บทความ : รูปแบบและการแบ่งพื้นที่ใช้งานในเฮือนพื้นถิ่นวัฒนธรรมไท-ลาว แขวงจำปาสัก

Page 1

รู ปแบบและการแบ่ งพืน้ ที่ใช้ งานในเฮือนพืน้ ถิ่นวัฒนธรรมไท-ลาว แขวงจาปาสั ก : ภาพ สะท้ อนวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญา แขวงจาปาสั ก สปป.ลาว ในอดีตอาณาจักรจาปาสักเกิดขึ้นหลังจากอาณาจักรฟูนานเสื่ อมสลายลง กลุ่มชาติพนั ธุ์ไทลาวได้อพยพย้ายถิ่นเข้ามาสร้างบ้านเรื อนในพื้นที่แถบนี้ เกิดเป็ นเมืองใหม่นามว่า จาปานะคะบุลีสี หรื อจาปานครปรากฏชื่อในพงศาวดารของเขมรว่า สะมะพูปุระ เมื่อถึงรัชสมัยของพระเจ้าฟ้างุม้ ได้ ทรงรวบรวมเมืองต่างๆ ของลาวเข้ามาเป็ นอาณาจักรเดียวกันชื่อว่า อาณาจักรล้านช้าง มีเมืองหลวง อยูท่ ี่เมืองหลวงพระบาง แต่เมื่อพระเจ้าฟ้างุม้ สิ้ นพระชนม์ อาณาจักรล้านช้างเริ่ มตกต่าลงเพราะ สงครามแย่งชิงอานาจและการก่อกบฏต่างๆ นานนับร้อยปี จนถึงพ.ศ.2063 พระเจ้าโพธิ สารราชทรง ขึ้นครองราชย์และได้รวบรวมแผ่นดินเป็ นปึ กแผ่นอีกครั้ง ต่อมาพระโอรสคือพระเจ้าไชยเชษฐาธิ ราช ได้ยา้ ยเมืองหลวงของอาณาจักรล้านช้างมาอยูท่ ี่กรุ งศรี สัตนาคนหุ ต เพื่อหลีกเลี่ยงอิทธิ พลของ พม่าอาณาจักรล้านช้างมีความเจริ ญมา 200 ปี เศษก็เริ่ มอ่อนแอลง หัวเมืองต่างๆ แตกออกเป็ น 3 ฝ่ าย คือ อาณาจักรหลวงพระบาง อาณาจักรเวียงจันทน์ และอาณาจักรจาปาสัก (สุ วทิ ย์ ธีรศาศวัต, 2543) ซึ่งตรงกับสมัยกรุ งธนบุรีในขณะนั้น พระเจ้าตากสิ นทรงระแวงว่าลาวจะร่ วมมือกับพม่ายกทัพมาตี จึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยามหากษัตริ ยศ์ ึก (รัชกาลที่ 1) ยกทัพไปตีลาวทั้ง 3 อาณาจักรตกเป็ น เมืองขึ้นของสยามนานถึง 114 ปี จนถึงปี พ.ศ.2436 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ภายหลังวิกฤตการณ์ ร. ศ.112 ดินแดนลาวฝั่งซ้ายของแม่น้ าโขงรวมทั้งแขวงจาปาสักบางส่ วนตกอยูภ่ ายใต้การปกครองของ ฝรั่งเศส ขณะที่ดินแดนฝั่งขวาของแม่น้ าโขงบริ เวณเมืองจาปาสักซึ่ งเดิมนั้นขึ้นอยูก่ บั มลฑลอุบล และประเทศลาวทั้งหมดตกอยูภ่ ายใต้การปกครองของฝรั่งเศสในเวลาต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2447 (มาร์ ติน สจ๊วด-ฟอกซ์, 2553) ช่วงปี พ.ศ. 2484ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 หลังจากกรณี พิพาทอินโดจีน ประเทศไทย ได้รับดินแดนบางส่ วนคืนจากฝรั่งเศส โดยนาท้องที่การปกครองเมืองจาปาศักดิ์ในสมัยรัชกาลที่ 5 รวมไปถึงดินแดนประเทศกัมพูชาปั จจุบนั ได้แก่พ้นื ที่ส่วนหนึ่งของจังหวัดสตึงแตรงและพื้นที่ส่วน ใหญ่ของจังหวัดพระวิหาร ยกขึ้นเป็ นจังหวัดนครจาปาสัก โดยมีเจ้ายุติธรรมธร(หยุย ณ จาปาสัก) เป็ นผูค้ รองนคร แต่เมื่อสงครามสิ้ นสุ ด ไทยในฐานะผูแ้ พ้สงครามต้องส่ งดินแดนดังกล่าวคืนให้แก่ ฝรั่งเศส ต่อมาเมื่อประเทศลาวได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสเมื่อปี พ.ศ. 2497 จึงได้รวมอาณาจักรล้าน ช้างทั้ง 3 อาณาจักรขึ้นเป็ นราชอาณาจักรลาว พื้นที่ดงั กล่าวจึงได้ยกขึ้นเป็ นแขวงจาปาสักของ ประเทศลาวมาจนถึงปั จจุบนั โดยเจ้าครองนครองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรจาปาสัก ก่อนการ สถาปนาสาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว คือเจ้าบุญอุม้ ณ จาปาศักดิ์ (Resource:http://th.wikipedia.org/wiki/แขวงจาปาสักAccessedon:16February 2010)


แขวงจาปาสักตั้งอยูท่ างตอนใต้สุดของประเทศลาว ติดชายแดนไทยทางทิศตะวันตก ติด ชายแดนกัมพูชาทางทิศใต้ ทิศตะวันออก และทางทิศตะวันตก ทิศเหนือติดแขวงสาละวัน และทิศ ตะวันออกติดแขวงเซกอง แขวงอัตตะปื อ ถือเป็ นศูนย์กลางการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ รวม ไปถึงการท่องเที่ยวของลาวตอนใต้ เป็ นบริ เวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีแม่น้ าโขงไหลผ่าน กลางและเกิดเกาะแก่งเป็ นจานวนมากจนได้ชื่อว่า "ดินแดนสี่ พนั ดอน" แขวงจาปาสักมีพ้นื ที่ติดต่อ กับประเทศไทยและกัมพูชา ตาแหน่งที่ชายแดนทั้ง 3 ประเทศบรรจบกันเรี ยกว่า “สามเหลี่ยมมรกต” ลักษณะดินในแขวงจาปาสักส่ วนใหญ่ เป็ นดินที่มีคุณภาพดี เพราะเป็ นบริ เวณที่เป็ นแนวภูเขาไฟเก่า ดังนั้น จึงเหมาะแก่การเพาะปลูกบริ เวณตอนใต้ของแขวง แขวงจาปาสักเป็ นพื้นที่ที่มีความสาคัญ ทางประวัติศาสตร์ มาตั้งแต่สมัยโบราณ เนื่องจากเคย เป็ นพื้นที่ภายใต้อิทธิ พลของอาณาจักรขอม โบราณ และเป็ นที่ต้ งั ของอาณาจักรจาปาสัก ซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่งของอาณาจักรล้านช้างในเวลาต่อมา แขวงจาปาสักจึงมีมรดกทางวัฒนธรรมหลงเหลืออยูม่ ากมาย ถือเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของ ประเทศลาว โดยเฉพาะปราสาทหิ นวัดพูอนั เป็ นสถานที่ซ่ ึ งได้ชื่อว่าเป็ นมรดกโลก นอกจากนี้แขวง จาปาสักยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสี ยงเป็ นจานวนมาก เช่น น้ าตกหลี่ผี น้ าตกผาส้วม เป็ นต้น จาปาสักเป็ นแขวงที่มีแม่น้ าโขงไหลผ่านกลางแขวง ทาให้เขตพื้นที่รอบข้างเป็ นที่ราบลุ่ม ดังนั้น จึงมีพ้นื ที่ท้ งั ฝั่งซ้ายของแม่น้ าโขง และฝั่งขวาของแม่น้ าโขงและเป็ นดินแดนที่เป็ นเกาะแก่ง มากมาย อันเป็ นที่มาของคาว่า"สี่ พนั ดอน" โดยมีเกาะดอนโขงเป็ นเกาะหรื อดอนที่ใหญ่ที่สุด เนื่องจากเป็ นพื้นที่ซ่ ึ งประกอบไปด้วยเกาะแก่งมากมายทาให้แขวงจาปาสักได้ชื่อว่าเป็ นดินแดนที่มี ปลามากมายอุดมสมบูรณ์ ปลาข่า หรื อปลาโลมาน้ าจืดซึ่ งมีแห่งเดียวในแม่น้ าโขง และใกล้จะสู ญ พันธุ์ทุกขณะเข้าไปแล้ว

แผนที่แขวงจำปำสัก และแผนที่ สี่พันดอนซึ่ งมีดอนโขงเป็ นดอนที่ใหญ่ที่สุด


ภูมิทศั น์ และสภาพทางภูมิศาสตร์ สภาพพื้นที่ประกอบด้วยพื้นที่ลุ่มแม่น้ าโขง และแม่น้ าเซโดนบริ เวณตอนกลาง มีแนว เทือกเขาสู งทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และติดต่อกับที่ราบสู งโบโลเวนส์ ทางทิศตะวันออก ซึ่ ง มีความสู งประมาณ 1,500-1,800 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง พื้นที่โดยทัว่ ไปมีความสู งไม่ เกิน 1,000 เมตร แขวงจาปาสักมีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งปี ประมาณ 27 องศาเซลเซียส แต่บริ เวณทาง ทิศเหนื อของแขวงที่เมืองปาซอง มีอากาศเย็นตลอดทั้งปี อุณหภูมิเฉลี่ยต่ากว่า 20 องศาเซลเซียส และมีความชื้นสัมพัทธ์สูง ปริ มาณน้ าฝนระดับ 1,400-2,000มิลลิเมตรต่อปี ยกเว้นที่ราบสู ง จึงทาให้ บริ เวณนี้มีฝนตกมาก และอากาศชุ่มเย็นตลอดทั้งปี บริ เวณภูเขาทางด้านนี้ จะเป็ นแนวเทือกเขาของ ภูเขาไฟที่ดบั แล้ว

