Somdet Phra Buddhacarya

Page 1



3


คำ�ปรารภ หนังสือชีวประวัตสิ มเด็จพระพุฒาจารย์ (เกีย่ ว อุปเสนมหาเถระ) ประธาน คณะผูป้ ฏิบตั หิ น้าทีส่ มเด็จพระสังฆราช เจ้าอาวาสวัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร เล่มนี้จัดพิมพ์ขึ้นจากความดำ�ริของคุณกำ�ธร วังอุดม ชาวสุราษฎร์ธานีที่เล็ง เห็นว่า ภายหลังการมรณภาพของสมเด็จพระพุฒาจารย์ มีประชาชน ญาติโยม พุทธบริษัท หลั่งไหลไปเคารพ สักการะพระศพที่วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร อย่างเนืองแน่น ควรที่จะมีหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับสมเด็จพระพุฒาจารย์ อย่างถ่องแท้ หนังสือเล่มนีไ้ ด้รบั ข้อมูล และรูปภาพเพิม่ เติมจากพระมหาสมชาย วิรยิ วโร แห่งวัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร และจากนิตยสารแอทสุราษฎร์ โดยปรับปรุง ให้รปู เล่มเล็กลง ดูสวยงาม มีภาพประกอบ และลำ�ดับเหตุการณ์ส�ำ คัญในชีวติ ใต้ร่มกาสาวพัสตร์ของสมเด็จพระพุฒาจารย์อย่างครบถ้วน นอกจากนี้ เพื่อรำ�ลึกถึงคุณูปการที่สมเด็จพระพุฒาจารย์ สร้างไว้เป็นที่ ประจักษ์แก่สายตาชาวโลก จึงได้จัดทำ�คำ�แปลภาษาอังกฤษไว้ภายในเล่มด้วย เพื่อถวายพระธรรมทูตในวัดไทยในต่างประเทศทั่วโลกกว่า 100 วัด นำ�ไป เผยแผ่อย่างกว้างขวาง คณะผู้จัดทำ�ขอกราบขอบพระคุณผู้มีจิตศรัทธาที่เมตตาบริจาคเงินจัด พิมพ์หนังสือเล่มนี้ ด้วยความเลือ่ มใสในพระพุทธศาสนา ขอให้ทา่ นดำ�รงคุณงาม ความดี มีศลี มีธรรม เพือ่ ความสุขในการครองชีวติ และสืบทอดพระพุทธศาสนา ให้ยั่งยืนชั่วกาลนานเทอญ

ด้วยคารวะ คณะผู้จัดทำ� มกราคม 2557


5


สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

จรัสแสงแห่งญาณและพรหมวิหารธรรม

หนึง่ เดียวแห่งสมเด็จพระราชาคณะในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ ผูม้ ชี าติก�ำ เนิดจากถิน่ แหลมทองของไทย เจิดจรัสเป็นดวงประทีปแห่งธรรมใจกลางกรุงเทพมหานคร สถิต ณ วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร (ภูเขาทอง) พระมหาเถระผู้เป็นเสาหลักแห่งพระพุทธศาสนาในยุคปัจจุบัน สืบสานปณิธานขององค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตลอดระยะเวลากว่า 70 ปี ด้วยใจอันแน่วแน่ รับภาระหน้าที่ในการดูแลและ เผยแผ่พระศาสนาให้เจริญรุง่ เรืองทัง้ ในและนอกประเทศ ด้วยความประสงค์ให้พระพุทธศาสนาเป็นหลัก ยึดเหนี่ยวในการดำ�เนินชีวิต เพื่อความสันติสุขของโลก

ประวัตสิ มเด็จพระพุฒาจารย์ (เกีย่ ว อุปเสโณ) ตัง้ แต่บรรพชาเป็นสามเณร สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) มีนามเดิมว่า

เกีย่ ว นามสกุล โชคชัย เกิดเมือ่ วันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2471 (วันอาทิตย์ แรม 8 ค่ำ� เดือน 3 ปีมะโรง) ณ หมู่บ้าน ชายฝั่งทะเลตะวันออกของเกาะสมุยหรือ ตำ�บลบ่อผุด อำ�เภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกีย่ ว โชคชัย เป็นบุตร ของนายอุ้ยเลียน แซ่โหย่ และนางยี แซ่โหย่ มีพี่น้อง ทั้งหมด 8 คนดังนี้ 1. นางเขียก พรหมสวัสดิ์ (เสียชีวิต) 2. นางหล่าน ฉายากุล (เสียชีวิต) 3. นายชนินทร์ โชคคณาพิทกั ษ์ (เสียชีวติ ) 4. นายเท้ง โชคคณาพิทกั ษ์ (ยังมีชวี ติ ) 5. นายเจีย๋ น แซ่โหย่ (อยูป่ ระเทศจีน)(เสียชีวติ ) 6. สมเด็จพระพุฒาจารย์เกีย่ ว 7. นายชัยวัฒน์ โชคคณาพิทกั ษ์ (เสียชีวติ ) 8. นางหีต แซ่โหย่ (เสียชีวติ ) ครอบครัวบิดามารดาของเกีย่ ว โชคชัย ประกอบอาชีพ ทำ�สวนมะพร้าว ค้าขายและเรือขนส่งจากเกาะสมุยสู่พระนคร ช่วงแรกของวัยเรียน เกีย่ ว โชคชัย มีความมุมานะตัง้ ใจเรียนจนสำ�เร็จการศึกษาชัน้ ประถม ศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัดสว่างอารมณ์ในปี พ.ศ. 2483 ต่อมาครอบครัวของเด็กชายเกีย่ ว โชคชัย มีแผนทีจ่ ะส่งไปเรียนต่อโรงเรียนในตัวเมืองจังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างไรก็ตามเกิดเหตุไม่คาดคิด เมือ่ เด็กชายเกีย่ ว โชคชัย ล้มป่วยลงกะทันหันและไม่มวี แี่ ววจะหายจากอาการป่วย บิดามารดา

6


ท่านมีความเป็นกังวลต่ออาการป่วยของท่าน เป็นอย่างมาก จึงได้ไปบนบานศาลกล่าวขอพร กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โดยขออำ�นาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้ง หลายช่วยดลบันดาลให้ทา่ นหายจากอาการป่วย ไข้ในเร็ววัน โดยหากว่าเด็กชายเกี่ยว โชคชัย หายป่วย บิดามารดาจะให้ทา่ นแก้บนด้วยการ บวชบรรพชาเป็นสามเณรเป็นระยะเวลา 7 วัน หลั ง จากนั้ น มี แ ผนจะส่ ง ท่ า นไปศึ ก ษาต่ อ ที่ โรงเรียนในตัวเมืองจังหวัดสุราษฎร์ธานี ต่อมาเมื่ออาการป่วยของท่านทุเลาและ หายจนเป็นปรกติ บิดามารดาให้ทา่ นบวชเป็น สามเณรตามทีไ่ ด้บนบานศาลกล่าวเอาไว้ โดย มีความตั้งใจจะบวชเป็นเวลา 7 วัน เกี่ยว โชคชัย จึงได้บรรพชาเป็นสามเณรเมือ่ วันที่ 6 มิถนุ ายน พ.ศ. 2484 ณ วัดสว่างอารมณ์ ตำ�บล บ่อผุด อำ�เภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมีเจ้าอธิการพัฒน์ เจ้าอาวาสวัดภูเขาทอง ตำ�บลแม่น�ำ้ อำ�เภอเกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี เป็นพระอุปัชฌาย์

จากความตั้งใจเดิมของบิดามารดาและ ท่านในการบวชแก้บนเป็นระยะเวลา 7 วันแล้ว จะลาสิกขาบท แต่เมื่อครบ 7 วันแล้วท่านมี ความตัง้ ใจไม่คดิ จะสึก บิดามารดาจึงได้พาท่าน ไปฝาก และเข้าศึกษาธรรมะกับหลวงพ่อพริ้ง (พระครูอรุณกิจโกศล) เจ้าอาวาสวัดแจ้ง ตำ�บล อ่างทอง อำ�เภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึง่ เป็นวัดทีอ่ ยูใ่ กล้ตลาดหน้าทอน หลวงพ่อพริง้ เป็ น พระกรรมฐานที่ สำ � คั ญ องค์ ห นึ่ ง ของ เกาะสมุย พื้นเพเดิมของหลวงพ่อพริ้งเป็น คนไชยาที่ธุดงค์มาอยู่ที่เกาะสมุย โดยท่าน เป็นพระทีเ่ คร่งครัดพระธรรมวินยั และระเบียบ แบบแผน สามเณรเกีย่ วได้เข้าเรียนนักธรรมทีว่ ดั แจ้งภายใต้การดูแลของหลวงพ่อพริง้ จนสอบ ได้นักธรรมตรีในปีแรก และนักธรรมโทใน ปีถัดมา ความขยันหมั่นเพียรของสามเณรเกี่ยว ทำ�ให้หลวงพ่อพริง้ ได้พาสามเณรเกีย่ วเดินทาง เข้าพระนครเพือ่ ศึกษาต่อ โดยนำ�ไปฝากไว้กบั พระอาจารย์เกตุ เจ้าคณะ 5 วัดสระเกศ ราชวร มหาวิหาร ในเวลาต่อมาประเทศไทยได้เข้าสู่ภาวะ สงครามโลกครัง้ ที่ 2 กองทัพญีป่ นุ่ บุกประเทศ หลวงพ่อพริ้งมีความเป็นห่วงสามเณรเกี่ยว จึงได้เดินทางไปรับสามเณรเกี่ยวกลับมายัง สุราษฎร์ธานีเพือ่ หลบภัยสงคราม แต่แทนทีจ่ ะนำ� สามเณรเกีย่ วกลับมาทีเ่ กาะสมุย หลวงพ่อพริง้ นำ�สามเณรเกีย่ วไปฝากไว้กบั พระอาจารย์มหา กลัน่ ปิยทสฺสี ทีบ่ า้ นพุมเรียง อำ�เภอไชยา เนือ่ ง จากมีความกังวลในเรื่องของการเรียนของ สามเณรเกี่ยวว่าจะหยุดชะงักลง เมือ่ สงครามโลกครัง้ ที่ 2 สงบลง หลวงพ่อ พริ้งนำ�สามเณรเกี่ยวกลับมายังวัดสระเกศที่ พระนครอีกครัง้ โดยหวังจะให้กลับมาศึกษาต่อ กับพระอาจารย์เกตุ แต่ท่านได้ลาสิกขาบทไป เสียแล้ว หลวงพ่อพริง้ จึงฝากสามเณรเกีย่ วไว้

7


กับพระครูปลัดเทียบ ซึ่งในเวลาต่อมาพระครู ปลัดเทียบได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัด สระเกศ การกลับมาศึกษาพระธรรมต่อทีพ่ ระนคร ครั้งนี้มิได้มีปัญหาแต่อย่างใด เนื่องจากได้ ศึกษาหาความรู้กับพระมหาอาจารย์กลั่นใน ช่วงทีอ่ ยูท่ ตี่ �ำ บลพุมเรียง ความขยันหมัน่ เพียร ของสามเณรเกีย่ วทำ�ให้ศกึ ษาธรรมะ และสอบ ได้นักธรรมชั้นเอกและศึกษาปริยัติธรรมสอบ ได้เปรียญธรรม 5 ประโยคตั้งแต่อยู่ในฐานะ สามเณร ในปี พ.ศ. 2492 ท่านมีอายุครบบวช เป็นพระภิกษุ ท่านได้รบั การอุปสมบทเป็นพระ เมือ่ วันที่ 1 พฤษภาคม ณ วัดสระเกศ ราชวร มหาวิหาร โดยมีสมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทโย) ครัง้ ดำ�รงสมณศักดิเ์ ป็นพระธรรม วโรดมเป็นองค์พระอุปชั ฌาย์ โดยให้ฉายาพระ ภิกษุบวชใหม่นามว่า “อุปเสโณ ภิกขุ” ในปี พ.ศ. 2497 พระมหาเกีย่ ว อุปเสโณ สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค ซึ่งถือว่าเป็น ขั้นสูงสุดของการเป็นบัณฑิตทางธรรมด้วย อายุเพียง 21 ปี ซึ่งถือเป็นความสำ�เร็จใน การศึกษาสูงสุดในภาคปริยัติศึกษา นับตั้งแต่ นั้นเป็นต้นมา ท่านได้สร้างคุณูปการมหาศาล แก่พระพุทธศาสนาในประเทศไทย ทัง้ ในด้าน การศึกษา การปกครองสงฆ์ สังคม และการ

เผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนาไปยั ง ต่ า งประเทศ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกีย่ ว อุปเสโณ) ดำ�รง ตำ�แหน่งประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จ พระสังฆราช เจ้าอาวาสวัดสระเกศ กรรมการ มหาเถรสมาคม และเจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก ก่อนมรณภาพ

ผลงานของสมเด็จพระพุฒาจารย์ทป่ี รากฎเด่นชัด ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมาสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) ได้ปฏิบัติศาสนกิจอันเป็น ประโยชน์ต่อพุทธศาสนาในประเทศไทยและ ได้เผยแผ่พทุ ธศาสนาในต่างประเทศ ด้วยวิสยั ทัศน์ของท่านทีย่ าวไกล สมเด็จพระพุฒาจารย์ ถือเป็นพระนักการศึกษา พระนักปกครองและ

8

พระผู้มีแนวคิดที่ก้าวไกลในการเผยแผ่พุทธ ศาสนาไปยังต่างประเทศ โดยในด้านการศึกษา ท่ า นมี ค วามขยั น หมั่ น เพี ย รมุ ม านะในการ ศึกษาพระธรรมสอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค ในระยะเวลาอันรวดเร็ว ท่านเป็นครูสอน พระปริยัติธรรมให้แก่พระภิกษุสามเณร เป็น


ท่านสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) ได้ทำ�หน้าที่ให้กับศาสนจักรตลอดระยะเวลา ที่ผ่านมา ปฏิบัติศาสนกิจที่เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา อาจารย์ที่มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทั้งนี้ ยังเคยดำ�รงตำ�แหน่งผูช้ ว่ ยอธิการบดี หัวหน้า แผนกธรรมวิจยั และเลขาธิการมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย ในบทบาทของพระผูม้ แี นวคิดก้าวไกลใน การเผยแผ่ศาสนาไปยังต่างประเทศ ท่านมี บทบาทสำ�คัญในการเผยแผ่พุทธศาสนาใน ต่างแดนเพื่อให้ชาวไทยที่อยู่ห่างไกลบ้านเกิด ได้มโี อกาสใกล้ชดิ กับพระธรรม และเปิดโอกาส ให้ชาวต่างชาติได้เข้ามาศึกษาพระพุทธศาสนา ท่ า นยั ง ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารประดิ ษ ฐานวั ดใน พระพุทธศาสนา ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาและ ประเทศต่างๆ ทั้งนี้ท่านยังได้รับมอบหมาย ให้ดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการฝึกอบรม พระธรรมทูตไปต่างประเทศ ในบทบาทพระนักปกครองซึง่ เป็นบทบาท ที่เด่นชัดของท่านอีกด้านหนึ่ง ท่านเคยดำ�รง ตำ�แหน่งสำ�คัญๆ หลายตำ�แหน่ง ตัง้ แต่การได้ รับเลือกเป็นอนุกรรมการมหาเถรสมาคม ในปี พ.ศ. 2507 และได้รับบัญชาแต่งตั้งให้เป็น เจ้าคณะภาค 9 และเป็นเลขานุการสมเด็จ พระสังฆราชในปี พ.ศ. 2508 ในปี พ.ศ. 2509 ได้ รั บ พระบั ญ ชาแต่ ง ตั้ งให้ เ ป็ น เจ้ า อาวาส วัดสระเกศและทีโ่ ดดเด่นในปี พ.ศ. 2516 สมเด็จ พระพุฒาจารย์ เป็นกรรมการมหาเถระสมาคม และได้ รั บ พระมหากรุณ าธิคุณโปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ถาปนาเป็ น รองสมเด็ จ พระราชาคณะ เป็นรูปที่ 3 ในประวัตศิ าสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ที่ ไ ด้ รั บ สถาปนาแต่ ง ตั้ ง ขึ้ น เป็ น รองสมเด็ จ พระราชาคณะที่อายุไม่ถึง 50 ปี ต่อมาได้

รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะภาค 10 (เขตปกครอง จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดนครพนม จังหวัด ยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดมุกดาหาร และ จังหวัดอำ�นาจเจริญ) ในปีพ.ศ. 2525 ดำ�รงตำ�แหน่งรองประธานสภาสงฆ์ และ ตำ�แหน่งเจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก โดยท่าน ดำ�รงตำ�แหน่งทางด้านการปกครองสูงสุดใน ฐานะประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระ สังฆราช นอกจากนี้ท่านยังมีบทบาทสำ�คัญ ในยามที่บา้ นเมืองประสบกับภาวะวิกฤต โดย เฉพาะในช่วงปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบ ปัญ หาวิ ก ฤตทางเศรษฐกิ จ และการเมื อ ง สมเด็ จ พระสั ง ฆราชได้ ม อบหมายให้สมเด็จ พระพุฒาจารย์ เป็นองค์ประธานทำ�พิธเี รียกขวัญ หรือพิ ธี ม งคลแก่ บ้ า นเมื อ ง ซึ่ ง เป็ น พิ ธี ท าง ศาสนาทีม่ ไิ ด้เกิดขึน้ บ่อยนัก จากภารกิจต่างๆ ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ดังกล่าวสะท้อนให้ เห็นถึงความสามารถของสมเด็จพระพุฒาจารย์ ในฐานะพระนักปกครอง

9


งานด้านการศึกษาและสังคม บทบาทของสมเด็จพระพุฒาจารย์ทางด้าน การศึกษานัน้ เป็นทีท่ ราบกันดีวา่ สมเด็จพระพุฒาจารย์

เป็นผูใ้ ส่ใจกับการศึกษาธรรมะตัง้ แต่สมัยท่าน เป็นสามเณร ดังจะเห็นได้จากการที่ท่านสอบ ได้เปรียญธรรม 9 ประโยคในระยะเวลาอันสัน้ ในด้านการศึกษาท่านเริม่ ด้วยการเป็นครูสอน โดย ในปี พ.ศ. 2492 เป็นครูสอนปริยัติธรรม ต่อมาในปี พ.ศ. 2494 เป็นกรรมการตรวจธรรม สนามหลวง ในปี พ.ศ. 2496 เป็นกรรมการ ตรวจบาลีสนามหลวง ในปี พ.ศ. 2500 เป็น อาจารย์สอนภาษาบาลีทมี่ หาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2502 ดำ�รงตำ�แหน่ง ผู้ช่วยอธิการบดีและหัวหน้าแผนกธรรมวิจัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2503 ดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้าแผนกธรรมวิจยั มหาจุฬา

10

ลงกรณราชวิทยาลัย ในเวลาต่อมาท่านได้รับ เลือกเป็นเลขาธิการมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2513 เป็นกรรมการร่างหลักสูตร โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา นอกจากนี้ ส มเด็ จ พระพุ ฒ าจารย์ ยั ง มี ผลงานประเภทหนังสือ ตัวอย่างเช่น ธรรมะ สำ�หรับผู้นับถือพระพุทธศาสนา ดีเพราะมีดี ปาฐกถาธรรม สมเด็จพระพุฒาจารย์ การ ดำ�รงตน และคุณสมบัติ 5 ประการ เป็นต้น ในส่วนของงานเผยแผ่ศาสนาผ่านทางการ แสดงธรรมในรายการ ของดีจากใบลาน ในด้านสังคมและด้านอื่นๆ ท่านบำ�เพ็ญ ประโยชน์ดา้ นสังคมในหลายๆ ด้าน สมเด็จพระ พุฒาจารย์เป็นผู้ก่อตั้งโรงพิมพ์กรมศาสนา และบริจาคเงินสร้างตึกสงฆ์อาพาธในชนบท


สมเด็จพระพุฒาจารย์ได้สร้างผลงานไว้มากมายในฐานะพระนักปกครอง พระนักการศึกษา และพระผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยังต่างประเทศ

ศาสนกิจในต่างแดน นอกจากนีใ้ น ปี พ.ศ. 2528 ท่านเป็นประธาน กรรมาธิการสังคายนาพระธรรมวินัย ตรวจ ชำ�ระพระไตรปิฎก ในมหามงคลวโรกาสเฉลิม พระเกียรติพระชนมพรรษา 5 รอบของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ในปี พ.ศ. 2534 ท่านได้รบั แต่งตั้งให้เป็นประธานกรรมการจัดการชำ�ระ และพิมพ์อรรถกถาพระไตรปิฎกเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เนือ่ งใน มหามงคลราชวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ ในปีพ.ศ. 2540 ได้รับแต่งตั้งให้เป็น ประธานคณะกรรมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ของมหาเถรสมาคมและเป็นประธานคณะ กรรมการช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยธรรมชาติและ อุทกภัย สมเด็จพระพุฒาจารย์ปฏิบัติหน้าที่ สมเด็จพระสังฆราชระหว่างวันที่ 13 มกราคม ถึงวันที่ 12 กรกฏาคม พ.ศ. 2547 แล้วจึงดำ�รง ตำ�แหน่งประธานคณะผู้ปฎิบัติหน้าที่สมเด็จ พระสังฆราช

ในส่วนงานด้านพระพุทธศาสนาในต่าง ประเทศ สมเด็จพระพุฒาจารย์ ได้ออกเดินทาง ไปต่างประเทศทั่วทุกมุมโลก เพื่อหาแนวทาง ที่จะให้มีวัดเกิดขึ้นในประเทศนั้นๆ อันมีแรง บันดาลใจมาจากสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทโย) ผู้เป็น พระอาจารย์ ในปี พ.ศ. 2479 ได้ออกเดินทางไปร่วม ประชุมสังคายนาฉัฏฐสังคีติ ณ ประเทศพม่า และในปี พ.ศ. 2500 ก็ได้เดินทางไปประชุม อรรถกถาสังคายนา เพือ่ ฉลองกึง่ พุทธศตวรรษ ณ ประเทศพม่าอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2505 เป็นหัวหน้าคณะเดิน ทางไปดูการศาสนาและเชื่อมศาสนสัมพันธ์ ที่ประเทศเกาหลี ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฮ่องกง ฯลฯ ซึง่ ได้กลายเป็นจุดเปลีย่ นอย่างสำ�คัญแห่งหน้า ประวัติศาสตร์ศาสนา ในการเชื่อมพระพุทธ ศาสนาเถรวาทกับมหายานเข้าด้วยกันอย่าง

