เอกสารประกอบการบรรยายและฝึ กอบรม เรื่ อง "ตีนจกเชียงใหม่ " จัดท�ำโดย : โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน) ประธานที่ปรึกษาโครงการ : รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ปี ที่พิมพ์ : กรกฎาคม 2559 พิมพ์ที่ : มิสเตอร์ เจมส์ เชียงใหม่ อนุเคราะห์ข้อมูล : วารสารส�ำนักส่งเสริ มศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ "ร่มพยอม" ปี ที่ 16 ฉบับที่ 1 ผู้เขียนบทความ ตีนจกเชียงใหม่ : วสิน อุน่ จะน�ำ ผู้อนุเคราะห์ผ้าซิน่ ตีนจก : วสิน อุน่ จะน�ำ ถ่ายภาพ : อาณัฐพล ชัยศรี ออกแบบปก : อาณัฐพล ชัยศรี ออกแบบรูปเล่ม : วัชราภรณ์ ช่างเหล็ก ติดต่อ FB : www.facebook.com/ChiangmaiCCFA Instagram : Chiangmai_creativecity
องค์การบริ หารส่วนจัง หวัด เชี ยงใหม่ มี อ� ำ นาจหน้ า ที่ ในการพัฒ นาจังหวัดเชี ย งใหม่ใ นหลาย ด้ าน ทังเศรษฐกิ ้ จ สังคม การศึกษา การสาธารณสุข การส่งเสริ มอาชีพ สาธารณูปโภค ทรัพยากรธรรมชาติ และจารี ตประเพณี และภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่ให้ ด�ำรงอยูแ่ ละสืบทอดสู่ ค นรุ่ น ต่ อ ไป เพื่ อ ให้ เกิ ดประโยชน์ สูง สุด ต่อประชาชนในท้ องถิ่ น องค์ การบริ หารส่ว นจัง หวัดเชี ย งใหม่ ได้ ว าง แนวทางปฏิบตั ิในส่วนที่เกี่ยวข้ องกับทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ใน 3 ข้ อ คือ • ส่งเสริ มสนับสนุนให้ ท้องถิ่นด�ำเนินกิจกรรมร่วมกับองค์กรต่างๆ ท�ำงานอย่างบูรณาการ เพื่อให้ เกิดความตระหนัก ในการด�ำเนินกิจกรรมในด้ านการศาสนา การฟื น้ ฟูจารี ตประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่และชนเผ่าที่หลากหลาย • ส่งเสริ มสถาบันทางการศึกษาและสถาบันทางสังคมต่างๆ ให้ มบี ทบาทส�ำคัญในการอนุรักษ์ ท�ำนุ บ�ำรุง รักษา สืบทอด พัฒนา มรดกทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารี ตประเพณีอนั ดีงาม ตลอดจนสถาปั ตยกรรม โบราณและแหล่งประวัตศิ าสตร์ ของจังหวัดเชียงใหม่ • สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้ านศิลปะ วัฒนธรรมสูท่ ้ องถิ่น และศาสนสถาน โดยร่วมกับ องค์กรต่างๆ ทังภาครั ้ ฐ เอกชน และองค์กรที่ท�ำงานเพื่อสังคมในประเทศและต่างประเทศ เพื่อร่วมพัฒนาเมือง เชียงใหม่สเู่ มืองแห่งการสร้ างสรรค์ทางศิลปะและวัฒนธรรม (Creative City of Arts and Culture) ซึง่ แนวทางปฏิบตั ขิ ององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ สอดคล้ องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ทีใ่ ห้ ความส�ำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการส่งเสริมการพัฒนาเมืองสร้ างสรรค์ (Creative City) ในระดับภูมภิ าคและท้ องถิน่ เพือ่ ให้ ประเทศไทย เป็ นศูนย์กลางเครือข่ายการผลิต การค้ า และการ บริการของธุรกิจสร้ างสรรค์ของภูมภิ าคอาเซียน (Creative Hub of ASEAN) ที่ผา่ นมาจังหวัดเชียงใหม่ได้ มีการจัดการศึกษารวบรวมและจัดท�ำข้ อมูลเบื ้องต้ นของเมืองเชียงใหม่ เพื่อเตรี ยมการเป็ นเครื อข่ายสมาชิกเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO ซึง่ กระบวนการด�ำเนินงานจ�ำเป็ น ต้ องมีการศึกษาทังเชิ ้ งกว้ างและเชิงลึก รวมถึงต้ องมีการปฏิบตั ิการอย่างเป็ นรูปธรรม ทังส่ ้ วนนโยบายและการ ปฏิบตั กิ าร ในการนี ้องค์การบริ หารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จึงได้ จดั ท�ำโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ภายใต้ ชื่อ “โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองสร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรม และศิลปะพื ้นบ้ าน)” โดยมุง่ หวังให้ เกิดการท�ำงานร่วมกันอย่างบูรณาการกับองค์กรภาครัฐ เอกชน ชุมชน ภาค การศึกษาและอาชีพของจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อร่วมกันผลักดันให้ จงั หวัดเชียงใหม่สามารถเป็ นเครื อข่ายเมือง สร้ างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน) อันจะสามารถสร้ างชื่อเสียงให้ กบั ประเทศไทยในระดับสากล จากทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ตอ่ ไป
นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดเชียงใหม่
จากประวัตศิ าสตร์ อนั ยาวนานกว่า 720 ปี ท�ำให้ เชียงใหม่เป็ นเมืองที่อดุ มไปด้ วยทุนทางวัฒนธรรม ซึง่ ล้ วนแต่เสริ มสร้ างศักยภาพของเมือง ให้ ยกระดับเป็ นเมืองสร้ างสรรค์ทางด้ านหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน (Chiang Mai : City of Crafts and Folk Art) อันมีองค์ประกอบทังศิ ้ ลปวัฒนธรรม ประเพณี เอกลักษณ์และ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่หลากหลาย และมีความสัมพันธ์กบั วัฒนธรรมของผู้คนที่พ�ำนักอาศัย ด�ำรงชีวิต และ ประกอบกิจกรรมต่างๆ ซึง่ โดยธรรมชาติของการสร้ างสรรค์งานหัตถกรรมเชียงใหม่ จะมีคณ ุ ลักษณะที่ยงั ยึดโยงกันอยู่ ซึง่ เกิดจากพัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรมของชุมชน ที่เริ่ มจากระดับหมูบ่ ้ านสูเ่ มืองและเป็ นแรงขับ เคลื่อนสูก่ ารสร้ างสรรค์ ท�ำให้ เชียงใหม่นนบานสะพรั ั้ ่งด้ วยงานหัตถกรรม พร้ อมสูก่ ารเคลื่อนตัวของเมือง การน�ำวัฒนธรรมที่สงั่ สมมานาน เป็ นทุนเพื่อให้ การสร้ างสรรค์ในปั จจุบนั และอนาคตนันมี ้ เรื่ องราวความเป็ น มาที่สามารถศึกษาเรี ยนรู้ และน�ำมาสร้ างสรรค์และต่อยอดวัฒนธรรมที่เหมาะสมต่อวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ใน ปั จจุบนั และอนาคตอย่างยัง่ ยืนมัน่ คง มรรคผลของการสร้ างสรรค์งานหัตถกรรม จะกลับมาสูก่ ารพัฒนา คุณภาพของชีวิตและการศึกษาให้ แก่ผ้ คู นในท้ องถิ่น มีการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและการท่องเที่ยวที่ยงั่ ยืน เชียงใหม่กบั งานหัตถศิลป์ สร้ างสรรค์ก็เปรี ยบเหมือนดังการปลูกต้ นไม้ แห่งการสร้ างสรรค์ มีรากเหง้ าที่หยัง่ ลึก ล�ำต้ นแข็งแกร่งและมัน่ คง กิ่งใบที่แผ่ไพศาล ออกดอกผลที่เบ่งบานและเจริ ญงอกงามสืบต่อไป
คณะท�ำงานโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็ นเครื อข่ายเมืองวัฒนธรรมสร้ างสรรค์ ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื ้นบ้ าน (Crafts and Folk Art) รศ.ดร.วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ประธานที่ปรึกษา
ผ้าซิ่นตีนจก
ในจังหวัดเชียงใหม่1 นับ ตัง้ แต่พ ญามัง รายได้ ส ร้ างเมื อ งแห่ง ใหม่ขึ ้นในที่ราบระหว่างแม่น� ้ำปิ งและดอยสุเทพ เมื่อ พ.ศ.1839พร้ อมทังขนานนามเมื ้ องว่า “นพบุรีศรี นคร พิงค์เชียงใหม่” เมืองเชียงใหม่ได้ กลายเป็ นเมืองหลวง ที่ ส� ำ คัญ ของล้ า นนาผ่ า นความเจริ ญ รุ่ ง เรื อ งอย่ า ง ที่สดุ ในรัชสมัยของพระเจ้ าติโลกราช และโรยราลงใน รัชสมัยพระเจ้ าเมกุฏสุทธิวงศ์ (ท้ าวแม่ก)ุ เมื่อ พ.ศ. 2101 พระเจ้ าบุเรงนอง ยกทัพมาเมืองเชียงใหม่จงึ ตก เป็ นเมืองขึ ้นของพม่ามามากกว่า 200 ปี ชาวเมือง เชียงใหม่จ�ำนวนไม่น้อยได้ ถูกกวาดต้ อนโยกย้ ายไป ยัง พม่า จนเกื อ บจะเป็ น เมื อ งร้ างกระทั่ง พ.ศ.2317 พระเจ้ ากาวิละได้ ขบั ไล่พม่า และฟื น้ ฟูเมืองเชียงใหม่ ขึ ้นอีกครัง้ ภายใต้ การช่วยเหลือของพระเจ้ าตากสิน เมืองเชียงใหม่จึงกลายเป็ นเมืองศูนย์กลางที่ส�ำคัญ ของล้ านนาอีกครัง้ ภายใต้ การปกครองของเจ้ านาย เชื ้อเจ็ดตน ก่อนที่จะถูกรวมให้ เข้ าเป็ นส่วนหนึง่ ของ สยาม และประเทศไทยในปั จจุบนั การที่เมือง เชียงใหม่มีประวัติศาสตร์ และพัฒนาการทางสังคม มาอย่างยาวนาน ท�ำให้ มีการสัง่ สมเอกลักษณ์ทาง
