บุญธาตุหลวง : ความสั มพันธ์ ประเพณีนมัสการ พระธาตุหลวงกับการตักบาตรด้ วยข้ าวเหนียว “บรรดาข้ าวทั้งหลายเมื่อถูกทุบตีเช่ นนั้น ก็มีความแค้ นเคือง นึกว่ ามนุษย์ เป็ นพวกเนรคุณ ดู หรื อ อุ ต ส่ าห์ บิ น มาถึ ง ยุ้ ง ฉาง ยั ง ไล่ ตี ไ ม่ ป รานี ตั้งแต่ นั้นเป็ นต้ นมา ข้ าวก็เลยเกิดเป็ นเจ็ดหัว มีหัว เผื อ ก หั ว มั น บางจ าพวกก็ เป็ นข้ า วเช่ นเดิ ม แต่ เมล็ ด เล็ ก ลงมาก จนในที่ สุ ด ขนาดเท่ าทุ ก วั น นี้ ” ข้อความจากหนังสื อนิ ท านลาว เรื่ อง กาเนิ ดข้าว โดย ส.พลายน้ อ ย ข้ า วเป็ น บ่ อ เกิ ด หนึ่ งทาง วัฒ นธรรม และมี วิ ว ัฒ นาการสื บมา ปั จ จุ บ ั น สามารถกล่ า วได้ว่า เรื่ อ งราวที่ เกี่ ย วกับ ข้า วเป็ น เรื่ องที่ผูกพันกับชี วิตคนไทยและประเทศแทบลุ่ม น้ าโขงมานาน ข้าวเหนี ยว (ล้านนาเรี ยก ข้าวนึ่ ง) เป็ นพั น ธุ์ พ้ื นเมื อ งดั่ ง เดิ ม ที่ บรรพชนคนใน อุษ าคเนย์ป ลู กกิ นเป็ นอาหารมานานไม่น้อยกว่า ๓,๐๐๐ ปี มาแล้ว นักโบราณคดี ขุดพบแกลบข้าว เมล็ดป้ อมตระกูลข้าวเหนี ยวอยู่ทวั่ ไปตั้งแต่ก่อน สมัยประวัติศาสตร์สืบมาจนยุคทวารวดีถึงกรุ งศรี อยุธยา เป็ นข้าวที่ คนทัว่ ไปกิ นเป็ นอาหารและทา ขนมเป็ นข้า วต้ม มัด ข้า วต้ม ลู ก โยน ข้า วหลาม ข้าวจี่ เป็ นต้น บางที เรี ยกข้าวชนิ ดนี้ ว่า ข้าวไพร่ เพราะเป็ นข้าวของสามัญชน ตรงข้ามกับข้าวเจ้า เป็ นพันธ์ขา้ วจากอินเดี ย (ปรานี วงษ์เทศ, 2548) เรื่ องราวเกี่ ยวกับ ข้าวกลายเป็ นพื้ นฐานส าคัญใน การสร้างสรรค์ให้เกิดประเพณี ที่มีขา้ วเหนี ยวเป็ น เครื่ องบูชา ในบทความนี้ ผู ้เขี ย นจะน าเสนอเรื่ อ ง ความสัมพันธ์ประเพณี นมัสการพระธาตุหลวงกับ การตัก บาตรด้ว ยข้า วเหนี ย วซึ่ งมี ที่ ม าจากการ
สังเกตเห็นอาหารที่ตกั บาตรในงานนมัสการพระ ธาตุ ห ลวง โดยเฉพาะภาพประทับ ใจที่ ค นลาว หลายๆ ชนเผ่าต่างหิ้ วกระติ๊บข้าวเหนียวมาเพื่อตัก บาตร เมื่ อ วัน ที่ ๕ และ ๖ พฤศจิ ก ายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ผู ้เขี ย นได้มี โ อกาสเดิ น ทางไปศึ ก ษา ประเพณี บุญนมัสการพระธาตุหลาวที่ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวหรื อ สปป.ลาว (The Lao People’s Democratic Republic ห รื อ Lao PDR.) ในบทความนี้ จะขอเรี ยกสั้ นๆว่าประเทศ ลาว และ ประชาชนลาว ดิ นแดนที่ ได้ชื่ อว่าเป็ น ประเทศที่ เก่ า แก่ มี วฒั นธรรมที่ เจริ ญ รุ่ ง เรื องมา ยาวนาน และยึ ด มั่น ที่ จะรั ก ษาขนบธรรมเนี ย ม วั ฒ น ธ รรม (ส ภ าแห่ งชาติ แห่ งส าธารณ รั ฐ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ป ร ะ ช า ช น ล า ว , 2 5 5 6 : www.neda.or.th) มหกรรมบุ ญ นมัส การพระธาตุ หลวง วัน ขึ้ น ๑๔ ค่ า เดื อน ๑๒ เป็ นประเพณี ที่ ชาวลาวได้ป ฏิ บ ัติ ต่ อ เนื่ อ งกัน มาอย่า งยาวนาน การจัดงานจะมีกิจกรรมหลัก ๕ กิ จกรรมด้วยกัน คื อ ๑. แห่ ป ราสาทผึ้ง ๒. ตี ค ลี ๓. ตัก บาตร ๔. จัด แสดงและจาหน่ ายสิ น ค้าภายในประเทศ และจากต่ างประเทศ ๕. แสดงศิ ล ปะวรรณคดี จากศูนย์กลางและท้องถิ่ น ผูห้ ญิงที่ จะร่ วมพิธี ทาบุ ญตักบาตรต้องนุ่ งผ้าซิ่ นให้เรี ยบร้อย ห้าม จุ ด หมากกะโพก ( ปะทัด ) ในเขตนครหลวง เวียงจันทน์ (สานักงานผูช้ ่วยทูตทหาร ไทย/เวียงจันทน์, 2552 : http://www.ounon19.com/culture3.htm) จากคาบอกเล่าของคุ ณจันทะสอน สี จนั ทองทิ บ ผูน้ าเที่ ย วลาว ภู มิ ปั ญ ญาอาหารที่ ข าด ไม่ ไ ด้ ที่ ต้ อ งน ามาท าบุ ญ ตัก บาตรในงานบุ ญ นมัสการพระธาตุหลวงนั้นจะใช้ ไก่ยา่ ง และข้าว หลาม ซึ่ งเป็ นกุ ศ โลบายที่ ป ฏิ บ ัติ สื บ ต่ อ กัน มา