ภูมิศำสตร์ ที่โดดเด่ น ของแขวงจำปำสัก คือ เป็ นที่ดอน หรื อ เป็ นเกำะแก่ งบนลำนำ้ โขง ที่รำบลุ่มสำหรั บทำนำ และแนวเทื อกเขำของ ภูเขำไฟที่ดับแล้ ว มีรูปทรงคล้ ำย ลึงคบรรพต

สถานทีส่ าคัญ แขวงจาปาสักประกอบไปด้วยเมืองต่างๆ 10 เมือง ได้แก่ เมืองจาปาสัก เมืองโขง(ดอนโขง) เมืองชะนะสมบูน เมืองโพนทอง เมืองปะทุมพอน เมืองสุ ขมุ า เมืองมูนละปะโมก เมืองปากซ่อง เมืองบาเจียงจะเลินสุ ก และเมืองปากเซ ซึ่ งเป็ นเมืองหลวงในแขวงจาปาสัก ซึ่ งเป็ นเมืองใหญ่อนั ดับ 3 ของลาว รองจากนครเวียงจันทน์ และเมืองไกสอนพมวิหาน จาปาสักเป็ นแขวงที่มีแม่น้ าโขงไหล ผ่านกลางแขวงตั้งแต่เขตเมืองชะนะสมบูน เมืองโพนทอง เมืองปากเซ เมืองจาปาสัก เมืองปะทุม พอน เมืองมูนละปะโมก และเมืองโขง แม่น้ าโขงบริ เวณนี้จะไหลผ่านพื้นที่ทางธรณี วิทยาในเขตสี่ พันดอน เป็ นแนวหิ นขวางกั้นลาน้ าก่อให้เกิดน้ าตกและเกาะแก่งมากมายที่สวยงามจนเป็ นสิ่ งดึงดูด ใจสาหรับนักท่องเที่ยว นอกจากนั้น บริ เวณพื้นที่ราบสู งโบโลเวนส์ หรื อ ภูเพียงโบโลเวนส์ในภาษา ท้องถิ่นซึ่ งเกิดจากการยกตัวของผิวโลก กินพื้นที่กว้างขวางในเขตเมืองปากซ่องและบางส่ วนใน เมืองปากเซ เมืองบาเจียงจะเลินสุ ก และเมืองปะทุมพอน ซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่เหมาะสมในการพัฒนา ผลผลิตด้านกสิ กรรม เนื่องจากมีพ้นื ที่กว้างใหญ่ ผลผลิตเหล่านั้นต้องลาเรี ยงผ่านเมืองที่เป็ น ศูนย์กลางทางคมนาคมและเศรษฐกิจของแขวงจาปาสัก คือ เมืองปากเซ เมืองหลวงในแขวงจาปาสัก เป็ นเมืองยุทธศาสตร์ ที่สาคัญในด้านเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว และเป็ นศูนย์กลางของเส้นทาง คมนาคมซึ่ งสามารถเชื่อมต่อไปยังเมืองและแขวงต่างๆในเขตลาวตอนใต้ และประเทศเพื่อนบ้าน


ทรัพยากร นอกจากนี้ แขวงจาปาสักยังมีป่าไม้และสัตว์ป่านานาชนิ ดที่อุดมสมบูรณ์ รวมทั้งเป็ นสัตว์ ป่ าหายากและใกล้จะสู ญพันธุ์ มีท้ งั ประเภทนกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น ไก่ขา้ ว นกยูง นกเป็ ดน้ า เสื อดาว เสื อโคร่ ง สัตว์ป่าเหล่านี้จะอาศัยอยูใ่ นเขตป่ าสงวนแห่งชาติ เช่น เขตป่ าอนุ รักษ์ เซเบียง ป่ าสงวนดงหัวสาว เป็ นต้น ทรัพยากรธรรมชาติที่เป็ นแร่ ธาตุต่างๆ ก็มีมากมาย แต่ยงั ไม่มี การสารวจนาออกมาใช้อย่างจริ งจัง สาหรับทรัพยากรป่ าไม้น้ นั ยังคงมีบางส่ วนที่ทางรัฐบาลให้ สัมปทานในการตัดและส่ งออกมายังประเทศไทย (Resource: http://th.wikipedia.org/wiki/แขวงจาปาสักAccessed on: 16 February 2010) วิถีชีวติ จากอดีตจนถึงปัจจุบนั แขวงจาปาสัก เป็ นเมืองที่มีความสาคัญทั้งในด้าน ภูมิศาสตร์ ที่มี ความหลากหลายเนื่องจากภูมิประเทศที่มีท้ งั เทือกเขาใหญ่และอยูต่ ิดแม่น้ าโขงซึ่ งพื้นที่ที่ติดลาน้ า โดยส่ วนใหญ่เป็ นดอนใหญ่หรื อเกาะแก่งที่เกิดจากการกัดเซาะของลาน้ า และในด้าน ประวัติศาสตร์ ที่มีอารยะธรรมทับซ้อนกัน เนื่องจากการอพยพของผูค้ นด้วยเงื่อนไขต่างๆ ด้วยเหตุดงั กล่าวจึงทาให้ พื้นที่ในบริ เวณนี้มีท้ งั ความอุดมสมบูรณ์ และมีความหลากหลายในด้านชาติพนั ธุ์ ประชากรที่อาศัย ในแขวงจาปาสักโดยส่ วนใหญ่มี 2 ชนเผ่าใหญ่ คือ ลาวลุ่มกับลาวเทิง แบ่งเป็ น 18 ชนเผ่าย่อย ดังนั้น สภาพสังคมจึงมีอยู่ 2 ลักษณะตามกลุ่มชาติพนั ธุ์ กล่าวคือ ชนเผ่าลาวลุ่มโดยส่ วนมากจะอาศัยตาม บริ เวณพื้นที่ราบลุ่มริ มฝั่งโขงและบนดอนกลางลาน้ า มีอาชีพพื้นฐานคือ การทานา จับปลา เลี้ยง สัตว์ เป็ นวัฒนธรรมแบบข้าว-ปลา (ศุภชัย สิ งห์ยะบุศย์ และ คณะ, มปป.) ชาวลาวลุ่มโดยทัว่ ไป อาศัยอยูใ่ นพื้นที่เมืองชะนะสมบูน เมืองโพนทอง เมืองจาปาสัก เมืองโขง เมืองปากเซ เมืองมูนละ ปะโมก เมืองสุ ขมุ า และเมืองปะทุมพอน ส่ วนชนเผ่าลาวเทิงมีอาชีพพื้นฐานคือ การทาไร่ ทาสวน เนื่องจากอาศัยอยูบ่ นพื้นที่สูง เช่น ไร่ กาแฟ พริ กไท เร่ ว ละหุ่งเทศ ทุเรี ยน กล้วย มะละกอ สัประรส เป็ นต้น ลาวเทิงส่ วนใหญ่อาศัยอยูต่ ามเมืองบาเจียงจะเลินสุ ก และเมืองปากซ่อง ชาวลาวเทิงที่อาศัย อยูใ่ นเขตที่ราบสู งของเมืองบาเจียงจะเลินสุ ก และเมืองปากซ่องมีท้ งั จากที่อยูม่ าแต่บรรพกาล และ กลุ่มที่อพยพมาจากการกวาดต้อนแรงงานจากแขวงอัตตะปื อ และแขวงสาละวัน เพื่อทาถนนและไร่ กาแฟ สมัยฝรั่งเศส ปกครอง แต่ก็มีลาวเทิงบางกลุ่มที่อาศัยอยูท่ ี่ลุ่มแถวเมืองปากเซ เนื่องจากการลี้ ภัยจากสงครามสมัยล่าอาณานิคมและสมัยปฏิวตั ิลาว แขวงจาปาสักได้ชื่อว่าเป็ นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์แห่งหนึ่ ง เพราะมีดินดาน้ าชุ่ม เหมาะแก่ การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ ซึ่ งจะแตกต่างกันไปตามลักษณะของภูมิประเทศ ประชาชนส่ วนใหญ่ ของแขวงจาปาสักมีอาชีพทางเกษตรกร พืชที่ทาชื่อเสี ยงของแขวงจาปาสัก ได้แก่ ข้าวและกาแฟ โดยสามารถส่ งออกจาหน่ายทั้งภายในและภายนอกประเทศ ข้าวที่ปลูกส่ วนใหญ่เป็ นข้าวเหนียว ใน อดีตจะปลูกข้าวนาปี (ปี ละครั้ง) แต่ในปั จจุบนั ภาครัฐได้พฒั นาให้มีการปลูกข้าวนาแซง ซึ่งทาให้ผล ผลิตของข้าวเป็ นอันดับสองของประเทศ (ศุภชัย สิ งห์ยะบุศย์ และ คณะ, มปป.) ส่ วนกาแฟส่ งออก


