รายงานประจำ�ปี
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปีงบประมาณ 2562
(1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 - 30 กันยายน พ.ศ. 2562)
คำ�นำ� ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดทำ�รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562 เพื่อแจ้ง ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านทราบถึงผลการดำ�เนินงานของศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ซึ่งเป็นไปตามแผนกลยุทธ์และพันธกิจ หลัก ทั้งยังได้ดำ�เนินการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักในการจัดตั้งศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ของสำ�นักคณะกรรมการ อุดมศึกษาและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ได้รวบรวมกิจกรรมที่ดำ�เนินการผ่านมาทั้งหมดประจำ�ปีงบประมาณพ.ศ. 2562 (1 ตุลาคม พ.ศ.2561 - 30 กันยายน พ.ศ.2562) ในด้านการบริหารการศึกษา ด้านวิชาการ ด้านสิ่งพิมพ์ และด้าน วิจัย ที่ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ ดำ�เนินงาน เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านยุโรปศึกษาให้เป็นที่แพร่หลายในวงกว้างทั้งใน ประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตลอดมา อีกทั้งได้มีการพัฒนาภารกิจใหม่ ๆ เพื่อให้สามารถบรรลุ วัตถุประสงค์หลักของศูนย์ฯ ยุโรปศึกษาอย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลในรายงานประจำ�ปีฉบับนี้ จะเป็น ประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจการดำ�เนินกิจกรรมของศูนย์ฯ ต่อไป และขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทำ�ทุกท่านไว้ ณ ที่นี้
ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา รักษาการผู้อำ�นวยการศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ดำ�เนินตามพันธกิจหลักในการพัฒนาและเผยแพร่ องค์ความรู้ด้านยุโรปศึกษาแบบสหวิชา รวมถึงการ ขยายเครือข่ายพันธมิตรทางวิชาการร่วมกับสถาบัน การศึกษาและหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในประเทศไทยและ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างต่อเนื่องมาตลอด กว่าสองทศวรรษ ในปีงบประมาณ 2562 ศูนย์ฯ ยัง คงดำ�เนินกิจกรรมตามพันธกิจหลักอย่างต่อเนื่อง และ สามารถสรุปการดำ�เนินการที่สำ�คัญของศูนย์ฯ ได้ดัง ต่อไปนี้ (1) ด้านบริหารการศึกษา: การจัดการ เรียนการสอนในระดับปริญญาตรี 1 รายวิชา การรับผิดชอบประสานงานการจัดการเรียนการสอน 1 หลักสูตร และการจัดการอบรมระยะสั้น 2 ครั้ง
(2) ด้านสิ่งพิมพ์: การจัดทำ�และเผยแพร่ สิ่งพิมพ์ วารสารยุโรปศึกษา 3 ฉบับ จดหมายข่าวยุโรป ศึกษา 4 ฉบับ รายงานวิจัย 2 โครงการ และหนังสือ โครงการพิเศษ 1 โครงการ (3) ด้านการวิจัย: การสนับสนุนทุน อุดหนุนโครงการวิจัยด้านยุโรปศึกษา ประจำ�ปีงบ ประมาณ 2562 จำ�นวน 2 โครงการ การจัดงานสัมมนา นำ�เสนอผลงานวิจัยทั้งหมด 4 ครั้ง 5 โครงการวิจัย (4) ด้านกิจกรรมทางวิชาการ: การบรรยายสาธารณะและงานประชุมนานาชาติ 11 กิจกรรม การดำ�เนินงานของศูนย์ฯ ได้รับการสนับสนุน งบประมาณจากสำ � นั ก คณะกรรมการอุ ด มศึ ก ษา สำ�หรับปีงบประมาณ 2562 ศูนย์ฯ ได้รับการจัดสรร งบประมาณ เป็นจำ�นวนเงิน ซึ่งได้ดำ�เนินการเบิกจ่าย ไปแล้วร้อยละ 100.00 โดยสามารถจำ�แนกประเภท ค่าใช้จ่ายได้ 3 ประเภทหลัก ได้แก่ ค่าจ้างชั่วคราว ร้อยละ 65.62 ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ ร้อยละ 29.58 และเงินอุดหนุนโครงการวิจัย ร้อยละ 4.8
ในการดำ�เนินตามพันธกิจหลัก ศูนย์ฯ ได้ ดำ�เนินกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้สอดคล้อง ตามกลุ่มเป้าหมายที่มีลักษณะแตกต่างกัน ประการ แรก ศูนย์ฯ มีบทบาทสำ�คัญในการสนับสนุนเผยแพร่ องค์ความรู้ด้านยุโรปศึกษาผ่านการจัดการเรียนการ สอนและการอบรม ศูนย์ฯ ได้จัดการเรียนการสอนราย วิชาบูรณาการสหภาพยุโรปเบื้องต้น ในภาคการศึกษา ปลาย ปีการศึกษา 2561 เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ให้ กับกลุ่มนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยรายวิชาดัง กล่าวได้รับความสนใจจากนิสิตหลากหลายคณะ อีก ทั้งศูนย์ฯ ยังคงดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่องในการเป็นผู้ ประสานงานในการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรโลก ศึกษา (Global Studies) ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เกิดจาก ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย ได้แก่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยไฟรบวร์ค (University of Freiburg) และมหาวิทยาลัยฮุมโบลท์ (Humboldt University) ประเทศสหพันธรัฐเยอรมนี และศูนย์ฯ ยังจัดโครงการอบรมวิชาการประจำ�ปี สำ�หรับอาจารย์ คุณครู นิสิต นักศึกษา นักเรียน และผู้มีความสนใจ ทั่วไป เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิภาค ยุโรปและถ่ายทอดอันจะเป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน ต่อไป ในปีนี้ศูนย์ฯ ได้ริเริ่มจัดอบรมวิชาการใน ระดับคุณครูมัธยมศึกษาตอนปลายเป็นครั้งแรก โดย เป็นการอบรมคุณครูโรงเรียนในสังกัดสำ�นักงานเขต พื้นที่การศึกษาเชียงราย-พะเยา เขต 36 เนื่องจาก ศูนย์ฯ เล็งเห็นถึงความสำ�คัญในการเผยแพร่ความรู้ใน ระดับนักเรียนมัธยมศึกษาและไม่จำ�กัดการทำ�งานใน พื้นที่เฉพาะกรุงเทพมหานครเท่านั้น นอกจากนี้ศูนย์ ยังจัดการอบรมวิชาการที่ดำ�เนินการเป็นประจำ�ทุกปี ในปีนี้ศูนย์ฯ ได้จัดการอบรมในประเด็นที่สอดคล้อง กับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในภูมิภาคปัจจุบัน ภายใต้ หัวข้อ "ยุโรปหันขวา?: กระแสการเมืองแบบขวาจัดใน ประเทศยุโรป" ในการนี้การอบรมครั้งนี้มีผู้ให้ความ สนใจเข้าร่วมการอบรมจำ�นวนมาก
ประการถัดมา ศูนย์ยังได้จัดทำ�และเผยแพร่
II
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สิ่งพิมพ์หลากหลายประเภท เพื่อใช้เป็นสิ่งพิมพ์เป็น สื่ อ ในการเผยแพร่ แ ละแลกเปลี่ ย นองค์ ค วามรู้ ด้ า น ยุโรปศึกษา ในปีงบประมาณ 2562 ศูนย์ฯ ได้จัดทำ� และเผยแพร่วารสารยุโรปจำ�นวน 3 ฉบับ นอกจากนี้ ศูนย์ฯ ได้พัฒนานาระบบกระบวนการจัดทำ�วารสาร ใหม่และใช้ระบบ Thai Journal Online (ThaiJO) เข้ามาจัดการกระบวนการการติดต่อสื่อสารระหว่าง บรรณาธิการ ผู้เขียนบทความ และผู้ประเมินบทความ อย่างเป็นระบบ เพื่อยกระดับคุณภาพของบทความ ที่ ตี พิ ม พ์ ใ นวารสารให้ เ ป็ น ไปตามบรรทั ด ฐานสากล นอกจากนี้ศูนย์ฯ ได้เริ่มตีพิมพ์วารสารยุโรปในรูปแบบ ของวารสารออนไลน์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Journal) เพื่อ ให้ผู้อ่านสามารถเข้าถึงวารสารได้อย่างสะดวกมาก ยิ่งขึ้น สำ�หรับสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ศูนย์ฯ ได้จัดทำ�จดหมาย ข่าว จำ�นวน 4 ฉบับ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ศูนย์ฯ สนับสนุนทุนวิจัย จำ�นวน 2 ฉบับ นอกจากนี้ศูนย์ฯ ยัง ได้จัดทำ�หนังสือพิเศษ ซึ่งเป็นการร่วมงานกับหน่วย งานอื่น ๆ ทั้งในและนอกประเทศ ประการที่สาม ศูนย์ฯ ได้สนับสนุนการสร้าง องค์ความรู้ใหม่ด้านยุโรปศึกษา ผ่านการพิจารณาการ ให้ทุนอุดหนุนโครงการวิจัยขนาดเล็ก ปีงบประมาณ 2562 ศูนย์ฯ ได้ให้ทุนวิจัยกับโครงการวิจัยใหม่ทั้งหมด 2 โครงการ โดยโครงการวิจัยที่ได้รับการคัดเลือก โดย
มี เ นื้ อ หาประเด็ น ที่ ค รอบคลุ ม ประเด็ น การเมื อ ง กฎหมาย และสังคม อันจะเป็นบทเรียนสำ�คัญต่อ การพัฒนาภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจาก นี้ศูนย์ฯ ยังได้ติดตามความคืบหน้าของโครงการวิจัย ที่เคยได้รับทุนที่ดำ�เนินงานอย่างล้าช้า และสามารถ เร่งรัดให้ผู้วิจัยให้ดำ�เนินการเสร็จสมบูรณ์หรือมีความ ก้าวหน้าเพิ่มเติม
ประการสุดท้าย ศูนย์ฯ ได้จัดกิจกรรมวิชาการ สำ�หรับนักวิชาการ นิสิต นักศึกษา และบุคคลภายนอก จำ�นวนทั้งหมด 11 กิจกรรม โดยลักษณะของกิจกรรม มีหลากหลายรูปแบบ ประกอบด้วยการบรรยาย สาธารณะ นิทรรศการ การประชุมวิชาการนานาชาติ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ และการนำ�เสนอผลงาน ของนิสิต โดยการดำ�เนินกิจกรรม ศูนย์ฯ พยายาม ที่ จ ะนำ � เสนอประเด็ น ที่ กำ � ลั ง เป็ น กระแสในภู มิ ภ าค ยุโรป การดำ�เนินงานบางกิจกรรมของศูนย์ฯ ก็ได้รับ การสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก จากทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนทั้งในและนอกประเทศ ตั้งแต่สถาบัน อุดมศึกษา กระทรวงต่างประเทศ ตลอดจนสถานทูต ของประเทศในภูมิภาคยุโรปประจำ�ประเทศไทย ซึ่ง ส่งเสริมสร้างเครือข่ายทางวิชาการในด้านยุโรปศึกษา ระยะยาว
III
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
สารบัญ คำ�นำ�
I
บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร
II
สารบัญ
IV
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของศูนยฺ์ยุโรปศึกษา แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติความเป็นมา
1
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และภารกิจหลัก
3
โครงสร้างการบริหาร
4
คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ
6
คณะผู้บริหารศูนย์ฯ
7
เจ้าหน้าที่ประจำ�ศูนย์ฯ
2
8
ส่วนที่ 2 การจัดสรรงบประมาณใน ปีงบประมาณ 2562 รายได้และรายจ่ายใน งบประมาณจากสำ�นักงาน คณะกรรมการอุดมศึกษา
9 10
ส่วนที่ 3 ผลการดำ�เนินงานในปีงบประมาณ การดำ�เนินงานด้านบริการการศึกษา การดำ�เนินงานด้านสิ่งพิมพ์
11
การดำ�เนินงานด้วนวิจัย
29
การดำ�เนินงานด้านวิชาการ
37
12 18
IV
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ส่วนที่หนึ่ง ข้อมูลพื้นฐานของศูนย์ยุโรปศึกษา แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
ประวัติความเป็นมา จากการที่ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ พิจารณาเห็นว่า ยุโรปเป็นภูมิภาคที่มีความสัมพันธ์ กับประเทศไทยมาช้านาน และมีความสำ�คัญต่อไทย ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความ ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประกอบ กั บ การที่ ส หภาพยุ โรปได้ ข ยายเครื อ ข่ า ยของการ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ทางวิ ช าการมายั ง ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ ดังนั้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสหภาพยุ โ รปจึ ง ได้ ร่ ว มกั น จั ด ตั้ ง “โครงการ ยุโรปศึกษา” (Chulalongkorn University European Studies Program) ขึ้นมา ณ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ซึ่งได้เริ่มปฏิบัติงานตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2535 เป็นต้นมา โครงการยุโรปศึกษามีลักษณะ เป็นโครงการอาณาบริเวณศึกษา (area studies) ซึ่ง เป็นการสร้างองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับยุโรปในสาขาวิชา ต่าง ๆ ได้แก่ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ อักษรศาสตร์ (ประวัติศาสตร์) และวัฒนธรรม จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ ทาง วิชาการและเงินทุนจากคณะกรรมาธิการยุโรป (The European Commission) เพื่อใช้ในการสอน วิจัย อบรมสัมมนา เผยแพร่และพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับ สหภาพยุโรป ทั้งภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในประเทศไทย รวมถึงประเทศ เพื่อนบ้านและภูมิภาคใกล้เคียง