1 เขียนโดย วสิน อุน่ จะน�ำ ผู้เชี่ยวชาญผ้ าและสิง่ ถักทอไทย
ด้ านประเพณีวฒ ั นธรรมที่เด่นชัด ซึง่ หนึง่ ในนันก็ ้ คือ การแต่งกาย เอกลักษณ์การแต่งกายที่ส�ำคัญของผู้ หญิงชาวเชียงใหม่ คือ “ผ้ าซิน่ ”
ผ้ าซิ่นที่ผ้ ูหญิ งชาวเชียงใหม่ในอดีตนิยม เป็ นอย่างมาก มี 2 ชนิด คือ “ซิน่ ตา”และ ”ซิน่ ตีนจก” อันเป็ นรู ปแบบผ้ าซิ่นที่สืบทอดมาอย่างยาวนานของ ชาวไทยวน ผ้ าซิน่ โดยทัว่ ไปจะมีสว่ นประกอบ 3 ส่วน คือหัวซิน่ ตัวซิน่ และตีนซิน่ ส่วนหัวซิน่ เป็ นส่วนที่อยู่ ด้ านบนสุดของผ้ าซิน่ ตีนจก โดยทัว่ ไปมักประกอบ ขึ ้นจากผ้ า 2 ชิ ้น คือ ผ้ าสีขาวและสีแดงเย็บต่อกัน บ้ า งครั ง้ ก็ อ าจเป็ น ผ้ า สี แ ดงหรื อ สี ด� ำ เพี ย งชิ น้ เดี ย ว ส่วนตัวซิน่ ส่วนใหญ่เป็ นลายขวางล�ำตัว เรี ยกว่า ลาย “ตา” หรื อ “ก่าน” ชาวเชียงใหม่จะทอลายริ ว้ นี ้ด้ วย การขึ น้ ฝ้ า ยเส้ นยื น ให้ เกิ ด ลายแต่ เ มื่ อ น� ำ มานุ่ ง จะตะแคงลายให้ ขวางกับล�ำตัว สีที่นิยมที่สดุ และเป็ น เอกลักษณ์ คือ สีเหลือง ส่วนตีนซิน่ ส่วนนี ้จะเป็ นตัว ก�ำหนดความแตกต่างของซิน่ ตาและซิน่ ตีนจก คือ หากเป็ นซิน่ ตา ส่วนตีนซิน่
จะเป็ นผ้ าทอธรรมดาสีแดงเข้ ม สีน� ้ำตาล หรื อด�ำ หาก เป็ นซิน่ ตีนจก ส่วนนี ้จะเป็ นผ้ าที่ทอด้ วยเทคนิคจก สลับสีเส้ นไหม ไหมเงิน และไหมค�ำเป็ นลวดลาย อย่างงดงามซิน่ ตีนจก นับเป็ นศิลปะพื ้นบ้ านที่แสดง ถึงความละเอียดประณีต และความมีรสนิยมของผู้ เป็ นเจ้ าของหรื อผู้ทอเอง นอกจากนี ้ลวดลายตีนจกใน แต่ละท้ องที่ ก็จะมีเอกลักษณ์แตกต่างกันไป ซึง่ เป็ น ผลมาจากรสนิยมการรับรู้ สนุ ทรี ยภาพทางความงาม ที่แตกต่างกันออกไปหรื ออาจเป็ นผลมาจากวัสดุที่ใช้ ทอในแต่ละท้ องที่ตา่ งกัน ผ้ าซิน่ ตีนจกที่ปรากฏหลง เหลื อ หลัก ฐานให้ ไ ด้ เ ห็ น อยู่ใ นปั จ จุบัน ของจัง หวัด เชียงใหม่ ปรากฏในตัวเมือง หรื อเวียงเชียงใหม่ อ�ำเภอสันป่ าตอง อ�ำเภอจอมทอง อ�ำเภอแม่แจ่ม อ�ำเภอฮอดและอ�ำเภอดอยเต่า
ผ้าซิ่นตีนจก
แบบเวียงเชียงใหม่ ในหนังสือที่ระลึกงานอนุสรณ์ถวายแด่พระราช ชายาเจ้ าดารารัศมี ในรัชกาลที่ 5 วันที่ 9 ธันวาคม2516 ได้ กล่าวเกี่ ยวกับพระราชกรณี ยกิจด้ านการฟื ้นฟูการทอผ้ า ของพระราชชายาเจ้ าดารารัศมี ไว้ ดงั นี ้ “การทอซิน่ ยกดอก ได้ ทรงรวบรวมผู้ช�ำนาญในการทอซิ่นตีนจกจากหมู่บ้าน วัดดวงดีมาทอที่โรงกี่ในวัง... ...ซิน่ ตีนจกนี ้เป็ นการฝี มือชัน้ ศิลปะสมัยโบราณโดยเก็บดอกด้ วยมือทีละดอกและพร้ อม กันไป เจ้ านายสมัยโบราณใช้ ไหมทองเป็ นไหมยืนท�ำริ ว้ ที่ ผืนซิน่ แล้ วต่อด้ วยตีนจกยกดอกด้ วยไหมทองบนพื ้นสีแดง ส�ำหรับทัว่ ไปใช้ จกยกดอกด้ วยไหมสีตา่ ง ๆ ภายหลังมีซนิ่ ยกดอกจกด้ วยมือใช้ ไหมทองทังผื ้ น เพียงผืนเดียว คือ ของ แม่เจ้ าเทพไกรสรหรื อทิพเกสรพระชนนีของพระราชชายา เจ้ าดารารัศมีเท่านัน้ และได้ ทรงรับไว้ เป็ นมรดกด้ วย ได้ ทรง ใช้ ซิ่นไหมทองจกด้ วยมือผืนนี ้เป็ นตัวอย่างในการเก็บดอก ส�ำเร็จ ซึง่ ทรงคิดขึ ้นเองเรี ยกว่าเก็บเขาส�ำเร็ จเป็ นพระองค์ แรก จึงได้ มีซนิ่ ยกดอกมาจนถึงทุกวันนี ้ ได้ ทรงจัดให้ ชา่ ง ทอซิ่ น ของพระองค์ ท อซิ่ น ยกดอกไหมทองขึ น้ ทูล เกล้ า ถวายพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 6 เพื่อพระราชทานแก่พระเทวีทกุ พระองค์ในรัชกาล ได้ ทรง ส่งซิน่ ยกดอกไหมทองถวายพระเจ้ าลูกเธอในรัชกาลที่ 5 ที่ ทรงขอมาทุกพระองค์ ซิน่ ยกดอกจึงเป็ นที่นิยมกันอย่าง แพร่หลายจนถึงปั จจุบนั นี ้...”
