanat
Tananan Jaisawang 10 April 1995 449 /9, Sanamkeela Road, Rob Wiang, Amphoe Muang, Chiang Rai, 57000 Thailand tananan.a@hotmail.com Education
Education 2015 • BFA, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Thailand 2012 • Bodindecha (Sing Singhaseni) Samutprakarn School Group Exhibition 2019 • Office Hour Project, Speedy Grandma Gallery,Thailand 2018 • PRINTABLE 2018 (Printmaking Art Exhibition) at Krungthai Art Gallery, Krungthai Bank, Yaowarat Branch Building, Yaowarat road, Thailand 2017 • The 5th Print for you (Graphic Arts Department), Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Thailand
2019 2012
• BFA (Thai Arts) ,The Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts Silpakorn University, Bangkok, Thailand • Samakkhiwitthayakhom School
Work 2019
• Tananan Art Studio and Home,Chaing Rai. Thailand
Group Exhibition 2019 • Global Women – Women’s Art by Maeying Chiang Rai Artists Group and International Artists at Artbridge (ABCR), Chiang Rai, Thailand • 1971, Art Thesis Exhibition By the Graduating Class of the faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts,Silpakorn University, H.R.H Princess Sirindhorn Art Gallery, Nakhon Pathom, Thailand • Unknown Welcome or Zones, International Exhibition By Exchange Students, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, H.R.H Princess Sirindhorn Art Gallery, Nakhon Pathom, Thailand 2018 • The 35th Exhibition of Contemporary Art by Young Artist, Art and Cultural Center Commemorating the 6 th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University,Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom • Her charm by MaeYing Chiangrai Artists group, Nan River Side Art Space, Nan, Thailand 2017 • Dhamma Dab Ron , Rai Chun Tawan Vipassana Center, Chiang Rai, Thailand 2016 • 1+1 creative drawing, Seven Rangsan Gallery,Bangkok, Thailand • Sea Side Shade Part2: Summer Impressions,Venice Di Iris Space, Bangkok, Thailand Awards and Honors 2018 • Silpa Bhirasri Silver Medal Award, the 35th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom • Purchasing Prize,Bangsaen Art Contest 2018, Chonburi, Thailand 2012 • The Beat Total Score 2nd Prize, SCG Art Camp 2012, Chonburi, Thailand • 3rd Prize (Painting), National Artist Project for AEC 2011, Baan Dam, Chiang Rai , Thailand 2011 • A Grant of the Siam Commercial Foundation (SCFO) from Tawan Duchanee, Baan Dam, Chiang Rai, Thailand Artist in Residence 2018 • Mite Ugro, Gwangju, South Korea
85
Thanakorn Wongborisuth 20 December 1996 135 Pracha Uthit Road, Soi Pracha Uthit 69, Bangmod, Thungkru, Bangkok 10140 Assari_96@outlook.com
Nichakarn Jullapong 13 May 1994 70/90 Moo. 2, Nanain Rd, Makhamtia, Muang, Surathani 84000 Nichakarn.2512@gmail.com
Education 2019 • BFA,(Fine Arts), Faculty of Architecture,King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Thailand
Education 2017 • MFA, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University 2012 • BFA, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University
Group Exhibition 2019 • Moiré Art Thesis Exhibition, Bangkok Art and Culture Centre (BACC), Bangkok, Thailand 2018 • The 35th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, Art and Cultural Center Commemorating the 6th cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom 2017 • The Losif Lser International Contemporary Engraving Biennial Exhibition
Group Exhibition 2017 • Noir Art Thesis, Ardel Gallery of Modern Art, Bangkok, Thailand • Print for You, Silpakorn University, Thailand • Translation of 3 of Printmaking, Silpakorn University, Thailand • The 13rd National Children’s Art Competition, the Queen’s Gallery, Bangkok, Thailand 2015 • Print for You, Silpakorn University, Thailand
86
Nittaya Hernmek 30 November 1994 290 Moo. 5, Chum Phae, Khon Kaen 40290
Education 2018 • MFA (Visual Arts), Faculty of Painting, Sculpture and
Education 2019 2016
• MFA, Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University • BFA (Printmaking), Mahasarakram University
2014
Group exhibition 2019 2018 2017
Wichian Khongsawat 26 October 1995 96 Moo 4 Na Pho,Sawi, Chumphon 86130 wichian17611@gmail.com
Graphic Arts, Silpakorn University
• BFA (Painting), Faculty of Arts, Suan Sunandha Rajabhat University
Group Exhibition 2019 • The 21st Panasonic Contemporary Painting Exihibition, the National Gallery,Bangkok, Thailand • The 14 th National Youth Art and Juvenile Art , the National Gallery,Bangkok, Thailand 2018 • The 20th Panasonic Contemporary Painting Exihibition, the National Gallery,Bangkok, Thailand • The 10th Excellent Art Thesis Exhibition,the Queen’s Gallery,Bangkok, Thailand • Thesis WANNEE ART EXHIBTION, at Seven Art Gallery, Bangkok, Thailand • The 7th White Elephant Art Exhibition, Bangkok Art and Culture Centre (BACC), Bangkok, Thailand • Young Artists Talent 4.0, Andaman Art Gallery and Rajadamnern Art Gallery 2016 • Bua Luang Star 101 , Bualuang Star Camp No. 9, the Queen’s Gallery,Bangkok, Thailand 2015 • Emotional Beauty According to the Mood, Art Gallery, Suan Sunandha Rajabhat University
• The 8th White Elephant Art Award, Bangkok Art and Culture Centre (BACC), Bangkok, Thailand • The 4th Krungthai Art Awards, Krungthai Art Gallery, Bangkok, Thailand • The 34th PTT Art Exhibition, Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom • The 35th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom • Young Thai Artist Award 2018 by SCG Foundation , the National Gallery, Bangkok, Thailand • The 13 th National Youth and Juvenile Art Exhibition , the Queen’s Gallery, Bangkok, Thailand • The 33th PTT Art Exhibition Pride of Thailand, Art Centre Silpakorn University, Bangkok, Thailand • The 12 th National Youth and Juvenile Art Exhibition , the Queen’s Gallery, Bangkok, Thailand • The 8th Young Artists Talent Art Exhibition, Ratchadamnoen Contemporary Art Center, Thailand • The 20th Art Thesis Exhibition, Champasak Art Gallery, Mahasarakham, Thailand
Awards 2019 2018 2014
Awards and Honors 2019 • Runner-up Award, the 8 th White Elephant Art Award, Bangkok Art and Culture Centre (BACC), Bangkok, Thailand • The 4th Krungthai Art Awards, Krung Thai Art Gallery, Bangkok, Thailand • Commendable Prize, the 34 th PTT Art Exhibition Pride of Thailand, Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom 2018 • Silpa Bhirasri Silver Medal Award, the 35th Exhibition of Contemporary Art by Young Artist, Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom • Winning Award, Young Thai Artists Project 2018 (2D Art)
87