อย่างไรก็ดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึง เห็ น สมควรที่ จ ะให้ มี ก ารจั ด ตั้ ง “ศู น ย์ ยุ โรปศึ ก ษา” (Centre for European Studies) เพื่อให้สอดคล้อง กับเจตนารมณ์ของทบวงมหาวิทยาลัย ที่จะผลัก ดั น ให้ ศู น ย์ ยุ โรปศึ ก ษาเป็ น ศู น ย์ ร ะดั บ อาเซี ย นและ เป็นไปตามแผนของทบวงมหาวิทยาลัย พัฒนา อาณาบริ เวณศึ ก ษาขึ้ น ในสถาบั น การศึ ก ษาระดั บ
สูงของประเทศ ที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยได้มีมติ เห็นชอบให้จัดตั้งศูนย์ยุโรปศึกษาขึ้นในจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ภายใต้กลุ่มของหน่วยงานลักษณะพิเศษ สังกัดสำ�นักงานมหาวิทยาลัย โดยแบ่งโครงสร้างออก เป็น 2 ส่วนคือ ส่วนกำ�หนดนโยบายและส่วนปฏิบัติ งาน ในส่วนกำ�หนดนโยบายมีคณะกรรมการบริหาร ศูนย์ฯ ทำ�หน้าที่ในการกำ�หนดนโยบายและแนวทาง การดำ�เนินงานของศูนย์ ให้สอดคล้องกับนโยบายของ มหาวิทยาลัยและวัตถุประสงค์ของศูนย์ฯ สำ�หรับส่วน ปฏิบัติงานนั้น ลักษณะการบริหารงานของศูนย์ฯ จะ มี อำ � นาจอิ ส ระในการบริ ห ารดำ � เนิ น การด้ า นบุ ค คล และการจัดการระบบทรัพยากรต่างๆ ด้วยตนเอง ตาม ระเบียบจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่าด้วยศูนย์ยุโรป ศึกษาฯ โดยให้มีโครงสร้างองค์กรภายในที่มีขนาด เล็กกะทัดรัดแต่มีประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ ของศูนย์ฯ นั้น มีผู้อำ�นวยการเป็นหัวหน้าองค์กรรับ ผิดชอบกำ�กับดูแลให้การปฏิบัติงานของศูนย์ฯ เป็น ไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้ ทั้งนี้ ฝ่าย บริ ห ารมี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบการบริ ห ารงานภายใน ทั้งหมดของศูนย์ยุโรปศึกษาฯ โดยมีรองผู้อำ�นวยการ ฝ่ายบริหารเป็นผู้รับผิดชอบ ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ มีเป้าหมายที่จะสร้างความ เป็นเลิศทางวิชาการด้านยุโรปศึกษา โดยการพัฒนา ทรัพยากรบุคคล และสนับสนุนการผลิตบัณฑิตที่มี ความรู้ความเชี่ยวชาญด้านยุโรปศึกษา จัดการประชุม สั ม มนาระดั บ นานาชาติ แ ละระดั บ ภายในประเทศ เผยแพร่ความรู้สู่สาธารณชน และเปิดโอกาสให้นัก วิชาการชาวไทย/อาเซียนและยุโรป ได้พบปะแลก เปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นระหว่างกัน รวมทั้งการทำ� หน้าที่เป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ความรู้ด้านยุโรป ศึกษาในประเทศไทย และครอบคลุมถึงอาเซียนด้วย
2
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิสัยทัศน์ ศูนย์ยุโรปศึกษาฯ เป็นศูนย์วิชาการที่เน้น ความเป็นเลิศทางด้านยุโรปศึกษาในประเทศไทย ใน การสร้างองค์ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับยุโรป ที่สามารถเชื่อมโยงกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ อีกทั้งส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศไทย เอเชีย และยุโรป และเป็นหน่วยงานประสานวิชาการ ระดับชาติทางด้านยุโรปศึกษา
พันธกิจ 1.เป็นศูนย์วิชาการที่เน้นความเป็นเลิศทาง ด้านยุโรปศึกษาในประเทศไทย
ภารกิจหลัก 1.การจัดอบรม สัมมนา สนับสนุนการทำ� วิจัย จัดทาฐานข้อมูล เผยแพร่เอกสารและสิ่งตีพิมพ์ ตลอดจนสร้างเครือข่ายทางวิชาการระหว่างสถาบัน การศึกษาและบุคคลทั่วไป รวมทั้งจัดกิจกรรมทาง วิชาการอื่น ๆ 2.สนับสนุนการจัดกิจกรรมทางวิชาการกับ หน่วยงานอื่น รวมทั้งเปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัยอื่น ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการผลิตผลงานวิจัย 3.พัฒนาความร่วมมือทางวิชาการกับหน่วย งานอื่น ทั้งในและต่างประเทศ
2.เสริมสร้างพัฒนาและเผยแพร่องค์ความ รู้ด้านยุโรปศึกษาให้แก่สาธารณชน เพื่อประโยชน์ ทางการศึกษาด้านยุโรปศึกษาทั้งภายในประเทศและ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งครอบคลุม สาขาวิชาต่าง ๆ ได้แก่ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ อักษรศาสตร์ (ประวัติศาสตร์) และ วัฒนธรรม ตลอดจนขยายสาขาวิชาให้หลากหลาย ยิ่งขึ้นเพื่อให้ทันกับ สถานการณ์ที่เปลี่ยนไป 3.เป็นแหล่งรวบรวมความรู้และพัฒนาองค์ ความรู้ เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอน รวม ทั้งเพื่อการวิจัยและส่งเสริมความร่วมมือ ในการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศใน ระดับ อุดมศึกษา 4.เป็ น ศู น ย์ ก ลางส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ระหว่างประเทศไทย ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาค เอเชีย ประเทศอื่น ๆ ในทวีปยุโรป และสหภาพยุโรป 5.สร้ า งเครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ ด้ า นยุ โรป ศึกษา ระหว่างสถาบันอุดมศึกษาไทยและสถาบัน อุดมศึกษาในต่างประเทศ ตลอดจนความร่วมมือกับ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนทั้งในและต่างประเทศ
3
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
โครงสร้างการบริหาร
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิการบดี
คณะกรรมการบริหารศูนย์ยุโรปศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิประจำ�ศูนย์
ผู้อำ�นวยการ คณะกรรมการที่ปรึกษาศูนย์ ศูนย์สารสนเทศนานาชาติ ภายใต้สถาบันวิทยบริการ
รองผู้อำ�นวยการ ฝ่ายบริหาร
รองผู้อำ�นวยการ ฝ่ายวิชาการ
รองผู้อำ�นวยการ ฝ่ายวิจัย
รองผู้อำ�นวยการ ฝ่ายสิ่งพิมพ์
เจ้าหน้าที่บัญชี และการเงิน
เจ้าหน้าที่วิชาการ
เจ้าหน้าที่วิจัย
เจ้าหน้าที่สิ่งพิมพ์
4
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ
(1 เมษายน 2559 - 31 มีนาคม 2563) คณะกรรมการที่ปรึกษา
อรสา ภาววิมล
ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์
รองเลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา กรรมการที่ปรึกษา (โดยตำ�แหน่ง)
อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการที่ปรึกษา (โดยตำ�แหน่ง)
His Excellency Mr Pirkka Tapiola
ศศิวัฒน์ ว่องสินสวัสดิ์
เอกอัครราชทูตสหภาพยุโรปประจำ�ประเทศไทย กรรมการที่ปรึกษา (โดยตำ�แหน่ง)
อธิบดีกรมยุโรป กระทรวงการต่างประเทศ กรรมการที่ปรึกษา (โดยตำ�แหน่ง)
5
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
ผศ.ดร.ปมทอง มาลากุล ณ อยุธยา
ดร. ชิงชัย หาญเจนลักษณ์
ศ.กิตติคุณดร. สุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์
อาจารย์ สาธิน สุนทรพันธุ์
ผศ.กนิช บุณยัษฐิติ
ดร. ธรรมนิตย์ วราภรณ์
รองอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานกรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
ผศ.ดร.ณัฐนันท์ คุณมาศ
ผู้อำ�นวยการศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการและเลขานุการ
6
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหารศูนย์ยุโรปศึกษา
ผศ.ดร.ณัฐนันท์ คุณมาศ
ผู้อำ�นวยการศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สิ้นสุด 31 ส.ค.2562)
ดร.ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
ผศ.ดร.ภาวรรณ เรืองศิลป์ รองผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหาร
รองผู้อำ�นวยการฝ่ายสิ่งพิมพ์และรักษาการผู้อำ�นวยการ (ตั้งแต่ 1 ก.ย.2562)
ดร.ภาวัฒน์ สัตยานุรักษ์
ผศ.ดร.กษิร ชีพเป็นสุข
รองผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ
รองผู้อำ�นวยการฝ่ายวิจัย
7
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
เจ้าหน้าที่ประจำ�ศูนย์ยุโรปศึกษา 1
นางสาวพิมพร นูมหันต์
เเลขานุการ/เจ้าหน้าที่บัญชีและการเงิน
2
นางสาวสุภาภรณ์ มหาวรรณ
เจ้าหน้าที่ธุรการ
3
นายวิชญ์ วัชรคิริทร์
เจ้าหน้าที่บริการการศึกษา
4
นายวรดร เลิศรัตน์
เจ้าหน้าที่วิจัยและสิ่งพิมพ์
5
นางสาวจุฑารัตน์ วงษ์รัตน์
เจ้าหน้าที่วิจัยและสิ่งพิมพ์
6
นางสาวอุทัยพรรณ พรหมขัติแก้ว
เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิจัย
8
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ส่วนที่ 2 รายละเอียดงบประมาณประจำ�ปี 2562 จากสำ�นักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
9
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
รายได้และรายจ่าย งบประมาณประจำ�ปี 2562 จากสำ�นักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562 รายได้ เงินงบประมาณแผ่นดิน
2,500,000.00
รวมรายได้
2,500,000.00
รายจ่าย ค่าจ้างชั่วคราว 1,640,400.00 (65.62%) ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 739,600.00 (29.58%) เงินอุดหนุนโครงการวิจัย 120,000.00 (4.8%) รวมรายจ่าย 2,500,000.00
10
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ส่วนที่ 3 ผลการดำ�เนินงานในปีงบประมาณ 2562
11
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
การดำ�เนินงานด้านบริการการศึกษา การจั ด การเรี ย นการสอนรายวิ ช า บู ร ณาการสหภาพยุ โ รปเบื้ อ งต้ น ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2561 ศู น ย์ ยุ โรปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ จัดการเรียนการสอนรายวิชาบูรณาการสหภาพยุโรปเบื้อง ต้น (0201109) ซึ่งเป็นรายวิชาการศึกษาทั่วไปในหมวด สหศาสตร์ ที่เปิดโอกาสให้นิสิตระดับปริญญาบัณฑิตจากทุก สาขาวิชาสามารถมาลงทะเบียนเรียนได้ เพื่อเป็นการเผย แพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยุโรปและการบูรณาการยุโรป ในหมู่นิสิตทั้งในมิติ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การเมือง-การ จัดการปกครอง เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อันเป็นพันธกิจสำ�คัญประการหนึ่งที่ศูนย์ดำ�เนินการมาตลอด ในภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2561 ศูนย์ฯ ได้จัดการสอนวิชาดังกล่าวเป็นระยะเวลา 17 สัปดาห์ ตั้งแต่ วันที่ 9 มกราคม ถึง วันที่ 1 พฤษภาคม 2561 มีนิสิตลง ทะเบียนเรียนทั้งสิ้น 57 คน จากจาก 11 คณะ ได้แก่ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะ ครุศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะ สัตวแพทยศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ และคณะ วิทยาศาสตร์การกีฬา โดยเชิญคณาจารย์มาเป็นผู้สอนรวม 6 คน ได้แก่
1.
