โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่
เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์
ขององค์การ UNESCO ด้ านหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน
คณะท� ำ งานโครงการขับ เคลื่ อ นเมื อ งเชี ย งใหม่ เป็ น เครื อ ข่ า ยเมื อ งวัฒ นธรรมสร้ างสรรค์ ข อง องค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน (Crafts and Folk Art) รศ.ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ประธานที่ปรึกษา
องค์การบริ หารส่วนจัง หวัด เชี ยงใหม่ มี อ�ำ นาจหน้ า ที่ ในการพัฒ นาจัง หวัดเชี ย งใหม่ใ นหลายด้ า น ทังเศรษฐกิ ้ จ สังคม การศึกษา การสาธารณสุข การส่งเสริ มอาชีพ สาธารณูปโภค ทรัพยากรธรรมชาติ และจารี ต ประเพณี และภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่ให้ ด�ำรงอยูแ่ ละสืบทอดสู่ ค นรุ่ น ต่ อ ไป เพื่ อ ให้ เกิ ด ประโยชน์ สูงสุดต่อ ประชาชนในท้ องถิ่ น องค์ การบริ ห ารส่ว นจัง หวัด เชี ย งใหม่ ได้ ว างแนวทางปฏิบตั ใิ นส่วนที่ เกี่ยวข้ องกับทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ใน 3 ข้ อ คือ •ส่งเสริ มสนับสนุนให้ ท้องถิ่นด�ำเนินกิจกรรมร่วมกับองค์กรต่างๆ ท�ำงานอย่างบูรณาการ เพื่อให้ เกิด ความตระหนัก ในการด�ำเนินกิจกรรมในด้ านการศาสนา การฟื น้ ฟูจารี ตประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญา ท้ องถิ่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่และชนเผ่าที่หลากหลาย •ส่งเสริ มสถาบันทางการศึกษาและสถาบันทางสังคมต่างๆ ให้ มบี ทบาทส�ำคัญในการอนุรักษ์ ท�ำนุบ�ำรุง รักษา สืบทอด พัฒนา มรดกทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารี ตประเพณีอนั ดีงาม ตลอดจนสถาปั ตยกรรมโบราณ และแหล่งประวัตศิ าสตร์ ของจังหวัดเชียงใหม่ •สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้ านศิลปะ วัฒนธรรมสูท่ ้ องถิ่น และศาสนสถาน โดยร่วมกับ องค์กรต่างๆ ทังภาครั ้ ฐ เอกชน และองค์กรที่ท�ำงานเพื่อสังคมในประเทศและต่างประเทศ เพื่อร่วมพัฒนาเมือง เชียงใหม่สเู่ มืองแห่งการสร้ างสรรค์ทางศิลปะและวัฒนธรรม (Creative City of Art and Culture) ซึง่ แนวทางปฏิบตั ขิ ององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ สอดคล้ องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 11 ทีใ่ ห้ ความส�ำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการส่งเสริมการพัฒนาเมืองสร้ างสรรค์ (Creative City) ในระดับภูมภิ าคและท้ องถิน่ เพือ่ ให้ ประเทศไทย เป็ นศูนย์กลางเครือข่ายการผลิต การค้ า และการบริการของ ธุรกิจสร้ างสรรค์ของภูมภิ าคอาเซียน (Creative Hub of ASEAN) ที่ผา่ นมาจังหวัดเชียงใหม่ได้ มีการจัดการศึกษารวบรวมและจัดท�ำข้ อมูลเบื ้องต้ นของเมืองเชียงใหม่ เพื่อ เตรี ยมการเป็ นเครื อข่ายสมาชิกเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO ซึง่ กระบวนการด�ำเนินงานจ�ำเป็ นต้ องมีการ ศึกษาทังเชิ ้ งกว้ างและเชิงลึก รวมถึงต้ องมีการปฏิบตั กิ ารอย่างเป็ นรูปธรรม ทังส่ ้ วนนโยบายและการปฏิบตั กิ าร ในการนี ้องค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จึงได้ จดั ท�ำโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ภายใต้ ชื่อ “โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรม และศิลปะพื ้นบ้ าน)” โดยมุง่ หวังให้ เกิดการท�ำงานร่วมกันอย่างบูรณาการกับองค์กรภาครัฐ เอกชน ชุมชน ภาคการ ศึกษาและอาชีพของจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อร่วมกันผลักดันให้ จงั หวัดเชียงใหม่สามารถเป็ นเครื อข่ายเมืองวัฒนธรรม สร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน) อันจะสามารถสร้ างชื่อเสียงให้ กบั ประเทศไทยในระดับสากล จากทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ตอ่ ไป
4
นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
The Creative Cities Network A Global Platform for Local Endeavour http://www.unesco.org/culture/en/creativecities
เครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ ได้ ถกู แบ่งเป็ น 7 ประเภท ที่เมืองสามารถเลือกได้ เพียง 1 ประเภท เมือง ต้ องระบุ และพิสจู น์ในการสมัครโดยใช้ กฎเกณฑ์ ดังต่อไปนี ้ หรื อสร้ างกฎเกณฑ์เพิ่มเติมของตนเอง
12 16
3
4 8 6
25 22
35 34
14 37
5
1 39 24 13 32 7 31 10 1121 41 17
33 38 2029 28 ?
19 40 30
36 18 26 27
15 23
2
9
Literature 1 Edinburgh 2 Melbourne 3 Iowa City 4 Dublin 5 Reykjavik 6 Norwich 7 Krakow Film 8 Bradford 9 Sydney Music 10 Sevilla 11 Bologna 12 Glasgow 13 Ghent 14 Bogota 15 Brazzaville Crafts and Folk Art 16 Santa Fe 17 Aswan 18 Kanazawa 19 Icheon 20 Hangzhou 21 Fabriano 22 Paducah Design 23 Buenos Aires 24 Berlin 25 Montreal 26 Nagoya 27 Kobe 28 Shenzhen Media Arts 29 Shanghai 30 Seoul 31 Saint-Etienne 32 Graz 33 Beijing 34 Lyon 35 Enghien-les-Bains 36 Sapporo Gastronomy 37 Popayan 38 Chengdu 39 Ostersund 40 Jeonju 41 Zahle 5
What is the
Creative Cities
Network?
เริ่ มด�ำเนินการโดยองค์การ UNESCO เมื่อตุลาคม 2004 โดยมุ่ ง หมายที่ จ ะยกระดั บ แนวโน้ มของอุ ต สาหกรรม วัฒนธรรม คนสร้ างสรรค์ สังคม และเศรษฐกิจ โดยคน ท้ องถิ่นในขณะเดียวกันยังส่งเสริ มเป้าหมายวัฒนธรรมที่ หลากหลายขององค์การ UNESCO
มีขนาดพอเหมาะ ในขณะเดียวกัน ก็ใหญ่พอที่จะเปิ ดประตู สูน่ านาชาติ
เมืองสร้ างสรรค์ เป็ นที่พกั อาศัย ของบุคคลที่ เกี่ยวข้ องกับ การสร้ างสรรค์ ประเภทต่างๆ
Why Cities ?
เป็ นสถานที่ ดึงความสามารถ ด้ านสร้ างสรรค์ และผลักดัน ไปสูป่ ระสิทธิผล ที่ดีที่สดุ ได้
เมืองเป็ นที่ร้ ูจกั ด้ วยภูมิหลังทางประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม ถึงกระนันก็ ้ ตาม เมืองยังสามารถเสาะหาประสบการณ์ใหม่ ๆ ดัง่ ห้ องทดลองส�ำหรับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เมืองต้ องการที่จะได้ รับ การมองเห็นคุณค่า ยกย่อง และรับรองจากโลกโลกาภิวตั น์ บางเมืองก�ำลังเตรี ยมกลยุทธ์ระดับนานาชาติอย่าง กว้ างเพื่อให้ บรรลุสเู่ ป้าหมายส�ำคัญอย่างยิ่งส�ำหรับเมืองต่าง ๆ ที่ไม่ใช่เมืองหลวง 6
City of Crafts and
Folk Art
The following list of criteria and characteristics serves as a guide for cities interested in joining the network as a City of Crafts and Folk Art: ลักษณะเฉพาะที่เป็ นมาตรฐานของเมืองแห่ง หัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ านโดย UNESCO
หัตถกรรมและศิลปะ พืน้ บ้ านแบบดัง้ เดิม ที่มีการสืบทอดเป็ นเวลายาวนาน หัตถกรรมและ ศิลปะพื ้นบ้ าน ร่วมสมัย
หัตถกรรม และศิลปะ พืน้ บ้ าน
ผู้ผลิตและศิลปิ น ท้ องถิ่นยัง ปรากฎอยู่ ชัดเจน
โครงสร้ าง พื ้นฐานที่เกี่ยวข้ อง กับหัตถกรรมและ ศิลปะพื ้นบ้ าน เช่น ศูนย์อบรมที่เกี่ยวข้ อง พิพิธภัณฑ์ ร้ านค้ า กับหัตถกรรมและศิลปะ หัตถกรรมที่จดั แสดง พื ้นบ้ านที่เกี่ยวงานสินค้ า ฯลฯ ข้ องกับอาชีพ
ความพยายาม ในการส่งเสริ ม หัตถกรรมและศิลปะ พื ้นบ้ าน (เทศกาล นิทรรศการ งานแสดงสินค้ า ตลาด ฯลฯ)
7
Cities apply to join the Network because they want to: เมืองจะเข้ าร่ วมเครือข่ ายเพราะ แสดงทรัพย์สนิ ทางวัฒนธรรมในเวทีโลก ท�ำให้ ความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์เป็ นส่วนประกอบส�ำคัญ ส�ำหรับเศรษฐกิจท้ องถิ่นและการพัฒนาสังคม แบ่งปั นความรู้สกู่ ลุม่ วัฒนธรรมต่างๆทัว่ โลก สร้ างศักยภาพท้ องถิ่นและฝึ กอบรมทางด้ านทักษะธุรกิจแก่ผ้ มู ีสว่ นร่วมทางวัฒนธรรม พัฒนานวัตกรรม โดยผ่าน การแลกเปลี่ยนความช�ำนาญ (know-how) ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญทางเทคนิค ส่งเสริ มผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายทางวัฒนธรรม (diverse cultural products) ในตลาดระดับชาติและนานาชาติ
Why a Network of Cities? ท�ำไมต้ องเป็ นเครือข่ ายเมือง ระบบเศรษฐกิจใหม่น�ำไปสูก่ ารเติบโตที่ยิ่งใหญ่และความเชี่ยวชาญ ในอุตสาหกรรมสร้ างสรรค์ (creative industries) ผู้ที่ถือผลประโยชน์ร่วมทางวัฒนธรรม (cultural stakeholders) ก�ำลังด�ำเนินการ ในสนามที่มีหลายแง่มมุ (multifaceted playing field) พร้ อมกับความต้ องการ และนวัตกรรมที่ขยายออกไป
Promoting Local Collaboration for Global Impact ส่ งเสริมความร่ วมมือระดับท้ องถิ่นส�ำหรับผลกระทบระดับโลก ความร่วมมืออย่างมีประสิทธิภาพจ�ำเป็ นต้ องเกิดขึ ้นในระดับท้ องถิ่นก่อนที่จะขยายไปสูร่ ะดับโลก ผู้ถือประโยชน์ทางวัฒนธรรมท้ องถิ่นก�ำลังแสวงหาหนทางที่จะตระหนักถึงความร่วมมือ (seeking ways to realize synergies)
Connecting Cities’ Efforts to Needs On-theground การเชื่อมโยงความพยายามของเมือง (culture actor on-the-ground) ผู้ออกนโยบายท้ องถิ่นต้ องท�ำความเข้ าใจและเอื ้อต่อความต้ องการเฉพาะ ของผู้เกี่ยวข้ อง (cultural actor on-the-ground) ทรัพยากรที่จ�ำกัดจ�ำเป็ นจะต้ องถูกใช้ อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อบรรลุเป้าหมาย การขับเคลื่อนพัฒนาอย่างมีประสิทธิผล 8
Engaging Local Agents in Inter national Development ท�ำให้ตวั แทนท้องถิ่นเข้าร่ วมในการพัฒนาระดับนานาชาติ ผู้ออกนโยบายท้ องถิ่นเริ่ มตระหนักถึงบทบาทที่เขาสามารถมีสว่ น ในการริ เริ่ มพัฒนาในระดับนานาชาติ องค์กรท้ องถิ่นออกนโยบายและน�ำไปใช้ ในโครงการพัฒนาท้ องถิ่น
Creating New Tourism Opportunities เกิดการสร้ างโอกาสใหม่ ในการท่ องเที่ยว
นอกจากพลังขับเคลื่อนมรดกวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ์ เมืองยังอุปถัมภ์ สนับสนุน ส่งเสริ มการสร้ างทรัพย์สนิ ทางวัฒนธรรมที่มีนวัตกรรมให้ มากขึ ้น (the creation of more innovative cultural assets) นักท่องเที่ยวสามารถสัมผัสโอกาสใหม่ๆ ที่จะซึมซับและผสมผสานบริ บทรวมของเมือง ทังทางด้ ้ านทางวัฒนธรรม ทังจั ้ บต้ องได้ และจับต้ องไม่ได้ ที่เมืองหยิบยื่นให้ เข้ าสูป่ ระสบการณ์ของตนเอง
How to Join the Creative Cities Network? จะเข้ าร่ วมเครื อข่ ายเมืองสร้ างสรรค์ ได้ อย่ างไร?