11


แนบแน่น จนถึงปัจจุบนั และพระพุทธศาสนา มหายานในหลายประเทศ เช่น ญีป่ นุ่ และจีน เป็นต้น ได้สร้างภูเขาทองจำ�ลองไว้เป็นอนุสรณ์ แห่งสายสัมพันธ์ทางศาสนาในเวลาต่อมา ในปี พ.ศ. 2507 ได้ออกเดินทางไปปฏิบตั ิ ศาสนกิจไกลถึงภาคพื้นยุโรป เกิดวัดไทยแห่ง แรกขึน้ ในเนเธอร์แลนด์ ชือ่ ว่า “วัดพุทธาราม” ต่อมาวัดไทยเริม่ ขยายออกไปตามประเทศต่างๆ ในยุโรปและออสเตรเลีย ทั้งเยอรมัน อังกฤษ ฝรั่งเศสและอิตาลี เป็นต้น และการเดินทางไปปฏิบัติศาสนกิจไกล ออกไปถึงยุโรปครัง้ แรกนี้ สมเด็จพระพุฒาจารย์ มีโอกาสได้พบกับท่านปรีดี พนมยงค์ และชาว ไทยที่พำ�นักอยู่ในยุโรปเป็นจำ�นวนมาก จึงได้ ทราบถึงสภาพความเป็นอยูแ่ ละความต้องการ ของชาวไทยในต่างประเทศ ซึ่งนอกจากจะ ต้ อ งต่ อ สู้ กั บ สภาพภู มิ อ ากาศที่ ห นาวเหน็ บ ตลอดทั้ ง ปี แ ล้ ว ยั ง จะต้ อ งปรั บ ตั วให้ เ ข้ า วัฒนธรรมของประเทศนัน้ ๆ ด้วย สิง่ ทีช่ าวไทย ต้องการในขณะนั้น คือ ให้มีวัดและพระสงฆ์ สำ�หรับทางยุโรป โดยเฉพาะประเทศใน แถบสแกนดิเนเวีย เป็นดินแดนที่ไม่น่าจะมี พระสงฆ์สามารถไปสร้างวัดไทยได้ เนื่องจาก สภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศค่อน ข้างเหน็บหนาว ถูกปกคลุมไปด้วยหิมะเกือบ ตลอดทั้งปี สมเด็จพระพุฒาจารย์ได้ยึดเอา ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นจุดเริ่มต้นในการ เผยแผ่พระพุทธศาสนาในแถบสแกนดิเนเวีย

12

โดยมี ค วามเชื่ อ มั่ น ว่ า แม้ ส ภาพภู มิ อ ากาศ ประเทศในแถบสแกนดิเนเวียจะหนาวเกือบ ตลอดทั้งปี แต่สภาพจิตใจของคนในแถบนี้ กลับอ่อนโยน จึงเกิดความเชือ่ มัน่ ว่า พระพุทธ ศาสนาน่าจะเจริญได้ในสแกนดิเนเวีย จึงชัก ธงธรรมจักรขึน้ เหนือหน้าต่างคอนโดทีพ่ กั เป็น สัญลักษณ์ว่าพระพุทธศาสนาเริ่มหยั่งรากฝัง ลึกลงบนดินแดนแห่งนี้แล้ว ทำ�ให้วัดไทยเกิด ขึน้ อีกมากมายในเวลาต่อมา เช่น วัดพุทธาราม เนเธอร์แลนด์ วัดพุทธาราม กรุงสต๊อกโฮล์ม วัดพุทธาราม เฟรดิกา้ ประเทศสวีเดน วัดไทย


นอร์เวย์ ประเทศนอร์เวย์ วัดไทยเดนมาร์ค กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ค วัดไทย ฟินแลนด์ กรุงเฮลซิงกิ วัดไทยในเบอร์ลิน ประเทศเยอรมัน วัดไทยไอซแลนด์ และวัดไทย เบลเยียม ซึ่งขยายวัดออกไปอีกถึง 3 วัดใน ลักซัมเบิร์ก ในเวลาต่อมา วัดพุทธาราม เนเธอร์แลนด์ นับได้วา่ เป็น วัดไทยแห่งแรกในยุโรป และเป็นศูนย์ฝกึ พระ ธรรมทูตให้รู้จักวิธีการดำ�รงชีวิตในประเทศ แถบสแกนดิเนเวีย จากนั้นพระธรรมทูตก็จะ ถูกส่งออกไปปฏิบัติศาสนกิจในประเทศต่างๆ ในแถบนี้ พระพุทธศาสนาในประเทศสวีเดน เป็นหนึง่ ในประเทศที่ได้รับการตอบรับจากประชาชน อย่างดียงิ่ และเป็นประเทศแรกในโลกตะวันตก ที่ทั้งภาครัฐและเอกชนได้เข้ามามีส่วนร่วมใน การสร้างวัด โดยดำ�ริจะให้มวี ดั ไทยเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้พระพุทธศาสนาในประเทศของตน และได้จดั สรรพืน้ ทีใ่ ห้กว่า 270 ไร่ เพือ่ ดำ�เนิน

การสร้างวัดไทย การทีภ่ าครัฐและเอกชนของ ประเทศสวีเดน ได้เข้ามาดูแลการสร้างวัด ไทยเช่นนี้ จึงเป็นสิ่งที่น่าภูมิใจสำ�หรับชาว ไทยที่นับถือพระพุทธศาสนา หากเอาเงินไทย ไปสร้างวัดให้ฝรั่ง จะต้องนำ�เงินไทยออกจาก ประเทศจำ�นวนมหาศาลจึงจะสร้างวัดได้สัก วัดหนึ่ง การสร้างวัดไทยในต่างประเทศ โดยเฉพาะ ทางด้านยุโรป พระสงฆ์ได้ใช้เงินไทยน้อยมาก โดยใช้เงินประเทศนัน้ เพือ่ สร้างวัดประเทศนัน้ ซึ่งเป็นการให้ฝรั่งสร้างวัดพระพุทธศาสนาให้ ฝรัง่ เอง เพราะเจ้าของผูส้ ร้างจะได้เกิดความรัก ความผูกพันในสิ่งที่เขาสร้างขึ้นมาจะทำ�ให้วัด ไทยมีความมัน่ คง ได้รบั การดูแลเอาใจใส่อย่างดี สมเด็จพระพุฒาจารย์จึงวางเป็นแนวทางการ สร้างวัดสำ�หรับพระธรรมทูตไว้ว่า “พระสงฆ์ไปปฏิบตั งิ านประเทศใดต้องใช้ เงินของประเทศนั้นสร้างวัด เพราะถ้าจะเอา เงินไทยไปสร้างวัดในต่างประเทศ เราจะต้อง

13


เอาเงินบาทออกนอกประเทศเท่าไรจึงจะสร้าง วัดได้วัดหนึ่ง ค่าเงินบาทกับเงินต่างประเทศ แตกต่างกันมาก พระสงฆ์ทไี่ ปอยูต่ า่ งประเทศ จึงต้องเก่งและมีความอดทนสูง” ต่อมาในปี พ.ศ. 2515 สมเด็จพระพุฒาจารย์ ได้เดินทางไปสังเกตการณ์พระพุทธศาสนาตาม มหาวิทยาลัยต่างๆ ในสหรัฐอเมริกา ตามคำ�นิมนต์ ของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา โดยคณะผูร้ ว่ มเดินทาง ประกอบด้วยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) เป็นหัวหน้าคณะ สมเด็จพระมหา รัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญโญ) และพระพรหม คุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) เป็นเหตุให้เห็น หนทางในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และ ในโอกาสต่อมาก็ได้เริ่มวางรากฐานพระพุทธ ศาสนาในอเมริกา โดยอาศัยสมาคมชาวไทย ต่างๆ เช่น สมาคมชาวไทยอีสาน สมาคมชาว ไทยเหนือ และสมาคมชาวไทยทักษิณ ตลอด จนนักศึกษาในอเมริกา เพื่อหาวิธีการที่จะ สร้างวัดไทยในสหรัฐอเมริกาให้ได้ เมือ่ สมเด็จพระพุฒาจารย์ได้รบั ตำ�แหน่ง เป็นเจ้าอาวาสวัดสระเกศ ได้สร้างอาคารหลัง หนึง่ ขึน้ ภายในบริเวณวัด และให้ชอื่ ว่า “อาคาร อนุสรณ์สมเด็จฯ ญาโณทยมหาเถระ พ.ศ. 2517” นัยหนึ่งก็เพื่อเป็นที่พักพระสงฆ์ต่างประเทศ ที่เข้ามาศึกษาเล่าเรียนพระพุทธศาสนาใน ประเทศไทย ให้ได้รับความสะดวกสบายใน เรื่องที่อยู่อาศัย เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ท่านเจ้า ประคุณสมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทย มหาเถระ) พระอาจารย์ผจู้ ดุ ประกายความคิด ที่จะให้พระพุทธศาสนาแผ่ไพศาลไปในโลก ตะวันตก ความสำ � เร็ จ ของการเผยแผ่ พ ระพุ ท ธ ศาสนาในต่างประเทศทั่วโลก จนพระพุทธ ศาสนาเบ่งบานในโลกตะวันตกอย่างแข็งแกร่ง เกิดจากการวางรากฐานที่สำ�คัญของสมเด็ จ พระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) ผู้ริเริ่ม

14

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปทั่วโลกริเริ่ม การสร้างวัดไทยในต่างประเทศ และริเริ่ม ให้มีการฝึกอบรมพระธรรมทูตไปประจำ� ณ วัดไทยในต่างประเทศ เป็นเหตุให้พระสงฆ์ ผู้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ป็ น พระธรรมทู ตได้ ยึ ด เป็ น แนวทางอันเดียวกัน เป็นทีม่ าแห่งความสำ�เร็จ ของงานพระศาสนาในต่างประเทศ นับได้ว่า สมเด็จพระพุฒาจารย์เป็นผูเ้ ปิดวิสยั ทัศน์ธรรม สู่ วิ สั ย ทั ศ น์ โ ลก ทำ �ให้ พ ระพุ ท ธศาสนาแผ่ ไพศาลเป็นที่พักพิงทางด้านจิตใจแก่ชาวไทย และประชาชนในต่างประเทศทั่วโลก


ภารกิจทีท่ �ำ ให้กบั สมุย สมเด็จพระพุฒาจารย์เป็นพระเถระทีส่ �ำ คัญ ของชาวไทย โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ ได้ท�ำ หน้าทีใ่ ห้กบั ศาสนจักรตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา ปฏิบัติศาสนกิจที่เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธ ศาสนา สมเด็จพระพุฒาจารย์ได้สร้างผลงาน ไว้มากมายในฐานะพระนักปกครองพระนักการ ศึกษา และพระผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาไป ยังต่างประเทศและเป็นผู้วางรากฐานความ เป็นสากลเพื่อให้ศาสนจักรสามารถรองรับกับ การเปลีย่ นแปลงของโลกสมัยใหม่ โดยมุง่ เน้น บทบาทของพระสงฆ์ในการทำ�งานให้แผ่นดิน ซึ่งถือว่าเป็นการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ท างพระพุ ท ธ ศาสนา แนวคิดนี้ได้ถูกสะท้อนจากการที่ท่าน สมเด็จพระพุฒาจารย์ได้เข้าไปมีสว่ นช่วยเหลือ สังคมในด้านต่างๆ ทั้งในระดับประเทศ และ

เขาหัวจุก

วัดคีรีวงการาม

พระสงฆ์ไปปฏิบตั งิ านประเทศใดต้องใช้เงินของประเทศนัน้ สร้างวัด เพราะถ้าจะเอาเงินไทยไปสร้าง วัดในต่างประเทศ เราจะต้องเอาเงินบาทออกนอกประเทศเท่าไรจึงจะสร้างวัดได้วัดหนึ่ง