ผศ. กนิช บุณยัษฐิติ (คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
2.
ผศ. ดร. ภาวรรณ เรืองศิลป์ (คณะอักษร ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
4. 5.
ผศ. ดร. ณัฐนันท์ คุณมาศ (คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
6.
ผศ. สาธิน สุนทรพันธุ์ (คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง)
รศ. ดร. ทิพรัตน์ บุบผะศิริ (คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง)
3. ผศ. ดร. ปิติ ศรีแสงนาม (คณะ เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
12
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรโลก ศึกษา (Global Studies Program) ปีการศึกษา 2561 หลักสูตรโลกศึกษา (Global Studies Program) เป็ น โครงการความร่ ว มมื อ ที่ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ ลงนามในบันทึกความเข้าใจร่วมกับมหาวิทยาลัยไฟรบวร์ค (University of Freiburg) และมหาวิทยาลัยฮุมโบลท์ (Humboldt University) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี โดย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตกลงที่จะจัดการเรียนการสอน ให้นิสิตในหลักสูตรดังกล่าวจากทั้งสองมหาวิทยาลัย นิสิต หลักสูตรนี้จะมาศึกษาที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นระยะ เวลา 1 ภาคการศึกษา ในช่วงเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม ของทุกปี ซึ่งตรงกับภาคการศึกษาปลายในระบบทวิภาค ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยศูนย์ยุโรปศึกษาแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรับหน้าที่เป็นผู้ประสานงาน จัดการ เรียนการสอนและดูแลนิสิตตลอดภาคการศึกษา ในปีการศึกษา 2561 มีนิสิตหลักสูตรข้างต้นลง ทะเบียนเรียนกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรวมทั้งสิ้น 32 คน มาจากมหาวิทยาลัยไฟรบวร์ค 17 คน และมหาวิทยาลัยฮุม โบลท์ 15 คน โดยศูนย์ได้ดำ�เนินการจัดให้มีการปฐมนิเทศ นิสิตเมื่อวันที่ 7 มกราคม 2562 นิสิตเหล่านี้ได้ลงทะเบียนเรียนทั้งสิ้น 4 วิชา ได้แก่ 2003677 Seminar in Global Governance, 2440602 Globalization and Development in the Asia Pacific, 2200619 Thai and Southeast Asian Peoples and Cultures, 2440604 Research Methodology in Development Studies และได้สิ้นสุดการเรียนการสอน เมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา
งานอบรมวิชาการครั้งที่ 1 ประจำ� ปีงบประมาณ 2562
เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2562 เวลา 08.30 – 16.00 น. ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดการ อบรมทางวิชาการครั้งที่ 1 / 2562 ในหัวข้อ “การบูรณา การสหภาพยุโรปและความสัมพันธ์กับประเทศไทย ในบริบท อาเซียน” ขึ้น ที่ห้องประชุม โรงแรม The Riverie จังหวัด เชียงรายจังหวัดเชียงราย เนื่องจากศูนย์ยุโรปศึกษาฯได้เล็ง เห็ น ว่ า ทางศู น ย์ ฯ ได้ มี ก ารจั ด งานอบรมให้ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ ยุโรปที่กรุงเทพมหานครมาต่อเนื่องทุกปี จึงเห็นควรที่จะ ไปจัดงานในพื้นที่อื่นบ้าง เพื่อกระจายความรู้ทางด้านยุโรป ศึกษาให้ครู อาจารย์ นิสิตนักศึกษา ผู้สนใจจากภาครัฐและ เอกชนรวมถึงบุคคลทั่วไปในพื้นที่จังหวัดทางภาคเหนือได้มี โอกาสเรียนรู้และทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับยุโรป เพื่อสามารถ นำ�ไปใช้และถ่ายทอดต่ออันจะเป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน ต่อไป โดยการอบรมแบ่งเป็น 3 หัวข้อ ดังนี้ 1) หัวข้อ “การบูรณาการสหภาพยุโรปจากอดีต ถึงปัจจุบัน”โดย ผศ.ดร. ณัฐนันท์ คุณมาศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้อำ�นวยการศูนย์ยุโรปศึกษา แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2) หัวข้อ “ความสัมพันธ์สหภาพยุโรป-ไทยในบริบท อาเซียน” โดย อาจารย์ ดร. กษิร ชีพเป็นสุข คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
13
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562 วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ.2562 เวลา 08.15-12.00 น. มีการบรรยายทั้งหมด 3 หัวข้อ ได้แก่ 1.) “อารัมภบท: ภาพรวมกระแสขวาจัดในยุโรป” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุรัตน์ โหราชัยกุล ภาควิชาความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และผู้อำ�นวยการศูนย์อินเดียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2.) “การกลับมาของการเมืองขวาจัดในเยอรมนี และออสเตรีย” โดย ดร.ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ภาควิชา ประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทั้งนี้ มีครูจากโรงเรียนเชียงของวิทยาคม, โรงเรียน จันจว้าวิทยาคม, จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย, โรงเรียนชุมชน บ้านแม่ข้าวต้มหลวง, โรงเรียนเวียงเชียงรุ้ง, โรงเรียนแม่ อ้อวิทยาคม, โรงเรียนดอยเวียงผาวิทยา, โรงเรียนขุนควร วิทยาคม, และโรงเรียนบ้านต้นยาง ซึ่งเป็นโรงเรียนในสังกัด สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา เชียงราย-พะเยา เขต36 เข้า ร่วมในการอบรม
3.) “การปฏิเสธการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของนาซีกับ กระแสการเมืองขวาจัดในโลกปัจจุบัน” โดย ดร.ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษร ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
งานอบรมวิชาการครั้งที่ 2 ประจำ� ปีงบประมาณ 2562 เมื่อวันที่ 30-31 กรกฎาคม พ.ศ.2562 เวลา 08.1516.30 น. ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ จัดโครงการอบรมประจำ�ปี ในหัวข้อ “ยุโรปหันขวา?: กระแส การเมืองแบบขวาจัดในประเทศยุโรป” ณ โรงแรมปทุมวัน ปรินเซส กรุงเทพมหานคร ในการนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนันท์ คุณ มาศ Jean Monnet Chair, Jean Monnet Module Coordinator และผู้อำ�นวยการศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้กล่าวเปิดการอบรม
14
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ.2562 เวลา 13.00 -16.30 น. มีการบรรยายทั้งหมด 2 หัวข้อ ได้แก่ 1.) “กระแสการเมืองแบบขวาจัดกับผู้ลี้ภัยและ แรงงานอพยพในฮังการี” โดย คุณอรวรา วัฒนวิศาล กองการ ต่างประเทศ สำ�นักงานปลัดกระทรวงพลังงาน นิสิตระดับ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สหสาขาวิชายุโรปศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2.) “กระแสการเมืองแบบขวาจัดในยุโรปกลาง: กรณีศึกษาเปรียบเทียบโปแลนด์ สาธารณรัฐเช็ก และ สาธารณรัฐสโลวัก” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วริตตา ศรีรตั นา ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ผู้อำ�นวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สหสาขาวิชายุโรปศึกษา (นานาชาติ) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 เวลา 08.30-12.00 น.
มีการบรรยายทั้งหมด 3 หัวข้อ ได้แก่
1.) "การเหยียดมุสลิม (Islamophobia) กับ การเมืองแบบขวาจัดในเนเธอร์แลนด์: อัตลักษณ์ วัฒนธรรม และความเป็นสมัยใหม่" โดย คุณวรดร เลิศรัตน์ ศูนย์ยุโรป ศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2.) “กระแสการเมืองแบบขวาจัดในสหราชอาณา จักรและเบร็กซิท (Brexit)" โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณัฐนันท์ คุณมาศ อาจารย์ประจำ�ภาควิชาความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Jean Monnet Chair, Jean Monnet Module Coordinator และผู้อำ�นวยการศูนย์ยุโรปศึกษาแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3.) "การเมืองขวา(จัด)ในอิตาลี: ความวิตก ความ หวัง และรอยเลื่อนวิกฤต" โดย รองศาสตราจารย์ ดร.หนึ่งฤดี โลหผล อาจารย์ประจำ�ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษร ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
15
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562 วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 เวลา 13.00 -16.30 น.
