เส้นสายลวดลาย เรขศิลป์ อัครครา มะเสนา (ตุลาคม 2557) 577220028-3 นศ.หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หัวข้อวิจัย •
สัญศาสตร์ในงานเรขศิลป์!
•
ปัญหานำวิจัย! •
สัญญะที่ปรากฏในงานเรขศิลป์เป็นอย่างไร
•
งานเรขศิลป์ส่งผลต่อความเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ ชาติพันธุ์อย่างไร
•
งานเรขศิลป์ คืออะไร? •
งานเรขศิลป์หรือกราฟิกดีไซน์ (Graphic Design) คือศาสตร์เกี่ยวกับการสื่อสาร ด้วยภาพและตัวอักษร
•
เรขศิลป์ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า กราฟิกดีไซน์ (Graphic design)
•
คือ การออกแบบรูปภาพสัญลักษณ์ที่มอง เห็นด้วยตา
•
เป็นงานทางด้านทัศนศิลป์อีกประเภทหนึ่ง
•
มีหน้าที่เพื่อสื่อสารความหมายจาก สัญลักษณ์สู่การตีความ(interpretation)
Graphic •
คำว่า กราฟิก (Graphic) นั้นมีที่มาจากภาษากรีก 2 คำด้วยกันคือ
•
1. Graphikos หมายถึง การวาดเขียน
•
2. Graphein หมายถึง การเขียน
Graphic •
•
•
กราฟฟิกเป็นศิลปะแบบหนึ่ง ที่แสดงออกถึงความคิดอ่าน และอารมณ์โดยใช้เส้น รูปภาพ ภาพเขียน ฯลฯ เป็นการสื่อความหมายที่ต้อง อาศัยศิลปะเข้ามาช่วย เช่น แผนภูมิ แผนภาพ ภาพ โฆษณา การ์ตูน เป็นต้น
เรขศิลป์หรือกราฟิกดีไซน์คือ ! “การสื่อสาร” •
เป็นศิลปะแขนงหนึ่งซื่งใช้การสื่อ ความหมายด้วยการใช้เส้น ภาพวาด สัญลักษณ์ ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ
•
เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของ ข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้รับสาร ต้องการ
•
ในปัจจุบันมีการใช้เรขศิลป์ในงาน หลายๆ ด้านไม่ว่า ด้านธุรกิจ งาน พิมพ์ งานศิลปะ การบันเทิง งาน โฆษณา การศึกษา
•
งานเรขศิลป์สามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ
!
•
1.งานเรขศิลป์แบบ 2 มิติ 2.งานเรขศิลป์แบบ 3 มิติ
การสื่อสารที่อยู่ในงานเรขศิลป์นั้นต้อง มี “ทัศนธาตุ”(Visual Elements) จุด(Point) เส้น(Line) รูปร่าง(Shape) รูปทรง(Form) พื้นผิว(Texture) ค่าน้ำหนัก(Tone) แสงและเงา(Light and Shade) สี(Colour)
งานเรขศิลป์นั้นต้องอาศัยการจัดองค์ ประกอบศิลป์(Composition Arts) เอกภาพ(Unity) ความขัดแย้ง(Opposition) ความกลมกลืน(Harmony) การซ้ำ(Repetition) ความเด่น(Dominance) การเปลี่ยนแปร(Variation) ที่ว่าง(Space) ขนาด(Size) ทิศทาง(Direction)
การจัดวางองค์ประกอบหลัก
