ศิลปินมรดกอีสาน สืบสานวัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

Page 1




ค�ำถวายอาศิรวาทราชสดุดี

และค�ำกล่าวถวายชัยมงคล เนื่องในโอกาสมหามงคลวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และวันอนุรักษ์มรดกไทย วันจันทร์ ที่ ๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๑

ขอพระราชทานกราบบังคมทูล ทราบฝ่าละอองพระบาท ข้าพระพุทธเจ้า รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในนามของ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่น คณาจารย์ นักศึกษา เจ้าหน้าที่และพสกนิกรทั้งปวง ขอพระราชทานโอกาส กราบบังคมทูล แสดงความจงรักภักดี และส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ทีท่ รงปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจในด้านต่าง ๆ ครอบคลุมงานส�ำคัญ ๆ อันเป็นประโยชน์หลักของบ้านเมือง อีกทั้งพระราชทานความช่วยเหลือแก่ประชาชนที่มี ความยากล�ำบากให้มสี ภาพความเป็นอยู่ทดี่ ขี นึ้ เป็นทีป่ ระจักษ์แก่ชาวไทยและนานาประเทศ ด้วยพระปรีชาสามารถ วิริยะอุตสาหะ พระเกียรติคุณ ขจรขจายจากภูมภิ าคและทุกภาคส่วนของไทยสู่ประชาคมโลก เป็นทีป่ ระจักษ์ชดั โดยทัว่ กันว่า ใต้ฝ่าละอองพระบาท ทรงได้บำ� เพ็ญพระองค์ให้เป็นประโยชน์แก่ชาติบ้านเมือง เป็นอเนกปริยาย โดยเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเยีย่ มเยียนราษฎรในภูมภิ าคต่าง ๆ อยูเ่ สมอ ในด้านการพัฒนาบ้านเมือง เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงศึกษาและช่วยเหลือกิจการโครงการตามพระราชด�ำริทุกโครงการ พร้อมทรงรับ พระบรมราโชบายมาทรงด�ำเนินการสนองพระเดชพระคุณในด้านต่าง ๆ นับเป็นการดูแลสอดส่องพระราชกรณียกิจ ส่วนหนึ่งต่างพระเนตรพระกรรณ ในด้านการพระศาสนา มีพระหฤทัยมั่นคงในพระรัตนตรัยและสนพระหฤทัย ศึกษาหาความรู้ด้านพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นอย่างแตกฉาน ในส่วนราชการในพระองค์นั้น ก็ได้สนอง พระเดชพระคุณในพระราชภารกิจที่ทรงมอบหมายจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี พระราชกรณียกิจด้านการศึกษา ด้านการต่างประเทศ ด้านเกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม ด้านการแพทย์แผนไทย ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านกองทุนและธุรกิจชุมชน ด้านศิลปกรรม ด้านภาษาและวรรณกรรม ด้านปรัชญา ศาสนา และประเพณี ด้านโภชนาการ เป็นต้นแบบแห่งวิรยิ ะ อุตสาหะให้พสกนิกรทุกหมู่เหล่าได้เจริญรอยตาม และเป็นเครื่องชี้น�ำ ส่งเสริมให้ปัจเจกบุคคล องค์กร หน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ด�ำเนินตาม และสร้างสรรค์ผลงานในหลากหลายรูปแบบ ดังปรากฏเป็นต้นธารให้เกิด การเชิดชูเกียรติของศิลปินมรดกอีสาน ผูม้ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพือ่ ให้ผลงาน ของบุคคลเหล่านัน้ เป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้า เพื่อสืบสานเป็นมรดกทางภูมิปัญญาให้แก่ขุมปัญญามรดกอีสานและ มนุษยชาติสืบไป ในโอกาสอันเป็นอภิลักขิตสมัยวันคล้ายวันพระราชสมภพ แห่งใต้ฝ่าละอองพระบาท ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมจิตอธิษฐาน อัญเชิญคุณพระศรีรัตนตรัยและกุศลบุญราศีที่พระองค์ทรงบ�ำเพ็ญตลอดพระชนมายุ เพื่อประโยชน์และความผาสุกแก่ปวงชน จงรวมกันเป็นมหันตเดชานุภาพ อ�ำนวยพรให้ใต้ฝ่าละอองพระบาท ทรงพระเจริญชนม์ยิ่งยืนนาน ตราบชั่วจิรัฐิตกิ าล ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า พสกนิกรจังหวัดขอนแก่น


สาร รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทยเรานั้นทั่วทุกภูมิภาคต่างมีวัฒนธรรมและวิถีการด�ำรงชีวิตที่หลากหลาย มรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรมเหล่านีต้ า่ งได้รบั การส่งต่อ ผ่านประเพณี พิธกี รรม การละเล่น และวัตถุเครือ่ งมือต่าง ๆ ทีแ่ สดงออก ถึงอัตลักษณ์และความเป็นตัวตนของผู้สร้างวัฒนธรรม ดังนั้นสิ่งส�ำคัญที่คนในรุ่นปัจจุบันต้องมุ่งเน้นคือ การเห็น คุณค่าในสิ่งเหล่านั้นและสืบทอดภูมิปัญญาอย่างต่อเนื่องจากรุ่นสู่รุ่น เพื่อคงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมอันดีงามที่เป็น สมบัติล�้ำค่าของแผ่นดิน และสิ่งที่แสดงให้เห็นลักษณะเฉพาะของแต่ละท้องถิ่นที่แตกต่างกันไปอีกด้วย ปัจจุบันการแลกเปลี่ยนข้ามวัฒนธรรมในกระแสโลกาภิวัตน์ ส่งผลกระทบต่อความเปลี่ยนแปลงจาก ภูมิปัญญาดั้งเดิมไปสู่วิถีชีวิตแบบใหม่ ท�ำให้วัฒนธรรมดั้งเดิมได้รับผลกระทบที่ ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ดังนั้นเพื่อเป็น การด�ำรงรักษาวัฒนธรรมให้อยูอ่ ย่างยัง่ ยืนมัน่ คง จึงต้องมีการให้คณ ุ ค่าและความส�ำคัญกับภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ อย่าง เป็นรูปธรรม ด้วยเหตุดงั กล่าวมหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงได้จดั งานเชิดชูเกียรติศลิ ปินมรดกอีสานและผูม้ ผี ลงานดีเด่น วัฒนธรรมสัมพันธ์ขึ้นในทุกปี ซึ่งเป็นพันธกิจส�ำคัญของมหาวิทยาลัยขอนแก่นในการอนุรักษ์และส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรมอีสานให้คงอยู่ และสร้างความเข้มแข็งให้สงั คมในเชิงวัฒนธรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ อีกทัง้ ยังเป็น แหล่งเรียนรู้ ให้แก่ชนรุ่นหลังได้ศึกษาค้นคว้าสืบไป

(รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย) อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


สาร รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ และประธานการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสานและผู้มีผลงานดีเด่น วัฒนธรรมสัมพันธ์

ในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และวันอนุรักษ์ มรดกไทย มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้น�ำโอกาสมหามงคลนี้เชิดชูเกียรติอมรศิลปินมรดกอีสานผู้ล่วงลับ แต่ยังคง เป็นต�ำนานและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ศิลปินรุ่นหลังได้ศึกษาค้นคว้าวิจัยต่อไป ศิลปินมรดกอีสานผู้เป็นต้นแบบ การสร้างสรรค์ผลงานแขนงต่าง ๆ ทั้งทัศนศิลป์ วรรณศิลป์ และศิลปะการแสดง รวมถึงผู้มีผลงานดีเด่น วัฒนธรรมสัมพันธ์ที่ขับเคลื่อนและพัฒนาสังคมด้วยฐานรากด้านวัฒนธรรมอีสาน ส�ำหรับการมอบโล่เชิดชูเกียรติ อมรศิลปินมรดกอีสาน ศิลปินมรดกอีสานและผูม้ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ จะจัดขึน้ ในวันจันทร์ที่ ๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๑ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นสถาบันการศึกษาที่น�ำศิลปวัฒนธรรมมาขับเคลื่อนและพัฒนามหาวิทยาลัย อย่างต่อเนื่อง โดยก�ำหนดเสาหลักยุทธศาสตร์ที่ ๓ Culture and Care Community เป็นองค์กรที่ห่วงใยและ ดูแลชุมชน รวมทั้งส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ภายใต้พันธกิจที่ ๕ ด้านการบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม คือ เป็นศูนย์กลางด้านการอนุรกั ษ์ ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และภาษา บูรณาการศิลปะและวัฒนธรรม เข้ากับการเรียนการสอน การวิจยั และการบริการวิชาการ พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรูด้ า้ นศิลปะและวัฒนธรรม ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือสูอ่ นุภาคลุม่ น�ำ้ โขง ภูมภิ าคอาเซียน และระดับนานาชาติ ส�ำหรับการยกย่องเชิดชูเกียรติ อมรศิลปินมรดกอีสาน ศิลปินมรดกอีสาน และผู้ที่มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์เป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์และพันธกิจของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมให้เป็นรากฐาน ที่มั่นคงของประเทศต่อไป

(รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ) รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


สาร นายบัญชา พระพล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ รักษาการในต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการศูนย์วัฒนธรรม วันที่ ๒ เมษายน ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี อีกทั้งยังเป็นวันอนุรักษ์มรดกไทย เพื่อเทิดพระเกียรติแด่องค์วิศิษฏศิลปิน ผู้ทรงอุปถัมภ์ศิลปวัฒนธรรม ของชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่นจึงได้จัดกิจกรรมเชิดชูเกียรติอมรศิลปินมรดกอีสาน ศิลปินมรดกอีสาน และผู้มี ผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ขึ้น ด้วยมหาวิทยาลัยขอนแก่นมีอุดมการณ์แน่วแน่ในการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ให้มีความเจริญวัฒนา และมุ่งมั่นสนับสนุนผู้สร้างผลงานศิลปวัฒนธรรมอีสาน ให้มีก�ำลังใจในการรังสรรค์ผลงาน ที่มีคุณค่าสืบไป มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้เชิดชูเกียรติผู้ที่สร้างต�ำนานความดี ให้เกิดเป็นมูนมังมรดกที่มีคุณค่าต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติ ผ่านนิทรรศการและกิจกรรมเชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสาน รวมถึงผู้มีผลงานดีเด่น วัฒนธรรมสัมพันธ์ เป็นประจ�ำทุกปี ตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๔๘ - ๒๕๖๑ ของการสืบสานคุณค่ามรดกอีสาน เพื่อให้สมนาม “มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขุมปัญญาแห่งอีสาน” ในนามของฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ พร้อมด้วยศูนย์วฒ ั นธรรม ขอขอบคุณคณะกรรมการ ทุกท่านทุกฝ่าย ที่มีส่วนช่วยให้ โครงการนี้ด�ำเนินงานได้บรรลุวัตถุประสงค์ ด้วยความร่วมมือประสานงานกัน อย่างเต็มก�ำลังความสามารถ สุดท้ายขอแสดงความชืน่ ชมยินดีกบั ศิลปินมรดกอีสานและผูม้ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรม สัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ มา ณ โอกาสนี้ด้วย

(นายบัญชา พระพล)

ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ รักษาการในต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ ๓๔๓ / ๒๕๖๑) เรือ่ ง ประกาศรายชือ่ ผู้ ได้รบั การยกย่องเชิดชูเกียรติศลิ ปินมรดกอีสาน เนือ่ งในโอกาสวันคล้ายวันพระราช สมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจ�ำปี ๒๕๖๑

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ ๑๙๘๘/๒๕๖๐) ลงวันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๐ เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ นั้น บัดนี้ การพิจารณาคัดเลือกศิลปินมรดกอีสาน ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้สนิ้ สุดลงแล้ว มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงขอประกาศรายชื่อผู้ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสาน เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ดังมีรายชื่อโดยแบ่ง ตามสาขา ดังนี้ รางวัลอมรศิลปินมรดกอีสาน มีผู้ ได้รับรางวัล ๒ ท่าน ได้แก่ ๑. ดร.พิมพ์ รัตนคุณสาสน์ (สาขาวรรณศิลป์) ๒. นายปิ่น ดีสม (สาขาศิลปะการแสดง) สาขาทัศนศิลป์ มีผู้ ได้รับรางวัล ๑ ท่าน ได้แก่ ๑. รองศาสตราจารย์สุวัฒน์ จิตต์ปราณีชัย (ภาพถ่าย) สาขาวรรณศิลป์ มีผู้ ได้รับรางวัล ๑ ท่าน ได้แก่ ๑. นายสังคม เภสัชมาลา (วรรณกรรมปัจจุบัน) สาขาศิลปะการแสดง มีผู้ ได้รับรางวัล ๕ ท่าน ได้แก่ ๑. นางบุญศรี ยินดี (นักแสดงภาพยนตร์) ๒. นางกฤษณา วรรณสุทธิ์ (หมอล�ำกลอน) ๓. นางอรอุมา จันทรวงษา (หมอล�ำกลอน) ๔. นางบุดษา แถววิชา (หมอล�ำเรื่องต่อกลอน) ๕. นางอุไร ฉิมหลวง (หมอล�ำเรื่องต่อกลอน) จึงประกาศมาให้ทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑

(รองศาสตราจารย์เกรียงไกร กิจเจริญ) รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ ปฏิบัติการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ ๓๔๒ / ๒๕๖๑) เรื่อง ประกาศรายชื่อผู้ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ---------------------------------------------------------------------------

ตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ ๑๙๘๗/๒๕๖๐) ลงวันที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๐ เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ ประจ�ำปี พ.ศ.๒๕๖๑ นั้น บัดนี้ การพิจารณาคัดเลือกผูม้ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ ประจ�ำปี พ.ศ.๒๕๖๑ ได้สนิ้ สุดลงแล้ว มหาวิทยาลัย ขอนแก่น จึงขอประกาศรายชื่อผู้ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ เนื่องในโอกาส วันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวันอนุรกั ษ์มรดกไทย ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ดังมีรายชื่อโดยแบ่งตามสาขา ดังนี้ สาขาเกษตรกรรม มีผู้ ได้รับรางวัล ๓ ท่าน ได้แก่​่ ๑. นายอดิศร เหล่าสะพาน ๒. นายวิรัตน์ โพธิ์ศรีเรือง ๓. นายถิน สีท้าว สาขาหัตถกรรม มีผู้ ได้รับรางวัล ๑ ท่าน ได้แก่ ๑. นายกองมี หมื่นแก้ว (ผ้าพื้นเมือง) สาขาการแพทย์และเภสัชกรรมไทย -ไม่มีผู้ ได้รับรางวัล- สาขานิเวศน์วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม -ไม่มีผู้ ได้รับรางวัล สาขาวิสาหกิจชุมชน มีผู้ ได้รับรางวัล ๑ ท่าน และ ๑ กลุ่ม ได้แก่ ๑. นายสว่าง สุขแสง ๒. กลุ่มพรรณไม้ สาขาศิลปกรรม มีผู้ ได้รับรางวัล ๔ ท่าน ได้แก่ ๑. นายสมศักดิ์ มงคลวงศ์ (จิตรกรรม) ๒. นายพิทยา บุญลา (แกะสลัก) ๓. นายศิลากร ทับทิมไสย (จิตรกรรมฝาผนัง) ๔. นายสมบัติ ยอดประทุม (หนังประโมทัย) สาขาภาษาและวรรณกรรม -ไม่มีผู้ ได้รับรางวัล สาขาศาสนาและประเพณี -ไม่มีผู้ ได้รับรางวัล/สาขาอาหารและโภชนาการ


~๒~

สาขาอาหารและโภชนาการ -ไม่มีผู้ ได้รับรางวัลสาขาสื่อสารวัฒนธรรม มีผู้ ได้รับรางวัล ๕ ท่าน ได้แก่ ๑. นางชนิดาภา มั่นสนธิ์ ๒. ดร.อ�ำคา แสงงาม ๓. นายสีน�้ำ จันทร์เพ็ญ ๔. นายวิเชียร สาระวัน “สนธยา กาฬสินธ์ุ” ๕. นายเจริญ สาดา

จึงประกาศมาให้ทราบโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑

(รองศาสตราจารย์เกรียงไกร กิจเจริญ)

รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ ปฏิบัติการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


สารบัญ หน้า

ค�ำถวายอาศิรวาทราชสดุดีและค�ำกล่าวถวายชัยมงคล สารอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น สารรองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สารผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ ๓๔๓/๒๕๖๑ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ ๓๔๒/๒๕๖๑ เอกองค์มหาศิลปิน เถกิงเกียรติศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑ มนัสปีติสดุดีวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ บทน�ำ อมรศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑ w ดร.พิมพ์ รัตนคุณสาสน์ w นายปิ่น ดีสม ศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑ w รองศาสตราจารย์สุวัฒน์ จิตต์ปราณีชัย w นายสังคม เภสัชมาลา w นางบุญศรี ยินดี (ป้าแดง/แม่แดง) w นางกฤษณา วรรณสุทธิ์ (หมอล�ำกฤษณา บุญแสน) w นางอรอุมา จันทรวงษา (หมอล�ำทองศรี ศรีรักษ์) w นางบุดษา แถววิชา (หมอล�ำอุษา แถววิชา) w นางอุไร ฉิมหลวง (นกน้อย อุไรพร) ประวัติอมรศิลปินและศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑ ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ w นายอดิศร เหล่าสะพาน w นายวิรัตน์ โพธิ์ศรีเรือง

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑๐ ๑๑ ๑๓ ๑๖ ๑๘ ๒๐ ๒๒ ๒๔ ๒๖ ๒๘ ๓๐ ๓๒ ๓๕ ๓๖ ๓๘ ๔๐ ๕๔ ๕๖ ๕๘


สารบัญ หน้า

w นายถิน สีท้าว w นายกองมี หมื่นแก้ว w นายสว่าง สุขแสง w กลุ่มพรรณไม้ w นายสมศักดิ์ มงคลวงศ์ w นายพิทยา บุญลา (ช่างไม้ ไท) w นายศิลากร ทับทิมไสย w นายสมบัติ ยอดประทุม w นางชนิดาภา มั่นสนธิ์ (รุ่งนภา เพชรอุบล) w ดร.อ�ำคา แสงงาม w นายสีน�้ำ จันทร์เพ็ญ w นายวิเชียร สาระวัน (สนธยา กาฬสินธุ์) w นายเจริญ สาดา ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ ท�ำเนียบศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๔๘ - ๒๕๖๐ ท�ำเนียบอมรศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐ ท�ำเนียบผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๕๑ - ๒๕๖๐ ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ ๗๕๐๐/๒๕๖๐ ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ ๗๕๐๑/๒๕๖๐ ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ ๗๕๐๓/๒๕๖๐ ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ ๗๕๐๒/๒๕๖๐ ก�ำหนดการ คณะผู้จัดท�ำ

๖๐ ๖๒ ๖๔ ๖๖ ๖๘ ๗๐ ๗๒ ๗๔ ๗๖ ๗๘ ๘๐ ๘๒ ๘๔ ๘๖ ๑๐๘ ๑๑๓ ๑๑๔ ๑๒๐ ๑๒๒ ๑๒๔ ๑๒๖ ๑๒๘ ๑๓๐


เอกองค์มหาศิลปิน ๑ คือสวรรค์สรรค์สร้างไว้คู่โลก ให้รื่นรมย์สุนทรีย์ในชีวิต

เพื่อดับโศกปลุกปลอบทุกดวงจิต ให้งดงามลายลิขิตนิจนิรันดร์ ๒

คือเอกองค์มหาศิลปิน คือสำ�เนียงขับขานกล่อมวารวัน

คือบุปผาบนแผ่นดินดั่งวาดฝัน คือหยาดทิพย์อันกรองกลั่นแด่ผองชน ๓

จงเสพศิลป์ให้ลึกซึ้งถึงแก่นแท้ จงเอื้อเฟื้อด้วยรักแด่มวลคน

จงเผื่อแผ่ไมตรีที่หลากล้น เพื่อเสกโลกที่ร้อนรนลงเป็นเย็น ๔

จงสดับใต้อำ�นาจศิลปะ จงยินดีในตนที่พึงเป็น

จงปล่อยวางลดละลำ�เค็ญเข็ญ จงเพียงพอประมาณเห็นด้วยตาตน ๕

เพื่อยังโลกร่มเย็นทุกลุ่มหล้า ทุกชีวิตเทียมเท่าความเป็นคน

เพื่อยังคนคงค่าทุกแห่งหน ทรงสิทธิ์บนสิ่งศิลป์เสมอไป ๖

ศิลปะจักประเทืองประทังชีพ โลกทั้งโลกชนผองประคองใจ

ศิลปินทั่วทวีปจักสรรค์ให้ ประโลมหล้าอุ่นใจนิรันดร์เทอญ ๚๛ สมคิด สิงสง ศิลปินมรดกอีสาน ประพันธ์


ร่ายสุภาพ

เถกิงเกียรติศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑

น้อมนมัสพระทศพล ผู้เลิศล้นพระกรุณา เหล่าบรรดามวลมนุษย์ พร่างพิสุทธิ์สัจธรรม ชนน้อมน�ำสักการ สืบสานพระพุทธศาสนา ก่อปัญญาเพริศแพร้ว อร่ามแผ้วท�ำดี วรรณคดีสอ่ งทาง แสนสะอางผ่องแผ้ว กวีกล่อมค�ำแก้ว ก่องหล้าสถาพร

โคลงสี่สุภาพ

อมรศิลปินมรดกก้อง

กลอนล�ำ

พิมพ์ รัตนคุณสาสน์ น�ำ

เรื่องร้อย

วรรณกรรมจารจดจ�ำ

ก�ำหนด

สรภัญญ์สูดขวัญถ้อย

เลิศลักษณ์ประจักษ์จินต์

ถวิลกวีอุโฆษอื้น

อีสาน

นายปิ่น ดีสม ค�ำขาน

ยิ่งแล้ว

กันตรึมกระหึ่มตระการ

เกินกล่าว

ลายพร�่ำจ�ำเรียงแจ้ว

รื่นรื้นกมลชน

ร่ายยาว ศิลปินมรดกอีสาน ชือ่ ขับขานยินยล ท่านเป็นคนเมืองกรุง มุง่ ผดุงศิลปวัฒนธรรม เลิศล�ำ้ งานภาพถ่าย หลากหลายรางวัลน�ำเสนอ เลิศเลอเกียรติประวัติ นิทรรศการเกรียงไกร รางวัลสไลด์สีไม้ดอกไม้ประดับ “ระดับแนวหน้า” เหรียญทองภาพถ่าย ที่หนึ่งไม่มีสอง คือ รองศาสตราจารย์สุวัฒน์ จิตต์ปราณีชัย นั่นแล นายสังคม เภสัชมาลา คนมัญจาคีรี ศรีจงั หวัดขอนแก่น แดนคนเก่งกล้าสามารถ ท่านฉลาดเชิงวรรณกรรม “เรือ่ งสัน้ ส�ำนวนไทย” “เรือ่ งสัน้ ขวัญใจผูอ้ า่ น” “เงาเหงาผ่านหลังกรอบแว่น” นิยายสะท้อนแก่นชีวติ มากลิขติ เรียงร้อย รางวัล มินอ้ ยหลากสถาบัน ที่ส�ำคัญกรมวิชาการ นิตยสารกุลสตรี หนังสือดีเด่นเซเว่นบุ๊คอวอร์ด เป็นต้นแล

ขอบอกกล่าว นางบุญศรี ยินดี หรือ แม่แดง คนมัญจาคีรขี อนแก่น แม่นนักแสดงตัวประกอบคนกล้า “สะใภ้ซา่ ส์ แม่ยา่ เฮีย้ น” เวียนมา “สองเสน่หา” “ปัญญาชนก้นครัว” นัน่ ทีส่ ำ� คัญภาพยนตร์ไทย “๑๕ ค�ำ่ เดือน ๑๑” ทีเ่ ด็ด ๆ คือ “องค์บาก” ทัง้ สองภาค มากมายหลายเรือ่ งเล่น เช่น “ผูบ้ า่ วไทบ้าน” “ฮักมัน่ IN MY HOME TOWN” ประมวลราว “ซาวปี” ที่เล่นทีวีกับภาพยนตร์ จนเข้าชิงตัวประกอบหญิงรางวัลสุพรรณหงส์ทองค�ำ โน่นแล ผู้หนึ่งต้องขอยกย่อง นามกึกก้อง กฤษณา วรรณสุทธิ์ บันทึกชุด “มูนมังอีสาน” กลอนต�ำนานเซิ้งบั้งไฟ ซาบซึ้งในเพลงกล่อมลูกอีสาน ตระการชุดล�ำล่อง ถ้วยรางวัลทั้งรองและชนะเลิศ แสนพริ้งเพริศเสนาะกรรณ แสนตื้นตันวรรณศิลป์ ยามได้ยินออนซอน สุดสะออนกฤษณา บุญแสน นักนอ


อรอุมา จันทรวงษา หมอล�ำแม่นแดนอีสาน ชื่อเรียกขานหมอล�ำทองศรี ศรีรักษ์ แจ้งประจักษ์สุดยอด ศิลปินพื้นบ้าน เชี่ยวชาญด้านกลอนล�ำ ชนดื่มด�่ำยามยลยิน ระรื่นจินต์สุขหรรษา ปรารถนาเรียนรู้ครูภูมิปัญญาไทย อนุรักษ์ไว้ชนรุ่นหลังสืบต่อ สานนา

ศิลปินมรดกอีสาน ผูว้ จิ ติ รบรรจงด้านการแสดงและน�ำ้ เสียง คือ นางบุดษา แถววิชา เปีย่ มปัญญาเอกลักษณ์ แจ้งประจักษ์ในผลงาน เกริกตระการศิลปะการแสดงหมอล�ำ ขับล�ำน�ำเพลงกล่อมลูก ปลูกฝังศิษย์และเยาวชน ดั่งเป็นคนต้นแบบสร้างสรรค์ บันทึกเสียงหลากหลายชุดต่อเนื่อง เพื่อประเทืองโลกสวย เอื้ออ�ำนวยความสุข ปลุกจิตส�ำนึกเนานาน จึงได้รับรางวัลพระราชทานฯ นั้นนา อีกคน นางอุไร ฉิมหลวง คนทั้งปวงเรียก “นกน้อย อุไรพร” หมอล�ำกลอน หมอล�ำเรื่อง ชื่อฟุ้งเฟื่อง วงการคณะสะอาดนาฏศิลป์ นักร้องวงดนตรีเพชรพิณทอง ได้โล่มาครองแน่นขนัด อาทิ โครงการวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อพื้นเมือง ม.ขอนแก่น บันทึกแผ่นเสียงงานเพลง “ด�ำขี่หลี่” คักอีหลีทั้งสนับสนุนสร้างอาคารเรียน เป็นแสนบาท เป็นอีกปราชญ์ชาวบ้าน สมควรกับการยอย้อง เด้อท่านนา

รอยพลังหวังเสกสร้าง

สังคม

รอยลักษณ์สลักอารมณ์

ยั่วแย้ม

รอยเพลงพร่างสุขสม

ใจแจ่ม

รอยอื่นมิอาจแต้ม

เทียบแท้ศิลปิน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรสวรรค์ สุวรรณธาดา/ ประพันธ์

12

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


มนัสปีติ สดุดีวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ ภุชงคปยาตฉันท์ ๑๒ ประณตเบื้องพระบาทา เสวยราษฎร์ประชาชน ถวายพรพระทรงเดช พระเกียรติก้องกระเดื่องดิน นราชนกมลแด พระทรงภพสยามคาม

สุราชามหิดล มนัสชื่นระรื่นจินต์ ธ ปกเกศมิราคิน ขจรจบ ณ โลกสาม สิมอบแด่บดินทร์ราม ธ ฟุ้งเฟื่องประเทืองเทอญ๚

กลอนสุภาพ ม.ขอนแก่นเชิดชูขวัญขอสรรเสริญ สิบห้าคนสิบห้าวิถีของชีวา หนึ่งนั้นหรือคือ อดิศร เหล่าสะพาน เศรษฐกิจพอเพียงเพียงพอกิน รางวัลยอดเยีย่ มแหนบทองค�ำ ศูนย์บำ� บัดฟืน้ ฟูสลู่ ะวาง สองนั่นคือ วิรัตน์ โพธิ์ศรีเรือง จมูกข้าวกับงาด�ำท�ำวิไล ตัง้ กลุม่ ข้าวอินทรียร์ อ้ ยแก่นสารสินธุ์ วิจยั ข้าวดีลำ้� เป็นต�ำนาน สาม นายถิน สีท้าว คราวแปดสิบ เพาะพันธุ์กบจ�ำหน่ายคลายทุกข์ตรม ปลูกกุยช่ายขาวแสนพราวเพริด ผลิตเครื่องสีข้าวอะคร้าวครัน สี่ นายกองมี หมื่นแก้ว แนวช่างสาน ปราชญ์ชาวบ้านรู้ซึ้งถึงก้นครัว หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทยในสยาม ของตกแต่งที่ระลึกซึ่งคิดถึงกัน

ผู้เจริญวัฒนธรรมสัมพันธ์ค่า ทอดศรัทธาฝากไว้ในแผ่นดิน เกริกตระการเกษตรกรสอนทั่วถิ่น เพชรน�้ำหนึ่งพึงถวิลไม่สนิ้ ทาง พัฒนาสังคมล�ำ้ น�ำแผ้วถาง ยาเสพติดพึงห่างแรมร้างไกล มิเปล่าเปลืองผลิตข้าวเห็นเป็นเรื่องใหญ่ ชงดื่มได้ชนม์ชื่นยาวยืนนาน ทัว่ ปถพินทร์เรียกร�ำ่ ค�ำกล่าวขาน ร่วมสืบสานคุณค่าน่านิยม หลายเรื่องหยิบยกมาพาสุขสม ปุ๋ยชีวภาพพลอยผสมขายคล่องพลัน สิบกว่าปีดีเลิศสิ่งสร้างสรรค์ ชั่วชีวันคือตัวอย่างทางสร้างตัว แสนตระการสานกระติบงามถ้วนทั่ว ข้าวอิ่มนัวส�ำราญจิตนิจนิรันดร์ สุดยอดตามโครงการงานคัดสรร ภูมิใจครันยามพินิจพิศพิจารณ์


ห้า นายสว่าง สุขแสง การท่องเที่ยวเชิงนิเวศเขตตระการ ประธานสมาพันธ์ SME จังหวัดร้อยเอ็ด ประธานคลัสเตอร์อุตสาหกรรมน�ำชีวา หก กลุ่มพรรณไม้ เกษตรวิสัยนั่น ปลูกฝ้าย ย้อมผ้าดีสีวิไล ธุรกิจชาวบ้านบริหารเด่น ประสบการณ์เรียนรู้สู้จดจ�ำ เจ็ด นายสมศักดิ์ มงคลวงศ์ เทิดพระเกียรติแด่องค์พระทรงชัย คือนักอนุรักษ์ดีเด่นโลก “คนดีศรีอีสาน” พานพบมา แปด นายพิทยา บุญลา นี้ สลักเทียน สลักไม้ดีงามจีรัง รางวัลเกียรติคุณศิลปินไทย ร่วมผลงานต่างชาติปราชญ์เมธี นายศิลากร ทับทิมไสย นั่น ภาพลวดลายมหาชาติพิลาสกระไร “นาคราช” เชิดชูเกียรติยศ ศิลปินคนที่เก้าเอามนตรา สิบ นายสมบัติ ยอดประทุม นักแสดงเพชรมเหศักดิ์หลักธงชัย พัฒนาเด่นอะคร้าวจนพราวเพริศ วันเวลาผ่านผันอันยาวนาน สิบเอ็ด นางชนิดาภา มั่นสนธิ์ เป็นบทเพลงบรรเลงร้องก้องโลกีย์ จากวัดป่าบ้านตาดสามารถนัก เพื่อแผ่นดินกลิ่นอุดรวอนสัมพันธ์

14

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

ส่องส�ำแดงผู้น�ำดีศรีอีสาน เศรษฐกิจฐานรากล้วนควรพัฒนา สูตรส�ำเร็จยืนยาวความก้าวหน้า แปรรูปค่าข้าวหอมพร้อมปลอดภัย ศูนย์รังสรรค์รวมตัวเลี้ยงหม่อนไหม เพิ่มรายได้กลุ่มสตรีมีงานท�ำ ทอผ้าเป็นหลายร้อยคนชนชื่นฉ�่ำ งานเลิศล�้ำเคียงคู่ชูหญิงไทย เจตจ�ำนงแสดงศิลปกรรมร่วมสมัย ภาพเขียนในพ่อหลวงนักพัฒนา คือคันโยกอาชีวะไทยให้ก้าวหน้า ชุบชีวาให้เห็นเป็นสัจจัง ร่วมเสริมศรีประเพณีมีมนต์ขลัง ลายติดตั้งศาลหลักเมืองเรืองรุจี ความเกรียงไกรเด่นนักเป็นสักขี สมศักดิ์ศรีศิลปินของถิ่นไทย คนส�ำคัญเขียนภาพนิ่งแสนยิ่งใหญ่ ลวดลายในเจดีย์ธาตุรามมัชฌิมา งานปรากฏดุจของขวัญอันล�้ำค่า มอบบูชาพุทธศาสน์ทุกชาติไป จากชุมชนบ้านโคกทมจนยิ่งใหญ่ ครั้นยุบไปอยู่เพชรสว่างสร้างผลงาน ชนะเลิศหนังตะลุงภาคอีสาน คือสืบสานวัฒนธรรมน�ำชีวี เสียงดั่งมนต์ดลใจให้สุขี สู่ธรรมะความดีมีทั่วกัน บทเพลงเชิงอนุรักษ์สมานฉันท์ เพื่อสร้างสรรค์วัฒนธรรมน�ำเจริญ