เมืองที่สนใจสามารถยื่นใบสมัครที่ประกอบด้ วยข้ อมูลเมืองที่เหมาะสมและข้ อมูลเชื่อมต่อ (links) ของ เมือง ไปสูเ่ ครื อข่ายประเภทนัน้ การสมัครจะต้ องระบุผ้ ทู ี่ตดิ ต่อหนึง่ คนและคณะบริ หารที่ประกอบไปด้ วย 3 ถึง 4 คน เป็ นตัวแทนสาธารณชน เอกชน และกลุม่ ชน ที่สามารถขับเคลื่อนการริ เริ่ มเมืองสร้ างสรรค์ ภายในเมืองของตนเอง การสมัครจะต้ องครอบคลุมถึง (อย่างสมบูรณ์แบบที่สดุ ) ค�ำอธิบายเมืองในเรื่ องเศรษฐกิจ สังคม และบริ บททาง วัฒนธรรม และกล่าวถึงภาพรวมของสาขาที่เมืองเลือกโดยย่อ และขยายความของสิง่ ที่เมืองเสนอมอบให้ ในสาขา นันๆ ้ รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวข้ องกับขันตอนการสมั ้ ครและใบสมัคร จะหาได้ ที่ http://www.unesco.org/culture/en/creativecities การเสนอให้ พิจารณา สามารถท�ำได้ โดยผู้มีอ�ำนาจของเมือง (city authority) หรื อหน่วยบริ การเทศบาล (municipal service) ผู้รับผิดชอบเรื่ องการท�ำให้ เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ (creative economy) ท้ องถิ่นยัง่ ยืน 9
Selection of Creative Cities by UNESCO การคัดเลือกเมืองสร้ างสรรค์ โดยองค์ การ UNESCO
คณะกรรมการแห่งชาติวา่ ด้ วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (National Commission for UNESCO) ของประเทศ จะถูกเรี ยกให้ ออกความเห็นเป็ นอันดับแรก ถ้ าได้ รับการเห็นชอบ แฟ้ม การสมั ค รจะถู ก พิ จ ารณาใหม่ โ ดยคณะผู้ เชี่ ย วชาญก่ อ ตั ง้ ในความร่ ว มมื อ กับ หน่ ว ยงานที่ ท รงคุณ วุฒิ ทิ่ี ไม่ เกี่ยวข้ องกับราชการ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจะให้ ค�ำแนะน�ำกับอธิบดีขององค์การ UNESCO ในการตัดสินใจ ครัง้ สุดท้ าย เมืองจะได้ รับการเรี ยกชื่อดังต่อไปนี ้ องค์การ UNESCO เมืองแห่งวรรณกรรม / ภาพยนตร์ / ดนตรี / หัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน / การออกแบบ / การ ท�ำอาหาร / สื่อศิลปะ เมืองที่ได้ รับสิทธิที่จะใช้ ชื่อ UNESCO และ logo ภายใต้ ข้อตกลงและเงื่อนไขของกฎบัตรทางด้ านกราฟฟิ คของ องค์การ UNESCO (UNESCO’s graphic charter)
หลักเกณฑ์ เบือ้ งต้ นของการเป็ นเมืองสร้ างสรรค์ ด้ านหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน ที่องค์การ UNESCO พิจารณา ได้ แก่ หน่วยงานภาคราชการของเมืองต้ องก�ำหนดยุทธศาสตร์ และนโยบาย รวมถึงการจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการเป็ นเมืองสร้ างสรรค์ เมืองต้ องขับเคลื่อนสภาพแวดล้ อมในเมือง และภูมิทศั น์ทางวัฒนธรรมโดยรวม อย่างสร้ างสรรค์ การมีสว่ นร่วมของภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง คือ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ และชุมชน การจัดสรรพื ้นที่ของเมือง เพื่อเป็ นเวทีแสดงความคิดสร้ างสรรค์ของประชาชน การมีประสบการณ์การเป็ นเจ้ าภาพจัดงานและจัดกิจกรรมสร้ างสรรค์ ทังระดั ้ บประเทศและ ระดับนานาชาติ การมีสว่ นร่วมของภาคการศึกษา เพื่อสนับสนุนการเป็ นเมืองสร้ างสรรค์ เช่น การเรี ยนการสอน การวิจยั เมืองต้ องให้ ความส�ำคัญแก่วสั ดุท้องถิ่นและสภาพแวดล้ อมในเมือง หรื อธรรมชาติ
10
Urban Development กระบวนการปรับปรุงองค์ ประกอบของเมืองให้ เป็ นเมืองสร้ างสรรค์
การศึกษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของเมือง (Cultural Identity) มีการ ศึกษาและเชิดชูเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของเมืองในบริ บทของความ หลากหลายทางวัฒ นธรรมและสนับ สนุน ให้ มี ก ารพบปะและแลก เปลี่ยนทางความคิด เกิดเครื อข่ายร่วมมือการท�ำงาน เกิดการแลก เปลี่ยนทางวัฒนธรรม และสืบทอดไปยังคนรุ่นต่อไป การรวบรวมนักคิดและผู้ประกอบการสร้ างสรรค์ (Talented / Creative Entrepreneur) มีการรวบรวมผู้มีความคิดสร้ างสรรค์ในการผสมผสาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้ องถิ่น เข้ ากับเทคโนโลยี วัฒนธรรม และการ จัดการด้ านธุรกิจ ที่ก่อให้ เกิดการงาน และก�ำลังซื ้อสินค้ าหมุนเวียนเป็ น กลไกให้ เกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจ การสร้ างพื น้ ที่ ส ร้ างสรรค์ แ ละสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก (Space & Facility) มีการสร้ างพื ้นที่สร้ างสรรค์ (Creative Space) ที่เพียงพอ และมีคณ ุ ภาพ รวมถึงสิง่ อ�ำนวยความสะดวกอื่นๆ เพื่อให้ เกิดสภาพ แวดล้ อมที่เอื ้อต่อการคิดสร้ างสรรค์ และผลิตนักคิดรุ่นเยาว์และธุรกิจ สร้ างสรรค์
11
1
12
2
3
4
5
Other Creative Cities: Kanazawa,
Japan
1. การสาธิตการเขียนลายผ้ ากิโมโนที่ Ishikawa Prefectural Museum of Traditional Arts and Crafts สถานที่จดั แสดงงานศิลปะและหัตถกรรมของจังหวัด Ishikawa รวม 36 ชนิด ผู้ชมสามารถชมและเรี ยนรู้การพัฒนาฝี มือช่างที่มี มากว่าศตวรรษ ซึง่ มีทงงานเสื ั้ ้อผ้ า, อาหาร, บ้ านเรื อน, หัตถกรรม, ประเพณี ในขณะที่ นิ ท รรศการพิ เ ศษน� ำ เสนอผลงานที่ ม าจากแรงบัน ดาลใจจากทั่ว ประเทศ 2. การปรับภูมิทศั น์ให้ น� ้ำในคูเมืองใสสะอาด รอบบริ เวณเมืองและพระราชวัง 3. The 21th Century Museum of Contemporary Art น�ำเสนอทังงานศิ ้ ลปะ และการสร้ างสรรค์ในสาขาต่างๆ เช่น งานดนตรี การแสดง ภาพยนตร์ พิพิธภัณฑ์ แห่งนี ส้ ร้ างเพื่อต้ องการฟื ้นฟูชุมชนและเพื่อแสดงให้ เห็นว่าเมือง Kanazawa เผชิญกับจุดเปลี่ยนทางประวัติศาสตร์ ในศตวรรษที่ 21 ที่สามารถ ช่วยปลุกพลังสร้ างสรรค์ทางศิลปะของผู้คนในเมือง, เพิ่มพูนเสน่ห์และชื่อเสียง ของเมือง, เป็ นห้ องเรี ยนเปิ ดของเด็กในสิง่ แวดล้ อมที่ดีเพื่อการมอง สัมผัสและ เสริ มสร้ างประสบการณ์ทางศิลปะ อันจะสร้ างความยัง่ ยืนทางศิลปะจากรุ่นสู่ รุ่น ซึง่ สามารถเป็ นจุดเชื่อมระหว่างงานศิลปะดังเดิ ้ มของเมือง Kanazawa และ ศิลปะสมัยใหม่ไปสูส่ ายตาชาวโลก 4. แม่น� ้ำ Asanogawa หนึง่ ในสองแม่น� ้ำที่ไหลผ่านกลางเมือง Kanazawa มี อีกชื่อหนึง่ ว่า แม่น� ้ำ “Onna” หรื อ “ผู้หญิง” เพราะสายน� ้ำนี ้ไหลผ่านเมืองอย่าง ละมุนละม่อม เมืองมีการสร้ างบรรยากาศเมืองโดยการปลูกต้ นซากุระริ มตลิง่ ที่ สามารถสร้ างบรรยากาศดึงดูดนักท่องเที่ ยวและเป็ นบรรยากาศแห่งการ สร้ างสรรค์ได้ เป็ นอย่างดี 5. Hagashi Chaya District เป็ นย่านใจกลางเมือง Kanazawa มีกลุม่ อาคาร ประวัตศิ าสตร์ ที่สร้ างมาตังแต่ ้ ยคุ เอโดะ เมื่อ180 ปี ที่ผา่ นมา ซึง่ เมืองรักษาไว้ 13
14
Other Creative Cities: Taipei,
Taiwan