รู ปแบบของผ้ าซิ่นตีนจกในเวียงเชียงใหม่ นี อ้ าจสัน นิ ษ ฐานได้ จากตัว อย่ า งผ้ าที่ ต กทอดใน ทายาทตระกูล ณ เชียงใหม่ ตระกูลคหบดีเชียงใหม่ และที่ได้ มีผ้ เู ก็บสะสมส่วนตัวหลายท่าน โดยรูปแบบ เป็ นผ้ าซิน่ ที่ประกอบด้ วยหัวซิน่ สีขาว แดง หรื อด�ำ ท�ำ จากผ้ าฝ้ายโรงงานเนื ้อดีของอังกฤษ บางครัง้ เป็ นผ้ า พิมพ์ลาย หรื อก�ำมะหยี่ ตัวซิน่ มีทงที ั ้ ่เป็ นฝ้ายและไหม ไหมที่ใช้ ทอเป็ นไหมน้ อยจากประเทศจีน เส้ นเล็กบาง แต่เหนียวมากบางคนเรี ยกว่า “ไหมหยุ้มเดียว” เพราะ สามารถรวบผ้ าไหมทังผื ้ นให้ มาอยู่ในก�ำมือเดียวได้ ในผ้ าซิ่นของสตรี ชนั ้ สูงในราชส�ำนักเชียงใหม่ยงั พบ ว่า มีตวั ซิน่ ลักษณะพิเศษอีกแบบหนึง่ คือ ตัวซิน่ เป็ น ลายขวางสลับกับจกลายดอกไม้ ขนาดเล็กเรี ยงเป็ น แถว ซึง่ จะต้ องใช้ ไหมทองในการทอทังผื ้ น ซึง่ ตัวซิน่ ลักษณะดังกล่าวนี ้ ต้ องอาศัยความช�ำนาญในการทอ เป็ นอย่างสูงและใช้ วสั ดุมีคา่ จ�ำนวนมาก ท�ำให้ ปรากฏตัวอย่างในปั จจุบนั น้ อยมาก ตัวซิน่ ลักษณะนี ้ ยังปรากฏในภาพถ่ายเจ้ าหญิ งอุบลวรรณาอีกด้ วย ส่วนบริ เวณเชิง หรื อที่เรี ยกว่า “ตีนจก” ทอขึ ้นจากเส้ น ไหมเนื ้อละเอียด หากไม่เป็ นไหมล้ วน ก็มกั จะพุง่ ด้ วย เส้ นไหม ทอด้ วยเทคนิคจก แทรกไหมสีตา่ ง ๆ ไหมเงิน ไหมทอง แล่ง หรื อกระดาษทองพันกับฝ้ายลวดลาย จกมีลกั ษณะคล้ ายคลึงกันแทบทุกผืน เรี ยกได้ วา่ เป็ น แบบมาตรฐาน คือ มีลายหลักเป็ นลายรูปสี่เหลี่ยม ขนมเปี ยกปูน ที่เรี ยกว่า “โคม” ลายโคมมีขนาดใหญ่ อย่างเห็นได้ ชดั มีลายประกอบด้ านบน 2 แถว และ ด้ านล่าง 1 แถว มักเป็ นลายนกคูก่ ินน� ้ำร่วมต้ น ปิ ด ท้ ายด้ วยลายเชิง เรี ยกว่า “หางสะเปา” สีด�ำล้ วน ซิน่ ตีนจกแบบจารี ตมักมีพื ้นส่วนเชิง เรี ยกว่า “เล็บซิน่ ” เป็ นสีแดง
ต่ อ มาได้ เกิ ด ค่ า นิ ย มแต่ ง กายด้ วยสี เดียวกันทังชุ ้ ดในปลายรัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 ต่อ เนื่องมาถึงรัชกาลที่7 ท�ำให้ เกิดเล็บตีนจกหลากสี เช่น เล็บสีน� ้ำเงิน สีมว่ ง สีบานเย็น สีเขียว เป็ นต้ น ซึง่ เล็บ ซิน่ นี ้จะต้ องเข้ าเป็ นสีเดียวกันกับตัวซิน่ ที่ได้ ทอเตรี ยม ไว้ ก่ อ นลัก ษณะผ้ า ซิ่ น ตี น จกแบบเวี ย งเชี ย งใหม่ นี ้ เรี ยกได้ วา่ เป็ นแบบมาตรฐานของผ้ าซิน่ ตีนจกของเจ้ า นายล้ านนา
ผ้าซิ่นตีนจก
แบบสันป่าตอง อ�ำเภอสันป่ าตองในอดีตเป็ นแหล่งชุมชน ส�ำคัญที่อยูบ่ นเส้ นทางการค้ า ไม่วา่ จะเป็ นทางบก หรื อทางน� ำ้ กองคาราวานพ่อค้ าวัวต่างจะต้ องผ่าน ชุมชนนี ้เพื่อมุง่ หน้ าไปสูเ่ มืองมะละแหม่ง ในขณะที่ แม่น� ้ำปิ งที่ไหลพาดผ่านก็ท�ำให้ มีเรื อหางแม่ป่องที่จะ มุง่ หน้ าไปสูก่ รุงเทพฯต้ องผ่านชุมชนแห่งนี ้ด้ วย จาก งานวิจยั เรื่ อง“การค้ าและผลิตภัณฑ์ผ้าในภาคเหนือ ของประเทศไทยจากมุมมองทางประวัตศิ าสตร์ ” ของ แคทเธอรี น เอ.โบวี ชุมชนเหล่านี ้เป็ นศูนย์กลางการ ปลูกฝ้ายและทอผ้ าเพื่อส่งออกไปยังต่างแดน ท�ำให้ พอจะทราบได้ วา่ สันป่ าตองในอดีตนัน้ คงเป็ นชุมชน ที่มีการทอผ้ าอย่างแพร่ หลายแม้ ในปั จจุบันแทบไม่ ปรากฏให้ เห็นแล้ ว