and Honors • Outstanding Award, the 21st Panasonic Contemporary Painting Competition • Mahidol Princess Marisit Foundation • Honorable Mention, Art For the King
Suwimol Suksamran 3 January 1994 846/37 Taiban Rd, Mueng Samutprakan, Samutprakan 10280 beamate@outlook.com Education 2018 • BFA (Graphic Arts and Graphic Medias), Burapha University, Chonburi,Thailand Group Exhibition 2019 • The 14th National Youth and Juvenile Art, the National Gallery, Bangkok, Thailand 2018 • GAM Exibition, Long print , Bangkok Art and Culture Center,Bangkok,Thailand Awards and Honors 2016 • Bonze Medal Award, The 11th National Youth and Juvenile Art 2015 • Honorable Mention Award, the 10th National Youth and Juvenile Art
Apirat Rerkdee 17 April 1996 168/1 Srinakornpattana Village 1,Soi Navamin 24, Navamin Road, Khlongkum, Buengkum, Bangkok,10240 aun1681@gmail.com
Education 2018 • BFA (Visual Arts), Department of Graphic Arts, Faculty of Painting Sculptue and Graphic Arts, Silpakorn University 2013 • Bodindecha (Sing Singhaseni) School Group Exhibition 2019 • 1971 Art Thesis Exhibition ,Bangkok Art and Culture Centre (BACC), Bangkok, Thailand and H.R.H Princess Sirindhorn Art Gallery,Silpakorn University,Sanamchandra Palace Campus, Nakhon Pathom, Thailand • The 5 th Bangkok Triennale International Print and Drawing Exhibition, Bangkok Art and Culture Centre (BACC), Bangkok, Thailand 2018 • ARTASIA 2018 Art, Universiade, Kintex Korea International Exhibition Center, Goyang, South Korea • Printable 2018, Krungthai Art Gallery, Krungthai Bank, Bangkok, Thailand • The 5th Print For You, Fire Five, H.R.H Princess Sirindhorn Art Gallery, Silpakorn University Sanamchandra Palace, Nakhon Pathom, Thailand 2017 • The 34th Exhibition of Contemporary Art By Young Artist, Nakorn Pathom, Thailand • The 10 th Kochi International Triennial Exhibition of Prints, Japan • The 2nd International Print Biennial Lodz, Poland • The 4 th Print For You , H.R.H Princess Sirindhorn Art Gallery, Silpakorn University Sanamchandra Palace, Nakhon Pathom, Thailand 2016 • 1+1 Creative Drawing Exhibition, The Seven Art Gallery, Bangkok, Thailand Awards and Honors 2018 • Special Awards, The 35th Exhibition of Contemporary Art by Young Artists, Art and Cultural Center Commemorating the 6th Cycle Birthday Anniversary of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej, Silpakorn University, Sanamchandra Campus, Nakorn Pathom • Special Awards Two-dimensional art,the Young Thai Artist Awards 2018,the National Gallery, Bangkok,Thailand 2014 • Special Awards,Corruption destroying the country Art Contest, Bangkok, Thailand
88
ภาคผนวก • Appendix
89
คำ�สั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 423 / 2562 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงาน การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประจำ�ปี 2562
ด้วยมหาวิทยาลัยศิลปากร กำ�หนดจัดการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประจำ�ปี 2562 ฉะนั้นเพื่อให้การดำ�เนินงาน เป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงาน การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประจำ�ปี 2562 ประกอบด้วย ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งและผู้มีนามดังต่อไปนี้ 1. รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ปรึกษา 2. ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประธานกรรมการ 3. รองอธิการบดี พระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายบริการสถานที่ และรักษาความปลอดภัย 4. อาจารย์ ดร.ปรมพร ศิริกุลชยานนท์ กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ 5. นายศรายุทธ ภูจริต กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายสูจิบัตร โปสเตอร์ บัตรเชิญและสิ่งพิมพ์อื่นๆ 6. ผู้อำ�นวยการกองคลัง มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายการเงิน เงินรางวัล และเหรียญรางวัล 7. นายยุทธศักดิ์ รัตนปัญญา กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายรับ-คืนผลงานศิลปกรรม 8. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายนิทรรศการ 9. หัวหน้างานสื่อสารองค์กร มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ 10. นางสาวดาราพร ครุฑคำ�รพ กรรมการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายประเมินผล 11. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการและเลขานุการ ประธานอนุกรรมการฝ่ายพิธีการ และเลขานุการ 12. นางนันทาวดี เกาะแก้ว กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 13. นายสำ�ราญ กิจโมกข์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 14. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 15. นายวรรณพล แสนคำ� กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 16. นายรุจฬสวัตต์ ครองภูมินทร์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ทัง้ นี้ คณะกรรมการจักมีหน้าทีใ่ นการดำ�เนินงานจัดการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุน ่ เยาว์ ครัง้ ที่ 36 ประจำ�ปี 2562 โดยประสานงาน กับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องของมหาวิทยาลัยศิลปากร และหน่วยงานภายนอกให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ สั่ง ณ วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2562
(อาจารย์ปัญจพล เหล่าพูนพัฒน์) ผู้รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
90
คำ�สั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 754 / 2562 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประจำ�ปี พ.ศ. 2562 ด้วยมหาวิทยาลัยศิลปากรกำ�หนดจัดการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประจำ�ปี 2562 ระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2562 ณ ศูนย์ศล ิ ปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ฉะนั้น เพื่อ ให้การดำ�เนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกและตัดสิน การแสดงศิลปกรรม ร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประกอบด้วยผู้ดำ�รงตำ�แหน่ง และผู้มีรายนาม ดังต่อไปนี้ 1. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ พงศ์เดช ไชยคุตร กรรมการ 2. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ปริญญา ตันติสุข กรรมการ 3. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ รสลิน กาสต์ กรรมการ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วุฒิกร คงคา กรรมการ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมหมาย มาอ่อน กรรมการ 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร กรรมการ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อนุพงษ์ จันทร กรรมการ 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะ กรรมการ 9. อาจารย์ อำ�มฤทธิ์ ชูสุวรรณ กรรมการ 10. อาจารย์ สาครินทร์ เครืออ่อน กรรมการ 11. ผู้อำ�นวยการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรรมการและเลขานุการ
สั่ง ณ วันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) ผู้รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
91