URS หรื อ Urban Regeration Station ภารกิจจากภาครัฐที่จะพัฒนาเมือง จากการระดมความคิดจากผู้ร้ ูและผู้เชี่ยวชาญร่วมกับการมีสว่ นร่วมจากชุมชน โดยมุง่ หาโอกาสที่เป็ นไปได้ สูน่ วัตกรรมการพัฒนาพื ้นที่อนาคต เป็ นเวทีเปิ ด รับฟั งความคิดเห็น ทดสอบการขับเคลื่อนเมืองและพัฒนาเครื อข่ายเมือง The Red House (ซ้ าย) ตลาดสาธารณะแห่งแรกของประเทศและเป็ นอาคารประวัตศิ าสาตร์ สร้ างเมืือ ปี 1908 ในรูปแบบสถาปั ตยกรรมตะวันตก ออกแบบโดย Kondo Juro โดย ผสมผสานรูปทรง 8 เหลี่ยม (ตะวันออก) และรูปทรงกางเขน (ตะวันตก) เข้ า ด้ วยกัน ปั จจุบนั เป็ นหนึง่ ในพื ้นที่สร้ างสรรค์ทางวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม สร้ างสรรค์โดยเฉพาะอย่างยิ่งเปิ ดโอกาสให้ นกั ออกแบบรุ่นใหม่มีพื ้นที่แสดงผล งานของตนเอง Huashan Creative Park (ขวา) หนึง่ ในโครงการขับเคลื่อนการอนุรักษ์ และปรับปรุงอาคารร้ างให้ กลับมาใช้ ใหม่ อย่างสร้ างสรรค์ ในอดีต ช่วงค.ศ. 1920 Huashan เคยเป็ นหนึง่ ในโรงงานไวน์ ใหญ่ของประเทศ และถูกปล่อยร้ างในเวลาต่อมา ภายหลังกลุม่ ศิลปิ นสนใจ ปรับปรุงพื ้นที่บางส่วน ได้ รับความสนใจเรื่ อยมา จนกระทัง่ ในปี 1999 The Association Huashan Creative Park of Culture Environement Reform Taiwan (NGO) ได้ ถกู ก่อตังเพื ้ ่อดูแลงานอนุรักษ์ จนเกิดเป็ น Huashan Creative Park ในปี 2005 ปั จจุบนั เป็ น Creative Art Center ระดับต้ นๆและเป็ นพื ้นที่จดั กิจกรรมทางวัฒนธรรมสําคัญของประเทศ Huashan ไม่ได้ เป็ นแค่ศนู ย์กลาง ศิลปะ หากแต่เป็ นตัวเชื่อมสถาปั ตยกรรมในอดีตอีกด้ วย 15
Other Creative Cities:
Spain National Museum of Prado, Madrid หนึง่ ใน หลายพิพิธภัณฑ์ระดับโลกใน Spain แสดงผล งานของศิลปิ นทังจาก ้ Spain และประเทศต่างๆ
บรรยากาศริมทะเล Mediterranean พื ้นที่สาธารณะสําหรับคนท้ องถิ่นและนัก ท่องเที่ยวทุกเพศวัยได้ มาพบปะและใช้ พื ้นที่ร่วมกันอย่างสร้ างสรรค์ Musuem of Catalunya History, Barcelona ริ มทะเล Mediterranean 16
ส�ำหรั บเมืองเชียงใหม่
เมื อ งที่ มี ค วามหลากหลายทางวั ฒ นธรรมเมื อ งหนึ่ ง ของ ประเทศไทย เป็ น ความท้ า ทายอย่า งมากที่ อ งค์ ก ารบริ หารส่ว นจัง หวัด มี แ นวคิด ในการขับเคลื่ อนเมื องเชี ย งใหม่ ให้ เป็ นสมาชิกเครื อข่ายเมือง สร้ างสรรค์ด้านหัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้ าน (City of Crafts and Folk Art) ขององค์การ UNESCO และเพื่อให้ เข้ ากับเกณฑ์ ขององค์การ UNESCO จ�ำเป็ นต้ องอาศัยกรอบคิดเรื่ องแนวทางในการขับเคลื่อนเมือง ที่แสดงถึง ความพร้ อมใน 7 ด้ าน ดังนี ้
การสร้ างความเข้ าใจในทุกภาคส่วน เสริ มทัศนคติ ที่เปิ ดกว้ างยอมรับสิง่ ใหม่ๆ ของประชาชน
มีการส่งเสริ ม วิจยั การเรี ยนรู้สืบทอด หัตถกรรมและ ศิลปะพื ้นบ้ านทังในเชิ ้ งอุตสาหกรรม งานนวัตกรรม และการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
การสร้ างยุทธศาสตร์ ของท้ องถิ่นและสภาพแวดล้ อม เพื่อสนับสนุนงานหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน
การสร้ างพื น้ ที่ ส ร้ างสรรค์ แ ละองค์ ป ระกอบของเมื อ ง ที่ เ อื อ้ ต่ อ การรั ก ษาและสื บ ทอดงานหัต ถกรรมและ ศิ ล ปะพื น้ บ้ า น
การประชาสัมพันธ์ชจู ดุ เด่นของเมือง สร้ างพิพิธภัณฑ์ที่เกี่ยวข้ อง กับงานด้ านหัตถกรรมศิลปะพื ้นบ้ านและการสร้ างสรรค์ เป็ นเจ้ าภาพจัดงานที่เกี่ยวข้ องทังในระดั ้ บท้ องงถิ่น ชาติ และนานาชาติ
การมีความพร้ อมด้ านแรงงานบุคคลากรส�ำหรับงานเชิงความรู้ ความพร้ อมด้ านวัสดุ เทคโนโลยีที่เสริ มการสร้ างสรรค์
มีความร่วมมือที่ดีของทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องทังหน่ ้ วยราชการ ภาคธุรกิจ ภาคการศึกษาและภาคประชาชน
17
Chiang Mai
City of Crafts and
Folk Art
จัง หวัด เชี ย งใหม่ มี อ งค์ ป ระกอบที่ เ ป็ น เอกลัก ษณ์ ส� ำ คัญ อยู่ หลากหลาย อาทิ ดอยสุเทพ ที่ถกู ปกคลุมไปด้ วยสภาพป่ าไม้ ที่ อุดมสมบูรณ์ ล�ำน� ้ำปิ ง อันมีลกั ษณะทางกายภาพที่สอดรับกับ ภูมิ ศ าสตร์ ข องเมื อ ง ตลอดจนสภาพของบ้ านเรื อนถิ่นที่อยู่ อาศัย ของประชาชน ถู ก สร้ างขึ น้ มาตามความเชื่อและ
แรงศรั ท ธาของบรรพชนแต่ ค รั ง้ อดี ต และความส� ำ คัญ ที่ มี ค วามโดดเด่ น จนได้ รับการยกย่องจากผู้คนที่เข้ ามา ท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ คือ ศิลปวัฒนธรรม อันเป็ นทังมรดก ้ และทรัพยากรทางภูมิปัญญาที่ถกู สัง่ สมองค์ความรู้ จากรุ่นสูร่ ุ่น ที่เสมือนเครื่ องมือในการบ่งบอกว่าพื ้นที่แห่งนี ้มีความเจริ ญรุ่งเรื่ องทางศิลปวัฒนธรรมมาแต่ช้านาน ซึง่ สะท้ อนรูปแบบการอยูร่ วมกันของกลุม่ ชนที่ประกอบด้ วย รูปแบบการปกครอง ประวัตคิ วามเป็ นมา มีสภาพ แวดล้ อมซึง่ เป็ นแหล่งรวมของผู้คน สิง่ ปลูกสร้ าง ภูมิทศั น์นี ้เกิดจากกระบวนการปฏิสมั พันธ์ทางสังคมและ วัฒนธรรมของชุมชนทังภายในและภายนอกตั ้ วเมือง ดังนัน้ ในแต่ละสังคมย่อมมีวฒ ั นธรรมที่สร้ างขึ ้นเองและรับ มาจากภายนอก แล้ วพัฒนาเปลี่ยนแปลงปรับตัวให้ เข้ ากับวิถีชีวิตซึง่ เป็ นกระบวนการที่เกิดขึ ้นและมีความสัมพันธ์ ร่วมกันในแต่ละสังคม วิถีชีวิตของชาวเชียงใหม่ในอดีตเป็ นวิถีชีวิตของการท�ำบุญ ทางพระพุทธศาสนาได้ แบ่งผู้คนออกเป็ น 2 สังคม คือ 1) สังคมอาณาจักร เป็ นการท�ำบุญของฆราวาสตามล�ำดับชัน้ ทางสังคม คือ กษัตริ ย์ เจ้ าเมือง ขุนนาง และชาวบ้ าน เช่น การถวายที่ดิน การสร้ าง ปฏิสงั ขรณ์ วัด วิหาร พระธาตุ และพระพุทธรู ป และ 2) สั ง คมพุ ท ธจั ก ร เป็ นการท�ำ บุ ญ ของพระสงฆ์ ข้ า วั ด มี ก ารแบ่ ง หน้ าที่ ใ นการดู แ ลภายในวั ด การถ่ายทอดวิชาความรู้ด้านการเรี ยนภาษาบาลี การประพันธ์ร้อยแก้ วและร้ อยกรอง การจารและเขียนคัมภีร์ใบ ลาน พับสา และงานช่างฝี มือประเภทต่างๆ นอกจากนี ้แล้ ว ความเชื่อดังเดิ ้ มอันเนื่องด้ วยการนับถือผี ขวัญ จารี ต ประเพณี ประเพณีการเกิดแก่เจ็บตายที่มีบทบาทและอิทธิพลต่อการด�ำรงชีวิตของผู้คน จากประวัตศิ าสตร์ อนั ยาวนานกว่า 700 ปี ท�ำให้ เชียงใหม่เป็ นเมืองที่อดุ มไปด้ วยทุนทางวัฒนธรรม ซึง่ ล้ วนแต่เสริ มสร้ างศักยภาพของเมือง เพื่อยกระดับให้ เป็ นเมืองสร้ างสรรค์ ทางด้ านหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน (Chiang Mai : City of Crafts and Folk Art) อันมีองค์ประกอบทังศิ ้ ลปวัฒนธรรม ประเพณี เอกลักษณ์และ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่หลากหลาย ซึง่ มีความสัมพันธ์กบั วัฒนธรรมของผู้คนที่พ�ำนักอาศัย ด�ำรงชีวิต และประกอบ กิจกรรมต่างๆ การน�ำวัฒนธรรมที่สงั่ สมมานาน เป็ นทุนเพื่อให้ การสร้ างสรรค์ในปั จจุบนั และอนาคตนันมี ้ เรื่ องราว ความเป็ นมาที่สามารถศึกษาเรี ยนรู้และน�ำมาสร้ างสรรค์และต่อยอดวัฒนธรรมที่เหมาะสมต่อวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ ในปั จจุบนั และอนาคตอย่างยัง่ ยืนมัน่ คง 18
เมืองเชียงใหม่มีมิติแห่งการสร้ างสรรค์ งานหัตถศิลป์ อยู่ 3 ประการ คือ 1) พัฒนาการมาจากรากเหง้ าทางวัฒนธรรม 2) งานอุตสาหกรรมหัตถศิลป์ 3) งานหัตถศิลป์ ร่วมสมัย
เชียงใหม่ เมืองหัตถศิลป์สร้างสรรค์
พั ฒ นาการมาจากราก เหง้ าทางวัฒนธรรม
มิติแห่งการสร้าง งานหัตถกรรม งานอุตสาหกรรม หัตถศิลป์
งานหัตถศิลป์ ร่ วมสมัย