ไปยังยุโรปส่ วนมาก นอกจากนี้ ยังมีพืชส่ งออกอีกชนิดหนึ่ง โดยส่ งขายให้กบั ญี่ปุ่นนัน่ คือ"หมาก แหน่ง" เป็ นพืชสมุนไพรที่สามารถสกัดที่สามารถสกัดทายารักษาโรคประเภทยาแก้ปวด ยาดม และ ยาบารุ ง ปั จจุบนั แขวงจาปาสัก เป็ นดินแดนที่ผคู ้ นจากหลายพื้นที่เข้ามาอยูอ่ าศัย เช่น ชาวเวียดนาม ไทย กัมพูชา จีน รวมทั้ง นักท่องเที่ยวชาติต่างๆที่เดินทางเข้ามาเที่ยวชมธรรมชาติ และสัมผัสกับวิถี ชีวติ ของผูค้ นในแขวงนี้ ผูค้ นดังกล่าวเป็ นตัวแปรที่สาคัญของระบบเศรษฐกิจในแขวงจาปาสัก สั งคม วัฒนธรรมและประเพณี ในอดีตแขวงจาปาสักตรงบริ เวณปราสาทวัดภู เคยเป็ นสถานที่ศกั ดิ์สิทธิ์ สมัยที่อารยธรรม ขอมแพร่ กระจายในแถบอินโดจีนราวพุทธศตวรรษที่ 8 -18 เนื่ องจากอาณาบริ เวณลุ่มแม่น้ าโขงแถบ ภูเกล้า มีภูเขาหิ นที่มีแท่งหิ นธรรมชาติต้ งั อยูบ่ นยอดเขามองเห็นแปลกประหลาดกว่าเขาลูกใด จึงถูก มองว่าเป็ นลึงคบรรพต ตามความเชื่อลัทธิ ไศวนิกายของ ศาสนาฮินดู ปั จจุบนั ผูค้ นในแขวงจาปาสัก ส่ วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธยกเว้นบางชนเผ่าของกลุ่มลาวเทิงที่ยงั นับถือผีอยู่ ชาวจาปาสักมี ประเพณี และวัฒนธรรมคล้ายคลึงกับชาวอีสานของไทย เนื่องจากความสัมพันธ์แบบเครื อญาติต้ งั แต่ สมัยอาณาจักรล้านช้าง ส่ วนหนึ่งเกิดจากการกวาดต้อนไปมาในสมัยล่าอาณานิคมและสงคราม ทา ให้เกิดการประสมประสานเป็ นวัฒนธรรมร่ วมกันในแบบวัฒนธรรมไท-ลาว เช่น ภาษา ความเชื่อ เทศกาลประเพณี ตามฮีต 12 คอง 14 ศิลปกรรม และสถาปัตยกรรม เป็ นต้น ในด้านสถาปั ตยกรรม ที่พกั อาศัยหรื อ เฮือนนั้น ลักษณะรู ปแบบมีความคล้ายคลึงและ ใกล้เคียงกับรู ปแบบเฮือนในภาคอีสานเป็ นอย่างยิง่ โดยเฉพาะเฮือนพื้นถิ่นในวัฒนธรรมไท-ลาว แม้ ปั จจุบนั รู ปแบบเฮือนบางอย่างจะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามค่านิยมของยุคสมัย แต่โดยภาพรวมแล้ว ยังคงมีลกั ษณะและรู ปแบบ ไม่แตกต่างกันมากนัก เฮือนพืน้ ถิ่นแบบวัฒนธรรมไทยลาว เฮือนพื้นถิ่นที่ปรากฏในเมืองจาปาสัก แขวงจาปาสัก สาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชน ลาว โดยส่ วนใหญ่เป็ นของกลุ่มชาติพนั ธุ์ไท-ลาว ซึ่งเป็ นกลุ่มที่มีจานวนประชากรมากที่สุดที่อาศัย อยูใ่ นแถบลุ่มแม่น้ าโขงของสปป.ลาว และภาคอีสานของไทย (เกรี ยงไกร เกิดศิริ, 2553) เฮือนพื้น ถิ่นวัฒนธรรมไท-ลาวนั้น เป็ นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง ที่มีผสู ้ นใจศึกษา และกล่าวถึงมาอย่างต่อเนื่ อง ตลอดเวลาที่ผา่ นมารู ปแบบ และคติความเชื่อบางอย่างเกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยอย่างค่อย เป็ นค่อยไป ซึ่ งเกิดจากปั จจัยหลายอย่าง ที่ส่งผลโดยตรงกับการดารงชี วติ ปั จจัยดังกล่าวมีท้ งั ในทาง นามธรรม ได้แก่ ระบบความเชื่อ ค่านิยม ภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี และทางรู ปธรรม ได้แก่ สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ วัสดุ และปั จจัยหรื อเงินทุนในการก่อสร้าง ปั จจัยแห่งการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวทาให้ คติความเชื่ อ และรู ปแบบของเฮือน มีความแตกต่างและเปลี่ยนแปลงไป จากในอดีต บริ บทต่างๆที่เกิดขึ้น ล้วนส่ งผลโดยตรงต่อโครงสร้างทางสังคม และเป็ นดัง่ ภาพ สะท้อนมิติต่างๆของวัฒนธรรมได้เป็ นอย่างดี


กลุ่มวัฒนธรรมไท-ลาวแถบลุ่มแม่น้ าโขงอาศัยแม่น้ าโขงเป็ นแม่น้ าสายหลักและเป็ น เส้นทางของการแพร่ กระจายทางศิลปะและวัฒนธรรม บริ เวณแถบลุ่มแม่น้ าโขงเป็ นที่ต้ งั ของกลุ่ม ชนชาติวฒั นธรรมไท-ลาวหลายกลุ่ม ส่ วนใหญ่มีความผูกพันกับวิถีชีวติ แบบเกษตรกรรม มี ประเพณี และวัฒนธรรม ที่เชื่ อมโยงเกี่ยวข้องกับธรรมชาติ สถาปั ตยกรรมที่เกิดขึ้นบริ เวณภูมิภาคนี้ เป็ นสถาปั ตยกรรมที่เป็ นของชาวบ้านซึ่ งเป็ นไปตามวิถีชีวิตและระบบนิเวศของแต่ละพื้นที่ ก่อสร้าง โดยชาวบ้าน โดยการถ่ายทอดคติความเชื่อ ระบบวิธี ต่อเนื่องกันจากบรรพบุรุษถึงลูกหลานใช้วสั ดุ ตามที่มีอยูใ่ นแต่ละท้องถิ่นและ ก่อตัวขึ้นอย่างไม่เป็ นระเบียบนักในทัศนะวิสัย แต่ท่ามกลางความ ไม่เป็ นระเบียบนี้ ได้แทรกตัวระบบของการก่อตัวของชุมชนและสถาปั ตยกรรมไว้อย่างค่อยเป็ น ค่อยไป มีความสัมพันธ์แนบแน่นกับระบบนิ เวศน์ และสามารถใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการปรับตัว ให้วถิ ีชีวติ และสภาพแวดล้อมธรรมชาติเกิดความสมดุล ในภาพรวมอาจมีความหมายที่คล้ายคลึงกัน ว่าเป็ น สถาปั ตยกรรมพื้นถิ่น(Vernacular Architecture) คือสถาปั ตยกรรมที่สร้างโดยคนพื้นถิ่นเพื่อ คนพื้นถิ่น (อรศิริ ปาณิ นท์, 2551) ลักษณะ รู ปแบบ และการแบ่ งพืน้ ทีใ่ ช้ งาน เฮือนในวัฒนธรรมไท-ลาว โดยทัว่ ไปจะมีลกั ษณะโปร่ งลม อากาศถ่ายเทได้สะดวกตัว เฮือนจะมีฝากั้นเฉพาะส่ วนที่เป็ นเฮือนนอนและฝาด้านนอกบางส่ วน นอกนั้นจะเปิ ดโล่ง เช่น ระเบียง เฮือนโข่ง ครัว และซาน หลังคาจัว่ เพื่อให้น้ าฝนไหลสะดวก ใต้ถุนยกสู งสาหรับ ประกอบ กิจกรรมต่างๆเช่น ทางานหัตถกรรม ใช้ตอ้ นรับแขกในเวลากลางวัน เก็บของ และเลี้ยงสัตว์ วัสดุที่ ใช้ในการปลูกสร้างก็เป็ นวัสดุที่หาได้ตามท้องถิ่น ลักษณะผังเฮือนเรี ยบง่ายไม่ซบั ซ้อน ประกอบไป ด้วย เฮือนนอน ระเบียง ซาน และชานน้ า สุ วทิ ย์ จิระมณี (2545) จาแนกลักษณะและรู ปแบบของเฮือนอีสาน ซึ่ งเป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์ใน วัฒนธรรมไท-ลาวไว้ 3 ประเภท ได้แก่ 1) เฮือนแบบถาวร เป็ นเฮือนที่มีโครงสร้างถาวร แข็งแรง และใช้ไม้จริ งเป็ นวัสดุในการ ปลูกสร้าง หลังคาทรงจัว่ เพื่อให้น้ าไหลผ่านโดยสะดวก เช่น เฮือนแฝดหรื อเฮือนโข่ง และเฮือนเกย หรื อเฮือนเซีย ภายในเฮือนประกอบไปด้วย เฮือนนอน หรื อเฮือนนอนของพ่อแม่ เกย ชานน้ าชาน แดด เฮือนไฟ หรื อครัวไฟ เฮือนโข่ ง เป็ นเฮือนจัว่ แฝด สันหลังคาวางคู่กนั ระหว่างเฮือนนอนกับเฮือนโข่งมีท้ งั ชนิด โครงสร้างเกี่ยวเนื่ องกันและชนิดที่มีเฉลียงเชื่อมต่อกันโดยมีโครงสร้างของตัวเองแยกจากกัน โดย ให้ชายหลังคาสองหลังมาจรดกัน มีฮางริ น(รางน้ า)เชื่อมต่อระหว่างหลังคาทั้งสอง หากเรื อนสอง หลังห่างกันจะสร้างระเบียงเป็ นตัวเชื่ อมอาคารทั้งสอง ส่ วนเรื อนโข่งจะมีโครงสร้างของตัวเอง สามารถรื้ อไปปลูกสร้างที่อื่นได้ โดยที่โครงสร้างเฮือนไม่กระทบกระเทือน หรื อเฮือนบางหลัง อาจจะสร้างเฮือนจัว่ เดี่ยวขึ้นมาอยูอ่ าศัยก่อน แล้วค่อยสร้างเฮือนโข่งทีหลัง(ธิติ เฮงรัศมี และคณะ, 2535) เฮือนโข่งจะเปิ ดโล่งไม่ก้ นั ห้อง แต่จะมีผนังเป็ นด้านสกัดหัวท้าย จึงทาให้เกิดที่วา่ งบริ เวณ


ฮางริ นกับเฮือนโข่งเพื่อประกอบกิจกรรมได้หลายอย่าง ทั้งยังเป็ นศูนย์กลางภายในที่เชื่อมต่อกับ ส่ วนต่างๆบนเฮือน เช่น ตัวเฮือน ชาน ครัว ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง จึงนับได้วา่ เป็ นเฮือนที่ได้รับ ความนิยมปลูกสร้างแบบหนึ่ งของเฮือนพื้นถิ่นในวัฒนธรรมไท-ลาว ซึ่ งพบเห็นได้ทวั่ ไป