สิบสอง ดร.อ�ำคา แสงงาม สร้างหลักสูตรตามนโยบายน่าสรรเสริญ มัคคุเทศก์น้อยน�ำเที่ยวท่องล่องพาเพลิน ยามด�ำเนินเที่ยวกู่ดูน่าชม ทั้งโบราณสถานกู่กาสิงห์ ท่องเที่ยวจริงอนุรักษ์ด้วยช่วยสร้างสม งานวิจัยทุ่งกุลาน่าปรารมภ์ ยอดนิยมหมอล�ำน�ำชุมชน เรื่องโดดเด่นคือมูนมังดั้งเดิมต้น สิบสาม นายสีน�้ำ จันทร์เพ็ญ ของดีอีสาน” “พุทธท�ำนาย” หมายให้ยล สอนใจตน “ปู่ว่า ย่าเว้าฯ” เตือน “ประเพณีโบราณ” ร่วมขานไข “ฤกษ์งามยามดี” ไซร้มีใครเหมือน “ผญาสอนพรทิพย์” น่าหยิบเยือน จึงเสมือนผู้เฒ่าเนาธานินทร์ หรือเรียกกัน สนธยา กาฬสินธุ์ สิบสี่ นายวิเชียร สาระวัน พระเอกหมอล�ำล�ำเรื่องเฟื่องระบิล ซาบดวงจินต์ถวิลหาทุกนาที “หนองหมาว้อ” คลอคู่กับพุ่มพวง บริษัทดวงกมลฯ จัดเต็มที่ “หญิงข้ามเพศ” งดงามคุณความดี บั้นปลายที่ ฝากไว้ในแผ่นดิน จิตรกรรมฝาผนังดังทั่วถิ่น สิบห้า นายเจริญ สาดา จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ศิลปินฯ ยามยลยินซึ้งคุณค่าวัฒนธรรม ตกแต่งขบวนแห่งามยามงานไหม ทั้งเวทียิ่งใหญ่ได้ชื่นฉ�่ำ โอ้โลกนี้โชคดีมีล�ำน�ำ ระรื่นร�่ำเสนาะศิลป์จนสิ้นวัน ขอน้อมพจน์รจนาภาษาศิลป์ สู่กวินทร์น้อยใหญ่ให้สุขสันต์ ให้ยืนยาวคู่ฟ้าหล้าโลกันต์ เป็นมิ่งขวัญแห่งไผท...ไม่รู้ลืม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรสวรรค์ สุวรรณธาดา/ ประพันธ์

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

15


บทน�ำ ศิลปินมรดกอีสานสืบสานวัฒนธรรมสัมพันธ์ อีสานเป็นดินแดนที่มีอาณาบริเวณมาก คิดเป็น ๑ ใน ๓ ของประเทศ จึงมีลักษณะทางสังคมวัฒนธรรม ทีห่ ลากหลาย โดยเฉพาะความหลากหลายทางกลุม่ ชาติพนั ธุ์ แม้วา่ ผูค้ นส่วนใหญ่จะเป็นกลุม่ ชาติพนั ธุล์ าว แต่กม็ ี กลุม่ ชาติพนั ธุอ์ นื่ ๆ อีกหลายกลุม่ เช่น เขมร ส่วย บูร ญ้อ โส้ กะเลิง ผู้ไท ญัฮกุร ฯลฯ รวมทัง้ ผูท้ เี่ ข้ามาอยูอ่ าศัย ในยุคหลังอย่างกลุ่มคนจีนโพ้นทะเล กลุ่มคนเวียดนามที่เรียกว่า เหวียตเกี่ยว เป็นต้น ซึ่งแต่ละกลุ่มแต่ละสังคม วัฒนธรรมย่อมต้องมีมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรม หรือ ศิลปวัฒนธรรม (ศิลปะที่มีบริบททางวัฒนธรรม) ในแต่ละกลุม่ เฉพาะของตนทีแ่ ตกต่างจากกลุม่ อืน่ แม้แต่ในกลุม่ ชาติพนั ธ์เุ ดียวกันแต่ตา่ งพืน้ ทีก่ อ็ าจจะมีความแตกต่าง กันไปบ้าง ตามบริบทของพื้นถิ่นที่อาศัย แน่นอนว่าผู้คนในแต่ละกลุ่มสังคมวัฒนธรรมย่อมเป็นผู้ประกอบสร้างศิลปะและวัฒนธรรม หรือ ศิลปวัฒนธรรมขึน้ เพือ่ สนองตอบเป้าประสงค์ ในการด�ำรงชีวติ อย่างใดอย่างหนึง่ ทัง้ ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และ ปัญญา ในบรรดาผูม้ สี ว่ นประกอบสร้างศิลปะ วัฒนธรรมนัน้ ก็มี “ช่าง” รวมทัง้ ผูเ้ ชีย่ วชาญเกีย่ วกับวัฒนธรรมแขนงต่าง ๆ ที่เรียกว่า “ผู้รู้ ในท้องถิ่น” ที่ท�ำหน้าที่เป็นผู้สร้างสรรค์ และสืบสานซึ่งมีความสามารถพิเศษแตกต่างจากประชาชน ชาวบ้านทั่วไปรวมอยู่ด้วย ในอดีตพื้นที่อีสานมักจะเรียก “งานศิลปะในรูปแบบทัศนศิลป์ หรือ หัตถศิลป์” ว่า “งานช่าง” ส่วนผู้ประกอบสร้างเรียกว่า “ช่าง” ที่หมายถึงช่างฝีมือ ไม่เรียกศิลปินอย่างในปัจจุบัน ค�ำว่า “ช่าง” มักจะใช้เรียกผูท้ ที่ ำ� งานฝีมอื ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับงานหัตถศิลป์เป็นหลัก เช่น ผูท้ ที่ ำ� หน้าทีว่ าดภาพ หรือ สร้างงานจิตรกรรม เรียก ช่างวาด ผู้ที่สร้างสรรค์งานประติมากรรม เรียก ช่างปั้น ช่างแกะ ส่วนผู้ที่รังสรรค์งานสถาปัตยกรรม เช่น สร้างบ้าน สร้างวัด อาจจะแยกเป็นงาน ๆ ไป เช่น ช่างไม้ ช่างปูน ปัจจุบันมีช่างเหล็ก ช่างเชื่อม ตามยุคสมัย ส่วนผู้ที่ท�ำหน้าที่เป็นช่างใหญ่ เรียก หัวหน้าช่าง งานทัศนศิลปินดังกล่าวจึงมีลักษณะเป็นงานหัตถศิลป์ คือ การใช้ ทักษะฝีมือในการสร้างสรรค์เป็นส�ำคัญนั่นเอง นอกจากนัน้ ในภาคอีสานยังมีการเรียกผูร้ ู้ ในท้องถิน่ แตกต่างกันไปอีกหลายอย่าง เช่น หมอ หรือครูบาอาจารย์ ส�ำหรับค�ำว่า “หมอ” หมายถึงผูท้ มี่ คี วามรูท้ างโลก และรูท้ างธรรมเป็นอย่างดี และเป็นผูท้ คี่ งแก่เรียน และมักจะมี มนต์คาถาหรือ ที่เรียกว่า ธรรม ก�ำกับในการประพฤติปฏิบัติตน เช่น หมอล�ำ หมอธรรม หมอยา หมอสูตร หมอขวัญ เป็นต้น ในกรณีของ “หมอล�ำ” ซึ่งเป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปะประเภทการแสดงก็ถูกเรียกว่า “หมอ” ด้วยเช่นเดียวกัน ก็ด้วยทักษะที่เป็นเลิศ ทั้งความจ�ำเป็นเลิศ ไหวพริบปฏิภาณเป็นเยี่ยม น�้ำเสียงมีเอกลักษณ์ และยังมีธรรมเป็นหลักปฏิบตั สิ ำ� คัญในการด�ำเนินชีวติ แต่สำ� หรับผูท้ เี่ ป็นนักแสดงหนังประโมทัย ก็ไม่เรียกว่า หมอ แบบเดียวกับหมอล�ำ ทั้งที่มีหมอล�ำเป็นผู้ร่วมในการแสดงหลัก แต่ชาวบ้านเรียกผู้ที่เป็นหัวหน้าคณะว่า “ครู” หรือ “พ่อครู” ส่วนผู้ร่วมคนอื่น ๆ ก็เรียกรวมว่าทีมงาน และไม่ได้เรียกว่า “นายหนัง” อย่างทางภาคใต้ ค�ำว่า “ครู” นั้นก็เป็นค�ำเก่าที่เรียกผู้ที่มีหน้าที่ประสิทธิประสาทวิชา หรือถ่ายทอดสรรพความรู้ ในด้านต่าง ๆ แก่ลูกศิษย์ มักใช้เรียกในแวดวงศิลปะวัฒนธรรมทุกแขนง รวมถึงผู้ท่ีท�ำหน้าที่สร้างสรรค์ผลงาน ด้านวรรณกรรม ด้วยคนกลุ่มนี้เป็นผู้มีการศึกษา รู้หนังสือ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นพระสงฆ์ หรือผู้ที่ลาสิกขา ออกมาเป็นฆราวาสแต่มคี วามรู้ ในด้านวรรณกรรม จึงท�ำหน้าทีส่ ร้างสรรค์และถ่ายทอดความรูผ้ า่ นการแต่งหนังสือ การจารใบลาน การอ่านวรรณกรรม เป็นต้น “หมอ” “ช่าง” “ครู” จึงเป็นค�ำเรียกผู้ประกอบสร้างงานศิลปะและวัฒนธรรมในขั้นเชี่ยวชาญ หรือขั้น ช�ำนาญการพิเศษในท้องถิ่นอีสาน ในความหมายที่เหมือนและต่างจากค�ำว่า “ศิลปิน” ไม่มากก็น้อย แต่ ในยุคนี ้


ก็มกั นิยมเรียกรวมกันว่าศิลปิน อย่างไรเสียนักสร้างสรรค์สบื สานเหล่านัน้ ก็ได้สร้างสรรค์ผลงานออกมาอย่างต่อเนือ่ ง จนกลายเป็นมรดกตกทอดมาถึงอนุชนรุ่นหลัง ซึ่งเป็นสิ่งพิสูจน์ถึงการยอมรับในคุณค่าของผลงานที่รับใช้ชุมชน ทั้งในด้านความเชื่อ ความงาม การใช้ประโยชน์ ในแง่มุมต่าง ๆ อย่างหลากหลายมาแล้ว จะเห็นได้ว่าศิลปะและวัฒนธรรมในอดีตนั้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการร่วมคิด ร่วมศรัทธา ร่วมสร้าง จนถึง ขั้นร่วมรับอานิสงส์คือ การใช้ประโยชน์ร่วมกันของผู้คนในชุมชน จนกลายเป็นมรดกตกทอดสู่อนุชนรุ่นหลัง ในท้องถิ่นนั้น ๆ มาถึงปัจจุบันสมัยกระบวนการแบบมีส่วนร่วมโดยมีศรัทธา หรือ เอาบุญเป็นตัวตั้งนั้นแทบจะเห็น ได้น้อยมาก งานสร้างสรรค์ ในอดีตแม้ว่าจะขาดเทคโนโลยีหรือมีข้อจ�ำกัดหลายอย่าง แต่สิ่งที่มากด้วยคุณค่าคือ การมีฐานแห่งศรัทธาที่มั่นคง และกระบวนการแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน แตกต่างจากผลงานศิลปะจ�ำนวน ไม่นอ้ ยในปัจจุบนั สมัยทีข่ าดมิตดิ งั กล่าว จึงขาดจิตวิญญาณของการสร้างสรรค์ ขาดความเป็นชุมชนและการพัฒนา แบบองค์รวม จึงไม่สมควรจะได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินหรือที่คนในอดีตเรียก หมอ ช่าง ครู อันเป็นการให้ คุณค่าและความหมายที่ประกอบด้วยความรู้ ทักษะและคุณธรรมพร้อม แต่ศิลปินมรดกอีสานและผู้มีผลงานดีเด่น วัฒนธรรมสัมพันธ์ย่อมต้องเป็นผู้ที่ประกอบด้วยความรู้ ความศรัทธา ทักษะฝีมือ และส�ำคัญต้องมีธรรมที่หมายถึง คุณธรรมเป็นส�ำคัญอีกด้วย การจัดงานยกย่องผูท้ สี่ ร้างสรรค์และสืบสานมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมของท้องถิน่ อีสาน นับเป็นการ สร้างความหมายต่อการรับรูข้ องผูค้ นในยุคสมัยปัจจุบนั ให้เห็นคุณค่าและความสามารถของผูท้ ี่ ได้ชอื่ ว่าเป็น “หมอ” “ช่าง” “ครู” ที่เรียกรวมกันว่า “ศิลปิน” ตลอดถึงนักวัฒนธรรมในสาขาต่าง ๆ ที่สืบสานคุณค่าในภูมิปัญญา จากอดีตถึงปัจจุบัน ภายใต้ชื่องาน “ศิลปินมรดกอีสาน สืบสาน วัฒนธรรมสัมพันธ์” ชึ่งจัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี ในวันที่ ๒ เมษายน นับเนือ่ งมาตัง้ แต่พทุ ธศักราช ๒๕๔๘ จนถึงปัจจุบนั เป็นครัง้ ที่ ๑๒ (เว้นพุทธศักราช ๒๕๔๙) เช่นเดียวกันในปีพุทธศักราช ๒๕๖๑ นี้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้พิจารณาคัดเลือกผู้ที่สมควรได้รับ การยกย่องเป็นอมรศิลปินมรดกอีสาน (ศิลปินที่เป็นอมตะ) จ�ำนวน ๒ ท่าน ศิลปินมรดกอีสาน จ�ำนวน ๗ ท่าน และ ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ จ�ำนวน ๑๔ ท่าน ๑ กลุ่ม นับว่าท่านเหล่านีเ้ ป็นผูม้ คี ณ ุ ปู การในการสร้างสรรค์ สืบสาน ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิน่ อีสานให้คงอยูแ่ ละก้าวหน้า สอดรับกับพันธกิจ ๑ ใน ๔ ของมหาวิทยาลัย คือ การท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นและของชาติอีกด้วย ในโอกาสนี้มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ ศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะกรรมการการจัดงานเนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และงานวันอนุรกั ษ์มรดกไทย พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตลอดถึงคณะกรรมการฝ่ายจัดท�ำหนังสือทีร่ ะลึก ขอแสดงความชืน่ ชมยินดีกับศิลปินและนักวัฒนธรรมทุกท่าน ในวาระอันเป็นมงคลนี้... กองบรรณาธิการ

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

17


อมรศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑


อมรศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑

ดร.พิมพ์ รัตนคุณสาสน์

นายปิ่น ดีสม



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

ดร.พิมพ์ รัตนคุณสาสน์

อมรศิลปินมรดกอีสาน สาขาวรรณศิลป์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ ดร.พิมพ์ รัตนคุณสาสน์ เกิดวันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๕๖ ทีบ่ า้ นยางน้อย (ปัจจุบนั ต�ำบลยางน้อย) อ�ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม แต่ได้ย้ายมาอาศัยอยู่ที่จังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๔๗๗ โดยเป็นครูที่ โรงเรียนบ้านหนองผือ จังหวัดขอนแก่น และได้เรียนกลอนล�ำ ใช้นามปากกาว่า “วอน วรรัตน์” ซึ่ง ในขณะนัน้ มีอายุได้ ๒๓ ปี นับว่าเป็นคนหนุม่ ทีป่ ระสบความส�ำเร็จจากอายุ ๒๓ - ๗๒ ปี เป็นเวลาเกือบครึง่ ศตวรรษ ที่พ่อใหญ่พิมพ์ เป็น “ครู” ของหมอล�ำหลายต่อหลายคน งานประพันธ์นับร้อย ๆ ชิ้น ผลงานประพันธ์หลายชิ้น ได้รับรางวัลที่ส�ำคัญมากมาย ไม่ว่าจะเป็นผลงาน กลอนล�ำพระเวส กลอนล�ำศรีปราชญ์ ล�ำกลอนเรื่อง เป้าหมาย ๖ ประการของหลักพัฒนา กลอนล�ำสามสถาบัน กลอนสรภัญญ์ บทสูดขวัญนักศึกษาใหม่มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฯลฯ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ สิริอายุ ๘๓ ปี ชีวิตส่วนใหญ่ของพ่อพิมพ์คลุกคลีอยู่ ในวงการหมอล�ำ และแต่งกลอนล�ำให้ศิลปินมากมายไม่ว่าจะเป็น เคน ดาเหลา ทองค�ำ เพ็งดี บุญเพ็ง ไฝผิวชัย อังคณางค์ คุณไชย และ ป.ฉลาดน้อย จึงเป็นผูร้ ทู้ สี่ ามารถให้คำ� ตอบ เกีย่ วกับพัฒนาการของหมอล�ำได้เป็นอย่างดี นอกจากนัน้ ท่านยังช่วยสอนวิชาวรรณคดีอีสานทีค่ ณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และงานในต�ำแหน่งที่ปรึกษาด้านวัฒนธรรมและงานปริวรรตวรรณคดี โบราณของศูนย์วัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตลอดจนเป็นหมอสูดขวัญและผูกแขนคู่เสี่ยวในงาน เทศกาลไหมและประเพณีผูกเสี่ยว จังหวัดขอนแก่นในช่วงเริ่มแรก ด้วยผลงานที่ โดดเด่นเห็นประจักษ์เช่นนี้ ท�ำให้พ่อพิมพ์ ได้รับยกย่องเป็นศิลปินพื้นบ้านดีเด่น จากทาง ส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ประจ�ำปีพุทธศักราช ๒๕๒๘ เป็นวิทยากรพิเศษของศูนย์การศึกษา นอกโรงเรียนจังหวัดขอนแก่น ตัง้ แต่ปพี ทุ ธศักราช ๒๕๒๗ – ๒๕๒๘ และในปีพทุ ธศักราช ๒๕๒๙ ได้รบั พระราชทาน ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวรรณกรรมท้องถิน่ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นคนแรกอีกด้วย ตลอดชีวิตของ ดร.พิมพ์ รัตนคุณสาสน์ ได้สร้างผลงานการแต่งกลอนล�ำหลายร้อยชิ้น จนมีชื่อ เรียกขานว่า “พิมพ์กวีศรีอสี าน” ทีล่ กู หลานยังได้จดจ�ำเอาไว้ แม้ทา่ นถึงแก่กรรมไปแล้ว แต่ผลงานที่ ได้สร้างสรรค์ ไว้ ยังอยู่ ในหัวใจของมิตรหมอแคนแฟนหมอล�ำ เป็นแรงบันดาลใจให้ลูกหลานได้สร้างสรรค์และสืบทอดผลงาน อย่างต่อเนือ่ ง มหาวิทยาลัยขอนแก่นจึงยกย่องเชิดชูเกียรติให้ ดร.พิมพ์ รัตนคุณสาสน์ เป็นอมรศิลปินมรดกอีสาน สาขาวรรณศิลป์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ เพื่อเป็นเกียรติประวัติแก่ครอบครัวสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

21



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายปิ่น ดีสม

อมรศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง พุทธศักราช ๒๕๖๑ นายปิน่ ดีสม เป็นชาวสุรนิ ทร์ โดยก�ำเนิด เกิดวันที่ ๒๘ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๖๔ (ปีระกา) ส�ำเร็จการศึกษา ชั้นประถมจากโรงเรียนประชาบาลต�ำบลคอโค (วัดสง่างาม) แล้วมุ่งมั่นศึกษาในระดับที่สูงขึ้น จนจบโรงเรียน ฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดสุรนิ ทร์เป็นรุน่ แรก เมือ่ อายุ ๑๘ ปี จึงสอบเข้ารับราชการครู และด�ำรงต�ำแหน่งครูใหญ่ จนเกษียณอายุราชการ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ ๕ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๑ สิริอายุ ๗๗ ปี นายปิ่น ดีสม หรือครูปิ่น ดีสม นับว่าเป็นนักแสดงตั้งแต่ก�ำเนิด ด้วยอยู่ในชุมชนที่มีนักเพลงนักดนตรี พืน้ บ้านจ�ำนวนมาก เมือ่ เข้าสูว่ ยั เรียนก็ ได้เป็นผูแ้ ทนของโรงเรียนแสดงสมโภชกองกฐินหลวงในสมัยนัน้ และมีชวี ติ ผูกพันกับศิลปะการแสดงพืน้ บ้านมาโดยตลอด ต่อมาเมือ่ เข้ารับราชการครูกเ็ ป็นหัวหน้าคณะนักแสดงพืน้ บ้านของ จังหวัดสุรินทร์ ในงานแสดงต่าง ๆ จากการที่เป็นครู มีความรู้ความสามารถด้านภาษาเขมรถิ่นไทยและภาษาไทย เป็นอย่างดี ท่านจึงประพันธ์เนื้อร้องบทเพลงเพื่อการแสดงพื้นบ้านไว้มากมายและยังคงใช้ ในการแสดงพื้นบ้าน มาจวบจนถึงปัจจุบัน อาทิ เจรียงนอระแกว เรือมอันเร เจรียงซันตูจ กะโน้บติงต็อง เรือมตร๊ด บทส�ำนวน ฯลฯ นายปิ่น ดีสม เป็นผู้ที่สร้างสรรค์ดนตรีและการแสดงพื้นบ้านอีสานใต้ ซึ่งถือเป็นรากฐานในการ ผสมผสานเพื่อจัดท�ำเป็นชุดการแสดง โดยพัฒนาต่อยอดจากวิถี การละเล่น ประเพณีพื้นบ้าน ให้มีความกระชับ เหมาะส�ำหรับเพือ่ ใช้ ในการแสดง ผลงานทีภ่ าคภูมใิ จคือ ได้รบั เกียรติอย่างยิง่ จากจังหวัดสุรนิ ทร์ ให้จดั การแสดง เจรียงนอระแกวและเรือมอันเร รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และสมเด็จ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ ๙ คราวทีเ่ สด็จพระราชด�ำเนินเยีย่ มเยือนพสกนิกรชาวสุรนิ ทร์เป็นครัง้ แรก เมือ่ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๙๘ ซึง่ การแสดงในครัง้ นัน้ ถือเป็นแม่แบบของการบรรเลงดนตรีและการแสดงพืน้ บ้านอีสานใต้ สืบมา โดยครูปิ่น ดีสม ท�ำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะนักดนตรี ตี โทนสองใบพร้อมกัน เป็นภาพความทรงจ�ำที่ทุกคน ยังประทับใจมิรู้ลืม นายปิ่น ดีสม เป็นยอดของนักแสดงแห่งแผ่นดินอีสานใต้ทั้งในทางดนตรีพื้นบ้านและศิลปะการแสดง ด้วยท่วงท่าลีลาในแบบเขมรถิ่นไทย อันเป็นต้นแบบให้นักแสดง ศิลปินพื้นบ้าน และการแสดงอีสานใต้ที่เป็นอมตะ จากอดีตจวบจนถึงปัจจุบัน นายปิ่น ดีสม จึงสมควรได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นอมรศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพือ่ เป็นเกียรติประวัตแิ ก่ครอบครัวสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

23


พุทธศักราช ๒๕๖๑


ศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑

รองศาสตราจารย์สุวัฒน์ จิตต์ปราณีชัย

นางบุญศรี ยินดี (ป้าแดง/แม่แดง)

นายสังคม เภสัชมาลา

นางกฤษณา วรรณสุทธิ์ (หมอล�ำกฤษณา บุญแสน)

นางบุดษา แถววิชา (หมอล�ำอุษา แถววิชา)

นางอรอุมา จันทรวงษา (หมอล�ำทองศรี ศรีรักษ์)

นางอุไร ฉิมหลวง (นกน้อย อุไรพร)

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

25



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

รองศาสตราจารย์สุวัฒน์ จิตต์ปราณีชัย ศิลปินมรดกอีสาน สาขาทัศนศิลป์ (ภาพถ่าย) พุทธศักราช ๒๕๖๑

รองศาสตราจารย์สวุ ฒ ั น์ จิตต์ปราณีชยั เกิดเมือ่ วันที่ ๑๐ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๕ ทีก่ รุงเทพมหานคร ปัจจุบนั อายุ ๗๖ ปี เป็นข้าราชการบ�ำนาญ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ส�ำเร็จการศึกษาระดับประถม ศึกษา โรงเรียนซือลิบจิงกวง ป้อมปราบศัตรูพ่าย ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนไพศาลศิลป์ ป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร ปริญญาตรี B.B.A. (Economics) จาก University of The East, Manila, Philippines ปริญญาโท M.S.A. (Agricultural Administration) Araneta University Foundation, Calocan City, Philippines. รองศาสตราจารย์สุวัฒน์ จิตต์ปราณีชัย เป็นอาจารย์สอนวิชาถ่ายภาพแก่นักศึกษาที่เรียนวิชา การผลิตสือ่ ทางการเกษตร สือ่ สารการเกษตร หลักส่งเสริมการเกษตร ภาควิชาส่งเสริมการเกษตร ส่งเสริมการประมง ภาควิชาประมง นักศึกษาปริญญาโทกีฏวิทยา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ จนเกษียณอายุราชการในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นเวลา ๓๓ ปี นอกจากนี้ยังได้รับเชิญเป็นวิทยากรและอาจารย์พิเศษ สอนวิชาการถ่ายภาพให้แก่คณะและรายวิชาต่าง ๆ เช่น สาขาวิชาปรัชญา (รายวิชาสุนทรียศาสตร์) คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา (ปริญญาโท) คณะศึกษาศาสตร์ และคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รวมทั้งสถาบันการศึกษาอื่น ๆ อีกหลายแห่ง เช่น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รวมถึง การเป็นวิทยากรอบรมวิชาการถ่ายภาพให้แก่ผู้สนใจ หน่วยงาน องค์กร สถาบันของรัฐและเอกชนตลอดจน สมาคมถ่ายภาพต่าง ๆ ตลอดมา รองศาสตราจารย์สุวัฒน์ จิตต์ปราณีชัย ได้ ใช้ความวิริยะอุตสาหะประกอบกับภูมิรู้ด้านวิชาการเกษตร รวมกับความเชี่ยวชาญทางด้านการถ่ายภาพ จนได้รับรางวัลและเกียรติคุณต่าง ๆ จากหน่วยงานและองค์กร ภาครัฐและเอกชนมากมาย ถือได้ว่าเป็นผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อวงการถ่ายภาพโดยตรงและโดยอ้อม ภาพถ่ายที่เป็น ผลงานส่วนมากอยู่ในภูมิภาคอีสาน ท�ำให้ภาพเหล่านั้นเป็นการบันทึกศิลปวัฒนธรรมให้เป็นที่รู้จักและยอมรับของ ผู้คนในทุกวงการ อีกทั้งยังได้อุทิศตนสละเวลาในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อพุทธศาสนา ศิลปะ ประเพณีและสังคม เป็นอเนกประการ ได้รบั เกียรตินยิ มกิตติมศักดิ์ HON.E.BPC. จากสมาคมถ่ายภาพพิศเจริญกรุงเทพ ได้รบั เกียรตินยิ ม กิตติมศักดิ์ HON.F.BPS. จากสมาคมถ่ายภาพกรุงเทพ ได้รบั การเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินพืน้ บ้านอีสานดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๔๗ สาขาทัศนศิลป์ (ถ่ายภาพ) จากสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์สวุ ฒ ั น์ จิตต์ปราณีชยั จึงสมควรได้รบั การเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินมรดกอีสาน สาขา ทัศนศิลป์ (ภาพถ่าย) พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

27



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายสังคม เภสัชมาลา

ศิลปินมรดกอีสาน สาขาวรรณศิลป์ (วรรณกรรมปัจจุบัน) พุทธศักราช ๒๕๖๑ นายสังคม เภสัชมาลา เกิดวันที่ ๘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐ อายุ ๖๐ ปี เป็นชาวบ้านมูลนาค ต�ำบลโพธิ์ ไชย อ�ำเภอมัญจาคีรี (ปัจจุบันคือ โคกโพธิ์ ไชย) จังหวัดขอนแก่น นายสังคม เภสัชมาลา บวชเรียนและพ�ำนักอยู่ที่วัดศรีนวล จังหวัดขอนแก่นตลอดชีวิตการศึกษา เพราะการบวชเรียนนี่เอง ท�ำให้ ได้มี โอกาสอ่านหนังสือดี ๆ โดยเฉพาะหนังสือวรรณกรรมและติดตามข่าวคราว ในวงการวรรณกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยมีศิษย์ร่วมส�ำนักเดียวกันคือ วงเดือน ทองเจียว ซึ่งต่อมาได้กลายเป็น นักเขียนชื่อดังเช่นกัน จากนัน้ ได้สอบบรรจุเข้ารับข้าราชการครูและย้ายไปอยูท่ ี่ อ�ำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ จนกระทัง่ วันหนึง่ ได้เดินไปทีแ่ ผงหนังสือ พบผลงานของเพือ่ นรักคือ วงเดือน ทองเจียว ได้รบั การตีพมิ พ์ ในนิตยสารฟ้าเมืองไทย ซึง่ เป็นนิตยสารวรรณกรรมที่ได้รบั ความนิยมในสมัยนัน้ จากผลงานของเพือ่ นนีเ่ องทีส่ ร้างแรงผลักดันให้อยากมีผลงาน ตีพมิ พ์บา้ ง จึงตัดสินใจส่งผลงานไปให้ อาจินต์ ปัญจพรรค์ บรรณาธิการชือ่ ดัง ในคอลัมน์ตะกร้าสร้างนักเขียน จนมีผลงานเรื่องสั้นตีพิมพ์ครั้งแรกในชีวิตเมื่อพุทธศักราช ๒๕๒๗ เรื่อง ครูโรเนียว ซึ่งสะท้อนภาพชีวิตของ ครูบ้านนอกที่ ไม่มีเครื่องโรเนียว แต่ต้องท�ำขึ้นมาเองเพื่อใช้ ในการเรียนการสอน และจากนั้นเป็นต้นมาได้ผลิต งานเขียนออกมามากมาย เหมือนดวงไฟแห่งวรรณศิลป์ได้ลุกโชนขึ้นในหัวใจ พุทธศักราช ๒๕๓๗ กับนวนิยายเรื่องแรกในชีวิตเรื่อง โรงเรียนในภู และทยอยส่งผลงานออกสู่สายตา นักอ่านอย่างสม�่ำเสมอ ทั้งนวนิยายเรื่อง หวดฮ้าง รวมเรื่องสั้นชุด นาฏกรรมไม่เปลี่ยนแปลง รวมเรื่องสั้นชุด ในทุ่งเปลี่ยว นวนิยายเรื่อง สะพานข้ามเขา นวนิยายเรื่อง คนบาป รวมเรื่องสั้นชุด บนซากปรัก รวมเรื่องสั้นชุด เงาเหงาผ่านหลังกรอบแว่น และเป็นคอลัมนิสต์ ให้นิตยสารเนชั่นสุดสัปดาห์ ในชื่อ “คิดแบบครูคม” ผลงานของ นายสังคม เภสัชมาลา ได้รับการยอมรับในวงกว้าง เนื่องจากเป็นนักเขียนที่ใช้ภาษาอีสาน ประกอบในการเขียน ด้วยส�ำนวนลีลาเฉพาะตัว พร้อมกับน�ำเอาฉากชีวิตคนอีสานมาน�ำเสนอจนเป็นที่ประทับใจ ของนักอ่าน กระทั่งได้รับการยกย่องให้ ได้รับรางวัลต่าง ๆ ด้านการเขียนมากมาย ด้วยผลงานอันประจักษ์น ี้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงเห็นสมควรยกย่องให้ นายสังคม เภสัชมาลา เป็นศิลปินมรดกอีสาน สาขาวรรณศิลป์ (วรรณกรรมปัจจุบัน) พุทธศักราช ๒๕๖๑ เพือ่ เป็นแบบอย่างให้แก่ผอู้ นื่ ได้รว่ มกันสร้างสรรค์ผลงานการเขียน อันทรงคุณค่าให้อยู่กับสังคมต่อไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

29



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นางบุญศรี ยินดี (ป้าแดง/แม่แดง)

ศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง (นักแสดงภาพยนตร์) พุทธศักราช ๒๕๖๑ นางบุญศรี ยินดี เกิดเมื่อวันที่ ๗ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๘๘ ปัจจุบันอายุ ๗๓ ปี เป็นชาวบ้านมูลตุ่น ต�ำบลสวนหม่อน อ�ำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น นางบุญศรี ยินดี เป็นดารานักแสดงชาวอีสานที่มีผลงานโดดเด่น และแสดงภาพยนตร์ต่อเนื่องยาวนาน กว่า ๒๐ ปี โดยการแสดงทุกครัง้ จะสามารถถ่ายทอดความเป็นอีสานออกมาได้อย่างน่าชืน่ ชม จนหลายคนลงความเห็น ร่วมกันว่า แม้ ให้นางบุญศรี ยินดี ไปยืนอยูท่ ปี่ ระเทศสหรัฐอเมริกาก็ยงั มีคนรูว้ า่ เธอคือคนอีสาน เพราะบุคลิก ความเป็นคนอีสานแสดงออกมาในตัวตนของเธออย่างชัดเจน ซึง่ ผลงานส่วนใหญ่ทแี่ สดงนัน้ ไม่ได้ทำ� ให้ภาพลักษณ์ ของความเป็นคนอีสานดูดอ้ ยค่าหรือเสียหาย แต่กลับฉายชัดออกมาในบุคลิก ท่าทาง และค�ำพูด ของความเป็นนักสู้ และการไม่ยอมคน นอกจากการเป็นนักแสดงแล้ว ยังถือเป็นแบบอย่างที่ดี ในการอุทิศตนให้แก่งานบุญกุศล หรือการร่วม กิจกรรมของชุมชน ญาติมิตร โดยไม่ได้คิดว่าตัวเองเป็นนักแสดงชื่อดัง แต่ยังคงคิดว่าตัวเองเป็นเพียงชาวบ้าน อีสานธรรมดาคนหนึ่งที่มี โอกาสได้แสดงภาพยนตร์ หรืออยู่ในวงการมายาเท่านั้น แม้จะไม่ได้มรี ะดับการศึกษาสูง แต่มไี หวพริบ ปฏิภาณ และมีเลือดศิลปินนักแสดงอยู่ในตัวอย่างน่าทึง่ ทุกครัง้ ที่ ได้รบั ความไว้วางใจให้แสดงภาพยนตร์ ละคร หรืองานโฆษณา เช่น ๑๕ ค�ำ ่ เดือน ๑๑ องค์บาก ภาค ๑ และ ภาค ๒ ผู้บ่าวไทบ้าน ภาค ๑ และ ภาค ๒ อีปึก อัศจรรย์วันแห่งศรัทธา อ้อมกอดเขมราฐ ไม่เคยท�ำให้ผู้ก�ำกับหรือใคร ต้องรอคอย โดยยึดหลักว่า “นักแสดงต้องไปก่อนผู้ก�ำกับและทีมงานเสมอ” ท�ำให้เธอเป็นที่รักของทุกคนที่ ได้ ร่วมงาน รวมทั้งยังสร้างความประทับใจให้แก่ทุกคนที่ ได้พบเจอ ด้วยผลงานอันประจักษ์นี้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงเห็นสมควรยกย่องให้ นางบุญศรี ยินดี เป็นศิลปิน มรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง (นักแสดงภาพยนตร์) พุทธศักราช ๒๕๖๑ เพื่อเป็นแบบอย่าง ให้แก่ผู้อื่นได้แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน เพื่อสะท้อนความเป็นคนอีสาน และภาคภูมิใจ ในความเป็นคนอีสานสืบต่อไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