มีการบรรยายทั้งหมด 3 หัวข้อ ได้แก่
1. "กระแสการเมืองแบบขวาจัดในฝรั่งเศส" โดย ดร.ศิระณัฐ วิทยาธรรมธัช ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย ฝรั่งเศส 2. "กระแสการเมืองแบบขวาจัดในสเปน" โดย รอง ศาสตราจารย์ นุชธิดา ราศีวิสุทธิ์ สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3. "กระแสการเมืองแบบขวาจัดในยุโรป กับ สหรัฐอเมริกาและโลก" โดย ศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ บำ�รุงสุข ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะ รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทั้งนี้ มีอาจารย์ นักวิชาการ ข้าราชการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไปลงทะเบียนเข้าร่วมงานประมาณ 90 คน
16
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตารางสรุปการดำ�เนินงาน ก.ย. 2562
ส.ค. 2562
ก.ค. 2562
มิ.ย. 2562
พ.ค. 2562
เม.ย. 2562
มี.ค. 2562
ก.พ. 2562
ม.ค. 2562
ธ.ค. 2561
พ.ย. 2561
กิจกรรม
ต.ค. 2561
ปีงบประมาณ 2562
1. การเตรียมการและการจัดการ เรี ย นการสอนรายวิ ช าบู ร ณาการ สหภาพยุโรปเบื้องต้น ภาคการ ศึกษาภาคปลาย ปีการศึกษา 2561 2. การเตรียมและการจัดการเรียน การสอนหลักสูตรโลกศึกษา ปีการ ศึกษา 2561 3.การจัดการอบรมทางวิชาการครู ครั้งที่ 1 / 2562 4. การจัดโครงการอบรมวิชาการ ประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562 5. การเตรียมการและการจัดการ เรี ย นการสอนรายวิ ช าบู ร ณาการ สหภาพยุโรปเบื้องต้น ภาคการ ศึกษาภาคปลาย ปีการศึกษา 2562 6. การเตรียมและการจัดการเรียน การสอนหลักสูตรโลกศึกษา ปีการ ศึกษา 2561 หมายเหตุ
หมายถึง เริ่มดำ�เนินการ หมายถึง สิ้นสุดการดำ�เนินงาน
17
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
การดำ�เนินงานด้านสิ่งพิมพ์ วารสารยุโรปศึกษา
(ISSN(P) 0858-7795 / ISSN(O) 2673-0790) ด้วยศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพันธกิจสำ�คัญในการเสริมสร้าง พัฒนา และเผยแพร่องค์ ความรู้ ด้ า นยุ โรปศึ ก ษาในประเทศไทยและภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ ศูนย์ฯจึงได้จัดทำ�และเผยแพร่ “วารสาร ยุโรปศึกษา” (Journal of European Studies) สำ�หรับให้ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา และบุคคลทั่วไปในวงกว้าง ใช้ เป็นเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และความคิดเห็นในสาขาวิชา อย่างต่อเนื่องมายาวนานกว่า 25 ปี ในปีงบประมาณ 2562 ศูนย์ฯ ในฐานะหน่วยงาน จัดทำ�วารสารยุโรปศึกษาได้ดำ�เนินการแผนพัฒนาวารสาร รอบใหม่ต่อเนื่องจากปีงบประมาณที่ผ่านมาจนแล้วเสร็จสิ้น ตามแผน ดังนี้ 1. จัดตั้งกองบรรณาธิการวารสาร ซึ่งประกอบ ด้ ว ยผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ จ ากหลากหลายสาขาวิ ช าและสถาบั น เพื่อเป็นที่ปรึกษาหลักสำ�หรับการดำ�เนินงานวารสาร ให้มี คุณภาพทั้งด้านวิชาการและด้านการบริหารจัดการ โดยกอง บรรณาธิการชุดแรกที่เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งและปฏิบัติหน้าที่นับ ตั้งแต่การจัดทำ�วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 (2562) มีรายนามดังต่อไปนี้ ดร. ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา บรรณาธิการ (คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) วรดร เลิศรัตน์ บรรณาธิการผู้ช่วยและผู้จัดการวารสาร (ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตสิรินทร์ กิติสกล กองบรรณาธิการ (คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จาริต ติงศภัทิย์ กองบรรณาธิการ (นักวิชาการอิสระ กรุงเทพมหานคร)
รองศาสตราจารย์ ดร. บรรพต กำ�เนิดศิริ กองบรรณาธิการ (คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปิติ ศรีแสงนาม กองบรรณาธิการ (คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
ดร. อาจารี ถาวรมาศ กองบรรณาธิการ (แอคเซสยุโรป นนทบุรี)
รองศาสตราจารย์ วิมลวรรณ ภัทโรดม กองบรรณาธิการ (นักวิชาการอิสระ กรุงเทพมหานคร)
2. ประกาศใช้รูปแบบบทความและการอ้างอิง สำ � หรั บ บทความทั้ ง หมดที่ จ ะส่ ง เข้ า รั บ พิ จ ารณาตี พิ ม พ์ ใ น วารสาร ตั้งแต่ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 (2562) เพื่อให้บทความ ทั้งหมดอยู่ภายใต้รูปแบบและมาตรฐานเดียวกัน รวมถึงมี ข้อมูลสำ�คัญ (metadata) ของบทความที่ช่วยอำ�นวยความ สะดวกให้ผู้อ่านสามารถสืบค้นและเข้าใจภาพรวมของเนื้อหา บทความได้โดยง่ายและรวดเร็ว 3. เริ่มใช้ระบบพิชญพิจารณ์ (peer review) แบบไม่เปิดเผยตัวตนทั้งสองทาง (double blind) ในการ ประเมิ น คุ ณ ภาพบทความทั้ ง หมดก่ อ นพิ จ ารณาตอบรั บ ตี พิมพ์ ตั้งแต่วารสารปีที่ 25 ฉบับที่ 1 (2562) เพื่อควบคุม คุณภาพของบทความที่จะตีพิมพ์ในวารสาร ให้ได้มาตรฐาน ในระดับอันเป็นที่ยอมรับในหมู่นักวิชาการยิ่งขึ้น
18
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. เริ่ ม เผยแพร่ ว ารสารฉบั บ ออนไลน์ ผ่ า น ทางเว็บไซต์ https://www.tci-thaijo.org/index.php/ jes/index ภายใต้หมายเลขมาตรฐานสากลสำ�หรับวารสาร ออนไลน์ (ISSN (O)) 2673-0790 โดยผู้ใช้เว็บไซต์สามารถ อ่านและดาวน์โหลดบทความของวารสารย้อนหลังตั้งแต่ฉบับ ปีที่ 11 จนถึงปัจจุบัน ทั้งยังสามารถเข้าถึงข้อมูลพื้นฐาน ราย ละเอียดเกี่ยวกับรูปแบบและกระบวนการส่งบทความ ตลอด จนข่าวสารของวารสาร ได้ตลอดเวลาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 5. เริ่ ม ใช้ ร ะบบจั ด การวารสารออนไลน์ (Online Journal System, OJS) ในการส่ง การประเมินพิชญ พิจารณ์ การปรับปรุงแก้ไข และการพิจารณาตีพิมพ์บทความ รวมถึงการบอกรับและการติดต่อกับสมาชิกวารสารทั้งระบบ เพื่ออำ�นวยความสะดวกให้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและเสริม สร้างความโปร่งใสในการการดำ�เนินงานวารสาร
2) Catalexit: วิกฤตการณ์รัฐธรรมนูญสเปนและ ท่าทีของสหภาพยุโรปต่อกาตาลุญญา โดย ณภัทร พุ่มศิริ 3) ความเปลี่ยนแปลงในฟินแลนด์จากพรรคประชา นิยมฝ่ายขวา: แนวคิดรัฐสวัสดิการและ สมาชิกภาพของ สหภาพยุโรป โดยธีธัช ธุระทอง 4) เบร็กซิท: ผลกระทบของโลกาภิวัตน์ โดยนริศ สังข์ไพโรจน์ 5) The Rise of Illiberal Democracy in Post-Communist Poland โดยวรดร เลิศรัตน์ (Voradon Lerdrat)
6. เข้าร่วมการตรวจประเมินคุณภาพวารสาร รอบที่ 4 ของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Centre, TCI) และผลักดันให้วารสารได้ รับการรับรองมาตรฐานในกลุ่มที่ 1 ซึ่งเป็นกลุ่มสูงสุดและได้ รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในหมู่สถาบันอุดมศึกษาระดับ ชาติ ภายใต้ ก ารดำ �เนินการตามแผนพัฒนาวารสารดั ง กล่าว กองบรรณาธิการได้จัดทำ�และเผยแพร่วารสารฉบับ ใหม่ในปีงบประมาณนี้ทั้งสิ้น 3 ฉบับ ดังนี้ วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคมธันวาคม 2559) โดยมีณัฐนันท์ คุณมาศ เป็นบรรณาธิการ ตี พิมพ์ครั้งแรกในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 โดยมีบทความที่ ได้รับการพิจารณาให้ตีพิมพ์ 5 บทความ ดังต่อไปนี้ 1) นัยของความหวาดกลัวอิสลามต่อกระแสต่อต้าน สหภาพยุโรปในประเทศกลุ่มวิเชอกราด กรณีศึกษา: ฮังการี โดย ภานุพงศ์ เพชรพลอย
วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (มกราคมมิถุนายน 2562) โดยมีตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็น บรรณาธิการ ตีพิมพ์ครั้งแรกในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2562 โดยมีบทความที่ได้รับการพิจารณาให้ตีพิมพ์ 5 บทความ ดัง ต่อไปนี้
19
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562 1) National Regionalist Party Discourses in the Turbulent Years of Europe: 30 Years after Europe of the Regions ของ Muninthorn Wattanayakorn 2) บทบาทของสหภาพยุโรปและความรับผิดชอบต่อ การจัดการปัญหาผู้อพยพในช่วง 2015 - ปัจจุบัน ภาวัช อครเปรมากูน 3) Global Britain ร่วงหรือรอด?: อนาคตของ สหราชอาณาจั ก รหลั ง จากการถอนสมาชิ ก ภาพออกจาก สหภาพยุโรป ของณัฐนันท์ กำ�แพงสิน 4) กระบวนการทางเพศของอังกฤษและการเรียก ร้องสิทธิเพศทางเลือกในอินเดีย ของกนกพล ปานสายลม 5) สาธารณรัฐเช็กและการเปลี่ยนมาใช้เงินสกุลยูโร: ปัจจัยขัดขวางและทิศทางในอนาคต ของสุคนธา เกื้อกิจ
วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 วารสารยุโรปศึกษา ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2562) โดยมีตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็น บรรณาธิการ ตีพิมพ์ครั้งแรกในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2562 โดยมีบทความที่ได้รับการพิจารณาให้ตีพิมพ์ 4 บทความ ดัง ต่อไปนี้ 1) Explaining Populism and Euroscepticism in European Countries ของ Natthanan Kunnamas 2) วิกฤตผู้ลี้ภัยยุโรป 2015 กับพหุนิยมทาง วัฒนธรรมและความเห็นสาธารณะในรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป ของ วรวรรณ วรเนตร 3) สหภาพยุโรปในฐานะผู้นำ�ของโลกในการ สถาปนาสันติภาพในเรื่องข้อตกลงนิวเคลียร์กับอิหร่าน ของ ณัฐนันท์ พื้นบนธนานันท์ 4) การศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของสิทธิใน การสมรสเพศสภาพเดียวกันในเนเธอร์แลนด์ โปแลนด์ และ อิตาลี ของพิสิฐ หรรษไพบูลย์