เฮื อนจั่วแฝดหรื อเฮื อนโข่ งลักษณะแบบถำวร

นอกจากนี้ยงั มีเฮือนที่สร้างในลักษณะคล้ายคลึงกัน เรี ยกตามภาษาท้องถิ่นว่า “เฮือนแฝด” แตกต่างกันที่ใช้โครงสร้าง ขื่อ และคานยึดติดกับเฮือนใหญ่ (วิชิต คลังบุญครอง และไพโรจน์ เพชร สังหาร, 2530) เฮือนแฝดเป็ นเฮือนจัว่ สองหลังที่สร้างติดกัน ขนาดของเฮือนทั้งสองหลังอาจจะมี ขนาดเล็กใหญ่ไม่เท่ากัน (ธิติ เฮงรัศมี และคณะ, 2535) เฮือนที่สร้างมาต่อ จะใช้งานเหมือนเฮือน โข่ง ลักษณะเด่นของเฮือนประเภทนี้ คือ - เป็ นเฮือนพื้นถิ่นที่สืบทอดวัฒนธรรมไท-ลาว มีอายุก่อสร้างมานาน เจ้าของเฮือนเป็ น คนมีฐานะค่อนข้างดี - เป็ นเฮือนที่สร้างจากไม้จริ ง แอ้มฝาเฮือนด้วยไม้กระดาน เรี ยกว่า “เฮือนฝาแอ้มแป้น” เป็ นเฮือนยกพื้นสู ง ประกอบกิจกรรมต่างๆบริ เวณใต้ถุน โครงสร้างหลังคาจะมีทรงจัว่ สู ง อาจมีการ ต่อเติมด้านหน้าหรื อด้านหลังของเฮือน ส่ วนที่ต่อเติมส่ วนใหญ่จะเป็ นชาน หากขยายเฮือนออกทาง ด้านหลัง จะมีบนั ไดขึ้น-ลง สาหรับใช้งานเฉพาะเจ้าของเฮือน เฮือนจั่วเดี่ยวไม่ มีเฮือนโข่ ง หรื อเฮือนเกย บางท้องถิ่นจะเรี ยกเฮือนชนิดนี้ วา่ “เฮือนเซีย” เป็ นเฮือนแบบพื้นฐานในกลุ่มวัฒนธรรมไท-ลาวที่ พบมากที่สุด (ธิติ เฮงรัศมี และคณะ, 2535) เนื่องจากเป็ นรู ปแบบที่พฒั นามาจากพื้นฐานการอยูอ่ าศัยแบบง่ายๆ (ธาดา สุ ทธิธรรม, 2543) ส่ วนประกอบของเฮือนเกยประกอบไปด้วย เฮือนนอน ด้านหน้าเฮือนเป็ นเฉลียง มีโครงสร้าง หลังคาต่อจากเฮือนใหญ่ ภาษาท้องถิ่นเรี ยกว่า เฮือนเกย ถัดจากเกยจะเป็ นชานน้ าหรื อชานแดด เฮือนเดี่ยวมีบนั ไดขึ้นลงทางเดียวเนื่ องจากมีพ้นื ที่ไม่มากนัก


เฮื อนจั่วเดี่ยวไม่ มเี ฮื อนโข่ ง หรื อเฮื อนเกย

เฮือนประเภทนี้จะพบเห็นได้มากกกว่าเฮือนประเภทอื่นๆ ลักษณะโดยทัว่ ไปของเฮือน ประเภทนี้ คือ - เป็ นเฮือนพื้นถิ่นที่มีการสื บทอดทางวัฒนธรรมแบบไท-ลาว อายุการสร้างค่อนข้างนาน เจ้าของเฮือนมีฐานะปานกลางลงมาจนถึงค่อนข้างต่า ซึ่ งจะพบอยูท่ วั่ ไปเป็ นจานวนมาก - เฮือนนอน จะยกระดับพื้นสู งกว่าพื้นส่ วนอื่นและมีโครงสร้างหลังคาเป็ นทรงจัว่ เพราะ จาเป็ นต้องใช้ความสู งชันเพื่อให้น้ าฝนไหลได้สะดวก พื้นที่ใต้ถุนเฮือนนอนจะมีการใช้งานมากกว่า ส่ วนอื่น เพราะมีระดับพื้นสู งกว่า - พื้นที่ใช้สอยบนเฮือนมีนอ้ ย จึงมักมีการต่อชานหรื อเกยจากตัวเฮือนนอนด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อ ใช้งานเอนกประสงค์ เช่น ทาครัว รับแขก นอนพักผ่อน และอาจมีการต่อชานน้ าหรื อชานแดด ออกไปอีก ส่ วนที่ต่อเติมจากตัวเฮือนนอนจะลดระดับพื้นให้ต่ากว่าระดับพื้นของเฮือนนอน 2) เฮือนแบบกึง่ ถาวร เป็ นเฮือนที่มีโครงสร้างถาวร เนื่ องจากโครงสร้างส่ วนใหญ่ทาจากไม้ จริ ง แต่ใช้วสั ดุประเภทชัว่ คราวมาเป็ นส่ วนประกอบในการปลูกสร้าง เช่น ฝาผนังเฮือนทาจากไม้ไผ่ สาน หรื อไม้ไผ่สานขัดแตะ เรี ยกว่า ลายคุบ เฮือนบางหลังใช้ฝาแผงทาจากใบไม้ในท้องถิ่น เช่น ใบตองกุง(ใบพลวง คล้ายใบต้นสัก) (วิชิต คลังบุญครอง, 2535) เฮือนแบบกึ่งถาวร เป็ นเฮือนที่เกิด จากธรรมเนียมประเพณี ที่เมื่อมีลูกเขยคนใหม่ยา้ ยเข้ามาอยูด่ ว้ ย ลูกเขยคนแรกจาเป็ นต้องสร้างเฮือน เพิ่ม แต่เนื่องจากเพิ่งจะแต่งงานอยูก่ ินกันใหม่จึงยังไม่สามารถจะสร้างเฮือนที่สมบูรณ์ของตนเองได้ แต่จาเป็ นต้องอาศัยตัวเฮือนที่มีโครงสร้างแข็งแรง เพื่อต่อเติมเฮือนให้เสร็ จในภายหลัง ส่ วนใหญ่จะ ไม่พิถีพิถนั ในการใช้วสั ดุ และ บางครอบครัวจะปลูกเฮือนใกล้กบั เฮือนของพ่อแม่ ทาให้

เฮื อนเกยจั่วเดี่ยวลักษณะแบบกึ่งชั่วครำว

3) เฮือนแบบชั่วคราว เป็ นเฮือนที่มีโครงสร้างกึ่งถาวร ใช้วสั ดุที่หาได้ตามท้องถิ่นเฮือนแบบชัว่ คราว มี 2 ลักษณะ คือ ทาเป็ นเพิงลักษณะเป็ นเกยต่อจากอาคาร เช่น เกยต่อเล้าข้าวหรื อเพิงต่อยุง้ ข้าว และ


เป็ นแบบตูบหรื อกระต๊อบเล็กๆ สร้างจากวัสดุที่หาได้ในพื้นที่ เช่น ไม้ไผ่ หญ้าคา ใบไม้ และวัสดุ อื่นๆที่หาได้โดยไม่ตอ้ งซื้ อหา เนื่องจากเป็ นเฮือนที่มีขนาดเล็กจึงไม่นิยมกั้นห้อง

เฮื อนแบบชั่วครำวแบบ เพิงต่ อเล้ำ และเฮื อนชั่วครำวประเภทเถียงนำหรื อตูบ

เฮือนพื้นถิ่นวัฒนธรรมไท-ลาวที่เป็ นแบบดั้งเดิมนั้นจะมีลกั ษณะพิเศษที่สังเกตได้ง่ายคือจัว่ หลังคามีลกั ษณะที่ยกสู งเนื่องจากเวลาฝนตกจาเป็ นต้องระบายน้ าให้รวดเร็ วก่อนที่จะไหลรั่วเข้าไป ในตัวเฮือน เฮือนพื้นถิ่นวัฒนธรรมไท-ลาวที่เป็ นแบบดั้งเดิมในแขวงจาปาสักนั้นปั จจุบนั พบเห็นได้ น้อยมากเพราะโครงสร้างต่างๆที่ทาจากไม้เริ่ มผุพงั เนื่ องจากเป็ นเฮือนที่มีอายุมากกว่า 80 ปี และเมื่อ เจ้าของทาการปลูกสร้างใหม่มกั จะปรับรู ปแบบให้มีความเหมาะสมกับสภาพอากาศและเศรษฐกิจที่ เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต เช่น หลังคาที่เคยเป็ นจัว่ สู งเนื่ องจากใช้วสั ดุจากธรรมชาติเช่น หญ้าคา หรื อ แป้ นไม้เปลี่ยนไปเป็ นสังกะสี จึงไม่จาเป็ นต้องยกจัว่ ขึ้งสู งเพราะสังกะสี มีความทนทานกว่าและน้ า ไม่รั่วซึ ม ดังนั้นเฮือนที่พบในปั จจุบนั ส่ วนใหญ่หลังคาจึงมีลกั ษณะที่เป็ นจัว่ แบบไม่สูงและแบนราบ

เฮื อนพืน้ ถิ่นแบบดั้งเดิมในวัฒนธรรมไท-ลำวที่พบเห็นในปั จจุบันของแขวงจำปำสัก

เฮือนพืน้ ถิ่นในแขวงจาปาสั ก ในแขวงจาปาสักนั้นอาคารบ้านเรื อนในปั จจุบนั มีท้ งั อาคารที่เป็ นร้านค้าที่อยูใ่ นเขตเมือง และเฮือนพื้นถิ่นที่พบได้ทวั่ ไปในชุมชนที่ห่างออกมาจากเขตเมือง อาคารบ้านเรื อนที่อยูใ่ นเขตเมือง เป็ นอาคารที่มีรูปแบบเป็ นเอกลักษณ์ มีท้ งั อาคารแบบลาวลุ่ม และอาคารแบบประยุกต์ แต่ที่โดดเด่น คือ อาคารที่อาศัยของชาวฝรั่งเศส สมัยที่ฝรั่งเศส เข้ามาปกครองลาว อาคารเหล่านี้ก่อสร้างโดยช่าง ชาวเวียดนาม หรื อช่างญวน โดยเรี ยกอาคารในรู ปแบบนี้ วา่ “ต๊อกซี่ ” (ศุภชัย สิ งห์ยะบุศย์ และมปป.) ปั จจุบนั ภาครัฐใช้เป็ นห้องทาการต่างๆและอนุ ญาตให้คนเข้าพักอาศัย ควบคู่ไปกับนโยบายในการ อนุรักษ์และปรับปรุ ง ซ่อมแซม เพื่อให้คนรุ่ นหลังได้ศึกษาประวัติศาสตร์