15


โรงเรียนเกาะสมุย

เจดีย์เขาหัวจุก สถานที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ

ในระดับท้องถิ่น โดยเฉพาะเกาะสมุยที่เป็น บ้านเกิดของสมเด็จพระพุฒาจารย์ ซึ่งท่าน ได้ให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาเกาะสมุยใน ด้านต่างๆ มากมาย เช่น การช่วยผลักดันให้ เกิดการบริจาคเงิน เพื่อพัฒนาโรงพยาบาล เกาะสมุย การสร้างอาคารเรียนให้แก่โรงเรียนต่างๆ เช่น โรงเรียนวัดคีรวี งการาม อำ�เภอเกาะสมุย และการให้ทนุ การศึกษาแก่นกั เรียนผูข้ าดแคลน ทุนทรัพย์ในโรงเรียนต่างๆ บนเกาะสมุย นอก จากนี้สมเด็จพระพุฒาจารย์ยังมีส่วนร่วมใน การพัฒนาโรงเรียนเกาะสมุย ซึง่ เป็นโรงเรียน ประจำ�อำ�เภอ และห้องสมุดของโรงเรียน สำ�หรับ การส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา สมเด็จพระพุฒาจารย์สนับสนุนให้มกี ารจัดตัง้ วิทยาลัยนานาชาติการท่องเทีย่ ว มหาวิทยาลัย ราชภัฏสุราษฎร์ธานี โดยได้ทรงเมตตาเดิน ทางมาเป็นประธานในพิธีวางศิลาฤกษ์อาคาร วิทยาลัยนานาชาติ ที่อำ�เภอเกาะสมุย

16

โรงเรียนวัดคีรีวงการาม

สมเด็จพระพุฒาจารย์ยังได้ร่วมมือกับ ภาคเอกชนในการพัฒนาเกาะสมุย เช่น ร่วมกับ บริษทั บางกอกแอร์เวย์ส ในการร่วมกันพัฒนา วัดหน้าพระลาน ตำ�บลแม่น�้ำ อำ�เภอเกาะสมุย และยังมีสว่ นในการพัฒนาเขาหัวจุก โดยสมเด็จ พระพุฒาจารย์ได้ประทานพระบรมสารีรกิ ธาตุ มาให้ และได้ทำ�การบรรจุพระบรมธาตุไว้บน ยอดเจดีย์ ต่อมาภายหลังชาวเกาะสมุยได้รว่ ม แรงร่วมใจกันบริจาคเงินในการบูรณะเจดีย์ จนเป็นสถานที่ทางศาสนา และเป็นสถานที่ ท่องเทีย่ วที่สำ�คัญของเกาะสมุยในปัจจุบัน


17


ประวัติการศึกษาและผลงาน

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) สมเด็จพระพุฒาจารย์มอบกายถวายชีวติ ในพระพุทธศาสนามีศรัทธาไม่หวัน่ ไหว และสมบูรณ์ดว้ ย ศีลาจารวัตร เป็นพระมหาเถระผู้รัตตัญญู มีเมตตาธรรมเป็นประจำ� มีกรุณาต่อชนทั่วไป มีอัธยาศัย ละมุนละไม เป็นบุคคลที่ใครๆ เข้าหาได้ง่าย ไม่ถือตัว ปฏิบัติศาสนกิจและสังฆกรรมต่างๆ สม่ำ�เสมอ มิได้ขาด เป็นผู้มีเมตตากรุณา สงเคราะห์พระภิกษุสามเณร พ.ศ. 2489 สอบได้นักธรรมชั้นเอก พ.ศ. 2492 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม พ.ศ. 2494 เป็นกรรมการตรวจธรรมสนามหลวง พ.ศ. 2496 เป็นกรรมการตรวจสอบบาลีสนามหลวง พ.ศ. 2497 สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค ไปร่วมประชุมฉัฏฐสังคีติ ณ ประเทศพม่า พ.ศ. 2498 เป็นกรรมการพิเศษ แผนกตรวจสำ�นวนแปลพระวินัยปิฏก ฉบับ 2500 ของคณะสงฆ์ พ.ศ. 2499 เป็นกรรมการนำ�ข้อสอบไปเปิดสอบเป็นอาจารย์สอนภาษาบาลี มหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย พ.ศ. 2500 ร่วมประชุมอรรถกถาสังคายนา ณ ประเทศพม่า เป็นหัวหน้าแผนกบาลีธรรม มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นอาจารย์สอนพระสูตร มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นประธานหัวหน้า แผนกคณะพุทธศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2501 เป็นกรรมการจัดทำ�นิตยสารพุทธจักร มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นกรรมการนำ�ข้อสอบไปเปิดสอบ เป็นกรรมการอบรมศีลธรรมตามโรงเรียนต่างๆ ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นกรรมการเผยแพร่ศีลธรรม ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2502 เป็นผู้ช่วยอธิการบดี มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นหัวหน้าแผนกธรรมวิจัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2504 เป็นกรรมการหน่วยวิจัย จัดทำ�นามานุกรมของคณะสงฆ์โดยกรมศาสนา พ.ศ. 2505 เป็นหัวหน้าคณะเดินทางไปดูการศาสนาและเพื่อศาสนสัมพันธ์ ที่ประเทศเกาหลี ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฮ่องกง พ.ศ. 2506 เป็นอนุกรรมการวัฒนธรรมทางจิต กระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานคณะกรรมการต้อนรับสมณทูต จากไต้หวัน เป็นอนุกรรมการมหาเถรสมาคม พ.ศ. 2507 เป็นเลขาธิการมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ปัจจุบัน คือ อธิการบดีมหาวิยาลัย) ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่ง รองเจ้าคณะภาค 9 เป็นหัวหน้าอำ�นวยการพระธรรมทูต สายที่ 8 พ.ศ. 2508 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าคณะภาค 9 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ ประเภทวิสามัญ เป็นเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช


พ.ศ. 2510 เป็นหัวหน้าคณะเดินทางไปสังเกตการณ์ การศึกษาพระพุทธศาสนาที่ประเทศลาว ศรีลังกา ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฮ่องกง ในความอุปถัมภ์ของ พ.ส.ล. พ.ศ. 2512 เป็นกรรมการอำ�นวยการฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศ เป็นกรรมการธรรมจาริก กรมประชาสงเคราะห์ พ.ศ. 2513 เป็นกรรมการร่างหลักสูตร ร.ร. พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดสระเกศ พ.ศ. 2514 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดสระเกศ พ.ศ. 2515 ไปสังเกตการณ์การศึกษาทางพระพุทธศาสนาของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในสหรัฐอเมริกา ตามคำ�นิมนต์ของรัฐบาลอเมริกา พ.ศ. 2516 เป็นกรรมการมหาเถรสมาคม พ.ศ. 2524 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าคณะภาค 10 พ.ศ. 2525 เป็นรองประธานสภาสงฆ์แห่งโลก พ.ศ. 2528 เป็นประธานกรรมาธิการ สังคายนาพระธรรมวินยั ตรวจชำ�ระพระไตรปิฎกในมหามงคล สมัยพระชนมพรรษา 5 รอบ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน พ.ศ. 2532 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก เป็นประธานคณะกรรมการสำ�นักฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศ พ.ศ. 2533 เป็นสมเด็จพระราชาคณะทีส่ มเด็จพระพุฒาจารย์ ดังราชทินนามทีจ่ ารึกในพระสุพรรณ บัตรว่า “สมเด็จพระพุฒาจารย์ ภาวนากิจวิธานปรีชาญาโณทยวรางกูร วิบลู วิสทุ ธิจริยา อรัญญิกมหาปริณายก ตรีปฎิ กบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัณยวาสี” พ.ศ. 2534 เป็นประธานคณะกรรมการจัดการชำ�ระและพิมพ์อรรถกถาพระไตรปิฎกเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เนือ่ งในมหามงคลวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 12 สิงหาคม 2535

นอกจากนี้ - เป็นประธานกรรมการศูนย์ควบคุมการไปต่างประเทศของพระภิกษุสามเณร (ศ.ต.พ.) - เป็นกรรมการมหาเถรสมาคม - เป็นอนุกรรมการควบคุมการเรี่ยไร - เป็นรองแม่กองงานพระธรรมทูต พ.ศ. 2540 ได้รบั พระบัญชาแต่งตัง้ เป็นประธานคณะกรรมการฝ่ายเผยแผ่พระพุทธศาสนา มหาเถรสมาคม เป็นประธานคณะกรรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติและอุบัติภัย พ.ศ. 2547 เป็นประธานคณะผู้ปฎิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช สมณศักดิ์ พ.ศ. 2501 เป็น พระราชาคณะ ชั้นสามัญ ที่ พระเมธีสุทธิพงศ์ พ.ศ. 2505 เป็น พระราชาคณะ ชั้นราช ที่ พระราชวิสุทธิเมธี พ.ศ. 2507 เป็น พระราชาคณะ ชั้นเทพ ที่ พระเทพคุณาภรณ์ พ.ศ. 2514 เป็น พระราชาคณะ ชั้นธรรม ที่ พระธรรมคุณาภรณ์ พ.ศ. 2516 เป็น พระราชาคณะ เจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ที่ พระพรหมคุณาภรณ์ พ.ศ. 2533 เป็น สมเด็จพระราชาคณะ ชั้นสุพรรณบัฏ ที่ สมเด็จพระพุฒาจารย์ พ.ศ. 2547 เป็น ประธานคณะผู้ปฎิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก


Somdet Phra Buddhacarya (Kiaw Upaseno)

The Guiding Light of Insight and Sublime States

He was a unique monk of the Rattanakosin Era. Born in Thailand’s southern region, he had become the Second Only to the Supreme Patriarch and the guiding light of Dhamma at the Wat Srakesa Rajavaramahavihara (Wat Saket or Temple of the Golden Mount). This royal monastery is located in the heart of Bangkok. The senior mahathera had followed the path of Lord Buddha for more than 70 years with complete faith and firm determination to promote Buddhism not just in Thailand but also beyond. Being a key pillar of Buddhism in modern times, he had extended Buddhist precepts as life guidance to peoples in the hope of creating a peaceful world.

The Biography of Somdet Phra Buddhacarya (Kiaw Upaseno) Somdet Phra Buddhacarya (Kiaw Upaseno) was born Kiaw Chokchai on 11 January 1928 (Sunday, the 8th day of the waning moon period of the 3rd month, Year of Dragon) at a village on the eastern coast of Samui Island or Tambon Bophut, Ko Samui district, Surat Thani province. His parents were Ouilian and Yi sae Yow. The couple had eight children together namely Kiak Promsawas (deceased), Lan Chayakul (deceased), Chanin Chokkanapitak (deceased), Teng Chokkanapitak (alive), Jian sae Yow (lived in China,deceased), Kiaw or Somdet Phra Buddhacarya (Kiaw Upaseno), Chaiwat Chokkanapitak (deceased) and Heet sae Yow (deceased). Kiaw’s parents worked on their coconut farms, did some trading, and also operated

20

boat services between the Samui Island and Bangkok. In his childhood, Kiaw enrolled at the Sawang Arom Temple School, studied hard and completed Pathom 4 level in 1940. His parents were planning to send him to Surat Thani’s town to further his education when he suddenly fell ill. Because his conditions did not show any sign of improving, his parents became real worried. Finally, they turned to sacred beings. They prayed that if Kiaw recovered from his illness, they would ensure that the boy get ordained as a novice for a period of seven days. They hoped that they could still send their son to a school in Surat Thani’s town later on.