โดยธรรมชาติของงานสร้ างสรรค์งานหัตถศิลป์ เชียงใหม่ จะมีคณ ุ ลักษณะสามประการที่ยงั ยึดโยงกันอยู่ ซึง่ เกิดจาก พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรมของชุมชน ที่เชื่อมโยงจากระดับหมูบ่ ้ านสูเ่ มืองและเป็ นแรงขับเคลื่อนสู่ การสร้ างสรรค์ ให้ เชียงใหม่นนบานสะพรั ั้ ่งด้ วยงานหัตถศิลป์ พร้ อมการเคลื่อนตัวของเมืองสูอ่ ตุ สาหกรรมสร้ างสรรค์ และความร่วมสมัยของงานหัตถศิลป์ การพัฒนางานหัตถศิลป์ สร้ างสรรค์จะเกิดขึ ้นได้ ก็ตอ่ เมื่อมีความยัง่ ยืนของ งานหัตถกรรมของชุมชน เปรี ยบดังสายเลือดที่หล่อเลี ้ยงชีวิตและสร้ างความงดงามให้ กบั สังคมอันเกิดจากตัวตน ของเราที่สร้ างสรรค์ผลงานหัตถศิลป์ ออกมาเป็ นผลงานที่โดดเด่น เป็ นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่ ความมีชีวิตชีวาจาก งานหัตถกรรมสร้ างสรรค์คือการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากรากเหง้ าสูส่ งั คมร่วมสมัยในหลากหลายมิติ จะเป็ นแสง สว่างแห่งเทียนศิลป์ ที่จดุ สืบต่อกันไปอย่างไม่หยุดยัง้ มรรคผลของการสร้ างสรรค์งานหัตถศิลป์ จะกลับมาสูก่ าร พัฒนาคุณภาพของชีวิตและการศึกษาให้ แก่ผ้ คู นในท้ องถิ่น มีการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการท่องเที่ยวที่ยงั่ ยืน เชียงใหม่กบั งานหัตถศิลป์ สร้ างสรรค์ก็เปรี ยบเหมือนดังการปลูกต้ นไม้ แห่งการสร้ างสรรค์ มีรากเหง้ าที่หยังลึก ล�ำต้ นแข็งแกร่งและมัน่ คง กิ่งใบที่แผ่ไพศาล ออกดอกผลที่เบ่งบานและเจริ ญงอกงามสืบต่อไป 19
งานหัตถกรรม และศิลปะพืน้ บ้ าน
8 อำ�เภอ
อ�ำเภอเมือง สารภี สันก�ำแพง สันทราย สันป่ าตอง หางดง แม่ริม ดอยสะเก็ด
ประเภทของงานหัตถกรรมและ ศิ ล ปะพื น้ บ้ านเมื อ งเชี ย งใหม่ งานหัตถกรรมอาจจ�ำแนกออกเป็ นประเภทต่างๆตามวัสดุและกรรมวิธีการผลิต ดังนี ้ จักสาน (Basketry) สิง่ ทอ (Textiles) เครื่ องปั น้ ดินเผา (Pottery) เครื่ องไม้ (Woodwork) งานกระดาษ (Paperwork) งานโลหะ (Metalwork) เครื่ องเขิน (Lacquerwork) ดอกไม้ ประดิษฐ์ และดอกไม้ แห้ ง (Artifcial Flowers) 20
ศิลปะ พืน้ บ้ าน
หัตถกรรม และศิลปะ พื้นบ้าน
หัตถกรรม
หัตถกรรม หัตถกรรมหมายถึงงานที่ใช้ ฝีมือในการดัดแปลงวัสดุที่มีอยูต่ ามธรรมชาติมาเป็ นเครื่ องมือ เครื่ องใช้ ในชีวิ ต ประจ� ำ วัน หรื อ โอกาสพิ เ ศษในครอบครัวและสังคมตามวิถีชีวิตขนบธรรมเนียมและ ประเพณีของแต่ละท้ องถิ่น เมื่อมนุษย์เริ่ มใช้ มือดัดแปลงสิง่ ที่มีอยูต่ ามธรรมชาติให้ มีรูปร่างและลักษณะ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเพื่อประโยชน์ ในการใช้ สอยนับได้ ว่าเป็ นการเริ่ มต้ นสร้ างงานหัตถกรรมของ มนุ ษ ย์ หัต ถกรรมเป็ นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคณ ุ ค่ายิ่งเป็ นผลงานที่ตกทอดจากอดีตที่เกิดจากฝี มือ และปั ญญาสร้ างสรรค์เพื่อประโยชน์ในการใช้ สอยในชีวิตประจ�ำวันและรับใช้ วฒ ั นธรรมประเพณี ศิลปะพืน้ บ้ าน ศิลปะพื ้นบ้ านหรื อศิลปะชาวบ้ าน เกิดขึ ้นจากการปรับตัวของมนุษย์ให้ เข้ ากับสภาพสิง่ แวดล้ อมเป็ นการแก้ ไขสภาพความเป็ นอยูข่ องมนุษย์ที่ต้องพึง่ พาธรรมชาติ ใ ห้ ดี ยิ่ ง ขึ น้ ศิลปะพื ้นบ้ าน ส่วนใหญ่เกิดควบคูก่ บั การด�ำเนิน ชี วิ ต ของมนุษ ย์ ต้ องการเครื่ องใช้ สอยต่างๆมีลกั ษณะที่แสดงให้ เห็น ความรู้สกึ นึกคิดอย่างง่ายๆเป็ นปรัมปราคติสืบต่อกันมาของคนในแต่ละท้ องถิ่น ศิลปะพื ้นบ้ านสร้ างขึ ้น โดยชาวบ้ านหรื อช่างพื ้นบ้ าน ที่สามารถสร้ างสรรค์งานจากการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษหรื อช่างในท้ อง ถิ่นมีผลงานที่ท�ำขึ ้นมีลกั ษณะเฉพาะถิ่น มีความเรี ยบง่าย ประโยชน์ใช้ สอย วัสดุจากท้ องถิ่นสกุลช่าง ท้ องถิ่น มีสวยงามและราคาย่อมเยา หัตถกรรมและศิลปะพืน้ บ้ าน หมายถึงผลงานของมนุษย์ที่ประกอบด้ วยมือและความคิดของผู้คน ในแต่ละท้ องถิ่น มีลกั ษณะเฉพาะตน (General Style and Personnel Style) มีพฒ ั นาการสืบต่อกันมา ทังที ้ ่จบั ต้ องได้ (Tangible) และที่จบั ต้ องไม่ได้ (Intangible) เช่น การละเล่นขับร้ องฟ้อนการเล่นดนตรี ประเภทต่างๆทังนี ้ ้ประโยชน์และสิง่ ที่ได้ รับ เพื่อสนองความต้ องการในการด�ำรงชีวิตและพิธีกรรมที่ต้อง พึง่ พาอาศัยและสามารถอยูร่ ่วมกันกับธรรมชาติอย่างเรี ยบง่ายสะดวก สบาย มีชีวิตที่เป็ นสุข มี สุนทรี ยภาพและชีวิตสมบูรณ์มากยิ่งขึ ้น 21
เครื่องไม้
แกะสลัก ไม้ เ ชี ย งใหม่ เ ป็ น แหล่ง ผลิ ต งานสลัก ไม้ ที่ ใหญ่ ที่สุดในเขตภาคเหนือตอนบนการแกะสลักไม้ เป็ นงานศิลปกรรมพื ้นบ้ านของชาวล้ านนา ที่ท�ำสืบ ต่อกันมาเป็ นเวลาช้ านาน ในอดีต เป็ นงานศิลปกรรม ที่มีความเกี่ยวข้ องกับสิง่ ก่อสร้ างเนื่องในพุทธศาสนา ซึง่ แกะไม้ เพื่อใช้ ประดับตกแต่งบ้ านเรื อนบ้ าง หรื อท�ำ เป็ นสิง่ ของเครื่ องใช้ เล็กๆ อดีตการแกะสลักไม้ ด้วย จิตศรัทธาในพุทธศาสนา โดยท�ำเป็ นลวดลาย และ เครื่ องประดับตกแต่งศาสนสถาน ส่วนในปั จจุบนั งานแกะสลักไม้ มีรูปแบบที่เป็ นไปตามความต้ องการ ของตลาด หรื อมีลกั ษณะรูปแบบที่ร่วมสมัยมากขึ ้น “กลุ่มแกะสลักไม้ บ้านถวาย” ตังอยู ้ ่ในเขตต�ำบล ขุนคง อ�ำเภอหางดง ปั จจุบนั เป็ นทัง้ แหล่งผลิต และจ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม้ แกะสลัก ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ความเป็ น มาของงานแกะสลัก ไม้ ที่ บ้ า นถวายเริ่ ม ต้ นขึน้ เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยที่ภายในหมูบ่ ้ านมีร้าน ค้ าจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ไม้ แกะสลักเกิดขึ ้นในหมู่บ้าน จ�ำนวนมาก และเป็ นผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ ้นจากบ้ าน ถวายเอง ผลิตภัณฑ์จะอยูใ่ นรูป สัตว์ตา่ งๆ เช่น สิงห์ ช้ าง ม้ า,การแกะสลักพระพุทธรูป เทวรูป รวมถึง เครื่ องใช้ เครื่ องเรื อน และของประดับ “กลุ่มสลักไม้ อ�ำเภอสันป่ าตอง” มีแหล่งส�ำคัญอยู่ ทีบ่ ้ านกิว่ แลน้ อย และ บ้ านกิว่ แลหลวง ซึง่ ชาวบ้ านทีน่ ี ้ ท�ำการแกะสลักในรูปแบบ ปะติมากรรม รูปช้ าง รูป สัตว์ตา่ งๆ รวมทังงานแกะสลั ้ กเป็ นภาพทิวทัศน์บน แผ่นไม้ สกั และเครื่องเรือน “กลุ่มสลักไม้ อ�ำเภอดอยสะเก็ด” มีแหล่งแกะสลัก ไม้ อยูท่ บี่ ้ านป่ ายาง บ้ านสันต้ นม่วง บ้ านสันปูเลย ผลิตภัณฑ์กลุม่ นี ้ส่วนใหญ่ จะเป็ นเครื่องเรือน เช่น ตู้ โต๊ ะ เก้ าอี ้ เตียงและ แหย่ง “กลุ่มสลักไม้ อ�ำเภอสันก�ำแพง” ผลิตภัณฑ์ภายใน อ�ำเภอสันก�ำแพงส่วนมากจะเป็ นงานศิลปกรรมร่ วม สมัย เป็ นการแกะสลักแผ่นไม้ สกั เป็ นรูปสัตว์ ชนิดอืน่ ๆ
22
งานกระดาษ
อ�ำเภอสันก�ำแพง บ้ านต้ นเปา เป็ นแหล่งผลิตกระดาษ สาขนาดใหญ่ ทีท่ ำ� กันเป็ นครอบครัว จ�ำนวนหลาย แหล่งด้ วยกันในชุมชน อ�ำเภอแม่ ริม กระดาษสาจากมูลช้าง (Elephant POOPOOPAPAPER) ทีต่ ำ� บลแม่แรม เป็นการท�ำ ผลิตภัณฑ์กระดาษจากมูลช้ าง และตอนนี ้ก็มีการน�ำ มูล ม้ า วัว และวัสดุธรรมชาติอื่นๆ จากภูมปิ ัญญาทีม่ ี อยูอ่ ย่างช้ านาน มีกระบวนการผลิตโดยน�ำเอาอาหาร ช้ างไปแลกกับมูลช้ างทีป่ างช้ างแม่สา แล้ วน�ำมูลช้ าง ทีไ่ ด้ ไปผลิตกระดาษสาทีอ่ ำ� เภอสันก�ำแพง แต่จะแบ่ง มูลช้ างส่วนหนึง่ ไว้ ที่ศนู ย์จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ด้วยเพื่อ สาธิตวิธีการท�ำกระดาษสาให้ นกั ท่องเที่ยวได้ ชมวิธี การผลิ ต จากนั น้ น� ำ กระดาษสาทีไ่ ด้ มาผลิตเป็ น ดอกไม้ สมุดบันทึก กล่องกระดาษโน้ ต ถุงของขวัญ และทีค่ นั่ หนังสือเป็ นต้ น แล้ วจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ ศูนย์จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์จากกระดาษสาจากมูลช้ าง พร้ อมทังส่ ้ งออก ประเทศอเมริกาและประเทศแคนาดา ผลิตภัณฑ์ทอ่ี อกมาจะเป็ นการอนุรักษ์ และท�ำให้ ช้ าง ม้ า วัว ได้ ทานหญ้ าทีม่ ปี ระโยชน์และผสานเข้ าไปกับ งานฝี มอื ในการท�ำกระดาษ และรังสรรค์ผลงานออก มาเป็ นของทีร่ ะลึกทีม่ เี รื่องราวและคุณค่า อ�ำเภอดอยสะเก็ด กระดาษสาทีห่ มูบ่ ้ านไตลื ้อต�ำบล ลวงเหนือนันได้ ้ ทำ� กระดาษสามาแล้ วกว่า 16 ปี โดยที่ ซื ้อสามาจากจังหวัดแพร่และจังหวัดน่าน แล้ วใช้ วสั ดุ ทีม่ ภี ายในท้ องถิน่ ประดับ ตกแต่ ง กระดาษสา เช่ น ดอกไม้ ใบไม้ ส่ ว นการส่ ง ออกถูก ส่ ง ไปขายที่ ย่านส�ำเพ็ง กรุงเทพมหานคร ในจังหวัดเชียงใหม่ และ มีลกู ค้ ามารับซื ้อด้ วยตนเอง แล้ วมีการน�ำกระดาษสา ทีไ่ ด้ มาผลิตเป็ นโคมไฟกระดาษสา สมุดกระดาษสา กล่องกระดาษสา ถุงกระดาษสา และกรอบรูป กระดาษสาเป็ นต้ น 23