คำ�สั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 1329 / 2562 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำ�เนินงานฝ่ายต่างๆ การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประจำ�ปี 2562 ตามคำ�สั่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ 423/2562 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2562 สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำ�เนินงาน การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัย ของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประจำ�ปี 2562 แล้วนั้น เพื่อให้การดำ�เนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำ�เนินงานฝ่ายต่างๆ การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประจำ�ปี 2562 ตามรายนามดังนี้ 1. คณะอนุกรรมการฝ่ายบริการสถานที่ และรักษาความปลอดภัย 1. รองอธิการบดี พระราชวังสนามจันทร์ ประธานอนุกรรมการ 2. ผู้ช่วยอธิการบดี พระราชวังสนามจันทร์ อนุกรรมการ 3. ผู้อำ�นวยการกองงานวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อนุกรรมการ 4. หัวหน้างานบริหารงานทั่วไป กองงานวิทยาเขตฯ อนุกรรมการ 5. หัวหน้างานบริการกลาง กองงานวิทยาเขตฯ อนุกรรมการ 6. หัวหน้างานพัสดุ กองงานวิทยาเขตฯ อนุกรรมการ 7. หัวหน้างานช่างและซ่อมบำ�รุง กองงานวิทยาเขตฯ อนุกรรมการ 8. หัวหน้างานจัดการทรัพย์สิน กองงานวิทยาเขตฯ อนุกรรมการ 9. นายกิตติศักดิ์ เสมอสุข อนุกรรมการ 10. นายเอกชัย ยอดสุวรรณ อนุกรรมการ 11. นายพีระวิทย์ ถวิลกลิ่นซ้อน อนุกรรมการ 12. ว่าที่ร้อยตรีประกิต วิโรจน์ชัยสิทธิ์ อนุกรรมการ 13. นายสกล ทองทวี อนุกรรมการ 14. นายบัณฑิต เรืองพยุงศักดิ์ อนุกรรมการ 15. นายอุเทน ลิ้มเจริญพิพัฒ อนุกรรมการ 16. นายธนันพัชญ์ ภากรณ์ธนเกียรติ อนุกรรมการ 17. นางสาวศศิธร องอาจ อนุกรรมการ 18. นายศักดิ์ชาย ปลื้มจิตต์ อนุกรรมการ 19. นางสาวภคปภา นาถะพินธุ อนุกรรมการ 20. นางสาวธิติมา สุทธิบุตร อนุกรรมการ 21. นางสาวณัฐธยาน์ นันทิสิงห์ อนุกรรมการ 22. หัวหน้างานกิจการพิเศษ กองงานวิทยาเขตฯ อนุกรรมการและเลขานุการ 23. นายปัญจพจน์ ชิวปรีชา อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 2. คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ 1. อาจารย์ ดร.ปรมพร 2. นางสาวดาราพร 3. นายกฤษฎา 4. นายชัยวัช 5. นายวรรณพล 6. นายศรายุทธ 7. นายรุจฬ์สวัตต์ 8. นางสาวชลดา 9. นางสาวเมธาวี
ศิริกุลชยานนท์ ประธานอนุกรรมการ ครุฑคำ�รพ อนุกรรมการ ดุษฎีวนิช อนุกรรมการ เวียนสันเทียะ อนุกรรมการ แสนคำ� อนุกรรมการ ภูจริต อนุกรรมการ ครองภูมินทร์ อนุกรรมการ พันธุ์ภักดีดิสกุล อนุกรรมการ กิตติอาภรณ์พล อนุกรรมการและเลขานุการ
92
3. คณะอนุกรรมการฝ่ายสูจิบัตร 1. นายศรายุทธ 2. นางนันทาวดี 3. นางสาวสมฤดี 4. นายกฤษฎา 5. นายวรรณพล 6. นายชัยวัช 7. นางสาวเมธาวี 8. นางสาวชลดา
โปสเตอร์ บัตรเชิญ และสิ่งพิมพ์อื่นๆ ภูจริต ประธานอนุกรรมการ เกาะแก้ว อนุกรรมการ เพ็ชรทอง อนุกรรมการ ดุษฎีวนิช อนุกรรมการ แสนคำ� อนุกรรมการ เวียนสันเทียะ อนุกรรมการ กิตติอาภรณ์พล อนุกรรมการ พันธุ์ภักดีดิสกุล อนุกรรมการและเลขานุการ
4. คณะอนุกรรมการฝ่ายการเงิน เงินรางวัล และเหรียญรางวัล 1. ผู้อำ�นวยการกองคลัง มหาวิทยาลัยศิลปากร ประธานอนุกรรมการ 2. นางดุษณี คล้ายปาน อนุกรรมการ 3. นางสาวเกษณีย์ วันศรี อนุกรรมการ 4. นายสำ�ราญ กิจโมกข์ อนุกรรมการและเลขานุการ 5. นางสาวจิราภรณ์ ศิริวรรณ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 5. คณะอนุกรรมการฝ่ายรับ-คืนผลงานศิลปกรรม 1. นายยุทธศักดิ์ รัตนปัญญา ประธานอนุกรรมการ 2. นายสำ�ราญ กิจโมกข์ อนุกรรมการ 3. นางสาวมินตา วงษ์โสภา อนุกรรมการ 4. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง อนุกรรมการ 5. นางสาวจิราภรณ์ ศิริวรรณ อนุกรรมการ 6. นายเอกพงษ์ สกุลพันธุ์ อนุกรรมการ 7. นางสาวจันจิรา จันทร์ผดุง อนุกรรมการ 8. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช อนุกรรมการ 9. นายวรรณพล แสนคำ� อนุกรรมการ 10 นายศรายุทธ ภูจริต อนุกรรมการ 11. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ อนุกรรมการ 12. นายรุจฬ์สวัตต์ ครองภูมินทร์ อนุกรรมการ 13. นายเฉลิม กลิ่นธูป อนุกรรมการ 14. นายสิทธิพร กล่ำ�ศรี อนุกรรมการ 15. นางนันทาวดี เกาะแก้ว อนุกรรมการและเลขานุการ
6. คณะอนุกรรมการฝ่ายนิทรรศการ 1. นายกฤษฎา ดุษฎีวนิช ประธานอนุกรรมการ 2. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ อนุกรรมการ 3. นายศรายุทธ ภูจริต อนุกรรมการ 4. นายเฉลิม กลิ่นธูป อนุกรรมการ 5. นายสิทธิพร กล่ำ�ศรี อนุกรรมการ 6. นายวรรณพล แสนคำ� อนุกรรมการและเลขานุการ
7. คณะอนุกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ 1. หัวหน้างานสื่อสารองค์กร มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง 3. นางสาวเมธาวี กิตติอาภรณ์พล 4. นางสาวชลดา พันธุ์ภักดีดิสกุล 5. นายรุจฬ์สวัตต์ ครองภูมินทร์ 6. นางสาวกาญจนา จุลโพธิ์ 7. นายธนตุลย์ เบ็งสงวน 8. นายวิศาล ศรีทัศนีย์ 9. นายไกรสร ลีสีทวน 10. นางศรีวรรณ ฤกษ์ชัยรัศมี 11. นางสาวดลนภา พัวพันธ์งาม
93
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
8. คณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผล 1. นางสาวดาราพร ครุฑคำ�รพ ประธานอนุกรรมการ 2. นายเอกพงษ์ สกุลพันธุ์ อนุกรรมการ 3. นายรุจฬ์สวัตต์ ครองภูมินทร์ อนุกรรมการและเลขานุการ 9. คณะอนุกรรมการฝ่ายพิธีการ และเลขานุการ 1. เลขานุการหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประธานอนุกรรมการ 2. นางลภัสรดา ทองผาสุก อนุกรรมการ 3. นางนันทาวดี เกาะแก้ว อนุกรรมการ 4. นายสำ�ราญ กิจโมกข์ อนุกรรมการ 5. นายเอกพงษ์ สกุลพันธุ์ อนุกรรมการ 6. นายชัยวัช เวียนสันเทียะ อนุกรรมการ 7. นางสาวจิราภรณ์ ศิริวรรณ อนุกรรมการ 8. นางสาวจันจิรา จันทร์ผดุง อนุกรรมการ 9. นายรุจฬ์สวัตต์ ครองภูมินทร์ อนุกรรมการ 10. นางสาวเมธาวี กิตติอาภรณ์พล อนุกรรมการ 11. นางสาวชลดา พันธุ์ภักดีดิสกุล อนุกรรมการ 12. นางเอื้อมพร แผนสมบูรณ์ อนุกรรมการ 13. นางประคิ่น สุกเทพ อนุกรรมการ 14. นางสาวสมฤดี เพ็ชรทอง อนุกรรมการและเลขานุการ 15. นางสาวมินตา วงษ์โสภา อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ทั้งนี้ ให้คณะอนุกรรมการดำ�เนินงานฝ่ายต่างๆ มีหน้าที่ในการดำ�เนินงานจัดการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประจำ�ปี 2562 ตามแนบมาพร้อมนี้ โดยประสานงานกับหน่วยงานต่างๆในมหาวิทยาลัยศิลปากร และหน่วยงานภายนอกให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ สั่ง ณ วันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2562
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช) ผู้รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
94
ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ผลการตัดสินผลงานศิลปกรรม การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประจำ�ปี พ.ศ. 2562 ตามประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร ลงวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2562 เรื่องการแสดง ศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประจำ�ปี พ.ศ. 2562 ได้เชิญชวน ศิลปินส่งผลงานเข้าร่วมประกวดในการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ไปแล้วนั้น บัดนี้ คณะกรรมการคัดเลือกและตัดสินได้พิจารณาตัดสินผลงานศิลปกรรมของศิลปินที่ส่งเข้าประกวดการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปิน รุ่นเยาว์ในครั้งนี้แล้วผลปรากฏว่ามีศิลปินได้รับรางวัล สรุปได้ดังนี้ รางวัลเกียรตินิยมยอดเยี่ยม เหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” 2 รางวัล นางสาวคนัมพร พันธุ์สวัสดิ์ ผลงานชื่อ นางสาวรสา สิทธิการ ผลงานชื่อ
“Dictionary of Life” “ความงามของความตาย”