อำคำรแบบต๊ อกซี่ อำคำรไม้ และอำคำรปูน แบบลำวลุ่ม

เฮือนพื้นถิ่นนั้นส่ วนใหญ่เป็ นที่พกั อาศัยของประชาชนโดยทัว่ ไปและกระจายตัวเป็ นชุมชน ตามที่ต่างๆนอกเขตชุมชนเมือง รู ปแบบเฮือนที่เห็นโดยทัว่ ไปส่ วนใหญ่จะมีลกั ษณะที่คล้ายคลึงกัน โดยการประยุกต์รูปแบบ ซึ่ งได้รับอิทธิ พลโดยตรงมาจาก รู ปแบบตามประเพณี คติความเชื่อดั้งเดิม ของวัฒนธรรมไท-ลาว (พ่อเข็ง ขิมมะรา, สัมภาษณ์) รู ปแบบของเฮือนพื้นถิ่นในแขวงจาปาสักส่ วน ใหญ่จะมีลกั ษณะคล้ายคลึงกันซึ่ งได้รับอิทธิ พลโดยตรงมาจากคติความเชื่ อดั้งเดิมของวัฒนธรรม ไท-ลาว จากคติความเชื่ อดังกล่าวจึงทาให้รูปแบบที่ปรากฏมีแบบแผนซึ่ งเกิดจากเงื่อนไขทางคติที่ เหมือนกัน เช่น การวางตาแหน่งของแต่ละส่ วนของเฮือน ทิศทางในการปลูกสร้าง ขนาดของวัสดุที่ ใช้ประกอบการปลูกสร้าง เป็ นต้น สิ่ งที่กล่าวมาเหล่านี้ จะเป็ นกรอบกาหนดให้รูปแบบของเฮือนที่ ออกมามีความคล้ายคลึงกัน ตัวอย่ างภาพลายเส้ นของลักษณะและรู ปแบบเฮื อนพื้นถิ่นทีพ่ บโดยทัว่ ไปในแขวงจาปาสัก

เฮือนพื้นถิ่นในแขวงจาปาสักหากเป็ นเฮือนจัว่ เดี่ยวหรื อเฮือนเกยโดยทัว่ ไปประกอบด้วย ห้องเปิ ง ห้องนอนพ่อแม่ ห้องส่ วม เกย ชาน ครัวไฟ หากเป็ นเฮือนโข่งหรื อเฮือนแฝดจะมีพ้นื ที่ใน


ส่ วนที่เป็ นโข่งเพิ่มขึ้นมา การแบ่งพื้นที่ในการใช้เฮือนนั้นจะมีแบบแผนที่ชดั เจน เช่น การแบ่ง ห้องนอนของพ่อแม่ การแบ่งห้องให้ลูกสาว การจัดที่นอนสาหรับแขกที่สนิท หรื อญาติพี่นอ้ งที่มา เยีย่ มเยือน ไว้บริ เวณห้องโถงหรื อห้องเปิ ง ใกล้ที่นอนของเจ้าของบ้าน และเหนือหัวนอนของแขก จะมี หิ้งผีเฮือนหรื อหิ้งเทวดา เป็ นต้น (แม่ไค แก้วมะนี,สัมภาษณ์)

ลักษณะเฮื อนพืน้ ถิ่นในปั จจุบันที่พบเห็นได้ ทั่วไปในแขวงจำปำสัก

ตัวอย่างเฮือนพืน้ ถิ่นวัฒนธรรมไท-ลาวในยุคสมัยปัจจุบันทีส่ ารวจ เฮือนเกยจั่วเดี่ยว บ้านเลขที่ 037 หน่วย 4 บ้านคอนโด เมืองชนะสมบูน แขวงจาปาสัก

เฮื อนเกยจั่วเดี่ยว บ้ ำนเลขที่ 037 หน่ วย 4 บ้ ำนคอนโด เมืองชนะสมบูน

เป็ นเฮือนที่มีอายุราว 40 ปี เจ้าของเฮือนคือ แม่ทาย สุ ดทิวง อายุ 64 ปี สร้างแทนเฮือนหลัง เก่า เป็ นเฮือนจัว่ แฝด ลักษณะแบบเฮือนประเพณี ด้ งั เดิม ในวัฒนธรรมไท-ลาวที่อยูใ่ กล้ๆกัน (เฮือน ตัวอย่างที่ทาการศึกษา) ซึ่งมีสภาพชารุ ดทรุ ดโทรมมาก เจ้าของเฮือนจึงปลู กเฮือนหลังนี้

ทิศใต้

ทิศตะวันออก

ภำพด้ ำน แสดงลักษณะและรู ปแบบเป็ นเฮื อน

ลักษณะและรู ปแบบเฮือน เป็ นเฮือนจัว่ เดี่ยว รู ปแบบเป็ นเฮือนเกยต่อหลังคา ลักษณะของเฮือนเป็ นแบบเฮือนถาวร ใช้ ไม้จริ งเป็ นโครงสร้างเฮือน หลังคาทรงจัว่ มุงสังกะสี เสาไม้ถากกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20


เซ็นติเมตร มีเสาหลอกรองรับส่ วนที่เสามีระยะห่างมากเกินไป โดยเฉพาะบริ เวณเฮือนไฟ จะมีเสา หลอกหลายต้น รองโคนเสาด้วยหิ นรองเสา ฝาเฮือนทาด้วยไม้แป้ นแอ้มแนวตั้งเซ็น พื้นเฮือนทาด้วย ไม้แป้ นขนาดใหญ่กว้างประมาณ 8 นิ้ว ยกพื้นสู ง 2 เมตรพื้นชานหรื อเกยเป็ นไม้แป้น ลดระดับจาก พื้นเฮือนประมาณ 20 เซ็นติเมตร พื้นครัวไฟและชานน้ าจะวางแป้ นไม้ขนาดเล็กใหญ่ไม่เท่ากัน บันไดขึ้นบริ เวณเกยหน้าและหลังทางทิศเหนือ และที่ชานน้ า ลูกบันไดมี 7 ขั้น กว้าง25 เซ็นติเมตร ยาว70 เซ็นติเมตร หน้าต่างไม้แบบบานคู่มีช่องระบายอากาศ เนื่องจากเป็ นเฮือนที่สร้างขึ้นใหม่แยกจากเฮือนหลังเก่า ซึ่ งสร้างเป็ นหลังที่ 2 ในรั้วเดียวกัน ปลูกสร้างในเนื้อที่ประมาณ 1ไร่ รวมทั้งเฮือนของญาติพี่นอ้ ง (นางทาย สุ ดทิวง, สัมภาษณ์) เฮือนจึง มีขนาดเล็กกว่าเฮือนหลังแรกซึ่ งเป็ นเฮือนวัฒนธรรมไท-ลาวแบบดั้งเดิม ที่ซ้ื อต่อมาจากป้ า เฮือน ยังคงปลูกสร้างในตามคติแบบเดิม ยกเว้นรู ปแบบที่เปลี่ยนไปจากรู ปแบบดั้งเดิม และปั จจุบนั มีเฮือน อยู่ 2 หลังที่ปลูกสร้างในช่วงเวลาใกล้เคียงกัน และมีรูปแบบที่คล้ายกันก่อสร้างโดยช่างในชุมชน หรื อท้องที่ใกล้เคียง

แปลนเฮื อน แปลนเสำ และแปลนหลังคำ

การใช้ พืน้ ทีใ่ นเฮือน การวางผังเฮือนในการปลูกสร้างยังคงสร้างตามคติความเชื่อเดิมในวัฒนธรรมไทย-ลาว คือ การวางสันหลังคาเฮือนขนานถนนและแม่น้ าโขงที่อยูท่ างทิศเหนื อ หันหน้าจัว่ ไปทางทิศตะวันออก และตะวันตก หรื อ หันเฮือนตามตะเว็น (พ่อเข็ง ขิมมะรา, สัมภาษณ์) รวมทั้งการแบ่งพื้นที่ภายใน เฮือน โดยแบ่งพื้นที่ใช้งานดังต่อไปนี้ ห้ องเปิ ง ในอดีตห้องมีพ้นื ที่ประมาณ 2.00 เมตร x 4.00 เมตร ตาแหน่งห้องอยูท่ าง ทิศใต้ ปั จจุบนั เป็ นพื้นที่เปิ ดโล่ง ยกเว้นผนังด้านที่ติดกับห้องนอนพ่อแม่ไม่มีการกั้นห้อง ตาแหน่งเสาเอก อยูต่ รงเสาแรกมีหิ้งพระสู งจากพื้นประมาณ1 เมตร และตาแหน่งเสาขวัญอยูต่ รงเสาที่ 2 ทางทิศ ตะวันออก ปั จจุบนั เป็ นพื้นที่ไว้รับรองแขก และญาติที่มานอนค้าง เฮือนนอน หรื อห้ องนอน กั้นเป็ นห้องขนาดใหญ่ โดยที่ผนังอีกด้านรื้ อออกและใช้ตูเ้ สื้ อผ้า กั้นแทน หันหัวนอนไปทางทิศใต้ ห้องมีพ้นื ที่ประมาณ 4.00 เมตร x 5.00 เมตร ตาแหน่งห้องอยูท่ าง