ในบรรดาผ้ าซิ่นตีนจกโบราณของจังหวัด เชียงใหม่ที่มีชื่อเสียงในด้ านความงดงามและหายาก นอกเหนือไปจากผ้ าซิ่นตีนจกโบราณแบบชาวเวียง แล้ ว ก็คือผ้ าซิน่ ตีนจกจากอ�ำเภอสันป่ าตองนัน่ เอง อย่างไรก็ตามเป็ นที่นา่ ประหลาดใจ ที่ผ้าซิน่ ตีนจก โบราณของสัน ป่ าตองมัก ปรากฏอยู่อ ย่ า งมากใน ชุมชนชาวไทเขิน ไทยอง เช่นหมูบ่ ้ านต้ นแหน หมูบ่ ้ าน ต้ นกอก เป็ นต้ น แสดงให้ เห็นถึงการยอมรับค่านิยม วัฒนธรรมชาวไทยวนในกลุ่มชาติพนั ธุ์ที่มาจากต่าง แดนได้ เป็ นอย่ า งดี ลั ก ษณะของผ้ าซิ่ น ตี น จก สัน ป่ าตองจะมี ค วามใกล้ เคี ย งกั บ ตี น จกในเวี ย ง เชียงใหม่มาก กล่าวคือลายหลักเป็ นลายโคมที่มีขนาด ใหญ่ เห็นได้ ชดั เจนลายประกอบด้ านบนมี 2 แถว ด้ านล่าง 1 แถว มักเป็ นลายนกคูก่ ินน� ้ำร่วมต้ นหรื อ ลายเครื อดอกไม้ หางสะเปาหยั ก ฟั นปลาแบบ มาตรฐาน เส้ นสะเปาสีด�ำล้ วนแต่เอกลักษณ์ที่โดด เด่นของตีนจกสันป่ าตอง ที่ท�ำให้ มีความแตกต่างไป จากตีนจกแบบเวียงเชียงใหม่ คือ ลวดลายจะดูโปร่ง กว่าเห็นพื ้นสีด�ำได้ ชดั เจนวัสดุที่ใช้ คอ่ นข้ างแสดงออก ถึงความหรูหรา เพราะเป็ นวัสดุที่ไม่มีในท้ องถิ่น ต้ อง น�ำเข้ ามาพร้ อมกับพ่อค้ าวัวต่าง โดยมักใช้ ไหมน้ อยห รื อไหมบ้ านเป็ นเส้ นพุง่ มีบ้างที่เป็ นไหมล้ วนทังเส้ ้ นพุง่ และเส้ นยืนแต่พบไม่มากนัก วัสดุที่น�ำมาจกให้ เป็ น ลวดลายมักเป็ นไหมค�ำหรื อกระดาษสีทองชนิดที่พนั
กับแก่นฝ้าย อาจจะมีแล่งบ้ างแต่พบไม่มาก ใช้ ไหม หลากสีเพิ่มเข้ าไป เพื่อสร้ างความน่าสนใจแก่ลายจก แต่สีเหล่านันจะไม่ ้ ฉดู ฉาด เช่น สีเขียวหัวเป็ ด สีน� ้ำเงิน สีมว่ ง สีบานเย็น เป็ นต้ น ตัวซิน่ ที่น�ำมาต่อกับตีนจก จะสัมพันธ์กบั วัสดุที่ใช้ ทอตีนจก หากตีนจกทอด้ วย ไหมล้ วน ตัวซิน่ ก็จะเป็ นไหม แต่ถ้าตีนจกเป็ นฝ้าย ตัว ซิน่ ก็จะเป็ นผ้ าฝ้ายเช่นเดียวกัน จากการสอบถาม สัมภาษณ์ผ้ สู งู อายุในสันป่ าตอง ระบุวา่ ตัวซิน่ เหล่า นี ้จะมีพอ่ ค้ าเร่น�ำมาขายในหมูบ่ ้ าน โดยมากมาจาก อ�ำเภอสันก�ำแพง นอกจากนี ้ในสันป่ าตองเองก็มีการ ทอตัวซิน่ ฝ้ายที่หมูบ่ ้ านแม่ก้ งุ มีลกั ษณะเป็ นซิน่ ตาลายสามแลว (เป็ นชุดลายสามเส้ นเรี ยงต่อเนื่อง กันทังผื ้ น) มีสีสนั ต่างๆ หลากสี เส้ นยืนเป็ นฝ้าย ละหานเนื ้อเหนียวเส้ นเล็ก เส้ นพุง่ เป็ นไหมปั่ นควบกับ ฝ้ายชาวบ้ านเรี ยกซิน่ ชนิดนี ้ว่า “ซิน่ แม่ก้ งุ ”ตามชื่อ หมูบ่ ้ านที่ทอ