งานเรขศิลป์นั้นต้องอาศัยการจัดองค์ ประกอบศิลป์(Composition Arts) ดุลยภาพ(Balance) จังหวะ(Rhythm) สัดส่วน(Proportion) ควาเคลื่อนไหว(Movment) ระนาบ(Plane) การตัดทอน(Simplify) ระยะ ความลึก(Distance-Depth)
การจัดวางองค์ประกอบรอง
Poster Design •
ภาพขนาดใหญ่พิมพ์บนกระดาษ ออกแบบเพื่อใช้ ติดหรือแขวนบนผนังหรือกำแพง
•
โปสเตอร์อาจจะเป็นภาพพิมพ์และ/หรือภาพเขียน หรืออาจจะเป็นอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ
•
จุดประสงค์ก็เพื่อทำให้เตะตาผู้ดูและสื่อสารข้อมูล
•
โปสเตอร์อาจจะใช้สอยได้หลายประการ แต่ส่วน ใหญ่มักจะใช้ในการเผยแพร่เพื่อการ ประชาสัมพันธ์
•
โดยเฉพาะการโฆษณางานแสดงศิลปะ, งานดนตรี หรือภาพยนตร์, การโฆษณาชวนเชื่อ, หรือในการ สื่อสารที่ต้องการสื่อสารความเชื่อต่อคนกลุ่มใหญ่
•
ประโยชน์ของโปสเตอร์อาจมีหลายจุดประสงค์ใน บางครั้งก็ผลิตมาเพื่อใช้ในการศึกษา หรือเป็นสื่อ การสอน
Poster Design ! ในโลก •
งานศิลปะการสร้างโปสเตอร์เริ่มเมื่อราวคริสต์ศตวรรษ 1890 โดยจิตรกรชาวฝรั่งเศส
•
ใช้เผยแพร่ไปทั่วยุโรป
•
ศิลปินคนสำคัญที่สุดที่ริเริ่มความนิยมในการสร้าง โปสเตอร์ก็คือ อองรี เดอ ทูลูส-โลเทรค และ จูลส์ เชเรท์ (Jules Chéret)
•
เชเรท์ถือกันว่าเป็นบิดาแห่งการโฆษณาด้วยป้าย
•
ขนาดโปสเตอร์ที่นิยมกันโดยทั่วไปอยู่ที่24x35นิ้ว แต่ โปสเตอร์ก็มีหลายขนาดหลากหลาย
•
โปสเตอร์ขนาดเล็กที่มีไว้โฆษณาจะเรียกว่า แฮนด์บิลล์ หรือ "ใบปลิว" (flyer)
Poster Design ! ในไทย
•
แป้งโอวัลติน พ.ศ.2471
•
โอวัลตินวางตลาดครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2447 เดิมใช้ ชื่อว่า 'Ovomaltine'
•
คิดค้นโดย ดร. ยอร์ช แวนเดอร์ (Dr. George Wander)
•
โฆษณารถบรรทุกเชฟโรเลต พ.ศ. 2472
Poster Design ! ในไทย
•
ยางดันล็อบ พ.ศ. 2472 โฆษณายางใน และยางนอก ยี่ห้อ 'ดันลอป'ทำเป็นรูปผู้ หญิงขับยาง
•
รถนั่ง และรถเก๋งเชฟโรเลต พ.ศ. 2472
•
ยาสีฟันวิเศษนิยม พ.ศ. 2478
Poster Design ! ในไทย
•
ยานัดถ์หมอมี พ.ศ. 2479
•
เบียร์ตราว่าวปักเป้าและตราสิงห์ พ.ศ. 2479
•
เครื่องดื่ม โอวัลติน พ.ศ. 2481
ประเภทของโปสเตอร์
•
1.โปสเตอร์นอกสถานที่ ได้แก่ โปสเตอร์ขนาดใหญ่เรียกว่า บิลบอร์ด(billboard)
ประเภทของโปสเตอร์ •
2.โปสเตอร์ประเภท เ ค ลื่ อ น ที่ ไ ด้ แ ก่ โปสเตอร์ติดตามข้าง รถเมล์(bus-side),ท้าย ร ถ เ ม ล์ ( b u s - b a c k ) โปสเตอร์ติดบริเวณที่ สาธารณะทั่วไป
ประเภทของโปสเตอร์ !