รางวัลเกียรตินิยม เหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” 8 รางวัล นายคเณศ แสนศรีลา ผลงานชื่อ นายธนพล อินทฤทธิ์ ผลงานชื่อ นางสาวธนัชชา ลีลางกูร ผลงานชื่อ นายธีรพล สีอิ่น ผลงานชื่อ นางสาวปรัชญา เจริญสุข ผลงานชื่อ นายภัทร ทองขจร ผลงานชื่อ นายภานุวัฒน์ อังคะสี ผลงานชื่อ นางสาวอรุณกมล ทองมอญ ผลงานชื่อ
“รถบรรทุก หมายเลข 4” “จรัญ 2561 หมายเลข 1” “รูปแห่งกิเลสวัฏฏะ” “เปลี่ยนผ่าน หมายเลข 1” “ขยะ-สังคม” “สามัญชีวิต หมายเลข 7” “ไม่ใช่เรื่องใหม่ เป็นปรากฏการณ์ที่เราเคยพบผ่าน” “ศิลปวัตถุ พ.ศ. 2562”
รางวัลสนับสนุน รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์ 8 รางวัล นางสาวกัณฐณัฏฐ์ ณปฐมปณพัณณ์ ผลงานชื่อ นางสาวธนนันท์ ใจสว่าง ผลงานชื่อ นายธนากร วงษ์บริสุทธิ์ ผลงานชื่อ นางสาวนิชกานต์ จุลพงศ์ ผลงานชื่อ นางสาวนิตยา เหิรเมฆ ผลงานชื่อ นายวิเชียร คงสวัสดิ์ ผลงานชื่อ นางสาวสุวิมล สุขสำ�ราญ ผลงานชื่อ นายอภิรัฐ ฤกษ์ดี ผลงานชื่อ
“จดหมายจาก 1942 หมายเลข 3” “ภาพรักประจำ�บ้าน” “พันธนาการภายใต้มายาคติ” “บ้านของฉัน โลกจินตนาการของฉัน หมายเลข 2” “ที่พำ�นักแห่งจิต” “สัจจะธรรมแห่งชีวิต หมายเลข 4” “อยากขี่เสือ เหยื่อต้องเด็ด” “The Truth, Dimension and the Truth? No.6”
ประกาศ ณ วันที่ 31
กรกฎาคม พ.ศ. 2562
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชัยชาญ ถาวรเวช) ผู้รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
95
ประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง ผลการคัดเลือกผลงานศิลปกรรม การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประจำ�ปี พ.ศ. 2562 ตามประกาศมหาวิทยาลัยศิลปากร ลงวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2562 เรื่อง การแสดง ศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ประจำ�ปี พ.ศ. 2562 ได้เชิญชวน ศิลปินส่งผลงานเข้าร่วมประกวดในการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 36 ไปแล้วนั้น บัดนี้ คณะกรรมการคัดเลือกผลงานศิลปกรรมของศิลปินที่ส่งเข้าประกวดการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ในครั้งนี้แล้วผล ปรากฏว่ามีศิลปินได้รับการคัดเลือกให้ได้ร่วมแสดง สรุปได้ดังนี้ นายกฤตณัฐชา พยัคฆศักดิ์ ผลงานชื่อ “พันธนาการแห่งการศึกษา” นายกฤษณรัช นันต๊ะคำ� ผลงานชื่อ “สัตว์สังคม หมายเลข 1” นายกันต์ มหาเปารยะ ผลงานชื่อ “เทวรูปยุควัตถุนิยม” นายกิตติพันธ์ บุญชุ่มใจ ผลงานชื่อ “โซนของมากาเร็ต” นายกิตติพิชญ์ ทองขาว ผลงานชื่อ “สัญญะชีวิตริมทาง” นางสาวกุลพธู บุญเลี้ยง ผลงานชื่อ “วัตถุที่ไม่สามารถระบุได้” นายเกียรติศักดิ์ ไพราม ผลงานชื่อ “ผจญภัยแดนต่างดาว” นายคเณศ แสนศรีลา ผลงานชื่อ “รถบรรทุก หมายเลข 3” นายคมสันต์ ตันเสรีสกุล ผลงานชื่อ “อนุสาวรีย์ ศิวิไลซ์ หมายเลข 1” นางสาวจรรยพร รุ่งเรืองระยับกุล ผลงานชื่อ “ความฝันอันสูงสุดของฉัน” นายจักรชัย เพ็ชรปานกัน ผลงานชื่อ “ธรรมชาติกับความอุดมสมบูรณ์” นายจิรายุ แซ่ลอ ผลงานชื่อ “ฤดูกาล” นางสาวจุฑามาศ มาสว่าง ผลงานชื่อ “Baby Doll” นายเจนณรงค์ แคะมะดัน ผลงานชื่อ “ความจริงของอุดมคติ” นางสาวชฎาพร นวลพงษ์ ผลงานชื่อ “รูปทรงจินตนาการแห่งวิถีชีวิตชนบทอีสาน” นางสาวชนินาถ นาระต๊ะ ผลงานชื่อ “ภาวะสิ้นยินดี หมายเลข 2” นางสาวชนิยา มณีนวล ผลงานชื่อ “ครัวไทย” นายเชาวรินทร์ ลามคำ� ผลงานชื่อ “รูปทรงแห่งการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิต หมายเลข 2” นายซุบฮา จาเอาะ ผลงานชื่อ “สัญลักษณ์พื้นฐานชีวิต” นางสาวณัฐกานต์ สิงหนาท ผลงานชื่อ “น้ำ�ท่วม” นายณัฐพงศ์ บุญมีลาภ ผลงานชื่อ “มิติลี้ลับ” นางสาวทิพรัตน์ อ่อนอินทร์ ผลงานชื่อ “ดินแดนแห่งความฝัน หมายเลข 1” และผลงานชื่อ “ดินแดนแห่งความฝัน หมายเลข 2” นางสาวธนนันท์ ใจสว่าง ผลงานชื่อ “นักเก็บความทรงจำ�ประจำ�บ้าน หมายเลข 2” นายธนบดี สุขสอาด ผลงานชื่อ “พรหมลิขิต หมายเลข 2” นายธนพล ดาทุมมา ผลงานชื่อ “พื้นที่ในจิตใจของคนข้ามเพศ หมายเลข 1” นายธนพล อินทฤทธิ์ ผลงานชื่อ “อรุณอัมรินทร์ หมายเลข 1” นายธนเศรษฐ์ รัตนวงศ์ ผลงานชื่อ “ความคิดที่ไม่รู้จบ” นางสาวธมลวรรณ ลวพิมล ผลงานชื่อ “ป้าย” และผลงานชื่อ “ฮกเส็ง” นายธรรศ รัชนีกร ผลงานชื่อ “กิจกรรมยามว่างหลังเลิกเรียนก่อนเวลา” นางสาวธัญลักษณ์ วรพันธ์ ผลงานชื่อ “ล่วงกระเพาะลงไปสู่” นายธีรพล สีอิ่น ผลงานชื่อ “เปลี่ยนผ่าน หมายเลข 2” นายนนทวัฒน์ ป้องศรี ผลงานชื่อ “ปฏิสัมพันธ์ ขัดแย้ง หมายเลข 2” นางสาวนิชกานต์ จุลพงศ์ ผลงานชื่อ “บ้านของฉัน โลกจินตนาการของฉัน หมายเลข 1” นายปฏิภาณ แสงอุทัย ผลงานชื่อ “กระดาษแห่งความทรงจำ�” นางสาวปัณฑิตา มีบุญสบาย ผลงานชื่อ “มวลหมู่ประชาหมา”
96
นายพงศกร ทองโฉม ผลงานชื่อ “สุรพล SOLO เลย!” นายพงศ์นรินทร์ อินทะศร ผลงานชื่อ “การปรับเปลี่ยนตนเองจากประสบการณ์ชีวิต หมายเลข 1” นางสาวพนิตตา วัชรนพวิภา ผลงานชื่อ “มหัศจรรย์แห่งป่า” นางสาวพรพรรณ มงคลสิทธิ์ ผลงานชื่อ “แลเรือน ที่ เลือนราง หมายเลข 2” นางสาวพิมพ์เพ็ญ หอมสมบัติ ผลงานชื่อ “Tuberose Flower” นายภฤศชัย หอมช่วงทรัพย์ ผลงานชื่อ “อารมณ์แห่งตัณหาทั้งสาม” นายภัทร ทองขจร ผลงานชื่อ “สามัญชีวิต หมายเลข 3” นางสาวภัสรากร สุทธิ ผลงานชื่อ “อัตลักษณ์ผู้หญิงและคุณค่า” นายภานุชิต ศรีวิชัย ผลงานชื่อ “วิถีแห่งการแลกเปลี่ยน หมายเลข 1” นางสาวภาสินี ชั้นโรจน์ ผลงานชื่อ “ธรรมชาติ หมายเลข 2” นายภูริกรณ์ คงสุวรรณ ผลงานชื่อ “สัญญะแทนความคิดถึง” นางสาวมนัชญา กิจประเสริฐ ผลงานชื่อ “หวนนึกถึง หมายเลข 2” นายวงศธร ธนปฐมสินชัย ผลงานชื่อ “มนุษย์กับธรรมชาติ หมายเลข 1” นางสาววนัญญา นักบริตน ผลงานชื่อ “ชุมชนเก่า” นายวรุณ ห้วยบุญ ผลงานชื่อ “ห้วงเวลาแห่งความคิดถึง หมายเลข 4” นายวสันต์ สมนึก ผลงานชื่อ “สัมพันธภาพรูปทรงธรรมชาติ” นายวันชัย ณรงค์ชัย ผลงานชื่อ “สายสัมพันธ์บรรพชน” นางสาววาสนา สุนันสา ผลงานชื่อ “คู่เคียง” นายวิเชียร คงสวัสดิ์ ผลงานชื่อ “สัจจะธรรมแห่งชีวิต หมายเลข 3” นายวีรยุทธ นิยม ผลงานชื่อ “ชีวิต - สัมพันธ์ ในพื้นที่เปลี่ยนผ่าน” นายวุฒิไชย บุณยมานนท์ ผลงานชื่อ “Chameleon’s Evolution” นายศุภวิชญ์ วีสเพ็ญ ผลงานชื่อ “การสังเคราะห์ของการโต้เถียงที่เป็นอนันต์” นายศุภศิษฎ์ อัศวิษณุ ผลงานชื่อ “ยึดโยง หมายเลข 1” นายสมาชัย ปุ่มสันเทียะ ผลงานชื่อ “สัมพันธภาพของความรัก หมายเลข 5” นายสาคร วงษ์ราชสีห์ ผลงานชื่อ “สัตว์-มนุษย์ กระดาษ ไม้ไผ่ รังไหม” และผลงานชื่อ “รถถัง ไม้ไผ่ รังไหม” นายสุทธิโชค ภูเขา ผลงานชื่อ “จับจ้อง” นายสุทธิลักษณ์ เวียงคำ� ผลงานชื่อ “มักกะลีผล หมายเลข 1” และผลงานชื่อ “มักกะลีผล หมายเลข 2” นายสุภาพ ธาวินัย ผลงานชื่อ “การเก็บรักษาความรู้สึกของเด็กผู้ชาย” นางสาวสุวิมล สุขสำ�ราญ ผลงานชื่อ “เชิด” นายอภิสร อาสุ ผลงานชื่อ “สัมพันธ์-วิถี-วัตถุ หมายเลข 2” นายอมรเทพ อาจอ่อนศรี ผลงานชื่อ “สภาวะมลพิษแห่งมนุษย์” นายอัษฎาวุธ ภูยาทิพย์ ผลงานชื่อ “จังหวะในวัตถุชนบท”
ประกาศ ณ วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชัยชาญ ถาวรเวช) ผู้รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
97
รายชื่อผู้ได้รับรางวัล จากการแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 1 – 35 (พ.ศ. 2527 - 2561) • ครั้งที่ 1
(15 กันยายน - 7 ตุลาคม 2527) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( วังท่าพระ ) กรุงเทพฯ