ทิศใต้ มีช่องหน้าต่าง 2 ช่องบนผนังทางทิศใต้และทางทิศเหนื อเป็ นประตูทางเข้าห้องแบบบานคู่ ตรงผนังด้านทิศเหนื อ ในห้องมี ที่นอน ตูเ้ ย็น ตูเ้ สื้ อผ้า และข้าวของเครื่ องใช้ ห้ องส่ วม ในอดีตเคยแบ่งพื้นที่หอ้ งนอนพ่อแม่เป็ นส่ วม มีพ้นื ที่ประมาณ 2.00 เมตร x 3.00 เมตรแต่ไม่มีการกั้นเป็ นห้อง (นางทาย สุ ดทิวง, สัมภาษณ์) ปั จจุบนั ไม่มีการแบ่งพื้นที่สาหรับส่ วนนี้ เกย มีท้ งั ด้านหน้า ทางทิศตะวันออกและด้านหลัง ทางทิศตะวันตกหลังคายใต้คาที่ต่อจาก ชายหลังคาของตัวเฮือน เกยทั้งด้านหน้าและด้านหลังมีพ้นื ที่ประมาณ 2.00 เมตร x 8.00 เมตรมี บันไดขึ้นลงที่เกยทั้ง 2 ด้าน ครัวไฟ ครัวไฟมีพ้นื ที่ประมาณ 4.30 เมตรx 4.50 เมตรอยูด่ า้ นทิศตะวันตกเฮียงใต้ โดยมี ระเบียงเป็ นพื้นที่เชื่อมต่อจากเกยกับตัวเฮือน พื้นครัวจะลดระดับลงต่ากว่าพื้นเกยประมาณ 20 เซนติเมตร พื้นเฮือนจะเป็ นแป้ นไม้ขนาดเล็กใหญ่ไม่เท่ากันวางระยะห่างและไม่ชิดเท่าพื้นเฮือน ภายในครัวไฟประกอบไปด้วย เตาไฟ 2 เตาวางในตาแหน่งทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ไม่มีช่อง หน้าต่าง ชานนา้ หรื อชานแดด มีพ้นื ที่ประมาณ 2.00 เมตรx 2.20 เมตร อยูภ่ ายนอกหลังคาคลุมทาง ทิศตะวันตก เป็ นพื้นที่ที่ต่อจากครัวไฟ พื้นชานจะลดระดับต่ากว่าพื้นเฮือนประมาณ 30 เซนติเมตร พื้นจะเป็ นแป้ นไม้ขนาดเล็กใหญ่ไม่เท่ากันวางระยะห่างกันเป็ นช่องเล็กๆ มีบนั ไดขึ้นลง ใต้ ถุนเฮือน ยกพื้นสู งประมาณ 2 เมตรบริ เวณที่ใช้งานจะอยูใ่ ต้ตวั เฮือนใช้งานตอนกลางวัน เช่น ทอผ้า นอนพักผ่อน และรับแขก ส่ วนที่อยูใ่ ต้เกย เป็ นที่สาหรับเก็บของ รถจักรยานยนต์ เครื่ องมือการเกษตร และเลี้ยงไก่ เป็ นต้น

ห้องเปิ ง

ห้องส่ วม

เฮือนญาติพี่นอ้ งที่ปลูกอยูใ่ กล้เคียงกัน

เกยท้ายเฮือน

เฮือนนอน

ใต้ถุนเฮือน

จากการสอบถามพบว่า คติความเชื่ อในการปลูกสร้างและการใช้พ้นื ที่บางอย่างถูกลด บทบาทไปตามค่านิยมของคน และสภาพสังคมในยุคปั จจุบนั เช่น มีห้องเปิ ง เกย ชาน ครัวไฟ แต่


ไม่มีหอ้ งส่ วม เป็ นต้น (ท้าวคาผุย ขิมมะลา,สัมภาษณ์) ขนาดและวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างจะ แตกต่างตามฐานะทางเศรษฐกิจของเจ้าของเฮือน ปั จจุบนั เฮือนพื้นถิ่นวัฒนธรรมไท-ลาวในแขวง จาปาสักยังคงมีคติความเชื่อในการแบ่งพื้นที่ของเฮือน และ ยังคงยึดถือปฏิบตั ิตามครรลองเดิมของ เฮือนพื้นถิ่นแบบดั้งเดิมในวัฒนธรรมไท-ลาว แตกต่างตรงที่ลกั ษณะและรู ปแบบของเฮือน โดยเฉพาะสัดส่ วนในโครงสร้างที่มีขนาดที่ใหญ่กว่าเพราะเฮือนพื้นถิ่นในปั จจุบนั ส่ วนใหญ่จะสร้าง เป็ นเฮือนเกยจัว่ เดี่ยว หากต้องการขยายเฮือน ก็จะต่อเป็ นเกยโดยสร้างหลังคาคลุม ต่อออกมาจาก ชานหลังคาเฮือน (ท้าวคาผุย ขิมมะลา,สัมภาษณ์) รู ปแบบของเฮือนในยุคปัจจุบนั มีความ หลากหลาย เนื่องจากการปรับตัวตามสภาพอากาศ วัสดุค่านิยม และคติความเชื่อแบบดั้งเดิม ซึ่ งเริ่ ม หดหายลงไป แต่ในความหลากหลายนั้น คติความเชื่ อบางอย่างในการปลูกสร้างยังคงความเชื่อ เอาไว้จึงทาให้รูปแบบเฮือนที่ปรากฏ มีลกั ษณะที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะในท้องถิ่นแห่งนี้ และความ เชื่อดังกล่าวล้วนมีพ้นื ฐานมาจากวัฒนธรรมไท-ลาวที่สืบทอดจากรุ่ นสู่ รุ่นผ่านประเพณี และ พิธีกรรมซึ่ งมีความซับซ้อนทั้งในด้านความสัมพันธ์ของสิ่ งที่ปฏิบตั ิและสัญลักษณ์ต่างๆทั้งที่ปราก กฎอย่างชัดเจน และที่ไม่ปรากฏอย่างชัดเจน ดังนั้นการศึกษาลักษณะของรู ปแบบ และการแบ่งพื้นที่ ในการใช้งานของเฮือนพื้นถิ่นของวัฒนธรรมไท-ลาว เป็ นการสร้างความเข้าใจกับสิ่ งที่เกิดขึ้นกับวิถี การดาเนิ นชีวติ ของผูค้ นในมิติทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาโดยผ่านภาพสะท้อนจากเฮือนที่แสดง ให้เห็นในสภาพปัจจุบนั ภาพสะท้ อนวัฒนธรรมและภูมิปัญญา จากการลงพื้นที่ศึกษาชุมชนต่างๆในแขวงจาปาสักในบริ บทต่างๆทั้งทางด้านสังคม วัฒนธรรม และภูมิศาสตร์ ปั จจุบนั สิ่ งต่างๆที่เกิดขึ้นกับชุมชนในพื้นที่ศึกษาต่างก็มีส่วนที่คล้ายกัน และแตกต่างกัน เนื่ องจากความหลากหลายของชาติพนั ธุ์ ที่ถูกกากับโดยสถานการหลายอย่าง เช่น เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ทางการเมือง การอพยพ โยกย้ายหาที่ทากิน หรื อเกิดจากผลกระทบของ สงคราม เป็ นต้น แต่ท้ งั นั้นการอยูร่ ่ วมกันของคนในชุ มชน ล้วนอยูบ่ นพื้นฐานของการยอมรับ ร่ วมกัน เป็ นการปรับตัวทางวัฒนธรรม (อมรา พงศาพิชญ์,2542) หลอมรวมและพัฒนาจนเป็ น วัฒนธรรมแบบผสมผสาน (Acculturaton) ทาให้เกิดความกลมกลืนทางวัฒนธรรม (สมศักดิ์ ศรี สันติสุข, 2552) เพราะวัฒนธรรมเป็ นสิ่ งที่แลกเปลี่ยนกันได้ ตามความเหมาะสมของสภาพ สิ่ งแวดล้อมทางสังคม เป็ นการแพร่ กระจายทางวัฒนธรรมที่เกิดจากวัฒนธรรมอื่นเข้ามาปรับใช้ จน สามารถสะท้อนออกมาเป็ น อัตลักษณ์เฉพาะตัวของท้องถิ่นนั้นๆ วัฒนธรรมเกิดขึ้นเมื่อมนุษย์ที่อยูใ่ นบริ เวณเดียวกัน ใกล้เคียงกันหรื อในสังคมเดียวกันทา ความตกลงกันว่าจะยึดระบบไหนดี แนวคิด และพฤติกรรมใดบ้างที่จะถือเป็ นพฤติกรรมที่ควร ปฏิบตั ิร่วมกัน ข้อตกลงเหล่านี้คือการกาหนดความหมายในสิ่ งต่างๆในสังคม เพื่อความเข้าใจที่ ตรงกันและยึดระบบเดียวกัน หรื ออีกนัยหนึ่ง อาจเรี ยกระบบที่สมาชิกในสังคมได้ตกลงกันแล้วว่า