31



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นางกฤษณา วรรณสุทธิ์ (หมอล�ำกฤษณา บุญแสน) ศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง (หมอล�ำกลอน) พุทธศักราช ๒๕๖๑

นางกฤษณา วรรณสุทธิ์ หรือที่รู้จักกันดี ในนาม หมอล�ำกฤษณา บุญแสน เกิดเมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕ ที่บ้านดู่อี โต้ ต�ำบลธวัชบุรี อ�ำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ปัจจุบันอายุ ๖๕ ปี ส�ำเร็จการศึกษา ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย จากศูนย์บริการการศึกษานอกระบบฯ อ�ำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ภายหลังในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รับปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาดนตรีศึกษา จากมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ด้วยเติบโตมาในครอบครัวหมอล�ำซึง่ บิดาเป็นหมอล�ำทีม่ ชี อื่ เสียง จนได้ฉายาว่า หมอล�ำบุญมา ตูแ้ ตก นางกฤษณา จึงเจริญรอยตามบิดา การแสดงหมอล�ำของนางกฤษณา วรรณสุทธิ์เป็นที่ประทับใจแก่ผู้ว่าจ้าง เป็นที่นิยมชมชอบ ของผู้ชม กลายเป็นศิลปินพื้นบ้านอีสานที่ ได้รับการยอมรับและยกย่องในพื้นที่สื่อสาธารณะอย่างกว้างขวาง นางกฤษณา วรรณสุทธิ ์ เป็นศิลปินทีม่ คี วามสามารถด้านการแสดงล�ำกลอน และเป็นครูผถู้ า่ ยทอดศิลปะ การแสดงทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของชาติให้แก่ลกู ศิษย์ มีผลงานมากมาย อาทิ “มูนมังอีสาน” “ครบเครือ่ งเรือ่ งล�ำกลอน” “ล�ำกลอนชุดบุญประเพณี” ได้ ใช้ความรู้ความสามารถด้านหมอล�ำ ช่วยในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ให้แก่ หน่วยงานราชการ เช่น การรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อ รณรงค์การเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฎร กลอนธรรมะจาก ชาดกที่สอดแทรกข้อคิด คติธรรมค�ำสอนทางพุทธศาสนา จนผลงานเป็นที่ประจักษ์แก่สังคม ทั้งการแสดงระดับ ประเทศและต่างประเทศ ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา นางกฤษณา วรรณสุทธิ์ ได้อุทิศตนให้แก่วงการหมอล�ำมายาวนานในฐานะที่เป็นผู้อนุรักษ์และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะศิลปะอีสานด้านหมอล�ำให้เป็นทีร่ จู้ กั และแพร่หลาย นอกจากนีย้ งั ได้อทุ ศิ ตนเป็นครู ผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาด้านหมอล�ำ การขับร้อง กลอนล�ำ เป็นวิทยากรให้กับนักเรียนทั้งในระบบและนอกระบบ เป็นครูชำ� นาญการสอนวิชาศิลปะพืน้ บ้าน วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด และทีศ่ นู ย์การเรียนรูภ้ มู ปิ ญ ั ญาไทย “ศูนย์รวม หมอล�ำดีกฤษณา บุญแสน” ให้แก่ลูกศิษย์ทั้งในสถาบันการศึกษาและผู้ที่สนใจ จนเกิดหมอล�ำรุ่นใหม่ช่วยสืบสาน ศิลปวัฒนธรรมอีสานให้คงอยู่ต่อไป นางกฤษณา วรรณสุทธิ์ เป็นศิลปินทีม่ คี วามสามารถในการขับร้องหมอล�ำเป็นอย่างดียงิ่ ด้วยความเฉลียวฉลาด ในการด้นกลอนล�ำ มีปฏิภาณไหวพริบประพันธ์กลอนล�ำ น�้ำเสียงที่ ไพเราะทรงพลัง โดยทุ่มเทชีวิตจิตใจให้แก่ศิลปะ การแสดงหมอล�ำอันทรงคุณค่า ช่วยสืบต่อลมหายใจของศิลปะอีสานให้คงอยู่ตราบนานเท่านาน นางกฤษณา วรรณสุทธิ์ (หมอล�ำกฤษณา บุญแสน) จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินมรดกอีสาน สาขา ศิลปะการแสดง (หมอล�ำกลอน) พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

33



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นางอรอุมา จันทรวงษา (หมอล�ำทองศรี ศรีรักษ์) ศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง (หมอล�ำกลอน) พุทธศักราช ๒๕๖๑

นางอรอุมา จันทรวงษา หรือที่เป็นรู้จักในนาม หมอล�ำทองศรี ศรีรักษ์ เกิดเมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๙๗ ที่บ้านงิ้วโป้ง ต�ำบลทุ่งชมพู อ�ำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ปัจจุบันอายุ ๖๓ ปี ส�ำเร็จ การศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ หลักสูตรสังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย นอร์ท – เชียงใหม่ สาขาหนองบัวล�ำภู โดยได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านศิลปะการแสดงหมอล�ำ จากหมอล�ำเหรียญ แดงวงษ์ ซึง่ เป็นครูทา่ นแรกทีส่ งั่ สอนจนสามารถท่องกลอนล�ำได้ และหมอล�ำสายบัว แสนนาม ที่เป็นครูผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการแสดงหมอล�ำอย่างครบถ้วน จนนางอรอุมา จันทรวงษา สามารถประกอบ อาชีพหมอล�ำได้ตราบถึงปัจจุบัน นางอรอุมา จันทรวงษา เป็นหมอล�ำทีม่ ากด้วยความสามารถ มีลลี าการฟ้อนร�ำทีส่ วยงาม อ่อนช้อย และ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน ผลิตผลงานด้านกลอนล�ำออกสูส่ าธารณชน ทัง้ ในรูปแบบของอัลบัม้ เพลง และการแสดง ตามสถานทีต่ า่ ง ๆ มากมาย ซึง่ ไม่เพียงแต่ความบันเทิงเท่านัน้ แต่ดว้ ยกลอนล�ำทีม่ คี วามไพเราะ งดงาม สอดแทรก ข้อคิดคติเตือนใจ จึงท�ำให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย อาทิ ผลงานกลอนล�ำชุด “ล�ำเพลินก๊งสลับคู่” “ล�ำกลอนสลับ ร�ำวง” ซึง่ ร้องคูก่ บั หมอล�ำสุนทร ทนทาน จนได้รบั ยกย่องเป็นครูภมู ปิ ญ ั ญาไทย ด้านศิลปกรรม (การแสดงหมอล�ำกลอน) จากส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มีการแสดงทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น นางอรอุมา จันทรวงษา ได้น�ำศิลปะการแสดงหมอล�ำออกเผยแพร่ ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม อบรม ให้ความรู้ ตลอดจนฝึกสอนหมอล�ำให้แก่เยาวชนที่สนใจทั้งในและนอกสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังได้ ใช้ ความสามารถด้านหมอล�ำช่วยในการรณรงค์และประชาสัมพันธ์ ให้แก่หน่วยงานราชการ เช่น การรณรงค์ปอ้ งกันโรค การรณรงค์การใช้สทิ ธิเ์ ลือกตัง้ การรณรงค์สง่ เสริมความรักในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการแสดง ในโอกาสวาระส�ำคัญ ๆ ของหน่วยงานราชการ นอกจากนีย้ งั มีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางสังคมอันก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อส่วนรวม เช่น เป็นผูก้ อ่ ตัง้ และผูน้ ำ� จัดตัง้ ศูนย์การเรียนรูค้ รูภมู ปิ ญ ั ญาไทย ด้านศิลปกรรม (การแสดงหมอล�ำกลอน) จังหวัดหนองบัวล�ำภู ด้วยประสบการณ์ จิตอันเป็นสาธารณะ และเป็นผู้น�ำคณะกรรมการเพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการเผยแพร่ สืบสาน อนุรกั ษ์ สร้างสรรค์ศลิ ปวัฒนธรรมด้านหมอล�ำให้คงอยูค่ ชู่ าติไทย นางอรอุมา จันทรวงษา (หมอล�ำทองศรี ศรีรักษ์) จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง (หมอล�ำกลอน) พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

35



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นางบุดษา แถววิชา (หมอล�ำอุษา แถววิชา) ศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง (หมอล�ำเรื่องต่อกลอน) พุทธศักราช ๒๕๖๑

นางบุดษา แถววิชา เกิดเมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๓ ปัจจุบันอายุ ๖๘ ปี เป็นบุตรคนที่ ๔ ในจ�ำนวนพี่น้องทั้งหมด ๕ คน ส�ำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ ๔ จากโรงเรียนบ้านหนองไผ่นาดี ต�ำบล วังหินลาด อ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น สมรสกับนายสวัสดิ์ แถววิชา (ถึงแก่กรรม) ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ ๒๑๘ หมู่ที่ ๘ บ้านหนองไผ่เหนือ ต�ำบลวังหินลาด อ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น นางบุดษา แถววิชา เป็นผู้ชื่นชอบการแสดงหมอล�ำมาตั้งแต่วัยเด็ก เป็นผู้มีพรสวรรค์ด้านการร้อง หมอล�ำ มีน�้ำเสียงที่ ไพเราะ และเคยร่วมแสดงหมอล�ำในคณะหมอล�ำต่าง ๆ หลายคณะ เช่น คณะ ม.เจริญศิลป์ คณะก้องสยาม คณะหนูระวงษ์ และคณะสีหราช เป็นต้น หลังจากได้ร่วมแสดงหมอล�ำกับหลายคณะ คนทั่วไปจึง เริ่มรู้จักในนาม “อุษาศิลป์ เพชรสยาม” ต่อมาได้ก่อตั้งคณะหมอล�ำเป็นของตนเองเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๒ โดยใช้ชื่อ คณะหมอล�ำว่า “รุ่งสวัสดิ์โชว์” ในเวลาต่อมา ได้เปลี่ยนชื่อเป็นคณะหมอล�ำ “หนึ่งในสยาม” นางบุดษา แถววิชา เป็นผูม้ ชี อื่ เสียงด้านการแสดงหมอล�ำเรือ่ งต่อกลอนท�ำนองขอนแก่น และได้รว่ มแสดงหมอล�ำจนเป็นทีร่ จู้ กั ของผูช้ ม ทัว่ ไปหลายเรือ่ ง ได้แก่ ท้าวบอดตาใส อาวตาฟางพีน่ างห่าวใส่ ผัวดีหลายเมียเล่นชู ้ อ�ำนาจเงินตราวาสนาผูบ้ า่ วแก่ น�ำ้ ตาสาวลาว และสายเลือดเดียวกัน คณะหมอล�ำเรือ่ งต่อกลอนหนึง่ ในสยาม โดยการน�ำของนายสวัสดิ ์ แถววิชา และนางบุดษา แถววิชา ได้พัฒนารูปแบบการแสดงล�ำเรื่องต่อกลอนมายาวนานกว่า ๔๐ ปี จนมีชื่อเสียงโด่งดัง เป็นที่ประจักษ์แก่ผู้ชมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน นางบุดษา แถววิชา นอกจากจะเป็นหมอล�ำที่มีน�้ำเสียงไพเราะอ่อนหวานเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตนแล้ว ยังเป็นผู้มีความสามารถด้านการร้องสรภัญญะ เพลงกล่อมลูก และการประพันธ์กลอนล�ำ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รับ ประทานรางวัลจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ในฐานะผู้ชนะการประกวด ร้องเพลงกล่อมลูกจากโครงการเพลงกล่อมลูก ๔ ภาค นอกจากนี้ ยังได้รบั เชิญเป็นวิทยากรน�ำความรูค้ วามสามารถ ด้านศิลปะการแสดงหมอล�ำถ่ายทอดสู่บุคคลทั่วไป ได้แก่ เยาวชน นักเรียน และนักศึกษา ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้มี โอกาสร่วมเผยแพร่วัฒนธรรมในงาน “สานสัมพันธ์ เผยแพร่วัฒนธรรมอีสาน” ณ สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ปัจจุบันนางบุดษา แถววิชา ยังท�ำงานเป็นจิตอาสา ช่วยงานสังคม ฝึกสอนร้องหมอล�ำแก่ชมรม หมอล�ำผู้สูงอายุ และให้ความร่วมมือแก่หน่วยงานต่าง ๆ เพื่อน�ำความรู้ความสามารถด้านการร้องหมอล�ำท�ำนอง ขอนแก่น ร้องสรภัญญะ และร้องเพลงกล่อมลูก ร่วมอนุรักษ์ สืบสาน และเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรมอีสาน สร้างสรรค์ประโยชน์แก่สังคมเรื่อยมา ด้วยเกียรติประวัติและความสามารถอันโดดเด่นด้านศิลปะการแสดงหมอล�ำ นางบุดษา แถววิชา (หมอล�ำอุษา แถววิชา) จึงสมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง (หมอล�ำเรื่องต่อกลอน) พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

37



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นางอุไร ฉิมหลวง (นกน้อย อุไรพร)

ศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง (หมอล�ำเรื่องต่อกลอน) พุทธศักราช ๒๕๖๑

นางอุไร ฉิมหลวง เกิดเมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐ ปัจจุบันอายุ ๖๐ ปี มีพี่น้องร่วมบิดา มารดาเดียวกัน ๕ คน ส�ำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาชั้นปีที่ ๔ จากโรงเรียนวัดบ้านจอม ต�ำบลบึงบอน อ�ำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้รับพระราชทานปริญญามหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ ๕๕๕ บ้านหนองใส ต�ำบลหนองนาค�ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี นางอุไร ฉิมหลวง หรือรูจ้ กั กันดี ในนาม “นกน้อย อุไรพร” เป็นผูช้ นื่ ชอบการร้องเพลงเป็นชีวติ จิตใจตัง้ แต่ วัยเด็ก โดยมีครูวีระพงษ์ เชาว์ชอบ เป็นผู้สนับสนุนพาเข้าร่วมประกวดร้องเพลง ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ ได้สมัครเป็น นักร้องวงดนตรีเพชรพิณทอง อาจารย์นพดล ดวงพร ได้เล็งเห็นความมุ่งมั่นและจิตวิญญาณความเป็นศิลปินจึงให้ บันทึกแผ่นเสียงมีผลงานเพลงแรกคือ เพลงคอยรักจากเสียงพิณ เพลงทีส่ องคือ เพลงภาพถ่ายวิญญาณรัก ท�ำให้ชอื่ ของ นกน้อย อุไรพร เป็นที่รู้จักของผู้ฟังตั้งแต่บัดนั้น ผลงานเพลงอื่น ๆ ที่สร้างชื่อเสียงในยุคแรก ได้แก่ เพลงด�ำขี่หลี่ เพลงสัจจาหญิง ได้รว่ มแสดงและสัง่ สมประสบการณ์กบั วงดนตรีเพชรพิณทองเป็นเวลาเกือบ ๔ ปีเต็ม ก่อนจะกลับ ไปใช้ชีวิตเพื่อดูแลแม่ในช่วงปลายปี พ.ศ. ๒๕๑๗ นางอุไร ฉิมหลวง ได้มี โอกาสร่วมแสดงกับคณะหมอล�ำอีกครั้ง ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ โดยการชักชวนของนายสะอาด สีตะบุตร หัวหน้าคณะหมอล�ำสะอาดนาฏศิลป์ ในช่วงปลายปี พ.ศ. ๒๕๑๙ นายสะอาด สีตะบุตรได้ยุบคณะหมอล�ำสะอาดนาฏศิลป์ แต่นายมัยกิจ ฉิมหลวง หรือ อาวทิดหลอด ซึ่งเป็นผู้จัดการวงหมอล�ำในขณะนั้นหารือกันว่าจะท�ำวงต่อไป จึงเปลี่ยนชื่อคณะหมอล�ำจากคณะสะอาดนาฏศิลป์ เป็น “คณะเสียงอิสาน” โดยมีผนู้ ำ� คณะชือ่ นกน้อย อุไรพร หลังจากนัน้ ได้พฒ ั นาศิลปะการแสดงล�ำเรือ่ งต่อกลอน เรื่อยมาจนมีชื่อเสียงเป็นที่ประจักษ์แก่คนทั่วไป นางอุไร ฉิมหลวง นอกจากจะเป็นผู้มีความสามารถด้านการ ขับร้องเพลงและการร้องหมอล�ำแล้ว ยังเป็นผู้ที่มีความสามารถด้านการประพันธ์เพลง ประพันธ์กลอนล�ำ และเป็น ผูก้ ำ� กับการแสดงหมอล�ำของคณะอีกด้วย ผลงานล�ำเรือ่ งต่อกลอนทีส่ ร้างชือ่ เสียงมีหลายเรือ่ ง เช่น ฮอยปูนแดง ฮอยปานด�ำ วงเวียนชีวิต เงากรรม บาปไผบุญมัน เหนือค�ำสาบาน เป็นต้น นางอุไร ฉิมหลวง เป็นผู้เสียสละและอุทิศตนเพื่อสังคม ได้ประยุกต์ความรู้ด้านศิลปะการแสดงหมอล�ำ เผยแพร่และสร้างสรรค์ประโยชน์แก่สงั คม เช่น สนับสนุนโครงการลดความรุนแรงต่อเด็กและสตรี ส่งเสริมกิจกรรม การฝึกทักษะวิชาชีพ สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นต้น นอกจากนี้ยังได้รับเชิญเป็นวิทยากรต่อต้านการซื้อสิทธิ์ขายเสียง บันทึกเสียงร้องรณรงค์การไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง ได้รว่ มสนับสนุน อนุรกั ษ์ และสืบสานศิลปวัฒนธรรมพืน้ บ้านให้เป็นทีร่ จู้ กั ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ในระดับ ประเทศ ได้รบั เชิญให้แสดงและเผยแพร่ในรายการโทรทัศน์ “ชัยบดินทร์ โชว์” รายการ “คุณพระช่วย” และรายการ “คน ค้น ฅน” เป็นต้น ในระดับต่างประเทศ ได้เผยแพร่วฒ ั นธรรมการแสดง ณ วัดพุทธาราม นครเบอร์ลนิ สหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี และเผยแพร่วัฒนธรรม ณ สนามกีฬาแห่งชาติลาว นครเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ด้วยเกียรติประวัตแิ ละความสามารถอันโดดเด่นด้านศิลปะการแสดงหมอล�ำ และการอุทศิ ตนเพือ่ สังคม นางอุไร ฉิมหลวง (นกน้อย อุไรพร) จึงสมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินมรดกอีสาน สาขาศิลปะการแสดง (หมอล�ำเรื่องต่อกลอน) พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

39


ประวัติ ศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑


ประวัติอมรศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑

ดร.พิมพ์ รัตนคุณสาสน์ v

ภูมิล�ำเนา

เกิดเมื่อ พุทธศักราช ๒๔๕๖ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ ภูมิล�ำเนา อ�ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม

v

v

การศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๙

ได้รบั ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวรรณกรรมท้องถิน่ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น

ประสบการณ์

พุทธศักราช ๒๔๗๗ นายพิมพ์ รัตนคุณสาสน์ ย้ายมาเป็นครูที่ โรงเรียนบ้านหนองผือ จังหวัดขอนแก่น และได้เรียนกลอนล�ำ โดยใช้นามปากกาว่า “วอน วรรัตน์” ซึง่ ในขณะนัน้ มีอายุได้ ๒๓ ปี นับว่าเป็นคนหนุม่ ที ่ ประสบความส�ำเร็จจากอายุ ๒๓ - ๗๒ ปี เป็นเวลาเกือบครึ่งศตวรรษที่พ่อพิมพ์เป็น “ครู” ของหมอล�ำ หลายต่อหลายคน งานประพันธ์นบั ร้อย ๆ ชิน้ ผลงานประพันธ์หลายชิน้ ได้รบั รางวัลทีส่ ำ� คัญ ๆ เช่น ล�ำเรือ่ งพระเวส ล�ำเรื่องศรีปราชญ์ ล�ำกลอนเรือ่ ง เป้าหมาย ๖ ประการของหลักพัฒนา กลอนล�ำสามสถาบัน กลอนสรภัญญ์ บทสูดขวัญ (สู่ หรือ สูตรขวัญ) นักศึกษาใหม่มหาวิทยาลัยขอนแก่น กลอนล�ำทั้งล�ำกลอนและล�ำเรื่องที่เป็นผลงาน ของพ่อพิมพ์มีกว่าร้อย ๆ ชิ้น ชีวิตส่วนใหญ่ของพ่อพิมพ์คลุกคลีอยู่ ในวงการหมอล�ำ จึงเป็นผู้รู้ที่สามารถให้ค�ำตอบ เกี่ยวกับพัฒนาการของหมอล�ำได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังช่วยสอนวิชาวรรณคดีอีสานที่คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และต�ำแหน่งทีป่ รึกษาด้านวัฒนธรรมและงานปริวรรตวรรณคดีโบราณของศูนย์ วัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตลอดจนเป็นหมอสูดขวัญ (สู่ หรือ สูตรขวัญ) และผูกแขนคู่เสี่ยวในงาน เทศกาลไหมและประเพณีผูกเสี่ยว จังหวัดขอนแก่นในช่วงเริ่มแรก v

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๒๘

ส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้คดั เลือกให้เป็นศิลปินพืน้ บ้านดีเด่น และ เข้ารับพระราชทานโล่เชิดชูเกียรติจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

41


ประวัติอมรศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายปิ่น ดีสม

v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๖๔ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ ๕ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๑ ภูมิล�ำเนา บ้านคอโค ต�ำบลคอโค อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ v

v

v

ที่อยู่ส�ำหรับติดต่อญาติ บ้านเลขที่ ๑๒ หมู่ ๘ บ้านดงมัน ต�ำบลคอโค อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์

การศึกษา พ.ศ. ๒๔๗๓ พ.ศ. ๒๕๓๐

ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนคอโค ต�ำบลคอโค อ�ำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ปริญญากิตติมศักดิ์ จากวิทยาลัยครูสุรินทร์

ประสบการณ์

นายปิ่น ดีสม เป็นผู้มีผลงานทางด้านการเป็นนักแสดงกันตรึม ที่มีความสามารถในการขับร้อง การบรรเลงเครื่องดนตรี คือ เครื่องดนตรีประเภทประกอบจังหวะ ได้แก่ กลองกันตรึม กรับสั้น กรับยาว ด้านการอนุรักษ์ เป็นผู้อนุรักษ์รูปแบบของการแสดงแบบดั้งเดิม และอนุรักษ์บทเพลงกันตรึม โดยศึกษารวบรวม บทเพลงกันตรึมจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และได้แยกประเภทของแต่ละบทเพลงตามลักษณะเนื้อหาไว้เป็นสัดส่วน นายปิน่ ดีสม ยังได้ประพันธ์คำ� ร้องบทเพลงกันตรึมไว้จำ� นวน ๗๖ เพลง แบ่งได้เป็น ๔ ประเภท คือ บทเพลงไหว้ครู จ�ำนวน ๑๐ บทเพลง บทเพลงส�ำหรับขบวนแห่ จ�ำนวน ๑๐ บทเพลง บทเพลงเบ็ดเตล็ด ๓๕ บทเพลง บทเพลง เจรียงประเภทต่าง ๆ ๒๑ บทเพลง บทเพลงที่นายปิ่น ดีสม ได้ประพันธ์ ไว้นั้น เป็นเพลงที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ เรื่องราวของวิถีชีวิตของชาวสุรินทร์ ในด้านการด�ำรงชีวิต ประเพณี พิธีกรรมความเชื่อ และด้านความรัก ในแง่มุมของความรักระหว่างหนุ่มสาว ความรักของสามีภรรยา ตลอดจนความรักที่มีต่อบิดามารดา ไว้อย่าง ครบถ้วนสมบูรณ์ v

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๒๙ พ.ศ. ๒๕๕๗

42

ศิลปินมรดกอีสาน

ชนะเลิศการประกวดกิจกรรมวัฒนธรรมไทย สาขาบุคลากรทางวัฒนธรรม ประเภท อาวุโสดีเด่น จากส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ รางวัลบูรพศิลปิน จากกระทรวงวัฒนธรรม สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


ประวัติศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑

รองศาสตราจารย์สุวัฒน์ จิตต์ปราณีชัย v

v

ภูมิหลัง เกิดเมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๕ ปัจจุบันอายุ ๗๖ ปี ภูมิล�ำเนา กรุงเทพมหานคร

ที่อยู่ปัจจุบัน

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น หรือบ้านเลขที่ ๑๖๐ หมู่ ๕ บ้านหัวทุ่ง ต�ำบลบ้านเป็ด อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น โทรศัพท์ ๐๘ ๑๙๕๔ ๓๗๒๐ และ ๐๘ ๖๔๕๘ ๐๓๒๕ e-mail : suwatjit@hotmail.com v

v

v

การศึกษา พ.ศ. ๒๔๙๖ ระดับประถมศึกษา โรงเรียนซือลิบจิงกวง เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๐๔ ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนไพศาลศิลป์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๐๔ - ๒๕๐๘ ศิษย์เก่าเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๐๙ ระดับปริญญาตรี หลักสูตร B.B.A. (Economics) ประเทศฟิลิปปินส์ พ.ศ. ๒๕๑๑ ระดับปริญญาโท หลักสูตร M.S.A. (Agricultural Administration) ประเทศฟิลปิ ปินส์

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๑๒ พ.ศ. ๒๕๑๗ เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๒๐

เริ่มสร้างสรรค์ผลงานภาพถ่ายที่มุ่งเน้นแนวคิดที่สื่อให้เห็นถึงวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ที่ดีงาม เศรษฐกิจพอเพียง ทัศนียภาพ รณรงค์ ให้รักชาติ รักแผ่นดิน รักสิ่งแวดล้อม เป็นสมาชิกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมถ่ายภาพ กรุงเทพ สมาคมถ่ายภาพสยามคัลเลอร์สไลด์ และ P.S.A. สหรัฐอเมริกา

รางวัลจากการประกวดภาพถ่ายครั้งแรกจากสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และได้รับรางวัลจากการประกวดครั้งต่อ ๆ มา ทั้งภายใน ประเทศและต่างประเทศ ประมาณ ๖๐ รางวัล และยังคงสร้างสรรค์ผลงานเพื่อแสดง นิทรรศการอย่างสม�่ำเสมอ

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

43


พ.ศ. ๒๕๒๔ พ.ศ. ๒๕๔๗ พ.ศ. ๒๕๕๓

44

ศิลปินมรดกอีสาน

สอบได้เกียรตินยิ ม A. PST. ของสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้รบั เกียรตินยิ มกิตติมศักดิ์ HON. E. BPC. จากสมาคมถ่ายภาพพิศเจริญกรุงเทพ ได้รับเกียรตินิยมกิตติมศักดิ์ HON.F.BPS. จากสมาคมถ่ายภาพกรุงเทพ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินพื้นฐานดีเด่น (ถ่ายภาพ) จากสถาบันวิจัยศิลปะและ วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินนักถ่ายภาพไทย จากสมาพันธ์สมาคมการถ่ายภาพ แห่งประเทศไทย

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


ประวัติศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายสังคม เภสัชมาลา v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐ ปัจจุบันอายุ ๖๐ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านมูลนาค ต�ำบลโพธิ์ ไชย อ�ำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น v

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๙๒ หมู่ ๗ ต�ำบลหนองบัวแดง อ�ำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ โทรศัพท์ ๐๙ ๓๒๔๗ ๙๖๙๕ e-mail : phasatmala@gmail.com

v

การศึกษา พ.ศ. ๒๕๑๑ พ.ศ. ๒๕๑๙ พ.ศ. ๒๕๔๗

v

v

ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านมูลนาค (คุรุราษฎร์วิทยา) ต�ำบลโพธิ์ ไชย อ�ำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนวัดศรีนวล ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ระดับปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๕๕ พ.ศ. ๒๕๔๑ - ๒๕๖๐

นวนิยาย เรื่อง “สะพานข้ามเขา” นวนิยาย เรื่อง “คนบาป” รวมเรื่องสั้น ชุด “บนซากปรัก” รวมเรื่องสั้น ชุด “เงาเหงาผ่านหลังกรอบแว่น” คอลัมน์การศึกษา “คิดแบบครูคม” ในนิตยสารเนชั่นสุดสัปดาห์

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๓๒ พ.ศ. ๒๕๔๐ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๗ พ.ศ. ๒๕๔๙ พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๖๐

รางวัลชนะเลิศวรรณกรรมสัญจร (ครั้งที่ ๑) ประเภทเรื่องสั้น จากสมาคมนักเขียน แห่งประเทศไทย รางวัลชนะเลิศเรือ่ งสัน้ ส�ำนวนไทย (ครัง้ ที่ ๓) จากกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ รางวัลเรื่องสั้นขวัญใจผู้อ่าน จากนิตยสารกุลสตรี กรุงเทพมหานคร รางวัลชมเชยหนังสือดีเด่น เซเว่นบุ๊คอวอร์ด จากบริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) รางวัลบุคคลดีเด่นด้านวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์ (ภาษาไทย) จากจังหวัดชัยภูมิ รางวัลศิลปินพื้นบ้าน สาขาวรรณกรรม จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม รางวัลผู้ ใช้ภาษาไทยดีเด่น จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

45


ประวัติศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑

นางบุญศรี ยินดี (ป้าแดง/แม่แดง) v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๗ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๘๘ ปัจจุบันอายุ ๗๓ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านมูลตุ่น ต�ำบลสวนหม่อน อ�ำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น v

ที่อยู่ปัจจุบัน

บ้านเลขที่ ๖๑/๓๑๘ หมู่บ้านโรยัลปาร์ควิลล์ ซอยสุวินทวงศ์ ๔๔ ถนนสุวินทวงศ์ แขวงมีนบุร ี เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ ๐๘ ๑๕๙๗ ๓๓๐๓ v

การศึกษา พ.ศ. ๒๔๗๐ พ.ศ. ๒๔๗๘

v

46

ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านมูลตุ่น ต�ำบลสวนหม่อน อ�ำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จากโรงเรียนมัญจาศึกษา ต�ำบลกุดเค้า อ�ำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

ประสบการณ์ ด้านโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๔๗ พ.ศ. ๒๕๔๘ พ.ศ. ๒๕๔๙ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๕ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๙

ศิลปินมรดกอีสาน

นักแสดงประกอบละครสะใภ้ซ่าส์ แม่ย่าเฮี้ยน ช่อง ๗ นักแสดงประกอบละครสองเสน่หา ช่อง ๗ นักแสดงประกอบละครเพื่อนแซ่บ ๔x๔ ช่อง ๙ ละครแรมพิศวาส ช่อง ๓ รับบททองศรี ละครพยัคฆ์สาวแซ่บอีหลี ช่อง ๓ รับบทป้าสมใจ นักแสดงประกอบละครปัญญาชนก้นครัว ช่อง ๓ ละครแหวนทองเหลือง ช่อง ๘ รับบทแม่ปทุม นักแสดงรับเชิญละครธิดาผ้าซิ่น ช่องพีพีทีวี รับบทยายหล้า ละคร True Love Story เพราะเธอคือรัก ตอน รักที่แตกต่าง ช่องทรูโฟร์ยู สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


v

ด้านภาพยนตร์ พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๑ พ.ศ. ๒๕๔๕ องค์บาก ภาค ๑ พ.ศ. ๒๕๕๑ องค์บาก ภาค ๒ พ.ศ. ๒๕๕๖ The Rocket บุญติดจรวด พ.ศ. ๒๕๕๘ ผู้บ่าวไทบ้าน ๑ รับบท แม่แดง พ.ศ. ๒๕๕๙ ผู้บ่าวไทบ้าน ๒ รับบท แม่แดง พ.ศ. ๒๕๕๙ ฮักมั่น IN MY HOMETOWN พ.ศ. ๒๕๖๐ อีปึก อัศจรรย์วันแห่งศรัทธา พ.ศ. ๒๕๖๐ ยองบ่าง เดอะมูฟวี่ พ.ศ. ๒๕๖๐ อ้อมกอดเขมราฐ

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๔๕ เข้าชิงรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ ๑๒ (นักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม ภาพยนตร์เรื่อง ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๑)

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

47


ประวัติศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑

นางกฤษณา วรรณสุทธิ์ (หมอล�ำกฤษณา บุญแสน) v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕ ปัจจุบันอายุ ๖๕ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านดู่อี โต้ ต�ำบลธวัชบุรี อ�ำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด v

v

v

v

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๔๘๙ หมู่ ๑๔ บ้านห้าแยกกกโพธิ์ ต�ำบลเหนือเมือง อ�ำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด โทรศัพท์ ๐๘ ๖๒๒๕ ๕๖๐๔ e-mail : darikabunsean@gmail.com

การศึกษา พ.ศ. ๒๕๐๗ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๔ จากโรงเรียนบ้านดู่อี โต้ (โพธิ์ราษฎร์บ�ำรุง) ต�ำบลธวัชบุรี อ�ำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๔๖ ระดับประถมศึกษาปีที่ ๖ จากศูนย์บริการการศึกษานอกระบบฯ อ�ำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๕๐ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จากศูนย์บริการการศึกษานอกระบบฯ อ�ำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รับปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาดนตรีศึกษา จากมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๗ พ.ศ. ๒๕๔๘