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายวีรชัย บาลไธสง นายชัยมิตร แสวงมงคล นายธนู เพ็ญพานิชย์ นายพยัต ชื่นเย็น นายศิลปชัย ตุ่นหรัด นายสุทธิพงศ์ ช้างเอม • ครั้งที่ 2 (15 กันยายน - 7 ตุลาคม 2528) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( วังท่าพระ ) กรุงเทพฯ ไม่มีผู้ได้รับรางวัล นายไกรศักดิ์ จิรชัยสกุล นายธราธิป นัทธีศรี นายนิพันธ์ โอฬารนิเวศน์ นายวชิรา วิชัยสิทธิกุล นายวีรชาติ ฤทธิบูลย์ นายศักดิ์วุฒิ วิเศษมณี นายสมเกียรติ ภิรมย์สุข • ครั้งที่ 3 (15 กันยายน - 7 ตุลาคม 2529) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( วังท่าพระ ) กรุงเทพฯ รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” นายศักดิ์นรินทร์ คูณสวัสดิ์ นายจักรพันธ์ วิลาสินีกุล นายชาติชาย ปุยเปีย นายธีระวัฒน์ คะนะมะ นายวีรชัย บาลไธสง นายอรัญ หงษ์โต • ครั้งที่ 4 (15 กันยายน - 7 ตุลาคม 2530) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( วังท่าพระ ) กรุงเทพฯ รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี” รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี” นายวิจิตร อภิชาติเกรียงไกร นายเจตนา พลาวงศ์ นายนพฤทธิ์ มิ่งมงคลเมือง นายปรีชา ปั้นกล่ำ� นายสุรสีห์ กุศลวงศ์ นายอรัญ หงษ์โต • ครั้งที่ 5 (15 กันยายน– 30 กันยายน 2531) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( วังท่าพระ ) กรุงเทพฯ นายนพฤทธิ์ มิ่งมงคลเมือง นายนิทัศน์ จันทนากร นายวิจิตร อภิชาติเกรียงไกร นางสาววิมลมาลย์ ขันธะชวนะ นายอนุพงศ์ สุทธะลักษณ์ นายอรัญ หงษ์โต • ครั้งที่ 6 (15 กันยายน - 7 ตุลาคม 2532) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( วังท่าพระ ) กรุงเทพฯ นายสุทัศน์ นิ่มเจริญ นายถนอมจิตร์ ชุ่มวงศ์ นายธีระวัฒน์ คะนะมะ นายวรา ชัยนิตย์ นายสมเกียรติ เจริญวิวัฒน์สกุล นายโอภาส โชติพันธวานนท์ • ครั้งที่ 7 (15 กันยายน - 2 ตุลาคม 2533) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( วังท่าพระ ) กรุงเทพฯ นายประพัฒน์ ศิรินวรัตน์ นางสาวจินตนา เปี่ยมศิริ นายเจษฎา กิรติเสวี นายรุจน์ ชิดบัณฑิตย์ นายนที อุตฤทธิ์ นายเจริญ ผิวนิล นายวรา ชัยนิตย์ นายภู พัวพันธ์สกุล นายบดินทร์ มหาวงศ์ นายสมเกียรติ เจริญวิวัฒน์สกุล นายสมเกียรติ หาญสถิตย์ นายบริรักษ์ ศุภตรัยวรพงศ์ นายสมชาย พ่วงจีน นายสราวุท ตันณีกุล นายภัทรุต ลำ�ลองรัตน ์ นายอรรจนสร ชาญใช้จัก • ครั้งที่ 8 (15 กันยายน - 5 ตุลาคม 2534) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( วังท่าพระ ) กรุงเทพฯ นายศุภชัย ศาสตร์สาระ นายเนติกร ชินโย นางสาวกัณจณา ดำ�โสภี นายบริรักษ์ ศุภตรัยวรพงศ์ นายปิติวรรธน์ สมไทย นายชัยพร ระวีศิริ นายประสาธน์ สงค์ประเสริฐ นายภู พัวพันธ์สกุล นายชัยพร แซ่เล้า นายวรา ชัยนิตย์ นายมาโนช เหลืองอุทัยรัตน์ นายธีระ เหล็กเพชร นายสิขเรศ ศิริไพบูลย์ นายสมชาย พ่วงจีน นายนที อุตฤทธิ์ นายอภิชาติ จันทนยิ่งยง • ครั้งที่ 9 (21 สิงหาคม - 8 กันยายน 2535) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( วังท่าพระ ) กรุงเทพฯ นายทินกร กาษรสุวรรณ นายชัชวาล นิลสกุล นายชัยพร ระวีศิริ นายสุดใจ ไชยพันธุ์ นายธีระ เหล็กเพชร นางสาวยุพา ชั่งกุล นายสุรเดช วัฒนประดิษฐ์ชัย นายนาวิน ลาวัลย์ชัยกุล นายวัฒน กรีทอง นายอภิชาติ แสงไกร นายรัตนฤทธิ์ จันทรรังสี นางสาวสาวสยาม กองเกตุ นายอนุพงษ์ คชาชีวะ นายวิชา วิรัชดำ�รงค์ นายสุพจน์ แสงมณี นายโอภาส ชมชื่น • ครั้งที่ 10 (25 สิงหาคม - 10 กันยายน 2536) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( วังท่าพระ ) กรุงเทพฯ นายอนุพงษ์ คชาชีวะ
นางสาวพัชรินทร์ เผือกศิริพิบูลย์ นางสาวยุพา ชั่งกุล นายสมนึก หวงธนะภัณฑ์ นายสหชัย ชมสวนสวรรค์ นายสุรพงษ์ สมสุข 98
นายธนิต นายบรรฑิต นายเพชร นายภุชงค์ นายมิสสมัย
มัชฌิมา พวงทอง สังวราภรณ์ บุญเอก ประทุมมัง
นายวรกรณ์ เมธมโนรมย์ นายสาธิต เชียงทอง นายสุพจน์ แสงมณี นายสุรเดช วัฒนาประดิษฐชัย นายอุดม ฉิมภักดี
• ครั้งที่ 11
(25 สิงหาคม - 11 กันยายน 2537) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( วังท่าพระ ) กรุงเทพฯ
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายสุรพงษ์ สมสุข นายไกรสร ประเสริฐ นายกวิน บำ�รุงศรี นายศิระ สุวรรณศร นายจักรพันธ์ พลยงค์ นายเกียรตินันท์ เดชาติวงศ์ ณ อยุธยา นายชัยวุฒิ ร่วมฤดีกุล นางสาวจรัสศรี รูปขำ�ดำ� นางสาวเสมอใจ ฤทธิญาณ นางสาวพัชรินทร์ เผือกศิริพิบูลย์ นายปัญญา วิเศษวงศ์ นายสัญญา พันธ์ไสว นายสุรเดช วัฒนาประดิษฐชัย นายปิยะ พวงขุนเทียน นายอลงกต เพชรศรีสุก นายพัลลภ วังบอน นายอดินันท์ ดามะอู นายไพโรจน์ วังบอน นายอุดม ฉิมภักดี นางสาวรงควรรณ อนันตศานต์ • ครั้งที่ 12 (24 สิงหาคม - 10 กันยายน 2538) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( วังท่าพระ ) กรุงเทพฯ นายมงคล เกิดวัน นายทิพเนตร์ แย้มมณีชัย นายคงสิทธิ์ ศรีสุวรรณ นางสาววัชราพร ศรีสุข นายนาวิน เบียดกลาง นางสาวศันสนีย์ รุ่งเรืองสาคร นายศิระ สุวรรณศร นางสาวพัชรินทร์ เผือกศิริพิบูลย์ นายชัยวุฒิ ร่วมฤดีกูล นายสราวุธ ทองคำ�ภา นายไพโรจน์ วังบอน นายปิยะ พวงขุนเทียน นายสัญญา พันธ์ไสว นายสุรเดช วัฒนาประดิษฐชัย นายพิเชษฐ์ สุนทรโชติ นายสุนทร มาลี นายวรา ทรรพสุทธิ์ • ครั้งที่ 13 (13 พฤษภาคม - 5 มิถุนายน 2539) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ( วังท่าพระ ) กรุงเทพฯ นายวรา ทรรพสุทธิ์ นายกัณวัตน์ พงศ์สร้อยเพ็ชร นายธง นายจักรกฤษณ์ อาสนะ นายพิชิต นางสาวเพชรรัตน์ จงสกุลศรี นายโชคชัย นางสาวศันสนีย์ รุ่งเรืองสาคร นายธนรัชต์ นายอานันท์ ราชวังอินทร์ นายบัญชา นายบัณฑิต นายสมชาย • ครั้งที่ 14
อุดมผล นายปัญญา มานาม นางสาวมณฑลี ริ้วทอง นางสาวยุวนา บุญยิ้ม นายศักดา ควรสมาคม นายสุชาติ พูนสมบัติเลิศ นายนาวิน แก้วเล็ก
วิเศษธนสารวงษ์ วิจิตรธนสาร ปุณวัฒนวิทย์ ทิพย์วารี จันทะไข่สร เบียดกลาง
(14 สิงหาคม - 6 กันยายน 2540) ณ พิพิธภัณฑ์ธนาคารไทย ธนาคารพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน ) สำ�นักงานใหญ่ กรุงเทพฯ
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายเด่นพงษ์ วงศาโรจน์ นายจักรพรรดิ์ สวัสดี นายศิริพล แสนจันทร์ นางสาวธันวา เกษศิรินทร์เทพ นายบัญชา ควรสมาคม นายสมชาย รุ่งก่อน นายนรเศรษฐ์ ไวศยกุล นายศราวุธ วิษณุคำ�รณ นายเวนิต พิมพ์พรมมา นายสมชาย รุ่งก่อน นายสมพงษ์ ลีระศิริ นายศุภเชษฐ์ ภุมกาญจน์ นายยุทธนา นิ่มเกตุ นายสัญญา พันธ์ไสว นางสาวปิยะนุช ปัญโญรักษ์ • ครั้งที่ 15 (15 กันยายน - 10 ตุลาคม 2541) ณ หอศิลป์ผ่านฟ้า ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) สาขาสะพานผ่านฟ้า กรุงเทพฯ รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายสมชาย รุ่งก่อน นายฐิติพล สุขกาย นายแทนวุธธา ไทยสันทัด นายเจษฎา คงสมมาศ นายธนสาร พัฒนสุทธิชลกุล นายกฤษณ์ เงาศรี นายอัครเดช คล่องบัญชี นายธีระชัย สุขสวัสดิ์ นายจันทร์กลาง ก้นทอง นายธีระยุทธ อินทร์แก้ว นายนิรัน แข็งขันธุ์ นายภาณุ สรวยสุวรรณ นายสันติ ธรรมรัตน์ นางสาวประไพวดี โภคสวัสดิ์ นางสาวศิริพร เสริมรัฐ • ครั้งที่ 16
(13 กันยายน - 15 ตุลาคม 2542) ณ ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) สาขาสะพานผ่านฟ้า กรุงเทพฯ
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายนิรัน แข็งขันธุ์ นางสาวกนกวรรณ บุญสรวย นายจักรพรรดิ์ สวัสดี นายประดิษฐ์ เหลืองวิภาวีวงศ์ นางสาวนุชรี พิเดช นายสุรินทร์ ยิ่งยง นายธำ�รงค์ศักดิ์ นิ่มอนุสสรณ์กุล นางสาวศิริพร เสริมรัฐ นายอุทัย ชาติดี นายจักรพงษ์ อ่อนวิจารณ์ นายชัชวาล อ่ำ�สมคิด นายดิฐพงษ์ บุญสนอง นายตนุพล เอนอ่อน นายสิทธิกร เทพสุวรรณ นายนที เกวลกุล • ครั้งที่ 17 (11 กันยายน - 5 ตุลาคม 2543) ณ หอศิลป์ผ่านฟ้า ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) สาขาสะพานผ่านฟ้า
กรุงเทพฯ
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายวิชชุ เสริมสวัสดิ์ศรี นายกิติพงษ์ ศิริรัตน์ นางสาวเกศินี พลับศิริ นายสุริยา นามวงศ์ นายชัชวาล อ่ำ�สมคิด นายอำ�นาจ คงวารี นายธนวัฒน์ สุริยะทองธรรม นายวุฒิพงษ์ ละมั่งทอง นายธนากร สารารักษ์ นายสิทธิกร เทพสุวรรณ นางสาวศุกฤดี แมงกลาง นายสุรินทร์ ยิ่งยง • ครั้งที่ 18 รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