เครื่องเขิน
งานหัตถกรรมพื ้นบ้ านประเภทหนึง่ ของจังหวัดเชียงใหม่ มีลกั ษณะเป็ นภาชนะรูปทรงต่างๆ ทีข่ ึ ้นเกิดจากการขดหรือ สานไม้ ไผ่ให้ ได้ รูปทรงตามต้ องการ จากนันน� ้ ำมาเคลือบด้ วยยางรักเพือ่ ให้ ภาชนะมีความคงทนแข็งแรงมากขึ ้น แล้ วจึง ตกแต่งโดยการเขียนลวดลายด้ วยชาด หรือการขูดลาย และบางครัง้ ยังมีการประดับด้ วยทองค�ำเปลว หรือเงินเปลว ด้ วย ซึง่ ภาชนะเครื่องเขินนี ้จะมีชอ่ื เรียกรวมๆ ในภาษาพื ้นเมืองว่า “คัวฮักคัวหาง” บ้ าง“เครื่องฮักเครื่องหาง” หรือ“เครื่อง ฮักเครื่องค�ำ” ขึ ้นอยูก่ บั ลักษณะของการประดับตกแต่ง ว่าตกแต่งด้ วยชาดหรือทองค�ำเปลว และเรียกชือ่ ภาชนะแต่ละ ชนิดไปตามหน้ าทีก่ ารใช้ สอย เช่น ขันดอก ขันหมาก ขันโอ หีบผ้ า แอ๊ บ อูบ หรือปุง เป็ นต้ น ส่วนชือ่ เรียก “เครื่องเขิน” นัน้ สันนิษฐานว่าเป็ นค�ำเรียกทีเ่ กิดขึ ้นเมือ่ ไม่นานมานี ้ โดยเรียกไปตามชือ่ ของกลุม่ ชนชาวไทเขินหรือไทขืน ทีม่ คี วาม ช�ำนาญในการผลิตภาชนะเครื่องใช้ ประเภทนี ้ “บ้ านเขินนันทาราม” ต�ำบลหายยา อ�ำเภอเมือง ถือเป็ นแหล่งผลิตเครื่องเขินแหล่งใหญ่ทมี่ ชี อื่ เสียงเป็ นทีร่ ้ ูจกั และ ยังคงมีการผลิตเครื่องเขินเพือ่ เป็ นสินค้ าส�ำหรับจ�ำหน่าย ประวัตคิ วามเป็ นมาของบ้ านเขินนันทารามกล่าวว่า เดิมมี ถิน่ ฐานอยูท่ เี่ มืองเชียงตุง ซึง่ ตังอยู ้ แ่ ถบทีร่ าบลุม่ แม่น� ้ำขืน หรือแม่น� ้ำเขิน ในเขตรัฐฉาน ประเทศพม่าเอกลักษณ์ของ เครื่องเขินนันทารามนัน้ เป็ นเครื่องเขินทีม่ โี ครงสร้ างเป็ นเส้ นตอกไม้ ไผ่ทเี่ หลาจนได้ ขนาดเล็กคล้ ายกับทางมะพร้ าว น�ำ มาขัดสานกับตอกเส้ นบางแบนเป็ นรูปแฉกรัศมีจากก้ นของภาชนะจนได้ รูปทรงตามความต้ องการโดยไม่ต้องมีการ ดามโครง เมือ่ ทาผิวด้ วยรักสมุกแล้ วขัดจะได้ ภาชนะทีม่ ผี วิ ค่อนข้ างเรียบและมีน� ้ำหนักเบา ส่วนการประดับตกแต่งของ เครื่องเขินนันทารามยังคงรักษารูปแบบและเทคนิคการขูดลาย หรือทีเ่ รียกว่า “ฮายดอก” แบบโบราณ ปัจจุบนั บ้ าน นันทาราม คงเหลือเครื่องเขินไม่มาก แล้ ว เนือ่ งจากปัญหาทางด้ านการสืบทอด และ กระบวนการผลิต วัตถุดบิ ทีห่ า ยากขึ ้น “บ้ านศรีปันครัว” ต�ำบลท่ าศาลา อ�ำเภอเมือง ลักษณะของเครื่องเขินทีผ่ ลิตในหมูบ่ ้ านศรีปันครัวนี ้ ส่วนมากจะเป็ น ภาชนะทีข่ ึ ้นรูปทรงของภาชนะด้ วยการขดตอกไม้ ไผ่ให้ เป็ นรูปทรงตามทีต่ ้ องการ เช่น พาน ตะลุม่ ขันดอก ขันหมาก หีบ ผ้ าใหม่ ขันโตก และขันโอ เป็ นต้ น แต่เนือ่ งจากในปัจจุบนั วัสดุทใ่ี ช้ ในการท�ำเครื่องเขินทังรั้ ก และชาดนันค่ ้ อนข้ างหา ยากและมีราคาสูง ดังนันชาวบ้ ้ านศรีปันครัวจึงเปลีย่ นมาใช้ วสั ดุสมัยใหม่ เช่น สีน� ้ำมันและสีพลาสติกแทน เปรียบได้ วา่ เป็ นแหล่งผลิตของการท�ำเครื่องเขินก่อนทีจ่ ะจัดส่งไปยัง บ้ านถวาย อ�ำเภอหางดงเพือ่ ท�ำการเพิม่ มูลค่าของผลิตภัณฑ์ ต่อไป “บ้ านต้ นแหน” อ�ำเภอสันป่ าตอง เป็ นอีกหมูบ่ ้ านนึง่ ทีม่ กี ารผลิตเครื่องเขิน โดยช่างชาวบ้ านต้ นแหนนี ้มีความช�ำนาญ ในการการท�ำเครื่องเขิน ลงรัก และเขียนชาดเป็ นพิเศษ เนือ่ งจากมีบรรพบุรุษเป็ นชาวไทเขินทีถ่ กู กวาดต้ อนมาจากทาง เหนือของประเทศพม่า ในสมัยของพระเจ้ ากาวิละเครื่องเขินของบ้ านต้ นแหนแบบโบราณมีเอกลักษณ์ทโี่ ดดเด่น อยูท่ ี่ ลวดลายประดับตกแต่ง โดยช่างจะนิยมทารักสีดำ� ทับไปบนโครงสร้ างทีเ่ ป็ นเครื่องไม้ ทีอ่ าจท�ำด้ วยไม้ ไผ่สานหรือขด หรือเป็ นไม้ สกั ไม้ ขนุน และไม้ แดงกลึงก็มี แล้ วมีการเขียนลวดลายด้ วยชาดสีแดงสด เป็ นลวดลายพันธุ์พฤกษาทีม่ ี ความงดงาม ซึง่ เกิดจากความช�ำนาญในการตวัดปลายพูก่ นั ให้ เกิดเป็ นเส้ นโค้ งฉวัดเฉวียน บางครัง้ มีการปิ ดทองค�ำ เปลวเป็ นเส้ นขอบ หรือเป็ นเกสรดอกไม้ ทตี่ ้ องการเน้ นให้ เป็ นส่วนส�ำคัญ หรืออาจจะใช้ รงค์ซงึ่ มีสเี หลืองเขียนเป็ นลาย แทนการปิ ดทองค�ำเปลวก็จะมีความงดงามไปอีกแบบหนึง่
24
25
26
เครื่ องปั ้นดินเผา
การท�ำเครื่องปัน้ ดินเผาในดินแดนล้านนานันได้ ้ ปรากฏหลักฐานมานับ ตังแต่ ้ สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ สืบทอดมาจนกระทัง่ ถึงสมัยหริภญ ุ ไชย แต่เครื่องปัน้ ดินเผาเหล่านี ้เป็ นเครื่องปัน้ ดินเผาเนื ้อ ดินธรรมดา ทีผ่ ลิตขึ ้นเพือ่ ใช้ เองภายในชุมชนหรือท้ องถิน่ ของตนเท่านัน้ ส่วนการท�ำเครื่องปัน้ ดินเผาชนิดเนื ้อแกร่งทังแบบ ้ เคลือบและไม่เคลือบนัน้ น่าจะเริ่มมีการผลิตขึ ้นเมือ่ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 19 โดยเชือ่ ว่ามีชา่ งชาวจีนเข้ ามาพัฒนา เทคโนโลยีการผลิตเครื่องปัน้ ดินเผาให้ สงู ขึ ้น เนือ่ งจากหลักฐานทีเ่ ป็ นบันทึกของจีนท�ำให้ ทราบว่า ในช่วงต้ นพุทธศตวรรษ ที่ 19 อาณาจักรล้านนาได้ มกี ารติดต่อกับอุปราชมณฑลยูนนานอย่างใกล้ชดิ อาจเป็ นไปได้ วา่ ช่างท�ำเครื่องปัน้ ดินเผาของ ล้านนาคงได้ รบั การถ่ายทอดความรู้จากช่างชาวจีน เพราะทีม่ ณฑลยูนนานในขณะนันมี ้ แหล่งเตาเผาหยู้จี ซึง่ ผลิตเครื่อง ถ้ วยทีต่ กแต่งด้ วยลายปลาคูแ่ บบเดียวกับเครื่องถ้ วยของสันก�ำแพง พุทธศตวรรษที่ 20 เป็ นช่วงเวลาทีล่ ้านนามีความเจริญ รุ่งเรืองและมัน่ คง โดยมี แหล่งผลิตขนาดใหญ่อยูด่ ้ วยกัน 3 แหล่ง คือ แหล่งเตาสันก�ำแพง จังหวัดเชียงใหม่ แหล่งเตาเวียง กาหลง จังหวัดเชียงราย (นับรวมแหล่งเตาวังเหนือ จังหวัดล�ำปาง) และแหล่งเตาเมืองพาน จังหวัดเชียงราย ใน พ.ศ. 2101 ครังนั ้ นได้ ้ มกี ารกวาดต้ อนพลเมืองชาวล้านนาไปยังพม่าเป็ นจ�ำนวนมาก ซึง่ ผลของสงครามดังกล่าวอาจท�ำให้ การผลิต เครื่องปัน้ ดินเผาซบเซาลง และเลิกผลิตไปในทีส่ ดุ “แหล่ งเตาสันก�ำแพง” จะตังอยู ้ ภ่ ายในหุบเขาตามริมล�ำห้ วยเล็กๆ หลายสาย อันเป็ นสาขาของล�ำน� ้ำผาแหน และล�ำน� ้ำ ออน เขตบ้ านป่ าตึง ต�ำบลออนใต้ อ�ำเภอสันก�ำแพง แหล่งเตาโบราณแห่งนี ้ นายไกรศรี นิมมานเหมินท์ เป็ นผู้ค้นพบครัง้ แรกใน พ.