ฉบับที่ ๙ ปีที่ ๒ ประจำ�เดือนมีนาคม - เมษายน ๒๕๕๗
http://cac.kku.ac.th
เครือข่ายศิลปวัฒนธรรม สำ�นักวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น
cackku2516@gmail.com
ศิ ล ปิ น มรดกอี ส าน-วั ฒ นธรรมสั ม พั น ธ์ ‘๕๗ เชิ ด ชู ศิ ล ปิ น ต้ น แบบ ยกย่ อ งผู้ อุ ทิ ศ เพื่ อ สั ง คม มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยฝ่ายศิลปวัฒนธรรม และสำ�นักวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย ขอนแก่น จัดพิธมี อบรางวัลเชิดชูเกียรติศลิ ปินมรดกอีสานและผูม้ งี านดีเด่นด้านวัฒนธรรม สัมพันธ์ ประจำ�ปี ๒๕๕๗ เนือ่ งในวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และวันอนุรักษ์มรดกไทย ในวันพุธ ที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๗ ณ เวที กลางแจ้ง สำ�นักวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีผู้ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ ศิลปินมรดกอีสานและผู้ที่มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์เข้ารับรางวัลจำ�นวนทั้ง สิ้น ๒๙ รายชื่อ โดยแบ่งเป็นอมรศิลปินมรดกอีสาน ๔ ท่าน รางวัลเชิดชูเกียรติศิลปิน มรดกอีสาน ประกอบด้วย สาขาทัศนศิลป์ สาขาวรรณศิลป์ และสาขาศิลปะการแสดง จำ�นวน ๑๖ ท่าน ซึ่งในจำ�นวนนั้นมีชื่อที่เราคุ้นหู และเป็นที่รู้จักกันดี อาทิ “สุเทพ วงศ์กำ�แหง” สาขาขับร้องเพลงไทยสากล ตำ�นานยังมีชีวิต ผู้ขับกล่อมบทเพลงอันไพเราะด้วย หัวใจแห่งศิลปิน “ณัฐธพงษ์ สร้อยสูงเนิน” หรือ “สัญญา พรนารายณ์” สาขาขับร้อง เพลงลูกทุ่ง เจ้าของเพลงดังต้นฉบับเดิม ซึ่งเป็นที่นิยมอย่างไม่เสื่อมคลาย “วีรธรรม ตระกูลเงินไทย” สาขาหัตถกรรมผ้าทอมือ ผูฟ้ นื้ ฟูการทอผ้ายกทองให้กลับมามีชวี ติ อีก ครัง้ “สมบูรณ์ สมพันธ์” หรือ “ดอย อินทนนท์” สาขาประพันธ์เพลงลูกทุง่ ผูท้ ใี่ ช้ปลาย ปากกาส่งศิลปินให้มีชื่อเสียงมากมาย อาทิ ป.ฉลาดน้อย ส่งเสริม บานเย็น รากแก่น ผ่องศรี วรนุช ด้านรางวัลอมรศิลปินมรดกอีสาน เป็นรางวัลพิเศษที่มอบให้กับศิลปิน ผู้มีผลงานที่เป็นอมตะ และยังคงมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในยุคปัจจุบันให้กับศิลปิน ๔ ท่าน
ได้แก่ “ศาสตราจารย์พิเศษ เฉลิม นาคีรักษ์” สาขาทัศนศิลป์ จิตรกรรมไทยประยุกต์ ศิลปินอาวุโสฝีมือชั้นครูเมืองดอกบัว เจ้าของผลงานที่นิยามได้ว่าแขนอ่อนเหมือนงวง ช้าง ตาหวานเหมือนตากวาง “คำ�พูน บุญทวี” สาขาวรรณศิลป์ นวนิยาย-สารคดี คน ไทยคนแรกที่ได้รับรางวัลซีไรท์จากนวนิยาย “ลูกอีสาน” “พูน สามสี” สาขาศิลปะการ แสดง ดนตรีพื้นบ้านอีสานใต้ ผู้พลิกฟื้นศิลปะการแสดงพื้นบ้านอีสานใต้อย่างแท้จริง “สุนทร ไชยรัตนโชติ” หรือ “หมอลำ�สุนทร ชัยรุง่ เรือง” สาขาศิลปะการแสดง ลำ�กลอน เจ้าของกลอนลำ� “เต้ยบั้ม” ที่เป็นเอกลักษณ์ สำ�หรับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสาน ประจำ�ปี ๒๕๕๗ แบ่งเป็น ๓ สาขา ดังนี้ สาขาทัศนศิลป์ มีผู้ได้รับรางวัล ๓ ท่าน ได้แก่ “ครุธ ภูมิแสนโคตร” สาขา พหุศิลป์ท้องถิ่น, “สมคิด สอนอาจ” สาขา ประติมากรรมเทียนพรรษา, “วีรธรรม ตระกูลเงินไทย” สาขา หัตถกรรมผ้าทอมือ สาขาวรรณศิลป์ มีผไู้ ด้รบั รางวัล ๓ ท่าน ได้แก่ “ประยูร ลาแสง” หรือ “พระไม้” สาขา วรรณกรรมร่วมสมัย, “โฆษิต ดีสม” สาขา ประพันธ์เพลงพืน้ บ้านอีสานใต้, “สมบูรณ์ สมพันธ์” หรือ “ดอย อินทนนท์” สาขา ประพันธ์เพลงลูกทุ่ง สาขาศิลปะการแสดง มีผู้ได้รับรางวัล ๑๐ ท่าน ได้แก่ “สุเทพ วงศ์กำ�แหง” สาขา ขับร้องเพลงไทยสากล, “ประยงค์ ชื่นเย็น” เรียบเรียง เสียงประสาน, “ณัฐธพงษ์ สร้อยสูงเนิน” หรือ “สัญญา พรนารายณ์” สาขา ขับร้อง เพลงลูกทุ่ง, “บุญสม สังข์สุข” หรือ “บุญสม กำ�ปัง” สาขา เพลงโคราช, “บรรเทิง ( อ่านต่อหน้า ๒ )
๒I ( ต่อจากหน้า ๑ ) อ่อนตา” สาขา ลำ�กลอน, “ทรงรัฐ อ่อนสนิท” หรือ “รุ่งฟ้า กุลาชัย” สาขา ลำ�เพลิน ประยุกต์, “ชูเกียรติ บุญบู้” สาขา ดนตรีพื้นบ้านอีสาน แคน, “บัวชัยศิลป์ แก้วแสน ไชย” สาขา ดนตรีพื้นบ้านอีสาน แคน, “อุ่น ทมงาม” สาขา ดนตรีพื้นบ้านอีสาน ซอ และ “มนเทียร บุญธรรม” สาขา ดนตรีพื้นบ้านอีสาน ซอ ในส่วนผู้ที่มีผลงานดีเด่นด้านวัฒนธรรมสัมพันธ์ แบ่งเป็น ๖ สาขา จำ�นวนทั้ง สิ้น ๖ ท่าน และ ๓ องค์กร ดังนี้ สาขานิเวศน์วัฒนธรรมและส่งแวดล้อม ได้แก่ ศูนย์ศึกษาศิลปะธรรมชาติเด็กรักษ์ป่า, สาขาวิสาหกิจชุมชนและธุรกิจชุมชน ได้แก่ ศูนย์พัฒนาชนบทผสมผสานบ้านไผ่ (ศูนย์มีชัย) จังหวัดขอนแก่น, สาขาศิลปกรรม ได้แก่ ทนง โคตรชมภู สาขา ศิลปะเพื่อสังคม, สมจิตร ทองบ่อ หรือ สมจิตร บ่อทอง สาขา ขับร้องเพลงลูกทุ่งหมอลำ�, เกรียงศักดิ์ ปะรุนรัมย์ สาขา กันตรึม, สาขาภาษา และวรรณกรรม ได้แก่ สุรินทร์สโมสร, สาขาศาสนาและประเพณี ได้แก่ สมานจิตต์ ผุยชา สาขา ศาสนพิธี และสาขาสื่อสารวัฒนธรรม ได้แก่ ประยูร จันทรุสอน หรือ “ฟากฟ้าแดนไกล” และ รศ.อุดม บัวศรี สำ�หรับกิจกรรมเริ่มในเวลา ๑๓.๐๐ น. เป็นต้นไป เริ่มด้วยการเสวนาวิชาการ “๕๐ ปี มข. ยกยอศิลปินมรดกอีสานและวัฒนธรรมสัมพันธ์” โดย หมอลำ�ฉวีวรรณ ดำ�เนิน (ศิลปินแห่งชาติ), อ.ทวี รัชนีกร (ศิลปินแห่งชาติ/ศิลปินมรดกอีสาน ปี ๕๔), ชานนท์ ภาคสิริ (ศิลปินมรดกอีสาน ปี ๕๑), ผู้จัดการ จิม ทอมสัน ฟาร์ม (รางวัลวัฒนธรรม สัมพันธ์ ปี ๕๕), อ.