(3 กันยายน - 4 ตุลาคม 2544) ณ หอศิลป์ผ่านฟ้า ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) สาขาสะพานผ่านฟ้า กรุงเทพฯ
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายบุญเหลือ ยางสวย นายปิง คงกล่อม นายจิตรการ แก้วถิ่นคอย นายวรพล สิงห์สุข นางสาวมณีรัตน์ มาลยะมาลย์ นายชาญชัย โกลอุ่น นายอนุพงษ์ จันทร นายสมเกียรติ รูปสมดี นายณรงค์รัฐ มาวิมล นายอนุรักษ์ เตชะเรืองไกร นายสาธร รุ่งทวีชัย นายแทนวุธธา ไทยสันทัด นายพงศ์ศิริ คิดดี นางสาวอรัญญา กุญชรวุฒิชัย 99
• ครั้งที่ 19
( 3 - 30 กันยายน 2545) ณ ชัน ้ 4 เดอะสีลม แกลเลอเรีย ถนนสีลม กรุงเทพฯ ( 5 – 30 พฤศจิกายน 2545 ) ณ สำ�นักวิทยบริการ อาคาร A มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายอัฐพร นิมมาลัยแก้ว นายธมทวน ภูเก็ต นายกิตติ แสงแก้ว นายภานุวัฒน์ สิทธิโชค นายนที ทับทิมทอง นายเจริญชัย กังวาลเจษฎา นายสมศักดิ์ พรมจักร นางสาวมณี มีมาก นายบุญเกิด ศรีสุขา นายสิทธิกร เทพสุวรรณ นายวรชาติ ธรรมวิจินต์ นายพิชญ์ แตงพันธ์ นายสุรชัย ดอนประศรี • ครั้งที่ 20 ( 1 - 21 กันยายน 2546) ณ ห้องแสดงนิทรรศการ ชัน ้ 4 เดอะสีลมแกลเลอเรีย ถนนสีลม กรุงเทพฯ ( 4 – 30 พฤศจิกายน 2546 ) ณ มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา ( 9 – 30 ธันวาคม 2546 ) ณ สำ�นักวิทยบริการ อาคาร A มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
นายวีระศักดิ์ สัสดี
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นายทัสนะ นายนิธิพัฒน์ นางสาวพัดชา นายวันรบ นายศินิต
ก้อนดี หอยสังข์ทอง แก้วทองตาล ไทรเมือง แซ่เจี่ย
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายณรัชต์ กลิ่นสุดใจ นายธนพล เสริฐสนิท นายธิติพงษ์ เนื่องพิมพ์ นายนิรุตติ อรุณรัตน์ นายประสิทธิ์ชัย จรัสชัยวรรณ
นายพงษ์ศักดิ์ นทีธรมงคล นายภานุวัฒน์ สิทธิโชค นายวิริยะ เพ็ชร์กิจ นายศักดิ์ศราวุธ พาณิชย์กิจพีระ นายสันติ สิงห์สุ
• ครั้งที่ 21
( 2 - 19 กันยายน 2547) ณ ชั้น 4 เดอะสีลม แกลเลอเรีย ถนนสีลม กรุงเทพฯ ( 4 – 30 พฤศจิกายน 2547 ) ณ หอประชุม 1 มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา ( 16 ธันวาคม 2547– 10 มกราคม 2548 ) ณ สำ�นักวิทยบริการ อาคาร B มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายสัญชัย คงกล่อม นายชัยณรงค์ กองกลิ่น นายกำ�จร กรไธสง นายวันรบ ไทรเมือง นายชัยโย ทองหมื่นไวย์ นายพฤหัส เด่นชัย นายอรรถพล ซื่อตรงประเสริฐ นายนรากร สิทธิเทศ นางสาวพัดชา แก้วทองตาล นายเอกวัฒน์ เสน่ห์พูด นายวิสา ห้องล่อง นายเมธาวี จิราพงษ์ นางสาวหทัยรัตน์ มณีรัตน์ นายบุญสันต์ หวานอารมย์ • ครั้งที่ 22 ( 1 - 30 กันยายน 2548) ณ พิพธ ิ ภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถนนเจ้าฟ้า กรุงเทพฯ
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
( 3 – 27 พฤศจิกายน 2548 ) ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา ( 16 – 30 ธันวาคม 2548 ) ณ หอศิลป์จำ�ปาศรี สำ�นักวิทยบริการ อาคาร B มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ( 11 – 31 มกราคม 2549 ) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายอนุพงษ์ จันทร นายกิตติ แสงแก้ว นายกมล เกิดสุคนธ์ นายเกียรติอนันต์ เอี่ยมจันทร์ นางสาวถนอมนวล เดชาคนีวงศ์ นายพรเทพ นิลอ่อน นายบุญสันต์ หวานอารมณ์ นายยุทธศักดิ์ ร้อยแก่นจันทร์ นายพานทอง ต้นชมภู นางสาวฤทัยรัตน์ คำ�ศรีจันทร์ นายมงคล แซ่หลี นางสาวลำ�พู กันเสนาะ นายมนตรี แบ่งคอนสาร นายอภิชาติ เอี่ยมวิจารณ์ นายวีรพงษ์ ศรีตระกูลกิจการ นางสาวอิ่มหทัย สุวัฒนศิลป์ นายสาธิต เหล่าจิรานุวัฒน์ นายเอกณริน แคล่วคล่อง นายสามารถ เต็มรัตน์ • ครั้งที่ 23 ( 6 - 28 กันยายน 2549) ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถนนเจ้าฟ้า กรุงเทพฯ ( 6 – 27 พฤศจิกายน 2549 ) ณ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา ( 6 – 30 ธันวาคม 2549 ) ณ หอศิลป์จำ�ปาศรี สำ�นักวิทยบริการ อาคาร B มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ( 5 – 31 มกราคม 2550 ) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นายณัฐพงศ์ เพิ่มลาภ นายเกรียงไกร นายชูศักดิ์ นายไชยวัฒน์ นายธรรมรัตน์ นายพรรษา นายมนตรี นายศักรานนท์ นายศิริชัย นายเอกณริน
• ครั้งที่ 24
( 6 - 28 กันยายน 2550 ) ณ พิพธ ิ ภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถนนเจ้าฟ้า กรุงเทพฯ ( 9 – 30 ตุลาคม 2550 ) ณ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ( 6 – 28 พฤศจิกายน 2550 )ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา ( 7 – 27 ธันวาคม 2550 ) ณ หอศิลป์จำ�ปาศรี สำ�นักวิทยบริการ อาคาร B มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ( 8 – 30 มกราคม 2551 ) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น ( 6 – 27 กุมภาพันธ์ 2551 ) ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม หอศิลป์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ( 6 – 30 มีนาคม 2551 ) ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
กุลพันธ์ นางสาวจีราวัลย์ การปรีชา ศรีขวัญ นายชิตพล พ่ออามาตย์ กุดาพันธ์ นายไตรรัตน์ ศรีบุรินทร์ โภคัย นางสาวพัชรายุ แสงใหญ่ พุทธรักษา นางสาวไพริน พราห์มนาค แบ่งคอนสาร นางสาวมัทนิน อินทะกนก สุภาพ นางสาวศิริก้อย แซ่ฉั่ว พุ่มมาก นายสถาพร หมื่นชำ�นาญ แคล่วคล่อง
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นางสาวลำ�พู กันเสนาะ นายเกียรติอนันต์ เอี่ยมจันทร์ นายกัมปนาท สังข์สร นายนพวงษ์ เบ้าทอง นายชัยวัฒน์ สุทธิวงษ์ นายนิพนธ์ พ่อค้าช้าง นายนิพนธ์ วงคำ�ซาว นายไพฑูรย์ ทองดี นายนิแอ นิแต นายวราวุฒิ โตอุรวงศ์ นายประเสริฐ ยอดแก้ว นายสยุมภู ยมนา นายวรวุฒิ พิเคราะห์กิจ นายเสกสรร รัตนพรพิศ นายวุฒิชัย แช่มช้อย นายอรุณศักดิ์ พัฒนกุลอนันต์ นายเอกณรินทร์ แคล่วคล่อง 100
• ครั้งที่ 25
( 2 - 30 กันยายน 2551 ) ณ หอศิลป์สนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ( 6 – 29 ตุลาคม 2551 ) ณ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ( 5 – 27 พฤศจิกายน 2551 )ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา ( 8 – 26 ธันวาคม 2551 ) ณ หอศิลป์จำ�ปาศรี สำ�นักวิทยบริการ อาคาร B มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ( 5 – 29 มกราคม 2552 ) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น ( 5 – 27 กุมภาพันธ์ 2552 ) ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายสมศักดิ์ ลีเดร์ นายกัมปนาท สังข์สร นายณัฐพงศ์ อุดมกิจ นายไตรรัตน์ ศรีบุรินทร์ นายณัฐวุฒิ ขันโพธิ์น้อย นายธนพล ไชยช่วย นายเฉลิมพล รัตนโกมลวัฒน์ นายธีรวัฒน์ นุชเจริญผล นายดนุพล ทองอินทร์ นางสาวนุรัตนา หะแว นายธิติพัทธ์ กฤษฎาพรอนันต์ นางสาวพรพิมล สุรมาศ นางสาวพัชราภรณ์ ใบโพธิ์สุวรรณ นายไพโรจน์ เม่าทอง นายวรรษกร คงถาวร นายวราวุฒิ โตอุรวงค์ นายวิษณุพงษ์ หนูนันท์ นางสาวอิสราพร อนุพันธ์ นายอรรถพล ทรัพย์มี นายอัฑฒ์ จำ�ปามี นายอัสรี อาแวโซ๊ะ • ครั้งที่ 26
( 1 - 30 กันยายน 2552 ) ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติฯ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ( 6 – 29 ตุลาคม 2552 ) ณ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ( 4 – 27 พฤศจิกายน 2552 )ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา ( 8 – 25 ธันวาคม 2552 ) ณ หอศิลป์จำ�ปาศรี สำ�นักวิทยบริการ อาคาร B มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ( 7 – 29 มกราคม 2553 ) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น ( 5 – 27 กุมภาพันธ์ 2553 ) ณ หอศิลป์ สถาบันอารยะธรรมศึกษาโขง – สาลวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นางสาวอรสา ชาลีจังหาร นายไตรรัตน์ ศรีบุรินทร์ นางสาวโชติรส เตชะพันธุ์วณิช นายธนพล ไชยช่วย นายณัฐพงศ์ อุดมกิจ นายบุญญวัฒน์ ประเสริฐศรี นายธนฤทธิ์ พรมภา นายวรรษกร คงถาวร นายธีรวัฒน์ นุชเจริญผล นายวิษณุพงษ์ หนูนันท์ นางสาวนุรัตนา หะแว นายอเนชา สุขเกษม นายปรัชญ์ พิมานแมน นายอภิรักษ์ วันจะรวย นางสาวอารีมา ปิ่นมุข นายอัมรินทร์ บุพศิริ นายอิมรอน ยูนุ • ครั้งที่ 27 ( 1 - 30 กันยายน 2553 ) ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติฯ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