บันทึก CD ชุดมูนมังอีสาน ๑ ตอน เซิ้งกลอนยาว (เซิ้งต�ำนานบั้งไฟ) ให้แก่บริษัทปีเตอร์กรุ๊ป เพื่อสืบสานต�ำนานบั้งไฟ บันทึก CD เพลงกล่อมลูก (ภาคอีสาน) บันทึก CD ชุดล�ำล่อง (ล�ำทางยาว) ประวัติหลวงพ่อวิเทศธรรมรังสี (หลวงตาชี) เจ้าอาวาสวัดไทยกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๑๒ โล่รางวัลรองชนะเลิศ การประกวดหมอล�ำกลอนครัง้ ที่ ๑ จากอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ พลเอกกฤช ปุณณกันต์ ทางสถานีวทิ ยุโทรทัศน์ ช่อง ๕ กรมประชาสัมพันธ์ จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๔๓ ถ้วยรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ และถ้วยรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ จากการประกวด กลอนล�ำเสรีธรรมล�ำเต้ย และเสรีธรรมล�ำล่อง จากพรรคเสรีธรรม พ.ศ. ๒๕๔๕ โล่รางวัลชนะเลิศ จากอธิบดีกรมอนามัย งานการประกวดกลอนล�ำเพื่อสุขภาพ ในงาน เมืองน่าอยู่ จังหวัดร้อยเอ็ด

48

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


ประวัติศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑

นางอรอุมา จันทรวงษา (หมอล�ำทองศรี ศรีรักษ์) v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๙๗ ปัจจุบันอายุ ๖๓ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านงิ้วโป้ง ต�ำบลทุ่งชมพู อ�ำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น v

ที่อยู่ปัจจุบัน

ศูนย์การเรียนรู้ครูภูมิปัญญาไทย ด้านศิลปกรรม (การแสดงหมอล�ำ) บ้านเลขที่ ๑๐๐/๒ บ้านโพธิ์แก้ว ถนนอุดร - เลย ต�ำบลนากลาง อ�ำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวล�ำภู โทรศัพท์ ๐๘ ๐๑๘๓ ๖๑๐๒ และ ๐๙ ๔๕๓๐ ๑๘๙๘ e-mail : pakinai098@gmail.com v

v

การศึกษา พ.ศ. ๒๕๑๐ ระดับประถมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนบ้านงิ้วโป้ง ต�ำบลทุ่งชมพู อ�ำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๓๙ ระดับประถมศึกษาตอนปลาย จากศูนย์บริการการศึกษานอกระบบฯ ต�ำบลนากลาง อ�ำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวล�ำภู พ.ศ. ๒๕๔๑ - ๒๕๔๙ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จากศูนย์บริการการศึกษานอกระบบฯ ต�ำบลนากลาง อ�ำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวล�ำภู พ.ศ. ๒๕๕๖ ระดับปริญญาตรี คณะสังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ท - เชียงใหม่ สาขาหนองบัวล�ำภู

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๔๗

เผยแพร่ศลิ ปะการแสดง ในวาระการได้รบั ยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็นศิลปินผูม้ ผี ลงานดีเด่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถาบันวิจยั ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ๒๕๔๘ เผยแพร่ศิลปะการแสดง เนื่องในวาระได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ “สุดยอดศิลปิน พื้นบ้านอีสาน” ในวาระ ๔๐ ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๔๙ สร้างสรรค์ประพันธ์บทกลอนล�ำ และแสดงหมอล�ำกลอนเทิดพระเกียรติ เนื่องใน พระราชพิธฉี ลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ ๖๐ ปี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ณ ที่ว่าการอ�ำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวล�ำภู

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

49


v

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๔๙

รางวัลรองชนะเลิศ การแข่งขันหมอล�ำกลอนย้อนยุค จากจังหวัดหนองคาย และ ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดหนองคาย พ.ศ. ๒๕๕๖ รางวัลผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาศิลปกรรม (ล�ำกลอน) จากมหาวิทยาลัย ขอนแก่น

50

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


ประวัติศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑

นางบุดษา แถววิชา (หมอล�ำอุษา แถววิชา) v

v

v

v

ภูมิหลัง เกิดเมือ่ วันที่ ๑๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๓ ปัจจุบนั อายุ ๖๘ ปี ภูมลิ ำ� เนา อ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๒๑๘ หมู่ ๘ บ้านหนองไผ่เหนือ ต�ำบลวังหินลาด อ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น โทรศัพท์ ๐๘ ๑๘๗๒ ๖๗๔๘

การศึกษา พ.ศ. ๒๕๐๔

ระดับประถมศึกษาปีที่ ๔ จากโรงเรียนบ้านหนองไผ่นาดี ต�ำบลวังหินลาด อ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น

ประสบการณ์

จากความสามารถอันโดดเด่นท�ำให้เป็นที่ยอมรับของสังคม ในการถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมอีสาน ตลอดระยะเวลาที่ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าวงหมอล�ำคณะหนึ่งในสยาม ได้น�ำศิลปะการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์ของ วัฒนธรรมท้องถิน่ มาแสดงออกสูส่ ายตาแฟนเพลง แฟนหมอล�ำ จนเป็นทีช่ นื่ ชอบของบุคคลทัว่ ไป และถ่ายทอดให้แก่ นักเรียน นิสิต นักศึกษา นักวิชาการ ลูกศิษย์ ให้ประสบความส�ำเร็จน�ำไปเป็นอาชีพหลายรุ่น และมีหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนให้การสนับสนุน นางบุดษา แถววิชา ไปแสดงเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในงานเทศกาลต่าง ๆ และด้านการบันทึกเสียงเป็นอัลบั้มได้เผยแพร่ภาพและเสียงหลายชุดต่อเนื่องมาโดยตลอด v

เกียรติประวัติ

รางวัลพระราชทานจาก “พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ” ในโครงการ เพลงกล่อมลูก ๔ ภาค

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

51


ประวัติศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑

นางอุไร ฉิมหลวง (นกน้อย อุไรพร) v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐ ปัจจุบันอายุ ๖๐ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านเลขที่ ๖๑ บ้านจอม ต�ำบลบึงบอน อ�ำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ v

v

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๕๕๕ บ้านหนองใส ต�ำบลหนองนาค�ำ อ�ำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี โทรศัพท์ ๐๘ ๑๙๕๔ ๗๘๐๗

การศึกษา

ระดับประถมศึกษาปีที่ ๔ จากโรงเรียนวัดบ้านจอม ต�ำบลบึงบอน อ�ำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ และได้รับปริญญามหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ v

v

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๑๔ เป็นนักร้องวงดนตรีเพชรพิณทอง ที่บ้านท่าวังหิน อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. ๒๕๑๖ ได้บันทึกแผ่นเสียงด้วยงานเพลงด�ำขี่หลี่ และเพลงสัจจาหญิง พ.ศ. ๒๕๑๘ ร่วมงานเดินสายกับหมอล�ำคณะสะอาดนาฏศิลป์ พ.ศ. ๒๕๑๘ - ปัจจุบนั เป็นหัวหน้าหมอล�ำคณะเสียงอิสาน

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๔๘ พ.ศ. ๒๕๔๙ พ.ศ. ๒๕๔๙ พ.ศ. ๒๕๔๙

52

ศิลปินมรดกอีสาน

ประกาศเกียรติคุณ ผู้สนับสนุนงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนบ้านจอมวิทยา จ�ำนวน ๑๕๐,๐๐๐ บาท จากส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต ๑ โล่ประกาศเกียรติคณ ุ ผูส้ นับสนุนงาน ๖๐ ปีครองราชย์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร วัดป่าตึง อ�ำเภอสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ประกาศเกียรติคณ ุ ผูส้ นับสนุนโครงการลดความรุนแรงต่อเด็กและสตรี จากส�ำนักงาน ต�ำรวจแห่งชาติ โล่ประกาศเกียรติคณ ุ โครงการวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสือ่ พืน้ เมือง จากมหาวิทยาลัย ขอนแก่น สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๓ พ.ศ. ๒๕๕๓ พ.ศ. ๒๕๕๗

เกียรติบัตรผู้สร้างชื่อเสียง และบ�ำเพ็ญประโยชน์ ให้แก่จังหวัดศรีสะเกษ จากจังหวัดศรีสะเกษ โล่รางวัลเชิดชูเกียรติ ผูท้ ำ� คุณประโยชน์ ให้แก่สงั คมและเป็นศิลปินสร้างชือ่ เสียงให้แก่ จังหวัดศรีสะเกษ ประกาศเชิดชูเกียรติด้านส่งเสริม สนับสนุน อนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมประเพณี จากจังหวัดอุดรธานี โล่ประกาศเกียรติคุณ วัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อพื้นบ้าน ประเภทหมอล�ำ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เกียรติบัตร ผู้ ใช้ภาษาไทยดีเด่น จากส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ เกียรติบัตร โครงการสนับสนุนงานประเพณีบุญเบิกฟ้า และงานกาชาด จังหวัดมหาสารคาม ประกาศเกียรติคณ ุ แม่พมิ พ์ของชาติดเี ด่น เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ ๙ จากท่านหญิง (หม่อมเจ้า) ประภาพันธุ์ ภาณุพันธุ์ กรโกสียกาจ

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

53


พุทธศักราช ๒๕๖๑


ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายอดิศร เหล่าสะพาน

นายวิรัตน์ โพธิ์ศรีเรือง

นายถิน สีท้าว

นายกองมี หมื่นแก้ว

นายสว่าง สุขแสง

กลุ่มพรรณไม้

นายสมศักดิ์ มงคลวงศ์

นายพิทยา บุญลา (ช่างไม้ ไท)

นายศิลากร ทับทิมไสย

นายสมบัติ ยอดประทุม

นางชนิดาภา มั่นสนธิ์ (รุ่งนภา เพชรอุบล)

ดร.อ�ำคา แสงงาม

นายสีน�้ำ จันทร์เพ็ญ

นายวิเชียร สาระวัน (สนธยา กาฬสินธุ์)

นายเจริญ สาดา



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายอดิศร เหล่าสะพาน

ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาเกษตรกรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ นายอดิศร เหล่าสะพาน เกิดเมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๐๔ ปัจจุบันอายุ ๕๖ ปี ภูมิล�ำเนา อยู่ที่บ้านดอนมัน อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ส�ำเร็จจากการศึกษาระดับปริญญาตรีครุศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เป็นทายาทของเกษตรกรโดยตรงทีม่ องเห็นความทุกข์ยาก ของพี่น้องในเขตชนบท จึงขวนขวายหาทางและวิธีการแก้ ไขให้พี่น้องมีความอยู่ดีกินดี นายอดิศร เหล่าสะพาน เป็นทั้งผู้ ใหญ่บ้านและเกษตรกรคนขยัน ที่สร้างชุมชนให้พึ่งพาตนเอง จนกลายเป็นแหล่งเรียนรู้ของเกษตรกรและทุกสาขาอาชีพ ในอดีต นายอดิศร เหล่าสะพาน เคยเป็นลูกจ้างและ ท�ำงานค้าขายทีต่ อ้ งลงทุนมากมายเพือ่ หารายได้มาเลีย้ งครอบครัว แต่ไม่ใช่เป้าหมายในชีวติ จึงหันมาท�ำการเกษตร และเป็นผู้ ใหญ่บ้าน รวมถึงก้าวมาเป็นก�ำนัน แต่ด้วยมีรายได้น้อยจึงต้องยึดหลักความพอประมาณ เพาะปลูกพืช เลี้ยงสัตว์เพื่อการบริโภค ใช้ชีวิตเรียบง่ายที่สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จนตระหนักแล้วว่านี้คือ เป้าหมายของชีวิต และเกิดแรงบันดาลใจที่จะสร้างประโยชน์แก่ชุมชน นายอดิศร เหล่าสะพาน จึงได้แสวงหาความรู้และฝึกปฏิบัติ จนสร้างรายได้จากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การเพาะเห็ดในถุงพลาสติกจนครบวงจร เกษตรผสมผสาน ปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ การเพาะพันธุก์ บนอกฤดู จากประสบการณ์ที่ตกผลึก จึงได้ก่อตั้งศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านดอนมัน ต�ำบลขามเรียง อ�ำเภอ กันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม เมือ่ วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เพือ่ เป็นศูนย์การเรียนรูด้ า้ นแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง พร้อมอบรมด้านวิชาการและวิชาชีพ เช่น การเพาะเห็ด การเลี้ยงกบ การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์และ บ่อดิน การเลี้ยงสุกร การเลี้ยงเป็ดเทศ เกษตรอินทรีย์ โรงสีข้าว และการผลิตผักปลอดสารพิษ จากการตัง้ ศูนย์การเรียนรูต้ ามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นายอดิศร เหล่าสะพาน ได้ขยายเครือข่าย ทั้งในจังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดอื่น ๆ เช่น ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ขอนแก่น บุรีรัมย์ สุรินทร์ นครราชสีมา มุกดาหาร หนองคาย รวมถึงนครหลวงเวียงจันทน์ และแขวงหลวงน�้ำทา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ปัจจุบัน นายอดิศร เหล่าสะพาน ยังด�ำเนินกิจกรรมศูนย์การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก แก่ผู้มาเรียนรู้ เช่น อาคารฝึกอบรม ที่พัก โรงครัว ห้องน�้ำ วิทยากร พื้นที่ฝึกงาน ฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ นายอดิศร เหล่าสะพาน ได้น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาด�ำเนินงานจนบังเกิดผลดี พร้อม สร้างเครือข่ายต่าง ๆ จนได้รับรางวัลหลากหลาย เช่น รางวัล “หมู่บ้านแห่งการเรียนรู้ชุมชนเข้มแข็งตามแนว พระราชด�ำริเศรษฐกิจพอเพียง” รางวัล “หมู่บ้านปลอดความยากจนต้นแบบ” รางวัลผู้ประสานงานดีเด่นและ บุคลากรดีเด่น ด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน รางวัลหมู่บ้านแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง รางวัลเพชรน�้ำหนึ่ง พึ่งตนเองแบบเศรษฐกิจพอเพียง และรางวัลยอดเยี่ยม แหนบทองค�ำ จากกระทรวงมหาดไทย จากผลงานอันโดดเด่นที่สร้างสังคมเกษตรได้ผลอย่างต่อเนื่อง นายอดิศร เหล่าสะพาน จึงสมควร ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาเกษตรกรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

57



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายวิรัตน์ โพธิ์ศรีเรือง

ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาเกษตรกรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายวิรัตน์ โพธิ์ศรีเรือง เกิดเมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๐๙ ปัจจุบันอายุ ๕๑ ปี เป็นลูก ชาวนาโดยก�ำเนิด ภูมิล�ำเนาบ้านโนนรัง ต�ำบลสาวะถี อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น มีจิตใจแน่วแน่ที่จะ สร้างชุมชนชาวนาให้มีความสุขในสังคม ด้วยการมีรายได้ตามที่ต้องการ มีอาหารคุณภาพดีไว้บริโภค และเกิด การท�ำงานเป็นกลุ่มที่เข้มแข็งอันจะเป็นที่พึ่งของชุมชน นายวิรัตน์ โพธิ์ศรีเรือง เริ่มสนใจพร้อมเรียนรู้การพัฒนาการเกษตร การท�ำงานกลุ่ม โดยเฉพาะ การรวบรวมพันธุข์ า้ วต่าง ๆ และการพัฒนาเมล็ดพันธุข์ า้ วเพือ่ จะได้เมล็ดพันธุข์ า้ วทีด่ ี กระทัง่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้เข้ามา บริหารศูนย์ส่งเสริมการผลิตพันธุ์ข้าวชุมชน ต�ำบลสาวะถี อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น เพื่อเป็นแหล่ง ส่งเสริมการผลิตข้าวชุมชน การเรียนรู้การเตรียมดิน การผลิตข้าว การแปรรูปจนครบวงจร รวมถึงการสร้าง โรงเรียนชาวนาที่สอนการท�ำนาข้าวอินทรีย์ ให้แก่ผู้สนใจทั่วไปได้มาเรียนรู้ นายวิรัตน์ โพธิ์ศรีเรือง ได้ขับเคลื่อนศูนย์ส่งเสริมการผลิตพันธุ์ข้าวชุมชน เจริญเติบโตก้าวหน้าเป็นที่ พึงพอใจของเกษตรกรในชุมชนต่าง ๆ ดังเห็นได้จากมีสมาชิกทีร่ ว่ มหุน้ ในปัจจุบนั ๑๘๐ คน สมาชิกไม่ได้รว่ มหุน้ ๕๐๐ คน รวมถึงมีสมาชิกขึน้ ทะเบียนในธนาคารเมล็ดพันธุข์ า้ วทีผ่ ลิตข้าวให้แก่กรมการข้าวอีก ๓๕๐ คน ในรอบ ๒ ปีทผี่ า่ นมา ศูนย์ฯ ด�ำเนินกิจกรรมมีรายได้จากการจ�ำหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าว ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท และมีรายได้จากการแปรรูป ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท ด้วยศักยภาพของศูนย์ฯ จึงเป็นที่สนใจของหน่วยงานต่าง ๆ เข้ามาส่งเสริมและพัฒนาร่วมกับสมาชิก เช่น กรมการข้าว ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ส�ำนักงานพลังงานจังหวัดขอนแก่น ส�ำนักงาน เกษตรและสหกรณ์จังหวัดขอนแก่น เทศบาลต�ำบลสาวะถีร่วมสนับสนุน เช่น โรงสี เครื่องคัดแยกเมล็ด โรงตากเมล็ดข้าว โรงอบเมล็ดข้าวด้านพลังแสงอาทิตย์ อุปกรณ์การท�ำไอศกรีม เมล็ดพันธุ์ข้าว เมล็ดปอเทือง ปุย๋ อินทรีย์ เป็นต้น นอกจากนัน้ ยังมีสถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัย กาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โดยการประสานงานของประธานคือ นายวิรัตน์ โพธิ์ศรีเรือง มาร่วมศึกษาวิจัย และเป็นแหล่ง Social Lab ให้แก่นักศึกษาอีกด้วย จากคุณงามความดีทชี่ ว่ ยเหลือเกษตรกร นายวิรตั น์ โพธิศ์ รีเรือง ได้รบั รางวัลมากมาย เช่น รางวัลชนะเลิศ ประกวดศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชนดีเด่น รางวัลปราชญ์เกษตรกรของแผ่นดิน จังหวัดขอนแก่น ด้านผู้น�ำชุมชน จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รางวัลสุดยอดคนเก่ง ด้านแปรรูปข้าวเป็นไอศกรีมจาก ธนาคารเพือ่ การเกษตรและ สหกรณ์ รางวัลสุดยอดคนพลังงาน จากกระทรวงพลังงาน ด้วยผลงานอันโดดเด่นที่พัฒนาสังคมเกษตรกรรมอย่างต่อเนื่อง นายวิรัตน์ โพธิ์ศรีเรือง จึงสมควร ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาเกษตรกรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

59



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายถิน สีท้าว

ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาเกษตรกรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ นายถิน สีท้าว เกิดเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๑ อายุ ๘๐ ปี เป็นชาวจังหวัดมหาสารคาม ส�ำเร็จการศึกษา ระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนวัดบ้านนาทอง อ�ำเภอเชียงยืน และส�ำเร็จการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น จากศูนย์บริการการศึกษานอกระบบฯ (กศน.) อ�ำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม และ ผ่านการอบรมหลั​ักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อวิถีชีวิตระดับชุมชน รุ่นที่ ๓ จากมหาชีวาลัยอีสาน อ�ำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ นายถิน สีท้าว เป็นเกษตรกรที่ประสบผลส�ำเร็จจากการลงมือท�ำงานด้านการเกษตรมาอย่างต่อเนื่อง ผนวกกับการทีเ่ ป็นผู้ ใฝ่รแู้ ละพัฒนาตนเองอยูม่ ขิ าด เข้ารับการฝึกอบรมเรียนรูศ้ าสตร์ดา้ นการเกษตรเพือ่ ยกระดับ การท�ำฟาร์มอย่างสม�่ำเสมอ แล้วน�ำความรู้และความสนใจในศาสตร์ต่าง ๆ มาประยุกต์ ใช้ ในการพัฒนา จนประสบผลส�ำเร็จ มีหวั ใจส�ำคัญอยูท่ กี่ ารเกษตรแบบผสมผสาน ทัง้ การปลูกพืชไร่นาและปศุสตั ว์ เพือ่ ขจัดความยากจน คิดค้นดัดแปลง แฝงแนวคิดลดต้นทุน เพิม่ รายได้ กระจายความเสีย่ ง เมือ่ เกิดองค์ความรูท้ แี่ น่ชดั จึงจัดตัง้ ศูนย์การเรียนรู้ ด้านการเกษตร ส�ำหรับเป็นแหล่งเรียนรูข้ องเกษตรกรทีส่ นใจ โดยเป็นผูถ้ า่ ยทอดศาสตร์เกษตรทัง้ การเพาะพันธุก์ บ การผลิตปุ๋ยชีวภาพ การท�ำนาข้าวหอมมะลิ ปลูกกุยช่ายขาว เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ทั้งยังเป็น ผู้ที่ ใคร่อนุรักษ์เครื่องมือการเกษตรแบบดั้งเดิม จึงได้จัดท�ำพิพิธภัณฑ์การเกษตรขนาดย่อม ส�ำหรับเป็นแหล่ง เรียนรู้สู่อนุชนคนรุ่นหลัง นายถิน สีท้าว ได้ด�ำรงตนเป็นแบบอย่างแก่คนในชุมชน ทั้งการท�ำการเกษตรที่ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง การใฝ่เรียนรู้คู่การฝึกฝน ด�ำรงตนเป็นปราชญ์ผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ ในฐานะเป็นวิทยากรประจ�ำศูนย์ฯ การมีจิตอาสาเป็นกรรมการหมู่บ้าน และการท�ำหน้าที่ ในศูนย์ฯ จนได้รับความไว้วางใจให้ท�ำหน้าที่ผู้จัดการศูนย์ เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าการเกษตร (ศูนย์หลัก) อ�ำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม ด้วยผลงานอันเป็นที่ประจักษ์แก่ชุมชน และการยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่ตั้ง ผสาน การประยุกต์ ใช้ศาสตร์ทหี่ ลากหลายในงานด้านการเกษตร ทัง้ การปลูกพืชและเลีย้ งสัตว์ รวมถึงการน�ำเครือ่ งจักรกล ด้านเกษตรมาใช้อย่างเหมาะสมต่อขนาดการผลิต และการอาสาท�ำหน้าที่ในศูนย์เรียนรู้ฯ เพื่อถ่ายทอดวิทยาการ แก่ชมุ ชนอย่างสม�ำ่ เสมอ นายถิน สีทา้ ว จึงสมควรได้รบั การยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผูม้ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรม สัมพันธ์ สาขาเกษตรกรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติ สืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

61



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายกองมี หมื่นแก้ว

ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาหัตถกรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ นายกองมี หมื่นแก้ว เกิดเมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๔ ปัจจุบันอายุ ๕๖ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านหนองหอย หมู่ที่ ๖ ต�ำบลจระเข้ อ�ำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น นายกองมี หมืน่ แก้ว มองเห็นว่าชาวบ้านในชุมชนของตนประกอบอาชีพเกษตรกรรม รายได้คอ่ นข้าง น้อย ช่วงเวลาว่างจากงานเกษตรกรรมจึงได้รวบรวมชาวบ้านมาร่วมกันผลิตสินค้า โดยการทดลองสานกระติบข้าว ปรากฏว่าท�ำได้สวยงาม จึงได้เกิดอาชีพหัตถกรรมจักสานขึน้ อย่างจริงจัง และตัง้ ชือ่ กลุม่ ว่า “กระติบข้าวไผ่ตะวัน” ซึ่งนายกองมี หมื่นแก้ว เป็นผู้น�ำก่อตั้ง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกระติบข้าว ต�ำบลยางค�ำ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๑ เพื่อสืบทอด ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่และเพิ่มรายได้ ให้แก่ครอบครัวของคนในชุมชน นายกองมี หมื่นแก้ว เป็นผู้น�ำกลุ่มที่เข้มแข็ง น�ำภูมิปัญญาดั้งเดิมมาปรับให้ทันสมัย ควบคู่การอนุรักษ์ วัฒนธรรมของท้องถิน่ โดยเฉพาะจุดเด่นของ ต�ำบลยางค�ำ ทีส่ บื ทอดต่อกันมาจากบรรพบุรษุ จึงเป็นลวดลายจักสาน แบบดั้งเดิม จุดเด่นคือ ฝีมือการท�ำลวดลายที่ละเอียด การสานที่แน่นหนา ท�ำให้กระติบข้าวสามารถเก็บอุณหภูมิ ของข้าวเหนียวได้อย่างดี อันเป็นเอกลักษณ์ของกลุ่ม ทั้งนี้สมาชิกกลุ่มก็มีความสามัคคี มีทักษะฝีมืออันโดดเด่น จึงได้รับการคัดเลือกในการพัฒนาศักยภาพสินค้าไปสู่มาตรฐาน ในโครงการมหกรรมคัดเลือกเครือข่ายองค์ความรู้ (KNOWLEDGE-BASED OTOP : KBO) จังหวัดดีเด่น (KBO CONTEST) โดยส�ำนักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดขอนแก่น และมหาวิทยาลัยขอนแก่น นอกจากนีเ้ พือ่ เป็นการถ่ายทอดภูมปิ ญ ั ญาแก่เยาวชนรุน่ หลัง นายกองมี หมืน่ แก้ว ได้เป็นวิทยากรถ่ายทอด องค์ความรู้ด้าน “หัตถกรรมและการจักสาน” ให้แก่หน่วยงาน องค์กร นิสิตนักศึกษา รวมถึงประชาชนทั่วไปที่สนใจ และยังส่งผู้แทนกลุ่มไปสอนในหมวดงานอาชีพที่ โรงเรียนบ้านยางค�ำ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ จนถึงปัจจุบัน เพื่อให้ ลูกหลานได้ช่วยกันรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นสืบไป ด้วยเกียรติคุณและเป็นผู้ที่มีความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน อนุรักษ์วัฒนธรรม ของท้องถิ่น ตลอดจนอุทิศตนเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้แก่อนุชนรุ่นหลัง นายกองมี หมื่นแก้ว จึงสมควรได้รับ การเชิดชูเกียรติให้เป็นผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาหัตถกรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ เพื่อเป็น แบบอย่างให้แก่ผู้อื่นได้ร่วมกันอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นอันทรงคุณค่าให้อยู่กับสังคมต่อไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

63



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายสว่าง สุขแสง

ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาวิสาหกิจชุมชน พุทธศักราช ๒๕๖๑ นายสว่าง สุขแสง เกิดเมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๑๖ ที่บ้านส�ำราญ ต�ำบลหนองแคน อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ปัจจุบนั อายุ ๔๔ ปี ส�ำเร็จการศึกษาชัน้ ประถมศึกษาจากโรงเรียนบ้านเขวาตะคลอง ต�ำบลก�ำแพง อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย จากศูนย์บริการการศึกษานอกระบบฯ (กศน.) จังหวัดร้อยเอ็ด ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งประธานกลุ่มคลัสเตอร์ อุตสาหกรรมแปรรูปข้าวหอมมะลิ ช่วงวัยเริ่มต้นการท�ำงาน นายสว่าง สุขแสง เคยประกอบอาชีพเป็นเจ้าของ ธุรกิจกิจการรับเหมาก่อสร้าง ตลอดจนการท�ำธุรกิจลูกชิ้นทอด จนประสบความส�ำเร็จอย่างมาก ทั้งยังมี โอกาส ได้เรียนรู้แนวความคิดจากนักวิชาการ นักธุรกิจ ผู้ประกอบการ ผ่านประสบการณ์ตรง จึงน�ำแนวคิดเหล่านั้น กลับมาพัฒนาบ้านเกิด เพือ่ ขจัดปัญหาความยากจน และหนีส้ นิ ให้พน้ ไปจากแผ่นดินแม่ ส่งผลให้คนในชุมชนมีรายได้ เพิ่มมากขึ้นรวมไปถึงคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นายสว่าง สุขแสง มุง่ มัน่ พัฒนาชุมชนบ้านเกิดอย่างเข้าใจชุมชนและคนในชุมชน ริเริม่ การวิจยั เชิงปฏิบตั กิ าร อาศัยหลักการท�ำงานแบบมานุษยวิทยา คือ การท�ำงานแบบมีส่วนร่วม สร้างความเข้มแข็งให้แก่คนในชุมชน และ จัดตนเองตามธรรมชาติของชุมชน จนสืบทราบที่มาต้นตอความยากจนและปัญหาต่าง ๆ ภายในพื้นที่ จึงสามารถ แก้ปัญหาและพัฒนาชุมนุมได้อย่างตรงจุด น�ำไปสู่การผลักดันให้เกิดโครงการต่าง ๆ ที่ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจและ สร้างอัตลักษณ์ ให้แก่จังหวัดร้อยเอ็ด เช่น การท�ำการเกษตรอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์ผงพอกหน้าจากข้าวหอมมะลิผสม สมุนไพร การจัดการท่องเทีย่ วชุมชนป่าแห่งการเรียนรู้ และผ้าฝ้ายทอมือลายแคน ทีเ่ กิดจากความมือของในชุมชุน นายสว่าง สุขแสง ล้วนมีบทบาทเป็นผู้ประสานงานและขับเคลื่อนชุมชนร่วมกับภาครัฐและเอกชน พร้อมสร้าง ภาคีเครือข่ายระหว่างชุมชน เพื่อช่วยเหลือและพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง ด้วยความเพียรพยายามและความวิริยะอุตสาหะอย่างไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคและความล้มเหลว นายสว่าง สุขแสง จึงสามารถสร้างผลงานเชิงประจักษ์ดังกล่าวอันเกิดจากการทุ่มเท แรงกาย แรงใจ และ ความเสียสละ กล้าทีจ่ ะริเริม่ ทดลองท�ำสิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ชุมชน นายสว่าง สุขแสง จึงสมควรได้รบั การยกย่อง เชิดชูเกียรติเป็นผูม้ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาวิสาหกิจชุมชน พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

65



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

กลุ่มพรรณไม้

ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาวิสาหกิจชุมชน พุทธศักราช ๒๕๖๑

กลุม่ พรรณไม้ ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ ปีพทุ ธศักราช ๒๔๓๔ โดยกลุม่ ทอผ้าสตรีในจังหวัดร้อยเอ็ด ชือ่ กลุม่ “พรรณไม้” มีทมี่ าจากสมาชิกเป็นผูผ้ ลิตผ้าไหมทอมือแบบดัง้ เดิมและผ้าฝ้ายด้วยสียอ้ มธรรมชาติ ซึง่ ย้อมผลิตภัณฑ์ดว้ ยวัตถุดบิ จากพืชและต้นไม้ชนิดต่าง ๆ กลุม่ พรรณไม้เป็นการรวมกลุม่ ของช่างทอผ้าพืน้ เมืองย้อมสีธรรมชาติประมาณ ๕๐๐ คน จาก ๒๔ หมู่บ้าน ใน ๖ อ�ำเภอ ๓ จังหวัด หลักการที่ท�ำให้ กลุ่มพรรณไม้ ประสบความส�ำเร็จในด้านหัตถกรรมทอผ้า จนมีชื่อเสียงทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ได้แก่ การจัดการแบบมีส่วนร่วม ถือเป็นกลยุทธ์ส�ำคัญในการบริหารจัดการธุรกิจ การควบคุม คุณภาพและการรับประกันผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ กลุ่มพรรณไม้เป็นผู้น�ำคณะกรรมการกลุ่มแบ่งบทบาท เป็นคณะกรรมการผลิตและคณะกรรมการการตลาด หากสมาชิกต้องการความช่วยเหลือเกี่ยวกับกระบวนการ ผลิตก็จะให้ค�ำปรึกษาและการฝึกอบรมแก่สมาชิก ความมุ่งมั่นของสมาชิก การผลิตผลิตภัณฑ์ทอมือและย้อม ตามแบบดัง้ เดิมต้องมีทกั ษะและความอดทน การเจรจาต่อรองและการค้าทีเ่ ป็นธรรม ผลิตภัณฑ์กลุม่ พรรณไม้ มากกว่าร้อยละ ๒๕ ส่งออกไปยังองค์กรทางสังคมอื่น ๆ หรือองค์กรการค้าที่เป็นธรรมในยุโรปและญี่ปุ่น ร้อยละ ๕๐ ของผลิตภัณฑ์จำ� หน่ายให้แก่วสิ าหกิจทางสังคม แม้วา่ กลุม่ พรรณไม้ ไม่ได้รบั การรับรองจาก Fair Trade Organizations แต่ก็ปฏิบัติตามหลักการ Fair Trade อย่างเคร่งครัด การแบ่งปันผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม กลุ่มพรรณไม้ ได้พัฒนาระบบการแบ่งปันผลประโยชน์ ให้เป็นธรรมในทุกระดับ ช่วยให้ธุรกิจของกลุ่มพรรณไม้ ด�ำเนินไปได้จนถึงวันนี้ ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ งบการเงินที่ผ่านการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีจะได้รับ การเปิดเผยระหว่างกรรมการและที่ประชุมประจ�ำปี การสื่อสารกับผู้บริโภค โดยเฉพาะกลุ่มพรรณไม้ ต้องการ จ�ำหน่ายสินค้าเพื่อสื่อสารและให้ความรู้แก่ผู้บริโภค อาทิ คุณค่าของสังคม การสร้างธุรกิจผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน และการเสริมสร้างพลังอ�ำนาจของสตรี สร้างเครือข่ายกับแรงงานนอกระบบอืน่ ๆ กลุ่มพรรณไม้ ได้สมัครเป็นสมาชิกของ Homenet Thailand เพื่อสนับสนุนการคุ้มครองทางสังคม เช่น การขยาย โครงการประกันสังคมให้ครอบคลุมแรงงานนอกระบบ กลุ่มพรรณไม้ มีแนวคิดว่า “ถ้าสมาชิกสามารถอยู่รอดได้ องค์กรของพวกเขาก็จะสามารถมีชีวิตอยู่ได้” จึงมุ่งมั่นพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจความสามารถและยกสถานะของสตรี ในชนบท การท�ำงานด้วยความเป็น น�้ำหนึ่งใจเดียวกัน สามารถส่งผลดีต่อผู้ประกอบการทอผ้าสตรี ครอบครัวและชุมชนของตนได้ รวมทั้งสร้าง ความเชือ่ มโยงระหว่างผูผ้ ลิตกับผูบ้ ริโภค หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ให้ทำ� งานร่วมกันเพือ่ สร้างความเคารพต่อศักดิศ์ รี ความเป็นมนุษย์ และเกิดวิถีเศรษฐกิจที่ดีมีความเป็นปึกแผ่นทางสังคม กลุม่ พรรณไม้ เป็นกลุม่ ทอผ้าพืน้ บ้านด้วยสีธรรมชาติทเี่ ป็นต้นแบบให้แก่กลุม่ ทอผ้าต่าง ๆ ได้นำ� กระบวนการ จัดการ วิถีการผลิตไปประยุกต์ ใช้เพื่อให้เกิดความยั่งยืนต่อกลุ่มของตน กลุ่มพรรณไม้ จึงสมควรได้รับยกย่อง เชิดชูเกียรติเป็นผูม้ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาวิสาหกิจชุมชน พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