โชคชัย ตักโพธิ์ (ศิลปินมรดกอีสาน ปี ๕๐), สุมาลี สุวรรณกร (ประธานสโมสรนักเขียนภาคอีสาน) ดำ�เนินรายการโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ทรงวิทย์ พิมพะกรรณ์ ร่วมกันถ่ายทอดประสบการณ์และบอกเล่าเรื่องราวของศิลปินมรดก อีสานและผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ในการร่วมการอนุรักษ์ สืบสาน ต่อยอด และประยุกต์ใช้ศิลปวัฒนธรรมให้เข้ากับยุคสมัยปัจจุบัน และนำ�ไปใช้ได้หลากหลาย รูปแบบ และหลากหลายโอกาส โดยทีย่ งั ยึดแนวทางการศิลปะ ประเพณี และวัฒนธรรม ดั้งเดิมของบรรพบุรุษ จากนัน้ เป็นพิธเี ปิดนิทรรศการ “เชิดชูเกียรติศลิ ปินมรดกอีสาน และวัฒนธรรมสัมพันธ์ ประจำ�ปี ๒๕๕๗” เป็นการเชิดชูเกียรติคุณ บอกเล่าประวัติและรายละเอียดผลงาน ของศิลปินมรดกอีสานและผูท้ มี่ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ ทัง้ ๒๖ ท่าน ๓ องค์กร และพิธกี ล่าวคำ�อาเศียรวาทราชสดุดสี มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเทิดพระเกียรติองค์ขัตติยะนารี พระผู้ทรงอุปถัมภ์ศิลปวัฒนธรรมของชาติสืบมา พร้อมด้วยพิธีมอบโล่เชิดชูเกียรติให้แก่ผู้ที่ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสาน ประจำ�ปี ๒๕๕๗ โดย รศ.ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น และผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ โดย ผศ.วิชัย ณีรัตนพันธุ์ ที่ปรึกษาด้านศิลป วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้เกียรติผู้มอบโล่เชิดชูเกียรติดังกล่าว
“ครู เฮ็ด ดี” นิ ท รรศการเชิ ง สร้ า งสรรค์ ถ่ า ยทอด
ประสบการณ์ ศิ ล ปะศึ ก ษา
หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับ สาขาวิชาศิลปศึกษา คณะศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดนิทรรศการ Art Ex. by Art ED ครั้งที่ ๒๓ “ครู เฮ็ด ดี” โดยนักศึกษาชั้นปีที่ ๔ สาขาวิชาศิลปศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น นิทรรศการที่ถ่ายทอดประสบการณ์ การสั่งสมทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ ความชำ�นาญในการสร้างสรรค์ผลงาน เป็นการแกลเปลี่ยนแนวความคิดกระบวนการ สร้างสรรค์ผลงาน เพือ่ เผยแพร่ทงั้ สาธารณะต่อไป ด้วยผลงานศิลปะหลากหลายแขนง ทั้งจิตรกรรม ประติมากรรม สื่อผสม สื่อนฤมิตศิลป์ และภาพถ่าย จากศิลปินรุ่นใหม่ กว่า ๒๘ ผลงาน โดยพิธีเปิดจัดขึ้นเมื่อวันจันทร์ ที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๗ ได้รับเกียรติจาก รศ.ดร.กิตติชยั ไตรรัตนศิรชิ ยั อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นประธาน ร่วมด้วย รศ.