( 6 – 29 ตุลาคม 2553 ) ณ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ( 4 – 26 พฤศจิกายน 2553 )ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา ( 7 – 27 ธันวาคม 2553 ) ณ หอศิลป์จำ�ปาศรี สำ�นักวิทยบริการ อาคาร B มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ( 6 – 28 มกราคม 2554 ) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น ( 4 – 27 กุมภาพันธ์ 2554 ) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ( 3 มีนาคม – 30 เมษายน 2554 ) ณ หอศิลป์ริมน่าน จังหวัดน่าน ( 3 – 30 มิถุนายน 2554 ) ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายอนีส นาคเสวี นายกรัญยศ ขาวพราย นางสาวกัลปพฤกษ์ ภูสีมา นายมนตรี จำ�นงดี นายก้องเกียรติ์ พิษณุลักษณ์ นายชนัญพงศ์ ถี่ป้อม นางสาวศนิษา ตุลยะสุข นางสาวขนิษฐา พิญญพงษ์ นางสาวชาลิศา วงษ์มงคล นางสาวศุภวรรณ กระตุฤกษ์ นายดุสิต ตาตะนัน นายธีรยุทธ ม่วงทอง นายสมลักษณ์ วันทา นายธนุพล ฉันทกูล นายนครินทร์ ศรีระสันต์ นางสาวสุธาธิณี ศรีม่วง นายประหยัด ด้วงเรือง นายนพนันท์ ทันนารี นางสาวสุวิมล เจริญสุข นายปิติบดี ระวียันต์ นายปรัชญ์ พิมานแมน นายอัมรินทร์ บุพศิริ นางสาววนีย์วรรณ กิตติบดีสกุล นางสาวปัณฑารีย์ คุณดำ�รงค์กุล นายสิทธิกร ขาวสะอาด นายพรหมคีรี สุพรมอินทร์ • ครั้งที่ 28 ( 1 กันยายน – 30 ตุลาคม 2554 ) ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติฯ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
( 4 – 27 พฤศจิกายน 2554 ) ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา ( 8 – 25 ธันวาคม 2554 ) ณ หอศิลป์จำ�ปาศรี สำ�นักวิทยบริการ อาคาร B มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ( 7 – 29 มกราคม 2555 ) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น ( 5 – 27 กุมภาพันธ์ 2555 ) ณ หอศิลป์ สถาบันอารยะธรรมศึกษาโขง – สาลวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายธนวัฒน์ พรหมสุข นายกฤษฎางค์ อินทะสอน นายขจรเดช หนิ้วหยิ่น นายราวิน ไชยวงค์ นางสาวธนิษฐา นันทาพจน์ นางสาวชญานิษฐ์ ม่วงไทย นายวาทสิทธิ์ มากผล นางสาวปานพรรณ ยอดมณี นางสาวชลพรรษ แก้วใหม่ นายวิวัฒน์ จินดาวงศ์ นายพีรพันธ์ จันทรชิต นายถาวร ความสวัสดิ์ นายศุภพงษ์ ธรรมโชติ นายวัชระ กว้างไชย์ นายธีรยุทธ ม่วงทอง นายสิทธิพงศ์ ปานสมทรง นายวาฬ จิรชัยสกุล นางสาวเพียงขวัญ คำ�หรุ่น นายสุทธิเกียรติ พุ่มพวง นายสิทธิโชค วิเชียร นางสาวภัทราภรณ์ ภัทรศิริกุล นางสาวสุวิมล เจริญสุข นางสาวอมราภรณ์ ล้อมวงศ์ นางสาวภารุจีร์ สุริยกานต์ นายเอกชญงค์ พรขจรกิจกุล นางสาวยามีล๊ะ หะยี
101
• ครั้งที่ 29
( 1 กันยายน – 30 ตุลาคม 2555 ) ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติฯ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ( 4 – 26 ตุลาคม 2555 ) ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ( 4 – 26 พฤศจิกายน 2555 ) ณ หอศิลป์ สถาบันอารยะธรรมศึกษาโขง – สาลวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ( 3 – 28 ธันวาคม 2555 )ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา ( 7 – 28 มกราคม 2556 )ณ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยานิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จังหวัดปัตตานี ( 7 – 28 มกราคม 2556 ) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น ( 3 – 28 กุมภาพันธ์ 2556 ) ณ หอศิลป์จำ�ปาศรี สำ�นักวิทยบริการ อาคาร B มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ( 4 – 25 กุมภาพันธ์ 2556 ) ณ หอศิลปะร่วมสมัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัด ชลบุรี
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายวรัญญู ช่างประดิษฐ์ นายกิตติศักดิ์ เทพเกาะ นางสาวกาญจนา ชลศิริ นางสาวหทัยรัตน์ รอดแก้ว นางสาวชมเพลิน วงศ์ทางประเสริฐ นางสาวจุติมา จันทร์ชุม นางสาวอมราภรณ์ ล้อมวงศ์ นางสาวธิดารัตน์ ชุ่มจังหรีด นางสาวธิฐิญาภรณ์ เพชรคำ� นางสาวอรณิชชา วีระชัย นางสาวยามีละห์ ดาโอะ นางสาวพรชนก ประเสริฐ นายวรภพ ตันตินันทกุล นางสาวพัชพร มีเฉลา นายวัชระ กว้างไชย์ นางสาวเพียงขวัญ คำ�หรุ่น นายวาฬ จิรชัยสกุล นางสาวภัทราภรณ์ ภัทรศิริกุล นายสุรสิทธิ์ มั่นคง นายลัดชุ มั่นหรั่ง นายอดินันท์ สะเตาะ นายสิทธิพงศ์ ปานสมทรง • ครั้งที่ 30 ( 2 – 25 กันยายน 2556) ณ หอศิลป์สนามจันทร์ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ( 4 – 28 ตุลาคม 2556 ) ณ หอศิลป์ สถาบันอารยะธรรมศึกษาโขง – สาลวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ( 4 – 28 ตุลาคม 2556 ) ณ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยานิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จังหวัดปัตตานี ( 4 – 2 พฤศจิกายน 2556 ) ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ( 3 – 28 พฤศจิกายน 2556 )ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา ( 4 – 25 ธันวาคม 2556 ) ณ หอศิลปะร่วมสมัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัด ชลบุรี ( 7 – 28 ธันวาคม 2556 ) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น ( 3 – 28 มกราคม 2557 ) ณ หอศิลป์จำ�ปาศรี สำ�นักวิทยบริการ อาคาร A มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นางสาวจิรนันท์ จุลบท นายธวัชชัย โตขำ� นายกิตติพันธุ์ ชินวรรณโชติ นางสาวธิดารัตน์ ชุ่มจังหรีด นายเทพพงษ์ หงษ์ศรีเมือง นางสาวนภาพร มบขุนทด นายสราวุฒิ คำ�มูลชัย นางสาวไปรยา เกตุกูล นายสิทธิวุธ ยาวิชัย นายวาฬ จิรชัยสกุล นางสาวอารดา เคนผาพงศ์ นางสาววิลาสินี คงทวีบุญ นายอภิพล เตชะมังคลานนท์ นายอมร ชีกลาง นายอัสนีย์ มั่นมี • ครั้งที่ 31
( 1 – 17 สิงหาคม 2557) ณ หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำ�เนิน กรุงเทพฯ ( 7 กันยายน – 7 ตุลาคม 2557 ) ณ หอศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออก คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัด ชลบุรี ( 10 – 31 ตุลาคม 2557 )ณ หอศิลป์ฯ อาคารวิสุทธิกษัตริย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ( 11-30 พฤศจิกายน 2557 ) ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ( 5-31 มกราคม 2558 ) ณ หอศิลปวัฒนธรรมภาคใต้ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยานิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จังหวัดปัตตานี ( กุมภาพันธ์ 2558 ) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น ( มีนาคม 2558 ) ณ หอศิลป์จำ�ปาศรี สำ�นักวิทยบริการ อาคาร A มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
นายวีรยุทธ ศรีเที่ยง
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
• ครั้งที่ 32
นายกิตติศักดิ์ เทพเกาะ นางสาวณภัทร ปิยะวงศ์วัฒนา นายเทพพงษ์ หงษ์ศรีเมือง นางสาวธิติพรหม อ่อนเปี่ยม นายนฤชา สังขจารุ นายประวีณ เปียงชมภู นางสาวปอสา บันสิทธิ์ นายพิชญุตม์ สิรสุนทร นายภูริธิป สุริยภัทรพันธ์
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
นางสาวอรวรรณ ไชยแป้น