67



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายสมศักดิ์ มงคลวงศ์

ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาศิลปกรรม (จิตรกรรม) พุทธศักราช ๒๕๖๑ นายสมศักดิ์ มงคลวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๐๕ ปัจจุบันอายุ ๕๕ ปี ภูมิล�ำเนา อยูท่ จี่ งั หวัดอ�ำนาจเจริญ ส�ำเร็จการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ทีว่ ทิ ยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี (ศิลปกรรม) ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ และระดับปริญญาตรี ที่วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเพาะช่าง (เอกจิตรกรรมสากล) ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ปัจจุบันได้ย้ายภูมิล�ำเนามาอยู่ที่จังหวัดปทุมธานี และประกอบอาชีพเป็น ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายสื่อสารองค์กร หน่วยศิลปกรรม ธนาคารออมสินส�ำนักงานใหญ่ นายสมศักดิ์ มงคลวงศ์ เป็นศิลปินชาวอีสานโดยแท้ ไม่เคยลืมบุญคุณแผ่นดินอีสาน ถึงแม้ว่าจะย้าย ภูมิล�ำเนาไปอยู่ภาคกลางก็ตามที แรกเริ่มรับราชการเป็นครูศิลปะในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๓๓ รวมระยะเวลา ๕ ปี ทีส่ มศักดิเ์ ป็นจิตรกรที่มจี ิตวิญญาณในการสร้างสรรค์ผลงานภาพวาดมาตั้งแต่วัยเยาว์ โดยได้รับการสนับสนุน จากครอบครัว ทั้งมีแรงบันดาลใจจากครูอาจารย์ และความชอบในทางศิลปะเป็นทุนเดิม ได้รับรางวัลชนะเลิศ ในการประกวดภาพวาดต่าง ๆ หลากหลายเวที ทั้งยังจัดแสดงผลงานทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง เมื่อเข้าท�ำงานที่ธนาคารออมสิน ส�ำนักงานใหญ่ ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๓๔ เป็นโอกาสได้แสดงฝีมือในทางจิตรกรรมให้ ชาวไทยได้เห็นผลงานการออกแบบและวาดภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปสเตอร์ และปฏิทินที่ ได้รางวัลอันดับหนึ่ง ของประเทศอย่างต่อเนื่อง และอีกหลายสิบรางวัลระดับโลก ผลงานที่สร้างสรรค์และออกแบบนั้นล้วนบ่งบอกถึง ความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ คือ การวาดภาพพระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ผลงานได้รับการเผยแพร่มากกว่า ๖๐ ล้านชุด โดยเฉพาะปฏิทินของธนาคาร ออมสิน อาจเรียกได้ว่าเผยแพร่ผลงานติดตามบ้านเรือนประชาชนมากที่สุดของประเทศอีกท่านหนึ่ง นอกจากนั้น ผลงานของท่านยังได้ตีพิมพ์ตามวารสารต่าง ๆ สื่อต่าง ๆ สื่อประกอบการศึกษา สื่อโซเชียล เพื่อเป็นวิทยาทาน แก่หน่วยงาน เกียรติยศความภาคภูมิใจอาจเรียกได้ว่า ศิลปินชาวอีสานท่านนี้เป็นผู้อยู่หลังพู่กัน ผู้ปิดทองหลังพระ เพียงได้สร้างสรรค์ผลงานเพื่อถวายความจงรักภักดีต่อสถาบันสูงสุดที่ชาวไทยทุกคนรักและเทิดทูน ปัจจุบันท่าน ได้เปิดบ้านเป็น “หอศิลป์บ้านรักพ่อหลวง” เพื่อเผยแพร่ผลงานเป็นแหล่งเรียนรู้ทางศิลปะแก่บุคคลทั่วไปและ เยาวชนทีส่ นใจ ด้วยผลงานเป็นทีป่ ระจักษ์ทา่ นได้รบั การเชิดชูเกียรติทสี่ ำ� คัญหลายรางวัล เช่น รางวัลสุรยิ ศศิธร ภาพเขียนปฏิทิน เอกมงกุฎสยาม ของสมาคมนักประพันธ์แห่งประเทศไทย สามปีซ้อนตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๔๖ รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น โรงเรียนอ�ำนาจเจริญ พ.ศ. ๒๕๕๙ และ รางวัลเกียรติยศ คนดีศรีอีสาน จัดโดย พันธมิตร เครือข่ายความดีงามภาคอีสาน พ.ศ. ๒๕๖๐ นายสมศักดิ์ มงคลวงศ์ เป็นศิลปินด้านจิตรกรรมชาวอีสาน ผลงานสร้างสรรค์จิตรกรรมล้วนมาจาก ฝีมือ ความคิด แรงบันดาลใจจากความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ พร้อมถ่ายทอดความงามด้วย จิตวิญญาณ บนถาดผสมสี ปลายพูก่ นั เติมเต็มความฝันและจินตนาการให้แก่เด็กอีสานรุน่ หลัง นายสมศักดิ์ มงคลวงศ์ จึงสมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาศิลปกรรม (จิตรกรรม) พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

69



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายพิทยา บุญลา (ช่างไม้ ไท)

ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาศิลปกรรม (แกะสลัก) พุทธศักราช ๒๕๖๑ นายพิทยา บุญลา หรือ ช่างไม้ ไท เกิดเมื่อวันที่ ๒๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๙๘ ที่บ้านน�้ำเที่ยง ต�ำบลท่าลาด อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ปัจจุบันอายุ ๖๓ ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาจาก โรงเรียนบ้านห้วยขะยูง อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ระดับมัธยมศึกษา จากโรงเรียนศรีบุณยานนท์ ต�ำบลสวนใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ระดับปริญญาตรี สาขาศิลปกรรม (ภาพพิมพ์) จากวิทยาลัยเพาะช่าง กรุงเทพมหานคร นายพิทยา บุญลา เริ่มรับราชการในต�ำแหน่งครู ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ - ๒๕๕๑ ประจ�ำแผนกวิชาวิจติ รศิลป์ สอนรายวิชาศิลปะภาพพิมพ์ ออกแบบ เขียนแบบ ประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะ ในระดับ ปวช. และ ปวส. ก่อนจะลาออกจากราชการไปสร้างงานศิลปกรรมด้วยตนเอง เช่น งานปั้น งานแกะสลัก จากวัสดุต่าง ๆ โดยเฉพาะงานแกะสลักแบบช่างโบราณ รวมทั้งงานหัตถกรรมจากไม้แบบดั้งเดิม สืบทอดแต่อีสาน โบราณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถวายเป็นพุทธบูชาและเป็นสิ่งของเครื่องใช้มากกว่าเป็นสิ่งประดับตกแต่งที่มีมูลค่า ทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังได้ศึกษาคุณลักษณะของไม้ที่เกิดในท้องถิ่นอีสานเพื่อน�ำมาสร้างสรรค์งานศิลปะและ หัตถกรรม เช่น ไม้ โมก ไม้ก้านเหลือง ไม้ยอ ไม้หว้า พบว่าไม้หลายชนิดที่ ไม่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจสามารถน�ำมา สร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะได้งดงามและทรงคุณค่า ด้านการบริการชุมชนและสังคม นายพิทยา บุญลา ได้ท�ำคุณประโยชน์ โดยการจัดตั้งพื้นที่เผยแพร่แหล่ง เรียนรู้งานศิลปหัตถกรรมแก่ชุมชน คือ แกลเลอรี่ ไม้ ไท บ้านห้วยขะยูง อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ได้แกะสลักฮางฮดสรงและฮาวเทียน ถวายวัดวาอารามต่าง ๆ จนเป็นที่ประจักษ์แก่สาธุชนทั่วไป นอกจากนี้ ยังรับเป็นที่ปรึกษาของหน่วยงานต่าง ๆ เป็นวิทยากรอบรมวิชาชีพการพิมพ์สกรีนและองค์ความรู้ศิลปะแขนง ที่เชี่ยวชาญให้แก่ชุมชนอย่างต่อเนื่องเสมอมา จนได้รับโอกาสให้ ไปแสดงผลงานได้รับรางวัลและเกียรติคุณจาก หน่วยงานของภาครัฐและเอกชน ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ถึงปัจจุบัน นายพิทยา บุญลา เป็นศิลปินผู้สรรค์สร้างงานศิลปกรรม โดยเฉพาะงานแกะสลักตั้งแต่เป็นครูสอน ในสถาบันการศึกษาที่เป็นระบบราชการจนกระทั่งออกมาท�ำงานอิสระ ก็ ได้ต่อยอดวิชาความรู้ความช�ำนาญ พร้อมกับสร้างแนวคิดเสริมคุณค่าให้ ไม้ที่ ไม่มีค่าทางเศรษฐกิจ แต่มีคุณค่าทางศิลปะได้อย่างมีพลังของจิตวิญญาณ ศิลปะ ท�ำงานศิลปะสืบทอดองค์ความรู้แบบอีสานโบราณให้มีชีวิต เป็นแนวทางให้แก่คนรุ่นหลังได้เจริญรอยตาม นายพิทยา บุญลา (ช่างไม้ ไท) จึงสมควรได้รบั การยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผูม้ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาศิลปกรรม (แกะสลัก) พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

71



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายศิลากร ทับทิมไสย

ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาศิลปกรรม (จิตรกรรมฝาผนัง) พุทธศักราช ๒๕๖๑ นายศิลากร ทับทิมไสย เกิดเมือ่ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๑๐ อายุ ๖๐ ปี ปัจจุบนั ได้ยา้ ยมาอยูท่ ี่ จังหวัดขอนแก่น และประกอบอาชีพเป็นศิลปินอิสระ มีภมู ลิ ำ� เนาอยูท่ จี่ งั หวัดมหาสารคาม เกิดและเติบโตในครอบครัว ชาวนา แต่มีใจรักงานศิลปะ โดยได้รบั การสนับสนุนจากครอบครัวและปูแ่ ดง ซึง่ เป็นช่างแกะสลักลวดลายตามธรรมาสน์ วาดลวดลายบนศาลาและหน้าบันวัด อีกทั้งบิดามีฝีมือเชิงช่างที่ ได้รับการถ่ายทอดมาจากปู่เช่นกัน โดยเฉพาะ การจักสาน ท�ำให้นายศิลากรมีฝีมือและเป็นช่างมาตั้งแต่วัยเยาว์ นายศิลากรได้แนวทางการสร้างสรรค์ผลงาน จิตรกรรมจากปู่ บิดา และอาจารย์บุญหมั่น ค�ำสะอาด ขณะเข้าเรียนสาขาวิจิตรศิลป์ ระดับ ปวช. และ ปวส. ทีว่ ทิ ยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ได้เข้าศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเวชนิทศั น์ วิทยาศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ช่วงชีวิตในกรุงเทพมหานคร ได้สมัครเป็นครูสอนศิลปะของโรงเรียน เอกชนแห่งหนึ่ง จนได้มี โอกาสพบกับครูช่าง คือ ครูสงวน รักมิตร ช่างผู้เขียนภาพจิตรกรรมระเบียงคด วัดพระศรีรัตนศาสดาราม จึงฝากตัวเป็นศิษย์ และรับงานเขียนจิตรกรรมวัดศิริสัมพันธ์ จ.นนทบุรี เพื่อน�ำมาเป็น ทุนการศึกษา นายศิลากร ทับทิมไสย เริ่มท�ำงานในหน่วยโสตทัศนศึกษา โรงเรียนเวชนิทัศน์ โรงพยาบาลศิริราช และท�ำงานโสตทัศนูปกรณ์ ฝ่ายฝึกอบรม ธนาคารเอเชียจ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ ต่อมาได้เข้าท�ำงานที ่ โสตทัศนูปกรณ์ แผนกฝึกอบรม บริษัทเงินทุน เอกธนกิจ จ�ำกัด (มหาชน) ในขณะที่ท�ำงานเอกชนก็ยังรับงาน จิตรกรรมฝาผนังและสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมควบคูก่ บั งานประจ�ำ เช่น ร่วมแสดงจิตรกรรมบัวหลวงครัง้ ที่ ๑๒ และ ครัง้ ที่ ๑๖ ร่วมแสดงผลงาน ปตท. และการแสดงผลงานศิลปกรรมยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทยและอาเซียน ของ กลุ่มบริษัทฟิลลิปมอร์ริส พ.ศ. ๒๕๓๘ จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๔๐ เกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจจึงกลับมาอยู่ภาคอีสาน นายศิลากร ทับทิมไสย เป็นช่างเขียนลวดลายจิตรกรรมฝาผนังตกแต่งภายในพระมหาธาตุแก่นนคร อนุสรณ์สาธุชน วัดหนองแวงพระอารามหลวง จ.ขอนแก่น จนมีชื่อเสียงเพราะน�ำความเป็นอีสานผสานกับ รูปแบบเฉพาะตน ซึ่งลักษณะเด่นคือ ความร่วมสมัยในการออกแบบลวดลายรูปแบบการเขียนตัวละคร น�ำลาย ผ้าอีสาน มาออกแบบการเขียนลายและผสานเข้าไปในตัวละคร เช่น ผลงานจิตรกรรมวัดป่าแสงอรุณ ต.พระลับ อ.เมือง จ.ขอนแก่น การวาดภาพลวดลายทศชาติ พุทธประวัติ ฮีตสิบสองของชาวอีสาน ในศาลาวัดสว่างพิทยา บ้านหนองหลุบ ต.แดงใหญ่ อ.เมือง จ.ขอนแก่น นอกจากนั้นยังฝากผลงานเพื่อเป็นพุทธบูชาและศึกษาเรียนรู้ของ พุทธศาสนิกชนผ่านผลงานจิตรกรรมฝาผนังทั้งในกรุงเทพมหานคร ภูมิภาคอีสาน และต่างประเทศ เช่น ภาพเทพ ชุมนุม ที่วัดเจริญธรรม เมืองลึกเด ประเทศเยอรมนี จากผลงานสร้างสรรค์จ�ำนวนมากท�ำให้ ได้รับการเชิดชูเกียรติ เป็นครูช่าง จากศูนย์ศิลปาชีพระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๗ และ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้รับรางวัลนาคราช เชิดชูเกียรติ ศิลปินพืน้ บ้านอีสาน สาขาจิตรกรรมฝาผนัง จากสถาบันวิจยั ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นายศิลากร ทับทิมไสย เป็นศิลปินด้านจิตรกรรมฝาผนังคนส�ำคัญของภูมภิ าคอีสาน ทีน่ ำ� ความเป็นอีสาน มาพัฒนางานศิลปกรรมและสร้างสรรค์เป็นพุทธศิลป์ต่าง ๆ ในศาสนาคาร ประยุกต์ผลงานจิตรกรรมใช้ ในทาง ศิลปกรรมเพือ่ จรรโลงพุทธศาสนา อันจะเป็นพลังแห่งการสืบสานและพัฒนาอย่างแท้จริง นายศิลากร ทับทิมไสย จึงสมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาศิลปกรรม (จิตรกรรม ฝาผนัง) พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

73



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายสมบัติ ยอดประทุม

ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาศิลปกรรม (หนังประโมทัย) พุทธศักราช ๒๕๖๑ นายสมบัติ ยอดประทุม เกิดเมื่อวันที่ ๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๖ ที่บ้านโคกทม หมู่ที่ ๒ ต�ำบลบัวแดง อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ปัจจุบันอายุ ๖๔ ปี ส�ำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐานจากโรงเรียนชุมชน บ้านโคกทม (พิศิษฐ์พิทยาคาร) อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ปัจจุบันเป็นครูผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ของจังหวัดร้อยเอ็ด ด้านศิลปกรรมหนังประโมทัย ค�ำสอย และตลก นายสมบัติ ยอดประทุม ปราชญ์ท้องถิ่นผู้มากด้วยความสามารถด้านศิลปะการแสดงหนังบักตื้อ หรือหนังประโมทัย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าหนังตะลุงอีสาน ทั้งยังมีฝีมือแกะรูปหนังอันเป็นงานศิลปะชั้นสูง ซึ่งน้อยคนนักจะสามารถท�ำได้อย่างงดงามสมบูรณ์แบบ พ่อครูสมบัติเชี่ยวชาญการแกะรูปหนัง สร้างตัวละคร ซึ่งมีจ�ำนวนไม่น้อยให้ครบทุกตัวด้วยความประณีต จนได้รับการยอมรับว่าสวยงาม อาทิ ตัวฤาษี เจ้าเมือง พระนาง ยักษ์ ตัวตลก และตัวประกอบอื่น ๆ ซึ่งพ่อครูสมบัติ ได้ท�ำให้เห็นเป็นที่ประจักษ์ ในฝีมือ และเป็นที่ยอมรับอย่าง กว้างขวาง มีนักเรียน นักศึกษาสนใจเรียนรู้และสืบทอดสานต่อเจตนารมณ์มากถึง ๓๐๐ คน ด้วยการศึกษา ตามอัธยาศัย อันเป็นการศึกษาที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส นอกจากนี้ พ่อครูสมบัติยังช�ำนาญในการสอยซึ่งเป็นองค์ประกอบส�ำคัญอย่างหนึ่งในการแสดงหมอล�ำ สามารถ สร้างเสียงหัวเราะให้แก่ผู้ชมและแสดงให้เห็นความสามารถด้านภาษาของผู้สอยได้เป็นอย่างดี นายสมบัติ ยอดประทุม ช�ำนาญในการแสดงหนังประโมทัยทั้งได้น�ำการสอยตลกหมอล�ำเข้ามาประยุกต์ กับการแสดง เป็นการสร้างสรรค์การแสดงด้วยความแปลกใหม่เป็นทีส่ นใจของผูช้ ม ส่วนค�ำสอยนัน้ ได้ปรับเปลีย่ นให้สมสมัย อยู่เสมอ อีกทั้งยังได้ถ่ายทอดภูมิความรู้ ให้แก่ผู้สนใจได้ศึกษาและสามารถน�ำเอาไปใช้จัดแสดงได้จริง โดยอธิบาย ยกตัวอย่าง และทดสอบผู้เรียนให้สามารถแสดงได้จนช�ำนาญและรับงานแสดงได้ จากคุณูปการและความสามารถของ นายสมบัติ ยอดประทุม ผู้เชี่ยวชาญการแสดงหนังตะลุงอีสาน การแกะรูปหนัง และการสอยตลกหมอล�ำ ครูผถู้ า่ ยทอดภูมปิ ญ ั ญาอีสานให้ลกู หลานนักเรียนนักศึกษาได้สบื สานมรดก ทางวัฒนธรรมอันดีงามของอีสาน ให้ด�ำรงคงอยู่สืบต่อไป นายสมบัติ ยอดประทุม จึงสมควรได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติให้เป็นผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาศิลปกรรม (หนังประโมทัย) พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

75



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นางชนิดาภา มั่นสนธิ์ (รุ่งนภา เพชรอุบล) ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑

นางชนิดาภา มัน่ สนธิ์ (นามแฝง นิภา ทุง่ ฝน นิภาพร ทุง่ ฝน นิภาพร เพชรอุบล และ รุง่ นภา เพชรอุบล) เกิดเมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๑๗ ที่บ้านนาทม ต�ำบลนาทม อ�ำเภอทุ่งฝน จังหวัดอุดรธานี ปัจจุบัน อายุ ๔๓ ปี ส�ำเร็จการศึกษาระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ทีศ่ นู ย์บริการการศึกษานอกระบบฯ ปัจจุบนั เป็นศิลปิน อิสระ ผู้บริหารห้องบันทึกเสียงอุดรเร็คคอร์ด และผู้บริหารสถานีวิทยุเอฟเอ็ม ๙๗ อุดรเรดิโอ นางชนิดาภา มัน่ สนธิ์ มีความใฝ่ฝนั ทีจ่ ะเป็นศิลปินนักร้องหมอล�ำตัง้ แต่เด็ก และเริม่ ต้นชีวติ เส้นทางนี้ ตัง้ แต่เรียนอยูช่ นั้ ประถมด้วยการบ่มเพาะความสามารถจากแม่ครูมณีรตั น์ แก้วเสด็จ และได้ศกึ ษาทัง้ ศาสตร์และศิลป์ อย่างเต็มกระบวนกับแม่ครูราตรี ศรีวิไล จากนั้นได้ตัดสินใจเดินสายร่วมวงดนตรีลูกทุ่งหมอล�ำ พรศักดิ์ ส่องแสง ด้วยนามแฝงว่า นิภาพร ส่องแสง จนกระทั่งปิดวงดนตรี และได้ร่วมเดินสายร่วมวงกับศิลปินอีกหลายท่าน อาทิ เทพพร เพชรอุบล เทียน มธุรส มนต์ มิ่งขวัญ ด้วยพรสวรรค์และความสามารถ ในด้านการร้องหมอล�ำ ท�ำให้ ชนิดาภา มั่นสนธิ์ ประสบความส�ำเร็จในเส้นทางที่ตนรัก ได้ร่วมท�ำเพลงจากการประพันธ์ของศิลปินชั้นครูอย่าง เทพพร เพชรอุบล เช่น เพลงสาวเลยยังรอ คะนึงหา สาวขอนแก่น หมอกจางทางเมืองเลย บันทึกเสียงอัลบั้ม ชุดปันความสุข ในเพลง สัญญาง่าขาม รัก ๘๐ เปอร์เซ็นต์ อัลบั้มชุด มนต์รักรวงข้าว และ ลาแล้วกรุงเทพฯ ผลงานประพันธ์ของวิจิตร บุญชู นอกจากนี้ นางชนิดาภา มั่นสนธิ์ ยังได้สร้างสรรค์บทเพลงในวาระโอกาสต่าง ๆ เช่น ขับร้องบทเพลง เทิดพระเกียรติเนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในเพลง องค์เทพจากสวรรค์ ร่วมถวายเสียงให้กบั วัดป่าบ้านตาดเพือ่ ร่วมโครงการช่วยชาติ ของหลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน เช่น เพลงวอนช่วยหลวงตา เพลงหลวงตากู้ชาติ เพลงหลวงตาจะไถ่ถอนเมืองไทย และขับร้องบทเพลงในชุดร�ำลึก หลวงตาบัว ท�ำเพลงส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ อุทยานภูฝอยลม จังหวัดอุดรธานี เป็นต้น ไม่เพียงแต่ ผลงานคุณภาพทีแ่ สดงถึงความสามารถของ ชนิดาภา มัน่ สนธิ์ เท่านัน้ หากยังมีรางวัลต่าง ๆ ทีเ่ ป็นเครือ่ งเชิดชูและ รับประกันความสามารถจ�ำนวนมาก เช่น รางวัลเข็มพระราชทานจากสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี โล่ประกาศเกียรติคุณในการขับร้องเพลงเทิดพระเกียรติในวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และงานวันอนุรักษ์มรดกไทย จากส�ำนักวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ประกาศเกียรติคุณในฐานะผู้สนับสนุนกิจการด้านศิลปวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๖๐ จากส�ำนักศิลปะและ วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ด้วยความเชีย่ วชาญในศิลปะการขับร้องหมอล�ำท�ำให้ชนิดาภา มัน่ สนธิ์ น�ำความสามารถนีม้ าสร้างประโยชน์แก่เยาวชนด้วยการร่วมสนับสนุนกิจกรรมต่างเกีย่ วกับหมอล�ำทีส่ ถาบันการศึกษา ต่าง ๆ จัดขึ้น เช่น ให้การสนับสนุนวิทยากรพิเศษสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ (ดนตรี นาฏศิลป์) จังหวัดศรีสะเกษ เป็นต้น นางชนิดาภา มั่นสนธิ์ นับเป็นผู้ที่มีความสามารถทางดนตรีหมอล�ำและน�ำความสามารถนั้นมาอ�ำนวย ประโยชน์แก่สังคมทั้งยังเป็นผู้ส่งต่อความรู้หมอล�ำอันเป็นศิลปะท้องถิ่นที่ทรงคุณค่าแห่งภาคอีสานให้แก่เยาวชน ได้เรียนรู้และร่วมสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมนี้ ให้สืบต่อไป นางชนิดาภา มั่นสนธิ์ จึงสมควรได้รับการ ยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

77



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

ดร.อ�ำคา แสงงาม

ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ ดร.อ�ำคา แสงงาม เกิดเมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๒ ที่บ้านเลขที่ ๔๕ บ้านสิงห์ โคก ต�ำบลสิงห์ โคก อ�ำเภอเกษตรวิสยั จังหวัดร้อยเอ็ด ปัจจุบนั อายุ ๕๘ ปี ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก หลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปัจจุบนั รับราชการครูที่ โรงเรียน บ้านกู่กาสิงห์ ต�ำบลกู่กาสิงห์ อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ดร.อ�ำคา แสงงาม เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในด้านวัฒนธรรมศาสตร์และน�ำความรู้ความสามารถ มาต่อยอดพัฒนาวัฒนธรรมชุมชนด้วยการอนุรักษ์ สร้างสรรค์ ให้วัฒนธรรมชุมชนมีความเข้มแข็ง และงอกงาม น�ำไปสู่ผลลัพธ์เชิงประจักษ์คือ ชุมชนมีอัตลักษณ์ที่ชัดเจนและสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างแท้จริง ดังจะเห็น ได้จากโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ที่ ดร.อ�ำคา แสงงาม เป็นผู้น�ำชุมชนในการเรียนรู้และพัฒนาชุมชน อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องมัคคุเทศก์น้อยชุมชนกู่กาสิงห์ เพื่อการสร้างมัคคุเทศก์น้อย น�ำเทีย่ วโบราณสถานกูก่ าสิงห์ อ�ำเภอเกษตรวิสยั จังหวัดร้อยเอ็ด การสร้างและพัฒนาชุมชนกูก่ าสิงห์ ให้เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ด้วยการสร้างฐานการเรียนรู้ ๖ ฐาน ได้แก่ โบราณสถานเขมร พิพิธภัณฑ์มรดกภูมิปัญญา ศูนย์ผ้าไหมกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร สวนผสมเกษตรผสมผสาน ฐานวรรณกรรมพื้นบ้าน และฐานการตัดลาย กระดาษพื้นบ้าน นอกจากนี้ยังได้สร้างพิพิธภัณฑ์มรดกภูมิปัญญา วัดสว่างอารมณ์ พิพิธภัณฑ์ชุมชนเครือข่าย อัตลักษณ์ร่วมทุ่งกุลาร้องไห้ พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ของเด็ก ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ อีกทั้งยังฟื้นฟู ประเพณีดงั้ เดิมเพือ่ เชิดชูอตั ลักษณ์ชมุ ชนอย่างประเพณีทอ้ งถิน่ สรงกู่ การสร้างอนุสาวรียส์ ามปูผ่ กู้ อ่ ตัง้ บ้านเรือน เพือ่ ให้คนในชุมชนส�ำนึกและกตัญญูต่อบรรพชนผู้ก่อตั้ง นอกจากการเป็นผูน้ ำ� ชุมชนในการอนุรกั ษ์และสร้างสรรค์วฒ ั นธรรมชุมชนให้เข้มแข็งแล้ว ดร.อ�ำคา แสงงาม ยังได้เผยแพร่ความรูเ้ กีย่ วกับการพัฒนาวัฒนธรรมชุมชนให้เป็นทีร่ จู้ กั แก่สงั คมอีกด้วย อันจะเห็นได้จากการเผยแพร่ ในวงวิชาการด้วยการเป็นวิทยากรการจัดการท่องเที่ยว การน�ำเสนอผลงานทางวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ อีกทั้งยัง เผยแพร่ผ่านสื่อต่าง ๆ อาทิ สื่อโทรทัศน์ เช่น รายการทุ่งแสงตะวัน ในประเด็นมัคคุเทศก์น้อยชุมชนกู่กาสิงห์ พ.ศ. ๒๕๔๖ รายการชื่นใจไทยแลนด์ ช่องอมรินทร์ทีวี พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้น สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น เขียนหนังสือ “กู่กาสิงห์ : การท่องเที่ยวบนฐานวิถีชุมชน” เผยแพร่ พ.ศ. ๒๕๕๘ หนังสือ “มรดกทางวัฒนธรรม : พิพิธภัณฑ์ ชุมชนเครือข่ายอัตลักษณ์ร่วมทุ่งกุลาร้องไห้” พ.ศ. ๒๕๖๐ เขียนบทความ “กู่กาสิงห์ : ๑๕ ปีบุกเบิก พัฒนา แหล่งท่องเที่ยวทุ่งกุลาร้องไห้” จากคุณูปการของ ดร.อ�ำคา แสงงาม ผู้เป็นผู้น�ำในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สร้างสรรค์วัฒนธรรมท้องถิ่น ให้คนในชุมชนตระหนักถึงคุณค่าและสนใจศึกษาเรียนรูว้ ฒ ั นธรรมของตนเองแล้ว ยังพัฒนาให้ชมุ ชนหล่อเลีย้ งและ พึ่งพาตนเองได้จากมรดกทางวัฒนธรรม ดร.อ�ำคา แสงงาม ถือเป็นปูชนียบุคคลแห่งภาคอีสานผู้ประสานศาสตร์ ความรู้ทางวิชาการมาใช้ ในการพัฒนาชุมชนให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม และนับเป็นผู้ประสานศิลปะแห่งชีวิตให้คน ในท้องถิน่ รักและหวงแหนมรดกวัฒนธรรมของตน ดร.อ�ำคา แสงงาม จึงสมควรได้รบั การยกย่องเชิดชูเกียรติ ให้เป็นผูม้ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสือ่ สารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

79



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายสีน�้ำ จันทร์เพ็ญ

ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ นายสีน�้ำ จันทร์เพ็ญ เกิดเมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๑ ที่บ้านกุดยางสามัคคี อ�ำเภอเมือง กาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัจจุบันอายุ ๖๙ ปี ส�ำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนบ้านกุดยางสามัคคี ต�ำบลกุดยาง อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๗ นายสีนำ�้ จันทร์เพ็ญ เป็นนักเขียน นักอ่าน นักพูด สือ่ สารด้านศาสนา ความเชือ่ อันเป็นวัฒนธรรมประเพณี ดั้งเดิมของคนอีสาน ท�ำให้เป็นผู้มีประสบการณ์ความเชี่ยวชาญด้านภาษาพูด ภาษาเขียนของคนอีสานโบราณ สามารถสื่อสาร แปลสารจากส�ำนวนภาษาที่เข้าใจยากจากคนรุ่นโบราณสู่คนหนุ่มสาวรุ่นร่วมสมัย เป็นการอนุรักษ์ ภาษาและวัฒนธรรมดั้งเดิมให้อนุชนคนรุ่นหลังได้สืบต่อแนวสิ่งที่ดีงามจากคนรุ่นสู่รุ่น ให้เป็นมรดกทางปัญญา ได้อย่างภาคภูมิใจ โดยมีผลงานที่ส�ำคัญคือ การรวบรวมองค์ความรู้ศาสนา ความเชื่อและประเพณีของไทยอีสาน ให้เป็นหมวดหมู่เพื่อให้ผู้ศึกษาเรียนรู้สะดวกในการสืบค้นและน�ำไปใช้ ในชีวิตจริง ประกอบด้วย พ.ศ. ๒๕๓๒ รวบรวมหนังสือมูลมังดั้งเดิมฉบับของดีอีสาน พ.ศ. ๒๕๓๕ รวบรวมเรียบเรียงหนังสือมูลมังดั้งเดิมฉบับ พุทธท�ำนาย พ.ศ. ๒๕๓๘ รวบรวมเรียบเรียงหนังสือมูลมังดัง้ เดิมฉบับคันคากสอนแถน พ.ศ. ๒๕๔๕ รวบรวมเรียบเรียง หนังสือมูลมังดั้งเดิมฉบับฤกษ์งามยามดี พ.ศ. ๒๕๕๐ รวบรวมเรียบเรียงหนังสือมูลมังดั้งเดิมฉบับประเพณี โบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ รวบรวมเรียบเรียงหนังสือ มูลมังดัง้ เดิมฉบับค�ำภีรพ์ ราหมณ์ผญาสอนพรทิพย์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รวบรวมเรียบเรียง หนังสือมูลมังดั้งเดิมฉบับปู่ว่าย่าเว้า ผลงานการเขียนสือ่ สารของ นายสีนำ�้ จันทร์เพ็ญ เป็นงานทีแ่ สดงออกถึงความเป็นผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถ ในการประยุกต์ ใช้ภาษาเก่าค�ำโบราณ ที่ใช้สอื่ สารกันในมวลหมูช่ าวบ้านวัฒนธรรมอีสานดัง้ เดิมก่อนทีจ่ ะผสมผสาน กับภาษาไทยภาคกลาง เป็นการสือ่ สารวัฒนธรรมเก่ากับวัฒนธรรมใหม่ให้ ไปด้วยกันได้อย่างกลมกลืน จึงเป็นผลงาน ที่ท�ำเพื่อสืบสานศิลปวัฒนธรรม รักษาขนมธรรมเนียมโบราณให้ลูกหลานได้รู้จักรากเหง้าวัฒนธรรมดั้งเดิม ของตนเอง นอกจากนัน้ นายสีนำ �้ จันทร์เพ็ญ ยังได้อทุ ศิ ตนเพือ่ สังคมด้วยการเป็นสมาชิกองค์การตรวจสอบการใช้ อ�ำนาจรัฐเพือ่ ชาวบ้าน พร้อมกับท�ำหน้าทีเ่ ป็นวิทยากรเผยแพร่ขนบธรรมเนียมประเพณีตามวาระและโอกาสต่าง ๆ ในสถานศึกษาและองค์กรของชุมชน รวมทั้งเป็นนักพูด นักจัดรายการวิทยุ น�ำสิ่งที่เขียนด้านศิลปวัฒนธรรม ที่เป็นมูลมังดั้งเดิมไปเผยแพร่เป็นประโยชน์แก่ประชาชนทั่วไป นายสีน�้ำ จันทร์เพ็ญ จึงสมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