20
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดทำ�และเผยแพร่วารสารทั้งสามฉบับนี้ ส่งผลให้วารสารยุโรปศึกษากลับมาเผยแพร่ได้ตรงตามกำ�หนดเวลาเป็น ครั้งแรกในรอบกว่าทศวรรษ ในปีงบประมาณถัดไป กอง บรรณาธิการวารสารจะมุ่งมั่นและทุ่มเทดำ�เนินงานวารสาร ต่อไป ให้สามารถรักษากำ�หนดเวลาและมาตรฐานของ วารสารได้อย่างต่อเนื่อง
จดหมายข่าวยุโรปศึกษา (ISSN 0858-6659) นอกจากวารสารยุโรปศึกษาแล้ว ศูนย์ฯยังได้จัด ทำ�และเผยแพร่ “จดหมายข่าวยุโรปศึกษา” (European Studies Newsletter) เป็นประจำ�ทุก 3 เดือน ปีละ 4 ฉบับ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ในการเผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ ด้ า นยุ โรป ศึกษาในรูปแบบที่บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงได้โดยง่าย แม้ มิได้มีพื้นฐานความรู้ในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาก่อน อันจะเป็น การยังประโยชน์ในการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ตลอด จนกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับภูมิภาคยุโรปในหมู่สาธารณชน ในปีงบประมาณ 2562 ศูนย์ฯได้เผยแพร่จดหมาย ข่าวจำ�นวนทั้งสิ้น 4 ฉบับ ดังต่อไปนี้ จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคมกันยายน 2561) จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2561) มี ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็น บรรณาธิการ ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งสิ้น 500 ชุด โดยนอกเหนือ จากข่าวสารในภูมิภาคยุโรป ข่าวสารความสัมพันธ์ยุโรป-ไทย และข่าวสารของศูนย์ฯในไตรมาสนั้นแล้ว ลงบทความประจำ� ฉบับเรื่อง “เล่าเรื่องเมืองลอนดอน (ตอนที่ 1)” ของ วรดร เลิศรัตน์
จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 (ตุลาคมธันวาคม 2561) จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 (ตุลาคมธันวาคม 2561) มี ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นบรรณาธิการ ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งสิ้น 500 ชุด โดยนอกเหนือจากข่าวสารใน ภูมิภาคยุโรป ข่าวสารความสัมพันธ์ยุโรป-ไทย และข่าวสาร ของศูนย์ฯในไตรมาสนั้นแล้ว ลงบทความประจำ�ฉบับเรื่อง “จับตาเบร็กซิท (Brexit)” และ “เล่าเรื่องเมืองลอนดอน (ตอนที่ 2)” ของ วรดร เลิศรัตน์
21
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562 จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 27 ฉบับที่ 1 (มกราคมมีนาคม 2562)
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 27 ฉบับที่ 1 (มกราคมมีนาคม 2562) มี ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นบรรณาธิการ ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งสิ้น 500 ชุด โดยนอกเหนือจากข่าวสารใน ภูมิภาคยุโรป ข่าวสารความสัมพันธ์ยุโรป-ไทย และข่าวสาร ของศูนย์ฯในไตรมาสนั้นแล้ว ลงบทความประจำ�ฉบับเรื่อง “เข้าใจการประท้วงใหญ่ในฝรั่งเศส” และ “เล่าเรื่องเมือง ลอนดอน (ตอนที่ 3)” ของ วรดร เลิศรัตน์
ในปีงบประมาณ 2562 ศูนย์ฯได้ตีพิมพ์รายงานวิจัย ฉบับสมบูรณ์ของโครงการวิจัยที่ศูนย์ฯเป็นผู้สนับสนุนทุน วิจัยทั้งสิ้น 2 ฉบับ ได้แก่ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “ความคิดรวบยอดและ บทบาทภาคประชาสังคมในการขับเคลื่อนนโยบายอาหาร ปลอดภัยในยุโรป กรณีอาหารตัดแต่งพันธุกรรม” ของ สุมนมาลย์ สิงหะ ซึ่งได้รับทุนวิจัยเมื่อปีงบประมาณ 2557
จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 (เมษายนมิถุนายน 2562) จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2562) มี ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็น บรรณาธิการ ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งสิ้น 500 ชุด โดยนอกเหนือ จากข่าวสารในภูมิภาคยุโรป ข่าวสารความสัมพันธ์ยุโรปไทย และข่าวสารของศูนย์ฯ ในไตรมาสนั้นแล้ว ลงบทความ ประจำ�ฉบับเรื่อง “Rainbow” ของ สุคนธา เกื้อกิจ
22
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “กระบวนการประยุกต์ ใช้ ตั ว แบบสวั ส ดิ ก ารแบบนอร์ ดิ ก ในประเทศรายได้ ต่ำ � โดยสัมพัทธ์: กรณีศึกษาการปรับใช้รัฐสวัสดิการตัวแบบ นอร์ดิกในประเทศไทย” (ISBN 978-616-407-450-7) ของ ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี ซึ่งได้รับทุนวิจัยเมื่อปีงบประมาณ 2561
3. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “The Expectations Hypothesis of the Term Structure of Interest Rates in the Eurozone: Does Geography Matter?” ของ บุญเลิศ จิตรมณีโรจน์ 4. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “มาเฟียกับ การพัฒนาเศรษฐกิจ: กรณีศึกษา มาเฟียนาโปลี” ของ ธานี ชัยวัฒน์ 5. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “ปัจจัย ทางวัฒนธรรมกับความสำ�เร็จของนโยบายรัฐสวัสดิการใน ประเทศเดนมาร์ก” ของ พันตำ�รวจโท ติรัส ตฤณเตชะ
หนังสือโครงการพิเศษ หนังสือที่ระลึกในโอกาสครบรอบ 150 ปี สัมพันธไมตรีไทยออสเตรีย “จากเจ้าพระยาสู่ดานูบ: 150 ปี สัมพันธไมตรี ไทย-ออสเตรีย” (ISBN 978-616-407-440-8)
นอกจากนี้ ศูนย์ฯ ยังได้ดำ�เนินการเตรียมต้นฉบับ เพื่อตีพิมพ์รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์อื่นอีก 5 ฉบับ ได้แก่ 1. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “การ ดำ�เนินนโยบายบูรณาการผู้ย้ายถิ่นของสหภาพยุโรป: บท เรียนต่ออาเซียน” ของ โกสุมภ์ สายจันทร์ 2. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “ผู้ลี้ภัยชาว โรฮิงญา กับสภาวะกลับบ้านไม่ได้และการเดินทางที่ยังไม่ถึง การเป็นพลเมืองสวีเดน” ของ วิภาวดี พันธ์ยางน้อย และ ศิววงศ์ สุขทวี
23
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562 ศูนย์ฯ โดยความร่วมมือกับสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเวียนนา กระทรวงการต่างประเทศ ราชอาณาจักร ไทย และ กระทรวงกิจการยุโรป การบูรณาการ และการ ต่างประเทศ สาธารณรัฐออสเตรีย ได้ดำ�เนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ระลึกในโอกาสครบรอบ 150 ปี สัมพันธไมตรีไทยออสเตรีย “จากเจ้าพระยาสู่ดานูบ: 150 ปี สัมพันธไมตรี ไทย-ออสเตรีย” ในลักษณะหนังสือรวบรวมบทความเกี่ยว กั บ พั ฒ นาการและความสำ � คั ญ ของความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ราชอาณาจักรสยาม/ไทย กับจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี/ สาธารณรัฐออสเตรีย ในมิติประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ การ ศึกษาและวิชาการ ตลอดจนศิลปะและดนตรี นับตั้งแต่การ ตกลงทำ�หนังสือสัญญาทางไมตรี การค้า และการเดินเรือ เมื่อ พ.ศ.2412 ตราบจนปัจจุบัน โดยมี ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นบรรณาธิการฝ่ายไทย ร่วมกับ อันนา กาดคินสกี บรรณาธิการฝ่ายออสเตรีย ตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งสิ้น 1,500 เล่ม
การเผยแพร่สิ่งพิมพ์ฉบับออนไลน์
นอกเหนือจากการตีพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์ดังที่ได้ กล่าวมาแล้ว ในปีงบประมาณที่ผ่านมา ศูนย์ฯยังได้ริเริ่ม เผยแพร่สิ่งพิมพ์ของศูนย์ฯผ่านช่องทางออนไลน์ เพื่อเปิด โอกาสให้ผู้สนใจสามารถเข้าถึงสิ่งพิมพ์ของศูนย์ฯได้โดยไม่ เสียค่าใช้จ่ายและสะดวกสบายยิ่งขึ้น โดยศูนย์ฯได้จัดตั้ง และเปิดใช้งานเว็บไซต์ของฝ่ายสิ่งพิมพ์ ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย https://issuu.com/ces.chula สำ�หรับใช้เผยแพร่สิ่งพิมพ์อื่นที่ไม่ใช่วารสารยุโรปศึกษา ซึ่ง ในระยะแรก ศูนย์ฯได้เผยแพร่สิ่งพิมพ์ผ่านช่องทางนี้แล้ว มากกว่า 30 รายการ
หนังสือ “บูรณาการสหภาพยุโรป” (ISBN 978-616-551447-7) ศูนย์ฯ ได้ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขต้นฉบับหนังสือ “บูรณาการสหภาพยุโรป” ซึ่งมี วิมลวรรณ ภัทโรดม เป็น บรรณาธิการ จนเสร็จสมบูรณ์ เพื่อเตรียมตีพิมพ์ครั้งที่ 3 ใน ปีงบประมาณ 2563 เนื่องจากหนังสือเล่มนี้เป็นที่ต้องการใน หมู่นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา และบุคคลทั่วไปในวงกว้าง แต่ ศู น ย์ ห นั ง สื อ แห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ จำ �หน่ า ย หมดไปตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2562 โดยในการตีพิมพ์ครั้งนี้ ศูนย์ฯมีแผนจะตีพิมพ์หนังสือเป็นจำ�นวนทั้งสิ้น 1,000 เล่ม
24
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตารางสรุปการดำ�เนินงาน ก.ย. 2562
ส.ค. 2562
ก.ค. 2562
มิ.ย. 2562
พ.ค. 2562
เม.ย. 2562
มี.ค. 2562
ก.พ. 2562
ม.ค. 2562
ธ.ค. 2561
พ.ย. 2561
กิจกรรม
ต.ค. 2561
ปีงบประมาณ 2562
2.1 วารสารยุโรปศึกษา 2.1.1 การจัดทำ�และเผยแพร่วารสาร ยุโรปศึกษา ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 2.1.2 การจัดทำ�และเผยแพร่วารสาร ยุโรปศึกษา ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 2.1.3 การจัดทำ�และเผยแพร่วารสาร ยุโรปศึกษา ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 2.2. จดหมายข่าวยุโรปศึกษา 2.2.1 การจัดทำ�และเผยแพร่จด หมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 26 ฉบับ ที่ 3 2.2.1 การจัดทำ�และเผยแพร่ จดหมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 26 ฉบับที่ 4