ผ้ าซิ่นตี นจกแบบสันป่ าตองมี ความโดด เด่นด้ วยลวดลายที่สวยงาม การคัดสรรวัสดุจากต่าง แดนไม่วา่ จะเป็ นเส้ นไหม ไหมเงินและไหมทอง ล้ วน แล้ ว แต่ เ ป็ น วัส ดุห รู ห ราที่ ส ะท้ อ นถึ ง ความรุ่ ง เรื อ ง ทางการค้ าของชุมชนสันป่ าตองในอดีต อย่างไร ก็ตามเป็ นที่เสียดายที่ในปั จจุบนั การทอผ้ าซิน่ ตีนจก ในสันป่ าตองได้ สญ ู หายไปแล้ ว คงเหลือไว้ แต่ผ้า โบราณที่มีจ�ำนวนอยูน่ ้ อยชิ ้น
ผ้าซิ่นตีนจก
แบบจอมทอง ซิน่ ตีนจกแบบอ�ำเภอจอมทอง เป็ นที่ร้ ูจกั กันอย่างไม่แพร่หลายนัก เนื่องจากพบไม่มากนักและ อยูใ่ นคลังสะสมส่วนบุคคลเป็ นส่วนใหญ่ ในอดีต เมืองจอมทองเป็ นเมืองที่อยู่ระหว่างเส้ นทางการค้ า ส�ำคัญจากเชียงใหม่ไปสูเ่ มืองมะละแหม่ง โดยขบวน คาราวานพ่อค้ าวัวต่างจะผ่านเมืองจอมทอง และ เมืองแม่แจ่มอยู่เสมอท�ำให้ ชมุ ชนเหล่านี ้สามารถเข้ า ถึงวัตถุดิบเส้ นใยที่ ใช้ ในการทอผ้ าได้ ง่ายซิ่นตีนจก แบบอ�ำเภอจอมทองส่วนใหญ่ที่พบมักใช้ เส้ นฝ้ายเนื ้อ ละเอียดที่เรี ยกว่า “ฝ้ายพ่าย” และฝ้ายแดงน� ้ำมัน บางผืนพบมีการใช้ เส้ นไหมและไหมทองอยูบ่ ้ าง แต่ ไม่มากนัก สีสนั ของลวดลายจกอยูใ่ นวรรณะสีร้อน ได้ แก่ สีเหลือง ส้ มและขาว มีสีวรรณะเย็นซึง่ เป็ นสีคู่ ตรงข้ ามแทรกบ้ างเล็กน้ อย เพื่อสร้ างมิตใิ ห้ แก่ ลวดลาย เช่น สีเขียวหัวเป็ ด สีน� ้ำเงิน เป็ นต้ น เอกลักษณ์ การใช้ สีที่โดดเด่นของซิ่นตีนจกจอมทอง คื อ นิ ย มใช้ ฝ้า ยสี เ หลื อ งสดปั่ น ไกเข้ า กับ ฝ้า ยสี ข าว เพื่อท�ำให้ สีเหลืองมีความนุม่ นวล ละมุนตามากขึ ้น ลายซิ่ น ตี น จกตระกู ล นี น้ ิ ย มจกให้ เป็ นลายแบบ มาตรฐาน คือ มีลายโคมเป็ นลายหลัก เช่น ลายขอสิบ หก ลายโคมกูด เป็ นต้ น
ลายหงส์ในโคมนิยมหงส์ด�ำ ลายประกอบหรื อห้ อง นกมักเป็ นลายนกกินน� ้ำร่วมต้ นขนาดเล็ก ห้ องนกจะ ขนาบด้ านบนและล่าง เพียงด้ านละ 1 ห้ องเท่านัน้ ไม่ นิยมซ้ อนห้ องนกกันเป็ นสองชัน้ นอกจากนี ้แทบจะไม่ พบลายอิสระจ�ำพวกลายกุมหรื อลายโคมหลวงเลย ลวดลายมักเปรี ยวเล็ก ลายโคมมีขนาดเล็กเนื่องจาก กระแทกฟื มหนัก ท�ำให้ เนื ้อผ้ าและลวดลายบีบแน่น คล้ าย
ซิน่ ตีนจกของแม่แจ่ม นิยมต่อกับตัว ซิน่ สีเหลืองหรื อสีขาว อันเป็ นที่นิยมแพร่หลาย ในเมืองจอมทองและแม่แจ่มเอกลักษณ์ส�ำคัญ ของซิ่ น ตี น จกแบบอ� ำ เภอจอมทองสามารถ สัง เกตได้ จากลายหางสะเปาซึ่ ง ค่ อ นข้ างมี ขนาดใหญ่ และเห็นได้ ชดั ขอหางสะเปาเป็ นรูป เลขสามไทย (๓) กลับหัว ที่ปลายหัวทังสองด้ ้ าน ขมวดเป็ นลายขอที่เห็นได้ อย่างชัดเจน
ผ้าซิ่นตีนจก