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นายจิตรกร เทศชื่น นางสาวจิรนันท์ จุลบท นางสาวฉัฐจุฑา สมบูรณ์สาร นางสาวณัฐชยา วังศิลาบัตร นายธวัชชัย สาริสุทธิ์ นางสาวธิติพรหม อ่อนเปี่ยม นางสาวปณิตา มงคลศรัทธากุล นางสาวอชิรญา ขับกล่อมส่ง นางสาวปัญจรัตน์ พลพลึก
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นายจาตุรนต์ ปานน้ำ�ผึ้ง นายชนะ แสนสนั่นชัย นางสาวพรพิมล ภูปัญญา นายวุฒิธิพันธ์ พานเจิม นางสาวอารยา แซ่ล้อ
( 15 -28 กันยายน 2558 ) ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติฯ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ( 4 – 30 ตุลาคม 2558 ) ณ หอศิลป์ สถาบันอารยะธรรมศึกษาโขง – สาลวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ( 4 – 30 พฤศจิกายน 2558 ) ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ( 7 – 28 มกราคม 2559 ) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น ( 3 – 28 กุมภาพันธ์ 2559 ) ณ หอศิลป์จำ�ปาศรี สำ�นักวิทยบริการ อาคาร B มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ( 4 – 29 เมษายน 2559 ) ณ หอศิลปะร่วมสมัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัด ชลบุรี ( 17 พฤษภาคม–17มิถุนายน 2559 ณ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยานิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จังหวัดปัตตานี
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
102
นายจาตุรนต์ ปานน้ำ�ผึ้ง นางสาวเดือนวิสาข์ ชลศิริ นางสาวธารรวี อิ่มโดด นางสาวประจวบลาภ สวัสดี นางสาวปุญญิศา ศิลปรัศมี นางสาวพรทวี พลอยกระโทก นายภาคิน อิศวมงคล นายวาสิทธิ์ จินดาพร
• ครั้งที่ 33
( 8 - 25 กันยายน 2559 ) ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติฯ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ( 10 – 30 ตุลาคม 2559 ) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ( 11 – 27 พฤศจิกายน 2559 )ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ( 6 – 30 มกราคม 2560 ) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น ( 3 – 28 กุมภาพันธ์ 2560 ) ณ หอศิลป์จำ�ปาศรี สำ�นักวิทยบริการ อาคาร A มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ( 7 – 29 เมษายน 2560 ) ณ หอศิลปะร่วมสมัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ( 3 – 30 พฤษภาคม 2560) ณ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยานิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จังหวัดปัตตานี ( 6 – 28 มิถุนายน 2560 ) ณ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา จังหวัดสงขลา
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
นายอนันต์ยศ จันทร์นวล
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นายคณพศ สารักษ์ นางสาวณัฐชยา วังศิลาบัตร นางสาวเดือนวิสาข์ ชลศิริ นายธนพล เสือโรจน์ นายธนวัฒน์ จันทร์นิมิตร ว่าที่ร้อยตรีหญิงธิดารัตน์ จันทเชื้อ นายภูริธิป สุริยภัทรพันธ์ นางสาวสุนิศา นวมเผือก นางสาวอริชมา ผกาเพชร์
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นางสาวชลิตา ตันติวิชญ์โกศล นายนภนันท รังสีธรรมคุณ นางสาวนอเดียนา บีฮิง นางสาวนิลยา บรรดาศักดิ์ นางสาวบทม์มาลิน เกิดหนุนวงศ์ นายศิริเดช แม้นอิ่ม
• ครั้งที่ 34
( 30 สิงหาคม-20 กันยายน 2560) ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติฯ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ( 10 – 30 ตุลาคม 2560 ) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ( 11 – 27 พฤศจิกายน 2560 )ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ( 6 – 30 มกราคม 2561 ) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น ( 3 – 28 กุมภาพันธ์ 2561 ) ณ หอศิลป์จำ�ปาศรี สำ�นักวิทยบริการ อาคาร A มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ( 7 – 29 เมษายน 2561 ) ณ หอศิลปะร่วมสมัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ( 3 – 30 พฤษภาคม 2561) ณ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยานิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จังหวัดปัตตานี ( 6 – 28 มิถุนายน 2561 ) ณ มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
นางสาวพัชรพรรณ ธรรมสุนทรี นายธีรพล สีสังข์
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นางสาวกูซอฟียะฮ์ นิบือซา นางสาวจุฬารัตน์ แพงคำ� นางสาวชลนัฐฐา แก้วกนก นางสาวธนภรณ์ อัญมณีเจริญ นางสาวภัณฑิรา ไชยแก้ว นางสาวสุพัฒนาวดี เหมือนตา นายอนันต์ยศ จันทร์นวล
• ครั้งที่ 35
รางวัลเหรียญทอง “ศิลป์ พีระศรี”
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
นางสาวธมลวรรณ แสงนาค นางสาวธันย์ชนก ศรีสุข นางสาวนิตยา เหิรเมฆ นางสาวปัทมา ทับทิมไทย นายพิษณุ วงศ์วิไลพิสิฐ นางสาววรัญญา ตันสกุล นางสาววริศรา อภิสัมภินวงศ์
(8 - 27 กันยายน 2561) ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติฯ วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม (14 พฤศจิกายน– 2 ธันวาคม.2561 ) ณ ห้องนิทรรศการ ชั้น 1 และ 2 หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ (9 - 31 มกราคม 2562) ณ สำ�นักวัฒนธรรม หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัด ขอนแก่น ( 1 - 26 กุมภาพันธ์ 2562 ) ณ หอศิลป์พระพิฆเนศวร คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม (7 - 29 มีนาคม 2562) ณ หอศิลปะร่วมสมัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี (24 เมษายน – 24 พฤษภาคม 2562) -ณ หอศิลป์ภาคใต้ สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ( 8 – 28 กรกฎาคม 2562 ) ณ หอศิลป์อาศรมศิลปกรรมทักษิณ สถาบันทักษิณคดีศึกษา จังหวัดสงขลา ( 21 สิงหาคม – 13 กันยายน 2562 ) ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยนเรศวร(ส่วนหนองอ้อ) อาคารวิสุทธิกษัตริย์ จังหวัดพิษณุโลก
รางวัลเหรียญเงิน “ศิลป์ พีระศรี”
นายอนันต์ยศ จันทร์นวล นายกฤษดา นางสาวชลิตา นางสาวธนนันท์ นางสาวธนภรณ์ นายธนาคาร นางสาวนิตยา นางสาวปาลฉัตร นายภาณุพัฒน์ นางสาววริศรา
รางวัลสนับสนุนศิลปินรุ่นเยาว์
ด่านกลาง นายชมรวี สุขโสม ตันติวิชญ์โกศล นายชยสิทธิ์ ออไอศูรย์ ใจสว่าง นางสาวณัฐกาญจน์ วาจาสัตย์ อัญมณีเจริญ นางสาวดวงกมล สติประมาณสกุล โพธิ์หอมศิริ นางสาวธันย์ชนก ศรีสุข เหิรเมฆ นายราชวุธ คุรุวงศ์วัฒนา ยอดมณี นางสาววันทนา ตั้งสมบูรณ์ วิบูลรุ่งเรือง นายอภิรัฐ ฤกษ์ดี อภิสัมภินวงค์ นายอิทธินันท์ เรืองหทัยนนท์
103
ตารางการส่งผลงานศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 1 - 36 ปี พ.ศ. 2527 - 2562 ครั้งที่
ปี พ.ศ.
จำ�นวนการส่งงาน ศิลปินที่ส่ง(คน)
จำ�นวนผลงานที่ผ่านการคัดเลือก
ผลงาน(ชิ้น)
ศิลปินที่เข้ารอบ(คน)
ผลงาน(ชิ้น)
1
2527
87
237
65
119
2
2528
214
322
132
152
3
2529
298
444
107
128
4
2530
299
343
185
119
5
2531
139
203
98
120
6
2532
178
291
99
143
7
2533
129
207
76
108
8
2534
122
222
96
136
9
2535
136
216
73
104
10
2536
126
220
93
119
11
2537
148
246
73
104
12
2538
239
363
98
108
13
2539
208
332
84
97
14
2540
246
377
82
83
15
2541
245
371
87
89
16
2542
349
503
77
86
17
2543
270
412
83
96
18
2544
228
353
94
104
19
2545
260
406
109
117
20
2546
260
385
91
91
21
2547
282
424
92
98
22
2548
265
390
103
104
23
2549
208
300
129
141
24
2550
250
395
76
81
25
2551
162
235
56
74
26
2552
231
384
115
122
27
2553
256
541
90
124
28
2554
268
451
138
157
29
2555
209
322
114
114
30
2556
251
370
116
123
31
2557
209
295
117
117
32
2558
363
505
102
102
33
2559
264
366
119
111
34
2560
312
453
88
96
35
2561
286
396
114
128
36
2562
320
438
77
89
104