หมายเหตุ
หมายถึง เริ่มดำ�เนินการ หมายถึง สิ้นสุดการดำ�เนินงาน
25
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
ตารางสรุปการดำ�เนินงาน ก.ย. 2562
ส.ค. 2562
ก.ค. 2562
มิ.ย. 2562
พ.ค. 2562
เม.ย. 2562
มี.ค. 2562
ก.พ. 2562
ม.ค. 2562
ธ.ค. 2561
พ.ย. 2561
กิจกรรม
ต.ค. 2561
ปีงบประมาณ 2562
2.1.1 การจัดทำ�และเผยแพร่จด หมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 27 ฉบับ ที่ 1 2.1.2 การจัดทำ�และเผยแพร่จด หมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 27 ฉบับ ที่ 2 2.1.3 การจัดทำ�และเผยแพร่จด หมายข่าวยุโรปศึกษา ปีที่ 27 ฉบับ ที่ 3 2.3.รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ 2.3.1 การจัดทำ�และเผยแพร่รายงาน วิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “ความคิด รวบยอดและบทบาทภาคประชา สั ง คมในการขั บ เคลื่ อ นนโยบาย อาหารปลอดภัยในยุโรป กรณีอาหาร ตัดแต่งพันธุกรรม” 2.3.2 การจัดทำ�และเผยแพร่ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “กระบวนการประยุ ก ต์ ใช้ ตั ว แบบ สวั ส ดิ ก ารแบบนอร์ ดิ ก ในประเทศ รายได้ต่ำ�โดยสัมพัทธ์: กรณีศึกษา การปรั บ ใช้ รั ฐ สวั ส ดิ ก ารตั ว แบบ นอร์ดิกในประเทศไทย”
หมายเหตุ
หมายถึง เริ่มดำ�เนินการ หมายถึง สิ้นสุดการดำ�เนินงาน
26
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตารางสรุปการดำ�เนินงาน ก.ย. 2562
ส.ค. 2562
ก.ค. 2562
มิ.ย. 2562
พ.ค. 2562
เม.ย. 2562
มี.ค. 2562
ก.พ. 2562
ม.ค. 2562
ธ.ค. 2561
พ.ย. 2561
กิจกรรม
ต.ค. 2561
ปีงบประมาณ 2562
2.3.3 การจัดทำ�และเผยแพร่รายงาน วิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “การดำ�เนิน นโยบายบู ร ณาการผู้ ย้ า ยถิ่ น ของ สหภาพยุโรป: บทเรียนต่ออาเซียน” 2.3.4 การจัดทำ�และเผยแพร่รายงาน วิจัยฉบับสมบูรณ์ รายงานวิจัยฉบับ สมบูรณ์ เรื่อง “ผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญา กับสภาวะกลับบ้านไม่ได้และการ เดินทางที่ยังไม่ถึงการเป็นพลเมือง สวีเดน” 2.3.5 การจัดทำ�และเผยแพร่รายงาน วิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง “The Expectations Hypothesis of the Term Structure of Interest Rates in the Eurozone: Does Geography Matter?” 2.3.6 การจัดทำ�และเผยแพร่รายงาน วิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “มาเฟียกับ การพัฒนาเศรษฐกิจ: กรณีศึกษามา เฟียนาโปลี”
หมายเหตุ
หมายถึง เริ่มดำ�เนินการ หมายถึง สิ้นสุดการดำ�เนินงาน
27
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
ตารางสรุปการดำ�เนินงาน ก.ย. 2562
ส.ค. 2562
ก.ค. 2562
มิ.ย. 2562
พ.ค. 2562
เม.ย. 2562
มี.ค. 2562
ก.พ. 2562
ม.ค. 2562
ธ.ค. 2561
พ.ย. 2561
กิจกรรม
ต.ค. 2561
ปีงบประมาณ 2562
2.3.7.การจัดทำ�และเผยแพร่รายงาน รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง “ปัจจัยทางวัฒนธรรมกับความสำ�เร็จ ของนโยบายรัฐสวัสดิการในประเทศ เดนมาร์ก” 2.4 หนังสือโครงการพิเศษ 2.4.1การจัดทำ�และเผยแพร่หนังสือ ที่ระลึกในโอกาสครบรอบ 150 ปี สัมพันธไมตรีไทย-ออสเตรีย “จากเจ้าพระยาสู่ดานูบ: 150 ปี สัมพันธไมตรีไทย-ออสเตรีย” 2.4.2 การจัดทำ�และเผยแพร่หนังสือ “บูรณาการสหภาพยุโรป”
หมายเหตุ
หมายถึง เริ่มดำ�เนินการ หมายถึง สิ้นสุดการดำ�เนินงาน
28
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การดำ�เนินงานด้านวิจัย ศู น ย์ ยุ โรปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย มี พันธกิจสำ�คัญในการเสริมสร้างพัฒนาและเผยแพร่องค์ความ รู้ด้านยุโรปศึกษาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศูนย์ฯ จึงได้ให้การสนับสนุนเงินทุนวิจัยสำ�หรับโครงการวิจัยขนาด เล็กที่มีประเด็นเกี่ยวข้องกับภูมิภาคยุโรป ทั้งในสาขาวิชา รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ รวม ถึงการจัดและรายงานเผยแพร่รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เพื่อ ส่งเสริมให้เกิดการสร้างและการกระจายองค์ความรู้เชิงลึก อันจะเป็นประโยชน์ต่อวงการการศึกษาและสังคมต่อไป
การให้เงินทุนวิจัยประจำ�ปีงบประมาณ 2562 ในปีงบประมาณ 2562 ศูนย์ฯได้รับงบประมาณ ทุนสนับสนุนโครงการวิจัย จากสำ�นักคณะกรรมการ อุดมศึกษาเป็นจำ�นวน 120,000 บาท โดยได้จัดสรรแบ่ง เป็นทุนวิจัย 2 ทุน ทุนละ 60,000 บาท สำ�หรับผู้ที่มีความ สนใจในการวิจัยประเด็นปัญหาต่าง ๆ ที่น่าสนใจ ทั้งด้าน สาขาวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับภูมิภาคยุโรปและเกี่ยวข้องกับยุโรป ศึกษาโดยตรง หรือความสัมพันธ์ระหว่างภูมิภาคเอเชียและ ภูมิภาคยุโรปในด้านต่าง ๆ ศูนย์ฯ ได้ประกาศรับสมัครผู้ที่มีความสนใจเข้ารับ ทุน ตั้งแต่วันที่ 15 มกราคม 2562 ถึงวันที่ 10 มีนาคม 2562 ทั้งนี้การประกาศได้รับการตอบรับจากผู้วิจัยทั้งในสถาบัน การศึกษา หน่วยงานราชการ และองค์กรไม่แสวงหากำ�ไร อย่างกว้างขวาง โดยมีโครงการยื่นขอรับการพิจารณาให้ทุน วิจัยทั้งหมด 16 โครงการ ทั้งนี้ศูนย์ฯ ได้ตั้งคณะกรรมการขึ้น เพื่อพิจารณาโครงการ และได้อนุมัติสนับสนุนทุนวิจัย ประจำ� ปีงบประมาณ 2562 ทั้งหมด 2 โครงการ ดังต่อไปนี้
(1) “การตอบสนองต่อปัญหานักรบต่างแดนของ สหภาพยุโรป: บทเรียนต่ออาเซียน” ของฤทัยทิพย์ จันทร์ สระแก้ว (2) “บริบทในทางสิทธิมนุษยชนของการโอนย้าย นักกีฬาฟุตบอลอาชีพ: การศึกษากฎหมายสหภาพยุโรป” ของ ปีดิเทพ อยู่ยืนยง และ ทินกฤต นุตวงษ์ ในช่วงต้นปี 2562 ศูนย์ฯ ได้ตกลงทำ�สัญญาจ้าง วิจัยกับผู้วิจัยทั้ง 2 คน โดยมีระยะเวลาการจ้าง 1 ปี และ กำ�หนดการเสร็จสิ้นโครงการในช่วงต้นพ.ศ. 2563 ขณะนี้ โครงการทั้งหมดได้ส่งรายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 และรับ ทุนวิจัยงวดที่ 2 เรียบร้อยแล้ว ก่อนจะมีการจัดงานสัมมนา นำ�เสนอผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ต่อไปภายในปี 2562 2563
29
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
ก า ร ติ ด ต า ม ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ที่ ไ ด้ รั บ ทุ น วิ จั ย ปีงบประมาณ 2561
ส่งรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
รับทุนวิจัยงวดที่ 3
นำ�เสนอผลงานวิจัย
รับทุนวิจัยงวดที่ 2
ผู้วิจัย
ส่งรายงานความก้าวหน้า
โครงการวิจัย
รับทุนวิจัยงวดที่ 1
ในปีงบประมาณ 2561 ศูนย์ฯ ได้พิจารณาให้การ สนับสนุนทุนวิจัยกับโครงการวิจัยทั้งสิ้น 4 โครงการ โดย โครงการเหล่านี้มีสถานการณ์ดำ�เนินงาน ณ สิ้นปีงบประมาณ 2562 ดังนี้
ก ร ะ บ ว น ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ ตั ว แ บ บ สวัสดิการนอร์ดิก กรณีศึกษาการปรับใช้ ษัษฐรัมภ์ ธรรมบุษดี ในประเทศไทย ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศไทยเนเธอร์แลนด์ ในบริบทการล่มสลาย ระบอบอาณานิคมในอินโดนีเซีย 1947- ธนัท ปรียานนท์ 1949 นิทรรศการ กิจกรรมการเรียนรู้ และ การถอดบทเรียนประวัติศาสตร์บาดแผล เพื่ อ ความยุ ติ ธ รรมและสมานฉั น ท์ ใ น พิพิธภัณฑ์ ความท้าทาย ข้อจำ�กัด การ ภัทรภร ภู่ทอง รับมือ กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์ในบอสเนียเฮอร์เซโกวีน่า ความ(ไม่) มั่นคงทางอาหาร จากภูมิภาค สิญา อุทัย อาเซียนผู้ผลิตสู่ผู้บริโภคในยุโรป หมายเหตุ หมายถึง ดำ�เนินการแล้ว
30
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ก า ร ติ ด ต า ม ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง โครงการวิจัยที่ล่าช้า
ส่งรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
รับทุนวิจัยงวดที่ 3
นำ�เสนอผลงานวิจัย
รับทุนวิจัยงวดที่ 2
ผู้วิจัย
ส่งรายงานความก้าวหน้า
โครงการวิจัย
รับทุนวิจัยงวดที่ 1
เนื่ อ งด้ ว ยโครงการวิ จั ย จำ � นวนหนึ่ ง ไม่ ส ามารถ ดำ�เนินการให้เสร็จสมบูรณ์ตามกำ�หนดภายในระยะเวลา 1 ปี ศูนย์จึงได้ดำ�เนินการเร่งการดำ�เนินโครงการเหล่านั้น เพื่อให้ สามารถผลิตผลงานวิจัยได้อย่างสำ�เร็จตามวัตถุประสงค์ของ การให้ทุน โครงการวิจัยที่ล่าช้ามีสถานะ ณ สิ้นปีงบประมาณ 2562 ดังนี้
การอพยพย้ายถิ่นและกฎหมาย: การเข้า สู่การค้าบริการทางเพศ การต่อรองในชี วิ ต ประจำ � วั น และประสบการณ์ชีวิตขอ บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล งกลุ่มผู้หญิง คนข้ามเพศ และคนแปลง จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ เพศชาวไทยในเนเธอร์แลนด์ (ทุนวิจัย ปีงบประมาณ 2558) ปั จ จั ย ทางวั ฒ นธรรมกั บ ความสำ � เร็ จ ของนโยบายรั ฐ สวั ส ดิ ก ารในประเทศ เดนมาร์ก (ทุนวิจัยปีงบประมาณ 2559) ติรัช ตฤณเตชะ The Expectations Hypothesis of the Term structure of Interest rates in The Eurozone: Does Geography บุญเลิศ จิตรมณีโรจน์ matter? (ทุนวิจัยปีงบประมาณ 2560) หมายเหตุ หมายถึง ดำ�เนินการแล้ว
31
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