ศ. 2495 แหล่งเตาสันก�ำแพงนับเป็ นแหล่งผลิตเครื่องเคลือบแหล่งใหญ่ของล้านนา ทีพ่ บซากเตาเผา กระจัดกระจายอยูใ่ นเขตพื ้นที่ 5 -5.50 ตารางกิโลเมตร โดยมีกลุม่ เตากระจายอยู่ 8 กลุม่ ได้ แก่ เตาห้ วยป่ าไร่ เตาห้ วยบวก บิน่ เตาดอยโตน เตาห้ วยปู่ แหลม เตาทุง่ โห้ ง เตาต้ นแหน เตาต้ นโจก และเตาเหล่าน้ อย เตาเผาเครื่องปัน้ ดินเผาทีพ่ บใน แหล่งเตาสันก�ำแพงนัน้ มีทงเตาดิ ั ้ นและเตาก่ออิฐปะปนกัน ซึง่ เป็ นเตาเผาประเภทระบายความร้ อนผ่านในแนวนอน (Cross – draft kiln type) ทีแ่ สดงให้ เห็นถึงพัฒนาการและระยะเวลาอันยาวนานของการผลิตเครื่องปัน้ ดินเผาแห่งนี ้ ส่วน เครื่องปัน้ ดินเผาจากแหล่งเตาสันก�ำแพงจะมีลกั ษณะเป็ นเครื่องปัน้ ดินเผาเนื ้อแกร่งเคลือบ ลักษณะเนื ้อดินหยาบสีเทาด�ำ ซึง่ แหล่งวัตถุดบิ ทีส่ ำ� คัญคือ ดินจากบริเวณริมฝั่งห้ วยแม่ลานและแม่ผาแหน และดินเหนียวในบริเวณทุง่ นา รวมทังหิ ้ น ประเภทต่างๆ ตามเชิงเขา ซึง่ ผลิตภัณฑ์ของแหล่งเตานี ้มีอยูห่ ลากหลายรูปแบบ ได้ แก่ ชาม จาน ถ้ วย พาน ขวด หรือ แจกัน ไหปากแคบ ไหปากบานขนาดใหญ่ ตะเกียง ตะคัน หรือผางประทีบ ตุ๊กตารูปสัตว์ดนิ เผา และพระพุทธรูปดินเผา เป็ นต้ น โดยภาชนะดินเผาทีผ่ ลิตจากแหล่งเตาสันก�ำแพงจะมีลกั ษณะของการประดับตกแต่งทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์ คือ ประเภทเคลือบสีเขียว ประเภทเขียนลายสีดำ� และน� ้ำตาลใต้ เคลือบ ประเภทเคลือบสีน� ้ำตาล และ ประเภทเคลือบสองสี “แหล่ งผลิตเครื่องปั น้ ดินเผาบ้านเหมืองกุง” ตังอยู ้ ท่ บี่ ้ านเหมืองกุง อ�ำเภอหางดง ซึง่ เดิมทีการผลิตเครื่องปัน้ ดินเผาจะ ท�ำกันอยูใ่ นเขตสองหมูบ่ ้ าน คือ บ้ านเหมืองกุง และบ้ านขุนเส ซึง่ มีพื ้นทีต่ ดิ ต่อกัน โดยชาวบ้ านทังสองหมู ้ บ่ ้ านนี ้เป็ นชาวไท ใหญ่ทอี่ พยพมาจากเมืองปุ และเมืองสาดตังแต่ ้ สมัยต้ นรัตนโกสินทร์ ปัจจุบนั เมืองทังสองตั ้ งอยู ้ ใ่ นแถบฝั่งตะวันออกของ แม่น� ้ำสาละวิน ในเขตรัฐฉาน ประเทศพม่า ซึง่ เครื่องปัน้ ดินเผาทีท่ งสองหมู ั้ บ่ ้ านผลิตขึ ้นจะเป็ นภาชนะประเภทหม้ อน� ้ำ และ คนโทเป็ นส่วนมาก ภาชนะเครื่องปัน้ ดินเผาดังกล่าวจะมีรูปแบบเฉพาะเป็ นของตนเอง เป็ นทีร่ ้ ูจกั และเรียกขานกันในท้ อง ถิน่ ว่า “หม้ อเงี ้ยว” และ “น� ้ำต้ นเงี ้ยว” ในอดีตทีผ่ า่ นมาเครื่องปัน้ ดินเผาแบบไทใหญ่ทผี่ ลิตจากบ้ านเหมืองกุง และบ้ านขุนเส นี ้จะได้ รบั ความนิยมอย่างแพร่หลาย และเป็ นสินค้ าทีส่ ำ� คัญของจังหวัดเชียงใหม่ แต่เนือ่ งจากความจ�ำเป็ นในการใช้ เครื่องปัน้ ดินเผาลดน้ อยลง รวมทังสิ ้ นค้ าขายไม่ได้ ราคา จึงเป็ นเหตุให้ การท�ำเครื่องปัน้ ดินเผาทีบ่ ้ านขุนเสเลิกผลิตไปเมือ่ ราวยีส่ บิ กว่าปีทผี่ า่ นมา คงเหลือท�ำอยูแ่ ต่ทบี่ ้านเหมืองกุงมาจนถึงทุกวันนี ผลิ ้ ตภัณฑ์ภายในชุมชนจะเป็น น� ้ำต้น และ น� ้ำหม้อ “แหล่ งผลิตภัณฑ์ เครื่องปั น้ ดินเผาบ้านหารแก้ ว อ�ำเภอหางดง” เป็ นแหล่งเครื่องปัน้ ดินเผาทีส่ ำ� คัญในหางดงอีกที่ หนึง่ ส�ำหรับทีน่ จี่ ะมีความแตกต่างกับทีเ่ หมืองกุง คือ การท�ำเครื่องปัน้ ดินเผาประเภทภาชนะส�ำหรับ หุงต้ มอาหาร เช่น หม้ อต่อม หม้ อแกง และหม้ อสาว โดยมีกรรมวิธที โ่ี ดดเด่นจากการใช้ ดนิ เหนียวด�ำน�ำมาขึ ้นรูปด้ วยเทคนิคแบบดังเดิ ้ มบท แท่นทีไ่ ม่สามารถหมุนได้ แล้วจึงน�ำไปเผาไฟและตกแต่งผิวของภาชนะด้ วยวิธแี บบโบราณ 27
เครื่องโลหะประเภทเครื่องทองเหลือง
เครื่องทองเหลือง หรือทีช่ าวล้ านนาเรียกว่า “คัวตอง” ถือเป็ นงานหัตถศิลป์ ที่ มีความงดงามอีกประเภทหนึง่ ซึง่ ชาวล้ านนาไม่คอ่ ยนิยมเครื่องมือเครื่องใช้ หรือเครื่องประดับทีท่ ำ� จากทองเหลืองเท่าใดนัก แต่โดยมากแล้ วมักจะพบ งานทองเหลือง หรือคัวตองทีใ่ ช้ สำ� หรับเป็ นเครื่องประดับตกแต่งอาคาร ศาสนสถาน เพราะชาวล้ านนาถือว่า “วัด” เป็ นสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ควรแก่การ เคารพสักการะ ดังนันแทบทุ ้ กส่วนของอาคารสถาปัตยกรรมภายในวัดนัน้ จะต้ องมีการตกแต่งประดับประดาอย่างวิจติ รงดงาม เพือ่ เป็ นพุทธบูชาตาม ความเชือ่ ความศรัทธาในพุทธศาสนา โดยลวดลายของคัวตองทีใ่ ช้ ประดับ ตกแต่งนันจะเป็ ้ นลวดลายทีม่ อี ยูใ่ นธรรมชาติ หรือลวดลายทีม่ คี วามหมาย ที่เป็ นสิริมงคลช่วยเสริมให้ ตวั อาคารสถาปั ตยกรรมมีความสวยงามมากยิง่ ขึ ้น และในความคิดของศรัทธาผู้สร้ างอาจจะมีความเชือ่ ในเรื่องของ “บุญ บารมี” ซึง่ ชาวล้ านนาเชือ่ ว่าการสร้ างหรือถวายของให้ กบั วัด ผู้สร้ างหรือผู้ ถวายจะได้ รับผลบุญทังในชาติ ้ นี ้และภายภาคหน้ า ยิง่ สิง่ ทีส่ ร้ างหรือถวาย นันมี ้ ความวิจติ รงดงามและมีคณ ุ ค่า ก็ยงิ่ จะได้ รับผลบุญมากขึ ้นตามไป ด้ วย และนอกเหนือจากเรื่องของกุศลผลบุญแล้ ว ผู้สร้ างหรือผู้ถวายยังได้ แสดงออกถึงฐานะของตนด้ วย เพราะการทีจ่ ะสร้ างอาคารสถาปัตยกรรมที่ ประดับด้ วยคัวตองนัน้ ศรัทธาผู้สร้ างหรือถวายจะต้ องเป็ นผู้มฐี านะดีพอ สมควร เนือ่ งจากงานคัวตองนี ้มีราคาทีค่ อ่ นข้ างสูง แหล่งผลิตเครื่องทองเหลืองในเชียงใหม่ ชุมชนวัดพวกแต้ ม อ�ำเภอเมือง วัดพวกแต้ มปรากฏชือ่ ครัง้ แรกใน เอกสารแสดงรายชือ่ วัดทีม่ อี ยูใ่ นเวียงและนอกเวียงเชียงใหม่ ซึง่ มีผ้ บู นั ทึกไว้ ในพับสาหรือใบลาน เมือ่ ปี พ.ศ. 2363 นอกจากนี ้ชือ่ ของวัดยังท�ำให้ สันนิษฐานถึงผู้สร้ างได้ เพราะค�ำว่า “พวก” เป็ นยศของขุนนางซึง่ หมายถึง หัวหน้ าหมู่ พวกแต้ ม จึงน่าจะเป็ นขุนนางทีม่ หี น้ าทีค่ วบคุมทางด้ านการช่าง คือ “ช่างแต้ ม” ทีห่ มายถึงผู้เขียนงานจิตรกรรมหรืองานลายค�ำ โดยมีวดั ที่ มีชอื่ คล้ ายกันนี ้ในเวียงเชียงใหม่ เช่น วัดพวกเปี ย วัดพวกหงส์ และวัดพวก ช้ าง เพราะกล่าวกันว่าในสมัยโบราณเวลาทีท่ หารท�ำสงครามชนะ เมือ่ กลับ มาจะได้ รับการปูนบ�ำเหน็จรางวัล ก็มกั จะน�ำเงินทีไ่ ด้ ไปสร้ างวัดด้ วยความ ศรัทธาในพุทธศาสนา และเพือ่ อุทศิ ส่วนกุศลให้ กบั เจ้ ากรรมนายเวร วัดที่ สร้ างขึ ้นอาจใช้ ชอื่ ของตนเอง เช่น วัดหมืน่ ตูม วัดหมืน่ สาร วัดพ้ นอ้ น และวัด พันแหวน หรืออาจใช้ ชอื่ กรมกองทีส่ งั กัดรวมทังต� ้ ำแหน่งหน้ าทีท่ รี่ ับผิดชอบ อย่าง วัดพวกแต้ ม และวัดพวกช้ าง เป็ นต้ น ชุมชนวัดพวกแต้ มเป็ นชุมชนช่างฝี มอื มาตังแต่ ้ สมัยโบราณ ซึง่ ในปัจจุบนั ยัง คงมีการผลิตเครื่องทองเหลืองหรือทีเ่ รียกกันว่า “คัวตอง” รูปแบบต่างๆทังที ้ ่ เป็ นงานพุทธศิลป์ ส�ำหรับประดับตกแต่งอาคาร ศาสนสถาน และทีเ่ ป็ นงาน หัตถศิลป์ ส�ำหรับเป็ นเครื่องประดับ 28
เครื่องจักสาน