ดร.นิยม วงศ์พงษ์ค�ำ รองอธิการบดีฝา่ ยชุมชนสัมพันธ์และสือ่ สารองค์กร และผูบ้ ริหาร คณาจารย์ นักเรียน นักศึกษา และศิลปินรุ่นอิสระ ร่วมเป็นเกียรติและชื่นชมผลงาน นายธีระ กิตติศิริวัฒนกุล ตัวแทนนักศึกษา กล่าวว่า นิทรรศการในครั้งนี้คำ�ว่า ครู เฮ็ดดี เป็นคำ�ภาษาอีสาน หมายถึงครูทำ�ดี เมื่อมองแยกแต่ละคำ�จะตีความได้ว่าการ เป็นผู้สอนศิลปะนอกจากจะสอนห้องเรียนแล้วยังต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับศิษย์ใน ทุกวินาที เพราะครูคือต้นแบบ อีกทั้งคำ�ว่าครูเฮ็ดดี ยังเป็นคำ�ที่สร้างกำ�ลังใจ และ ชมเชยในเวลาที่ได้ทำ�กิจกรรมต่างๆ สื่อถึงความรัก ความสามัคคี เป็นคำ�ชมเชยที่บ่ง บอกว่าทุกคนทำ�สิ่งต่างๆ ได้เป็นอย่างดี สำ�หรับนิทรรศการจัดแสดงระหว่างวันที่ ๓ - ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๗ ณ หอศิลป วัฒนธรรม มหาวทยาลัยขอนแก่น
I๓
๕๐ ปี มข. สืบสานมหาสงกรานต์ ข้าวเหนียว กลมเกลียว มัน่ ยืน
เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๗ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมสืบสานประเพณีอัน ดีงาม พร้อมเฉลิมฉลองวาระครบรอบ ๕๐ ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในงาน “๕๐ ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาสงกรานต์ ข้าวเหนียว กลมเกลียม มั่นยืน” ประจำ�ปี ๒๕๕๗ ณ อาคารจุตรมุข อุทยานเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย ได้รับเกียรติจาก รศ.ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็น ประธานในพิธเี ปิด ร่วมด้วย ผศ.วิชยั ณีรตั นพันธุ์ ทีป่ รึกษาอธิการบดีฝา่ ยศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น และผู้อาวุโส คณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยกิจกรรมภายในงานมีพิธีสรงน้ำ�พระพุทธรูปและสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย ขอนแก่น และการรดน้ำ�ขอพรจากผู้อาวุโสและคณาจารย์ที่เกษียณอายุราชการของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพือ่ เป็นการแสดงถึงความเคารพนับถือและความเป็นสิรมิ งคล แก่ลูกหลานชาวมอดินแดง พร้อมกันนี้ยังมีกิจกรรมการประกวดนางงามสงกรานต์ทั้ง ประเภทนักศึกษาและบุคลากร พร้อมการประกวดการแต่งกาย “การแต่งกายอันทรง ค่า สืบสาน สร้างสรรค์ภูมิปัญญา พื้นเมืองอีสาน” ซึ่งได้รับความสนใจจากคณะและ หน่วยงานของมหาวิทยาลัยขอนแก่นส่งตัวแทนเข้าประกวดคับคั่ง อีกทั้งการประกวด ขบวนแห่สงกรานต์ที่ยิ่งใหญ่และงดงาม บ่งบอกถึงความเป็นไทยผสมผสานกับความ เป็นพื้นบ้านอีสาน ได้รับความสนใจจากทั้งผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา รวมถึงประชาชนทั่วไปเข้าร่วมในงาน นอกจากนี้ผู้เข้าร่วมงานได้สนุกสนานกับการ แข่งขันกีฬาไทยพื้นบ้านกับการแข่งขันกีฬาหลากหลายประเภท อาทิเช่น วิ่งกระสอบ วิ่งตีวงล้อ วิ่งสามขา และความสนุกสนานจากการแสดงศิลปวัฒนธรรมอีสานโดยวง โปงลางสินไซ คณะศิลปกรรมศาสตร์อีกด้วย ร่วมด้วยกิจกรรมพิเศษเพื่อร่วมฉลอง
วาระ ๕๐ ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในโชว์การแกะสลักน้ำ�แข็งที่วิจิตรงดงาม แสดง ถึงอัตลักษณ์พื้นถิ่นชาวอีสาน ด้านผลการประกวดภายในงาน “๕๐ ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาสงกรานต์ ข้าว เหนียว กลมเกลียม มั่นยืน” ประจำ�ปี ๒๕๕๗ มีดังต่อไปนี้ การประกวดนางงามสงกรานต์ ประเภทนักศึกษา ได้แก่ ชนะเลิศ นางสาวอัจฉรา เสนานิตย์ (คณะวิทยาศาสตร์), รองชนะเลิศอันดับ ๑ นางสาวเกชรัชต์ ศรีวะรา (คณะศึกษา ศาสตร์), รองชนะเลิศอันดับ ๒ นางสาวพลอยปภัส กิตติเสนีย์ (คณะวิทยาการจัดการ) การ ประกวดนางงามสงกรานต์ ประเภทบุคลากร ได้แก่ ชนะเลิศ นางสาวจันทนา ภาชนะพูล (คณะวิศวกรรมศาสตร์), รองชนะเลิศอันดับ ๑ นางสาวศิรริ ตั น์ หันตุลา (คณะพยาบาล ศาสตร์), รองชนะเลิศอันดับ ๒ นางสาวตถตา ทองบัว (สำ�นักงานอธิการบดี), การ ประกวดการแต่งกาย“การแต่งกายอันทรงค่า สืบสาน สร้างสรรค์ภูมิปัญญา พื้นเมือง อีสาน” ได้แก่ ชนะเลิศ ทีม “คักตั๊วะ” คณะวิทยาการจัดการ, รองชนะเลิศอับดับ ๑ ทีม “ชาวสัตว์แพทย์ปลูกฝังลูกหลานรักผ้าไทย อนุรักษ์ภาษาถิ่น” คณะสัตวแพทยศาสตร์, รองชนะเลิศอันดับ ๒ ทีม “NKC เสน่ห์นาคา” มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขต หนองคาย การประกวดขบวนแห่ งานสืบสานประเพณีสงกรานต์ ประเภทบุคลากร ไม่เกิน ๑๐๐ คน ได้แก่ ชนะเลิศ คณะเทคนิคการแพทย์, รองชนะเลิศอันดับ ๑ คณะ พยาบาลศาสตร์, รองชนะเลิศอันดับ ๒ คณะเกษตรศาสตร์, การประกวดขบวนแห่ งานสืบสานประเพณีสงกรานต์ ประเภทบุคลากรมากกว่า ๑๐๐ คน ได้แก่ ชนะเลิศ คณะศึกษาศาสตร์, รองชนะเลิศอันดับ ๑ ศูนย์หัวใจสิริกิติ์, รองชนะเลิศอันดับ ๒ สำ�นักงานอธิการบดี
๔I
* รับสั่งจองและเช่าบูชาได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป *
ส่งเสริมพุทธศาสนาร่วมตักบาตร สำ�นักวัฒนธรรมแลกเปลีย่ นวัฒนธรรม พระสงฆ์ ๓๙ รูป เพือ่ ถวายเป็นเสบียงบุญ ดนตรีร่วมกับวง “Blended 328” เมือ่ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๗ ณ ศูนย์อาหารและบริการ ๑ (คอมเพล็กซ์) มหาวิทยาลัย ขอนแก่น โดยฝ่ายศิลปวัฒนธรรม สำ�นักวัฒนธรรม และสำ�นักงานบริหารจัดการทรัพย์สนิ จัดพิธที �ำ บุญตักบาตรข้าวสารอาหารแห้งพระภิกษุสงฆ์ ๓๙ รูป สำ�นักปฏิบตั ธิ รรมสีสปาวัน ต.น้ำ�พอง จ.ขอนแก่น โดยมี รศ.ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัย ขอนแก่น เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วย รศ.ดร. นิยม วงศ์พงษ์ค�ำ ผูช้ ว่ ยอธิการบดีฝา่ ย ชุมชนสัมพันธ์และสือ่ สารองค์กร ดร.สุรพล เนสุสนิ ธุ์ รองผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักวัฒนธรรม และคณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา และประชาชนทั่วไป เพื่อความเป็น สิรมิ งคลแด่มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสร้างบุญกุศล อีกทัง้ เป็นการส่งเสริม ทำ�นุบ�ำ รุง ศิลปวัฒนธรรมทีด่ ี ถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ตามโครงการปฏิบตั ธิ รรมและอยูป่ ริวาสกรรม ประจำ�ปี ๒๕๕๗ วัดป่าสีสปาวัน อ.น้ำ�พอง จ.ขอนแก่น
สำ�นักวัฒนธรรม และคณะศิลปกรรมศาสตร์ มข. ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูต สหรัฐอเมริกาประจำ�ประเทศไทย จัดคอนเสิรต์ คันทรีจ่ ากสหรัฐอเมริกาวง “Blended 328” พร้อมร่วมเวิร์คช้อปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศิลปะและวัฒนธรรม เปิดพรมแดนโลก ดนตรีตะวันออกและตะวันตก ได้รับเกียรติจาก ผศ.วิชัย ณีรัตนพันธุ์ ที่ปรึกษาด้าน ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่นร่วมมอบดอกไม้แสดงความยินดีแก่ศลิ ปิน เมือ่ วันพุธ ที่ 5 มีนาคม 2557 ณ เวทีกลางแจ้ง สำ�นักวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น นอกจากนีย้ งั มีการเสวนาเชิงปฏิบตั กิ ารเรือ่ ง “การสร้างเสริมพลังอำ�นาจให้สภุ าพ สตรี” (Women Empowerment) เพื่อสร้างแรงขับเคลื่อนในสิทธิของสตรีร่วมกับ นักเรียนและคณาจารย์ ณ ห้องประชุมชั้น 3 หอศิลปวัฒนธรรม สำ�นักวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สำ�นักวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๑๒๓ ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น โทรศัพท์ ๐ ๔๓๓๓ ๒๐๓๕ โทรสาร ๐ ๔๓๓๓ ๒๗๖๐ ภายใน ๑๑๙๑๐ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผศ.วิชัย ณีรัตนพันธุ์ บรรณาธิการอำ�นวยการ ผศ.ดร.รักพงษ์ เพชรคำ� รองบรรณาธิการอำ�นวยการ ดร.สุรพล เนสุสินธุ์ กองบรรณาธิการ ณัฐวุฒิ จารุวงศ์, วิทยา วุฒิไธสง, คณิตตา คลังทอง, ชาญวิทย์ แซ่โค้ว, พิธัญญา พิรุณสุนทร, บุญยืน เปล่งวาจา การเงิน ตุลยา คำ�สวาท, ศิริมุกดา โพธิ ประสานงานทั่วไป ไกรฤกษ แพงมา