แบบฮอด,ดอยเต่า (น�้ำถ้วม) ซิน่ ตีนจกแบบอ�ำเภอฮอดและดอยเต่า มี ลักษณะรูปแบบที่ใกล้ เคียงกันมาก เนื่องจากพื ้นที่ใน สองอ�ำเภอนัน้ ในอดีตเป็ นแหล่งชุมชนเดียวกัน นัก สะสมผ้ ามักเรี ยกซิน่ ตีนจกแบบอ�ำเภอฮอด ดอยเต่า ว่า “ซิน่ น� ้ำถ้ วม” ตามค�ำเรี ยกของพ่อค้ าผ้ าเก่า โดยมี สาเหตุมาจากการก่อสร้ างเขื่อนภูมิพลกันขวางแม่ ้ น� ้ำ ปิ งที่อ�ำเภอบ้ านนา จังหวัดตาก ในราวพ.ศ. 2501 ทางการได้ ป ระกาศให้ ผ้ ูค นอพยพเคลื่ อ นย้ า ยออก จากพื ้นที่สองข้ างแม่น� ้ำปิ ง ในบริ เวณที่น� ้ำจะท่วมขึ ้น ถึง พื ้นที่บางส่วนของอ�ำเภอฮอด และดอยเต่า ได้ รับ ผลกระทบนี ้ด้ วย ชาวบ้ านในอ�ำเภอฮอดและดอยเต่า บ า ง ส่ ว น ถู ก อ พ ย พ ไ ป ตั ้ ง ร ก ร า ก ใ ห ม่ ใ น นิคมสร้ างตนเองเขื่อนภูมิพลที่รัฐบาลจัดไว้ ให้
ชาวบ้ านอีกส่วนหนึง่ ได้ อพยพไปตังหลั ้ กแหล่งใหม่ใน อ�ำเภออื่น เช่น อ�ำเภอแม่แจ่ม จอมทองสันป่ าตอง ไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ อ�ำเภอปายจังหวัด แม่ฮอ่ งสอน เป็ นต้ น ข้ าวของเครื่ องใช้ ที่ส�ำคัญถูกน�ำ ติดตัวไปด้ วย รวมถึงผ้ าซิน่ เมื่อมีพอ่ ค้ าของเก่าไปพบ ซิ่นตีนจกกับชาวบ้ านที่อพยพหนีน�ำ้ ท่วมมาจึงเรี ยก ซิน่ เหล่านี ้ว่า “ซิน่ น� ้ำถ้ วม” และท�ำให้ คนทัว่ ไปกลับไป เรี ย กซิ่ น ตี น จกจากแหล่ ง เดิ ม ที่ ไ ม่ ไ ด้ ถูก น� ำ้ ท่ ว มว่ า “ซิน่ น� ้ำถ้ วม” ตามไปด้ วย
ลัก ษณะโดยรวมของซิ่นตี นจกตระกูล นี ้ คือ นิยมทอด้ วยฝ้ายตะวันตกที่น�ำเข้ าจากพม่า เล็บ ซิน่ ใช้ ฝา้ ยแดงน� ้ำมันเส้ นเล็ก เนื ้อละเอียดสีแดงสด บางผืนพบว่ามีเส้ นไหม และไหมทองแทรกด้ วย รูป แบบของลวดลายที่ปรากฏมีความชัดเจน ขนาดใหญ่ และดูโดดเด่น อันเกิดขึ ้นจากการรักษาช่องว่าง ระหว่างลายอย่างสม�่ำเสมอ ท�ำให้ ยงั สามารถมอง เห็ น ท้ อ งจกสี ด�ำ ได้ ชัด โครงสี โ ดยรวมแม้ จ ะอยู่ใ นสี วรรณะร้ อน อย่างสีเหลือง ส้ ม และแดง แต่ก็นิยมใช้ สี คูต่ รงข้ าม เช่น สีเขียว สีฟา้ ในปริ มาณที่คอ่ นข้ างมาก ด้ วยเช่นกัน บางครัง้ อาจมีสีข้างเคียงที่เป็ นตัวกลาง เข้ าเจือปนหรื ออาจใช้ สีแท้ ที่หม่นหรื อจางลง จึงท�ำให้ อยูก่ บั สีคตู่ รงข้ ามได้ อย่างกลมกลืน เช่นเดียวกันตัว ซิน่ ที่ใช้ ตอ่ ตีนจก นิยมสีโทนขรึมสุขมุ เช่น สีคราม สีน� ้ำเงิน สีเขียวเข้ ม สีน� ้ำตาล เป็ นต้ น โดยมักสลับกัน หลาย ๆ สี หรื อปั่ นไกเพิ่มเข้ าไปซึง่ ท�ำให้ สีของตัวซิน่ รับกับตีนจกเป็ นอย่างดี
ผ้าซิ่นตีนจก
แบบแม่แจ่ม ซิน่ ตีนจกแบบแม่แจ่ม เป็ นซิน่ ตีนจกที่เป็ น ที่ร้ ูจกั ของคนทัว่ ไป เนื่องจากยังคงมีการทออย่างต่อ เนื่องมาจนกระทัง่ ปั จจุบนั อันเป็ นผลมาจากสภาพ ภูมิ ป ระเทศของเมื อ งแม่ แ จ่ ม ที่ แ วดล้ อ มด้ ว ยภูเ ขา สลับซับซ้ อนไม่เอื ้ออ�ำนวยต่อการคมนาคมส่งขน จึง ท�ำให้ การเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมเป็ นไปอย่าง ล่าช้ า ประกอบกับเมื่อเกิดกระบวนการท้ องถิ่นนิยม ราว พ.