เครื่องจักสานเป็ นงานศิลปหัตถกรรรมอย่างหนึง่ ทีม่ นุษย์สร้ างสรรค์ขึ ้นเพือ่ ใช้ เป็ นเครื่องมือ เครื่องใช้ ในชีวติ ประจ�ำวัน ด้ วยวิธีการสานและสอดขัดกันของวัสดุทมี่ ลี กั ษณะเป็ นเส้ น หรือ เป็ นริว้ เช่น เส้ นตอก และหวาย เป็ นต้ น ซึง่ แหล่งผลิตเครื่องจักสานทีม่ คี วามเก่าแก่และส�ำคัญ มากแห่งหนึง่ ของโลกได้ แก่ บริเวณดินแดนในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนือ่ งจากได้ พบ หลักฐานทีเ่ กีย่ วกับการท�ำเครื่องจักสานของมนุษย์ตงแต่ ั ้ สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ ไม่วา่ จะเป็ น เครื่องจักสานในยุคหินใหม่ ทีพ่ บบริเวณถ� ้ำแห่งหนึง่ ในเขตอ�ำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี โดยเครื่องจักสานทีพ่ บนันท� ้ ำด้ วยไม้ ไผ่ ลักษณะเป็ นแบบลายขัดสองเส้ น มีอายุประมาณ 4,000 ปี มาแล้ ว เครื่องจักสานพื ้นบ้ านในภาคเหนือหรือล้ านนานัน้ ถือได้ วา่ เป็ นงานศิลปหัตถกรรมทีม่ กี ารท�ำ สืบต่อกันมาเป็ นเวลาช้ านานแล้ ว ดังเห็นได้ จากภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวิหารของวัด หลายแห่งในเขตภาคเหนือ ทีม่ ภี าพชาวบ้ านใช้ เครื่องจักสานในชีวติ ประจ�ำวันปรากฏอยู่ เช่น ภาพจิตรกรรมฝาผนังวิหารลายค�ำ วัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่ แสดงให้ เห็นวิถชี วี ติ ของชาว บ้ านก�ำลังนัง่ สนทนากันอยู่ ข้ างๆ ตัวมีภาชนะเครื่องจักสานทีเ่ รียกว่า “เปี ย้ ด” หรือกระบุงวาง อยู่ ซึง่ รูปทรงของเปี ย้ ดทีป่ รากฏอยูใ่ นภาพนันไม่ ้ ตา่ งไปจากเปี ย้ ดทีใ่ ช้ อยูใ่ นปัจจุบนั นัก แสดง ว่าชาวล้ านนารู้จกั สานเปี ย้ ดใช้ มาแล้ วไม่น้อยกว่าร้ อยปี ตามอายุเวลาของภาพจิตรกรรมนัน้ นอกจากภาพจิตรกรรมฝาผนังของวัดพระสิงห์แล้ ว ยังมีภาพจิตรกรรมฝาผนังของวัดอีก หลายแห่งทีป่ รากฏภาพการใช้ เครื่องจักสาน เช่น ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดบวกครกหลวง จังหวัดเชียงใหม่ และภาพจิตรกรรมฝาผนังของวัดภูมนิ ทร์ จังหวัดน่านเป็ นต้ น งานเครื่องจักสาน อ�ำเภอหางดง การสร้ างสรรค์ผลงานหัตถกรรมเครื่องจักสานของช่างใน เขตอ�ำเภอหางดง มีพื ้นฐานมาจากสังคมเกษตรกรรม ช่างจักสานประกอบอาชีพด้ าน การเกษตรสืบต่อกันมาตังแต่ ้ บรรพบุรุษ เมือ่ ว่างเว้ นจากการท�ำไร่ทำ� นา ก็ได้ เลือกใช้ ทรัพยากรในท้ องถิน่ อย่างต้ นไผ่ หรือวัสดุอนื่ ๆ มาท�ำเครื่องจักสาน เพือ่ ใช้ เวลาว่างให้ เกิด ประโยชน์ และตอบสนองความต้ องการด้ านประโยชน์ใช้ สอยในครัวเรือน แต่ในปัจจุบนั เป็ นการผลิตขึ ้นเพือ่ การค้ าเป็ นหลัก โดยผลิตภัณฑ์เครื่องจักสานทีท่ ำ� ขึ ้นในเขตอ�ำเภอหางดง ซึง่ มีลกั ษณะทีโ่ ดดเด่น งานเครื่องจักสาน อ�ำเภอสันป่ าตอง อ�ำเภอสันป่ าตอง เป็ นดินแดนทีศ่ ลิ ปวัฒนธรรม เฉพาะถิน่ ทีน่ า่ สนใจเป็ นอย่างยิง่ ซึง่ งานเครื่องจักสานของอ�ำเภอสันป่ าตองก็เป็ นหนึง่ ในงาน หัตถกรรมทีม่ คี ณ ุ ค่า เพราะการสานเครื่องมือเครื่องใช้ ในครัวเรือนเหล่านี ้ เป็ นการสืบทอด กรรมวิธีมาจากบรรพบุรุษ ซึง่ ในสมัยก่อนการจักสานเป็ นการสานสิง่ ของเครื่องใช้ เพือ่ ใช้ ใน ชีวติ ประจ�ำวัน และส่งไปขายทีต่ ลาด เป็ นวิถชี วี ติ แบบเรียบง่าย โดยชาวบ้ านส่วนใหญ่จะ ประกอบอาชีพหลักเป็ นเกษตรกร ท�ำนา ปลูกล�ำไยและพืชสวนต่างๆ เมือ่ ว่างจากการท�ำงาน หลัก ก็จะใช้ เวลาว่างมาท�ำเครื่องจักสานส�ำหรับใช้ สอยในชีวติ ประจ�ำวัน และยังผลิตเพือ่ ขาย เป็ นการหารายได้ เสริมด้ วย โดยเครื่องจักสานทีพ่ บเป็ นจ�ำนวนมาก และเป็ นเอกลักษณ์ของ อ�ำเภอสันป่ าตอง คือ “ก๋วยกล้ า” ด้ วยลักษะวิถชี วี ติ ของชาวสันป่ าตองทีป่ ระกอบอาชีพท�ำไร่ ท�ำนา จ�ำเป็ นทีจ่ ะต้ องมีภาชนะส�ำหรับใส่พชื ผลทางการเกษตรต่างๆ ก๋วยกล้ าจึงเป็ นภาชนะ ทีม่ คี วามเหมาะสมในการขนย้ ายผลผลิตแบบชัว่ คราว เพราะมีความแข็งแรง และทนทาน 29
งานโลหะเครื่องเงิน ในสมัยโบราณเครื่องเงิน คือสิง่ ของเครื่องใช้ทที่ ำ� ด้วยโลหะเงิน มีแหล่งผลิต
งานหัตถกรรมเครื่องเงินอยูใ่ นเมืองส�ำคัญๆ ของล้ านนาแทบทุกเมือง แต่ปัจจุบนั การท�ำเครื่องเงินพื ้นเมืองของล้ านนา ในจังหวัดต่างๆ แทบจะไม่มหี ลงเหลืออยูแ่ ล้ ว เพราะความนิยมในการใช้ เครื่องเงินดลน้ อยลง เนือ่ งจากวัสดุทใี่ ช้ ในการ ผลิตเครื่องเงินมีราคาแพง ท�ำให้ เครื่องเงินมีราคาสูงขึ ้นเกินกว่าฐานะทางเศรษฐกิจของคนธรรมดาทีจ่ ะหาซื ้อไว้ ใช้ สอย ได้ ประกอบกับมีเครื่องใช้ ทที่ ำ� จากวัสดุอนื่ ๆเข้ ามาแทนที่ ดังนันเมื ้ อ่ ความต้ องการใช้ เครื่องเงินลดลง การผลิตเครื่องเงิน จึงค่อยๆลดลง และเลิกท�ำไปในทีส่ ดุ ปัจจุบนั ยังคงเหลือแหล่งผลิตเครื่องเงินแบบล้ านนาอยูเ่ ฉพาะทีจ่ งั หวัดเชี ยงใหม่เท่านัน้ โดยแหล่ง ผลิตเครื่องเงินที่ ส�ำคัญและมีชอื่ เสียงเป็ นทีร่ ้ ูจกั กันโดยทัว่ ไปตังอยู ้ ท่ บี่ ้ านวัวลาย บ้ านศรีสพุ รรณ ในเขตอ�ำเภอเมือง และทีบ่ ้ านแม่ยอ่ ย อ�ำเภอสันทราย ซึง่ สาเหตุทเี่ ชียงใหม่ยงั คงมีแหล่งผลิตเครื่องเงินอยูน่ นั ้ อาจเป็ นเพราะเมืองเชียงใหม่เป็ นเมืองท่อง เทีย่ วทีส่ ำ� คัญ ผลิตภัณฑ์เครื่องเงินจึงเป็ นสินค้ าทีส่ ามารถจ�ำหน่ายให้ กบั นักท่องเทีย่ ว สามารถสร้ างรายได้ ให้ กบั ช่างผู้ ผลิตและผู้ประกอบการค้ าเครื่ องเงิน การผลิตเครื่ องในระยะหลังจึงเป็ นการผลิตเพือ่ เป็ นสินค้ าส�ำหรับจ�ำหน่าย มากกว่าทีจ่ ะผลิตเพือ่ เป็ นสิง่ ของเครื่องใช้ เหมือนเช่นในอดีต ท�ำให้ รูปแบบของเครื่ องเงินในปัจจุบนั เปลีย่ นแปลงไป จากเดิม “ชุมชนบ้ านวัวลาย” และบ้ านศรีสพุ รรณถือได้ วา่ เป็ นแห่งผลิตเครื่องเงินแหล่งใหญ่ของเมืองเชียงใหม่ทมี่ กี ารท�ำเครื่อง เงินผลิตภัณฑ์เครื่องเงินของชุมชนบ้ านวัวลายและบ้ านศรีสพุ รรณในอดีต มักนิยมท�ำสลุง (ขัน) เป็ นหลัก ค�ำว่าขันหรือ สลุงของชาวล้ านนานันเป็ ้ นภาชนะส�ำหรับตักน� ้ำ หรือใส่น� ้ำ โดยมีอยูห่ ลายชนิดด้ วยกัน จึงมักเรียกชือ่ แตกต่างกันไป ตามรูปแบบและการใช้ งาน กล่าวคือถ้ ามีขนาดใหญ่และใช้ เป็ นคูจ่ ะเรียกว่า “สลุงหาบ” ซึง่ เจ้ านายและผู้มฐี านะดีใน เมืองเชียงใหม่นยิ มใช้ สลุงหรือโอขนาดกลางจะใช้ เป็ นขันล้ างหน้ า ส่วนสลุงขนาดเล็กทีใ่ ช้ สำ� หรับตักน� ้ำดืม่ จะเรียกว่า “จอกน� ้ำ” นอกจากนี ้ยังมีการท�ำผลิตภัณฑ์เครื่องเงินอีกหลายประเภท เช่น พานหรือขันดอก ตลับใส่ของ หีบหมาก เครื่องเชีย่ นหมาก และเครื่องประดับเป็ นต้ น ส�ำหรับลวดลายทีป่ รากฏอยูบ่ น สลุงเงินของบ้ านวัวลาย เป็ นลวดลายทีม่ ี ลักษณะเฉพาะและถือว่าเป็ นลายแบบพื ้นเมืองเชียงใหม่ ปัจจุบนั การท�ำโลหะเครื่องเงิน เริ่มเป็ นไปได้ ยากขึ ้น เนือ่ งจาก เสียงทีเ่ กิดจากการท�ำเครื่องเงินมีเสียงดัง ท�ำให้ รบกวนชาวบ้ านภายในชุมชนทีเ่ ริ่มมีการสร้ างหอพัก ขึ ้น และด้ วย วัตถุดบิ ทีแ่ พงขึ ้นและหายาก “ชุมชนบ้ านแม่ ย่อย” เป็ นชุมชนทีผ่ ลิตเครื่องเงินอีกแห่งหนึง่ ของเชียงใหม่ แต่เป็ นแหล่งผลิตทีม่ ขี นาดเล็กและมีชา่ ง ท�ำเครื่องเงินอยูไ่ ม่มากนัก เนือ่ งจากเป็ นชุมชนทีอ่ ยูห่ า่ งไกลจากตัวเมืองจึงไม่เป็ นทีร่ ้ ูจกั เท่าใดนัก ประกอบกับชาวบ้ าน มีข้อจ�ำกัดด้ านเงินทุน เพราะวัตถุดบิ คือ เงินเม็ด ทีใ่ ช้ ในการผลิตนันมี ้ ราคาสูง ด้ วยเหตุนี ้อาชีพการท�ำเครื่องเงินของ บ้ านแม่ยอ่ ยได้ หยุดชะงักไประยะหนึง่ ต่อมาเมือ่ กิจการค้ าขายเครื่องเงินทีบ่ ้ านวัวลายและบ้ านศรีสพุ รรณดีขึ ้น ร้ านค้ า ทีบ่ ้ านวัวลายและบ้ านศรีสพุ รรณจึงได้ จ้างให้ ชา่ งเงินบ้ านแม่ยอ่ ยผลิตเครื่องเงินให้ ท�ำให้ การผลิตเครื่องเงินทีบ่ ้ านแม่ ย่อยได้ รับการฟื น้ ฟูกลับมาท�ำการผลิตเครื่องเงินอีกครัง้ ดังนันทุ ้ กวันนี ้ทีบ่ ้ านแม่ยอ่ ยจึงยังคงมีการผลิตเครื่องเงินอยู่ แต่ชา่ งเงินของบ้ านแม่ยอ่ ยจะเข้ ามารับจ้ างท�ำเครื่องเงินให้ ร้านค้ าต่างๆ ในย่านชุมชนบ้ านวัวลาย และบ้ านศรีสพุ รรณ เป็ นส่วนใหญ่การผลิตเครื่องเงินทีบ่ ้ านแม่ยอ่ ยได้ ทำ� สืบต่อกันมาตังแต่ ้ สมัยโบราณ เดิมทีชาวบ้ านจะท�ำเครื่องเงินเพือ่ ใช้ เองในครัวเรือน หรือเพือ่ ถวายให้ แก่วดั รวมถึงจ�ำหน่ายให้ กบั ชุมชนในบริเวณใกล้ เคียง ผลิตภัณฑ์เครื่องเงินของบ้ าน แม่ยอ่ ยแต่ดงเดิ ั ้ มจะท�ำเป็ นขันหรือสลุง ซึง่ มีลกั ษณะคล้ ายสลุงแบบพม่าของบ้ านวัวลายแต่จะมีฝาปิ ด ส่วนลวดลายที่ เป็ นเอกลักษณ์ ของบ้ านแม่ย่อย คือกลุ่ม “ลายแม่ย่อย” เป็ นลายที่ชาวบ้ านแม่ย่อยได้ คิดท�ำขึน้ จึงตังชื ้ ่อลาย ตามหมู่บ้าน 30
31
ดอกไม้ ประดิษฐ์ และดอกไม้ แห้ ง
การท� ำ ดอกไม้ ประดิ ษ ฐ์ ที่ ไ ด้ แรงบัน ดาลใจจากการเพิ่ ม มูลค่าของกระดาษสา หรื อ กระดาษเยื่อไม้ มาท�ำในรู ป แบบของการท�ำดอกไม้ ประดิษฐ์ จากธุรกิจเล็กๆ และเริ่ มสู่ เป็ นธุรกิจของชุมชน ร้ านกานดาดอกไม้ กระดาษสา (คุ ณ กานดา มิ น านนท์ ) เป็ นการน�ำกระสาทีส่ งั่ จากบ้ านต้ นเปา อ�ำเภอสันก�ำแพง แล้ ว น�ำมาประดิษฐ์ เลียนแบบดอกไม้ จริง ซึง่ มีทงดอกไม้ ั้ ทม่ี ขี นาด เล็กจนถึงดอกไม้ ขนาดใหญ่โดยเป็ นการใช้ กระดาษสาผสม กับความประณีตในการท�ำ โดยส่วนมากจะประดิษฐ์ ในรูป แบบตามทีล่ กู ค้ าต้ อ งการ ร้ านกานดาเป็ น ร้ านไม่ใหญ่ นัก เป็ น การท� ำงานในรู ปแบบครอบครั ว ซึ่ง มี ผู้ประดิษฐ์ ดอกไม้ จ�ำนวนเพียง 3 คน ท�ำให้ ประดิษฐ์ ดอกไม้ ได้ ไม่มากตามความ ต้ องการของลูกค้ าเพราะที่นี่จะมีสต๊ อกสินค้ าแค่บางอย่าง เท่านันหากเป็ ้ นการผลิตในจ�ำนวนมากก็จะใช้ เวลาค่อนข้ าง นานเพราะดอกไม้ มคี วามละเอียดอ่อนในวิธีการท�ำ ดอกไม้ ประดิษฐ์ แม่ บญ ุ ปั๋ น บ้ านหนองหวาย ต�ำบลยุ หว่ า อ�ำเภอสันป่ าตอง จังหวัดเชียงใหม่ แม่บญ ุ ปั๋น เล่าว่า เคยท�ำงานรับจ้ างกั บ ชาวต่ า งชาติ จึ ง ได้ มี แ นวคิดน�ำมา ประดิษฐ์ มาเป็ นของตนเอง แล้ วจึงได้ คดิ ซื ้อเครื่องมือในการท�ำ มาเป็ นของตนเอง และแม่บญ ุ ปั๋นยังเล่าอีกว่า งานดอกไม้ ประดิษฐ์ จากกระดาษสานั น้ มั ก จะเป็ นที่ ชื่ น ชอบของ ชาวต่างชาติมากกว่าคนไทย เนื่ องจากคนไทยมักจะคิดว่า งานกระดาษเป็ นงานที่ดแู ลรักษายาก และท�ำความสะอาดไม่ ได้ ชาวไทยจึงนิยมดอกไม้ พลาสติกมากกว่าดอกไม้ จาก กระดาษสา ท�ำให้ งานดอกไม้ กระดาษสาของแม่บญ ุ ปั๋นจะส่ง ออกให้ กบั ต่างประเทศเป็ นส่วนใหญ่ โคมไฟดอกไม้ จากผ้ าใยบัว คุณกนกวรรณ บุญเรือง หมู่ท่ ี 6 บ้ านกองทราย ต�ำบลหนองผึง้ อ�ำเภอสารภี จังหวัด เชียงใหม่ จากการสัมภาษณ์คณ ุ ยายเกศแก้ ว คุณยายเล่าว่า “สมัยก่อนคุณตาจบจากเทคนิค สาขาไฟฟ้า และได้ ไปท�ำงาน ทีก่ ารไฟฟ้าล�ำพูน และคุณยายได้ ทำ� ดอกไม้ จากผ้ าใยบัวขาย อยูก่ อ่ นหน้ านี ้แล้ ว คุณตาจึงคิดน�ำหลอดไฟมาติดกับดอกไม้ ที่ คุณยายท�ำ จึงเกิดเป็ นโคมไฟดอกทิวลิป และได้ ออกแบบเป็ น หลายรูปแบบด้ วยกัน มีทงรู ั ้ ปแมลงปอ ผีเสื ้อ และอืน่ ๆ อีก มากมาย” 32
สิ่งทอ
ดินแดนล้ านนา หรือภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยเป็ นดินแดน ที่พบว่ามีผ้าทอพื ้นเมืองอยู่ค่อนข้ างมากและมีความหลากหลาย ทังนี ้ ้เนือ่ งด้ วยมีกลุม่ ชนหลายชาติพนั ธุ์อาศัยอยูใ่ นดินแดนแห่งนี ้ ซึง่ แต่ละกลุม่ ชนล้ วนรู้จกั การทอผ้ าเพือ่ ใช้ ประโยชน์ใช้ สอยต่างๆ และมี ลักษณะที่เป็ นเอกลักษณ์ของแต่ละกลุม่ ด้ วยเหตุนี ้ผ้ าทอพื ้นเมือง ที่พบในดินแดนล้ านนาจึงมีรูปแบบ เทคนิค และลวดลายที่แตก ต่างกันออกไปตามแต่ละท้ องถิ่นและชาติพนั ธุ์ ซึง่ สะท้ อนให้ เห็น ถึงความสามารถในการสร้ างสรรค์ หรื อภูมิปัญญาของกลุม่ ชาติ พันธุ์นนๆ ั้ งานผ้ าและสิ่งทอ อ�ำเภอสันป่ าตอง ผ้ าทอในอดีตของสันป่ าตอง มีความโดดเด่น และมีเอกลักษณ์เฉพาะทีแ่ ตกต่างจากท้ องถิน่ อืน่ ๆ จากการวิจยั เรื่อง “การค้ าและผลิตภัณฑ์ผ้าในภาคเหนือของ ประเทศไทยจากมุมมองทางประวัตศิ าสตร์ ” ของแคทเธอรีน เอ.โบวี ระบุวา่ สันป่ าตองเป็ นหนึง่ ในศูนย์กลางการผลิตผ้ าทีส่ ำ� คัญของภาค เหนือ มีการค้ าขายฝ้ายและไหมโดยใช้ แม่น� ้ำปิ ง และแม่น� ้ำขานเป็ น เส้ นทางคมนาคมทีส่ ำ� คัญ สอดคล้ องกับการให้ ข้อมูลของชาวบ้ านที่ กล่าวว่าในอดีตมีการเดินทางไปค้ าขาย “ระแหงแก่งสร้ อย” และ ปากน� ้ำโพด้ วยการล่องแพเป็ นหลัก ท�ำให้ เข้ าใจได้ วา่ ในอดีตท้ องที่ สันป่ าตอง คงมีการทอผ้ าอย่างแพร่หลายแทบทุกครัวเรือน เพือ่ ประโยชน์สำ� หรับการใช้ สอย และการส่งออกไปจ�ำหน่ายทีอ่ นื่ งานผ้ าและสิ่งทอบ้ านกาด อ�ำเภอสันก�ำแพง การทอผ้ าไหมใน เขตอ�ำเภอสันก�ำแพงนันเริ ้ ่มขึ ้นเมือ่ ราวพ.ศ. 2453 – 2454 ทีบ่ ้ าน กาด พร้ อมกับการเข้ ามาตังถิ ้ น่ ฐานของนายอากรเส็ง ชินวัตร ซึง่ ถือ เป็ นจุดเริ่มต้ นของการทีบ่ ้ านกาด อ�ำเภอสันก�ำแพงได้ ชอื่ ว่าเป็ น แหล่งผลิตผ้ าไหมทีส่ ำ� คัญในเวลาต่อมา เนือ่ งจากนายอากรเส็งได้ เริ่มลงทุนค้ าผ้ าไหมโดยจ้ างชาวบ้ านทอ และมีนายเชียงบุตรชายเป็ น ผู้ชว่ ย ในช่วงแรกเป็ นการค้ าช้ างและม้ าต่างวัวต่าง ระหว่างเชียงใหม่ กับพม่าต่อมามีการน�ำไหมดิบจากพม่าเข้ ามา แล้ วน�ำไปเป็ นวัตถุดบิ ในการผลิตผ้ าซิน่ ส่งกลับไปขายให้ กบั ชาวพม่า จึงถือได้ วา่ ตระกูล ชินวัตรเป็ นผู้ริเริ่มกิจการทอผ้ าไหม ทีม่ กี ารจ้ างแรงงานเป็ นรายแรก ของสันก�ำแพง และน่าจะตามมาด้ วยกลุม่ ตระกูลพรหมชนะ และ ตระกูลเพียรสกุล ซึง่ กิจการทอผ้ าไหมของทังสามตระกู ้ ลนี ้มีลกั ษณะ ทีค่ ล้ ายคลึงกันหลายประการ นับตังแต่ ้ การคัดเลือกคนมาท�ำงาน การแบ่งงาน การตลาด รวมไปถึงรู ปแบบและลวดลายของผ้ า แม้ ว่าจะมีการพยายามที่จะออกแบบลวดลายและสีสนั แบบใหม่ๆ อยูเ่ สมอ 33
“ นกกินน�ำ้ ร่ วมต้ น ”
นก หรื อ หงส์ เป็ น รู ป สัต ว์ ม งคลทัง้ ในชี วิ ต จริ ง และใน จิ น ตนาการ ที่ สื่ อ ถึ ง ป่ าหิ ม พานต์ ใ นคติ เ รื่ อ งจัก รวาล นอกจากนั น้ ยั ง มี ค วามหมายถึ ง ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ก า ร มี ชี วิ ต อ ยู่ ร่ ว ม กั น อ ย่ า ง รั ก ใ ค ร่ ส า มั ค คี มี ความมั่น คง และยั่ง ยื น เปรี ย บเสมื อ นกับ ผู้ค นที่ ม า จากต่ า งที่ ต่ า งถิ่ น ต่ า งภูมิ ล� ำ เนา ได้ ม าอยู่ร่ ว มกัน เพื่ อ สร้ างสรรค์ ง านหัต ถกรรมและศิ ล ปะพื น้ บ้ า นด้ ว ย ความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจ เพื่ อ ให้ ง านหัต ถกรรมและศิ ล ปะ พื น้ บ้ า นของจัง หวัด เชี ย งใหม่ เจริ ญ สื บ ไปอย่ า งมั่น คง และยั่ง ยื น
ขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย์ สุรพล ด�ำริ ห์กลุ ดุษฎีบณ ั ทิตกิตมิ ศักดิ์ วิถี พานิชพันธ์ ประสงค์ แสงงาม ชื่อหนังสือ : โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่าย เมืองวัฒนธรรมสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้ านงานหัตถกรรมและศิลปกรรม ปี ที่พมิ พ์ : ครัง้ ที่ 1 กรกฎาคม 2557 / ครัง้ ที่ 2 พฤศจิกายน 2557 ภาพปก : angela srisomwongwathana ออกแบบโลโก้ : KKELVIN studio ออกแบบปกและรู ปเล่ ม : จิราภรณ์ สุหอม และพรทิพา ทองจ�ำปา ภาพถ่ าย : angela srisomwongwathana และเฉลิมขวัญกมล เป็ งจันทร์ Guidelines : http://www.unesco.org/culture/en/creativecities เนือ้ หาและงานวิจยั : คณะท�ำงานโครงการขับเคลือ่ นเมืองเชียงใหม่เป็ นเครือข่ายเมือง วัฒนธรรมสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO ด้ านงานหัตถกรรมและศิลปพื ้นบ้ าน พิมพ์ท่ ี : ลานนามีเดีย 8/17 ถ.สุขสันต์ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ติดต่ อ/ติดตาม : www.facebook.com/ChiangmaiCCFA หรื อโทร.09-1858-6042