การจัดงานสัมมนานำ�เสนอผลงานวิจัย การจั ด งานสั ม มนาเป็ น ขั้ น ตอนหนึ่ ง ในกระบวนการการ สนับสนุนทุนวิจัยของศูนย์ฯ เมื่อการดำ�เนินโครงการวิจัยใกล้ เสร็จสมบูรณ์ เพื่อให้ผู้วิจัยได้รับข้อคิดเห็นต่อการวิจัยจาก บุคคลภายนอก อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาโครงการ วิจัยในขั้นตอนสุดท้าย ตามพันธกิจของศูนย์ฯ ในการเผย แพร่องค์ความรู้ใหม่ที่เกิดจากการดำ�เนินการโครงการวิจัย ในปีงบประมาณ 2561 ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้จัดงานสัมมนานำ�เสนอผลงานวิจัยทั้งหมด 4 ครั้ง สำ�หรับโครงการวิจัย 5 โครงการดังนี้
งานสั ม มนานำ � เสนอผลงานวิ จั ย ในหั ว ข้ อ "ว่ า ด้ ว ยรั ฐ สวัสดิการ: บทเรียนจากยุโรปสู่ประเทศไทย"
หัวข้อ "ปัจจัยทางวัฒนธรรมกับความสำ�เร็จของนโยบาย รัฐสวัสดิการในเดนมาร์ก" ดำ�เนินงานโดยพันตำ�รวจโทติรัส ตฤณเตชะ หัวข้อ “กระบวนการประยุกต์ใช้ตัวแบบสวัสดิการแบบนอร์ ดิกในประเทศรายได้ต่ำ�โดยสัมพัทธ์: กรณีศึกษาการปรับใช้รัฐ สวัสดิการแบบนอร์ดิกในประเทศไทย”
เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ณ ห้อง 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์ยุโรป ศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด งานสั ม มนานำ � เสนอผลงานวิจัยในหัวข้อ "ว่าด้วยรัฐสวัสดิการ: บทเรียนจาก ยุโรปสู่ประเทศไทย" ซึ่งประกอบด้วยการนำ�เสนอผลงานวิจัย สองชิ้นที่ศูนย์ฯ สนับสนุนทุนวิจัยทั้งหมด 2 โครงการ ได้แก่ โครงการวิจัยหัวข้อ "ปัจจัยทางวัฒนธรรมกับความสำ�เร็จของ นโยบายรัฐสวัสดิการในเดนมาร์ก" ดำ�เนินงานโดยพันตำ�รวจ โทติรัส ตฤณเตชะ และโครงการวิจัยหัวข้อ "กระบวนการ ประยุกต์ใช้ตัวแบบสวัสดิการแบบนอร์ดิกในประเทศรายได้ ต่ำ�โดยสัมพัทธ์: กรณีศึกษาการปรับใช้รัฐสวัสดิการแบบน อร์ดิกในประเทศไทย" ซึ่งดำ�เนินงานโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
32
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย งานสัมมนานำ�เสนอผลงานวิจัยในหัวข้อ "ความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศเนเธอร์แลนด์และไทย ในบริบทของการ สลายระบอบอาณานิคมในอินโดนีเซีย, พ.ศ.2490-2492" ศู น ย์ ยุ โรปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด งาน สัมมนานำ�เสนอผลงานวิจัยในหัวข้อ "ความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศเนเธอร์แลนด์และไทย ในบริบทของการสลาย ระบอบอาณานิคมในอินโดนีเซีย, พ.ศ.2490-2492" ซึ่งดำ�เนิน งานวิจัยโดยธนัท ปรียานนท์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ณ ห้อง 203 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย งานสัมมนานำ�เสนอผลงานวิจัย "ความ (ไม่) มั่นคงทาง อาหาร: จากภูมิภาคอาเซียนผู้ผลิต สู่ผู้บริโภคในยุโรป" ศู น ย์ ยุ โรปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ จัดงานสัมมนานำ�เสนอผลงานวิจัยหัวข้อ "ความ (ไม่) มั่นคง ทางอาหาร: จากภูมิภาคอาเซียนผู้ผลิต สู่ผู้บริโภคในยุโรป" ที่ศูนย์ฯ สนับสนุนทุนวิจัย ดำ�เนินงานวิจัยโดย ดร.สิญา อุทัย คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ณ ห้อง 103 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
33
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562 งานสัมมนานำ�เสนอผลงานวิจัย “การอพยพย้ายถิ่นฐาน และกฎหมาย: การเข้าสู่การค้าบริการทางเพศ การต่อรอง ในชีวิตประจำ�วันและประสบการณ์ชีวิตของกลุ่มผู้หญิง คนข้ามเพศ และคนแปลงเพศชาวไทยในเนเธอร์แลนด์” ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัด งานสัมมนานำ�เสนอผลงานวิจัยในหัวข้อ “การอพยพย้าย ถิ่นฐานและกฎหมาย: การเข้าสู่การค้าบริการทางเพศ การต่อ รองในชีวิตประจำ�วันและประสบการณ์ชีวิตของกลุ่มผู้หญิง คนข้ามเพศ และคนแปลงเพศชาวไทยในเนเธอร์แลนด์” ซึ่ง เป็นโครงการวิจัยในปีงบประมาณ 2558 และดำ�เนินการ วิจัยโดย อาจารย์จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ อาจารย์ประจำ� คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ดร. บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล อาจารย์ประจำ�คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2562 ณ ห้อง 702 อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
34
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตารางสรุปการดำ�เนินงาน ก.ย. 2562
ส.ค. 2562
ก.ค. 2562
มิ.ย. 2562
พ.ค. 2562
เม.ย. 2562
มี.ค. 2562
ก.พ. 2562
ม.ค. 2562
ธ.ค. 2561
พ.ย. 2561
กิจกรรม
ต.ค. 2561
ปีงบประมาณ 2562
3.1 การให้เงินทุนวิจัยประจำ�ปีงบประมาณ 2562 3.1.1 กระบวนการพิจารณา คัดเลือกโครงการวิจัยที่ขอรับการ สนับสนุน ทุนวิจัย 3.1.2 การจัดทำ�สัญญาจ้างวิจัย 3.2 การติดตามความก้าวหน้าของ โครงการที่ได้รับทุนวิจัยไปแล้ว 3.3 การจัดงานสัมมนานำ�เสนอผลงานวิจัย 3.3.1 การจัดงานงานสัมมนานำ� เสนอผลงานวิจัยในหัวข้อ “ว่าด้วย รัฐสวัสดิการ: บทเรียนจากยุโรปสู่ ประเทศไทย” 3.3.2 การจัดงานสัมมนานำ�เสนอ ผลงานวิจัยในหัวข้อ “ความสัมพันธ์ ระหว่ า งประเทศเนเธอร์ แ ลนด์ แ ละ ไทย ในบริบทของการสลายระบอบ อาณานิคมในอินโดนีเซีย, พ.ศ.24902492” หมายเหตุ
หมายถึง เริ่มดำ�เนินการ หมายถึง สิ้นสุดการดำ�เนินงาน
35
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
ตารางสรุปการดำ�เนินงาน ก.ย. 2562
ส.ค. 2562
ก.ค. 2562
มิ.ย. 2562
พ.ค. 2562
เม.ย. 2562
มี.ค. 2562
ก.พ. 2562
ม.ค. 2562
ธ.ค. 2561
พ.ย. 2561
กิจกรรม
ต.ค. 2561
ปีงบประมาณ 2562
3.3.3 การจัดงานงานสัมมนานำ� เสนอผลงานวิจัยในหัวข้อ “ความ (ไม่) มั่นคงทางอาหาร: จากภูมิภาค อาเซียนผู้ผลิต สู่ผู้บริโภคในยุโรป” 3.3.4 การจัดงานสัมมนานำ�เสนอ ผลงานวิจัยในหัวข้อ งานสัมมนานำ� เสนอผลงานวิจัย “การอพยพย้าย ถิ่นฐานและกฎหมาย: การเข้าสู่การ ค้าบริการทางเพศ การต่อรองในชีวิต ประจำ�วันและประสบการณ์ชีวิตของ กลุ่มผู้หญิง คนข้ามเพศ และคนแปลง เพศชาวไทยในเนเธอร์แลนด์” หมายเหตุ
หมายถึง เริ่มดำ�เนินการ หมายถึง สิ้นสุดการดำ�เนินงาน
36
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การดำ�เนินงานด้านวิชาการ ง า น บ ร ร ย า ย ส า ธ า ร ณ ะ หั ว ข้ อ "Why on a collision course? Poland & Hungary vs. European Commission on rule of law" ในวันที่ 25 ตุลาคม 2561 เวลา 10.00 – 12.00 น. ณ ห้อง 702 อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา ศูนย์ ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดงานบรรยาย สาธารณะหัวข้อ "Why on a collision course? Poland & Hungary vs. European Commission on rule of law” โดย Prof. Michal Lubina จากมหาวิทยาลัย Jagiellonian ประเทศสาธารณรัฐโปแลนด์ โดยมีผู้สนใจลงทะเบียนเข้ารับ ฟังการบรรยายประมาณ 15 คน
การประชุมระดับนานาชาติ“Masters of Their Own Destiny”: Asians in the First World War and its Aftermath” ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วม กับคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดการ ประชุมระดับนานาชาติหัวข้อ “Masters of Their Own Destiny”: Asians in the First World War and its Aftermath” ในช่วงระหว่างวันที่ 9 - 11 พฤศจิกายน 2561 ที่ห้อง ประชุมชั้น 7 อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา และ มีการ จัดแสดงนิทรรศการในหัวข้อเดียวกันที่บริเวณห้องโถงชั้น 1 อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา
การบรรยายสาธารณะหัวข้อ ASEAN: Integration or Disintegration ในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2561 เวลา 13.00 – 15.00 น. ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ จัดงานบรรยายสาธารณะหัวข้อ ASEAN: Integration or Disintegration โดย Dr. Sophie BOISSEAU du ROCHER จาก Center for Asian Studies, IFRI งานบรรยายมีขึ้นที่ ห้อง 301 อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา โดยมีผู้สนใจลง ทะเบียนเข้ารับฟังการบรรยายประมาณ 12 คน
การบรรยายพิเศษในหัวข้อ“The European Parliament Election” ในวันที่ 30 มกราคม 2562 เวลา 09.00 – 12.00 น. ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดการ บรรยายพิเศษในหัวข้อ“The European Parliament Election” โดย Prof. Dr. Marco Brunazzo จาก มหาวิทยาลัย Trento ประเทศอิตาลีที่ห้อง 701 อาคารเฉลิม ราชกุมารี 60 พรรษา โดยมีนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้สนใจลงทะเบียนเข้ารับฟังการบรรยายประมาณ 100 คน
37
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
การประชุมสหประชาติจำ�ลอง ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วม กับชมรมการประชุมสหประชาชาติจำ�ลองแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย (ChulaMUN) จัดการประชุมสหประชาติ จำ�ลองขึ้น เมื่อวันที่ 5 ถึง 7 เมษายน 2562 ณ อาคารเฉลิม ราชกุมารี 60 พรรษา เพื่อเปิดพื้นที่ให้นิสิต นักศึกษาได้ฝึก ทักษะการเจรจาทางการทูต ผ่านรูปแบบการประชุมของ องค์การสหประชาชาติ และอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับที่มา บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ และกระบวนการทำ�งาน ขององค์การสหประชาชาติ ในการจัดการปัญหาระดับ นานาชาติ มีนักเรียน นิสิต นักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ เข้า ร่วมงานประมาณ 100 คน
การบรรยายพิเศษหัวข้อ “Economic Giant, Political Dwarf? Where to for the EU in Southeast Asia?”