“ระบบสัญลักษณ์” (อมรา พงศาพิชญ์,2541.) ดังนั้นวัฒนธรรมก็คือระบบสัญลักษณ์ในสังคม ที่ มนุษย์สร้างขึ้น เมื่อสร้างขึ้นแล้ว จึงสอนให้คนรุ่ นหลังๆได้เรี ยนรู ้แล้วนาไปปฏิบตั ิ วัฒนธรรมจึง ต้องมีการเรี ยนรู ้และถ่ายทอด จนกลายเป็ นขนบธรรมเนียม ประเพณี ของสังคมนั้นอย่างมีพลวัต ซึ่ ง เป็ นความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดโดยตรงระหว่างวัฒนธรรมกับพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมที่อาศัยอยู่ การปรับตัวหรื อวิวฒั นาการของมนุษย์ซ่ ึ งเกี่ยวข้องโดยตรงกับธรรมชาติ และเป็ นลักษณะที่มีเฉพาะ มนุษย์เท่านั้น เป็ นการตอบโต้กนั ระหว่างมนุษย์กบั สิ่ งแวดล้อมรอบข้างนั้นเราเรี ยกว่า “ วัฒนธรรม” (งามพิศ สัตย์สงวน,2537.)ในสังคมโดยทัว่ ไป เราอาจแบ่งวัฒนธรรมได้เป็ น 2 ลักษณะคือ วัฒนธรรมในลักษณะที่เป็ นสัญลักษณ์ซ่ ึ งจับต้องไม่ได้ และวัฒนธรรมทางวัตถุ วัฒนธรรมใน ลักษณะที่เป็ นสัญลักษณ์ซ่ ึ งจับต้องไม่ได้น้ นั เป็ นวัฒนธรรมเริ่ มแรกของมนุษย์ เป็ นข้อตกลงที่ทา ร่ วมกันของคนสังคม เป็ นพฤติกรรมและความคิดที่เป็ นสมบัติของสังคม ซึ่ งถูกเก็บรักษาไว้โดยการ เรี ยนรู ้แล้วถ่ายทอด สั่งสอนในหมู่สมาชิกของสังคม เช่น ระบบความเชื่อ ค่านิยม ภาษา ขนบธรรมเนียม และประเพณี ต่างๆ เช่นที่ปรากฏในคติความเชื่อในกระบวนการสร้างเฮือน และคติ ความเชื่อในการแบ่งพื้นที่บนเฮือน หลังจากนั้นมนุษย์จึงเริ่ มปรับตัวกับบริ บทใหม่ๆที่เกิดขึ้นพร้อม กับสังคมที่รวมตัวกัน เพื่อตอบสนองความต้องการที่มากขึ้น จึงเกิดวัฒนธรรมอีกด้าน คือ เทคโนโลยี ซึ่ งเป็ นวัฒนธรรมทางวัตถุที่สะท้อนวิถีและแนวคิดในการดาเนินชีวิต เช่น เครื่ องไม้ เครื่ องมือที่ช่วยทุ่นแรงในการเพาะปลูก สิ่ งของเครื่ องใช้ต่างๆ สิ่ งประดิษฐ์ ผลงานศิลปะ และสิ่ ง ปลูกสร้างทางสถาปั ตยกรรม เป็ นต้น จากนั้นก็พฒั นาเรื่ อยมาจนเป็ นสิ่ งของต่างๆและมีรูปแบบที่ใช้ งานแตกต่างกันไป ในระบบของสังคมวัฒนธรรมทั้งสองลักษณะแม้จะมีความแตกต่างในกระบวนการคิด แต่ ในขณะเดียวกันยังมีความสอดคล้องกัน เพราะในระบบสังคมย่อมมีความหลากหลาย และในความ หลากหลายนั้นสังคมย่อมปรับตัวเปลี่ยนแปลงขึ้นอยูก่ บั ว่าอยูใ่ นช่วงเวลาใด จนกลายเป็ นวัฒนธรรม ในช่วงเวลานั้น เช่น วัฒนธรรมที่เห็นได้จากทางสถาปั ตยกรรม โดยเริ่ มพิจารณาจากวิวฒั นาการของ สังคมสมัยดั้งเดิมมาเป็ นสังคมในสมัยปั จจุบนั เนื่องจากว่า วัฒนธรรมเกิดขึ้นเมื่อมนุษย์มีความ ต้องการทางชีวภาพ (อมรา พงศาพิชญ์,2541) ในส่ วนของที่อยูอ่ าศัย การก่อสร้างย่อมออกแบบ เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ภูมิประเทศ และสภาพอากาศ เช่น ประเทศในแถบลุ่มน้ าโขง ในอดีตมักจะสร้างบ้านด้วยไม้ ยกพื้นเรื อนให้สูงเพื่อป้ องกันน้ าท่วม หรื อการทาหลังคาบ้างให้เป็ น จัว่ ลาดเอียงเพื่อให้น้ าฝนไหลได้สะดวก เนื่องจาก ภูมิประเทศ และสภาพอากาศในแถบนี้มกั จะมี ฝนตกชุกในฤดูฝน ดังนั้นรู ปทรงของบ้านในประเทศแถบนี้จึงมีลกั ษณะที่คล้ายคลึงกัน หรื อ การ วางตัวเฮือน จะวางตามคติความเชื่อในวัฒนธรรมไท-ลาว คือ วางเฮือนตามแนวตะวัน หรื อ ตะเว็น ซึ่งเป็ นภูมิปัญญาที่ชาญฉลาด และแฝงไว้ดว้ ยความข้าใจในธรรมชาติ กล่าวคือ ในฤดูร้อนการ เคลื่อนของตะวันที่เคลื่อนจากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตกโดยอ้อมทางด้านทิศใต้ ตามองศา


เอียงของโลก ทาให้หลังคาเฮือนได้รับแสงแดดในช่วงบ่ายประมาณ 30-50 เปอร์เซ็นต์ ทาให้ความ ร้อนบนตัวเฮือนลดลง(วิชิต คลังบุญครอง, 2535)

กำรวำงเฮื อนตำมแนวตะวันออก-ตกทำให้ เฮื อนไม่ ร้อนในตอนบ่ ำย

ดังนั้นการปรับตัวตามสภาพแวดล้อมของมนุษย์จึงเป็ นเหตุผลที่สาคัญประการหนึ่งในการ กาหนดรู ปแบบของวัฒนธรรม ทั้งนี้เกิดจากภูมิปัญญาของมนุษย์ที่เกิดขึ้นเพื่อความอยูร่ อดของ มนุษย์และสังคมหรื อท้องถิ่นที่อยูอ่ าศัย สิ่ งปลูกสร้างทางสถาปั ตยกรรม เป็ นได้ท้ งั วัฒนธรรมทาง วัตถุ และวัฒนธรรมที่เป็ นสัญลักษณ์ ที่สะท้อนวิถีและแนวคิดในการดาเนิ นชีวติ ได้เป็ นอย่างดี โดย เฉพาะที่อยูอ่ าศัย หรื อ เฮือน ถือได้วา่ เป็ นส่ วนหนึ่งของการสร้างสรรค์ของคนกลุ่มต่างๆ (นพดล ตั้ง สกุล และจันทนีย ์ วงศ์คา.2548) เนื่องจากเป็ นปัจจัย 1 ใน 4 ซึ่ งเป็ น ปั จจัยทางวัตถุที่สาคัญต่อการ ดารงชีวิต โดยเฉพาะเฮือนพื้นถิ่นที่สะท้อนโลกทัศน์ ความคิด การสร้างสรรค์ ความฉลาด ความเชื่ อ และวิถีชีวติ ของคนในท้องถิ่น (ธีรวัลย์ วรรธโนทัย,2550.) ในด้านสถาปัตยกรรมที่เป็ นที่พกั อาศัย หรื อเฮือนนั้น แม้จะมีความหลากหลายที่เกิดจากการผสมผสานทางวัฒนธรรม และการเปลี่ยนแปลง ของยุคสมัย เช่น ลักษณะ และรู ปแบบของเฮือนพื้นถิ่น แต่คติความเชื่อในการปลูกสร้าง และการ แบ่งพื้นที่ในการใช้งานของเฮือนกลับมีความคล้ายคลึงและใกล้เคียงกันกับเฮือนพื้นถิ่นใน วัฒนธรรมไท-ลาว แม้ปัจจุบนั รู ปแบบเฮือนบางหลัง จะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามค่านิยมของยุค สมัยแต่โดยภาพรวมแล้วยังคงมีลกั ษณะและรู ปแบบไม่แตกต่างกันมากนัก การเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวจึงเป็ นเรื่ องที่น่าศึกษาว่าเหตุปัจจัยใด เป็ นตัวแปรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ในเรื่ องดังกล่าว สรุ ป เมื่อเรามองเห็นเฮือนพื้นถิ่นไม่วา่ จะเป็ นของแหล่งที่ต้ งั ใดในโลกก็ตาม สิ่ งแรกที่ก่อให้เกิด ความประทับใจคือ รู ปทรง เพราะเป็ นสิ่ งที่ให้ความประทับใจต่อการรับรู ้เบื้องต้นได้ง่ายที่สุด รู ปทรงของเรื อนที่เกิดขึ้นบริ เวณลุ่มแม่น้ าโขงในวัฒนธรรมไท-ลาว แต่ละแหล่งแตกต่างกันไปตาม สภาพแวดล้อม ระบบนิ เวศน์และวิถีชีวติ ของแต่ละกลุ่มชน เกิดจากการสร้างสรรค์ที่ได้จากวิธีการ สรรหารู ปแบบที่ดีที่สุด จากแหล่งวัฒนธรรมอื่นนามาประกอบการสร้างสรรค์ในรู ปแบบที่เป็ น เอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง เป็ นการยอมรับสิ่ งใหม่ (Innovation) ซึ่ งนาไปสู่ การเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึน


หรื อที่เรี ยกว่าเป็ นการสรรหาที่ดีที่สุด (Eclecticism) แนวคิดในลักษณะนี้เกิดขึ้นกับสถาปั ตยกรรม พื้นถิ่นลุ่มแม่น้ าโขง โดยมีตน้ กาเนิดมาจากจีนแผ่นดินใหญ่ ผสมผสานกับภูมิปัญญาในแต่ละ ท้องถิ่น ปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมจนเกิดเป็ นสถาปั ตยกรรมที่เป็ นเอกลักษณ์ของภูมิภาคนี้ คือ “เรื อนใต้ถุนสู ง หลังคาลาดเอียง” เนื่องจากลักษณะสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ที่ค่อน ข้างร้อน และแห้งแล้งแต่จะมีฝนตกหนักในฤดูฝน จนอาจทาให้เกิดน้ าท่วมได้ จึงทาให้เฮือนมีลกั ษณะ ดังกล่าว เพื่อระบายอากาศ และป้ องกันเวลาเกิดน้ าท่วม ซึ่ งเป็ นสถาปัตยกรรมที่เป็ นเอกลักษณ์อนั โดดเด่นของกลุ่มชาติพนั ธุ์ไต-กะได และชนชาติในวัฒนธรรมไท-ลาวทัว่ ไป ตามลาน้ าโขงและลา น้ าสาขาต่างๆ ดังนั้นการศึกษากระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเฮือนพื้นถิ่นในวัฒนธรรมไท-ลาว จึงเป็ น การศึกษาเรี ยนรู ้ และทาความเข้าใจในโครงสร้างทางวัฒนธรรมในครอบครัว ซึ่ งเป็ นหน่วยย่อยของ วัฒนธรรมไท-ลาว ผ่านการศึกษาบริ บทที่เกี่ยวข้องกับเฮือน ซึ่ งกระบวนการเหล่านั้นสามารถ สะท้อนมิติทางวัฒนธรรมของชุมชน ทั้งในด้านสัญลักษณ์ซ่ ึ งจับต้องไม่ได้ เช่น ความเชื่อ พิธีกรรม ต่างๆ และทางด้านวัตถุ ซึ่ งมองเห็นและสามารถจับต้องได้ เฮือนพื้นถิ่นในวัฒนธรรมไท-ลาวนั้น เป็ นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งที่มีผสู ้ นใจศึกษา และกล่าวถึงมาอย่างต่อเนื่ อง ตลอดเวลาที่ผา่ นมารู ปแบบ และคติความเชื่อบางอย่างเกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ซึ่ งเกิดจากปั จจัย หลายอย่าง ที่ส่งผลโดยตรงกับการดารงชี วติ ปั จจัยดังกล่าวมีท้ งั ในทางนามธรรม ได้แก่ ระบบความ เชื่อ ค่านิยม ภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี และทางรู ปธรรม ได้แก่ สภาพภูมิประเทศ สภาพ ภูมิอากาศ วัสดุ และปั จจัยหรื อเงินทุนในการก่อสร้าง ปั จจัยแห่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทาให้ คติ ความเชื่อ และรู ปแบบของเฮือน มีความแตกต่างและเปลี่ยนแปลงไปจากในอดีต บริ บทต่างๆที่ เกิดขึ้น ล้วนส่ งผลโดยตรงต่อวัฒนธรรมในเฮือนพื้นถิ่น ในอดีตการเลือกทาเลในการปลูกสร้าง เฮือนพื้นถิ่นในวัฒนธรรมไท-ลาวนั้น มีคติความเชื่อที่ถ่ายทอดสื บต่อกันมาและยึดปฏิบตั ิอย่าง เหนียวแน่น โดยเริ่ มจากการตั้งชุมชน ที่มีคติในการเลือกทาเล ซึ่ งถือว่าเป็ นวัฒนธรรมอันโดดเด่น ของกลุ่มชาติพนั ธุ์ไท-ลาว คือ องค์ประกอบของทาเลที่มี น้ า นา โนน เป็ นการเลือกทาเลที่มี องค์ประกอบเหมาะสมในการปลูกข้าว และถือว่าเป็ นวัฒนธรรมที่เป็ นหัวใจหลักของกลุ่มชาติพนั ธุ์ นี้ เมื่อได้สถานที่ที่เหมาะสมในการตั้งชุมชนแล้ว จึงเริ่ มทาการปลูกสร้างเฮือนเพื่ออยูอ่ าศัย แต่ใน ปั จจุบนั คติความเชื่ อดังกล่าวค่อยๆเลือนหายไปจากคติความเชื่อของลูกหลานที่เติบโตขึ้นพร้อมกับ เทคโนโลยี และโลกที่กาลังเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ วกว่าในอดีต ทาให้ผคู ้ นในปั จจุบนั หลงลืม หรื อมองข้ามภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไป ซึ่ งเป็ นภูมิปัญญาที่สอนให้มนุษย์รู้จกั การที่จะอยูร่ ่ วมกับ ธรรมชาติ และสิ่ งรอบกายได้อย่างไร ทั้งหมดที่กล่าวมานั้น คือ พลวัตที่กาลังเกิดขึ้นกับเฮือนพื้นถิ่นวัฒนธรรมไท-ลาวในเมือง จาปาสัก แขวงจาปาสัก สปป.ลาว ซึ่งสามารถสะท้อนภาพของ คติความเชื่อ และวัฒนธรรมที่ เกิดขึ้นในจาปาสักตั้งแต่อดีตถึงปั จจุบนั สังเกตได้ชดั ว่าการเปลี่ยนแปลงทางสังคม โดยเฉพาะด้าน


เศรษฐกิจที่กาลังเกิดขึ้นนี้ มีแนวโน้มที่จะทาให้รูปแบบ และคติความเชื่อ ที่เป็ นวัฒนธรรมของเฮือน พื้นถิ่นวัฒนธรรมไท-ลาวเปลี่ยนไปจากเดิม เพราะในปั จจุบนั การพัฒนาด้านเทคโนโลยี และ วิทยาศาสตร์ ซึ่ งมีผลทาให้บทบาทของคติความเชื่อในเฮือนพื้นถิ่นวัฒนธรรมไท-ลาว ลดลง เช่น คติความเชื่อในการปลูกสร้าง รู ปแบบเฮือน และวัสดุที่ใช้ในการปลูกสร้าง เพราะมนุษย์ในยุค ปั จจุบนั กาลังมองหาแต่สิ่งที่เป็ นรู ปธรรมเพื่อตอบสนองวิถีชีวติ ในยุคปั จจุบนั จนมองข้ามภูมิปัญญา ดั้งเดิมซึ่ งเป็ นวัฒนธรรมที่แท้จริ งของตน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งหมดนี้สะท้อนออกมาให้ เห็นได้อย่างชัดเจนด้วย ลักษณะ และรู ปแบบ ซึ่ งเป็ นข้อมูลเชิงประจักษ์ทีซ่ ึ งปรากฏในเฮือนพื้นถิ่น วัฒนธรรมไท-ลาวที่ยงั หลงเหลือในปั จจุบนั เนื่ องจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสังคมจะส่ งผล โดยตรงต่อโครงสร้างทางสังคม และวัฒนธรรม ในอนาคต ลักษณะและรู ปแบบของเฮือนที่เห็นใน ปั จจุบนั อาจจะเหลือเพียงข้อมูลที่เป็ นเอกสารสาหรับไว้ศึกษาเท่านั้นก็เป็ นได้

บรรณานุกรม และเอกสารอ้างอิง เกรี ยงไกร เกิดศิริ.ทรรศนะอุษาคเนย์ ๑. กรุ งเทพฯ:อุษาคเนย์,2553. งามพิศ สัตย์สงวน.มนุษยวิทยากายภาพและวัฒนธรรม:วิวฒ ั นาการทางกายภาพแลวัฒนธรรม. กรุ งเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537. มาร์ติน สจ๊วต-ฟอกซ์.(2553). ประวัติศาสตร์ ลาว. (จิราภรณ์ วิญญรัตน์,ผูแ้ ปล). กรุ งเทพฯ: มูลนิธิ โตโยต้าประเทศไทย. วิชิต คลังบุญครอง.สถาปัตยกรรมบ้ านพักอาศัยพืน้ เมืองของชาวไทยอีสานกลุ่มต่ างๆ:ไทย-ผู้ไท. โครงการวิจยั ประจาปี งบประมาณ 2535.มหาวิทยาลัยขอนแก่น นพดล ตั้งสกุล และจันทนีย ์ วงศ์คา.คติความเชื่ อและระบบสั งคมกับการปลูกสร้ างเรื อนพืน้ บ้ านและ ชุ มชนผู้ไท.ขอนแก่น:ศูนย์วจิ ยั พหุ ลกั ษณ์สังคมลุ่มน้ าโขง,2548. ธิติ เฮงรัศมี, ธนู พลวัฒน์ และ ธาดา สุ ทธิธรรม.การศึกษารวบรวมรู ปแบบบ้ านพักอาศัยในชนบท อีสาน แถบลุ่มนา้ ชี .งานวิจยั เรื่ อง การพัฒนารู ปแบบบ้านพักอาศัยในชนบทอีสาน แถบลุ่ม น้ าชี สนับสนุนโครงการโดย CIDA.ขอนแก่น: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2535. ธาดา สุ ทธิธรรม. บ้ านพักอาศัยในชนบทอีสาน แถบลุ่มน้าชี . อีสานสถาปัตย์ ฉบับพิเศษ: สถาปัตยกรรมอีสาน รวมบทความจากงานสัมมนาเอกลักษณ์สถาปัตยกรรมอีสาน 2530 และเฮือนพื้นถิ่นอีสาน.ขอนแก่น: คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2543. ธีรวัลย์ วรรธโนทัย. (2550).สถาปัตยกรรมเรื อนไทยพื้นถิ่น องค์ รวมของธรรมชาติ ความเชื่ อ ชีวติ และสุ นทรียะ.วารสารสังคมลุ่มน้ าโขง,3 (1), 33-54.


ศุภชัย สิ งห์บุศย์. (มปป.)โครงการสารคดีลาวตอนล่าง สะหวันนะเขต สาละวัน เซกอง จาปาสั ก และอัตตะปื อ. กรุ งเทพฯ: ดรี มแคชเชอร์ กราฟฟิ ค จากัด. สุ จิตต์ วงศ์เทศ. “ พลังลาว ”ชาวอีสาน มาจากไหน?.กรุ งเทพฯ : มติชน, 2549 สมศักดิ์ ศรี สันติสุข.การศึกษาสั งคมและวัฒนธรรม แนวคิดวิธีวทิ ยาและทฤษฎี. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2552. สุ วทิ ย์ ธีรศาศวัต. ประวัติศาสตร์ ลาว 1779-1975.กรุ งเทพฯ: พิมพ์สร้างสรรค์,2543. สุ วทิ ย์ จิระมณี . ศิลปะสถาปัตยกรรมพืน้ ถิ่นอีสานในวัฒนธรรมไทย-ลาว. ชลบุรี:คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2544. อมรา พงศาพิชญ์.ความหลากหลายทางวัฒนธรรม(วิธีวทิ ยาและบทบาทในประชาสั งคม). กรุ งเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542. อมรา พงศาพิชญ์.วัฒนธรรม ศาสนา และชาติพนั ธุ์:วิเคราะห์ สังคมไทยแนวมานุษยวิทยา. กรุ งเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. อรศิริ ปาณิ นท์.(บรรณาธิการ).(2551).เรื อนพืน้ ถิ่นไทย-ไท:บทความและสรุ ปงานวิจัยของ โครงการย่อย 6โครงการในโครงการวิจัย.กรุ งเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

สื่ ออิเลคทรอนิคส์ (Resource: http://th.wikipedia.org/wiki/แขวงจาปาสักAccessed on: 16 February 2010)

ข้อมูลผูใ้ ห้สัมภาษณ์ พ่อเข็ง ขิมมะรา อายุ 86 ปี บ้านเลขที่ 032 หน่วย 3 บ.เมืองแสน เมืองโขง แขวงจาปาสัก (วันที่ 16 พฤษภาคม 2553) สัมภาษณ์โดย กิตติสันต์ ศรี รักษา แม่ ไค แก้วมะนี อายุ 78 ปี บ้านเลขที่ 35 หน่วย 4 บ.อะหมาด เมืองจาปาสัก แขวงจาปาสัก (วันที่ 17 พฤษภาคม 2553) สัมภาษณ์โดย กิตติสันต์ ศรี รักษา นางทาย สุ ดทิวง อายุ 64 ปี บ้านเลขที่ 037 หน่วย 4 บ้านคอนโด เมืองชนะสมบูน แขวงจาปาสัก (วันที่ 18 พฤษภาคม 2553) สัมภาษณ์โดย กิตติสันต์ ศรี รักษา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.