81



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายวิเชียร สาระวัน (สนธยา กาฬสินธุ์) ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายวิเชียร สาระวัน เกิดวันที่ ๑๔ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๐๐ ปัจจุบนั อายุ ๖๐ ปี เป็นชาวอ�ำเภอค�ำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ นายวิเชียร สาระวัน หรือ ฉายา สนธยา กาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ ในวงการเพลงลูกทุ่งหมอล�ำ อีสาน เริ่มต้นเข้าวงการด้วยการเป็นพระเอกหมอล�ำและหัวหน้าวง สนธยา กาฬสินธุ์ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๑๘ ก่อนจะย้ายไปคณะเพชรอุดร และเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๓๕ ก็ ได้ย้ายไปท�ำงานเป็นนักร้องหมอล�ำอยู่ร้านอาหาร ในกรุงเทพมหานคร ก่อนจะผันตัวเองจากพระเอกหมอล�ำมาเป็นหมอล�ำสาวเพราะบอกว่าแม้จะเกิดเป็นชายแต่ใจเป็นหญิง จึงตัดสินใจแต่งตัวและปรับปรุงตนเองให้เป็นผู้หญิงราว ๑๐ ปีที่ผ่านมา นายวิเชียร สาระวัน เป็นศิลปินหมอล�ำสาวประเภทสอง ทีท่ ำ� หน้าที่ในการถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมอีสาน มาตลอดชีวติ การท�ำงานกว่า ๔๒ ปี ที่ใช้ศลิ ปะการแสดงคือ หมอล�ำน�ำเสนอสูผ่ ชู้ ม ผูฟ้ งั และถ่ายทอดให้นกั ท่องเทีย่ ว ชาวต่างชาติได้รับชมรับฟัง แม้จะเป็นสาวประเภทสอง แต่ไม่เคยท�ำให้ภาพลักษณ์ของผู้หญิงอีสานและผู้หญิงไทย เสื่อมเสีย ยังอนุรักษ์ ประเพณี วัฒนธรรมอีสาน พร้อมกับสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีอย่างต่อเนื่องและ ดีงาม รวมไปถึง ได้ ใช้ความสามารถด้านการปลุกเร้า ปลอบโยน ให้ก�ำลังใจ สาวประเภทสอง ที่มีปัญหาชีวิต จนได้รับการยกย่องและได้รับเสียงชื่นชมมาตลอด ๑๐ ปี ในฐานะแม่พระ และที่พึ่งของสาวประเภทสองที่ท�ำงาน อยู่ต่างบ้าน ต่างถิ่น โดยเฉพาะดินแดนแห่งเมืองราตรีไม่เคยหลับอย่างเมืองพัทยา โดยทุกคนเรียกขานว่า “แม่สน” นอกจากนัน้ นายวิเชียร สาระวัน ยังมีความกตัญญูตอ่ บ้านเกิด พร้อมกลับไปช่วยงานบุญ งานบวช งานประเพณีสำ� คัญของชุมชนไม่เคยขาด ท�ำทั้งบุญกฐิน ผ้าป่า กลับไปช่วยเหลือญาติพี่น้องอยู่สม�่ำเสมอ และยัง ท�ำหน้าที่เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของอีสานเสมอมา ด้วยผลงานอันประจักษ์นี้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงเห็นสมควรยกย่องให้ นายวิเชียร สาระวัน (สนธยา กาฬสินธุ)์ เป็นผูม้ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสือ่ สารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ เพือ่ เป็นแบบอย่างให้กบั ผูอ้ นื่ ได้สร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะการแสดงหมอล�ำอันทรงคุณค่าให้อยูก่ บั สังคมต่อไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

83



ค�ำประกาศเกียรติคุณ

นายเจริญ สาดา

ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ นายเจริญ สาดา เกิดวันที่ ๑๓ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๙๓ ปัจจุบันอายุ ๖๗ ปี ภูมิล�ำเนาบ้านหนองฮี หมู่ ๔ ต�ำบลบ้านดอนช้าง อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น นายเจริญ สาดา เป็นคนชอบวาดภาพ และเลือกเรียนด้านศิลปะจนกระทั่งได้มาเป็นครูสอนศิลปะ โดยก่อนจะมารับราชการครูนั้น เขาเคยท�ำงานเป็นคนวาดภาพและเขียนป้ายที่ โรงภาพยนตร์ขอนแก่นในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๑๒ - ๒๕๑๔ และพอมารับราชการครูสอนศิลปะครั้งแรกที่ โรงเรียนสตรีสงเคราะห์นิยม ก่อนจะย้ายมาที่ โรงเรียนท่าพระวิทยายนและโรงเรียนวัดท่าพระหงษ์เทศในเวลาต่อมา ในช่วงที่อยู่ โรงเรียนท่าพระวิทยายน ท�ำให้ฝึกการถ่ายภาพทั้งภาพนิ่งและภาพวีดิโอ จนกระทั่งได้มี โอกาสเข้าไปร่วมเป็นหนึ่งในทีมงานถ่ายท�ำภาพยนตร์ของ พันนา ฤทธิไกร ผู้ก�ำกับคิวบู๊ชื่อดังซึ่งเป็นศิษย์เก่า โรงเรียนท่าพระวิทยายน กว่า ๒๒ เรือ่ ง ในฐานะนักแสดง ช่างภาพ นักออกแบบฉาก นักวาดภาพสตรอรีบ่ อร์ด และอื่น ๆ โดยภาพยนตร์เกือบทุกเรื่องของ พันนา ฤทธิไกร นั้น จะใช้ฉากและนักแสดงเป็นชาวต�ำบลท่าพระ แทบทั้งสิ้น เพราะความที่ นายเจริญ สาดา เป็นครูสอนศิลปะนี่เอง ท�ำให้ ได้น�ำเอาวิชาความรู้ ไปร่วมใช้ ในวงการ ภาพยนตร์ด้วย การท�ำอุปกรณ์ตกแต่งฉาก และอุปกรณ์ที่ใช้ ในฉากมากมาย รวมทั้งเป็นนักสะสมใบปิดหนังหรือ โปสเตอร์หนังตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเจริญมองว่าใบปิดหนังมีเสน่ห์และมีคุณค่า เนื่องจากใบปิดหนังสมัยก่อน จะต้องใช้การวาดภาพเป็นหลัก ท�ำให้กว่าจะได้ ใบปิดหนังแต่ละใบคือ การท�ำงานร่วมกันของหลายภาคส่วน เมือ่ ใบปิดหนัง มีจ�ำนวนมากขึ้น ได้ ใช้บ้านของตัวเองที่ต�ำบลท่าพระ อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น เป็นสถานที่จัดแสดง ใบปิดหนังที่สะสมเอาไว้กว่าพันใบ และถูกยกระดับจากเทศบาลต�ำบลท่าพระ ให้บ้านของเขาเป็นแหล่งเรียนรู้ของ ชุมชนในเวลาต่อมา ด้วยผลงานอันประจักษ์นี้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงเห็นสมควรยกย่องให้ นายเจริญ สาดา เป็นผูม้ ี ผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ สาขาสื่อสารวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๕๖๑ เพื่อเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่น ได้ร่วมกันสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปกรรมอันทรงคุณค่าให้อยู่กับสังคมต่อไป

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

85


ประวัติ ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายอดิศร เหล่าสะพาน

v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๐๔ ปัจจุบันอายุ ๕๖ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านหนองอุ่ม ต�ำบลนาสีนวน อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม v

ที่อยู่ปัจจุบัน

บ้านเลขที่ ๒๕ หมู่ ๑๓ บ้านดอนมัน ต�ำบลขามเรียง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม โทรศัพท์ ๐๙ ๗๓๓๙ ๗๙๕๐

v

การศึกษา ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านหนองอุ่มวิทยาคาร ต�ำบลนาสีนวน อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนบ้านหนองอุ่มวิทยาคาร ต�ำบลนาสีนวน อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ระดับปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

v

ประสบการณ์ - สร้างศูนย์ฝึกอบรมผู้น�ำและเกษตรกรตามโครงการปรับโครงสร้างหนี้และฟื้นฟูเกษตรกร จังหวัด มหาสารคาม จ�ำนวน ๔ รุ่น ทั้งหมด ๒๔๐ คน สนับสนุนโดยส�ำนักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร จังหวัดมหาสารคาม - สร้างศูนย์บำ� บัดและฟืน้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด จังหวัดมหาสารคาม จ�ำนวน ๓ รุน่ ทัง้ หมด ๒๕๐ คน - สร้างเครือข่ายในการขยายผลงานการพัฒนาการเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - เป็นผู้น�ำที่มีแนวคิดการจัดการชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ท�ำให้หมู่บ้านได้รับรางวัล “หมู่บ้าน แห่งการเรียนรู้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง”

v

เกียรติประวัติ

พ.ศ. ๒๕๔๙ พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๕๓

ผู้ประสานงานเครือข่ายดีเด่น และบุคลากรดีเด่นด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ ๑ โครงการเพชรน�้ำหนึ่งพึ่งตนเองแบบเศรษฐกิจพอเพียง จากส�ำนักวัฒนธรรม จังหวัดมหาสารคาม รางวัลหมู่บ้านน�ำแนวทาง “เศรษฐกิจพอเพียง” และ “การสร้างเสริมสุขภาพ” ภายใต้ โครงการหมู่บ้านสร้างเสริมสุขภาพตามแนวพระราชด�ำรัสเศรษฐกิจพอเพียง จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ รางวัลก�ำนันยอดเยี่ยม หรือ รางวัลแหนบทองค�ำ จากกระทรวงมหาดไทย

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

87


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายวิรัตน์ โพธิ์ศรีเรือง

v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๐๙ ปัจจุบันอายุ ๕๑ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านโนนรัง ต�ำบลสาวะถี อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น v

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๑๐๙/๒ หมู่ ๒๒ บ้านโนนรัง ต�ำบลสาวะถี อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น โทรศัพท์ ๐๘ ๙๖๗๗ ๓๐๙๙

v

v

88

การศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๒

ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านโนนรังวิทยาคาร ต�ำบลสาวะถี อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๗ พ.ศ. ๒๕๔๘ พ.ศ. ๒๕๔๙ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๕๓

ศิลปินมรดกอีสาน

รับต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้ ใหญ่บ้าน ด้านการปกครอง ร่วมก่อสร้างศูนย์ข้าวชุมชน รับต�ำแหน่งหมอดินต�ำบล เรื่องดิน – น�้ำ เริ่มผลิตแป้งจมูกข้าว จากข้าวพันธุ์ต่าง ๆ ต่อยอดเรื่องจมูกข้าว – ผสมงาด�ำพร้อมชงดื่ม ศึกษาวิจัยเรื่องข้าวงอกแต่ละสายพันธุ์ เริ่มเผยแพร่ความรู้ ให้ชุมชนและเครือข่าย เป็นแกนน�ำร่วมก่อตั้งกลุ่มข้าวอินทรีย์ร้อยแก่นสารสินธุ์ เป็นคณะกรรมการออกข้อก�ำหนดตรวจสอบย้อนกลับ พ.ร.บ. ออร์แกนิคไทยแลนด์

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายถิน สีท้าว

v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๘๑ ปัจจุบันอายุ ๘๐ ปี ภูมิล�ำเนา ๗๖ หมู่ ๙ บ้านนาทอง ต�ำบลนาทอง อ�ำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม v

v

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๗๖ หมู่ ๙ บ้านนาทอง ต�ำบลนาทอง อ�ำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม โทรศัพท์ ๐๘ ๔๗๙๐ ๙๓๗๔

การศึกษา พ.ศ. ๒๔๙๕ พ.ศ. ๒๕๔๕

v

v

ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านนาทอง ต�ำบลนาทอง อ�ำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากศูนย์บริการการศึกษานอกระบบฯ ต�ำบลนาทอง อ�ำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๔๗ เลี้ยงกบ เพาะพันธุ์กบจ�ำหน่าย พ.ศ. ๒๕๔๘ ผลิตเครื่องสีข้าวขนาดเล็ก พ.ศ. ๒๕๔๙ ผลิตปุ๋ยชีวภาพจ�ำหน่าย พ.ศ. ๒๕๔๙ - ปัจจุบัน ปลูกกุยช่ายขาวจ�ำหน่าย

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกาศนียบัตร เป็นผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถและส่งเสริมอาชีพเลีย้ งกบ จากศูนย์บริการ การศึกษานอกระบบฯ อ�ำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. ๒๕๕๐ วุฒิบัตร ผ่านการอบรมหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อวิถีชีวิตระดับชุมชน รุ่นที่ ๓ จากมหาชีวาลัยอีสาน อ�ำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

89


พ.ศ. ๒๕๕๓

วุฒิบัตร ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรอาสาสมัครป้องกันสถาบัน ตามโครงการฝึกอบรม อาสาสมัครป้องกันสถาบัน รุน่ ที่ ๙ ต�ำบลนาทอง จากองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาทอง อ�ำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. ๒๕๕๓ วุฒิบัตร ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎี ใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน) จากส�ำนักงานปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๗ เกียรติบัตร ผ่านการฝึกอบรมตามโครงการส่งเสริมการผลิตและใช้ปุ๋ยชีวภาพ จากกองก�ำลังรักษาความสงบเรียบร้อย อ�ำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. ๒๕๕๘ โล่รางวัลชนะเลิศ ระดับอ�ำเภอ ศูนย์กลางเรียนรูพ้ ฒ ั นาเพิม่ พูนประสิทธิภาพและผลิตผล การเกษตร จังหวัดมหาสารคาม จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

90

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายกองมี หมื่นแก้ว

v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๔ ปัจจุบันอายุ ๕๖ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านหนองหอย หมู่ที่ ๖ ต�ำบลจระเข้ อ�ำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น v

v

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๑๕๓ หมู่ที่ ๑๓ ต�ำบลยางค�ำ อ�ำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น โทรศัพท์ ๐๙ ๑๔๒๐ ๕๕๒๖

การศึกษา พ.ศ. ๒๕๑๖

ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนหนองหอยคุรรุ าษฎร์รงั สรรค์ ต�ำบลจระเข้ อ�ำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๔๔ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากศูนย์บริการการศึกษานอกระบบฯ อ�ำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๔๖ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากศูนย์บริการการศึกษานอกระบบฯ อ�ำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น v

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๖๐

คณะนักศึกษาชั้นปีที่ ๓ ภาควิชาส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เข้าศึกษาดูงานและจัดท�ำวีดิทัศน์วิธีการท�ำจักสานกระติบข้าว เพื่อเป็นประโยชน์ ในการเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้าน พ.ศ. ๒๕๖๑ กลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต ถ่ายท�ำสารคดีกลุ่มจักสานกระติบข้าว ต�ำบลยางค�ำ อ�ำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น v

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๕๓

ได้รับรางวัลเป็นปราชญ์ชาวบ้านและเป็นวิทยากรถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น หลักสูตร “หัตถกรรมและการจักสาน” จากศูนย์พัฒนาสังคม หน่วยที่ ๕ จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รบั รางวัลชนะเลิศอันดับ ๓ การประกวดคัดเลือกเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรดีเด่น จากส�ำนักงานเกษตรจังหวัดขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๕๙ ผลิตภัณฑ์กระติบข้าวได้รับการคัดสรรเป็นผลิตภัณฑ์ระดับสามดาว ประเภทของใช้ ของตกแต่ง ของที่ระลึก ตามโครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ไทย จากนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการอ�ำนวยการ หนึง่ ต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์แห่งชาติ (กอ.นตผ.) พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับรางวัลเป็นผู้ ให้การสนับสนุนงานมหกรรมรวมพลังชุมชนคุณธรรม “วิถีดั้งเดิม” จังหวัดขอนแก่น จากนายพงษ์ศักดิ์ ปรีชาวิทย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

91


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายสว่าง สุขแสง

v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๑๖ ปัจจุบันอายุ ๔๔ ปี ภูมิล�ำเนา ๗๓ หมู่ ๕ บ้านส�ำราญ ต�ำบลหนองแคน อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด v

v

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๗๓ หมู่ ๕ บ้านส�ำราญ ต�ำบลหนองแคน อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด โทรศัพท์ ๐๘ ๔๐๒๗ ๓๐๓๙ e-mail : suksangservice@gmail.com

การศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๙ พ.ศ. ๒๕๕๓ พ.ศ. ๒๕๕๕

v

v

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๕๓ - ปัจจุบัน สร้างระบบการท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ ต�ำบลหนองแคน อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๕๗ - ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการสถาบันผู้น�ำเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Leadership Institute for Sustainable Development) LISD. พ.ศ. ๒๕๕๘ - ปัจจุบัน ประธานสมาพันธ์ SME จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๕๙ - ปัจจุบัน คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์เศรษฐกิจฐานราก (ระดับประเทศ) พ.ศ. ๒๕๖๐ - ปัจจุบัน ประธานคลัสเตอร์อุตสาหกรรมแปรรูปข้าวหอมมะลิ

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๕๓ พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๗

92

ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านเขวาตะคลอง ต�ำบลก�ำแพง อ�ำเภอเกษตรวิสยั จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากศูนย์บริการการศึกษานอกระบบฯ ต�ำบลหนองแคน อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากศูนย์บริการการศึกษานอกระบบฯ ต�ำบลหนองแคน อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด

ศิลปินมรดกอีสาน

ผ่านการรับรองมาตรฐานการควบคุมภายใน (ICS) ของการผลิตเกษตรอินทรีย ์ ตามมาตรฐานของส�ำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ได้รบั คัดเลือกจากสมาชิกสภาวัฒนธรรมให้ดำ� รงต�ำแหน่ง กรรมการและเลขานุการ สภาวัฒนธรรม ต�ำบลหนองแคน อ�ำเภอปทุมรัตน์ จังหวัดร้อยเอ็ด ผ่านการเรียนรูห้ ลักสูตร การด�ำรงชีวติ ตามวิถชี วี ติ เกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

กลุ่มพรรณไม้

v

ภูมิหลัง

กลุม่ พรรณไม้ เกิดจากการรวมตัวของสตรีทอผ้าพืน้ เมือง ประมาณ ๕๐๐ คน จาก ๒๔ หมูบ่ า้ น ใน ๖ อ�ำเภอ ของจังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดศรีสะเกษ ในปีพุทธศักราช ๒๕๓๔ กลุ่มสตรีเหล่านี้มีทักษะในการ ปลูกฝ้าย เลีย้ งไหม และทอผ้า ต่อมาได้รบั การพัฒนาความรูค้ วามสามารถในการทอผ้า การย้อมผ้าจากสีธรรมชาติ การบริหารจัดการองค์กร จากโครงการพัฒนาการทอผ้าพืน้ เมือง และได้สร้างเครือข่ายการทอผ้าพืน้ เมือง ย้อมผ้า จากสีธรรมชาติขึ้นเพื่อการผลิต และการตลาดร่วมกัน ในลักษณะของวิสาหกิจเพื่อชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อ การพึง่ พาตนเองของคนในชุมชน กลุม่ พรรณไม้มีการบริหารจัดการ โดยสมาชิกลงหุน้ ร่วมกันเพือ่ เป็นทุนรับซือ้ และ จ�ำหน่ายสินค้าของตนแต่แยกการผลิต ปัจจุบันมีสมาชิกที่ยังทอผ้าอยู่ประมาณ ๒๕๐ คน พุทธศักราช ๒๕๒๘ โครงการพัฒนาการทอผ้าพืน้ เมืองของสมาคมเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม ร่วมกับชาวบ้าน ด�ำเนินการพัฒนาการทอผ้าพื้นเมือง โดยใช้สีย้อมผ้าจากธรรมชาติที่หาได้ ในท้องถิ่น ริเริ่มจากหมู่บ้านเล็ก ๆ ในอ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อเป็นการส่งเสริมอาชีพให้แก่กลุ่มแม่บ้าน ช่วยเพิ่มรายได้และลดปัญหา การอพยพออกจากท้องถิ่นไปท�ำงานในเมืองใหญ่ ในช่วงแรกนั้นชาวบ้านและองค์การพัฒนาเอกชน หาประสบการณ์ โดยการเรียนรู้และทดลองร่วมกัน ถึงการย้อมผ้าจากสีธรรมชาติ ซึ่งบางอย่างได้ถูกละทิ้งไป โดยมีเพื่อนชาวญี่ปุ่นเข้ามาร่วมแลกเปลี่ยน เป็นการ แสวงหาความรู้ ในการพัฒนาคุณภาพด้านสี แบบ และลวดลายต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาความรู้ เกี่ยวกับ การทอผ้าของผู้หญิงชาวอีสาน ซึ่งมีวัฒนธรรมการทอผ้าอยู่ ในสายเลือดแท้จริง แล้วอาชีพหลักคือ ท�ำนา แต่อาชีพทอผ้านี้เป็นอาชีพเสริม v

v

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๒๓๘ หมู่ ๒ ถนนปัทมานนท์ ต�ำบลเกษตรวิสัย อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โทรศัพท์ ๐ ๔๓๕๘ ๙๒๐๒ ๐๘ ๑๗๖๘ ๓๐๕๕ และ ๐๘ ๗๒๓๗ ๐๒๗๗

ประสบการณ์

จัดตัง้ องค์กรธุรกิจทีช่ าวบ้านมีสว่ นร่วมเป็นเจ้าของพัฒนาและสร้างเสริมประสิทธิภาพ การประสานงาน ของเครือข่าย และเพิ่มเติมความรู้ความสามารถเชิงธุรกิจแก่สมาชิก เสริมสร้างพลังทางเศรษฐกิจ พร้อมกับ ยกระดับคุณภาพชีวิต สร้างความเป็นผู้น�ำ และขยายโลกทัศน์ทางสังคม วัฒนธรรมการเมืองของสมาชิก v

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. ๒๕๔๔

รางวัลผ้าเด่น ประเภทผ้าไหม อันดับที่ ๑ จากมหาวิทยาลัยรังสิต รางวัลประกาศเกียรติคุณในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่ ให้ความส�ำคัญกับงานสตรี ในด้าน “เศรษฐกิจและแก้ ไขปัญหาความยากจน” เนื่องในโอกาสวันสตรีสากล

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

93


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายสมศักดิ์ มงคลวงศ์ v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๐๕ ปัจจุบันอายุ ๕๕ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านเลขที่ ๒๓๘ ต�ำบลบุ่ง อ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจริญ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ v

ที่อยู่ปัจจุบัน

บ้านเลขที่ ๑๒๒/๑๗ บ้านมณีรินทร์ ถนนนนทบุรี - ปทุมธานี ต�ำบลบางคูวัด อ�ำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท์ ๐๘ ๑๘๔๒ ๐๗๓๙ v

v

94

การศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๐ พ.ศ. ๒๕๒๖ พ.ศ. ๒๕๒๙

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนอ�ำนาจเจริญ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จากวิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี ระดับปริญญาตรี จากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเพาะช่าง เอกจิตรกรรมสากล

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๒๖ พ.ศ. ๒๕๒๖ พ.ศ. ๒๕๒๘ พ.ศ. ๒๕๒๙ พ.ศ. ๒๕๓๖ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ศ. ๒๕๔๙ พ.ศ. ๒๕๖๐

ศิลปินมรดกอีสาน

การแสดงผลงานนิทรรศการศิลปหัตถกรรมอาชีวศึกษา ครั้งที่ ๑ การแสดงนิทรรศการศิลปกรรม จิตรกรรม เพาะช่าง การแสดงนิทรรศการศิลปกรรมแห่งประเทศไทยครั้งที่ ๕ การแสดงนิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลป์ พีระศรี ครั้งที่ ๒ การแสดงนิทรรศการศิลปกรรม นักอนุรักษ์ดีเด่นของโลก การแสดงนิทรรศการศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ ๗๒ พรรษา รัชกาลที่ ๙ ร่วมแสดงงานนิทรรศการศิลปกรรมยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย ร่วมรับเชิญแสดงนิทรรศการศิลปกรรม ชุด เวลาแห่งความประทับใจ ร่วมบริจาคภาพวาดเพื่อการกุศลงานวิถีไทย แสดงนิทรรศการภาพวาดพระบรมสาทิสลักษณ์ รัชกาลที่ ๙ ธ สถิตในดวงใจไทยนิรันดร์

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


v

เกียรติประวัติ

พ.ศ. ๒๕๒๖ พ.ศ. ๒๕๒๘ พ.ศ. ๒๕๓๐ พ.ศ. ๒๕๓๗ พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐

รางวัลชนะเลิศการแข่งขันทักษะอาชีวะแห่งชาติ ครั้งที่ ๑ รางวัลทุนวิทยาเขตเพาะช่าง รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ การประกวดภาพเขียน เรื่องพระเจ้าอยู่หัวกับการพัฒนา ชนบท จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย รางวัลชมเชยโปสเตอร์ดวงตา รางวัลสุริยศศิธร ภาพเขียนปฏิทินแขวนชุด “พ่อหลวงนักพัฒนา” รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นแห่งปี โรงเรียนอ�ำนาจเจริญ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ รางวัลเกียรติยศ “คนดีศรีอีสาน” จัดโดยพันธมิตรเครือข่าย

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

95


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายพิทยา บุญลา (ช่างไม้ ไท) v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๒๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๘ ปัจจุบันอายุ ๖๓ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านน�้ำเที่ยง ต�ำบลท่าลาด อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี v

v

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๔๐๔ ถนนสรรพสิทธิ์ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี โทรศัพท์ ๐ ๔๕๒๔ ๓๕๗๙ และ ๐๘ ๑๕๔๘ ๐๑๕๖

การศึกษา พ.ศ. ๒๕๑๐ พ.ศ. ๒๕๑๓ พ.ศ. ๒๕๒๒

v

ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านห้วยขะยูง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนศรีบณ ุ ยานนท์ ต�ำบลสวนใหญ่ อ�ำเภอ เมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ระดับปริญญาตรี สาขาศิลปกรรม (ภาพพิมพ์) จากวิทยาลัยเพาะช่าง กรุงเทพมหานคร

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๗ สร้างสรรค์งานแกะสลักไม้แบบจารีตประเพณีอีสาน เช่น รางรดสรงเชิงเทียน สัตตภัณฑ์ที่ท�ำจากไม้ พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ สร้างสรรค์งานหัตถกรรมจากไม้ เช่น ขันหมาก เชิงเทียน และอุปกรณ์การทอผ้า พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๖๐ สร้างสรรค์งานศิลปะร่วมสมัยด้วยเทคนิคแกะสลักไม้ และยังศึกษาค้นคว้าคุณสมบัติ ของไม้แต่ละชนิดในท้องถิ่น

v

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๘ เป็นผู้ช่วยศิลปินต่างประเทศที่มาร่วมแกะสลักเทียนนานาชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖ ร่วมแสดงผลงานครูศลิ ปะทีห่ อศิลป์ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ถนนราชด�ำเนิน กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๙ ร่วมแสดงงานศิลปะกับกลุ่มศิลปินอีสาน จัดโดยสมาคมศิลปินอีสาน พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นผูแ้ ทนประเทศไทยร่วมแกะสลักเทียนนานาชาติกบั ศิลปินต่างประเทศ ๘ ประเทศ ในงาน “Ubon International Wax Festival 2016” พ.ศ. ๒๕๕๙ สร้างเสาหลักเมือง รัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ เป็นผู้ออกแบบ ปั้น แกะสลัก ลวดลายศาลหลักเมือง

96

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายศิลากร ทับทิมไสย

v

ภูมิล�ำเนา

เกิดเมือ่ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๑๐ ปัจจุบนั อายุ ๕๐ ปี ภูมลิ ำ� เนา ๘๓ หมู่ ๓ ต�ำบลโนนราษี อ�ำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม v

v

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๕๕ หมู่ ๖ บ้านโนนสวรรค์ ต�ำบลแดงใหญ่ อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น โทรศัพท์ ๐๘ ๑๕๗๔ ๒๐๙๘ e-mail : silakorn_sor@hotmail.co.th

การศึกษา ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านห้วยทราย ต�ำบลโนนราษี อ�ำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนบรบือ ต�ำบลบรบือ อ�ำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. ๒๕๒๙ ระดับประกาศนียบัตร จากวิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม สาขาวิจิตรศิลป์ พ.ศ. ๒๕๓๔ ระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเวชนิทัศน์ มหาวิทยาลัยมหิดล

v

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๔ พ.ศ. ๒๕๔๘ พ.ศ. ๒๕๔๙ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๕๔ พ.ศ. ๒๕๕๕ พ.ศ. ๒๕๕๗

เขียนลวดลายเสาเพดานคานขื่อพระมหาธาตุแก่นนคร วัดหนองแวงพระอารามหลวง อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น เขียนภาพลวดลายทศชาติ พุทธประวัติ ประเพณีสิบสองเดือน วิถีชีวิตคนอีสาน วัดสว่างพิทยา บ้านหนองหลุบ ต�ำบลแดงใหญ่ อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น เขียนภาพภายในสิมอีสาน วัดป่าแสงอรุณ อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น เขียนภาพลวดลายและภาพทศชาติ ภายในวิหารรอบเจดีย์ วัดยอดแก้ว อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น เขียนภาพลวดลายและภาพพาหุง ภายในอุโบสถวัดสระทอง อ�ำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น เขียนภาพลวดลายและภาพเวสสันดรชาดก วัดแจ้งสว่างนอก อ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น เขียนภาพลวดลายและภาพเวสสันดรชาดก วัดบุญบาลประดิษฐ์ อ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น เขียนภาพพระเจ้า ๒๘ พระองค์ และลวดลายภายในมหาวิหาร วัดเขื่อนอุบลรัตน์ อ�ำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น เขียนภาพลวดลายและภาพทศชาติ วัดศรีจันทร์ อ�ำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

97


v

พ.ศ. ๒๕๕๙ เขียนภาพลวดลายภายในเจดียธ์ าตุรามมัชฌิมา วัดกลางเมืองเก่า อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๖๐ เขียนภาพอดีตพระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์ พระราชกรณียกิจในหลวง รัชกาลที่ ๙ วัดดอนแก้ว ต�ำบลพระลับ อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๒๘

ชนะเลิศรางวัลยอดเยี่ยมศิลปกรรมเยาวชนครั้งที่ ๒ จากกระทรวงศึกษาธิการ ชนะเลิศอันดับที่ ๑ การแข่งขันทักษะวิชาชีพระดับชาติ ประเภทภาพพิมพ์ จากกระทรวง ศึกษาธิการ สมาคมศิลปกรรมไทยร่วมกับเครือซีเมนต์ ไทย พ.ศ. ๒๕๒๙ ชนะเลิศอันดับที่ ๓ การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ระดับชาติ ประเภทภาพพิมพ์ จากกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๓๐ ชนะเลิศอันดับที่ ๑ การแข่งขันทักษะวิชาชีพระดับภาค ประเภทจิตรกรรมไทย จากกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๘ รางวัล “นาคราช” เชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน สาขาจิตรกรรมฝาผนัง จากสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

98

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายสมบัติ ยอดประทุม

v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๖ ปัจจุบันอายุ ๖๕ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านเลขที่ ๑๖๗ หมู่ ๒ บ้านโคกทม ต�ำบลบัวแดง อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด v

v

v

v

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๑๖๗ หมู่ ๒ บ้านโคกทม ต�ำบลบัวแดง อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด โทรศัพท์ ๐๘ ๗๘๕๖ ๗๘๔๑

การศึกษา ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนชุมชนบ้านโคกทม (พิศิษฐ์พิทยาคาร) อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากศูนย์การศึกษานอกระบบฯ อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากศูนย์การศึกษานอกระบบฯ อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับปริญญาตรี สาขาสหพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยชีวิตร้อยเอ็ด นักธรรมชั้นเอกที่ส�ำนักวัดสุวรรณาราม บ้านโคกทม อ�ำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๒๑ พ.ศ. ๒๕๒๓

เข้าวงการร่วมคณะยอดเพชรยุคล�ำเพลิน นักแสดงคณะเพชรมเหศักดิ์ คณะร้อยเอ็ดเพชรเมืองเถิน คณะรัญจวน ดวงเด่น วงดนตรี หมอล�ำบานเย็น ศรีวงษา ต่อมาคณะยอดเพชรยุคล�ำเพลินยุบคณะไป จึงได้มาตั้ง คณะเพชรสว่างกับนายคูณ ใจกล้า และอาจารย์ลี ใจกล้า ซึ่งเป็นเจ้าของหนังประโมทัย คณะมีชัยศิลป์มาร่วมแสดง

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๒๙ รางวัลชนะเลิศหนังตะลุงภาคอีสาน จากวัฒนธรรมจังหวัดยโสธร พ.ศ. ๒๕๕๘ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ การประกวดหนังประโมทัย จากวัฒนธรรมจังหวัดร้อยเอ็ด

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

99


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นางชนิดาภา มั่นสนธิ์ (รุ่งนภา เพชรอุบล) v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๑๗ ปัจจุบันอายุ ๔๔ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านนาทม ต�ำบลนาทม อ�ำเภอทุ่งฝน จังหวัดอุดรธานี v

ที่อยู่ปัจจุบัน

สถานีวิทยุ ๙๗ อุดรเรดิโอ เลขที่ ๒๕๑ ซอยเวียงพิงค์ ๑ ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี โทรศัพท์ ๐๙ ๔๖๔๒ ๙๙๑๙ และ ๐ ๔๒๓๒ ๔๕๙๖ v