ศ. 2530 ซิน่ ตีนจกของเมืองแม่แจ่ม ได้ กลาย เป็ นเอกลักษณ์ของเครื่ องแต่งกายแบบล้ านนาแท้ จึง ท�ำให้ มีการฟื น้ ฟูการทอซิน่ ตีนจกแบบดังเดิ ้ ม และส่ง เสริ ม ให้ เป็ นที่ ร้ ู จั ก ของคนทั่ ว ไปลั ก ษณะอั น เป็ น เอกลักษณ์ของซิน่ ตีนจกแม่แจ่ม คือ การทอลายจก ให้ แน่นจนแทบไม่เห็นพื ้นสีด�ำด้ านหลัง ซึง่ เป็ นผลมา จากความนิยมใช้ ฝ้ายเส้ นใหญ่ทบกันจ�ำนวนหลาย เส้ น โครงสีของลวดลายจกเป็ นสีวรรณะร้ อน (warm tone colour) ซึง่ เป็ นสีแท้ (hue colour)สีสนั ที่นิยม ส่วนใหญ่ ได้ แก่ สีเหลือง สีแดง สีส้ม สีน� ้ำตาลและมีสี อื่นๆ เช่น สีเขียว สีมว่ ง สีชมพู สีฟา้ ประกอบอีกเล็ก น้ อย ความสดใสของการสลับสีในลวดลายนี ้เอง ท�ำให้ ซิ่นตีนจกแบบแม่แจ่มมีความสวยงามและน่า สนใจ ซึง่ สามารถแบ่งรูปแบบของลายของตีนจก แม่แจ่ม เป็ นสองประเภทใหญ่ ดังนี ้
1. ลายโคม มีลกั ษณะเป็ นลายรูป สี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนเป็ นลายหลักของตีนจก ขนาบ ด้ านบนและด้ านล่างด้ วยลายประกอบขนาดเล็ก ที่ เรี ยกว่า “ห้ องนก” เพราะมักท�ำเป็ นลายนกขนาดเล็ก เรี ยงกันไปตลอดทังแถว ้ การเรี ยกชื่อของซิน่ ตีนจก แม่แจ่มประเภทลายโคมนี ้ มักเรี ยกตามชื่อลายโคม ลายขัน หรื อลายส�ำคัญภายในโคม ซึง่ เป็ นลายหลัก เช่น ลายเชียงแสนหงส์ด�ำลายละกอน ลายโคมหัว หมอน ลายขันสามแอว ลายหงส์บี ้ ลายหงส์ปล่อย เป็ นต้ น
2. ลายกุม เป็ นการน�ำเอาลายขนาดเล็ก มาจัดรู ปแบบใหม่ให้ เป็ นลายชนิ ดนัน้ เรี ยงซ้ อนกัน ตลอดทังแถบของลายจก ้ เช่น ลายนกกุม ลายนาคกุม ลายนกนอนหมู่ เป็ นต้ น บริ เวณแถวด้ านล่างสุด ของท้ องลายจก เป็ นลายส�ำคัญที่จะต้ องมีในตีนจก ทุก ๆ ผืนของแม่แจ่ม ลายดังกล่าวเรี ยกว่า “ลายหางสะเปา” ลายหางสะเปาของแม่แจ่มมีลกั ษณะที่แตกต่างจากหางสะเปาของตีนจกในแหล่งอื่น ๆ คือ นิยม จกเส้ นสะเปาสีขาวแทรกระหว่างเส้ นสะเปาสีด�ำชาว แม่แจ่มนิยมต่อตีนจกกับตัวซิน่ สีสดใส เช่น สีเหลือง สีเขียวอ่อน สีส้ม สีชมพู สีขาว เป็ นต้ น เพื่อให้ รับกัน กับสีของตีนจก ตัวซิน่ เหล่านี ้มักซื ้อขายแลกเปลี่ยน มาจากเมืองจอมทอง นอกจากนี ้ยังปรากฏความนิยม ใช้ ตวั ซิ่นชนิดหนึ่งต่อกับตีนจกลายเชียงแสนหงส์ด�ำ ตัวซิน่ ดังกล่าวเรี ยกว่า “ซิน่ หอมอ้ วน” สันนิษฐานว่า ตัวซิน่ ชนิดนี ้ อาจมีที่มาจากซิน่ ที่ทอด้ วยเทคนิคมุกซึง่ พบมากในกลุ่ม ชาวไทยวนที่ จัง หวัด อุต รดิ ต ถ์ แ ละ จังหวัดราชบุรีลกั ษณะอันโดดเด่นของซิ่นตีนจกแบบ แม่แจ่ม
ที่กล่าวมาในข้ างต้ นนัน้ เป็ นผลมาจาก พัฒนาการทางสังคมที่เกิดขึ ้นภายในเมืองแม่แจ่ม ซึง่ เริ่ มปรากฏเด่นชัดตังแต่ ้ ชว่ ง 100 ปี ที่ผา่ นมา ท�ำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในวัสดุที่ใช้ ในการทอผ้ า อีกทัง้ เป็ นผลมาจากการสัง่ สม บ่มเพาะประสบการณ์ด้าน การทอตี น จกการรั บ รู้ ความงามในธรรมชาติ ที่ ราย ล้ อมอยู่ใกล้ ตวั ก่อนจะตกตะกอนกลายเป็ นซิ่นตีนจก ที่มีความสวยงามตามรสนิยมของผู้คนในลุ่มน� ้ำแจ่ม ดังเป็ นที่รับรู้ของผู้คนในปั จจุบนั