21


After the votive promise was made, Kiaw regained his health. With his full recovery, he then attended an ordination ceremony arranged by his parents on 6 June 1941 at the Sawang Arom Temple in Tambon Bophut, Ko Samui district, Surat Thani province. Ecclesias tical Sub-district Chief Chao Atikan Pat officiated the ceremony. The senior monk was also the abbot of Phukhao Thong Temple in Tambon Mae Nam, Ko Samui district, Surat Thani province. Kiaw’s parents initially planned to put him in the novice monkhood for just seven days to fulfill their votive promise related to his illness and recovery. However, after Kiaw completed his seven days as a novice monk, he expressed an intention to stay in saffron

22

robe for the rest of his life. His parents complied with his wish and brought him to Luang Phor Phring (Phra Khru Arunkij koson). Famous for his meditation practice, the former pilgrim was a native of Surat Thani’s Chaiya district but settled down on Samui Island. At the time Kiaw came under his guidance, he was the abbot of Chaeng Temple. He was very strict about Dhamma Vinaya and discipline. This temple is located near the Na Ton market in Tambon Angthong, Ko Samui district, Surat Thani province. Kiaw the novice monk took Dhamma-scholar course at this temple under the supervision of Luang Phor Pring. He completed the elementary level in the first year and the intermediate level in the second year.


Recognizing Kiaw the novice monk’s studiousness, Luang Phor Pring brought him to Bangkok and placed him under the care of Phra Achan Ket. Residing at Wat Srakesa Rajavaramahavihara, Phra Achan Ket was the ecclesiastical governor of Region 5. The World War II soon later spread to Thailand. As Japanese troops invaded the country, Luang Phor Pring became worried about the novice monk’s safety in Bangkok. He thus headed to the capital again to pick up the novice monk. They then returned to Surat Thani together. The monk, however, did not bring the ordained boy back to his old temple. Instead, he placed Kiaw the novice monk under the care of Phra Achan Maha Klan Piyatossi to ensure that the ordained boy could continue his Dhamma study. After the World War II ended, Luang Phor Pring took Kiaw the novice monk to Wat Srakesa Rajavaramahavihara again in the hope of letting him resume his study under Phra Achan Ket’s guidance. But upon arrival, they found that Phra Achan Ket had already disrobed. The novice monk was thus put under the care of Phra Khru Palad Tiab

instead. This mentor would later become the abbot of Wat Srakesa Rajavaramahavihara. Kiaw the novice monk could smoothly continue his Dhamma study at the royal monastery because he studied hard during his time with Phra Achan Maha Klan in Tambon Phumariang. Thanks to his diligence, he completed the advanced level of Dhamma-scholar course and the Pali Scholar level 5 while he was still a novice. In 1949, he grew old enough to become a monk. The ordination ceremony for his monkhood took place at Wat Srakesa Rajavaramahavihara on 1 May that year with Phra Dhammavarodom, who would later become Somdej Phra Sangharaja (Yoo Nanodayo) the Supreme Patriarch, as the preceptor. The new monk’s monastic name was “Upaseno Bhikkhu”. In 1954 Phra Maha Kiaw Upaseno completed the Pali Scholar Level 9 – the highest level for Dhamma study. From that time on, he had made significant contributions to Thailand’s Buddhism in various aspects for example through education, the administration of monks, and support for the society.

23


He had also actively promoted Buddhism overseas. At the time of his passing, Somdet Phra Buddhacarya (Kiaw Upaseno) was a member of the Sangha Supreme Council, the ecclesiastical governor of the Eastern Zone, the abbot of Wat Srakesa Rajavaramahavihara, and also the chair of the committee that had carried out works on behalf of the Supreme Patriarch.

Outstanding Work Records Throughout his life, Somdet Phra Buddhacarya (Kiaw Upaseno) had conducted various religious works for Buddhism to continue thriving in Thailand. He had played a key role in propagating this faith overseas too. The far-sighted monk had proven to be a remarkable educator, administrator and propagator of Buddhism in foreign countries. With his studiousness, he completed the Pali Level 9 at a young age. He had then taught Dhamma to both monks and novices. At the Maha chulalongkornrajavidyalaya University or the Buddhist monk university, he had served as a lecturer. He was also its former assistant rector, its former secretary general (the post is now known as rector) and a former head of its Dhamma Research Division. Somdet Phra Buddhacarya (Kiaw Upaseno) had actively promoted Buddhism in foreign countries in the hopes of allowing Thai Buddhists there to stay close to

24

Dhamma and giving foreigners oppor tunitiesto study Buddhism. He had supported the establishment of Buddhist temples in the United States and many other countries. He had also headed the Training Institute for Dhammaduta Bhikkhus Going Aboard. His administrative skills were evident. He had held many important positions within the Sangha Order. In 1964, he was appointed to a Sangha Supreme Council subcommittee. In 1965, he became the ecclesiastical governor of Region 9 and secretary to the Supreme Patriarch. In the following year, he was also made the abbot of Wat Srakesa Rajavaramahavihara. Then in 1973, the very important appointments arrived. He was recruited to the Sangha Supreme Council and was graciously bestowed the post of the Third Only to the Supreme Patriarch. With it, he became the third monk in the Rattanakosin Era to have become the Third Only to the Supreme Patriarch at an age younger than 50 years. Later on, he was appointed the ecclesiastical governor of Region 10 (his jurisdictions covered Ubon Ratchathani, Si Sa Ket, Nakhon


Educational and Social Work Phanom, Yasothon, Mukdahan and Amnat Charoen provinces). In 1982, he was appointed the vice president of the World Buddhist Sangha Council and the ecclesiastical governor of the Eastern Zone. He finally rose to the highest administrative post for a monk, serving as the chair of the committee that had worked on the Supreme Patriarch’s behalf. Somdet Phra Buddhacarya, in addition, had played an important role in sustaining Thailand during its critical times. When a serious financial and political crisis hit the kingdom in 1997, he got an assignment from the Supreme Patriarch to preside over the rare religious rites to bless the country. All the above posts and assignments have reflected Somdet Phra Buddhacarya’s abilities as an administrator.

Somdet Phra Buddhacarya’s enthusiasm in Dhamma study was widely known since his days as a novice. He thus could complete the Pali Level 9 at a young age. In 1949, he started teaching Dhamma study. Two years later, he was recruited to the panel tasked with scoring Dhamma exam papers. Then in 1953, he was on a scoring panel for Pali exam papers. Four years later, he started teaching Pali at the Mahachulalongkornrajavidyalaya University. In 1959, he served as both its assistant rector and the head of its Dhamma Research Division. He continued to head the Dhamma Research Division in the following year. Later on, he was named the university’s secretary general (now referred to as rector). In 1970, he was also on a committee that drafted general-education curriculum for Dhamma schools.

25


Dhamma Vinaya and Tipitaka to mark the 60th Birthday Anniversary of HM King Bhumibol Adulyadej. In 1991, he was appointed the chairman of the committee on the review and publishing of the Tipitaka interpretations to mark the 60th Birthday Anniversaryof HM Queen Sirikit. In 1997, he was appointed the chair of the Sangha Supreme Council’s committee on Buddhism propagation. He also chaired the committee on relief for disaster victims in that same year. During 13 January 2004 to 12 July 2004, he had acted for the Supreme Patriarch. After that, he had also served as the chair of the committee that worked on behalf of the Supreme Patriarch. In addition, Somdet Phra Buddha carya had penned many books. Among them are “Dhamma Sumrub Phu Nabteu” (Dhamma for Believers), “Dee Proh Mee Dee” (Good because Being Good), “Patakathadham” (Dhamma Lecture), “Somdet Phra Buddhacarya”, “Karn Damrong Ton” (How to Behave), and Khunnasombat Ha Prakan (Five Qualities). He had also given Dhamma talks via the “Khongdee Jak Bailan” (Good Lessons from Religious Scriptures) program. On social work and other types of work, Somdet Phra Buddhacarya was the founder of the Religious Affairs Department’s printing house. To help ill monks in rural areas, he had donated money to the construction of hospital buildings for those priests. In 1985, he chaired a committee on the revision of

26

Religious Works in Foreign Countries On the propagation of Buddhism overseas, Somdet Phra Buddhacarya had travelled across the world to explore the possibility of establishing temples in foreign lands. He had embarked on such initiative because he got the inspirations from his spiritual mentor, Somdej Phra Sangharaja (Yoo Nanodayo) the Supreme Patriarch. In 1954, he headed to Myanmar for the Chatthasangiti or the Myanmarsponsored revision of Tipitaka. Three years later, he headed back to Myanmar again for the meeting on Tipitaka interpretations in celebrations of the 2500th


year in the Buddhist Era. In 1962, he headed a delegation to South Korea, Japan, Taiwan, Hong Kong and various other territories to observe religious affairs and to promote closer religious ties with those countries. Those visits were turning points in Buddhism’s history because they have since forged close ties between the Theravada and Mahayana sects. The Mahayana Buddhist countries like Japan and China have even constructed replicas of Golden Mount as the memorial to their religious ties with Thailand. In 1964, he travelled to as far as Europe to establish the first Thai temple, “Wat Buddharama�, in Netherlands. Soon after, more Thai temples were set up in various other countries such as Germany, Britain, France, Italy and Australia. During his first trip to Europe, he met Pridi Banomyong and many other Thais there. He thus understood their living conditions and their spiritual needs. These Thais had to adjust themselves to a much colder temperature and new culture. Amid their struggle, they seriously wished to have Buddhist temples and monks nearby. With its cold weather and snow, Europe particularly its Scandinavian zone seemed to be an unlikely place for Buddhist monks to establish Thai temples and become residents. However, the outstanding monk from Thailand quickly decided to set up the Thai temple in Netherlands to start the propagation of Buddhism in Europe including Scandinavia. Despite

cold weather in their homelands, Scandinavians were clearly warm-hearted. The Thai-born monk was thus confident that Buddhism would be able to thrive there. During his stay in Netherlands, this monk flied the Dhamma Wheel Flag from the window of his condo room to signal that Buddhism had already arrived and taken its root in this European country. Soon after that, several Thai temples have gone up in various corners of Europe. Among them are the Wat Buddharama in the Netherlands, Wat Buddharama in Stockholm, Wat Buddharama Fredrica in Sweden, Wat Thai Norway in Norway, Wat Thai Denmark in Copenhagen, Wat Thai Finland in Helsinki, Wat Thai in Berlin, Wat Thai Iceland, and Wat Thai Belgium. In Belgium alone, there are now three Thai temples.

27


Wat Buddharama in Netherlands is considered the first Thai temple in Europe. It has also served as a training center where Dhammaduta learn about European culture before being dispatched to carry out religious works in various European nations. Buddhism, meanwhile, has won a very warm response from Swedish people from the very beginning. Sweden is the first Western country where the plan to establish a Thai temple has attracted participation from both the government and the private sectors. Spanning over 270 rai of land in Sweden, this temple was also designed to serve as a Buddhism learning center. The Swedish people’s warm response must have been a delight to Thais. Had Thais spent their own money on constructing the temple in such foreign country, they would have to bring a massive amount of cash out of Thailand. The Thai clergymen have spent just a meager amount of money on the establishment of Buddhist temples in foreign countries especially in Europe because

28

the monks have always nudged local peoples to pay for the temple construction themselves. Only when these foreigners are responsible for the construction, will they develop the sense of ownership and deep ties with the Thai temples. Only through such solid ties can Thai temples receive good maintenance and thrive on. In pursuing the initiative to establish Thai temples overseas, Somdet Phra Buddhacarya told Dhammadutas that, “No matter in which country you carry out your assignments, you must use the money of that country in constructing temples. If we use Thais’ money for the purpose, we will need to bring so much money out of Thailand. The values of baht and foreign currencies are much different. Buddhist monks in foreign countries must be capable and very patient”. In 1972, he travelled to the United States as the head of a Thai delegation. The US government had extended the official


invitation for the Thai delegation to visit various US universities and work on Buddhism-related subjects. Headed by Somdet Phra Buddhacarya (Kiaw Upaseno), the delegation also included Somdet Phra Maharajamangalajanh (Chuang Vorapunyo) and Phra Bhramagu nabhorn (Prayudh Payutto). Through the trip, Somdet Phra Buddhacarya had seen the possibility of propagating Buddhism in the US. He had thus worked on the propagation by engaging the Association of Northeastern Thais, the Association of Northern Thais, the Association of Southern Thais, and Thai students in the US. He had also involved them in the plan to set up the Thai temple on US soil. After Somdet Phra Buddha carya was appointed the abbot of the Wat Srakesa Rajavaramaha vihara, he ordered the construction of the “Somdet Nanodayamaha thera Memorial Building of B.E. 2517� at the monastery. This building accommodated foreign monks who were studying Dhamma in Thailand. While the building served to provide convenience to the foreign priests, it was also a clear tribute to Somdej Phra Sangharaja (Yoo Nanodayo) the Supreme Patriarch. Because of this mentor, Somdet Phra Buddhacarya had made it his mission to promote Buddhism in the Western World.