การศึกษา

ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านนาทม ต�ำบลนาทม อ�ำเภอทุ่งฝน จังหวัดอุดรธานี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย จากส�ำนักงานการศึกษานอกระบบฯ จังหวัดอุดรธานี

v

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๓๘

ร่วมถวายเสียงให้แก่วัดป่าบ้านตาด อาทิ เทิดทูนพ่อไทย วอนช่วยหลวงตา และ มากกว่า ๑๐ ผลงานเพลง บริจาคทอง ๑ สลึง พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๔๗ สร้างสรรค์บทเพลงส่งเสริมการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์อทุ ยานภูฝอยลม จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. ๒๕๕๐ ร่วมบันทึกบทเพลงเทิดพระเกียรติเนื่อในวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชือ่ เพลง องค์เทพจากสวรรค์ ให้แก่ ส�ำนักวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น เนือ้ ร้องโดย พ่อครูเทพพร เพชรอุบล เรียบเรียงเสียงประสาน โดย ห้องบันทึกเสียงอุดรเรคคอร์ด พ.ศ. ๒๕๖๐ สร้างสรรค์บทเพลงให้แก่สำ� นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เพลงหอมกลิ่นเมืองอุดร และเพลงแผ่นดินอุดร

100

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


v

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๔๙ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๐

ได้รับเข็มพระราชทานจากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เนื่องในงานเปิดแพรฝ้าย จากมูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชน ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เกียรติบตั รเป็นกรรมการ การประกวดหมอล�ำย้อนยุคเด็กและเยาวชน จากจังหวัด อุดรธานี เกียรติบัตรเข้าร่วมสืบสานวัฒนธรรมเนื่องใน วันวิทยาศาสตร์ - ราชภัฏวิชาการ จากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ประกาศเกียรติคุณ เพื่อแสดงว่าเป็นผู้สนับสนุนกิจการด้านศิลปวัฒนธรรม จากส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เกียรติบัตร เข้าร่วมแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านในงานกาชาด และงานมหกรรม ผ้าทอมืออนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ�้ โขง : GMS FABRIC EXPO 2017 จากส�ำนักวัฒนธรรม จังหวัดอุดรธานี

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

101


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

ดร.อ�ำคา แสงงาม

v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๒ ปัจจุบันอายุ ๕๘ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านสิงห์ โคก ต�ำบลสิงห์ โคก อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด v

ที่อยู่ปัจจุบัน

บ้านเลขที่ ๗๙ หมู่ ๒ บ้านหนองเมืองแสง ต�ำบลกู่กาสิงห์ อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โทรศัพท์ ๐๙ ๓๓๓๗ ๕๖๒๖ e-mail : auakha@gmail.com

v

การศึกษา

v

พ.ศ. ๒๕๒๒ พ.ศ. ๒๕๒๗ พ.ศ. ๒๕๓๗ พ.ศ. ๒๕๕๓

ระดับอนุปริญญา หลักสูตรประกาศนียบัตรการศึกษาชัน้ สูง (ป.กศ.สูง) วิชาเอกภาษาไทย วิชาโทศิลปศึกษา ระดับปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอกศิลปศึกษา วิชาโทภาษาไทย จากวิทยาลัยครูบุรีรัมย์ ระดับปริญญาโท หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาวิชาไทยคดีศกึ ษา (มนุษย์) จากสถาบันวิจยั ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์ จากสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๔๐ การสร้างอนุสาวรีย์สามปู่ผู้ก่อตั้งบ้านกู่กาสิงห์ โดยเริ่มเขียนประวัติหมู่บ้าน ศึกษา โครงสร้างเครือญาติ การศึกษาประวัติหมู่บ้านจากนามสกุล การเสนอตั้งกองทุนสร้าง อนุสาวรีย์ ท�ำให้เกิดพลังส�ำนึกร่วมของคนในชุมชนจัดท�ำผ้าป่าสร้างอนุสาวรีย์จนส�ำเร็จ โดยท�ำพิธีเทวาภิเษกเมื่อธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ และส่งผลให้เกิดการสร้างอนุสาวรีย ์ เจ้าแก้วมงคล ผู้ก่อตั้งเมืองสุวรรณภูมิ พ.ศ. ๒๕๔๕ สร้างมัคคุเทศก์น้อยน�ำเที่ยวกู่กาสิงห์ เพื่อให้เป็นจุดขายด้านการท่องเที่ยวและให้เด็ก มีรายได้ระหว่างเรียน โดยได้เสียสละเวลาและทุ่มเทการท�ำงานอย่างต่อเนื่องมา ๑๖ ปี ท�ำให้เด็กเยาวชนมีความตระหนักในการอนุรักษ์ โบราณสถาน ประเพณีวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญา และน�ำความรู้ ไปน�ำเที่ยวโบราณสถาน โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก เทศบาลปีละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท

102

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


พ.ศ. ๒๕๔๘ การสร้างชุมชนกู่กาสิงห์ ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว โดยการใช้กระบวนการวิจัยท้องถิ่น ค้นพบฐานเรียนรู้ โบราณสถาน พิพิธภัณฑ์มรดกภูมิปัญญา ศูนย์ผ้าไหมพื้นบ้าน สวนเกษตรผสมผสาน นักวรรณกรรมพื้นบ้าน และศิลปะการตัดลายกระดาษพื้นบ้าน น�ำมาสร้างฐานเรียนรู้ และตัง้ ชมรมส่งเสริมการท่องเทีย่ วขึน้ เพือ่ บริหารจัดการท่องเทีย่ ว สืบเนื่องมาถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๔๕ ฝึกนักเรียนเป็นมัคคุเทศก์น้อยน�ำเที่ยวกู่กาสิงห์ เพื่อให้เป็นจุดขายด้านการท่องเที่ยว และให้มรี ายได้ระหว่างเรียน ตามนโยบายส่งเสริมการท่องเทีย่ วเชิงการเกษตร และเพือ่ กระจายรายได้จากการท่องเทีย่ วสูภ่ าคการเกษตรในชนบท กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๕ น�ำมัคคุเทศก์นอ้ ยน�ำ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายสรอรรถ กลิน่ ประทุม เข้าชมโบราณสถานกู่กาสิงห์ ในงานส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงการเกษตร “กินข้าวทุ่งฯ นุ่งผ้าไหม” พ.ศ. ๒๕๔๖ ตั้งชมรมมัคคุเทศก์น้อยโรงเรียนบ้านกู่กาสิงห์ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โบราณสถาน และฝึกให้นักเรียนชั้น ป.๓ – ป.๖ น�ำเที่ยวโบราณสถานเขมรกู่กาสิงห์ พ.ศ. ๒๕๕๕ สร้างหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องมัคคุเทศก์น้อยชุมชนกู่กาสิงห์ เพื่อสร้างการเรียนรู้ ให้แก่ นักเรียนและคนในชุมชน ใช้จัดการเรียนรู้ ในระบบโรงเรียน ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ และเสริมสร้างการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้เข้มแข็ง v

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานสภาวัฒนธรรม ต�ำบลกู่กาสิงห์ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน และ สนับสนุนให้ตั้งหมอล�ำชุมชนของสภาวัฒนธรรม และแสดงหมอล�ำโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ในงานส�ำคัญของชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๗ คณะท�ำงาน NODE ส่งเสริมการวิจัยท้องถิ่นในเขตทุ่งกุลาร้องไห้ ณ มูลนิธิประสาน ความร่วมมือพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๕๔ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสอบวิทยานิพนธ์ นิสิตปริญญาโท ปริญญาเอก คณะวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ๒๕๕๘ กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ นิสติ ปริญญาโท มหาวิทยาลัยชีวติ (สถาบันการเรียนรูเ้ พือ่ ปวงชน) พ.ศ. ๒๕๖๐ ผู้แทนประเทศไทยในนามกระทรวงวัฒนธรรมในภาคการท่องเที่ยว ๑ ใน ๔ คน (ร่วมกับ หัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์เขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ หัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์ ภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี นายธนากร พรมลี จากศูนย์เรียนรู้ ใกล้บ้าน อ�ำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีษะเกษ และนายอ�ำคา แสงงาม จากแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนกู่กาสิงห์) เข้าร่วมโครงการ Mekong Sub - regional Capacity Building Program on Cultural heritage ณ เมืองหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รบั รางวัลอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วไทย จากกรมการท่องเทีย่ ว กระทรวงการท่องเทีย่ ว และกีฬา

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

103


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายสีน�้ำ จันทร์เพ็ญ

v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๑ ปัจจุบันอายุ ๖๙ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านกุดยางสามัคคี อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ v

ที่อยู่ปัจจุบัน

บ้านเลขที่ ๑๗๔ หมู่ ๔ บ้านกุดแฮด ต�ำบลกุดบาก อ�ำเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร โทรศัพท์ ๐๘ ๙๕๗๐ ๘๖๔๐

v

การศึกษา

v

พ.ศ. ๒๕๐๗ ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนกุดยางสามัคคี ต�ำบลกาฬสินธุ์ อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

ประสบการณ์

104

พ.ศ. ๒๕๓๒ พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๓๘ พ.ศ. ๒๕๓๘ พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๕๖

ศิลปินมรดกอีสาน

จัดท�ำหนังสือมูลมังดั้งเดิม ฉบับของดีอีสาน จัดท�ำหนังสือมูลมังดั้งเดิม ฉบับพุทธท�ำนาย จัดท�ำหนังสือมูลมังดั้งเดิม ฉบับคันคากสอนแถน จัดท�ำหนังสือมูลมังดั้งเดิม ฉบับปู่ว่า ย่าเว้า ฮีตเก่า คองเดิม จัดท�ำหนังสือมูลมังดั้งเดิม ฉบับฤกษ์งามยามดี จัดท�ำหนังสือมูลมังดั้งเดิม ฉบับประเพณี โบราณ จัดท�ำหนังสือมูลมังดั้งเดิม ฉบับคัมภีร์พราหมณ์ ผญาสอนพรทิพย์

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายวิเชียร สาระวัน (สนธยา กาฬสินธุ์) v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๑๔ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๐๐ ปัจจุบันอายุ ๖๐ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านทุ่งคลอง ต�ำบลทุ่งคลอง อ�ำเภอค�ำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ v

v

v

v

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๑๕๔/๑๔๕ หมู่บ้านบูรพา ซอยเขาน้อย ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี โทรศัพท์ ๐๘ ๔๕๕๑ ๑๒๑๖

การศึกษา พ.ศ. ๒๕๑๒ พ.ศ. ๒๕๑๕ พ.ศ. ๒๕๑๘

ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านทุ่งคลอง ต�ำบลทุ่งคลอง อ�ำเภอค�ำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนหนองยางประเสริฐวิทย์ อ�ำเภอค�ำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียนหนองยางประเสริฐวิทย์ อ�ำเภอค�ำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ เริ่มเข้าสู่อาชีพหมอล�ำในฐานะพระเอกหมอล�ำ โดยมีนายทุนท�ำวงหมอล�ำให้ชื่อวง สนธยา กาฬสินธุ์ เน้นล�ำเรื่องต่อกลอนและล�ำเพลินท�ำนองอุบล หลังจากนายทุน ท�ำวงให้เป็นเวลา ๔ ปี นายทุนไม่ต่อสัญญา จึงต้องมาท�ำวงเองในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ เป็น พระเอกหมอล�ำ และร้องหมอล�ำมาโดยตลอด พ.ศ. ๒๕๒๐ แสดงภาพยนตร์คู่กับพุ่มพวง ดวงจันทร์ ในเรื่อง หนองหมาว้อ ภาคต่อของครูบ้านนอก ของบริษัท ดวงกมลมหรสพ

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๒๓ ประกาศเกียรติคุณ จากมูลนิธิ ๕ ธันวามหาราช โดยช่วยเหลืองานติดต่อกัน ๑๐ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศเกียรติคณ ุ เป็น ๒๐ ผูห้ ญิงข้ามเพศ จิตสาธารณะเมืองพัทยา ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๐ จากมูลนิธิซิสเตอร์

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

105


ประวัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

นายเจริญ สาดา

v

ภูมิหลัง

เกิดเมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๙๓ ปัจจุบันอายุ ๖๗ ปี ภูมิล�ำเนา บ้านหนองฮี หมู่ ๔ ต�ำบลบ้านดอนช้าง อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น v

v

ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๒๘๕ หมู่ ๑๘ บ้านหนองบัวดีหมี ต�ำบลท่าพระ อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น โทรศัพท์ ๐๘ ๕๐๐๘ ๐๗๓๘

การศึกษา พ.ศ. ๒๕๐๔ พ.ศ. ๒๕๐๗ พ.ศ. ๒๕๒๕

v

v

106

ระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนบ้านหนองโพธิ์ประชานุกูล ต�ำบลหนองแวง อ�ำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนสงเคราะห์นิยมวิทยา ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ระดับปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา (จิตรกรรม) วิทยาลัยครูเลย

ประสบการณ์ พ.ศ. ๒๕๒๕ พ.ศ. ๒๕๒๗ พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๖๐

ตกแต่งรถขบวนแห่ในนามอ�ำเภอเมืองขอนแก่น ๓ ปี ได้รับมอบหมายจากจังหวัดให้จัดประดับตกแต่งเวทีกลางเทศกาลงานไหม จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ศิลปินชุมชน ต�ำบลท่าพระ วาดจิตรกรรมฝาผนัง วัดประทุมแพงศรี ต�ำบลดอนช้าง วาดจิตรกรรมฝาผนัง ศาลาวัดท่าพระหงษ์เทศประดิษฐ์ ต�ำบลท่าพระ ตั้งพิพิธภัณฑ์ชุมชนสนับสนุนจากเทศบาลต�ำบลท่าพระ

เกียรติประวัติ พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รบั ใบประกาศการสอบอ่านและผ่านการด�ำเนินรายการวิทยุ จากสถานีวทิ ยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทย จังหวัดขอนแก่น

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑


พ.ศ. ๒๕๔๙ รางวัลชมเชยการประกวดภาพถ่ายกิจกรรมเทศกาลไหมขอนแก่น จากคณะกรรมการ จัดงานเทศกาลงานไหม จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๕๗ รางวัล “พ่อตัวอย่าง” ในนามโรงเรียนวัดท่าพระหงษ์เทศประดิษฐ์ จากเทศบาลต�ำบลท่าพระ พ.ศ. ๒๕๕๘ รางวัลเชิดชูเกียรติประกาศเกียรติคุณผู้มีผลงานสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรม จากคณะวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

107


ท�ำเนียบศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๔๘ – ๒๕๖๐ ล�ำดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ 108

รายนาม พระเทพวรคุณ นายปรีชา พิณทอง * นายหนูมอญ ประทุมวัน นายบุญหมั่น ค�ำสะอาด * นายโชคชัย ตักโพธิ์ นายสมบูรณ์ หอมเทียนทอง นายธีรวัฒน์ คะนะมะ รองศาสตราจารย์ ดร.วิโรฒ ศรีสุโร * นายทอง ล้อมวงษ์ * นายอุทัยทอง จันทกรณ์ * นายสงคราม งามยิ่ง นายอิสระ หลาวทอง * นายสมยศ ไตรเสนีย์ นายป่วน เจียวทอง นายพีระพงษ์ ดวงแก้ว นายทวี รัชนีกร นายสนาม จันทร์เกาะ * (สนามจันทร์) นายอุส่าห์ จันทรวิจิตร * นายค�ำนวณ ชานันโท * นายสุวิช สถิตวิทยานันท์ นายสุขสันต์ เหมือนนิรุทธ์ * (สันติภาพ นาโค) นางเอือม แยบดี นายสมภพ บุตราช นายครุฑ ภูมิแสนโคตร นายสมคิด สอนอาจ นายวีรธรรม ตระกูลเงินไทย นางค�ำปุน ศรี ใส นายจ�ำรัส ไกรกูล (ช่างน้อย) นายทวี เกษางาม

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

สาขา เกียรติยศ เกียรติยศ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์

สาขาย่อย ปีที่ ได้รับ ๒๕๕๐ ๒๕๕๒ หัตถกรรมตัดกระดาษ ๒๕๔๘ จิตรกรรมร่วมสมัย ๒๕๔๘ จินตทัศน์ ๒๕๕๐ จินตทัศน์ ๒๕๕๐ จิตรกรรมร่วมสมัย ๒๕๕๐ สถาปัตยกรรมร่วมสมัย ๒๕๕๐ หัตถกรรมหล่อทองเหลือง ๒๕๕๐ หัตถกรรมแกะสลักไม้ ๒๕๕๐ หัตถกรรมผ้าทอ ๒๕๕๐ จิตรกรรมร่วมสมัย ๒๕๕๑ จิตรกรรมร่วมสมัย ๒๕๕๒ หัตถกรรมพื้นบ้านเครื่องเงิน ๒๕๕๒ ประติมากรรมร่วมสมัย ๒๕๕๔ ทัศนศิลป์ร่วมสมัย ๒๕๕๔ จิตรกรรมร่วมสมัย ๒๕๕๔ ประติมากรรมเทียนพรรษา ๒๕๕๔ จิตรกรรมแนวประเพณี ๒๕๕๕ ประติมากรรมร่วมสมัย ๒๕๕๕ จิตรกรรมสื่อผสม ๒๕๕๕

ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์

หัตถกรรม ผ้าทอมือ จิตรกรรมร่วมสมัย พหุศิลป์ท้องถิ่น ประติมากรรมเทียนพรรษา หัตถกรรมผ้าทอมือ หัตถกรรมผ้าทอ ประติมากรรม จิตรกรรมร่วมสมัย

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙


ล�ำดับ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑

รายนาม สาขา นายพงษ์ศักดิ์ จันทรุกขา * วรรณศิลป์ นายนุ่ม เย็นใจ * วรรณศิลป์ นายดวง วังสาลุน * วรรณศิลป์ นายแสง จันทร์งาม (ธรรมโฆษ) วรรณศิลป์ นายชานนท์ ภาคศิริ (สุรินทร์ ภาคศิริ) วรรณศิลป์ นายสวัสดิ ์ สิงห์ประสิทธิ์ (สัญญา จุฬาพร) วรรณศิลป์ นายเจริญ กุลสุวรรณ วรรณศิลป์ นายสมพงษ์ พละสูรย์ (ค�ำหมาน คนไค) * วรรณศิลป์ นายจันดี หลักค�ำพัน วรรณศิลป์ นายสุพรรณ ชื่นชม วรรณศิลป์ นายเสมอ จันดา (สรเพชร ภิญโญ) วรรณศิลป์ พระอธิการอินตา กวีวงศ์ วรรณศิลป์ นายวินัย เตียวตระกูล (วินัย แก้วเหนือ) วรรณศิลป์ นายสมคิด สิงสง วรรณศิลป์ นายสลา คุณวุฒิ วรรณศิลป์ นายทองเจริญ ดาเหลา วรรณศิลป์ นายประยงค์ มูลสาร (ยงค์ ยโสธร) วรรณศิลป์ นายปราโมทย์ ในจิต (จินตรัย) วรรณศิลป์ นายสัญญาลักษณ์ ดอนศรีฐิติโชติ วรรณศิลป์ (สัญญาลักษณ์ ดอนศรี) นายไพวรินทร์ ขาวงาม วรรณศิลป์ นายค�ำแอ ทองจันทร์ (ค�ำเกิง่ ทองจันทร์) * วรรณศิลป์ นายประยูร ลาแสง (พระไม้) วรรณศิลป์ นายโฆษิต ดีสม วรรณศิลป์ นายสมบูรณ์ สมพันธ์ (ดอย อินทนนท์) วรรณศิลป์ นายเกษา พิมส�ำราญ (เกษา เกษแก้ว) วรรณศิลป์ นายวีระ สุดสังข์ (ฟอน ฝ้าฟาง) วรรณศิลป์ นายมาโนช พรหมสิงห์ วรรณศิลป์ นางสมนึก พานิชกิจ วรรณศิลป์ นายสวาท ศรีอุดร วรรณศิลป์ นายส�ำเร็จ ค�ำโมง วรรณศิลป์ นายเสถียร ยอดดี วรรณศิลป์ นางสุนีย์ บุตรทา * ศิลปะการแสดง

ศิลปินมรดกอีสาน

สาขาย่อย ประพันธ์เพลงลูกทุ่ง ประพันธ์กลอนล�ำ ประพันธ์กลอนล�ำ ประพันธ์นวนิยาย ประพันธ์เพลงลูกทุ่ง ประพันธ์เพลงลูกทุ่ง กวีวรรณรูป วรรณกรรมร่วมสมัย ประพันธ์กลอนล�ำ ประพันธ์เพลงลูกทุ่ง ประพันธ์เพลงลูกทุ่ง วรรณกรรมพื้นบ้าน ประพันธ์เพลงลูกทุ่งต้นแบบ วรรณกรรมร่วมสมัย ประพันธ์เพลงลูกทุ่งร่วมสมัย ประพันธ์กลอนล�ำ วรรณกรรมร่วมสมัย วรรณกรรมแปล ประพันธ์เพลงลูกทุ่ง

ปีที่ ได้รับ ๒๕๕๐ ๒๕๕๐ ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๒ ๒๕๕๒ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕

วรรณกรรมร่วมสมัย ประพันธ์เพลงลูกทุ่งหมอล�ำ วรรณกรรมร่วมสมัย ประพันธ์เพลงพืน้ บ้านอีสานใต้ ประพันธ์เพลงลูกทุ่ง ประพันธ์กลอนล�ำ วรรณกรรมร่วมสมัย วรรณกรรมร่วมสมัย วรรณกรรมเยาวชน ประพันธ์เพลงลูกทุ่ง ประพันธ์เพลง วรรณกรรม ล�ำเรื่อง

๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๐ ๒๕๔๘

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

109


ล�ำดับ ๖๒ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๘ ๖๙ ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๓ ๗๔ ๗๕ ๗๖ ๗๗ ๗๘ ๗๙ ๘๐ ๘๑ ๘๒ ๘๓ ๘๔ ๘๕ ๘๖ ๘๗ ๘๘ ๘๙ ๙๐ ๙๑ ๙๒ ๙๓ 110

รายนาม นางประสงค์ เหลาหา * นางนิ่มนวล สุวรรณกูฎ * นางทองหล่อ ค�ำภู นายอังคาน ค�ำมี * นายอภิชาติพงษ์ วีระเศรษฐกุล นายทรงศักดิ์ ประทุมสินธุ์ นายสมบัติ สิมหล้า นายเรวัฒน์ สายันต์เกณะ (หนุ่มภูไท) นายบุญตา ภูวงษ์นาม * นายทองค�ำ เพ็งดี * นางค�ำภา ฤทธิทิศ นายระเบียบ พลล�้ำ * นางมลฤดี พรหมจักร นายสงกราน นามวงษา นายทองสา ปากสี (ยายส�ำ) นายสุดใจ เที่ยงตรงจิต (หนิงหน่อง) * นายเพ็ชรทาย วงษ์คำ� เหลา (หม�ำ ่ จ๊กม๊ก) นายเทียม เศิกศิริ (ดาว บ้านดอน) นายสนธิ สมมาตร นางสุภาพ ดาวดวงเด่น นายค�ำปัน ผิวข�ำ (ปอง ปรีดา) * นายสุรสีห์ ผาธรรม พ่อทองฮวด ฝ่ายเทศ นายสุรชัย จันทิมาธร นายณรงค์ พงษ์ภาพ (นพดล ดวงพร) นายบุญชืน่ เสนาลาด (ศักดิส์ ยาม เพชรชมพู) นายส�ำราญ บุบผาวาสน์ นายสมาน หงษา * นายสังวาลย์ ผ่องแผ้ว นายบุญศรี พลตรี นางแก่นจันทร์ นามวัฒน์ นางเทวี บุตรตั้ว (หมอล�ำเทวี ฟ้าฮ่วน)

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

สาขา ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

สาขาย่อย ปีที่ ได้รับ ล�ำพื้น ๒๕๔๘ การละเล่นพื้นบ้านล�ำเตี้ย ๒๕๔๘ ล�ำสินไซ ๒๕๔๘ ล�ำเรื่อง ๒๕๔๘ ก�ำกับภาพยนตร์ ๒๕๔๘ ดนตรีพื้นบ้าน โหวด ๒๕๕๐ ดนตรีพื้นบ้าน แคน ๒๕๕๐ ดนตรีพื้นบ้าน พิณ ๒๕๕๐ ล�ำสินไซ ๒๕๕๐ ล�ำเรื่อง ๒๕๕๐ ล�ำกลอน ๒๕๕๐ ล�ำเรื่อง ๒๕๕๐ ขับล�ำท้องถิ่น ๒๕๕๐ การละเล่นพื้นบ้าน กั๊บแก้บ ๒๕๕๐ ตลกอีสาน ๒๕๕๐ ตลกอีสาน ๒๕๕๐ แสดงภาพยนตร์ ๒๕๕๐ ขับร้องเพลงลูกทุ่ง ๒๕๕๐ ขับร้องเพลงลูกทุ่ง ๒๕๕๐ ขับร้องเพลงลูกทุ่ง ๒๕๕๐ ขับร้องเพลงลูกทุ่ง ๒๕๕๑ ก�ำกับภาพยนตร์ ๒๕๕๑ ดนตรีพื้นบ้าน ซอ ๒๕๕๑ เพลงเพื่อชีวิต ๒๕๕๒ ตลกอีสาน ๒๕๕๒ ขับร้องเพลงลูกทุ่ง ๒๕๕๒ ดนตรีร่วมสมัย แซกโซโฟน ๒๕๕๒ ล�ำกลอน ๒๕๕๓ หุ่นกระบอกอีสาน ๒๕๕๓ ดนตรีพื้นบ้าน แคน ๒๕๕๓ การแสดงพื้นบ้านอีสานใต้ ๒๕๕๔ ล�ำกลอน ๒๕๕๔


ล�ำดับ รายนาม ๙๔ นายเทพพร บุญสุข (เทพพร เพชรอุบล) * ๙๕ นางราตรีศรีวิไล บงสิทธิพร (หมอล�ำราตรีศรีวิไล) ๙๖ นางผมหอม สกุลไทย (หมอล�ำผมหอม) ๙๗ นายทองเยี่ยม ประสมพืช ๙๘ นายสมบัติ เมทะนี ๙๙ นางบุญช่วง เด่นดวง ๑๐๐ นายทองใส ทับถนน ๑๐๑ นายชุมพร นนทลือชา ๑๐๒ นายก�ำปั่น ข่อยนอก (ก�ำปั่น บ้านแท่น) ๑๐๓ นางบัวผัน จักรพิมพ์ (บัวผัน ดาวคะนอง) ๑๐๔ นางทองนาง คุณไชย (อังคนางค์ คุณไชย) ๑๐๕ นายกฤติยา ลาดพันนา * (พันนา ฤทธิไกร) ๑๐๖ นางฐิติรัตน์ โคตรหานาม (ไพรินทร์ พรพิบูลย์) ๑๐๗ นายจเร ภักดีพิพัฒน์ (เพชร พนมรุ้ง) ๑๐๘ นางดารินทร์ ชุมมุง (พิมพ์ ใจ เพชรพลาญชัย) ๑๐๙ นายส�ำรอง สาธุการ ๑๑๐ นายอิศม์เดช ฤๅชา (จ�ำนง ฤๅชา) ๑๑๑ นายจ�ำปี อินอุ่นโชติ ๑๑๒ นายสมร พลีศักดิ์ ๑๑๓ นายกมนต์ โรจน์ นิวัฒน์บรรหาร ๑๑๔ นายเจริญชัย ชนไพโรจน์ ๑๑๕ นายบุญมา เขาวง ๑๑๖ นายสุเทพ วงศ์ก�ำแหง ๑๑๗ นายประยงค์ ชื่นเย็น ๑๑๘ นายนัฐธพงษ์ สร้อยสูงเนิน (สัญญา พรนารายณ์) ๑๑๙ นายบุญสม สังข์สุข (บุญสม ก�ำปัง) ๑๒๐ นายบรรเทิง อ่อนตา ๑๒๑ นายทรงรัฐ อ่อนสนิท (รุ่งฟ้า กุลาชัย)

สาขา ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง

สาขาย่อย ขับร้องเพลงลูกทุ่ง ล�ำกลอนประยุกต์

ปีที่ ได้รับ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔

ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง

ล�ำผญาย่อย ล�ำพื้น แสดงภาพยนตร์ ล�ำกลอน ดนตรีพื้นบ้าน พิณ ล�ำกลอน เพลงโคราช ล�ำกลอน ล�ำเรื่องต่อกลอน

๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕

ศิลปะการแสดง ก�ำกับและแสดงภาพยนตร์

๒๕๕๕

ศิลปะการแสดง

ขับร้องเพลงลูกทุ่งอีสาน

๒๕๕๖

ศิลปะการแสดง ขับร้องเพลงลูกทุ่ง ศิลปะการแสดง ขับร้องเพลงลูกทุ่งหมอล�ำ ศิลปะการแสดง ล�ำกลอน ศิลปะการแสดง ล�ำกลอน ศิลปะการแสดง ล�ำกลอน ศิลปะการแสดง หนังประโมทัย ศิลปะการแสดง นาฏศิลป์พื้นบ้านอีสานใต้ ศิลปะการแสดง ดนตรีพื้นบ้านอีสาน ศิลปะการแสดง ดนตรีพื้นบ้านอีสาน พิณ ศิลปะการแสดง ขับร้องเพลงไทยสากล ศิลปะการแสดง เรียบเรียงเสียงประสาน ศิลปะการแสดง ขับร้องเพลงลูกทุ่ง

๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗

ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง

๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗

ศิลปินมรดกอีสาน

เพลงโคราช ล�ำกลอน ล�ำเพลินประยุกต์ สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

111


ล�ำดับ ๑๒๓ ๑๒๔ ๑๒๕ ๑๒๖ ๑๒๗ ๑๒๘ ๑๒๙ ๑๓๐ ๑๓๑ ๑๓๒ ๑๓๓ ๑๓๔ ๑๓๕ ๑๓๖ ๑๓๗ ๑๓๘ ๑๓๙ ๑๔๐ ๑๔๑ ๑๔๒ ๑๔๓ ๑๔๔ ๑๔๕

รายนาม นายชูเกียรติ บุญบู้ นายบัวชัยศิลป์ แก้วแสนไชย นายอุ่น ทมงาม นายมนเทียร บุญธรรม นางมณีรัตน์ การเกษม (หมอล�ำมณีรัตน์ แก้วเสด็จ) นายสมจิต ทองบ่อ (สมจิตร บ่อทอง) นางส�ำรวม ดีสม (น�้ำผึ้ง เมืองสุรินทร์) นายบัวหอง ผาจวง (หมอแคนม้ากระทืบโฮง) นายธงชัย สามสี นายปรัชญา ปิ่นแก้ว นางสมัย ทรัพย์สิงห์ (หมอล�ำพิศมัย เพชรลมโชย) นางวันดี พลทองสถิตย์ (หมอล�ำอุดมศิลป์) นายรังสรรค์ วงศ์งาม นายระพินทร์ พุฒิชาติ นายบุญเสาร์ ประจันตะเสน (พรศักดิ์ ส่องแสง) นายเมฆ ศรีก�ำพล นายละมุด ทรัพย์ผาด (ละมุด เมืองหมอแคน) นายโสโชค สู้ โนนตาด นายสุขสันติ์ สุวรรณเจริญ นางธนพร อินทร์ธิราช (ยุภาพร สายลมเย็น) นางจินตนา เย็นสวัสดิ์ (จินตนา ปากไฟ) นายบุญมี ไชยขันธุ์ (บุญมีนอ้ ย เสียงทอง) นายสายทอง ไกลถิ่น (เหลือง บริสุทธิ์)

สาขา สาขาย่อย ศิลปะการแสดง ดนตรีพื้นบ้านอีสาน แคน ศิลปะการแสดง ดนตรีพื้นบ้านอีสาน แคน ศิลปะการแสดง ดนตรีพ้นื บ้านอีสาน ซอ ศิลปะการแสดง ดนตรีพื้นบ้านอีสาน ซอ ศิลปะการแสดง หมอล�ำกลอน ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง

ลูกทุ่งหมอล�ำ ขับร้อง กันตรึม ดนตรีพื้นบ้าน แคน

๒๕๕๘ ๒๕๕๘ ๒๕๕๘

ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง

ดนตรีพื้นบ้าน กันตรึม ก�ำกับภาพยนตร์ ล�ำเรื่อง

๒๕๕๘ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙

ศิลปะการแสดง

ล�ำเรื่อง

๒๕๕๙

ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง

ล�ำกลอน เพลงเพื่อชีวิต ลูกทุ่งหมอล�ำ

๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙

ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง

ดนตรีพื้นบ้าน ปี่ผู้ ไท ดนตรีพื้นบ้าน แคน

๒๕๕๙ ๒๕๖๐

ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง

ดนตรีพื้นบ้าน พิณ ดนตรีพื้นบ้าน กลอง ล�ำกลอน

๒๕๖๐ ๒๕๖๐ ๒๕๖๐

ศิลปะการแสดง ศิลปะการแสดง

ล�ำกลอน ล�ำเรื่องต่อกลอนท�ำนอง กาฬสินธุ์ นักร้องลูกทุ่ง

๒๕๖๐ ๒๕๖๐

ศิลปะการแสดง

หมายเหตุ * ถึงแก่กรรม 112

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

ปีที่ ได้รับ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

๒๕๖๐


ท�ำเนียบอมรศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐ ล�ำดับ

รายนาม

สาขา

สาขาย่อย

ปีที่ ได้รับ

นายตุม้ ทอง โชคชนะ (เบญจมินทร์) *

ประพันธ์เพลง

-

๒๕๕๖

๒ ศาสตราจารย์พิเศษเฉลิม นาคีรักษ์ * จิตรกรรมไทยประยุกต์

-

๒๕๕๗

๓ นายค�ำพูน บุญทวี *

นวนิยาย – สารคดี

-

๒๕๕๗

ดนตรีพื้นบ้านอีสานใต้

-

๒๕๕๗

นายพูน สามสี *

นายสุนทร ไชยรัตนโชติ * (สุนทร ชัยรุ่งเรือง)