•
3.โปสเตอร์ติดภายใน ได้แก่ โปสเตอร์ ติดตามสำนักงานหรือห้างสรรพสินค้า
ประเภทของโปสเตอร์ •
4.โปสเตอร์ประเภท 3 มิติ เป็น ลักษณะสื่อผสม อาจนำคนเข้ามา ผสม เน้นสื่อเพื่อสาธารณะโดยตรง หรือบิลบอร์ดที่มีส่วนยื่นออกมา
จุดประสงค์ของโปสเตอร์ •
1.นำสิ่งที่ผู้ต้องการโฆษณาออกมาเผยแพร่ให้ สะดุดตาคน
•
2.ต้องสามารถสื่อสารเข้าสู่การรับรู้และการปลุกเร้า ความสนใจของผู้พบเห็นให้ได้
•
3.ต้องสามารถเล่าเรื่องราวจากภาพให้ได้ เพื่อช่วย ให้ผู้พบเห็นสามารถที่จะเข้าใจได้ในทันที แล้วเกิด การรับรู้และปลุกเร้าความสนใจต่อไป
•
4.ภาพในโปสเตอร์จะต้องมีลักษณะปลอดโปร่ง เน้นเฉพาะเรื่องที่จะโฆษณา ช่วยให้แลเห็นง่าย และ ที่สำคัญที่สุดก็คือ รายละเอียดและส่วนประกอบ ต่างๆ จะประสานกลมกลืนกันตามคุณค่าของศิลปะ ประยุกต์ (applied art)
องค์ประกอบของภาพโปสเตอร์ •
1. รูปภาพ(Picture)
•
2. พาดหัว (Headline)
•
3. พาดหัวรอง (Sub Headline)
•
4. ประโยชน์หรือรายละเอียด (Body text)
•
5. ข้อความพิสูจน์กล่าวอ้าง (Proof)
•
6. ข้อความปิดท้าย (Closing)
•
7. ผู้รับผิดชอบ หรือ เจ้าของโปสเตอร์
งานกราฟิกต่างๆ ภายนอก •
โฆษณาตามป้ายรอรถ
งานกราฟิกต่างๆ ภายนอก •
ป้ายต่างๆ ตามศูนย์การค้า ของเมืองจิ่งหง
งานกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ “บรรจุภัณฑ์” หมายถึง สินค้าทุกชนิดที่ ทำจากวัสดุใดๆ ที่นำมาใช้สำหรับห่อ หุ้ม ป้องกัน ลำเลียง จัดส่งและนำเสนอ สินค้า ตั้งแต่วัตถุดิบถึงสินค้าที่ผ่านการ ผลิต ตั้งแต่ผู้ผลิตถึงผู้ใช้หรือผู้บริโภค
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์สำหรับการขาย (Sales packaging) หรือบรรจุภัณฑ์ลำดับที่หนึ่ง ได้แก่บรรจุภัณฑ์ที่ใช้เป็นส่วนหนึ่งของการขายของให้กับผู้ใช้รายสุดท้ายหรือผู้ บริโภค ณ จุดซื้อ
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์กลุ่ม (Group packaging) หรือบรรจุภัณฑ์ลำดับที่สอง ได้แก่บรรจุภัณฑ์ที่ ใช้ที่จุดซื้อกลุ่มสินค้าที่มีจำนวนขายมากกว่าหนึ่ง ไม่ว่าสินค้านั้นจะถูกขายให้กับผู้ใช้ รายสุดท้ายหรือผู้บริโภคหรือไม่ก็ตามและไม่ว่าบรรจุภัณฑ์นี้จะถูกใช้เพื่อการดึง สินค้าจากชั้นวางของ ณ จุดขายก็ตาม บรรจุภัณฑ์นี้สามารถถูกดึงออกจากสินค้าโดย ไม่ส่งผลกระทบต่อลักษณะเฉพาะตัวของสินค้า
ประเภทของบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์สำหรับการขนส่ง หรือบรรจุภัณฑ์ลำดับที่สาม ได้แก่ บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ สำหรับช่วยในการลำเลียงและขนส่งสินค้า ที่ขายจำนวนมากหรือกลุ่มบรรจุภัณฑ์ เพื่อ ป้องกันความเสียหายทางกายภาพระหว่างการขนส่ง บรรจุภัณฑ์สำหรับการขนส่งไม่ รวมตู้คอนเทนเนอร์สำหรับการขนส่งทาง ถนนรางเลื่อน เรือหรือทางอากาศ
Concept