The successful propagation of Buddhism in various countries owes largely to Somdet Phra Buddhacarya, who has laid down the firm foundation for the mission. He has initiated the establishment of Thai temples in foreign lands. He has also started training for Dhammadua who will be dispatched to various Thai temples overseas. Thanks to all these moves, the Dhammadutas have proceeded within the same guideline to the point that the promotion of Buddhism across the world including the Western World has been a real success. Therefore, Somdet Phra Buddhacarya (Kiaw Upaseno) deserves credit for bringing Dhamma to lay people around the globe. Through his initiative, Buddhism has become the guiding light of Thais and so many foreigners worldwide.

29


Mission for Samui Somdet Phra Buddhacarya was an important Mahathera in Thailand. Throughout the past several decades, he had tirelessly served Buddhism and delivered significant contributions. His work records were solid and impressive. He had proven to be a great administrator, educator and propagator of Buddhism. He had brought Buddhism to foreign countries and laid down internationalstandard practice to ensure that the Buddhist faith serves well even in the fast-changing modern world. Somdet Phra Buddhacarya had encouraged Buddhist monks to work for Buddhism as well as for their country. He himself had engaged in social work at both national and local levels. Somdet Phra Buddhacarya, for example, had extended various forms of support to his hometown. He had raised funds for the improvement of hospitals and the construction of school buildings on Samui Island. Khiri Vongkaram

30

Temple School was among the beneficiaries. Moreover, Somdet Phra Buddhacarya had given scholarships to local students from cash-strapped families. He had played a role in upgrading the Ko Samui School and its library too. This school was considered the best school in Ko Samui district. On higher education, Somdet Phra Buddhacarya supported the establishment of Surat Thani Rajabhat University’s International College of Tourism. He presided over the foundation-stone-laying ceremony for the college himself. This college is located on Samui Island. Somdet Phra Buddhacarya had worked with the private sector in developing Samui Island too.


Educational Background and Achievements For example, in collaboration with the Bangkok Airways, he had pushed for the development of Na Phra Lan Temple in Tambon Maenam. For the Khao Hua Jook, Somdet Phra Buddhacarya graciously granted some of Lord Buddha’s relics that had since been enshrined inside the pagoda on top of this mountain. Locals have since donated money to maintain the pagoda. Today, this sacred site is not just a sanctuary but also a tourist attraction on Samui Island.

Somdet Phra Buddhacarya was totally

devoted to Buddhism. With his unwavering faith he had perfectly observed his moral conduct and duties. This senior Mahathera had so many decades of experiences, knowledge and wisdom. He was always kind and compassionate to members of the general public. With his gentle and friendly personality, he was approachable. He had regularly carried out religious works and religious rites. To other monks and novices, he was benevolent and helpful. 1946 He completed the advanced level of Dhamma scholar course. 1949 He started teaching Dhamma study.

31


1951 He was on a panel that scored Dhamma exam papers. 1953 He was on a panel that scored Pali exam papers. 1954 He completed the Pali Level 9. He attended the Chatthasangiti or the Myanmar-sponsored revision of Tipitaka. 1955 He was a special member to the B.E. 2500 Interpretation of Vinaya Pitaka Review Division. 1956 He was a member of the committee on exam-papers control. He started teaching Pali at the Maha chulalongkornrajavidyalaya University. 1957 He attended the meetings to revise the Tipitaka in Myanmar. He became the head of the Maha chulalongkornrajavidyalaya University’s

32

Pali Dhamma Division. He taught Lord Buddha’s original sermons and dialogues at the Maha chulalongkornrajavidyalaya University. He was the chief of the Maha chulalongkornrajavidyalaya University’s Buddhist Studies Faculty. 1958 He was on the panel that prepared the Mahachulalongkorn rajavidyalaya University’s Buddhacakka Magazine. He was a member of the committee on exam-papers control. He was on the Mahachulalongkornrajavidyalaya University’s committee on schools-based moral training. He was on the Mahachulalongkornrajavidyalaya University’s committee on moral promotion.


1959 He became an assistant rector of the Mahachulalongkornrajavidyalaya University. He headed the Mahachulalongkornrajavidyalaya University’s Dhamma Research Division. 1961 He was on the Religious Affairs Department’s research committee for nomenclature dictionary of Thai clergy. 1962 He headed a delegation to South Korea, Japan, Taiwan and Hong Kong for religious education visits and the promotion of religiousties. 1963 He was on the Education Ministry’s subcommittee on mental cultures. He chaired a committee arranging the reception of religious envoys from Taiwan. He sat on the Sangha Supreme

Council’s subcommittee. 1964 He served as the secretary general (now referred to as rector) of the Maha chulalongkornrajavidyalaya University. He was appointed the deputy ecclesiastical governor of Region 9. He was the director of Dhammaduta Group 8. 1965 He became the ecclesiastical governor of Region 9. He was appointed a special preceptor. He was the secretary to the Supreme Patriarch. 1967 He headed a delegation, under the auspices of the World Fellowship of Buddhists, to Laos, Sri Lanka, Japan, Taiwan and Hong Kong for the observation of Buddhism Studies there. 1969 He was the managing director of the Training Institute for Dhammaduta Bhikkhus Going Aboard. He was on the Social Welfare Department’s committee on wandering Dhamma preachers. 1970 He was on the committee that drafted general-education curriculum for Dhamma schools. 1971 He was appointed the abbot of Wat Srakesa Rajavaramahavihara. 1972 He travelled to the United States to observe Buddhist Studies at various universities upon the invitation of the US government. 1973 He became a member of the Sangha Supreme Council. 1981 He became the ecclesiastical governor of Region 10. 1982 He was a vice president of the World Buddhist Sangha Council.

33


1991 He chaired a committee on the revision of Tipitaka Interpretation to mark the auspicious occasion of HM Queen Sirikit’s 60th Birthday Anniversary that fell on 12 August 1992. He was the head of the Committee of the Center of Ecclesiastical External Mission. He was on the subcommittee on donation control. He was the deputy chief of the Dhammaduta Affairs Division. 1997 He was appointed the chair of the Sangha Supreme Council’s committee on Buddhism propagation. He chaired the committee on relief for disaster victims. 2004 He chaired the committee that has carried out works on behalf of the Supreme Patriarch. 1985 He chaired a committee on the revision of Dhamma-Vinaya and Tipitaka to mark the auspiciousoccasion of HM King Bhumibol Adulyadej’s 60th Birthday Anniversary. 1989 He was appointed the ecclesiastical governor of Eastern Zone. He headed the Training Institute for Dhammaduta Bhikkhus Going Aboard. 1990 He became the Second Only to the Supreme Patriarch or Somdet Phra Buddhacarya. His full titular name on the royally-grantedgoldenplate read, “Somdet Phra Buddhacarya Bhavanakijvithanpreechananodayava rangura Viboonvisutticariya Aranyikmaha parinayok Tipitakapundit Mahakhanissorn Bovorasangaram Khamawasi Aranyawasi”.

34

Ecclesiastical Ranks 1958 The Ecclesiastical Rank of Raja gana, Ordinary Level, Phra Methisuttipong 1962 The Ecclesiastical Rank of Rajagana, Raja Level, Phra Rajavisutti methi 1964 The Ecclesiastical Rank of Rajagana, Deva Level, Phra Thepgunabhorn. 1971 The Ecclesiastical Rank of Raja gana, Dhamma Level, Phra Dhamma gunabhorn 1973 The Ecclesiastical Rank of the Third Only to the Supreme Patriarch, Phra Bhramagunabhorn


1990 The Ecclesiastical Rank of the Third Only to the Supreme Patriarch, Somdet Phra Buddhacarya. 2004 Chair of the committee carrying out works on behalf of the Supreme Patriarch Head of the Sangha Supreme Council Ecclesiastical governor of the Eastern Zone

Phra Phutthachan (Phra Buddhacarya) Phra Phutthachan is a royally -granted ecclesiastical name. Since the Ayutthaya Period, this name has been granted to theras. In the Thon Buri Period, the first Phra Phutthachan resided at the Bang Wa Noi Temple (Amarindra ram). His original name was not known. The last Phra Phutthachan was Phra Phutthachan (Sondhi), a graduate of Pali Level 3. His residence was at the Wat Srakesa Rajavarama havihara.

In the Rattanakosin Era, King Rama IV had the opinion that some ecclesiastical names for the rajaganas did not use correct spelling. He, therefore, decided to make amendments in line with trends and his preferred style. Phra Phutthachan was thus replaced with Phra Buddhacarya. At the royal order of King Rama IV, Phra Phutthachan (Sondhi) of Wat Srakesa Rajavaramahavihara became the first “Phra Buddhacarya” but his ecclesiastical-rank name was still inscribed on a silver plate. When King Rama V appointed Phra Dhammavarodom of the Wat Benchama bophit Dusitvanaram as “Phra Buddha carya” in his reign, he bestowed a golden name plate though. After that, it has become a tradition that a Phra Buddhacarya receives a golden name plate. On 5 December 1980, HM King Bhumibol Adulyadej (King Rama IX) appointed Phra Bhramagunabhorn (Kiaw Upaseno, a graduate of Pali Level 9) of Wat Srakesa Rajavaramahavihara as “Phra Buddhacarya” the Second Only to the Supreme Patriarch. He was the 22 nd Phra Buddhacarya.

