“ ย้อม สี สร้าง ลาย ” กระโดน มะเกลือ สมอไทย คราม
วันเสาร์ท่ี 8 และอาทิตย์ท่ี 9 สิงหาคม 2558 เวลา 09.00 - 16.00 น. ณ ลานลั่นทม/โรงละครเล็ก หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่
องค์การบริ หารส่วนจัง หวัด เชี ยงใหม่ มี อ�ำ นาจหน้ า ที่ ในการพัฒ นาจัง หวัดเชี ย งใหม่ใ นหลาย ด้ าน ทังเศรษฐกิ ้ จ สังคม การศึกษา การสาธารณสุข การส่งเสริ มอาชีพ สาธารณูปโภค ทรัพยากรธรรมชาติ และจารี ตประเพณี และภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่ให้ ด�ำรงอยูแ่ ละสืบทอดสู่ ค นรุ่ น ต่ อ ไป เพื่ อ ให้ เกิ ดประโยชน์ สูง สุด ต่อประชาชนในท้ องถิ่ น องค์ การบริ หารส่ว นจังหวัดเชี ย งใหม่ ได้ ว าง แนวทางปฏิบตั ิในส่วนที่เกี่ยวข้ องกับทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ใน 3 ข้ อ คือ •ส่งเสริ มสนับสนุนให้ ท้องถิ่นด�ำเนินกิจกรรมร่วมกับองค์กรต่างๆ ท�ำงานอย่างบูรณาการ เพื่อให้ เกิดความตระหนัก ในการด�ำเนินกิจกรรมในด้ านการศาสนา การฟื น้ ฟูจารี ตประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่และชนเผ่าที่หลากหลาย •ส่งเสริ มสถาบันทางการศึกษาและสถาบันทางสังคมต่างๆ ให้ มบี ทบาทส�ำคัญในการอนุรักษ์ ท�ำนุ บ�ำรุง รักษา สืบทอด พัฒนา มรดกทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารี ตประเพณีอนั ดีงาม ตลอดจนสถาปั ตยกรรม โบราณและแหล่งประวัตศิ าสตร์ ของจังหวัดเชียงใหม่ •สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้ านศิลปะ วัฒนธรรมสูท่ ้ องถิ่น และศาสนสถาน โดยร่วมกับ องค์กรต่างๆ ทังภาครั ้ ฐ เอกชน และองค์กรที่ท�ำงานเพื่อสังคมในประเทศและต่างประเทศ เพื่อร่วมพัฒนาเมือง เชียงใหม่สเู่ มืองแห่งการสร้ างสรรค์ทางศิลปะและวัฒนธรรม (Creative City of Arts and Culture) ซึง่ แนวทางปฏิบตั ขิ ององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ สอดคล้ องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ทีใ่ ห้ ความส�ำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการส่งเสริมการพัฒนาเมืองสร้ างสรรค์ (Creative City) ในระดับภูมภิ าคและท้ องถิน่ เพือ่ ให้ ประเทศไทย เป็ นศูนย์กลางเครือข่ายการผลิต การค้ า และการ บริการของธุรกิจสร้ างสรรค์ของภูมภิ าคอาเซียน (Creative Hub of ASEAN) ที่ผา่ นมาจังหวัดเชียงใหม่ได้ มีการจัดการศึกษารวบรวมและจัดท�ำข้ อมูลเบื ้องต้ นของเมืองเชียงใหม่ เพื่อเตรี ยมการเป็ นเครื อข่ายสมาชิกเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO ซึง่ กระบวนการด�ำเนินงานจ�ำเป็ น ต้ องมีการศึกษาทังเชิ ้ งกว้ างและเชิงลึก รวมถึงต้ องมีการปฏิบตั กิ ารอย่างเป็ นรูปธรรม ทังส่ ้ วนนโยบายและการ ปฏิบตั กิ าร ในการนี ้องค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จึงได้ จดั ท�ำโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ภายใต้ ชื่อ “โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรม และศิลปะพื ้นบ้ าน)” โดยมุง่ หวังให้ เกิดการท�ำงานร่วมกันอย่างบูรณาการกับองค์กรภาครัฐ เอกชน ชุมชน ภาค การศึกษาและอาชีพของจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อร่วมกันผลักดันให้ จงั หวัดเชียงใหม่สามารถเป็ นเครื อข่ายเมือง สร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน) อันจะสามารถสร้ างชื่อเสียงให้ กบั ประเทศไทยในระดับสากล จากทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ตอ่ ไป
นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
กระโดน
มีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า Careya sphaerica Roxb. กระโดนมีชื่อเรียกตามท้องถิ่นว่า กระโดนโคก กระโดนบก ปุย (ใต้ เหนือ) ปุยกระโดน (ใต้); ปุยขาว ผ้าฮาด (เหนือ); หูกวาง (จันทบุรี); ต้นจิก (ภาค กลาง) พุย (เชียงใหม่) ขุย กะนอน กระโดนเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง พบในป่า เบญจพรรณและป่าเต็งรังทั่วไป ยกเว้นในภาคใต้ที่ระดับความสูงจากระดับน�้ำ ทะเล 100-600 เมตร ส่วนของกระโดนที่ใช้ในการย้อมจะเป็นเปลือก โดยใช้วิธี ย้อมร้อน
กระโดน
มะเกลือ มะเกลือ หรือ Ebony tree เป็นพืชในวงศ์ Ebenaceae
มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Diospyros Mollis Griff มะเกลือมีชื่อ เรียกตามท้องถิ่นดังนี้ ชนเผ่าเงี้ยวทางภาคเหนือเรียกว่า ผี เผา คนท้องถิ่นภาคเหนือเรียกว่า มะเกีย มะเกือ หรือ มะ เกลื้อ ภาคตะวันออก ตราด เรียกว่า มักเกลือ ส่วนภาคใต้ เรียกว่า เกลือ มะเกลือเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาด ใหญ่ พบมากในป่าเบญจพรรณ ลูกมะเกลือใช้ท�ำเป็นสีย้อม ผ้า ได้สีเทา น�้ำตาล และด�ำ วิธีการย้อมสีจากมะเกลือจะใช้ วิธีการย้อมเย็นหรือย้อมแบบหมัก อาจใช้ผลมะเกลือสด หรือผลมะเกลือดอง ต�ำให้ละเอียดแล้วแช่น�้ำ ในน�้ำที่แช่นี้ อาจมีการเติมน�้ำด่างหรือพืชอื่นๆ เพื่อช่วยในการย้อมตาม เทคนิคของแต่ละท้องที่ จากนั้นน�ำเอาเส้นด้ายฝ้ายลงไป ย้อม การย้อมทุกครั้งต้องตากแดดให้แห้ง อาจต้องย้อมซ�้ำ หลายครั้งเพื่อให้ได้สีน�้ำตาลเข้มหรือสีด�ำสนิท
สมอไทย
เป็นไม้ในวงศ์ COMBRETACEAE มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Terminalia chebula Retz. Var. chebula ชื่อพื้นเมืองว่า มะนะ หรือ ม่าแน่ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ขึ้นตามป่าดง ดิบ เขาป่าโปร่ง ป่าเบญจพรรณทั่วไป ส่วนที่ให้สีคือ ใบ ผลและเปลือก สีที่ได้ คือ สีเหลือง สีเขียว สีเทา ด�ำ
สมอไทย
คราม
มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Indigofera tinctoria L. เป็นพืชอยู่ในวงศ์ LECUMINOSAE มีชื่อเรียกต่างกันตาม พื้นที่ ได้แก่ คาม (เหนือ,อีสาน) คราม (ไทย) ครามย้อม (กรุงเทพฯ) ส่วนที่ใช้ย้อมสี ได้แก่ ต้นสด ใบ กิ่งก้าน สีที่ได้ คือ สีน�้ำเงิน เป็นสารเคมีชื่อ Indigo ซึ่งเป็นสารในกลุ่มอัลคา ลอยด์ ลักษณะทั่วไปเป็นไม้พุ่มขนาดย่อม เช่น ครามป่า ครามบ้าน ครามงอ ต้นสูงประมาณ 1-2 เมตร พบกระจาย ทั่วไปในทวีปเอเชีย อินเดียเป็นประเทศแรกที่ใช้ครามย้อม ผ้า
จากประวัตศิ าสตร์ อนั ยาวนานกว่า 700 ปี ท�ำให้ เชียงใหม่เป็ นเมืองที่อดุ มไป ด้ วยทุนทางวัฒนธรรม ซึง่ ล้ วนแต่เสริ มสร้ างศักยภาพของเมือง ให้ ยกระดับเป็ นเมือง สร้ างสรรค์ทางด้ านหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน (Chiang Mai : City of Crafts and Folk Art) อันมีองค์ประกอบทังศิ ้ ลปวัฒนธรรม ประเพณี เอกลักษณ์และภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่ หลากหลาย และมีความสัมพันธ์กบั วัฒนธรรมของผู้คนที่พ�ำนักอาศัย ด�ำรงชีวิต และ ประกอบกิจกรรมต่างๆ ซึง่ โดยธรรมชาติของการสร้ างสรรค์งานหัตถกรรมเชียงใหม่ จะมีคณ ุ ลักษณะที่ ยังยึดโยงกันอยู่ ซึง่ เกิดจากพัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรมของชุมชน ที่เริ่ ม จากระดับหมูบ่ ้ านสูเ่ มืองและเป็ นแรงขับเคลื่อนสูก่ ารสร้ างสรรค์ ท�ำให้ เชียงใหม่นนบาน ั้ สะพรั่งด้ วยงานหัตถกรรม พร้ อมสูก่ ารเคลื่อนตัวของเมืองการน�ำวัฒนธรรมที่สงั่ สมมา นาน เป็ นทุนเพื่อให้ การสร้ างสรรค์ในปั จจุบนั และอนาคตนันมี ้ เรื่ องราวความเป็ นมาที่ สามารถศึกษาเรี ยนรู้ และน�ำมาสร้ างสรรค์และต่อยอดวัฒนธรรมที่เหมาะสมต่อวิถีชีวิต ความเป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั และอนาคตอย่างยัง่ ยืนมัน่ คง มรรคผลของการสร้ างสรรค์งาน หัตถกรรมจะกลับมาสูก่ ารพัฒนาคุณภาพของชีวิตและการศึกษาให้ แก่ผ้ คู นในท้ องถิ่น มี การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการท่องเที่ยวที่ยงั่ ยืน เชียงใหม่กบั งานหัตถศิลป์ สร้ างสรรค์ก็เปรี ยบเหมือนดังการปลูกต้ นไม้ แห่งการสร้ างสรรค์ มีรากเหง้ าที่หยังลึก ล�ำต้ นแข็งแกร่งและมัน่ คง กิ่งใบที่แผ่ไพศาล ออกดอกผลที่เบ่งบานและเจริ ญงอกงามสืบ ต่อไป
คณะท�ำงานโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองวัฒนธรรสร้ างสรรค์
ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน ( Crafts and Folk Art) รศ.ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ประธานที่ปรึกษา
คณะท�ำงานโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้ างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน ( Crafts and Folk Art) รศ.ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ประธานที่ปรึกษา