ล�ำกลอน

-

๒๕๕๗

นายสิลา วีระวงส์ *

วรรณศิลป์

-

๒๕๕๘

ประพันธ์เพลงลูกทุ่ง

-

๒๕๕๙

๗ นายสงเคราะห์ สมัตถภาพงศ์ * หมายเหตุ * ถึงแก่กรรม

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

113


ท�ำเนียบผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๕๑ – ๒๕๖๐ ล�ำดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕

รายนาม พระครูบุญชยากร เทศบาลนครขอนแก่น นายบุญเลิศ อนุศรี นายอลงกต ค�ำโสภา นางฑีตา จันทร์เพ็งเพ็ญ *

สาขา พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน

๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖

นายธงชัย ประสงค์สันติ สื่อสารมวลชน นางดวงพร (เฉลิมศรี) ชินสีดา สื่อพื้นบ้าน นางสุมาลี วงศ์บุญ สื่อพื้นบ้าน นางน้อย ไกรอ่อน สื่อพื้นบ้าน นางนวลปรางค์ อุทัยทิพย์ สื่อพื้นบ้าน นางบุญมี นามตะ (จันเพ็ญ ศิริเทพ) สื่อพื้นบ้าน นายโยธิน กิจใบ (ซุปเปอร์ยาว) สื่อพื้นบ้าน นายบุญถือ ป้องศรี * สื่อพื้นบ้าน นายวสุ ห้าวหาญ ศิลป์ศรีอีสานร่วมสมัย ส�ำนักประชาสัมพันธ์ เขต ๑ ขอนแก่น สื่อสารมวลชน นายบุญเรือง ถาวรสวัสดิ์ สื่อสารมวลชน

๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐

คณะหมอล�ำเสียงอิสาน นายทัชชกร ยีรัมย์ (จา พนม) นายค�ำป่วน สุธงษา นายสุวรรณ เหล่าลือชา

สาขาย่อย ศาสนาประเพณี ภูมิทัศน์วัฒนธรรม จิตรกรรมพื้นบ้าน ดนตรีพื้นบ้านโปงลาง หัตถกรรมพื้นบ้าน ผ้าทอย้อมคราม พิธีกรรายการโทรทัศน์ ล�ำชิงชู้ ล�ำเพลิน ล�ำเรื่องต่อกลอน ล�ำกลอน ล�ำเรื่องต่อกลอน ตลกอีสาน ดนตรีพื้นบ้าน แคน ประพันธ์เพลงลูกทุ่ง ส่งเสริมวัฒนธรรม นักจัดรายการวิทยุ/ หนังสือพิมพ์ หมอล�ำ นักแสดง เกษตรกรรม หัตถกรรมพิณ

สื่อพื้นบ้าน ศิลป์ศรีอีสานร่วมสมัย เกษตรกรรม อุตสาหกรรมและ หัตถกรรม ๒๑ นายค�ำเดื่อง ภาษี นิเวศน์วัฒนธรรมและ เกษตรนิเวศน์ สิ่งแวดล้อม ๒๒ นายเล็ก กุดวงศ์แก้ว วิสาหกิจและธุรกิจ เกษตรแปรรูป ชุมชน ศิลปกรรม สื่อพื้นบ้านหมอล�ำประยุกต์ ๒๓ นายแพทย์สชุ าติ ทองแป้น (หมอแป้น) 114

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

ปีที่ ได้รับ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๒ ๒๕๕๒ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๓ ๒๕๕๓ ๒๕๕๓ ๒๕๕๓


ล�ำดับ รายนาม สาขา สาขาย่อย ๒๔ นายบุญคง นนทสอน (เจรียงไทยรุ้ง) ศิลปกรรม สื่อพื้นบ้าน เจรียงเบริน ๒๕ พระพุทธิสารมุนี ภาษาและวรรณกรรม ภูมิปัญญากลอนล�ำ ๒๖ นายบุญเรือง คัชมาย์ ภาษาและวรรณกรรม ต�ำราวิชาการ ท้องถิ่น ศึกษา ๒๗ นางกัญญา อ่อนศรี เกษตรกรรม ๒๘ นายสุด กัณหารัตน์ อุตสาหกรรมและ หัตถกรรม ๒๙ นายทองอ่อน สิทธิไกรพงษ์ แพทย์แผนไทย ๓๐ นายสุทธินันท์ ปรัชญพฤกษ์ นิเวศน์วัฒนธรรมและ (ครูบาสุทธินันท์) สิ่งแวดล้อม ๓๑ นางบุญเกิด ภานนท์ วิสาหกิจและธุรกิจ ชุมชน ๓๒ นายโสโชค สู้ โนนตาด ศิลปกรรม พิณ ๓๓ นายกิตติ วรรณวงษ์ ศิลปกรรม สะไน ๓๔ นายค�ำตา หมื่นบุญมี ศิลปกรรม มโหรีอีสาน ๓๕ นางจินตนา เย็นสวัสดิ์ ศิลปกรรม หมอล�ำกลอน ๓๖ นายบุญช่วย จิวิสาย (รักชาติ ศิริชัย) ศิลปกรรม นักร้องลูกทุ่ง ๓๗ นายสายรุ้ง ภูมิสุข (เจรียงสายรุ้ง) ศิลปกรรม เจรียงเบริน ๓๘ นางนิตยา เชิดชู (นิยา ราชินีไหซอง) ศิลปกรรม ไหซอง ศิลปกรรม สถาปัตยกรรมท้องถิ่น ๓๙ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทรงยศ วรี ะทวีมาศ ๔๐ นายบุญชืน่ บุญเกิดรัมย์ (แดน บุรรี มั ย์) สื่อสารวัฒนธรรม ๔๑ นางวริศราลี แก้วปลั่ง สื่อสารวัฒนธรรม ๔๒ นายเทพบุตร สติรอดชมพู สื่อสารวัฒนธรรม ๔๓ สถานี โทรทัศน์อีสานทีวี สื่อสารวัฒนธรรม ๔๔ องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพ สื่อสารวัฒนธรรม สาธารณะแห่งประเทศไทย ๔๕ นายสวิง บุญเจิม ภาษาและวรรณกรรม ๔๖ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาและวรรณกรรม ภาษาไทย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๔๗ ศูนย์คชศึกษา อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ ศาสนาและประเพณี ๔๘ พระธรรมฐิติญาณ ศาสนาและประเพณี -

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

ปีที่ ได้รับ ๒๕๕๓ ๒๕๕๓ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

115


ล�ำดับ รายนาม ๔๙ นายวรชัย ศิลวัตรพงศกุล ๕๐ นายบุญส่วน แก้วไพฑูรย์ ๕๑ นายใจเพชร กล้าจน (หมอเขียว) ๕๒ นายโจน จันได ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๘ ๖๙ ๗๐

116

สาขา เกษตรกรรม เกษตรกรรม แพทย์แผนไทย

สาขาย่อย -

นิเวศน์วัฒนธรรมและ สิ่งแวดล้อม นางอภิญญา กลมเกลียว วิสาหกิจชุมชนและ ธุรกิจชุมชน นางสายทิพย์ ลามา วิสาหกิจชุมชนและ ธุรกิจชุมชน นางกฤษณา วรรณสุทธิ์ (บุญแสน) ศิลปกรรม ล�ำกลอน นางนิตยา รากแก่น ศิลปกรรม ลูกทุ่งอีสาน (บานเย็น รากแก่น) นายธรรมรงค์ แก้วโบราณ ศิลปกรรม จิตรกรรมแนวประเพณี นายโสพิศ พุทธรักษ์ ศิลปกรรม ประติมากรรม รองศาสตราจารย์วีณา วีสเพ็ญ ภาษาและวรรณกรรม นางแสงจันทร์ พิรุณ อาหารและโภชนาการ นายประสาสน์ รัตนปัญญา สื่อสารวัฒนธรรม จิม ทอมป์สัน ฟาร์ม สื่อสารวัฒนธรรม โฮมสเตย์บ้านโคกโก่ง สื่อสารวัฒนธรรม พระราชปริยัติวิมล ศาสนาและประเพณี ท�ำนุบ�ำรุงพุทธศาสนา นายถาวร เชื้อบุญมี ศาสนาและประเพณี พิธีกรรม พระมหาประมวล ฐานทตฺโต ภาษาและวรรณกรรม ประพันธ์วรรณกรรม พุทธศาสนา นายธีรพงษ์ โสดาศรี สื่อสารวัฒนธรรม ส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น อีสาน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ สื่อสารวัฒนธรรม บริหารจัดการวัฒนธรรม ท้องถิ่นอีสาน นายเฉลิมศักดิ์ ถนอมสิทธิ์ เกษตรกรรม เกษตรทฤษฎี ใหม่ นางสนิท ทิพย์นางรอง เกษตรกรรม การจัดการน�้ำเพื่อ การเกษตร

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

ปีที่ ได้รับ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖


ล�ำดับ รายนาม ๗๑ นายสมพงษ์ ชิณสีดา ๗๒ ๗๓ ๗๔ ๗๕ ๗๖ ๗๗ ๗๘ ๗๙ ๘๐ ๘๑ ๘๒ ๘๓ ๘๔ ๘๕ ๘๖ ๘๗ ๘๘ ๘๙ ๙๐ ๙๑

สาขา สาขาย่อย นิเวศน์วัฒนธรรมและ บูรณาการสิ่งแวดล้อมกับ สิ่งแวดล้อม การเกษตร กลุ่มทอเสื่อกกบ้านแพง อ.โกสุมพิสัย อุตสาหกรรมและ ออกแบบและประยุกต์ จ.มหาสารคาม หัตถกรรม หัตถกรรมพื้นบ้านอีสาน นายอ�ำนวย วรพงศธร ศิลปกรรม ออกแบบลวดลายอีสาน ประยุกต์ นายสุกิจ พลประถม ศิลปกรรม ดนตรีพื้นบ้านอีสานศึกษา นายหัสดี ทินราช ศิลปกรรม กลองยาวอีสานประยุกต์ นางรัญจวน ดวงไข่ษร ศิลปกรรม ล�ำกลอน (หมอล�ำรัญจวน ดวงเด่น) นายพิณเพชร ทิพย์ประเสริฐ ศิลปกรรม ดนตรีพื้นบ้านอีสาน พิณ (ค�ำเม้า เปิดถนน) นางอรอุมา จันทรวงษา ศิลปกรรม ล�ำกลอน (หมอล�ำทองศรี ศรีรักษ์) นายจีรพล เพชรสม ศิลปกรรม บริหารจัดการศิลปะ พื้นบ้าน นางประคอง เหรวรรณ (เอ๋ ศุภนาถ) ศิลปกรรม ล�ำประยุกต์ ศูนย์ศึกษาศิลปะธรรมชาติเด็กรักป่า นิเวศน์วัฒนธรรมและ จ.สุรินทร์ สิ่งแวดล้อม ศูนย์พัฒนาหมู่บ้านชนบทผสมผสาน วิสาหกิจและธุรกิจ บ้านไผ่ (ศูนย์มีชัย) จ.ขอนแก่น ชุมชน นายทนง โคตรชมภู ศิลปกรรม ศิลปะเพื่อสังคม นายสมจิต ทองบ่อ ศิลปกรรม ขับร้องเพลงลูกทุ่งหมอล�ำ (สมจิตร บ่อทอง) นายเกรียงศักดิ์ ปะรุนรัมย์ ศิลปกรรม กันตรึม สุรินทร์สโมสร ภาษาและวรรณกรรม นายสมานจิตต์ ผุยชา ศาสนาและประเพณี ศาสนพิธี นายประยูร จันทรุสอน สื่อสารวัฒนธรรม จัดรายการวิทยุโทรทัศน์ รองศาสตราจารย์อุดม บัวศรี สื่อสารวัฒนธรรม เผยแพร่ศาสนาและ วัฒนธรรม นายจันทร์ที ประทุมภา เกษตรกรรม เกษตรทฤษฎี ใหม่ นายบุญเต็ม ชัยลา เกษตรกรรม เกษตรทฤษฎี ใหม่

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

ปีที่ ได้รับ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๘

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

117


ล�ำดับ รายนาม ๙๒ นายทัน สุพรรณราช ๙๓ ๙๔ ๙๕ ๙๖ ๙๗ ๙๘ ๙๙ ๑๐๐ ๑๐๑ ๑๐๒ ๑๐๓ ๑๐๔ ๑๐๕ ๑๐๖ ๑๐๗ ๑๐๘ ๑๐๙ ๑๑๐ ๑๑๑ ๑๑๒ ๑๑๓ 118

สาขา อุตสาหกรรมและ หัตถกรรม นายต่อศักดิ์ สุทธิสา อุตสาหกรรมและ หัตถกรรม นางเบญจวรรณ บุ้งทอง อุตสาหกรรมและ หัตถกรรม นายขาว เฉียบแหลม แพทย์แผนไทย กลุม่ อนุรกั ษ์พนั ธุส์ ตั ว์นำ�้ และสิง่ แวดล้อม นิเวศน์วัฒนธรรมและ บ้านท่าตูม สิ่งแวดล้อม กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่บ้านหัวฝาย วิสาหกิจและธุรกิจ ชุมชน ศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ อรศิร ิ ปาณินท์ ศิลปกรรม นายสว่าง เชื้อหงษ์ ศิลปกรรม (หมอล�ำสว่างจิตร เชื้อหงษ์)* นายบุญชัย ทองเจริญบัวงาม ศิลปกรรม นายธงชัย นิกรสุข เกษตรกรรม นางชูศรี คะเรียงรัมย์ อุตสาหกรรมและ หัตถกรรม นางสมบูรณ์ จ�ำนูนสาย แพทย์แผนไทย นายปริพนธ์ วัฒนข�ำ (ไฝ สันติภาพ) นิเวศน์วัฒนธรรมและ สิ่งแวดล้อม นายประยุทธ หงษ์ทอง วิสาหกิจและธุรกิจ ชุมชน นายไพบูลย์ ธรรมเรืองฤทธิ์ ศิลปกรรม (ครูเบิ้มเติมศิลป์) กลุ่มศิลปินเมืองแปะ จังหวัดบุรีรัมย์ ศิลปกรรม นายศราวุธ ทุ่งขี้เหล็ก (สิงห์เฒ่า) ศิลปกรรม นายทวี สาริมาตย์ ศิลปกรรม นางล�ำใย พานิชย์ ศิลปกรรม นายสมบูรณ์ ฤทธิวงจักร ศิลปกรรม นายอนุสรณ์ จังกาจิตต์ ศิลปกรรม นายปรีดา ข้าวบ่อ ภาษาและวรรณกรรม

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

สาขาย่อย เครื่องปั้นดินเผา

ปีที่ ได้รับ ๒๕๕๘

ผ้าไหมบาติก

๒๕๕๘

แปรรูปผ้าพื้นถิ่น

๒๕๕๘

-

๒๕๕๘ ๒๕๕๘

-

๒๕๕๘

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น หมอล�ำกลอน

๒๕๕๘ ๒๕๕๘

ช่างฝีมือ ผ้าทอสีธรรมชาติ

๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙

นวดพื้นบ้าน -

๒๕๕๙ ๒๕๕๙

สหกรณ์เกษตร

๒๕๕๙

จิตรกรรมร่วมสมัย

๒๕๕๙

ศิลปะชุมชน ดนตรีร่วมสมัย ดนตรีพื้นบ้าน แคน เพลงโคราช ร�ำลายกลองไทยโส้ นักแสดง -

๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙


ล�ำดับ ๑๑๔ ๑๑๕ ๑๑๖ ๑๑๗ ๑๑๘ ๑๑๙ ๑๒๐ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๓ ๑๒๔

รายนาม รองศาสตราจารย์คูณ โทขันธ์ นายเด่นชัย ไตรยะถา นางนวลจันทร์ พงษ์สนิท (สาววาริน) นายเฉลิมชัย อินทรชัยศรี นายคมกฤช ฤทธิ์ขจร หลวงตาปพนพัชร์ จิรธัมโม

สาขา ศาสนาและประเพณี สื่อสารวัฒนธรรม สื่อสารวัฒนธรรม สาขาเกษตรกรรม สาขาหัตถกรรม สาขาการแพทย์และ เภสัชกรรมไทย กลุ่มอนุรักษ์ป่าชุมชนบ้านหัวบึง สาขานิเวศน์ ต.ทรายมูล อ.น�้ำพอง จ.ขอนแก่น วัฒนธรรมและ สิ่งแวดล้อม นางพัชรี พาพินชิ (พัชรี แก้วเสด็จ) สาขาศิลปกรรม นายร่มใจ สาวิกันย์ (นิด ลายสือ) สาขาศิลปกรรม นางสังวาลย์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา สาขาศิลปกรรม นายพิชัย พรหมผุย สื่อสารวัฒนธรรม

สาขาย่อย นักจัดรายการวิทยุ ผ้าพื้นเมือง -

ปีที่ ได้รับ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๐ ๒๕๖๐

-

๒๕๖๐

ล�ำกลอน ดนตรีร่วมสมัย นักพากย์ -

๒๕๖๐ ๒๕๖๐ ๒๕๖๐ ๒๕๖๐

หมายเหตุ * ถึงแก่กรรม

ศิลปินมรดกอีสาน

สืบสาน

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑

119


ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ ๗๕๐๐ / ๒๕๖๐) เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการเสนอชื่อและกลั่นกรองคุณสมบัติศิลปินมรดกอีสาน ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๑

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เพื่อให้การด�ำเนินการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสาน เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ซึ่งจะจัดขึ้น ในวันจันทร์ที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุตามวัตถุประสงค์ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๗ (๑) และมาตรา ๘๕ แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๕๘ จึงแต่งตัง้ ผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งและมีรายนามดังต่อไปนีเ้ ป็นคณะกรรมการเสนอชือ่ และกลัน่ กรองคุณสมบัติ ศิลปินมรดกอีสาน ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกอบด้วย ๑. รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ เป็นประธานกรรมการ ๒. ผู้อ�ำนวยการศูนย์วัฒนธรรม เป็นรองประธานกรรมการ ๓. วัฒนธรรมจังหวัดขอนแก่น เป็นกรรมการ ๔. นายกสมาคมศิลปินอีสาน เป็นกรรมการ ๕. นายกสโมสรนักเขียนภาคอีสาน เป็นกรรมการ ๖. ประธานกรรมาธิการสถาปนิกภาคอีสาน เป็นกรรมการ ๗. นายกสมาคมหมอล�ำจังหวัดขอนแก่น เป็นกรรมการ ๘. รองศาสตราจารย์สุวัฒน์ จิตต์ปราณีชัย เป็นกรรมการ ๙. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธรณัส หินอ่อน เป็นกรรมการ ๑๐. นายชุมเดช เดชพิมล เป็นกรรมการ ๑๑. นายโฆษิต ดีสม เป็นกรรมการ ๑๒. นายค�ำพันธ์ ยะปะตัง เป็นกรรมการ ๑๓. นายวิชิต วัฒนานนท์ เป็นกรรมการ ๑๔. นางสาวสุชีรา เพชรแก้ว เป็นกรรมการ ๑๕. นายยุทธภูมิ มีพรหมดี เป็นกรรมการ ๑๖. นายวรศักดิ์ วรยศ เป็นกรรมการและเลขานุการ ๑๗. นางตุลยา นานอก เป็นผู้ช่วยเลขานุการ

/นางสาวบุญยืน...


~๒~

๑๘. นางสาวบุญยืน เปล่งวาจา ๑๙. นายวิทยา วุฒิไธสง ๒๐. นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์ ๒๑. นางสาวพิธัญญา พิรุณสุนทร ๒๒. นางสาวคณิตตา คลังทอง ๒๓. นางสาวศิริมุกดา โพธิ ๒๔. นายไกรฤกษ แพงมา

เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ

มีหน้าที่ ๑. เสนอชื่อและกลั่นกรองคุณสมบัติศิลปินมรดกอีสาน ให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด

ทั้งนี้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

(รองศาสตราจารย์เกรียงไกร กิจเจริญ) รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ ปฏิบัติการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ ๗๕๐๑ / ๒๕๖๐) เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาตัดสินรางวัลศิลปินมรดกอีสาน ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๑

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เพื่อให้การด�ำเนินการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสาน เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ซึ่งจะจัดขึ้น ในวันจันทร์ที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุตามวัตถุประสงค์ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๗ (๑) และมาตรา ๘๕ แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๕๘ จึงแต่งตัง้ ผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งและมีรายนามดังต่อไปนีเ้ ป็นคณะกรรมการพิจารณาตัดสินรางวัลศิลปินมรดก อีสาน ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกอบด้วย ๑. รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ เป็นประธานกรรมการ ๒. ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ เป็นรองประธานกรรมการ ๓. รองศาสตราจารย์ธัญญา สังขพันธานนท์ เป็นกรรมการ ๔. รองศาสตราจารย์พจมาลย์ สมรรคบุตร เป็นกรรมการ ๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทรงวิทย์ พิมพะกรรณ์ เป็นกรรมการ ๖. นางฉวีวรรณ พันธุ เป็นกรรมการ ๗. นายธีระพงษ์ โสดาศรี เป็นกรรมการ ๘. นางธีรารัตน์ ลีลาเลิศสุระกุล เป็นกรรมการ ๙. นายทูลทองใจ ซึ่งรัมย์ เป็นกรรมการ ๑๐. นายสมคิด สิงสง เป็นกรรมการ ๑๑. นายธีระวัฒน์ คะนะมะ เป็นกรรมการ ๑๒. นายนนท์ พลังวรรณ เป็นกรรมการ ๑๓. นายโชคชัย ตักโพธิ์ เป็นกรรมการ ๑๔. นายทรงศักดิ์ ประทุมศิลป์ เป็นกรรมการ ๑๕. นายเจริญ กุลสุวรรณ เป็นกรรมการ ๑๖. ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวัฒนธรรม เป็นกรรมการและเลขานุการ ๑๗. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธรณัส หินอ่อน เป็นผู้ช่วยเลขานุการ

/ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาณุ...


~๒~

๑๘. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาณุ อุดมเพทายกุล ๑๙. นายภาสกร เตือประโคน ๒๐. นายวรศักดิ์ วรยศ ๒๑. นางตุลยา นานอก ๒๒. นางสาวศิริมุกดา โพธิ ๒๓. นางสาวบุญยืน เปล่งวาจา ๒๔. นายวิทยา วุฒิไธสง ๒๕. นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์ ๒๖. นางสาวพิธัญญา พิรุณสุนทร ๒๗. นางสาวคณิตตา คลังทอง ๒๘. นายไกรฤกษ แพงมา

เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ

ทั้งนี้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

(รองศาสตราจารย์เกรียงไกร กิจเจริญ) รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ ปฏิบัติการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ ๗๕๐๓ / ๒๕๖๐) เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการเสนอชื่อและกลั่นกรองคุณสมบัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๑

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เพือ่ ให้การด�ำเนินการจัดงานเชิดชูเกียรติศลิ ปินมรดกอีสานและผูม้ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ เนือ่ งในวันคล้าย วันพระราชสมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวันอนุรกั ษ์มรดกไทย ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ซึง่ จะจัดขึน้ ในวันจันทร์ที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุตามวัตถุประสงค์ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๗ (๑) และมาตรา ๘๕ แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๕๘ จึงแต่งตัง้ ผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งและมีรายนามดังต่อไปนีเ้ ป็นคณะกรรมการเสนอชือ่ และกลัน่ กรองคุณสมบัติ ผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ดังนี้ ๑. ผู้อ�ำนวยการศูนย์วัฒนธรรม เป็นประธานกรรมการ ๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธรณัส หินอ่อน เป็นรองประธานกรรมการ ๓. ผู้อ�ำนวยการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยขอนแก่น ส�ำนักงานขอนแก่น เป็นกรรมการ ๔. ประธานเครือข่ายปราชญ์อีสาน เป็นกรรมการ ๕. รองศาสตราจารย์วีณา วีสเพ็ญ เป็นกรรมการ ๖. รองศาสตราจารย์สุพัตรา ชาติบัญชาชัย เป็นกรรมการ ๗. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิเชียร วรพุทธพร เป็นกรรมการ ๘. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไกรเลิศ ทวีกุล เป็นกรรมการ ๙. ผู้ช่วยศาสตราจารย์หอมหวล บัวระกา เป็นกรรมการ ๑๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์บัญชา เกียรติจรุงพันธ์ เป็นกรรมการ ๑๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภาพร วีระปรียากูร เป็นกรรมการ ๑๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรรณศักดิ์พิจิตร บุญเสริม เป็นกรรมการ ๑๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนสิทธิ์ จันทะรี เป็นกรรมการ ๑๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดวงจันทร์ นาชัยสินธุ์ เป็นกรรมการ ๑๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุกานดา นาคะปักษิน เป็นกรรมการ ๑๖. นางราตรีศรีวิไล บงสิทธิพร เป็นกรรมการ ๑๗. นายวิสุทธิ์ การค้า เป็นกรรมการ

/๑๘ นายยุทธภูมิ...


~๒~

๑๘. นายยุทธภูมิ มีพรหมดี ๑๙. นายภาสกร เตือประโคน ๒๐. นางสาวบุญยืน เปล่งวาจา ๒๑. นายวิทยา วุฒิไธสง ๒๒. นายวรศักดิ์ วรยศ ๒๓. นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์ ๒๔. นางสาวพิธัญญา พิรุณสุนทร ๒๕. นางตุลยา นานอก ๒๖. นางสาวศิริมุกดา โพธิ ๒๗. นางสาวคณิตตา คลังทอง ๒๘. นายไกรฤกษ แพงมา

เป็นกรรมการ เป็นกรรมการและเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ

มีหน้าที่ เสนอชื่อและกลั่นกรองคุณสมบัติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ ให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด

ทั้งนี้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

(รองศาสตราจารย์เกรียงไกร กิจเจริญ) รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ ปฏิบัติการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ค�ำสั่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ ๗๕๐๒ / ๒๕๖๐) เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาตัดสินผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๑

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เพื่อให้การด�ำเนินการจัดกิจกรรมเชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสานและผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจ�ำปี ๒๕๖๐ ซึ่งจะจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นไปด้วยความ เรียบร้อย และบรรลุตามวัตถุประสงค์ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๗ (๑) และมาตรา ๘๕ แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๕๘ จึงแต่งตั้งผู้ด�ำรงต�ำแหน่งและรายนามดังต่อไปนี้ เป็นคณะกรรมการพิจารณาตัดสินผู้มีผลงานดีเด่น วัฒนธรรมสัมพันธ์ ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ดังนี้ ๑. รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ เป็นประธานกรรมการ ๒. ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ เป็นรองประธานกรรมการ ๓. พระครูบุญชยากร เป็นกรรมการ ๔. คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ เป็นกรรมการ ๕. คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ เป็นกรรมการ ๖. คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาตร์ เป็นกรรมการ ๗. คณบดีคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี เป็นกรรมการ ๘. ศาสตราจารย์อมร เปรมกมล เป็นกรรมการ ๙. รองศาสตราจารย์บุญยงค์ เกตุเทศ เป็นกรรมการ ๑๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชอบ ดีสวนโคก เป็นกรรมการ ๑๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรกานต์ รวยสูงเนิน เป็นกรรมการ ๑๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทรงวิทย์ พิมพะกรรณ์ เป็นกรรมการ ๑๓. นางฉวีวรรณ พันธุ เป็นกรรมการ ๑๔. นายธีระพงษ์ โสดาศรี เป็นกรรมการ ๑๕. นายโชคชัย ตักโพธิ์ เป็นกรรมการ

/๑๖. นางสุมาลี..


~๒~

๑๖. นางสุมาลี สุวรรณกร ๑๗. ผู้อ�ำนวยการศูนย์วัฒนธรรม ๑๘. นางสาวบุญยืน เปล่งวาจา ๑๙. นางตุลยา นานอก ๒๐. นายวิทยา วุฒิไธสง ๒๑. นายวรศักดิ์ วรยศ ๒๒. นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์ ๒๓. นางสาวพิธัญญา พิรุณสุนทร ๒๔. นางสาวคณิตตา คลังทอง ๒๕. นางสาวศิริมุดา โพธิ ๒๖. นายไกรฤกษ แพงมา

เป็นกรรมการ เป็นกรรมการและเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ

ทั้งนี้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

(รองศาสตราจารย์เกรียงไกร กิจเจริญ) รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ ปฏิบัติการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น


ก�ำหนดการ

งานเชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสานและผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และวันอนุรักษ์มรดกไทย พุทธศักราช ๒๕๖๑ วันจันทร์ ที่ ๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๑ ณ โรงละครคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ……………………………………………………………………………………… เวลา ๑๑.๐๐ – ๑๑.๓๐ น. ลงทะเบียนศิลปินมรดกอีสานและผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ เวลา ๑๑.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. ซักซ้อมพิธีการรับโล่เชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสานและผู้มีผลงานดีเด่น วัฒนธรรมสัมพันธ์ เวลา ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๓.๓๐ น. ลงทะเบียนผู้บริหารและผู้มีเกียรติที่มาร่วมงาน เวลา ๑๓.๓๐ - ๑๓.๓๕ น. พิธีกล่าวค�ำถวายอาศิรวาทราชสดุดีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - โดย ดร.สมศักดิ์ จังตระกุล ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น น�ำกล่าวค�ำอาศิรวาทราชสดุดี - บรรเลงเพลงมหาชัย เวลา ๑๓.๓๕ - ๑๔.๐๐ น. การแสดงถวายพระพรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - ล�ำถวายพระพร โดย ดร.ฉวีวรรณ พันธุ ศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๓๖ - การแสดง ชุด องค์เทพจากสวรรค์ โดย นางชนิดาภา มนั่ สนธิ์ “รุง่ นภา เพชรอุบล” และนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เวลา ๑๔.๐๐ - ๑๔.๔๕ น. พิธีมอบโล่เชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑ - วีดิทัศน์แนะน�ำอมรศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑ - พิธมี อบโล่เชิดชูเกียรติ โดย ดร.สมศักดิ ์ จงั ตระกุล ผูว้ า่ ราชการจังหวัดขอนแก่น - วีดิทัศน์แนะน�ำศิลปินมรดกอีสาน พุทธศักราช ๒๕๖๑ - พิธมี อบโล่เชิดชูเกียรติ โดย ดร.สมศักดิ ์ จังตระกุล ผูว้ า่ ราชการจังหวัดขอนแก่น - ผู้แทนศิลปินมรดกอีสานกล่าวความรู้สึก โดย นางอุไร ฉิมหลวง “นกน้อย อุไรพร” - การแสดงศิลปินมรดกอีสาน


เวลา ๑๔.๔๕ - ๑๕.๓๐ น. พิธีมอบโล่เชิดชูเกียรติผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ - วีดิทัศน์แนะน�ำผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ - พิธีมอบโล่เชิดชูเกียรติ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น - ผูแ้ ทนผูม้ ผี ลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์กล่าวความรูส้ กึ โดย ดร.อ�ำคา แสงงาม - การแสดงผู้มีผลงานดีเด่นวัฒนธรรมสัมพันธ์ เวลา ๑๕.๓๐ – ๑๗.๐๐ น. การแสดงศิลปินแห่งชาติและศิลปินมรดกอีสาน - โดย หมอล�ำ ป.ฉลาด ส่งเสริม ศิลปินแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๘ - หมอล�ำ ดร.ราตรี ศรีวิไล และ หมอล�ำวันดี พลทองสถิตย์ ศิลปินมรดกอีสาน - ศิลปินรับเชิญ ตุ้ม ดาวดารินทร์ เวียง นฤมล แกรมมี่ โกลด์ เบียร์ พร้อมพงษ์ แกรมมี่ โกลด์ เวลา ๑๗.๐๐ น.

เสร็จพิธี

หมายเหตุ : แต่งกายด้วยชุดผ้าไทยหรือผ้าพื้นเมืองอีสานหรือชุดสุภาพ


คณะผู้จัดท�ำ ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ นายบัญชา พระพล ผูช้ ว่ ยอธิการบดีฝา่ ยศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ รักษาการในต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการศูนย์วัฒนธรรม

บรรณาธิการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงวิทย์ พิมพะกรรณ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารศรี สอทิพย์

กองบรรณาธิการ

นางสุมาลี สุวรรณกร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หอมหวล บัวระภา ดร.อิศเรศ ดลเพ็ญ ดร.วรรณศักดิ์พิจิตร บุญเสริม อาจารย์วทัญญา เล่ห์กัน อาจารย์เชรษฐรัฐ กองรัตน์ นายวิทยา วุฒิไธสง นายวัชระ พระวิเศษ นางสาวสุดารัตน์ พิพิธกุล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรสวรรค์ สุวรรณธาดา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไกรเลิศ ทวีกุล ดร.อุมารินทร์ ตุลารักษ์ อาจารย์หนึ่งฤทัย ปานแก้ว อาจารย์ยุทธภูมิ มีพรหมดี นายภาสกร เตือประโคน นายณัฐพล ผลสว่าง นางสาวชนิดา วงษา นางสาวประภัสสร โคตะมะ

พิสูจน์อักษร

นายโรจนวรรณ หาดี นางสาวธิดารัตน์ สีหะเกรียงไกร นางสาวพิมพ์ชนก ศรีคง นายศาสตรา ประดับสุข นายปัญญวัฒน์ ฉายาวรรณ์ นายธนากร ธนะฤกษ์ นางสาววทัญญุตา ชมภักดี นายณัฐพล ผลสว่าง

ประสานงานข้อมูล

นางสาวบุญยืน เปล่งวาจา

นายวิทยา วุฒิไธสง

ออกแบบกราฟฟิก

ประชาสัมพันธ์

นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์

นายวิทยา วุฒิไธสง

ธุรการ การเงิน

นางตุลยา นานอก

ชื่อหนังสือ บรรณาธิการ จัดพิมพ์ โดย พิมพ์ครั้งที่ ๑

นางสาวศิริมุกดา โพธิ

นางสาวพิธัญญา พิรุณสุนทร

ศิลปินมรดกอีสาน สืบสาน วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๒๕๖๑ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงวิทย์ พิมพะกรรณ์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารศรี สอทิพย์ ฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและชุมชนสัมพันธ์ และศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีนาคม ๒๕๖๑ จ�ำนวนพิมพ์ ๔๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.