35


ภาคผนวก วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร พระอารามหลวงชัน้ โท หรือทีป่ ระชาชนทัว่ ไปรูจ้ กั กัน ในนาม “วัดภูเขาทอง” เป็นวัดคูบ่ า้ นคูเ่ มืองชาวกรุงเทพมหานครและพุทธศาสนิกชนชาว ไทยมาช้านานตั้งแต่สมัยอยุธยา จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์บันทึกไว้ว่าวัดสระเกศ มีชอื่ เดิมว่า “วัดสะแก” โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้โปรดเกล้าฯ ให้มีการปฏิสังขรณ์ วัดสะแก ทั้งในส่วนของพระอุโบสถ หอไตร ศาลาการเปรียญ และ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดสระเกศ”

วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร จากพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ได้กล่าวถึงวัด สระเกศว่า “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช ครัง้ ดำ�รงพระยศเป็นสมเด็จ เจ้าพระยามหากษัตริยศ์ กึ เสด็จฯ นำ�ทัพกลับ จากสงครามที่ ก รุ ง กั ม พู ชาถึ งชานพระนคร ได้ทรงทราบเหตุการณ์จลาจลในกรุงธนบุรีจึง ได้เสด็จผ่านโขลนทวาร (พระราชประเพณี โบราณ โดยแม่ทัพนำ�ทัพผ่านซุ้มประตูป่า และเชิญพราหมณ์ประพรมน้ำ�เทพมนต์เพื่อ เป็นชัยมงคลแก่กองทัพ) และประทับสรง มุรธาภิเษก (พระราชพิธีบรมราชาภิเษกโดย การรดน้ำ�จากพระเศียรลงมา) ที่พลับพลา วัดสะแก 3 วัน….” ภายหลังการสถาปนาวัดสระเกศในสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์ วัดสระเกศอีกครัง้ โดยทีส่ �ำ คัญทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระเจดียภ์ เู ขาทองขึน้ มา ตามพระราชดำ�ริ เพื่อให้วัดสระเกศเป็นวัด เหมือนภูเขาทองในสมัยกรุงศรีอยุธยา วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร มีพื้นที่ ประมาณ 12 ไร่ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย โดย ด้านทิศเหนือติดกับถนนบรมบรรพตจรดคลอง

36

มหานาค ทิศตะวันออกจรดคลองที่แยกจาก คลองมหานาค ทิศใต้จรดถนนจักรพรรดิพงษ์ ทิศตะวันตกติดกับถนนบริพัตรและคลองโอ่ง อ่าง ภายในพื้นที่วัดสระเกศมีสถานที่สำ�คัญ ทีม่ คี ณ ุ ค่าทางประวัตศิ าสตร์มากมาย เช่น พระ อุโบสถของวัดสระเกศมีความสวยสดงดงาม เป็นอย่างยิ่ง โดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส (สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 10) กล่าวว่า “ซุม้ พัทธสีมาวัดสระเกศ วิจติ รสวยงามมาก ควรถือเป็นแบบอย่างได้” ผนังรอบอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝาผนังทีง่ ดงาม ประมาณค่ามิได้ และได้รับการดูแลซ่อมแซม อีกหลายครั้ง


37


พระระเบียงวัดสระเกศ พระบาทสมเด็จ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึน้ โดยการสร้างพระระเบียงเป็นการ สร้างตามคตินยิ มแบบขอม โดยสมเด็จพระยา ดำ�รงราชานุภาพกล่าวว่าการสร้างพระระเบียง เพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชนทีเ่ ดินทางมาจากทีไ่ กลๆ ได้พักผ่อน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชประสงค์จะสร้างให้เหมือนกับ วัดภูเขาทองในสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่เดิม พระเจดียภ์ เู ขาทองมีรปู แบบเป็นปรางค์องค์ใหญ่ ฐานสี่เหลี่ยมแบบย่อไม้สิบสองอย่างไรก็ตาม ต่อมาภายหลังส่วนฐานล่างขององค์พระเจดีย์ ไม่สามารถรับน้�ำ หนักได้ท�ำ ให้ยอดเจดียท์ รุดลง มาเป็นเหตุให้การก่อสร้างไม่แล้วเสร็จ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรีพิพัฒน์ เป็นแม่กองซ่อมแซมทำ�เป็นภูเขาทอง ทำ�บันได เวียนสองข้างจนถึงยอด โปรดเกล้าฯ ให้ก่อ เจดีย์ทรงระฆังไว้ที่ยอดเขาและพระราชทาน นามเจดีย์ภูเขาทองใหม่ว่า “บรมบรรพต” แทนชื่อเดิม คือ “พระเจดีย์ภูเขาทอง” แต่ ชาวไทยส่วนใหญ่นยิ มเรียกง่ายๆ กันว่า “เจดีย์ ภูเขาทอง” ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวมีการบูรณะพระเจดีย์ภูเขาทองใหม่ และสร้างต่อในส่วนทีไ่ ม่เรียบร้อยให้แล้วเสร็จ โดยได้อัญเชิญพระบรมสารีรกิ ธาตุทบ่ี ชู าไว้ใน พระบรมมหาราชวัง มาประดิษฐานไว้ทพ่ี ระเจดีย์ วัดภูเขาทองเป็นครัง้ แรก ในปี พ.ศ. 2440 และ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้มีงานนักขัตฤกษ์ฉลอง พระเจดียภ์ เู ขาทองเป็นประจำ�ทุกปี พระเจดีย์ ภูเขาทอง นับเป็นพุทธสถานที่สำ�คัญของวัด สระเกศ ราชวรมหาวิหาร เฉกเช่น เดียวกับ พระปรางค์วดั อรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร

38

ต่อมาสมเด็จพระลูกยาเธอ เจ้าฟ้าอัษฏางค์ เดชาวุธ กรมขุนราชสีมา เสด็จพระราชดำ�เนิน แทนพระองค์ ทรงประกอบพิธีบรรจุพระบรม สารีรกิ ธาตุทไ่ี ด้รบั อัญเชิญมาจากประเทศอินเดีย โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงโปรดให้อญ ั เชิญมาประดิษฐานในพระเจดีย์ ภูเขาทองเป็นครั้งที่สอง หลายปีตอ่ มาสมเด็จพระสังฆราชญาโณ ทยมหาเถร ครัง้ ดำ�รงสมณศักดิเ์ ป็นพระธรรม วโรดม เจ้าอาวาสวัดสระเกศ มีบญ ั ชาให้มกี าร ซ่อมแซมวัดสระเกศครัง้ ใหญ่ในปี พ.ศ. 2493 - 2495 ในส่วนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบนั เสด็จพระราชดำ�เนินยังบรมบรรพต


เพือ่ บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุในพระเจดียย์ อด พระมณฑป เมือ่ วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2497 และเสด็จพระราชดำ�เนินอีกครัง้ ในปี พ.ศ. 2509 เพือ่ ประกอบพระราชพิธบี รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุในพระเจดียอ์ งค์เล็ก และเมือ่ ปี พ.ศ. 2540 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฏราชกุมาร ทรงโปรดเกล้าฯ ถวายกระเบื้องโมเสกสีทอง แบบเรียบเพื่อซ่อมแซมพระเจดีย์ภูเขาทอง พุทธศาสนิกชนที่เลื่อมใสศรัทธาได้จัด ให้มีการเฉลิมฉลองพระบรมสารีริกธาตุเป็น ประเพณีปฏิบัติสืบต่อกันมา นอกจากนี้ยังมี พิธีที่พุทธศาสนิกชนให้ความสำ�คัญอีกพิธี คือ พิธีห่มผ้าแดงองค์พระเจดีย์ในงานนมัสการ พระบรมสารีริกธาตุ ผ้าแดงที่ผูกติดกันยาว

นับสิบเมตรให้พทุ ธศาสนิกชนจับเป็นแนวยาว และเดินวนขวาไปรอบองค์พระเจดีย์กนั อย่าง พร้อมเพรียงเปรียบเสมือนจีวรของพระพุทธเจ้า ทั้งนี้การที่พุทธศาสนิกชนได้จับผ้าแดงไปห่ม พระเจดียเ์ สมือนการได้ถวายจีวรแด่พระพุทธเจ้า นัน่ เอง พิธหี ม่ ผ้าแดงจึงเป็นสัญลักษณ์ของการ เฉลิมฉลองของวัดสระเกศและเพื่อสักการะ บูชาพระบรมสารีรกิ ธาตุของพระพุทธเจ้า เพือ่ ทำ�ให้เกิดความมงคล และความร่มเย็นใน ชีวติ และแคล้วคลาดปลอดภัยจากภัยอันตราย ต่างๆ นับเป็นประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา ของวัดสระเกศ

39


บทบูชาพระรัตนตรัย

อิมินา อิมินา อิมินา

สักกาเรนะ พุทธัง สักกาเรนะ ธัมมัง สักกาเรนะ สังฆัง

อะภิปูชะยามิ. อะภิปูชะยามิ. อะภิปูชะยามิ.

อานิสงส์การบูชาพระรัตนตรัยเนืองนิตย์ ทำ�ให้ผนู้ นั้ เป็นคนมีเสน่หแ์ ละแคล้วคลาด ปลอดภัยจากภยันตรายทั้งปวง

บทกราบพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบ) สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. (กราบ) ผูก้ ราบไหว้พระรัตนตรัยอยูเ่ ป็นประจำ� ย่อมมีจติ ใจโน้มเอียงไปในการทำ�ความดี ชีวิตย่อมมีแต่อุดมมงคล

บทนมัสการพระรัตนตรัย นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (สวด ๓ จบ) สวดภาวนาคาถานะโม...อยูเ่ ป็นประจำ� ทำ�ให้อารมณ์สงบเย็น เป็นสุขในปัจจุบนั ตัดเวรตัดกรรมในอนาคตได้แล

บทขอขมาพระรัตนตรัย วันทามิ พุทธัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต. วันทามิ ธัมมัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต. วันทามิ สังฆัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต. กรรมทีเ่ ผลอทำ�ต่อพระรัตนตรัย ต่อพระพุทธศาสนา มีผลร้ายแรงยิง่ นัก หาก เผลอพลาดพลัง้ ทำ�ไป ให้สวดมนต์ภาวนาบทนีข้ อขมาลาโทษจะได้ไม่มเี วรกรรมติดตัว

40


บทไตรสรณคมน์

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ. สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ. ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ. ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ. ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. อานิสงส์การมีพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง เป็นหนทางนำ�ไปสู่การหลุดพ้นจากทุกข์ พ้นจากอบาย คือหนทางที่นำ�ไปสู่ความเสื่อม เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ดังมีพุทธดำ�รัส ตรัสไว้ว่า “ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เป็นผู้ถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะที่พึ่ง ชนเหล่า นั้นละร่างกายมนุษย์นี้ไปแล้วจักไม่ไปสู่อบายภูมิ จักบังเกิดเป็นเทวดาโดยสมบูรณ์”

บทสรรเสริญพระพุทธคุณ (อิ)

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถาเทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.

บทสรรเสริญพระธรรมคุณ (สวา) สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ (อ่านว่า วิน-ยู-ฮี-ติ)

บทสรรเสริญพระสังฆคุณ (สุ) สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะ กะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. อิสวาสุ เป็นคำ�ย่อหัวใจของพระพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ อานิสงส์การสวดบท สรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ อยู่เป็นประจำ� ทำ�ให้ชีวิตอยู่เย็นเป็นสุข ดังพระพุทธดำ�รัสรับรองไว้ในธชัคคสูตรว่า “เมือ่ เธอทัง้ หลาย ระลึกนึกถึงเราตถาคต พระธรรม และพระสงฆ์อยู่ ความกลัว ความหวาดสะดุ้ง ความขนพองสยองเกล้าที่มีอยู่จักหายไป”

41


พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุง) ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาธิทัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ. ๒. มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ. ๓. นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ. ๔. อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ. ๕. กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ. ๖. สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ. ๗. นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ. ๘. ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม* ชะยะมังคะลานิ. เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะ เนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ. *คำ�ที่ขีดเส้นใต้ ถ้าสวดให้ผู้อื่น เปลี่ยน เม เป็น เต ทุกแห่ง จากเหตุการณ์ที่พระพุทธองค์ทรงมีชัยชนะเหนือผู้เข้ามาผจญทั้ง ๘ ครั้งด้วยพุทธวิธี ที่แตกต่างกันไปนั้น ในชีวิตจริงของคนเราก็หนีไม่พ้นที่จะต้องมีมารมาผจญบ้าง แต่หากเรา ทำ�ใจให้สงบนิ่ง ด้วยการสวดคาถาพาหุง มหากาฯ ในเวลาเผชิญปัญหา อานิสงส์ที่จะเกิดใน เบือ้ งต้นก็คอื จะมีความยับยัง้ ชัง่ ใจในการแก้ไขเรือ่ งต่างๆทีเ่ ข้ามาผจญ ทำ�ให้จติ ใจมัน่ คง เมือ่ จิตใจมัน่ คงแล้ว การจะแก้ไขปัญหาไม่วา่ ในภาวะการณ์ใดๆ ย่อมทำ�ลงไปอย่างรอบคอบเสมอ

42


บทชัยปริตร (มหากา)

มะหาการุณิโก นาโถ

ปูเรตวา ปาระมี สัพพา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ชะยันโต โพธิยา มูเล เอวัง อะหัง วิชะโย โหมิ อะปะราชิตะปัลลังเก อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะทักขิณานิ กัตตะวานะ

หิตายะ สัพพะปาณินัง ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง โหตุ เม* ชะยะมังคะลัง สักยานัง นันทิวัฑฒะโน ชะยามิ* ชะยะมังคะเล สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ. สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะณิธี เม* ปะทักขิณา ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ.