ส่วนที่ 3
เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2562 เวลา 09.3012.00 น. ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดงานบรรยายพิเศษในหัวข้อ "Economic Giant, Political Dwarf? Where to for the EU in Southeast Asia?" โดย Dr. Lukas Maximilian Mueller จาก University of Freiburg ซึ่งบรรยายเกี่ยวกับบทบาทของสหภาพ ยุ โรปในการขยายอิ ท ธิ พ ลทางการเมื อ งผ่ า นความร่ ว มมื อ ระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรปทั้งสามระดับ ประกอบไป ด้วย ความร่วมมือระดับภูมิภาคเฉพาะระหว่างสองภูมิภาค ความร่วมมือระดับเหนือภูมิภาคที่ทั้งสองภูมิภาคเข้าร่วมด้วย และความร่วมมือระหว่างสหภาพยุโรปและแต่ละรัฐสมาชิก อาเซียน ณ ห้อง 803 อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผลการดำ�เนินงานในปีงบประมาณ 2562
38
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ง า น ป ร ะ ชุ ม น า น า ช า ติ ใ น หั ว ข้ อ ASEAN-EU multilateralism and 40 years of their relations ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วม กับศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัด งานประชุมนานาชาติในหัวข้อ ASEAN-EU multilateralism and 40 years of their relations ในวันที่ 8 และ 9 เมษายน 2562 ที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม โดย การประชุมในวันที่ 8 เมษายน จัดขึ้นที่โรงแรม Sofitel Brussels Le Louise ส่วนการประชุมในวันที่ 9 เมษายน จัดขึ้นที่ อาคาร Charlemagne, European Commission
งานสัมมนานิสิตระดับปริญญาบัณฑิต ด้ า นการเมื อ งและความสั ม พั น ธ์ ระหว่างประเทศในยุโรปและรัสเซียครั้ง ที่ 3
ส่วนที่ 3
เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2562 เวลา 08.00 – 16.00 น. ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยภายใต้ชื่อ “งานสัมมนานิสิตปริญญาบัณฑิตด้านการเมืองและความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศในยุโรป ครั้งที่ 3” โดยเชิญนักศึกษา จาก คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาร่วมสัมมนา กับนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยงานจัด ขึ้นที่ห้อง 802 อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา มีผู้เข้าร่วม งานประมาณ 50 คน
ผลการดำ�เนินงานในปีงบประมาณ 2562
39
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
การบรรยายพิเศษในหัวข้อ “Decolonizing Colonial Collections: การพิพิธภัณฑ์สมัยใหม่ ในเนเธอร์แลนด์กับการปลดเปลื้อง ภาระทางประวัติศาสตร์”
การแสดงร้องเพลงประสานเสียงทั้งเพลงโปแลนด์และเพลง ไทยโดยวงประสานเสียงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ การฉายภาพยนตร์เรื่อง “Hurricane: Squadron 303” โดย มีผู้ร่วมงานประมาณ 150 คน
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วม กับหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สหสาขาวิชายุโรป ศึกษา ได้จัดการบรรยายพิเศษในหัวข้อ “Decolonizing Colonial Collections: การพิพิธภัณฑ์สมัยใหม่ใน เนเธอร์แลนด์กับการปลดเปลื้องภาระทางประวัติศาสตร์” โดย ดร.หทัยรัตน์ มณเฑียร ที่ปรึกษาอิสระด้านพิพิธภัณฑ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เวลา 09.15-12.00 น. ณ ห้อง 103 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มมนา“70 ปีสหพันธ์สาธารณรัฐ ส่วนทีการสั ่เยอรมนี 3 และ 30 ปีการทะลายกำ�แพง เบอร์ลิน: อิทธิพลของรัฐธรรมนูญ
ต่อการร่า2562 งรัฐธรรมนูญไทย ผลการดำ�เนินงานในปีเยอรมนี งบประมาณ
งาน “Polish Day” เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2562 เวลา 16.30 – 20.00 น. ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ สถานเอกอัครราชทูตโปแลนด์ประจำ�ประเทศไทยได้จัดงาน “Polish Day” ขึ้น ที่หอแสดงดนตรี อาคารศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีท่านเอกอัครราชทูต H.E. Waldermar Dubaniowski มาเป็นประธานเปิดงาน โดยมี
ศู น ย์ ยุ โรปศึ ก ษาแห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ร่วมกับสมาคมไทย-เยอรมัน สมาคมนักเรียนเก่าเยอรมัน ในประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (VTD) และมูลนิธิ วัฒนธรรมไทย-เยอรมัน (TDKS) จัดให้มีงานเสวนาในหัวข้อ “70 ปีสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และ 30 ปีการทลาย กำ�แพงเบอร์ลิน: อิทธิพลของรัฐธรรมนูญเยอรมนีต่อการร่าง รัฐธรรมนูญไทย ในวันพฤหัสบดีที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2562 เวลา 13.00-18.45 น. ณ ห้อง 111 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า พัชรกิติยาภา นเรนทราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริ พัชร มหาวัชรราชธิดา ได้เสด็จพระราชทานพระดำ�รัสเปิด การสัมมนา มีผู้เข้าร่วมรับเสด็จและร่วมงานสัมมนาครั้งนี้ ประมาณ 100 คน
40
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตารางสรุปการดำ�เนินงาน ก.ย. 2562
ส.ค. 2562
ก.ค. 2562
มิ.ย. 2562
พ.ค. 2562
เม.ย. 2562
มี.ค. 2562
ก.พ. 2562
ม.ค. 2562
ธ.ค. 2561
พ.ย. 2561
กิจกรรม
ต.ค. 2561
ปีงบประมาณ 2562
4.1.การเตรี ย มและจั ด กิ จ กรรม งานบรรยายสาธารณะหั ว ข้ อ “Why on a collision course? Poland & Hungary vs. European Commission on rule of law” 4.2.การเตรี ย มและจั ด กิ จ กรรม ก า ร ป ร ะ ชุ ม ร ะ ดั บ น า น า ช า ติ “Masters of Their Own Destiny”: Asians in the First World War and its Aftermath” 4.3.การเตรี ย มและจั ด กิ จ กรรม งานบรรยายสาธารณะหั ว ข้ อ ASEAN: Integration or Disintegration 4.4.การเตรี ย มและจั ด กิ จ กรรม ก า ร บ ร ร ย า ย พิ เ ศ ษ ใ น หั ว ข้ อ “The European Parliament Election” 4.5.การเตรี ย มและจั ด กิ จ กรรม ง า น บ ร ร ย า ย พิ เ ศ ษ ใ น หั ว ข้ อ “Economic Giant, Political Dwarf? Where to for the EU in Southeast Asia?”
หมายเหตุ
หมายถึง เริ่มดำ�เนินการ หมายถึง สิ้นสุดการดำ�เนินงาน
41
รายงานประจำ�ปี ปีงบประมาณ 2562
ตารางสรุปการดำ�เนินงาน ก.ย. 2562
ส.ค. 2562
ก.ค. 2562
มิ.ย. 2562
พ.ค. 2562
เม.ย. 2562
มี.ค. 2562
ก.พ. 2562
ม.ค. 2562
ธ.ค. 2561
พ.ย. 2561
กิจกรรม
ต.ค. 2561
ปีงบประมาณ 2562
4.6 การเตรียมและจัดกิจกรรม การประชุมสหประชาติจำ�ลอง 4.7การเตรี ย มและจั ด กิ จ กรรม งานประชุ ม นานาชาติ ใ นหั ว ข้ อ ASEAN-EU multilateralism and 40 years of their relations 4.8การเตรี ย มและจั ด กิ จ กรรม โครงการงานสัมมนานิสิตปริญญา บั ณ ฑิ ต ด้ า นการเมื อ งและความ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศในยุ โรป ครั้งที่ 3 4.9การเตรี ย มและจั ด กิ จ กรรม ก า ร บ ร ร ย า ย พิ เ ศ ษ ใ น หั ว ข้ อ “Decolonizing Colonial Collections: การพิพิธภัณฑ์สมัยใหม่ ในเนเธอร์แลนด์กับการปลดเปลื้อง ภาระทางประวัติศาสตร์” หมายเหตุ
หมายถึง เริ่มดำ�เนินการ หมายถึง สิ้นสุดการดำ�เนินงาน
42
ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตารางสรุปการดำ�เนินงาน ก.ย. 2562
ส.ค. 2562
ก.ค. 2562
มิ.ย. 2562
พ.ค. 2562
เม.ย. 2562
มี.ค. 2562
ก.พ. 2562
ม.ค. 2562
ธ.ค. 2561
พ.ย. 2561
กิจกรรม
ต.ค. 2561
ปีงบประมาณ 2562
4.10การเตรี ย มและจั ด กิ จ กรรม งาน “Polish Day” 4.11การเตรี ย มและจั ด กิ จ กรรม ก า ร สั ม ม น า “ 7 0 ปี ส ห พั น ธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี และ 30 ปีการ ทะลายกำ�แพงเบอร์ลิน: อิทธิพล ของรัฐธรรมนูญเยอรมนีต่อการร่าง รัฐธรรมนูญไทย
หมายเหตุ
หมายถึง เริ่มดำ�เนินการ หมายถึง สิ้นสุดการดำ�เนินงาน
43