*คำ�ที่ขีดเส้นใต้ถ้าสวดให้ผู้อื่น เปลี่ยน อะหัง วิชะโย โหมิ ชะยามิ เป็น ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ

บทชัยปริตร (มหากา) มีอานุภาพทางด้านเมตตามหานิยม ใช้สวดเอาฤกษ์เอาชัย ในการทำ�บุญเพือ่ ให้เกิดความผาสุกแก่ตนเองและครอบครัวเพือ่ ความเจริญรุง่ เรืองของ กิจการงานที่ทำ�

สัพพมงคลคาถา ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง

สัพพะพุทธานุภาเวนะ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะธัมมานุภาเวนะ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง สัพพะสังฆานุภาเวนะ

รักขันตุ สัพพะเทวะตา สะทา โสตถี ภะวันตุ เม* รักขันตุ สัพพะเทวะตา สะทา โสตถี ภะวันตุ เม* รักขันตุ สัพพะเทวะตา สะทา โสตถี ภะวันตุ เม*

*คำ�ที่ขีดเส้นใต้ ถ้าสวดให้ผู้อื่น เปลี่ยน เม เป็น เต ทุกแห่ง

บทสัพพมงคลคาถา เป็นบทสวดมนต์ภาวนาขออนุภาพของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ให้อำ�นวยสิ่งที่เป็นมงคลแก่ตน

43


บทอิตปิ โิ ส เท่าอายุ +๑

อิตปิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสะระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.

การสวดบทพระพุทธคุณสามารถสะเดาะเคราะห์แก้กรรมได้ ดังทีห่ ลวงพ่อจรัญ ท่านกล่าวไว้วา่ “พระพุทธคุณ อาตมาสังเกตมาว่า บางคนเขาไปหาหมอดู เคราะห์รา้ ย ก็ต้องสะเดาะเคราะห์ อาตมาก็มาดูเหตุการณ์โชคลางไม่ดี ก็เป็นความจริงของ หมอดู อาตมาก็ตงั้ ตำ�ราขึน้ มาด้วยสติบอกว่า โยมไปสวดพุทธคุณเท่าอายุให้เกินกว่า ๑ ให้ได้เพื่อให้สติดี เท่าที่ใช้ได้ผล สวดตั้งแต่นะโม พุทธัง ธัมมัง สังฆัง พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุงมหากา จบแล้วย้อนกลับมาข้างต้น เอาพุทธคุณห้องเดียว ห้องละ ๑ จบ ต่อ ๑ อายุ เช่น อายุ ๔๐ สวด ๔๑ อายุ ๕๐ สวด ๕๑ ก็ได้ผล”

พระคาถาชินบัญชร

โดย...สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

ก่อนสวดเจริญภาวนาให้กล่าวคำ�นอบน้อมพระพุทธเจ้า นะโมฯ ๓ จบ แล้วระลึกถึงพระคุณของเจ้าประคุณสมเด็จด้วยคาถาต่อไปนี้

ปุตตะกาโม ละเภ ปุตตัง อัตถิ กาเย กายะญายะ อิติปิ โส ภะคะวา มะระณัง สุขัง อะระหัง ๑. ชะยาสะนาคะตา พุทธา จะตุสัจจาสะภัง ระสัง ๒. ตัณหังกะราทะโย พุทธา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง ๓. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง ๔. หะทะเย เม อะนุรุทโธ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง ๕. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง กัสสะโป จะ มะหานาโม ๖. เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง นิสินโน สิริสัมปันโน

44

ธะนะกาโม ละเภ ธะนัง เทวานัง ปิยะตัง สุตะวาฯ ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ สุคะโต นะโม พุทธายะฯ เชตะวา มารัง สะวาหะนัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา อัฏฐะวีสะติ นายะกา มัตถะเก เต มุนิสสะรา พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน อุเร สัพพะคุณากะโร สารีปุตโต จะ ทักขิเณ โมคคัลลาโน จะ วามะเก อาสุง อานันทะราหุลา อุภาสุง วามะโสตะเก สุริโยวะ ปะภังกะโร โสภิโต มุนิ ปุงคะโว


๗. กุมาระกัสสะโป เถโร โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ๘. ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา ๙. เสสาสีติ มะหาเถรา เอตาสีติ มะหาเถรา ชะลันตา สีละเตเชนะ ๑๐. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ ๑๑. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อากาเส ฉะทะนัง อาสิ ๑๒. ชินาณา วะระสังยุตตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา ๑๓. อะเสสา วินะยัง ยันตุ วะสะโต เม สะกิจเจนะ ๑๔. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ ๑๕. อิจเจวะมันโต ชินานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ สัทธัมมานุภาวะปาลิโต

มะเหสี จิตตะวาทะโก ปะติฏฐาสิ คุณากะโร อุปาลี นันทะสีวะลี นะลาเฏ ติละกา มะมะ วิชิตา ชินะสาวะกา ชิตะวันโต ชิโนระสา อังคะมังเคสุ สัณฐิตา ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง วาเม อังคุลิมาละกัง อาฏานาฏิยะสุตตะกัง เสสา ปาการะสัณฐิตา สัตตัปปาการะลังกะตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา อะนันตะขินะเตชะสา สะทา สัมพุทธะปัญชะเร วิหะรันตัง มะฮีตะเล เต มะหาปุริสาสะภา สุคุตโต สุรักโข ชิตุปัททะโว ชิตาริสังโค ชิตันตะราโย จะรามิ ชินะปัญชะเรติฯ

บทแผ่เมตตาแก่ตนเอง

อะหัง สุขิโต โหมิ, นิททุกโข โหมิ, อะเวโร โหมิ, อัพยาปัชโฌ โหมิ, อะนีโฆ โหมิ, สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.

ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข, ปราศจากความทุกข์, ปราศจากเวร, ปราศจากอุปสรรคอันตรายทัง้ ปวง, ปราศจากความทุกข์กาย ทุกข์ใจ, มีความสุขกายสุขใจ รักษาตน ให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด.

45


บทแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์

สัพเพ สัพตา,

สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น,

อะเวรา โหนตุ, จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรต่อกันและกันเลย, อัพยาปัชฌา โหนตุ, จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย, อะนีฆา โหนตุ, จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย, สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ. จงมีความสุขกาย สุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด.

บทแผ่สว่ นกุศล

อิทัง เม มาตาปิตุนัง โหตุ, สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร,

ขอส่วนบุญนี้ จงสำ�เร็จแก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้ามีความสุข,

ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้ามีความสุข,

ขอให้ครู อุปัชฌาย์และอาจารย์ของข้าพเจ้ามีความสุข,

ขอให้เทวดาทั้งหลายมีความสุข,

ขอให้เปรตทั้งหลายมีความสุข,

อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ, สุขิตา โหนตุ ญาตะโย, ขอส่วนบุญนี้ จงสำ�เร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า อิทัง เม คะรุปัชฌายาจะริยานัง โหตุ, สุขิตา โหนตุ คะรุปัชฌายาจะริยา, ขอส่วนบุญนี้ จงสำ�เร็จแก่ครู อุปัชฌาย์และอาจารย์ของข้าพเจ้า อิทัง สัพพะเทวะตานัง โหตุ, สุขิตา โหนตุ สัพเพ เทวา, ขอส่วนบุญนี้ จงสำ�เร็จแก่เทวดาทั้งหลาย อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ, สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา, ขอส่วนบุญนี้ จงสำ�เร็จแก่เปรตทั้งหลาย

46


อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ, สุขิตา โหนตุ สัพเพ เวรี, ขอส่วนบุญนี้ จงสำ�เร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย

ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายมีความสุข,

ขอให้สัตว์ทั้งหลายมีความสุข.

อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ, สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา. ขอส่วนบุญนี้ จงสำ�เร็จแก่สัตว์ทั้งหลาย

บทอธิษฐานขออโหสิกรรม

กรรมใดๆ ทีข่ า้ พเจ้าได้ท�ำ ล่วงเกินแก่ผใู้ ด โดยตัง้ ใจก็ดี ไม่ได้ตงั้ ใจ ก็ดี จงยกโทษให้เป็นอโหสิกรรมแก่ข้าพเจ้า อย่าได้จองเวรจองกรรมต่อ กันอีกเลย แม้แต่กรรมใดที่ใครๆ ทำ�แก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าขออโหสิกรรมนั้น ให้ทั้งสิ้น ยกถวายพระพุทธเจ้าเป็นอภัยทาน ขอจงดลใจให้เขาเหล่านั้นมี เมตตาจิต คิดเป็นมิตรกับข้าพเจ้า เพื่อจะได้ไม่มีเวรกรรมต่อกันตลอดไป ด้ ว ยอานิ ส งส์ แ ห่ ง อภั ย ทานนี้ ขอให้ ข้ า พเจ้ า และครอบครั ว ญาติมิตร พ้นจากความทุกข์ยากลำ�บากเข็ญใจ ปรารถนาสิ่งใดอันเป็น ไปโดยธรรม ขอให้สิ่งนั้นจงพลันสำ�เร็ญเทอญ นิพพานะปัจจะโย โหตุ.

บทกรวดน้�ำ ให้เจ้ากรรมนายเวร

กัมมะโน กัตถาโน กัมมะปัจเจกะพุทโธ พุทธัง ทั่วจักกะวาฬง ธัมมัง ทั่วจักกะวาฬง สังฆัง ทั่วจักกะวาฬง อโหสิกัมมัง. ข้าพเจ้าขออุทศิ บุญกุศลจากการสวดพระพุทธมนต์พระพุทธคุณนีใ้ ห้แก่

เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย ที่ได้เคยล่วงเกินท่านไว้ตั้งแต่อดีตชาติจนถึงปัจจุบัน ชาติ ไม่ว่าจะอยู่ภพใดหรือภูมิใด ขอให้ท่านได้รับผลบุญนี้ ท่านที่มีความทุกข์ ขอให้ได้พ้นจากทุกข์ ท่านที่มีความสุข ขอให้มีความสุขยิ่งๆ ขึ้นไป เมือ่ เจ้ากรรมนายเวรทัง้ หลาย ได้รบั กุศลผลบุญทีข่ า้ พเจ้าตัง้ จิตอุทศิ ให้ นี้แล้ว โปรดอนุโมทนาบุญแก่ขา้ พเจ้า ให้ถงึ ซึง่ ความเป็นผูพ้ ้นทุกข์ ด้วยอำ�นาจ บุญที่อุทิศให้นี้ด้วยเทอญ.

47


48


49


50




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.